Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มคอ.7 รายงานการประเมินตนเอง

มคอ.7 รายงานการประเมินตนเอง

Published by Atchara Phum, 2019-06-20 03:15:49

Description: รายงานการประเมินตนเอง หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ ประจำปีการศึกษา 2561

Search

Read the Text Version

มคอ.7 รายงานการประเมนิ ตนเองของหลกั สูตร วิศวกรรมศาสตรบณั ฑิต ประจาปกี ารศกึ ษา 2561 (รอบระยะเวลาประเมนิ วันที่ 1 มถิ นุ ายน 2561 ถงึ วนั ท่ี 31 พฤษภาคม 2562) หลกั สูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต ระดับ ปรญิ ญาตรี สาขาวชิ าวศิ วกรรมคอมพิวเตอร์ หลกั สูตรใหม่ พ.ศ. 2554 สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพวิ เตอรแ์ ละระบบอัตโนมตั ิ หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2562 คณะวิศวกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั กาฬสนิ ธ์ุ วันท่รี ายงาน 23 เมษายน พ.ศ. 2562

ข คานา หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2554 ผ่านการรับรองจากสภามหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ เม่ือวันที่ 21 มกราคม 2554 และสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบให้ความเห็นชอบ เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2554 โดยรับ นักศึกษาท่ีเข้าศึกษาในปีการศึกษา 2554 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ อัตโนมัติ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธ์ุ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 ผ่านการรับรองจากสภามหาวทิ ยาลัยกาฬสินธ์ุ เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2561 และอยู่ระหว่างให้สานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบให้ความเห็นชอบ ผ่านระบบ CHECO โดยรับนักศึกษาท่ีเข้าศึกษาในปี การศึกษา 2562 วัตถุประสงค์ของการเขียนรายงานผลการดาเนินงานหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เพ่ือรายงานผลการดาเนินงานของการเปิดสอนปีการศึกษา 2561 ซึ่งในปี การศึกษาดังกล่าวดาเนนิ การปิดสอนตามเลม่ มคอ.2 หลกั สูตรใหม่ พ.ศ. 2554 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ได้นาเสนอหัวข้อในรายงาน ดังนี้ หมวดที่ 1 ขอ้ มูลทั่วไป หมวดท่ี 2 อาจารย์ หมวดที่ 3 นักศกึ ษาและบัณฑิต หมวดที่ 4 ข้อมูลสรปุ รายวิชาและ คุณภาพการสอน หมวดที่ 5 การบริหารหลักสูตร หมวดที่ 6 ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับคุณภาพ หลักสูตรจากผู้ประเมิน หมวดที่ 7 การเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อหลักสูตร และหมวดท่ี 8 แผน การดาเนนิ การเพอ่ื พฒั นาหลักสตู ร หวังว่ารายงานผลการดาเนินงานหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2554 คณะกรรมการจัดทาเอกสารนาเสนอแก่คณะกรรมการพิจารณาข้อเสนอแนะจาก หลายฝา่ ยเพื่อนาไปสูก่ ารพัฒนาหลกั สตู รใหเ้ หมาะสมกบั ผเู้ รยี นเป็นลาดับต่อไป นายรณชัย สังหมน่ื เมา้ ประธานหลกั สูตร

สารบัญ ค คานา หนา้ สารบญั ข บทสรปุ ผู้บริหาร ค หมวดท่ี 1 ข้อมูลทั่วไป ง หมวดที่ 2 อาจารย์ 1 หมวดท่ี 3 นกั ศึกษา และ บัณฑติ 4 หมวดที่ 4 ข้อมลู สรปุ รายวิชาและคณุ ภาพการสอน 23 หมวดที่ 5 การบริหารหลักสูตร 32 หมวดท่ี 6 ข้อคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะเก่ียวกับคุณภาพหลักสตู รจากผู้ประเมิน 55 หมวดที่ 7 การเปล่ียนแปลงท่ีมีผลกระทบต่อหลักสูตร 62 หมวดท่ี 8 แผนการดาเนินการเพอ่ื พัฒนาหลกั สูตร 64 สรุปผลการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน 65 68

ง บทสรุปผู้บรหิ าร ปีการศึกษา 2561 คณะกรรมการประจาหลักสูตร สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ประเมินคุณภาพ ของหลักสูตรตามแบบรายงานการผลการดาเนินการของหลักสูตร (มคอ.7) ของสานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา (สกอ.) และมหาวิทยาลัยเห็นชอบรายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตรจัดทาเป็น 7 หมวดมีผล การประเมินคุณภาพหลักสูตรตามเกณฑ์การประกันคุณภาพภายใน ระดับหลักสูตร 6 องค์ประกอบ 14 ตัว บ่งช้ี เป็นตัวบ่งช้ีบังคับที่ประเมินการบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2548 ที่ กาหนดโดย สกอ. คือ องค์ประกอบที่ 1 มี 1 ตัวบ่งช้ี ผลการประเมิน ผ่าน 8 ข้อ ผลการประเมินผ่านหลักสตู ร ได้มาตรฐาน องคป์ ระกอบที่ 2-6 มี 13 ตัวบ่งชี้ สรุปผลการประเมนิ คณุ ภาพภายใน องคป์ ระกอบ จานวนตัวบ่งชี้ คะแนนประเมนิ เฉลีย่ ระดบั คุณภาพ องคป์ ระกอบที่ 1 1 ผ่าน หลกั สูตรไดม้ าตรฐาน องคป์ ระกอบท่ี 2 2 4.43 ระดับคุณภาพดีมาก องค์ประกอบท่ี 3 3 2.83 ระดบั คุณภาพปานกลาง องคป์ ระกอบที่ 4 3 2.78 ระดบั คุณภาพปานกลาง องค์ประกอบท่ี 5 4 3.50 องค์ประกอบท่ี 6 1 4.00 ระดับคุณภาพดี 13 3.09 ระดับคุณภาพดี เฉลยี่ รวมทุกตัวบ่งช้ี ระดบั คุณภาพดี จุดเด่นและแนวทางเสริม/จุดทคี่ วรพฒั นาและแนวทางปรับปรงุ จุดเด่นและแนวทางเสรมิ 1. มีครุภัณฑ์ประจาห้องปฏิบัติการการจาลองสถานการณ์ แหล่งค้นคว้าและเรียนรู้ท่ีทันสมัย โดยมี แผนการเพ่มิ ครุภณั ฑท์ างด้านวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์ เพอ่ื ความสะดวกในการจดั การเรยี นการสอน 2. สาระของรายวิชาในหลักสูตร มีการดาเนินการและวางแผนอย่างเป็นระบบตามมาตรฐานวิชาชีพ และจะมีการประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยมี าช่วยในการเรยี นการสอนให้มากขึ้น เพอื่ ใหท้ นั ต่อความต้องการในอนาคต ต่อไป 3. บัณฑิตได้งานทาตรงสายวิชาชีพ โดยมีการสนับสนุนให้นักศึกษาช้ันปีท่ี 4 ออกสหกิจในสายงานท่ี ตรง เพื่อเพม่ิ ประสบการณใ์ หแ้ ก่บัณฑิต 4. นกั ศกึ ษามที ักษะทางดา้ นปฏิบัติ และสามารถนาทักษะทางปฏิบัติไปประยกุ ต์ใชใ้ นวิชาชีพได้ 5. อาจารย์ประจาหลักสูตรมีการจดั อาจารยผ์ สู้ อนได้เหมาะสมกับรายวชิ า อาจจดั ตงั้ งบประมาณในการ สง่ เสรมิ พฒั นาอาจารย์ประจาหลกั สตู รเพิม่ ข้นึ จุดทคี่ วรพัฒนาและแนวทางปรบั ปรุง 1. ควรสนับสนุนและวางแผนให้อาจารยป์ ระจาหลักสตู รขอตาแหนง่ ทางวิชาการ 2. ควรมีการสนับสนุนให้อาจารย์ประจาหลักสูตรได้ลาศึกษาต่อและให้ทุนสนับสนุนการศึกษาต่อใน ระดบั ที่สงู ขนึ้ และตรงสาขาวชิ าในหลักสตู รทีร่ บั ผิดชอบอยู่ 3. ควรใช้เทคโนโลยีร่วมในการสารวจและประเมินผลต่างๆ จะทาให้การดาเนินงานมีความสะดวก รวดเรว็ ยิ่งข้ึน

จ การรายงานผลการดาเนินงานผลการประเมนิ ตนเองและแนวทางการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร เพ่อื นาเสนอตอ่ คณะกรรมการประเมินระดับหลกั สตู ร คารับรองข้อมูลการรายงานผลการดาเนินการของหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรม คอมพวิ เตอร์ คณะวศิ วกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธ์ุ ปกี ารศึกษา 2561 1. คารับรองข้อมลู การรายงานการดาเนนิ งานของหลักสูตร ถูกต้อง ครบถว้ นโดยอาจารย์ประจาหลกั สูตร ท่ี ช่ือ-นามสุกล ตาแหนง่ ลายเซน็ วนั ที่รบั รอง 1. นายรณชัย สังหมื่นเมา้ ประธานอาจารย์ประจาหลกั สูตร 23 เมษายน 2562 2. นายสรายทุ ธ กรวิรตั น์ 23 เมษายน 2562 3. นายภูริ จันทิมา อาจารย์ประจาหลักสตู ร 23 เมษายน 2562 4. นายอ้มุ บุญ เชลยี งรชั ตช์ ัย อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร 23 เมษายน 2562 5. นางอจั ฉรา ชมุ พล อาจารย์ประจาหลักสูตร 23 เมษายน 2562 อาจารยป์ ระจาหลักสูตร 2. การรบั รองรายงานผลการดาเนนิ การของหลกั สูตร โดยผู้บังคบั บญั ชา ผบู้ งั คบั บัญชาให้คารบั รอง ………………………………………. (ผชู้ ่วยศาสตราจารย์สรุ นิ ทร์ พงษส์ กุล) คณบดคี ณะวศิ วกรรมศาสตร์และเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม วนั ที.่ ...... เดือน...........พ.ศ..........

หมวดท่ี 1 ขอ้ มูลทวั่ ไป รหัสหลักสูตร : 25541401100455 อาจารย์ประจาหลักสูตร มคอ. 2 ปจั จบุ ัน หมายเหตุ (ระบคุ รง้ั ท/่ี วนั ท่ผี า่ นสภามหาวิทยาลัย) 1. นายกษิดศิ จรญู ไพศาล 1. นายรณชัย สังหม่ืนเมา้ ครง้ั ท่ี 11/2561 วันท่ี 12 ตุลาคม 2561 2. นายรพพี งษ์ แย้มสวุ รรณ 2. นายสรายุทธ กรวริ ัตน์ ครั้งที่ 11/2561 วันที่ 12 ตลุ าคม 2561 3. นางสาวป่ินนารี ขรู รี งั 3. นายภรู ิ จันทิมา ครง้ั ที่ 2/2562 วนั ที่ 25 กุมภาพนั ธ์ 2562 4. นายสุรศักดิ์ ปัทมดิษฐ์ 4. นายอุ้มบุญ เชลยี งรชั ตช์ ัย ครั้งท่ี 11/2561 วนั ที่ 12 ตุลาคม 2561 5. นายอคั รวตั ร คณู คาตา 5. นางอัจฉรา ชุมพล ครั้งท่ี 11/2561 วันท่ี 12 ตลุ าคม 2561 อาจารยผ์ สู้ อน (อาจารย์ประจาภายในสถาบนั ) ตามเอกสารแนบ มคอ.2 อาจารยผ์ ูส้ อน (อาจารย์พเิ ศษภายนอกสถาบนั ) ไม่มี สถานทีจ่ ดั การเรียนการสอน สาขาวชิ าวศิ วกรรมคอมพวิ เตอรแ์ ละระบบอัตโนมัติ คณะวิศวกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสนิ ธุ์

2 องคป์ ระกอบที่ 1 การกากับมาตรฐาน ตวั บง่ ชท้ี ี่ 1.1 การบริหารจัดการหลกั สูตรตามเกณฑม์ าตรฐานหลกั สูตรทีก่ าหนดโดยสานกั งาน คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา (ระดับปริญญาตรี) การคิดรอบปี : ปกี ารศกึ ษา เกณฑม์ าตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2548 ผลการดาเนนิ งาน การประเมินคณุ ภาพภายในระดับหลักสูตร พร้อมทั้งเอกสารอ้างองิ ตามเกณฑค์ ุณภาพ ระดบั หลักสตู ร (3 ข้อ ประกอบดว้ ย ขอ้ 1 ,2 และ 11) ข้อ เกณฑ์การประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน รายการเอกสาร หลกั ฐาน 1 จานวนอาจารย์  ไม่ผ่าน 1.1-1 มคอ.2 ประจาหลกั สตู ร  ผา่ น ผลการดาเนนิ งานดังนี้ รายชื่ออาจารย์ประจา 1. มีอาจารยป์ ระจาหลกั สตู รท่กี าหนดใน ห ลั ก สู ต ร แ ล ะ มคอ. 2 จานวน 5 คน ผู้รบั ผิดชอบหลกั สูตร 2 คุณสมบตั ิของ  ไม่ผ่าน 1.1-1 มคอ.2 อาจารย์ประจาหลกั สตู ร  ผา่ น ผลการดาเนนิ งานดงั น้ี ประวตั ิอาจารยป์ ระจา 1. อาจารย์ประจาหลักสูตรทุกคนมีคุณสมบัติ หลักสูตร และ เป็นไปตามคณุ สมบตั ิหลักสูตร ผรู้ ับผดิ ชอบหลกั สตู ร 11 การปรบั ปรุงหลกั สูตร  ไมผ่ า่ น 1.1-2 มคอ.2 หลักสูตร ตามรอบระยะเวลา ทก่ี าหนด  ผ่าน ผลการดาเนินงานดงั นี้ วิศวกรรมบณั ฑติ 1. หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ส า ข า วิ ช า วิ ศ ว ก ร ร ม วศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2554) คอมพิวเตอร์ (หลักสูตร เร่ิมใช้ในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2554 เป็น ใหม่ พ.ศ.2554) ตน้ มา โดยไดร้ บั อนุมัตจิ ากสภามหาวทิ ยาลยั เมื่อ 1.1-3 มคอ.2 หลักสูตร วั น ท่ี 21 ม ก ร า ค ม 2554 แ ล ะ ส า นั ก ง า น วศิ วกรรมบณั ฑติ คณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบการ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เหน็ ชอบหลกั สูตรเมือ่ วันท่ี 8 มีนาคม 2561 แ ล ะ ร ะ บ บ อั ต โ น มั ติ 2. หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ( ห ลั ก สู ต ร ป รั บ ป รุ ง วิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ 2562) (หลักสูตรปรับปรุง 2562) ผ่านการรับรองจาก สภามหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ เม่ือวันท่ี 12 ตุลาคม 2561

3 ผลการประเมินตนเอง คะแนนประเมินตนเอง เป้าหมาย ปถี ัดไป ผลการประเมิน เปา้ หมาย ผลการดาเนินงาน  ผา่ น ปีที่แล้ว ผ่าน ( 3 ข้อ)  ไม่ผ่าน ผา่ น ผา่ น 3 ขอ้  ผา่ น รายการหลักฐาน รายการหลกั ฐาน หมายเลข ประวตั อิ าจารย์ประจาหลกั สตู ร และผูร้ ับผดิ ชอบหลกั สตู ร วค . 1.1-1 วค . 1.1-2 มคอ.2 หลกั สตู รวศิ วกรรมบณั ฑติ สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพวิ เตอร์ (หลกั สูตรใหม่ พ.ศ.2554) วค . 1.1-3 มคอ.2 หลกั สูตรวศิ วกรรมบัณฑิต วิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ (หลกั สูตร ผ้กู ากบั ดแู ลตัวบง่ ช้ี: ปรับปรุง 2562) 1. นางอจั ฉรา ชุมพล, 0832907447 2. นายรณชยั สังหมนื่ เมา้ , 0874778519 ผูจ้ ดั เก็บรวบรวมขอ้ มลู /รายงานผลการดาเนินงาน: 1. นางอัจฉรา ชุมพล, 0832907447 2. นายรณชยั สงั หมืน่ เมา้ , 0874778519 การรายงานผลการวเิ คราะห์จดุ เด่นและโอกาสในการพัฒนา องคป์ ระกอบที่ 1 จดุ เดน่ โอกาสในการพัฒนา 1. อาจารยป์ ระจาหลกั สตู รและอาจารย์ 1. อาจารย์ประจาหลกั สตู รสามารถเพ่ิมวุฒิการศึกษา ผรู้ ับผดิ ชอบหลักสูตรในปัจจุบันเปน็ อาจารยท์ ี่มี และขอตาแหน่งทางวชิ าการได้ ความสอดคล้องกบั หลักสูตรท่ีเปิดสอน 2. การเรยี นการสอนครอบคลมุ กบั นักศกึ ษา ทาให้ 2. สัดส่วนอาจารย์ตอ่ นกั ศึกษาเพยี งพอต่อการ นักศึกษาเข้าใจบริบทตามการจดั การเรยี นการสอนใน เรียนการสอน หลกั สูตรมากขน้ึ

4 หมวดที่ 2 อาจารย์ องค์ประกอบท่ี 4 อาจารย์ ตวั บ่งชท้ี ี่ 4.1 การบรหิ ารและพฒั นาอาจารย์ การคิดรอบปี : ปีการศกึ ษา ผลการดาเนินงาน : 1. ระบบการรับและแต่งต้ังอาจารย์ประจาหลกั สูตร เป้าหมายเชิงปรมิ าณ เป้าหมายเชิงคณุ ภาพ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลกั สตู ร จานวนไมน่ ้อยกว่า 5 คน ผ้รู ับผิดชอบหลักสตู รทกุ ท่านมคี ณุ สมบตั ิตามเกณฑ์ มาตรฐานท่ี สกอ. กาหนด ระบบและกลไกการรบั และแตง่ ตง้ั อาจารย์ประจาหลกั สตู ร ดังนี้ P : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ มีแนวทาง และการดาเนินงานเกี่ยวกับการบริหารอาจารย์เป็นไปตามข้อกาหนดของทางมหาวิทยาลัยและคณะฯ ดังนี้ 1.1 สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ จัดการศึกษา 1 หลักสูตร คือ หลักสูตร วศิ วกรรมศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพวิ เตอร์ ต้องมีอาจารยป์ ระจาหลักสตู รจานวน 5 ท่าน 1.2 ระบบการรับอาจารย์ใหม่ของสาขา จะกาหนดคุณวุฒิแต่ละสาขาอาจมีหลักเกณฑ์ต่างกันของ ผสู้ มัคร ให้ตรงหรอื เกย่ี วข้องกับหลักสูตร โดยผา่ นการทดสอบข้อเขียน สอบปฏิบัติการสอนและสอบสัมภาษณ์ ต้องมคี ะแนนผา่ นเกณฑไ์ ม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 60 1.3 มหาวิทยาลัยมีการจัดปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่ ปีละ 1 ครั้ง โดยกองบริหารงานบุคคล คณะฯ และหัวหน้าสาขาวิชามีส่วนร่วมในการแนะนาการจัดการเรียนการสอนให้อาจารย์ใหม่ในการประชุมพัฒนา บคุ คลากรเปน็ ประจาทกุ ปี 1.4 อาจารย์สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ ได้รับการพัฒนาความรู้ทาง วิชาการและวิชาชีพ อย่างน้อยปีละ 1 คร้ัง โดยงบประมาณของคณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี อุตสาหกรรม นอกจากน้ัน คณะฯ และมหาวิทยาลัยมีการจัดอบรมความรู้ทางวิชาการให้อาจารย์ในภาพรวม ใหแ้ กอ่ าจารย์ 1.5 อาจารยป์ ระจาหลักสตู รท้ัง 5 ทา่ น มคี ณุ วฒุ ติ รงและเกี่ยวเนือ่ งกบั หลกั สูตรท่จี ดั การศึกษา D : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ ได้ ดาเนินงานเก่ียวกับการรับและการแต่งตั้งอาจารย์ประจาหลักสูตรตามระบบและข้อกาหนดของ มหาวิทยาลัยฯ และคณะฯ ซึง่ ผลการดาเนินการในปีการศกึ ษา 2561 มีดังน้ี หลกั สูตรมกี ารประชุม (การประชมุ คร้ังที่ 1/2561) พจิ ารณาจานวนอาจารย์ : นักศึกษา ในปกี ารศึกษา 2561 มีจานวนนักศึกษารวมท้ัง 4 ชั้นปี จานวน 2 คน และอาจารย์ประจาหลักสูตรจานวน 5 ท่านซ่ึงเป็น

5 อัตราส่วน 2:1 อยู่ในเกณฑ์ที่สานักงานการอุดมศึกษากาหนด ทั้งนี้ในรอบปีการศึกษา 2561 ท่ีผ่านมา ทาง หลกั สูตรไดม้ ีการแต่งตั้งและรบั สมัครอาจารยใ์ หม่ 1 ท่าน คอื นายภรู ิ จนั ทมิ า C : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ ได้ ดาเนินการประชมุ (การประชมุ ครงั้ ท่ี 1/2561) เพื่อติดตามแผนการบรหิ ารบคุ คลในการวางแผนกรอบ อตั รากาลัง และจานวนผ้รู ับผดิ ชอบหลกั สูตรให้เปน็ ไปตามเกณฑท์ ี่ สกอ. กาหนด ดงั น้ี วางแผน อตั รากาลงั ในหลักสูตร ดงั ตารางท่ี 4.1 ตารางท่ี 4.1 ตารางแผนการกลับเข้าปฏบิ ตั ริ าชการบคุ ลากรทลี่ าศึกษาตอ่ ลาดับที่ ชอ่ื -นามสกุล ปี พ.ศ. ทก่ี ลบั เขา้ ปี พ.ศ.ทค่ี าดวา่ จะ ปฏิบัติราชการ สาเรจ็ การศึกษา 1 นายธนกร ญาณกาย 2560 2562 2 นางอจั ฉรา ชุมพล 2561 2563 3 นายวรพจน์ สมมูล 2561 2563 4 นายสรายุทธ ฐติ ะภาส 2562 2563 จากการดาเนนิ งานตามทีก่ ระบวนการกาหนดไว้ พบวา่ 1. ตามท่หี ลกั สตู รไดข้ อเปลี่ยนแปลงอาจารยป์ ระจาหลักสตู ร เพือ่ ขออนุมตั ิสภาพ ผลคือ ได้รับอนมุ ัติ ในการเปล่ียนแปลงอาจารย์ประจาหลักสูตร เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2562 ซึ่งทาให้จานวน อาจารยป์ ระจาหลักสตู รครบ เป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐาน 2. ตามท่หี ลกั สตู รได้ติดตามแผนการบรหิ ารบคุ คล ทาใหห้ ลกั สูตรทราบวา่ จานวนอาจารย์ท่มี คี ุณวุฒิ ระดับปรญิ ญาเอก มีแนวโน้มเพิ่มข้ึน A: หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ ได้ ดาเนินการพัฒนาและวิพากษ์หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562) โดยได้มีการเปล่ียนแปลงอาจารย์ประจาหลักสูตรจาก นายกาธร สารวรรณ ซ่ึงไปประจาหลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ เป็นนายภูริ จันทิมา ซ่ึงได้รับการบรรจุใหม่ และเตรียมการเปล่ียนแปลงอาจารย์ประจาหลักสูตรจากนายสรายทุ ธ กรวริ ัตน์ ซ่งึ ได้ลาศึกษาต่อ เมื่อ วันที่ 7 มกราคม 2562 เป็น นายธนกร ญาณกาย ซ่ึงเป็นอาจารย์ประจาสาขาวิชาวิศวกรรม คอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมตั ิ

6 2. ระบบการบริหารอาจารย์ เป้าหมายเชิงปรมิ าณ เปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ ผรู้ ับผิดชอบหลกั สตู รได้รับการมอบหมาย ภาระ ความพงึ พอใจของอาจารยผ์ ้รู บั ผดิ ชอบหลักสตู ร งานทเี่ หมาะสม มีแนวโน้มที่ดีขน้ึ มีระบบและกลไก ดังน้ี P : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ มีการ บริหารอาจารย์เป็นไปตามกลไกการบริหารอาจารย์ของการบริหารงานบุคคลของมหาวิทยาลัยฯ ดัง รายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปนี้ 2.1 คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีนโยบายในการพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณวุฒิ และตาแหน่งทางวิชาการโดยจัดทาเป็นแผนระยะยาวด้านอัตรากาลังคนในการศึก ษาต่อในระดับที่สูงข้ึนและ การจัดทาตาแหนง่ ทางวชิ าการ 2.2 คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีนโยบายสนับสนุนให้บุคลากรในสาขาได้ ศกึ ษาต่อทีต่ รงสายในระดบั ที่สูงขึ้น ในสถาบันการศกึ ษาภาครฐั โดยงบประมาณของมหาวทิ ยาลยั 2.3 สาขาวิชาวศิ วกรรมคอมพวิ เตอรแ์ ละระบบอัตโนมตั ิ ได้รับการจดั สรรอตั ราอาจารย์ผู้สอนเพ่มิ เพ่ือ เป็นไปตามเกณฑ์ สกอ. ในเรือ่ งสัดสว่ นของอาจารยป์ ระจาต่อนักศึกษา 2.4 คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จัดทาคาส่ังแต่งตั้งอาจารย์ประจาหลักสูตร เพอื่ กาหนดบทบาทและหน้าท่ีความรับผดิ ชอบอยา่ งชัดเจน 2.5 สาขาวิชาวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์และระบบอัตโนมตั ิ มีเกณฑ์ในการกาหนดอาจารยป์ ระจาวิชาจาก ประสบการณใ์ นการสอนโดยให้อาจารย์กรอกประวตั ิการสอนและความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านและนามากาหนด ภาระการสอนในแตล่ ะภาคการศึกษา 2.6 สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ มอบรางวัลอาจารย์ผู้สอนดีเด่น อาจารย์ นกั วจิ ัยดเี ดน่ และอาจารยก์ ิจกรรมดีเด่น แกอ่ าจารย์ในสาขาวิชา 2.7 สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ มีระบบการยกย่องและธารงรักษาอาจารย์ อย่างมีประสทิ ธิภาพ เช่น การมอบรางวลั การมอบหมายหนา้ ท่ที ี่รบั ผิดชอบในสาขาวชิ าฯ ท่ีหลักสูตรสงั กัดตาม ความสามารถและความถนัดของแตล่ ะบคุ คล โดยใหม้ ภี าระงานในปรมิ าณทเี่ ทา่ เทยี มกัน D : ในปีการศึกษาที่ผ่านมา หลักสูตรมีการประชุมวางแผนเพื่อพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณสมบัติตามท่ี สานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษากาหนด ซึ่งที่ประชุมมุ่งเน้นให้เพ่ิมคุณวุฒิของอาจารย์ประจา หลักสูตร และตาแหน่งวิชาการของอาจารย์ประจาหลักสูตร จึงได้ร่วมกันวางแผนพัฒนาคุณวุฒิ และ ตาแหน่งวชิ าการ ในภาคการศึกษาที่ 1/2561 ดังนี้ ลาดับที่ อาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบหลกั สตู ร การดาเนนิ งาน 1 นายรณชยั สังหมนื่ เม้า - ดาเนนิ การเขยี นบทความวิจยั เพอื่ เขา้ สู่ตาแหนง่ ทางวชิ าการ - ขอการสนับสนุนการวิจัยปี 2561 2 นายสรายุทธ กรวิรัตน์ - ดาเนนิ การเตรียมตวั เพอ่ื ลาศกึ ษาต่อ 3 นายภูริ จนั ทมิ า - ดาเนินการเขียนบทความวิจัยเพื่อเขา้ สูต่ าแหนง่ ทางวชิ าการ 4 นายอมุ้ บญุ เชลียงรชั ต์ชัย - ดาเนินการเขียนบทความวิจัยเพอ่ื เตรียมเข้าสูต่ าแหน่งทางวิชาการ 5 นางอัจฉรา ชมุ พล - เพม่ิ คุณวฒุ ริ ะดบั ปริญญาเอก

7 หลักสูตรได้มกี ารประชุม วเิ คราะหป์ ญั หาความล่าชา้ ของการเพิม่ คุณวฒุ ิอาจารย์ประจาหลักสูตร และ ตาแหนง่ วชิ าการของอาจารย์ ซึ่งพบวา่ ขอ้ เสนอการวิจัยท่ีเสนอยังไม่ใช่ประเด็นท่ีเร่งดว่ นและจาเป็น ประกอบ กับการควบรวมมหาวิทยาลัยส่งผลให้การดาเนินงานด้านทุนสนับสนุนการศึกษาต่อต้องชะลอตัว พร้อมทั้ง ภาระงานด้านอ่ืน ๆ ท่ีมีมาก ทาให้การปรับแก้เอกสารเพ่ือขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการและการเขียน บทความวิจัยเพื่อขอปิดโครงการวิจัยล่าช้า ที่ประชุมจึงมีมติให้อาจารย์ทุกท่านรับผิดชอบและแก้ปัญหาในแต่ ละกรณี ๆ ไป C : สืบเนื่องจากปีการศึกษา 2560 ในการแก้ไขปัญหาการบริหารอาจารย์ในส่วนของหน้าที่ท่ีได้รับ มอบหมายภายในสาขา เพื่อให้อาจารย์ทุกท่านเข้าใจในบทบาทหน้าที่รับผิดชอบ และเพ่ือให้การ บริหารอาจารย์ภายในสาขาฯ เป็นไปอย่างราบรื่น ทางหลักสูตรจึงได้ดาเนินการแบ่งภาระหน้าที่ดูแล งานแต่ละฝ่ายใหส้ อดคล้องกบั สาขาวชิ าฯ โดยมปี ระธานหลกั สูตรเปน็ ท่ปี รกึ ษา ตอ่ เนอ่ื งในปีการศึกษา 2561 ดังน้ี งานพัสดุและการเงินควรมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบโดยเฉพาะ เพื่อดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุการสอน และงานวิจยั เน่ืองจากไดม้ ีการจัดต้ังสาขาวชิ าวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอตั โนมตั ิขนึ้ และในงานทุกฝ่าย ใหม้ อี าจารยป์ ฏิบตั ิหน้าที่ 2 คน โดยมผี รู้ บั ผดิ ชอบหลัก 1 คนตามคาส่งั ของคณะฯ 1) งานพัฒนานักศึกษา ประกอบด้วย การดูแลกิจกรรมของนักศึกษาของหลักสูตรวิศวกรรม คอมพิวเตอร์ท้ังหมด กิจกรรมของสาขาฯ กิจกรรมของคณะฯ กิจกรรมของมหาวิทยาลัยฯ และ Website ของสาขา มอบหมายให้ อาจารย์ธนกร ญานกาย และอาจารย์ภูริ จันทิมา เปน็ ผดู้ แู ลและประสานงานกบั สาขาวชิ าฯ 2) พัสดุและการเงิน ประกอบไปด้วย งานธุรการหลักสูตร การดูและติดตามกากับวัสดุครุภัณฑ์ สาขา มอบหมาย อาจารย์อภิชัย สารทอง และ อาจารย์รณชัย สังหมื่นเม้า เป็นผู้ดูแลและ ประสานงานกบั สาขาวิชาฯ 3) งานแผนและประกัน ประกอบด้วย งานแผนของหลักสูตรและการประกันคุณภาพหลักสูตร มอบหมาย อาจารย์อัจฉรา ชุมพล และ อาจารย์รณชัย สังหมื่นเม้า เป็นผู้ดูแลและ ประสานงานกับสาขาวิชาฯ 4) งานวิชาการ งานทะเบียนและวิจัย ประกอบด้วย งานวิชาการทั้งหมดภายในหลักสูตร งานวิจัยอาจารย์/นักศึกษา งานสหกิจศึกษา การรวบรวมข้อมูล มคอ. 3-4-5-6 และงาน วิชาการนักศึกษา มอบหมาย อาจารย์รณชัย สังหมื่นเม้า และ อาจารย์อมุ้ บุญ เชลยี งรัชต์ชยั เป็นผู้ดแู ลและประสานงานกับสาขาวชิ าฯ 5) งานสารบรรณ ประกอบด้วยงานรับส่งเอกสาร บันทึกข้อความ ทั้งภายในและภายนอก มอบหมาย อาจารย์ภูริ จันทิมา และ อาจารย์รณชัย สังหมื่นเม้า เป็นผู้ดูแลและประสานงาน กบั สาขาวิชาฯ 6) งานอาคารสถานที่ ประกอบด้วยงาน อุปกรณ์ วัสดุ ห้องเรียนให้มีความพร้อมต่อการใช้งาน มอบหมาย อาจารย์อภชิ ยั สารทอง และ อาจารยก์ าธร สารวรรณ เปน็ ผ้ดู แู ล 7) งานแนะแนวการศึกษาและประชาสัมพันธห์ ลักสูตร ดูแลเพจสาขาวิชาวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์ ฯ มอบหมาย อาจารย์อุ้มบุญ เชลียงรัชต์ชัย และอาจารย์ธนกร ญานกาย เป็นผู้ดูแลและ ประสานงานกับสาขาวิชาฯ

8 A: ในปกี ารศึกษา 2561 การบรหิ ารอาจารยข์ องหลกั สตู รเป็นไปอยา่ งราบรืน่ มกี ารแบง่ หน้าทกี่ นั อย่าง ชัดเจนและสามารถมอบหมายงานให้กันได้ ไม่พบปัญหาในส่วนของผู้รับผิดชอบ ส่งผลต่อการบริหาร อาจารย์ภายในสาขาฯ ที่เป็นไปอย่างคลอ่ งตัว หัวหน้าสาขาฯ สามารถมอบหมายงานและผลลพั ธ์ของ งานที่มอบหมายประสบความสาเร็จและได้รับความร่วมมือจากอาจารย์และผู้ร่วมดาเนินการ และได้ นาผลการดาเนินงานเข้าสู่ที่ประชุมหลักสูตรให้ร่วมกันวิเคราะห์หาข้อบกพร่องและปรับปรุงการ ดาเนนิ งาน เพอื่ ยดึ ถอื ปฏิบัติในปกี ารศกึ ษา 2562 ต่อไป 3. ระบบการส่งเสรมิ และพัฒนาอาจารย์ เปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ เป้าหมายเชิงปรมิ าณ อาจารย์มผี ลงานวิจัยไดร้ บั ตีพิมพเ์ ผยแพรใ่ น อาจารย์ประจาหลักสูตรทุกคนได้รบั การสง่ เสรมิ ฐานขอ้ มูลท่สี ูงขึน้ และพัฒนาตนเอง การสง่ เสริมและพัฒนาอาจารย์ มรี ะบบและกลไก ดังน้ี P : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ ได้มี กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ตามแผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของ คณะวิศวกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม ดังน้ี 3.1 คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ได้จัดสรรงบประมาณให้บุคลากรได้รับการ พฒั นาทางวิชาชีพอยา่ งต่อเนอื่ ง โดยสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ สง่ เสรมิ ให้อาจารย์ใน สาขาวิชาเขา้ รบั การอบรมกบั องค์กรทางวชิ าชีพ เพอ่ื ให้อาจารย์นาความรู้ท่ีได้รบั มาพฒั นาการจัดการเรยี นการ สอนและส่งผลตอ่ คุณภาพของบัณฑติ ในอนาคต 3.2 คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีนโยบายให้อาจารย์ต้องจัดทางานวิจัยอย่าง นอ้ ย 1 เรอ่ื งและงานวิจัยทกุ เร่ืองตอ้ งนาไปใช้ประโยชน์หรอื ไดร้ บั การเผยแพร่ 3.3 คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีนโยบายให้แต่ละสาขาต้องจัดประชุมอย่าง น้อย 4 คร้ัง เพื่อวางแผนและติดตามการดาเนินงานการจัดการเรียนการสอนของแต่ละสาขา และสาขามีการ จัดประชุมและจดั ทารายงานการประชุมเพ่อื รายงานต่อคณะฯ 3.4 คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กาหนดให้ทุกหลักสูตรต้องจัดทาวิจัยในช้ัน เรียนอย่างน้อยหลักสูตรละ 1 รายวิชา โดยสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ ได้นามา ดาเนนิ การตามนโยบายของคณะฯ ทง้ั นเี้ พอ่ื นามาพัฒนาการจดั การเรียนการสอนในแตล่ ะรายวชิ า 3.5 สาขาวชิ าวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมตั ิ ไดน้ าผลการประเมินการสอนของอาจารย์ซึ่ง แสดงใน มคอ.5 มาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนครง้ั ต่อไปซ่ึงแสดงไวใ้ น มคอ.3 ในภาคเรียนถดั ไป

9 3.6 อาจารย์พเี่ ลีย้ งในสาขาวชิ าวิศวกรรมคอมพวิ เตอร์และระบบอัตโนมัติ ได้นาเทคนิคการสอนที่ดีมา ถา่ ยทอดส่อู าจารย์รุน่ ใหมใ่ นสาขา D : ในปกี ารศกึ ษา 2561 หลกั สตู รมีการดาเนนิ งานให้อาจารย์ประจาหลักสตู รได้เข้ารว่ มโครงการเพ่ือ พัฒนาทักษะทางด้านความรู้/การฝึกอบรมโครงการต่าง ๆ และได้ไปร่วมนาเสนอผลงานทางวิชาการ ในงานประชมุ ระดับชาติและนานาชาติ C : ทางหลักสูตรฯ ได้ประชุมเพื่อรายงานผลการเข้าร่วมโครงการ เพ่ือช้ีแจงและหาแนวทางใน การปรบั ปรุงกระบวนการพฒั นาอาจารย์เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในการสอน ซ่ึงจากการฝึกอบรมทาให้ได้ แนวคิด ในการนาเนื้อหาเก่ียวกับ ออกแบบควบคุมสมองกลฝังตวั และ การสรา้ งส่งิ ประดิษฐ์ หุน่ ยนต์ เพ่ิมเติมในรายวิชา การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น โดยเน้นให้นักศึกษาได้เข้าใจจาก กรณศี ึกษาและส่ือการสอน และจากการเสนอแผนการพฒั นาอาจารย์ในปีการศึกษา 2561 (วาระการ ประชุม 2/2561) ให้สนับสนุนอาจารย์ประจาหลักสูตรได้ออกศึกษาดูงานต่างสถาบันในหลักสูตร เดียวกนั หรือเทียบเคียงกัน หรอื อบรมนอกสถานท่ี ซ่งึ อาจารยร์ ณชยั สังหม่นื เม้าและอาจารยภ์ รู ิ จนั ทิ มา ได้ไปศึกษาดูงานท่ี มหาวิทยาลัยราชมงคลอีสาน จังหวัดนครราชสีมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุร นารี สถาบันเทคโนโลยีไทย-เยอรมัน จังหวัดชลบุรี บริษัท SMC นิคมอุตสาหกรรมแอทเทิร์นซีบอร์ด และ Omron Thailand กรุงเทพฯ ระหว่างวนั ที่ 1 – 4 เมษายน 2562 A: หลักสูตรวศิ วกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ ได้มีการวาง แผนการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ตามแผนปฏิบัติการ โดยสนับสนุนการมีส่วนร่วมในกิจกรรม บริการวิชาการแก่สังคมที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาความรู้และคุณธรรม กระตุ้นให้อาจารย์ทาผลงาน วิชาการในสาขาวิชาและส่งเสริมการทาวิจัยสร้างองค์ความรู้ใหม่เพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนและ ความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพ การดาเนนิ งาน 1. สาขาวชิ าฯ ประชมุ วางแผนการพฒั นาศกั ยภาพอาจารย์ 2. สาขาวิชาฯ ประชุมวางแผนการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ และแจ้งแนวทางในการส่งเสริมและ พฒั นาอาจารยใ์ ห้บุคลากรทราบ ดังนี้ 2.1 การสง่ เสริมและพฒั นาด้านการศึกษาตอ่ ในระดบั ท่สี งู ขนึ้ 2.2 การส่งเสรมิ และพัฒนาด้านการเขา้ สู่ตาแหนง่ ทางวชิ าการ 2.3 การสง่ เสริมและพฒั นาด้านวชิ าชีพ 2.4 การสง่ เสริมและพฒั นาด้านการวิจัย 3. อาจารยแ์ ต่ละทา่ นมแี ผนการพัฒนาตนเอง 4. สาขาวิชาได้ติดตามผลประเมินความพึงพอใจ ในกระบวนการส่งเสรมิ และพัฒนาอาจารย์ ซึ่งผลการ ประเมิน อยู่ในระดับมาก อาจารย์ทุกท่านมีความสนใจและให้ความสาคัญในการพัฒนาตนเอง และพร้อมท่ีจะ เขา้ รว่ มโครงการที่จัดข้นึ ทุกโครงการ 5. อาจารย์ผ้รู บั ผิดชอบหลกั สตู ร ไดส้ ง่ ผลงานวจิ ยั เพอ่ื เผยแพร่ ในฐานขอ้ มูลสงู ขึ้น ดังนี้

10 ลาดับที่ ชอื่ -สกลุ ผลงานวจิ ัย ช่อื วารสารหรอื ระดับคณุ ภาพ ประชุมวิชาการ ผลงานทาง วิชาการ 1 นายอุ้มบุญ เชียงรชั ตช์ ัย Improvement an efficiency of การประชุมวิชาการ 0.2 transportation in post office ข่ายงานวิศวกรมอตุ 0.8 by Automatic line following สาหการ 0.2 bot messenger 0.4 2 นางอจั ฉรา ชุมพล Using the Hybrid DEA-TOPSIS วารสารวชิ าการ Technique for Selecting the เทคโนโลยี Suitable Biomass Materials for อุตสาหกรรม Processing into Fuel Briquettes 3 นายสรายุทธ กรวริ ัตน์ Development of Instruction การประชุมวิชาการ นายรณชยั สงั หมื่นเมา้ Media for Simulating ข่ายงานวศิ วกรมอุต 4 นายสรายุทธ กรวิรัตน์ Warehouse by Augmented สาหการ Reality (AR) Selection of the Best Laptop วารสารวจิ ยั for Educational Purposes using มหาวทิ ยาลยั Hybrid Decision Making เทคโนโลยรี าช Technique มงคลศรวี ชิ ัย 6. อาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบหลกั สตู รไดร้ ับการอบรมและพฒั นาทางวชิ าการ ดังนี้ ช่อื อาจารย์ ช่ือโครงการพฒั นาทักษะทางดา้ นความร/ู้ การ สรปุ ขอ้ คิดเหน็ และประโยชนท์ ี่ ฝึกอบรมต่างๆ ผูเ้ ขา้ รว่ มกิจกรรมไดร้ ับ การบรกิ ารวชิ าการ - นายอุม้ บุญ เชลยี งรชั ต์ชยั โครงการบรกิ ารวชิ าการ เร่ือง “สัปดาห์วิทยาศาสตร์ เกิดประสบการณด์ ้านวิชาการ สรา้ ง - นายรณชัย สงั หมื่นเม้า แ ห่ ง ช า ติ ( ส่ ว น ภู มิ ภ า ค ) ป ร ะ จ า ปี 2 5 6 1 ” เครือขา่ ยโรงเรียนมัธยมศึกษาตอน 18 - 19 สิงหาคม 2561ณ มหาวทิ ยาลยั กาฬสนิ ธ์ุ ปลาย - นางอจั ฉรา ชุมพล - นายสรายุทธ กรวริ ัตน์ - นายอมุ้ บญุ เชลยี งรัชต์ชยั โครงการบริการวชิ าการ เรื่อง “คา่ ยเส้นทางสวู่ ศิ วกร เกดิ ประสบการณด์ ้านวชิ าการ สรา้ ง - นายรณชยั สงั หมน่ื เมา้ คณะวศิ วกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เครือข่ายโรงเรยี นมัธยมศึกษาตอน มหาวิทยาลยั กาฬสนิ ธุ์” 23 - 25 พฤศจิกายน 2561 ปลาย และบรู ณาการการเรยี นการ - นายภรู ิ จันทมิ า - นางอัจฉรา ชมุ พล ณ มหาวทิ ยาลัยกาฬสินธุ์ สอนกบั โครงการบริการวิชาการเพอ่ื - นายสรายทุ ธ กรวริ ตั น์ ยกระดบั การสอนในชั้นเรียน - นายอมุ้ บุญ เชลยี งรัชต์ชัย โครงการบริการวิชาการ เรื่อง “อบรมพัฒนาทักษะ เกิดประสบการณด์ า้ นวิชาการ สรา้ ง - นายรณชยั สงั หมนื่ เม้า การสร้าง port folio และ resume เพ่ือสมัคร เครอื ข่ายโรงเรียนมัธยมศกึ ษาตอน - นายภูริ จันทิมา - นางอจั ฉรา ชมุ พล TCAS” 30 พฤศจิกายน 2561 ณ มหาวิทยาลัย ปลาย และบรู ณาการการเรียนการ - นายสรายทุ ธ กรวิรตั น์ กาฬสินธุ์ สอนกับโครงการบริการวิชาการเพอื่ ยกระดับการสอนในชนั้ เรยี น

11 ชื่ออาจารย์ ชอื่ โครงการพัฒนาทักษะทางด้านความร้/ู การ สรุปข้อคิดเห็นและประโยชน์ที่ ฝึกอบรมต่างๆ ผ้เู ขา้ รว่ มกจิ กรรมไดร้ บั - นายอมุ้ บญุ เชลยี งรชั ต์ชยั โครงการบริการวิชาการ เรื่อง “โครงการอบรมเชิง เกดิ ประสบการณด์ า้ นวิชาการ สรา้ ง - นายรณชัย สังหมน่ื เม้า ปฏิบัติการและการแขง่ ขนั ยานพาหนะควบคุมดา้ นโล เครือข่ายโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษาตอน - นายภูริ จันทิมา จสิ ตกิ ส์ (Controlled Logistics Vehicle; CLV)” ปลาย และบรู ณาการการเรยี นการ - นางอจั ฉรา ชมุ พล 22 - 23 กุมภาพันธ์ 2562 ณ มหาวิทยาลัยกาฬสนิ ธุ์ สอนกับโครงการบรกิ ารวชิ าการเพอ่ื - นายสรายุทธ กรวริ ัตน์ ยกระดบั การสอนในชน้ั เรียน - นายรณชัย สังหมนื่ เม้า วทิ ยากรอบรมการใช้งาน TurtleBot๓ และ Robot เกิดประสบการณด์ า้ นวชิ าการ สรา้ ง - นายภูริ จนั ทมิ า Operating System (ROS) เครอื ข่ายโรงเรยี นมธั ยมศึกษาตอน ปลาย และบูรณาการการเรยี นการ สอนกับโครงการบริการวิชาการเพอื่ ยกระดับการสอนในช้นั เรียน - นายรณชยั สังหมน่ื เม้า โครงการนักประดิษฐ์หุน่ ยนตร์ ุ่นเยาว์และการแข่งขนั เกิดประสบการณด์ ้านวิชาการ สรา้ ง - นายภูริ จนั ทิมา ส่ิงประดษิ ฐ์ หุ่นยนต์ และ เทคโนโลยี Kamalasai เครือข่ายโรงเรยี นมัธยมศึกษาตอน - นายสรายทุ ธ กรวริ ตั น์ Robotics 2018 ปลาย และบรู ณาการการเรยี นการ สอนกบั โครงการบรกิ ารวิชาการเพอ่ื ยกระดับการสอนในชั้นเรยี น - นายอ้มุ บุญ เชลียงรัชตช์ ยั อบรมหลักสูตรออกแบบควบคุมสมองกลฝังตัว เกิดประสบการณ์ด้านวิชาการ และ - นายรณชยั สงั หมื่นเมา้ สานักงานพัฒนาฝีมือแรงงานจังหวดั กาฬสินธ์ุ บู ร ณ า ก า ร ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น กั บ โ ค ร ง ก า ร บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร เ พื่อ ยกระดับการสอนในชัน้ เรียน การอบรม - นายรณชัย สังหมืน่ เม้า อบรม โครงการ เรือ่ ง TurtleBot ระหว่างวนั ท่ี ๑๑- เกิดประสบการณด์ า้ นวิชาการ และ - นายสรายุทธ กรวิรตั น์ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๖๑ ณ มหาวทิ ยาลัยธรุ กจิ บณั ฑติ ย์ บูรณาการการเรยี นการสอนเพ่ือ ยกระดบั การสอนในช้ันเรียน - นางอจั ฉรา ชุมพล การสร้างแนวคิดวิจยั ให้มีชยั ตอ่ แหล่งทุน\" โดย Multi เพ่มิ มมุ มองดา้ นการวจิ ัย แนวคดิ การ Mentoring System (MMS6) ทาวิจัยท่ชี ่วยตอบสนองนโยบายของ ชาติ - นายอมุ้ บญุ เชลียงรชั ตช์ ัย อบรม “สถาบันพระมหากษัตรยิ ก์ บั ประเทศไทย” ได้ทราบประวตั ศิ าสตร์ของสถาบัน - นายรณชยั สงั หมน่ื เม้า 20 เมษายน 2562 ณ มหาวทิ ยาลยั กาฬสนิ ธุ์ พระมหากษตั ริย์กบั ประเทศไทย ทา - นายภูริ จันทมิ า ให้เกิดความรกั และศรัทธาในสถาบัน - นางอจั ฉรา ชุมพล พระมหากษตั รยิ ม์ ากย่ิงขนึ้ พร้อมจะ - นายสรายทุ ธ กรวิรัตน์ นอ้ มนาคาสอนปฏบิ ตั ิในการทางาน - นายรณชยั สงั หมน่ื เม้า อบรม “โครงการปรับปรุงและพฒั นาหลักสตู รใหม่ เกิดประสบการณด์ า้ นวิชาการและ - นายภูริ จนั ทมิ า ด้านวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้าน สรา้ งเครือขา่ ยสถานท่ีศึกษาดงู าน วิศวกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โครงการยอ่ ยที่ 2 และสหกิจศึกษาของนกั ศกึ ษา จัดทาหลักสตู รใหม่ วิศวกรรมศาสตรบ์ ณั ฑิต สาขาวชิ าวิศวกรรมแมคคาโทรนกิ ส์ (หลักสตู รใหม่ พ.ศ. 2563) กิจกรรมท่ี 1 สารวจขอ้ มลู เบือ้ งต้นและ ศึกษาดงู าน”

12 ชื่ออาจารย์ ชื่อโครงการพัฒนาทกั ษะทางด้านความรู้/การ สรปุ ขอ้ คดิ เหน็ และประโยชน์ท่ี ฝึกอบรมตา่ งๆ ผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมได้รบั การสัมมนา - นายรณชัย สงั หม่ืนเมา้ 1 – 4 เมษายน 2562 ณ นครราชสมี า ชลบรุ ี - นายภรู ิ จนั ทมิ า กรุงเทพฯ งานประชมุ วิชาการ - อมุ้ บญุ เชลียงรชั ต์ชัย การประชมุ สัมมนา “Roadshow in AI Innovation เกิดประสบการณด์ ้านวชิ าการและ - นายรณชยั สงั หมนื่ เม้า JumpStart” 14 ธนั วาคม 2561 ณ อทุ ยาน สรา้ งเครือขา่ ยงานวจิ ัย วทิ ยาศาสตร์ จังหวัดขอนแก่น กาญจนวิทย์ แจม่ พงษ,์ พณิ พฒั น์ บางเพช็ ร, วริ ัตน์ นานักศึกษาเขา้ รว่ มนาเสนอ ช่างพดู , ปยิ ณฐั โตออ่ น, อุ้มบญุ เชลยี งรัชตช์ ยั และ บทความแบบปากเปลา่ ทาให้เกดิ ณฐั นนั ท์ อสิ สระพงศ์. 2561. การเพ่ิมประสิทธภิ าพ ประสบการณด์ า้ นวชิ าการ สร้าง การขนสง่ ภายในสานกั งานด้วยรถเดนิ ตามเสน้ เสรมิ ความกล้าแสดงออก และสรา้ ง อัตโนมตั ิ กรณีศกึ ษา ท่ีทาการไปรษณียก์ าฬสินธุ.์ เครือขา่ ยงานวจิ ยั การประชมุ วิชาการขา่ ยงานวศิ วกรรมอุตสาหการ (IE NETWORK 2018) ระหว่างวันที่ 23 - 26 กรกฏาคม 2561 จงั หวดั อุบลราชธาน.ี 75. อภิสทิ ธ์ิ พริ ยิ ะตะกุล วาลี ภารสไว สรายทุ ธ กรวิรตั น์ นานักศึกษาเขา้ รว่ มนาเสนอ และนายรณชยั สงั หม่นื เมา้ . 2561. การพฒั นาสื่อ บทความแบบปากเปลา่ ทาใหเ้ กิด การสอนแบบจาลองคลังสินค้าดว้ ยวิธคี วามเป็นจริง ประสบการณ์ด้านวชิ าการ สร้าง เสรมิ . การประชมุ วิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสา เสรมิ ความกลา้ แสดงออก และสรา้ ง หการ (IE NETWORK 2018) ระหว่างวันที่ 23 - 26 เครอื ข่ายงานวจิ ัย กรกฏาคม 2561 จังหวดั อบุ ลราชธาน.ี 121. ผลการประเมนิ ตนเอง ผลการประเมนิ เป้าหมาย คะแนนประเมนิ ตนเอง บรรลเุ ป้าหมาย เปา้ หมาย ปีทแี่ ลว้ 6 ระดับ (,) ปถี ัดไป ระดับ 3 ระดบั 4 (คะแนน 0-5)  ระดับ 4 ระดบั 3 รายการหลักฐาน รายการหลักฐาน หมายเลข รายงานการประชมุ วาระการประชุม 2/2561 วค 4.1-1 เอกสารการเขา้ ร่วมโครงการฯ วค 4.1-2 ผกู้ ากบั ดูแลตวั บง่ ช:้ี ผ้จู ัดเก็บรวบรวมขอ้ มูล/รายงานผลการดาเนนิ งาน: 1. นางอจั ฉรา ชุมพล, 0832907447 1. นางอจั ฉรา ชมุ พล, 0832907447 2. นายรณชัย สงั หมื่นเม้า, 0874778519 2. นายรณชัย สงั หมน่ื เมา้ , 0874778519

13 ตวั บง่ ช้ีที่ 4.2 คณุ ภาพอาจารย์ 4.2.1 ร้อยละของอาจารยป์ ระจาหลกั สตู รทม่ี ีคุณวุฒิปรญิ ญาเอก การคดิ รอบปี : ปกี ารศกึ ษา สตู รการคานวณ x 100 1. คานวณคา่ ร้อยละของอาจารยป์ ระจาหลักสตู รท่ีมวี ฒุ ิปริญญาเอก ตามสูตร จานวนอาจารยป์ ระจาหลกั สูตรทม่ี ีคุณวุฒิปริญญาเอก จานวนอาจารย์ประจาหลักสูตรท้ังหมด 2. แปลงคา่ รอ้ ยละท่คี านวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 คะแนนทไี่ ด้= รอ้ ยละของอาจารย์ประจาหลักสตู รทมี่ ีคุณวฒุ ปิ ริญญาเอก x5 ร้อยละของอาจารย์ประจาหลักสูตรที่มีคุณวฒุ ปิ รญิ ญาเอกที่กาหนดใหเ้ ปน็ คะแนนเต็ม 5 สรปุ จานวนอาจารยป์ ระจาหลักสูตรจาแนกตามคณุ วุฒกิ ารศึกษา หนว่ ยวดั ผลการดาเนินงาน จานวนอาจารยต์ ามคณุ วุฒิการศึกษา คน 0 คน 5 อาจารย์วุฒปิ รญิ ญาตรี อาจารย์วุฒิปรญิ ญาโท คน 0 อาจารยว์ ฒุ ิปรญิ ญาเอก คน 10 รวมจานวนอาจารย์ประจาทั้งหมด (นบั รวมท่ีลาศึกษาต่อ) ร้อยละ 0 ร้อยละอาจารยป์ ระจาท่มี ีวุฒิปรญิ ญาตรี ร้อยละ 100 รอ้ ยละอาจารยป์ ระจาทีม่ ีวุฒิปริญญาโท รอ้ ยละ 0 ร้อยละอาจารยป์ ระจาท่ีมีวุฒิปริญญาเอก

14 แบบรายงานอาจารยป์ ระจาหลักสูตรที่มคี ณุ วุฒิปรญิ ญาเอก ระยะเวค าการปฏิบตั ิงาน วฒุ กิ ารศึกษา ที่ ชือ่ -สกุล ปรญิ ญา ปริญญา ปริญญา นอ้ ยกว่า 6-9 มากกว่า จานวน ตรี โท เอก 6 เดอื น เดอื น 9 เดอื น (คน) รวม 0 รวมท้ังสิน้ คา่ ร้อยละของอาจารย์ประจาหลกั สตู ร 0 คน ทม่ี ีวุฒิปริญญาเอก คะแนนท่ีได้ ร้อยละ 0 0 คะแนน * กรณอี าจารย์ที่รับเข้ามาปฏิบตั งิ านใหม่ ใหพ้ ิจารณาระยะเวลาการปฏบิ ตั งิ าน ผลการประเมินตนเอง ตวั บง่ ช้ที ี่ 4.2.1 ผลการประเมิน เป้าหมาย คะแนนประเมนิ ตนเอง บรรลุเปา้ หมาย เปา้ หมาย ปีทแ่ี ล้ว 0 (,) ปถี ัดไป 05  5 รายการหลักฐานหมายเลข รายการหลักฐาน วค 4.2.1-1 ประวัตอิ าจารย์ประจาหลักสูตร ผ้กู ากับดูแลตัวบ่งช้:ี ผูจ้ ดั เก็บรวบรวมข้อมูล/รายงานผลการดาเนินงาน: 1. นางอจั ฉรา ชุมพล, 0832907447 1. นางอจั ฉรา ชุมพล, 0832907447 2. นายรณชัย สังหมน่ื เม้า, 0874778519 2. นายรณชัย สังหม่ืนเม้า, 0874778519

15 4.2.2 รอ้ ยละของอาจารย์ประจาหลกั สูตรท่ดี ารงตาแหน่งทางวชิ าการ การคิดรอบปี : ปกี ารศึกษา สูตรการคานวณ 1. คานวณคา่ รอ้ ยละของอาจารยป์ ระจาหลกั สูตรที่ดารงตาแหนง่ ทางวิชาการ ตามสูตร จานวนอาจารยป์ ระจาหลักสูตรท่ดี ารงตาแหน่งทางวชิ าการ x 100 จานวนอาจารย์ประจาหลักสูตรท้งั หมด 2. แปลงคา่ ร้อยละท่คี านวณไดใ้ นขอ้ 1เทยี บกับคะแนนเต็ม5 ร้อยละของอาจารย์ประจาหลกั สตู รท่ีดารงตาแหนง่ ทางวชิ าการ คะแนนท่ีได้ = ร้อยละของอาจารย์ประจาหลกั สตู รที่ดารงตาแหน่งทางวชิ าการทีก่ าหนดใหเ้ ปน็ x5 คะแนนเต็ม 5 สรุปจานวนอาจารย์ประจาหลกั สตู รจาแนกตามตาแหนง่ ทางวิชาการ จานวนอาจารยต์ ามคุณวุฒกิ ารศกึ ษา หน่วยวดั ผลการดาเนินงาน ศาสตราจารย์ คน 0 รองศาสตราจารย์ คน 0 ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ คน 0 อาจารย์ท่ีไมม่ ตี าแหน่งทางวิชาการ คน 5 รวมจานวนอาจารย์ประจาทั้งหมด (นบั รวมท่ลี าศึกษาต่อ) คน 10 คน 0 รวมอาจารย์ประจาท่มี ตี าแหนง่ วชิ าการ (ผศ.,รศ. และ ศ.) 0 รอ้ ยละอาจารย์ประจาท่ีมตี าแหนง่ วชิ าการ (ผศ.,รศ. และ ศ.) ร้อยละ แบบรายงานอาจารยป์ ระจาหลกั สตู รท่ีมตี าแหน่งทางวชิ าการ ที่ ช่อื -สกุล อ. ผศ. รศ. ศ. นอ้ ยกวา่ 6-9 มากกว่า จานวน 6 เดอื น เดือน 9 เดือน (คน) 1. - 0 คน รวม ร้อยละ 0 รวมทั้งส้นิ 0 คะแนน คา่ รอ้ ยละของอาจารยป์ ระจาหลักสูตร ที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการ คะแนนทีไ่ ด้ *กรณีอาจารยท์ ี่รับเข้ามาปฏบิ ตั งิ านใหม่ ใหพ้ ิจารณาระยะเวลาการปฏบิ ัติงาน

16 ผลการประเมินตนเอง ตวั บง่ ช้ที ี่ 4.2.2 ผลการประเมิน เปา้ หมาย คะแนนประเมินตนเอง บรรลุเป้าหมาย เปา้ หมาย ปที ีแ่ ลว้ 1 0 (,) ปถี ัดไป 0  1 รายการหลักฐาน รายการหลักฐาน หมายเลข ประวัติอาจารย์ประจาหลกั สูตร วค 4.2.2-1 ผกู้ ากบั ดูแลตวั บ่งช้ี: ผจู้ ดั เก็บรวบรวมข้อมลู /รายงานผลการดาเนินงาน: 1. นางอัจฉรา ชุมพล, 0832907447 1. นางอัจฉรา ชุมพล, 0832907447 2. นายรณชยั สงั หมื่นเมา้ , 0874778519 2. นายรณชัย สังหม่นื เมา้ , 0874778519 4.2.3 ผลงานวิชาการของอาจารยป์ ระจาหลักสูตร การคดิ รอบปี : คดิ รอบปปี ฏิทนิ (ใช้ปเี ดียวกันกบั ปกี ารศึกษา) สตู รการคานวณ 1. คานวณรอ้ ยละของผลรวมถว่ งน้าหนกั ของผลงานวชิ าการของอาจารย์ประจาหลักสูตรตามสตู ร ผลรวมถว่ งนา้ หนกั ของผลงานวชิ าการของอาจารยป์ ระจาหลักสูตร x 100 จานวนอาจารย์ประจาหลกั สูตรทงั้ หมด 2. แปลงคา่ ร้อยละที่คานวณได้ในขอ้ 1เทยี บกับคะแนนเตม็ 5 x5 รอ้ ยละของผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงานวชิ าการของอาจารย์ประจาหลักสูตร คะแนนท่ีได้ = รอ้ ยละของผลรวมถว่ งนา้ หนกั ของผลงานวชิ าการของอาจารยป์ ระจาหลักสูตร ทีก่ าหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5

17 สรุปผลงานวิชาการ/งานสรา้ งสรรคข์ องอาจารย์ประจาหลกั สตู รทต่ี พี ิมพเ์ ผยแพร่ ประเภทผลงานวิชาการ/งานสรา้ งสรรคข์ องอาจารยป์ ระจาหลักสตู ร นา้ หนกั จานวน ผลรวม ระดบั ปริญญา (ตรี/โท/เอก) ผลงาน ถว่ ง น้าหนัก ผลงานทางวิชาการ 1.1 บทความวิจยั ฉบับสมบรู ณ์ทตี่ พี มิ พ์ในรายงานสบื เนือ่ งจากการประชุมวชิ าการระดับชาติ 0.20 2 0.40 1.2 บทความวิชาการฉบบั สมบรู ณท์ ตี่ ีพมิ พ์ในรายงานสบื เน่อื งจากการประชุมวชิ าการ 0.20 ระดบั ชาติ 2.1 บทความวิจยั ฉบับสมบรู ณท์ ต่ี พี ิมพใ์ นรายงานสืบเนอ่ื งจากการประชมุ วิชาการระดับนานาชาติ 0.40 2.2 บทความวิชาการฉบบั สมบรู ณ์ท่ีตพี มิ พใ์ นรายงานสืบเน่ืองจากการประชมุ วชิ าการระดับานาชาติ 0.40 2.3 บทความวจิ ัยฉบบั สมบรู ณ์ทตี่ พี ิมพ์ในวารสารทางวิชาการทไี่ มอ่ ยู่ในประกาศของ ก.พ.อ. แต่สถาบันนาเสนอสภาสถาบนั เพอ่ื อนมุ ตั แิ ละจดั ทาเปน็ ประกาศใหท้ ราบเปน็ การทว่ั ไป และ 0.40 แจง้ ให้ กพอ./กกอ. ทราบภายใน 30 วนั นับแตว่ ันที่ออกประกาศ 2.4 บทความวิชาการฉบับสมบรู ณ์ท่ีตพี มิ พ์ในวารสารทางวชิ าการทไ่ี มอ่ ยใู่ นประกาศของ ก.พ.อ.แต่ 1 0.40 สถาบนั นาเสนอสภาสถาบันเพ่ืออนุมัติและจัดทาเป็นประกาศใหท้ ราบเปน็ การท่ัวไปและ แจ้งให้ 0.40 กพอ./กกอ.ทราบภายใน 30 วันนับแต่วนั ท่ีออกประกาศ 2.5 ผลงานทีไ่ ดร้ บั การจดอนุสิทธบิ ัตร 0.40 3.1 บทความวิจัยทตี่ ีพิมพใ์ นวารสารวชิ าการท่ปี รากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2 0.60 3.2 บทความวิชาการที่ตพี มิ พ์ในวารสารวชิ าการที่ปรากฏในฐานขอ้ มลู TCI กลมุ่ ท่ี 2 0.60 4.1 บทความวิจัยทตี่ พี มิ พใ์ นวารสารวชิ าการระดับนานาชาติทไี่ มอ่ ยใู่ นฐานข้อมลู ตามประกาศ 0.80 ก.พ.อ.แต่สถาบันนาเสนอสภาสถาบันเพอื่ อนุมัตแิ ละจัดทาเป็นประกาศให้ทราบเปน็ การท่วั ไป และแจ้งให้ กพอ./กกอ. ทราบภายใน 30 วันนับแต่วันทอี่ อกประกาศ 4.2 บทความวิชาการที่ตพี ิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาตทิ ไี่ ม่อยู่ในฐานขอ้ มูลตามประกาศ 0.80 ก.พ.อ.แต่สถาบันนาเสนอสภาสถาบันเพ่ืออนมุ ัติและจัดทาเปน็ ประกาศให้ทราบเป็นการทั่วไปและ แจ้งให้ กพอ./กกอ. ทราบภายใน 30 วันนับแตว่ นั ทอี่ อกประกาศ

18 ประเภทผลงานวชิ าการ/งานสรา้ งสรรค์ของอาจารยป์ ระจาหลักสตู ร นา้ หนกั จานวน ผลรวม ระดับปริญญา (ตร/ี โท/เอก) ผลงาน ถว่ ง น้าหนกั ผลงานทางวชิ าการ (ตอ่ ) 4.3 บทความวจิ ยั ท่ตี ีพมิ พใ์ นวารสารวชิ าการท่ปี รากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1 0.80 1 0.80 4.4 บทความวชิ าการทีต่ พี มิ พ์ในวารสารวิชาการทปี่ รากฏในฐานข้อมลู TCI กลมุ่ ที่ 1 0.80 5.1 บทความวิจยั ที่ตพี ิมพใ์ นวารสารวิชาการระดบั นานาชาติท่ีปรากฏในฐานขอ้ มูลระดบั นานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรอื ระเบยี บคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษาว่าดว้ ยหลักเกณฑ์การ 1.00 พิจารณาวารสารทางวชิ าการสาหรบั การเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการ พ.ศ. 2556 5.2 บทความวชิ าการทต่ี พี ิมพ์ในวารสารวชิ าการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลระดบั 1.00 นานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรอื ระเบียบคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา ว่าดว้ ยหลกั เกณฑ์ การพิจารณาวารสารทางวชิ าการสาหรบั การเผยแพรผ่ ลงานทางวิชาการพ.ศ. 2556 5.3 ผลงานที่ไดร้ ับการจดสทิ ธบิ ัตร 1.00 5.4 ผลงานวิชาการรบั ใช้สังคมทไ่ี ดร้ ับการประเมนิ ผา่ นการประเมนิ ตาแหนง่ ทางวชิ าการแล้ว 1.00 5.5 ผลงานวจิ ัยที่หนว่ ยงานหรือองคก์ รระดับชาตวิ า่ จา้ งให้ดาเนินการ 1.00 5.6 ผลงานค้นพบพันธุพ์ ชื พนั ธ์สุ ตั ว์ ทีค่ ้นพบใหม่และไดร้ ับการจดทะเบียน 1.00 5.7 ตาราหรือหนงั สอื ทไ่ี ดร้ ับการประเมินผา่ นเกณฑก์ ารขอตาแหน่งทางวิชาการแลว้ 1.00 5.8 ตาราหรอื หนงั สือทผ่ี า่ นการพจิ ารณาตามหลกั เกณฑ์การประเมนิ ตาแหน่งทางวิชาการแต่ 1.00 ไมไ่ ด้นามาขอรบั การประเมินตาแหนง่ ทางวิชาการ 0.20 งานสรา้ งสรรค์ 0.40 0.60 6. งานสรา้ งสรรคท์ ี่มกี ารเผยแพรส่ ู่สาธารณะในลกั ษณะใดลักษณะหน่ึง หรอื ผ่านส่ือ 0.80 อเิ ล็กทรอนกิ ส์ online 7. งานสร้างสรรคท์ ไี่ ด้รบั การเผยแพรใ่ นระดับสถาบนั 8. งานสร้างสรรค์ทไ่ี ดร้ ับการเผยแพร่ในระดับชาติ 9. งานสรา้ งสรรคท์ ี่ไดร้ บั การเผยแพร่ในระดบั ความร่วมมือระหว่างประเทศ 10. งานสรา้ งสรรค์ท่ีไดร้ บั การเผยแพร่ในระดับภูมภิ าคอาเซียน/นานาชาติ 1.00 จานวนอาจารยป์ ระจาหลักสตู รท้ังหมด 5 จานวนผลงานวชิ าการทง้ั หมด 4 จานวนผลงานสร้างสรรค์ทั้งหมด - ผลรวมถว่ งนา้ หนักของผลงานวิชาการของอาจารย์ประจาหลกั สตู ร 1.60 ผลรวมถ่วงน้าหนกั ของผลงานสรา้ งสรรคข์ องอาจารยป์ ระจาหลกั สตู ร - ร้อยละของผลรวมถ่วงนา้ หนักของผลงานวชิ าการของอาจารยป์ ระจาหลักสตู ร 32 ร้อยละของผลรวมถ่วงนา้ หนกั ของผลงานสรา้ งสรรค์ของอาจารยป์ ระจาหลักสตู ร - คา่ รอ้ ยละของผลรวมถ่วงนา้ หนกั ของผลงานวิชาการของอาจารย์ประจาหลกั สตู ร 4 ค่าร้อยละของผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงานสรา้ งสรรค์ของอาจารยป์ ระจาหลกั สตู ร -

19 ผลการประเมนิ ตนเอง ตวั บ่งชี้ที่ 4.2.3 ผลการประเมนิ เป้าหมาย คะแนนประเมินตนเอง บรรลเุ ป้าหมาย เป้าหมาย ปีทีแ่ ล้ว 4 (,) ปีถดั ไป 05  5 รายการหลกั ฐาน รายการหลักฐาน หมายเลข เอกสารผลงานวชิ าการ วค 4.2.3-1 สรุปผลการประเมนิ ตนเอง ผลการดาเนนิ งาน ตัวบง่ ช้ี 0 0 4.2.1 ร้อยละคณุ วฒุ ปิ รญิ ญาเอก 4 4.2.2 รอ้ ยละอาจารยท์ ีม่ ตี าแหนง่ ทางวชิ าการ 4.2.3 ผลงานวชิ าการของอาจารยป์ ระจาหลกั สตู ร 1.33 ค่าเฉลี่ยท้งั 3 ตัวบ่งช้ี ผลการประเมินตนเอง ตัวบง่ ช้ีท่ี 4.2 ผลการ คะแนนประเมิน บรรลุ ตนเอง เป้าหมาย ประเมินปีท่ี เป้าหมาย (,) เป้าหมายปีถัดไป 1.33 2.00 แล้ว  1.67 1.80

20 ตวั บ่งชี้ที่ 4.3 ผลทเ่ี กิดกบั อาจารย์ สถานะของอาจารย์ การคิดรอบปี : ปกี ารศกึ ษา คงอยู่ เกษยี ณ ลาออก ผลการดาเนินงาน :  1.การคงอยู่ของอาจารย์   รายช่อื อาจารยใ์ นปีการศึกษา 2561   1. นายรณชัย สังหมน่ื เมา้ 2. นายสรายทุ ธ กรวริ ัตน์ 3. นายภูริ จนั ทมิ า 4. นายอุม้ บญุ เชลยี งรัชต์ชัย 5. นางอัจฉรา ชุมพล 2. ความพึงพอใจของอาจารย์ ระดับความพงึ พอใจของอาจารยท์ ีม่ ีต่อการบริหารหลักสูตร เฉลย่ี ไมน่ อ้ ยกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0 ประเด็นการประเมนิ คะแนนจากการสารวจ รอ้ ยละของคะแนน จากการสารวจ 1. การวางแผนระยะยาวด้านอัตรากาลังอาจารย์ให้ 3.4 68 เป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐานหลกั สูตร 2. การกาหนดบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของ 3.8 76 อาจารยป์ ระจาหลักสูตรมคี วามชดั เจน 3. อาจารย์ประจาหลักสูตรมีส่วนร่วมในการประชุม เพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดาเนินงาน 3.2 64 หลักสตู ร 4. การจัดรายวิชามีความเหมาะสมตรงกับความรู้ 4 80 ความสามารถของอาจารย์ผู้สอน 5. จานวนภาระงานสอนของอาจารย์ที่เป็นจริงใน 4 80 หลักสูตรมคี วามเหมาะสม 6. การประเมินการสอนของอาจารย์ และนาผลมาใช้ ในการส่งเสริมพัฒนาความสามารถด้านการสอน 3.8 76 ของอาจารย์ 7. อาจารย์ใหม่ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศหรือ 3.4 68 คาแนะนาดา้ นการจดั การเรียนการสอน 8. อาจารย์ประจาทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ 3.4 68 และ/หรือวชิ าชพี อยา่ งนอ้ ยปีละหนง่ึ ครง้ั

21 9. อาจารย์ได้รับการส่งเสริมให้เข้าสู่ตาแหน่งทาง 3.2 64 วิชาการและศึกษาต่อ 3.8 76 10. การเสริมสร้างบรรยากาศทางวิชาการระหว่าง 3.4 68 อาจารย์ทั้งในและระหว่างหลักสตู ร 3.58 71.64 11. ส่งิ สนับสนนุ การเรียนรู้ เฉลยี่ ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของอาจารย์ ขอ้ มูล ปี (ข้อมูลจากปที เี่ ปิดสอนจนถงึ ปจั จุบัน) 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 ความพงึ พอใจของ อาจารย์ - - - - - 3.58 3.58 ผลการประเมินตนเอง ผลการประเมิน เป้าหมาย คะแนนประเมนิ ตนเอง บรรลเุ ป้าหมาย เป้าหมาย ปที ี่แล้ว 6 ระดับ (,) ปถี ัดไป 34 (คะแนน 0-5)  4 4 รายการหลกั ฐาน รายการหลักฐาน หมายเลข คาสั่งแตง่ ตง้ั คณะกรรมการพัฒนาหลักสตู ร กรรมการวิพากษ์ วค 4.3-1 หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2562 วค 4.3-2 แบบประเมินความพึงพอใจของอาจารยป์ ระจาหลกั สตู รต่อการ บรหิ ารจัดการหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชา วค 4.3-3 วศิ วกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอตั โนมตั ิ ปกี ารศกึ ษา 2561 ผลการคานวณความพึงพอใจของอาจารย์ในการบริหารและ วค 4.3-4 พัฒนาอาจารย์ รายงานการประชมุ 4/2561 ผูก้ ากบั ดูแลตัวบ่งช้ี: ผจู้ ดั เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู /รายงานผลการดาเนินงาน: 1. นางอจั ฉรา ชุมพล, 0832907447 1. นางอจั ฉรา ชมุ พล, 0832907447 2. นายรณชัย สงั หม่นื เม้า, 0874778519 2. นายรณชัย สังหมืน่ เม้า, 0874778519

22 การรายงานผลการวเิ คราะห์จดุ เดน่ และโอกาสในการพัฒนา องคป์ ระกอบที่ 4 จุดเดน่ โอกาสในการพฒั นา 1. อาจารย์ผูร้ บั ผิดชอบหลกั สูตรมคี ณุ วุฒติ รงตาม 1. จดั ตง้ั งบประมาณในการส่งเสริมพฒั นาอาจารย์ ขอ้ กาหนดมาตรฐาน และได้รับมอบหมายสอนใน ผ้รู ับผิดชอบหลกั สตู รเพิม่ ขึ้น เช่น การอบรม การศกึ ษา วิชาที่เชีย่ วชาญ ดงู านในสถานประกอบการ 2. มีการจัดอาจารยผ์ ู้สอนไดเ้ หมาะสมกบั รายวิชา 2. สง่ เสรมิ ให้อาจารย์ดาเนินการขอตาแหนง่ ทาง 3. อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตรทม่ี ีผลงานทาง วิชาการ วิชาการเผยแพร่มจี านวนเพิ่มขน้ึ 3. อาจารย์สามารถนาความรู้ทไ่ี ดจ้ ากการอบรมมา บริหารหลกั สตู ร และนามาปรับปรุงการเรียนการสอน ใหท้ ันสมยั มากยง่ิ ขึน้ 4. อาจารย์คุณวุฒปิ รญิ ญาเอก มแี นวโน้มเพ่ิมขน้ึ

23 หมวดท่ี 3 นักศกึ ษาและบัณฑติ องค์ประกอบที่ 2 บณั ฑิต ตวั บง่ ช้ที ่ี 2.1 คุณภาพบณั ฑติ ตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดบั อุดมศึกษาแห่งชาติ การคิดรอบปี : ปกี ารศกึ ษา สูตรการคานวณ คะแนนทไี่ ด้ = ผลรวมของค่าคะแนนที่ไดจ้ ากการประเมินบัณฑิต จานวนบัณฑิตที่ไดร้ บั การประเมินทัง้ หมด ผลการดาเนนิ งาน ผลรวมของคา่ คะแนนท่ีไดจ้ ากการประเมินบณั ฑิต ..................18.52............................. จานวนบณั ฑติ ทไี่ ด้รับการประเมนิ ท้งั หมด ..................6……............................... (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจานวนบณั ฑิตท่สี าเรจ็ การศกึ ษา) คะแนนทไี่ ด้ .................23.31............................... (ใช้คะแนนผลการประเมินจากวงเล็บ 12 ของเกณฑป์ ระเมนิ ขอ้ 12 ในตวั บ่งชี้ที่ 1.1) วิธกี ารคานวณ แทนคา่ จากสูตร คะแนนทไี่ ด้ = 23.31 = 3.89 6 ข้อมูลประกอบ จานวนบณั ฑติ ทร่ี บั การประเมินจากผูใ้ ชบ้ ณั ฑิตจะต้องไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 20 ของจานวนบณั ฑติ ที่ สาเรจ็ การศกึ ษา จากการสารวจความพึงพอใจของผูใ้ ชบ้ ณั ฑติ จากผสู้ าเร็จการศึกษา 7 คน มผี ูต้ อบ แบบสอบถาม จานวน 6 คน คิดเป็น ร้อยละ 87.50 ผลการประเมินความพึงพอใจ ระดับ 3.89 ผลการประเมนิ ตนเอง ผลการประเมิน เป้าหมาย คะแนนประเมินตนเอง บรรลุเป้าหมาย เป้าหมาย ปที ่แี ล้ว 3.80 3.89 (,) ปถี ดั ไป 3.71  3.90

24 รายการหลกั ฐาน รายการหลกั ฐาน หมายเลข ผลประเมินคณุ ภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ วค. 2.1-1 ระดับอดุ มศึกษาและอัตลักษณ์บัณฑติ ผกู้ ากับดแู ลตวั บง่ ช:้ี ผูจ้ ัดเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู /รายงานผลการดาเนินงาน: 1. นางอจั ฉรา ชุมพล, 0832907447 1. นางอจั ฉรา ชุมพล, 0832907447 2. นายรณชัย สงั หมน่ื เมา้ , 0874778519 2. นายรณชัย สังหมื่นเม้า, 0874778519 ตัวบง่ ช้ีท่ี 2.2 (ปริญญาตรี) ร้อยละของบณั ฑิตปรญิ ญาตรีท่ไี ด้งานทาหรือประกอบอาชีพอสิ ระภายใน 1 ปี การคิดรอบปี : ปีการศกึ ษา สูตรการคานวณ 1. คานวณค่าร้อยละของบัณฑติ ปริญญาตรที ี่ไดง้ านทาหรอื ประกอบอาชพี อิสระภายใน 1 ปี ตามสูตร จานวนบณั ฑติ ปรญิ ญาตรีที่ได้งานทาหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี จานวนบัณฑติ ทต่ี อบแบบสารวจท้ังหมด  5 x100  100 5 การคานวณค่าร้อยละนี้ไม่นาบัณฑิตที่ศึกษาต่อ เกณฑ์ทหาร อุปสมบท และบัณฑิตท่ีมีงานทาแล้วแต่ไมไ่ ด้ เปล่ียนงานมาพจิ ารณา 2. แปลงคา่ ร้อยละทค่ี านวณ ไดใ้ นขอ้ 1 เทียบกับคะแนนเตม็ 5 คะแนนท่ไี ด้ = ค่าร้อยละของบณั ฑติ ปริญญาตรีทีไ่ ด้งานทาหรือประกอบอาชพี อิสระภายใน 1 ปี x5 100 คะแนนทีไ่ ด้  100 x5  5 100 หมายเหตุ : จานวนบัณฑติ ท่ตี อบแบบสารวจจะต้องไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 70 ของจานวนบัณฑติ ทีส่ าเร็จ การศกึ ษา

25 ภาวะการมีงานทาของบัณฑิตภายในเวลา 1 ปี จานวน ขอ้ มูลพ้นื ฐาน จานวนบณั ฑติ ระดบั ปรญิ ญาตรที ง้ั หมด 7 5 จานวนบณั ฑติ ระดับปรญิ ญาตรีทต่ี อบแบบสารวจ 4 จานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีท่ีได้งานทาหลังสาเร็จการศึกษา (ไม่นับรวมผู้ 1 ประกอบอาชพี อิสระ) - - ตรงสาขาทเ่ี รียน - ไมต่ รงสาขาทีเ่ รยี น จานวนบณั ฑิตระดับปริญญาตรที ่ปี ระกอบอาชีพอิสระ จานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรที ีม่ ีกิจการของตนเองท่ีมีรายได้ประจาอยแู่ ลว้ จานวนผู้สาเรจ็ การศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรีที่มงี านทากอ่ นเขา้ ศึกษา - จานวนบณั ฑติ ระดบั ปรญิ ญาตรีที่ศกึ ษาต่อ - จานวนบณั ฑิตระดับปรญิ ญาตรที อ่ี ปุ สมบท - จานวนบณั ฑติ ระดับปรญิ ญาตรที เ่ี กณฑท์ หาร - รอ้ ยละของบัณฑติ ท่ีไดท้ างานหรอื ประกอบอาชพี อิสระภายใน 1 ปี รอ้ ยละ 100 การวเิ คราะห์ผลท่ไี ด้ หลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ยังคงเป็นท่ีต้องการของตลาดแรงงาน และเพ่ือให้สอดคล้องกับความ ต้องการของตลาดแรงงาน สถานการณ์ท่ีเปลี่ยนแปลงและความทันสมัยของเทคโนโลยีในอนาคตคาด จึงได้มี การปรบั ปรุงหลักสตู รวิศวกรรมคอมพวิ เตอร์และระบบอัตโนมัติ พ.ศ.2562 ใหม้ คี วามทนั สมัยมากขน้ึ ผลการประเมนิ ตนเอง ผลการประเมนิ เป้าหมาย คะแนนประเมินตนเอง บรรลเุ ปา้ หมาย เปา้ หมาย ปีทแ่ี ลว้ 5 (,) ปถี ดั ไป 55  5 รายการหลักฐาน รายการหลักฐาน หมายเลข แบบสอบถามภาวะการมงี านทาของบัณฑิต วค. 2.2-1-1 ผูก้ ากับดูแลตวั บง่ ชี:้ ผ้จู ดั เกบ็ รวบรวมข้อมูล/รายงานผลการดาเนนิ งาน: 1. นางอจั ฉรา ชมุ พล, 0832907447 1. นางอัจฉรา ชุมพล, 0832907447 2. นายรณชัย สังหมื่นเม้า, 0874778519 2. นายรณชัย สังหมนื่ เมา้ , 0874778519

26 การรายงานผลการวเิ คราะห์จดุ เด่นและโอกาสในการพฒั นา องค์ประกอบท่ี 2 จุดเด่น โอกาสในการพัฒนา บัณฑติ มีคณุ ธรรม และจริยธรรม ความรับผิดชอบ พัฒนานกั ศกึ ษาในส่วนการใช้เทคโนโลยที ส่ี ามารถ และมที ักษะความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลสงู นาไปใช้ในการปฏบิ ัติงานได้

27 องค์ประกอบที่ 3 นกั ศึกษา ตัวบ่งช้ีท่ี 3.1 การรับศึกษา การคิดรอบปี : ปีการศึกษา 2561 หลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ได้ทาการงดรับนักศึกษา ตั้งแต่ปีการศึกษา 2559 จนถึงปีการศึกษา 2561 เน่อื งจากยงั ไมไ่ ด้รบั การปรบั ปรุงหลกั สตู ร ฉะนน้ั ตัวบ่งชีท้ ่ี 3.1 จึงไมข่ อรบั การประเมนิ ตวั บ่งชี้ท่ี 3.2 การสง่ เสริมและพัฒนานกั ศกึ ษา การคิดรอบปี : ปีการศกึ ษา 2561 ผลการดาเนนิ งาน : 1. การควบคมุ การดูแลการใหค้ าปรึกษาวชิ าการและแนะแนวแก่นักศึกษาในระดบั ปริญญาตรี หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวศิ วกรรมคอมพวิ เตอรแ์ ละระบบอตั โนมัติ มีระบบการ ควบคุมดูแลการให้คาปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาในระดับปริญญาตรี ตามกาหนดการและการ มอบหมายของมหาวิทยาลัยฯ และคณะฯ คือ ระบบ ESS แฟ้มอาจารย์ท่ีปรึกษา ตลอดจนการจัดห้องให้ คาปรกึ ษา โดยในปีการศกึ ษา 2561 มผี ลการดาเนินงานดงั น้ี P : มกี ารวางแผนดูแลการให้คาปรกึ ษาดา้ นวชิ าการและแนะแนวแก่นักศึกษา โดยการแต่งตง้ั อาจารย์ ที่ปรึกษาประจาปกี ารศึกษา 2561 ดงั นี้ นกั ศึกษารหสั 58 อาจารย์ธรรมนูญ ปัญญาทิพย์ และอาจารยอ์ ัจฉรา ชมุ พล D : 1. มกี ารจัดระบบและกลไกในการควบคุม/ดูแล/สง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมนกั ศึกษา คือ มีค่มู ือ ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมนักศึกษาประจาปี พ.ศ. 2561 และใบเช็คกิจกรรมนักศึกษา จากการดาเนินงานใน ปกี ารศึกษา 2560 พบว่าจานวนหนว่ ยกติ ของนักศึกษาบางรายไม่ครบซ่ึงอาจเกดิ ความผิดพลาดของการบันทึก ข้อมูล และหาหลักฐานมาประกอบเพื่ออ้างอิงไม่ครบ ทางหลักสูตรฯ จึงได้นาปัญหาดังกล่าวเข้าสู่ท่ีประชุม สาขาวิชาฯ เพ่ือหาทางช่วยเหลือนักศึกษา และในปีการศึกษา 2561 ได้มีการจัดทาคูปองกิจกรรมสาหรับให้ นักศึกษาบันทึกข้อมูลลงในระบบ แทนการลงนามของอาจารย์/เจ้าหน้าที่ที่ดูแลกิจกรรม โดยให้ทุกกิจกรรมท่ี นักศึกษาเข้าร่วมต้องมีการถ่ายภาพบันทึกเป็นหลักฐานในการขอคะแนนจานวนหน่วยกิตกิจกรรม ทาให้ สามารถแกป้ ญั หาดังกล่าวไดเ้ ป็นอยา่ งดี 2. มกี ารจดั ชอ่ งทางการตดิ ตอ่ ส่อื สารระหว่างนักศึกษาและอาจารย์ทป่ี รึกษา โดยทางหลกั สูตรฯ ได้จัดประชุมการจัดช่องทางติดต่อสื่อสารระหว่างนักศึกษาและอาจารย์ท่ีปรึกษาหรืออาจารย์ประจาหลักสูตร โดยกาหนดช่องทางในการติดต่อส่ือสาร คือ สร้างกลุ่ม Facebook และให้อาจารย์ท่ีปรึกษาเก็บข้อมูลประวัติ ส่วนตวั ของนักศึกษาไว้ และสาขายงั กาหนดให้อาจารย์ท่ีปรึกษาต้องให้ข้อมูลสว่ นตวั (เบอรโ์ ทร และ E-mail) ของอาจารย์ท่ีปรึกษาเพ่ือให้นักศึกษาสามารถติดต่อได้ด้วย ผลการดาเนินงานปีการศึกษา 2561 คือ ได้มีการ ดาเนินการอย่างต่อเนื่องจากผลการดาเนินการงานในปี 2560 โดยในปี 2561 มีการเพิ่มช่องทางในการติดต่อ นักศึกษาคือใช้ Social Media พบว่า การดูแลนักศึกษาในที่ปรึกษาให้ผลตอบรับดีข้ึน ทันสมัย รวดเร็วและ สามารถดูแลนักศกึ ษาได้ครอบคลุม อีกท้งั ปัญหาท่ีนักศกึ ษาพบเจอระหว่างการเรียน สามารถปรึกษาอาจารย์ที่ ปรึกษาและไดร้ บั การแก้ไขได้ทนั เวลา C : หลักสูตรฯ มีการประเมินกระบวนการ พบว่า ในการให้คาปรึกษาควรจะมีการบันทึกการให้ คาปรึกษาเป็นลายลักษณ์อักษร และสรุปประเด็นปัญหาให้ชัดเจน เพ่ือท่ีจะได้นาข้อมูลปัญหาไปเป็น แนวทางการแก้ไขสาหรับนกั ศกึ ษารุ่นตอ่ ไป

28 A : หลักสูตรฯ มีการนาเอาผลการประเมินกระบวนการ มาปรับปรุงและพัฒนาในปี 2562 โดยมีการ ประชุมเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการบันทึกการให้คาปรึกษาของอาจารย์ท่ีปรึกษา โดยอาจารย์ที่ ปรกึ ษาจะต้องสรุปนาเสนอในทป่ี ระชมุ อาจารย์ประจาหลักสตู ร 2. การควบคมุ ระบบการดูแลการใหค้ าปรกึ ษาวิทยานิพนธ์ในระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ไมม่ ีนักศึกษาระดบั บัณฑติ ศึกษา 3. การพฒั นาศักยภาพนักศกึ ษาและการเสรมิ สร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 P: หลกั สูตรฯ ได้มรี ะบบในการควบคมุ /ดูแล ใหน้ กั ศึกษาไดเ้ ขา้ ร่วมในการจัดกจิ กรรมการพฒั นา นักศึกษาเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ท่ีทางคณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จัดขึ้น โดยจัดทาแผนปฏิบัติงานประจาปี เพ่ือขยายโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม คุณภาพชีวิต และความเท่าเทียมกันในสังคม ท้ังนี้คณะฯ กาหนดให้ทุกสาขาวิชาภายใต้คณะฯ ได้ ส่งเสริมนักศึกษาให้มีสว่ นร่วมในโครงการพร้อมกับแต่งตั้งคณะกรรมการหรอื บุคลากรที่มคี วามรู้ความสามารถ ในการเสริมสร้างและกากบั ดูแลโครงการตา่ งๆ พรอ้ มทงั้ จัดทาการประเมินผลแบบสอบถามจากนักศึกษาท่ีเข้า ร่วมโครงการ และนารายงานผลการประเมินไปปรับปรุงแก้ไข และเสนอให้มีการพิจารณาให้มีในแผนปี การศกึ ษาถัดไป D: หลกั สตู รฯ ได้ดานเนนิ การพฒั นาศักยภาพนักศกึ ษา โดยทางหลกั สตู รไดเ้ น้นพฒั นาทักษะสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี ทักษะชีวิตและอาชีพผ่านการจัดกิจกรรมโครงการต่างๆ โดยการพานักศึกษาเข้าร่วมการ อบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร รวมถึงการเนน้ ปฏบิ ัตจิ ริง ดงั นี้ C: หลักสูตรฯ ได้ประเมินกระบวนการ พบว่า กระบวนการของหลักสูตรมีประสิทธิภาพดี โดยสะท้อน จากการเข้ารอบแขง่ ขัน NSC และได้รับทนุ รอบแรก หวั ขอ้ การพัฒนารถเข็นอัจฉริยะสาหรับผ้สู ูงอายุ A: จากผลการประเมินทางหลักสูตร จะยังคงนโยบายเสริมทักษะทางวิชาชีพให้สอดคล้องกับ สถานการณ์ปจั จบุ ันใหเ้ ปน็ โครงการต่อเนือ่ งอยใู่ นแผนปฏิบัตริ าชการประจาปี 2562 ผลการประเมนิ ตนเอง ผลการประเมิน เป้าหมาย คะแนนประเมินตนเอง บรรลุเป้าหมาย เป้าหมาย ปที ี่แลว้ 6 ระดับ (,) ปถี ัดไป 44 ( คะแนน 0-5) 5 4 รายการหลกั ฐาน รายการหลักฐาน หมายเลข แผนปฏบิ ตั ิราชการ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม วค. 3.2-1 ประจาปีงบประมาณ 2562 วค. 3.2-2 รายงานการประชมุ วค. 3.2-3 - แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการดแู ลและให้ คาปรึกษาดา้ นวชิ าการและแนะแนว - ภาพกจิ กรรมส่งเสริมทักษะนกั ศึกษาในโครงการ NSC

ผกู้ ากับดแู ลตัวบง่ ช:้ี 29 1. นางอัจฉรา ชุมพล, 0832907447 2. นายรณชัย สงั หมื่นเม้า, 0874778519 ผู้จดั เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู /รายงานผลการดาเนินงาน: 1. นางอจั ฉรา ชุมพล, 0832907447 2. นายรณชยั สังหมน่ื เม้า, 0874778519 ตัวบง่ ช้ีที่ 3.3 ผลที่เกดิ กับนกั ศึกษา การคดิ รอบปี : ปีการศึกษา 2561 ผลการดาเนินงาน : อัตราการคงอยู่ ปี จานวน จานวนคงอยตู่ ามหลกั สตู ร จานวนท่ี รอ้ ยละ การศกึ ษ รบั เขา้ ลาออก อตั ราคง 2557 2558 2559 2560 2561 และคัดช่ือ า 5 54- - ออกสะสม อยู่ 8 8 88 - จนถึงสิ้นปี - 5 32 2 การศึกษา งดรบั นกั ศึกษา 2556 งดรับนักศึกษา 1 80.00% งดรับนกั ศกึ ษา - 100% 2556 5 5 3 40.00% 2557 8 - 2558 5 - 2559 2560 2561 ปจั จยั ทม่ี ผี ลกระทบตอ่ จานวนนักศกึ ษา 1. นักศึกษา รหัส 56 มอี ัตราคงอยู่หลงั ส้ินปีการศกึ ษา ร้อยละ 75 เนื่องจากนกั ศกึ ษาประสบอบุ ัติเหตุ เสยี ชวี ิต 1 คน 2. จานวนนกั ศกึ ษา รหสั 58 มอี ตั ราคงอยู่หลงั สิ้นปีการศึกษา ร้อยละ 40 เนือ่ งจากนกั ศึกษาพ้นสภาพ การศึกษา 3. ตง้ั แตป่ ีการศึกษา 2559 งดรบั นกั ศกึ ษา ปรับปรุงหลกั สูตร พ.ศ. 2562

30 การสาเรจ็ การศกึ ษา ปี จานวน จานวนสาเรจ็ การศึกษาตามหลักสตู ร จานวนท่ี การศกึ ษ รับเขา้ ลาออกและ รอ้ ยละ 2557 2558 2559 2560 2561 คดั ช่ือออก อัตรา า 5 55- - สะสมจนถงึ สาเรจ็ 8 8 88 - 2556 - 5 32 2 สิ้นปี การศกึ ษา งดรับนกั ศกึ ษา การศกึ ษา 2556 5 5 งดรบั นักศึกษา งดรับนักศกึ ษา 4 80.00% 2557 8 - 5 62.50% 2 40.00% 2558 5 - 2559 2560 2561 ปัจจัยท่มี ผี ลกระทบตอ่ การสาเรจ็ การศกึ ษา ดังนี้ 1. การให้กองทุนกู้ยืมเพ่ือการศึกษาจากรัฐบาลลดลง และจากการสอบถามนักศึกษา พบว่า สภาพ เศรษฐกิจฝืดเคือง ค่าครองชีพค่อนข้างสูง ทาให้นักศึกษาขาดทุนทรัพย์ในการเข้าศึกษาต่อ และ เมือ่ เข้าศกึ ษาแลว้ ไม่มีความสามารถในการดารงชีพขณะศึกษาได้ 2. ความรู้พื้นฐานด้านคณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษ นักศึกษาบางส่วนมีพื้นฐานด้านคณิตศาสตร์ และภาษาองั กฤษ ไม่ดี ทาใหไ้ มส่ ามารถเรียนได้ จงึ ลาออก ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา (แบบประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา ท่มี ีต่อการจดั การเรียนการสอน และทม่ี ีตอ่ หลกั สูตรในดา้ นการเสรมิ คณุ ลักษณะของบัณฑิตที่พงึ ประสงค์) ความพึงพอใจของนกั ศกึ ษาทมี่ ีตอ่ การจัดการข้อร้องเรยี น ประเด็นการประเมนิ จานวน จานวนนักศึกษา คะแนน ร้อยละของ นักศึกษา ทต่ี อบแบบ จากการ คะแนนจากการ ทงั้ หมด สารวจ สารวจ 4.00 สารวจ 1. ชอ่ งทางในการรอ้ งเรียน 2 2 80.00 หลายชอ่ งทาง 2 2 4.50 90.00 2. ความกระตือรือรน้ ในการ 5.00 จัดการเรยี นการสอน 100.00 4.50 3. ความรวดเร็วในการ 2 2 90.00 จัดการข้อรอ้ งเรยี น 5.00 4.60 100.00 4. คณุ ภาพในการจดั การขอ้ 2 2 92.00 ร้องเรยี น 5. วิธกี ารจดั การขอ้ ร้องเรยี น 2 2 เฉลี่ย 2 2

31 ผลการประเมนิ ตนเอง ผลการประเมนิ เปา้ หมาย คะแนนประเมนิ ตนเอง บรรลเุ ปา้ หมาย เป้าหมาย ปีทแ่ี ล้ว 6 ระดับ (,) ปีถดั ไป 33 (คะแนน 0-5) 4 3 รายการหลักฐาน รายการหลักฐาน หมายเลข จานวนนักศกึ ษาในระบบทะเบยี นนกั ศึกษา ผลประเมินความพึงพอใจการจดั การข้อร้องเรียนของนักศึกษา วค. 3.3-1 วค. 3.3-2 ผกู้ ากับดแู ลตัวบ่งช:้ี ผูจ้ ัดเก็บรวบรวมขอ้ มูล/รายงานผลการดาเนนิ งาน: 1. นางอัจฉรา ชุมพล, 0832907447 1. นางอัจฉรา ชุมพล, 0832907447 2. นายรณชัย สงั หม่นื เมา้ , 0874778519 2. นายรณชัย สังหม่ืนเมา้ , 0874778519 การรายงานผลการวเิ คราะห์จดุ เด่นและโอกาสในการพัฒนา องคป์ ระกอบที่ 4 จดุ เดน่ โอกาสในการพัฒนา นักศึกษามีทักษะดา้ นการปฏิบตั ิจรงิ นักศกึ ษาท่ีเขา้ ศึกษาในหลักสูตรนสี้ ามารถนาทักษะทาง ปฏิบัติไปประยุกตใ์ ชใ้ นวิชาชพี ได้

32 หมวดที่ 4 ขอ้ มูลสรปุ รายวชิ าและคณุ ภาพการสอน องคป์ ระกอบท่ี 5 หลกั สตู ร การเรยี นการสอน การประเมนิ ผเู้ รียน ตัวบ่งชท้ี ี่ 5.1 สาระของรายวิชาในหลกั สตู ร การคดิ รอบปี : ปีการศกึ ษา 2561 ผลการดาเนนิ งาน : สรปุ ผลรายวิชาบงั คับทีเ่ ปิดสอนในภาค/ปีการศกึ ษา (นามาจาก มคอ.5 ของแตล่ ะวชิ า) หลกั สูตรใหม่ พ.ศ. 2554 รหสั ภาค/ รอ้ ยละการกระจายของเกรด จานวนนกั ศกึ ษา ลง สอบผา่ น ช่ือวชิ า ปีการ A B+ B C+ C D+ D F S U IP NP I W Audit ทะเบียน ศึกษา 22 04-454-322 2/2561 2 โครงงานวิศวกรรม คอมพวิ เตอร์ 2 สรปุ ผลรายวิชาประสบการณ์ภาคสนามทีเ่ ปดิ สอนในภาค/ปีการศกึ ษา (นามาจาก มคอ.5 ของแต่ละวิชา) หลกั สูตรใหม่ พ.ศ. 2554 รหสั ภาค/ รอ้ ยละการกระจายของเกรด จานวนนักศกึ ษา ช่ือวชิ า ปีการ A B+ B C+ C D+ D F S U IP NP I W Audit ลง สอบผ่าน ศกึ ษา ทะเบยี น 04-454-423 1/2561 2 22 สหกิจศกึ ษา สรปุ ผลรายวิชาเลอื กท่เี ปดิ สอนในภาค/ปกี ารศกึ ษา (นามาจาก มคอ.5 ของแต่ละวชิ า) หลกั สตู รใหม่ พ.ศ. 2554 รหัส ภาค/ ร้อยละการกระจายของเกรด จานวนนักศกึ ษา ลง สอบผ่าน ชือ่ วิชา ปกี าร A B+ B C+ C D+ D F S U IP NP I W Audit ทะเบียน ศกึ ษา 22 04-454-178 การศกึ ษาเฉพาะทาง 2/2561 1 1 - เร่อื งวิศวกรรม คอมพิวเตอร์

33 สรปุ ผลรายวิชาเลือกเสรีทีเ่ ปิดสอนในภาค/ปีการศกึ ษา (นามาจาก มคอ.5 ของแตล่ ะวิชา) หลักสตู รใหม่ พ.ศ. 2554 รหสั ภาค/ ร้อยละการกระจายของเกรด จานวนนกั ศกึ ษา ลง สอบผา่ น ชอ่ื วิชา ปีการ A B+ B C+ C D+ D F S U IP NP I W Audit ทะเบยี น ศึกษา 22 02-051-315 2/2561 2 เทคโนโลยีธรุ กรรม 2/2561 2 22 อิเล็กทรอนิกส์ 02-050-310 กฎหมายเทคโนโลยี สารสนเทศ 1. การออกแบบหลกั สตู รและสารวิชาในหลกั สูตร 1.1 พันธกิจของมหาวทิ ยาลัยกาฬสินธุ์ 1.1.1 แสวงหาความจริงเพ่ือความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยบูรณาการภูมิปัญญาท้องถ่ินภูมิ ปัญญาไท ภูมิปัญญาสากล เพื่อสร้างและพัฒนาองค์ความรู้อันมีคุณค่าและเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา คณุ ภาพ ชวี ติ ของประชาชน 1.1.2 สร้างบัณฑิตที่มีความรู้คู่ความดี ใฝ่เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ดาเนินชีวิตด้วยปัญญา สานึก ในความเป็นไทย มีความรักและความผูกพันท้องถิ่น รู้เท่าทันการเปล่ียนแปลง สามารถเผชิญปัญหาและ พฒั นาการดาเนินชวี ติ ตลอดการประกอบอาชีพไดอ้ ย่างเหมาะสมกบั ยคุ สมัย 1.1.3 เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในระดับคุณค่า ความสานึกและภูมิใจในวัฒนธรรมของ ท้องถ่ินและของชาติ ใช้ทรัพยากรทางวัฒนธรรมเป็นทุนการสร้างความเข้มแข็งของท้องถิ่นและของชาติ โดยรวม 1.1.4 เสริมสรา้ งความเข้มแขง็ ของวชิ าชพี ครู สรา้ ง และพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา 1.1.5 สร้าง เสริมเครือข่ายความร่วมมือ และช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ระหว่างมหาวิทยาลัย ชุมชน องคก์ รอืน่ ท้ังในและประเทศเพ่ือการพัฒนาท้องถิ่น 1.1.6 ศึกษา และแสวงหาแนวทางการพัฒนาเทคโนโลยีพื้นบ้านและเทคโนโลยีสมัยใหม่ให้ เหมาะสม กับการดาเนินชีวิตและประกอบอาชีพของคนในท้องถิ่น รวมท้ังการจัดการบารุงรักษา และการใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ มอยา่ งสมดลุ และยัง่ ยนื 1.1.7 ศึกษา ส่งเสริม สืบสานโครงการอันเนื่องมาจากแนวพระราชดาริในการปฏิบัติภารกิจ ของมหาวทิ ยาลยั เพือ่ การพัฒนาท้องถิ่น 1.2 สถานการณ์หรอื การพฒั นาทางเศรษฐกจิ 1.2.1 ประเทศไทยจะต้องดาเนินการตามข้อตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area -AFTA) พ.ศ.2535 เพอ่ื เสริมสรา้ งศกั ยภาพในการแข่งขันใหก้ บั สินคา้ อาเซยี นในตลาดโลก (2015) 1.2.2 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 11 (พ.ศ.2555 – 2559) ที่มุ่งเนน้ ใหป้ ระเทศไทยเป็นฐานการผลติ สินค้าและบริการ การสร้างความเป็นธรรมในสังคม ลดความเหลือ่ มลา้ ทาง เศรษฐกจิ และ สร้างภูมิคุ้มกันเมอื่ เกิดวกิ ฤตการณ์การเปลี่ยนแปลง ทง้ั ภายในและภายนอกประเทศ 1.2.3 ปัจจุบนั ความตอ้ งการแรงงานของสถานประกอบการ ตอ้ งการผ้มู คี วามรู้ ความสามารถ ในการสือ่ สาร ท้ังภาษาไทยและภาษาตา่ งประเทศ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ

34 1.2.4 การเปลี่ยนแปลงทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสารสนเทศ รวมท้ังนวัตกรรมและ องค์ความรูใ้ หม่ ที่กา้ วหนา้ อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรม 1.3 สถานการณห์ รือการพัฒนาทางสังคมและวฒั นธรรม 1.3.1 การเปล่ียนแปลงทางวัฒนธรรม และสังคม รวมทง้ั การสอ่ื สาร ในยุคโลกาภวิ ฒั น์ ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ มีผลกระทบกบั วัฒนธรรมและสังคม 1.3.2 การประกนั คณุ ภาพการศึกษา ตามพระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 15 มีการเทียบโอนผลการเรียนรู้ ทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศยั 1.3.3 ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัย ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อสร้าง ความ เข้มแขง็ และมาตรฐาน ในสาขาวิชา 1.3.4 การเคลอ่ื นยา้ ยแรงงาน เขา้ มาในเมือง ทาให้เกิดปญั หาทางสงั คม และคุณภาพชวี ิต 2. การปรับปรงุ หลักสูตรให้ทันสมยั ตามความก้าวหน้าในศาสตรส์ าขาวชิ านนั้ ๆ P : มีระบบและกลไกสาระของรายวิชาในหลกั สตู ร หลักสูตรฯ ได้มีการจัดทาระบบและกลไกสาระของรายวิชาในหลักสูตร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพในกระบวนการออกแบบและกาหนดสาระรายวิชาของหลักสูตร เพ่ือจะได้มีการปรับปรุง หลักสูตรให้ทันสมัย ตามความก้าวหน้าของศาสตร์ในสาขาวิชา และเพื่อเป็นการสร้างแนวปฏิบัติท่ีดีใน กระบวนการบริหารจดั การสาระรายวชิ าของหลักสูตร แม้ทุกหลักสูตรท่ีสถาบันการศึกษาเปิดการเรียนการสอนต้องผ่านการรับทราบจากสานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และมีการปรับปรุงทุก 5 ปี แล้ว แต่ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีการควบคุม กากับการจัดทารายวิชาต่าง ๆ ให้มีเนื้อหาท่ีทันสมัย ก้าวทันความก้าวหน้าทางวิทยาการที่เปล่ียนแปลง ตลอดเวลา ตลอดจนมีเน้ือหาที่เหมาะสมกับระดับของหลักสูตร โดยสนองความต้องการของนักศึกษาและ ตลาดแรงงาน/ผู้ใชบ้ ณั ฑติ เพอ่ื ผลติ บณั ฑิตออกสู่ตลาดแรงงานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพสูงสดุ ดังน้ัน หลักสูตรฯ จึงได้มีการจัดทาระบบและกลไกของสาระรายวิชาในหลักสูตร เพื่อใช้เป็นแนวทางใน การดาเนินงาน ตลอดจนติดตาม ประเมินกระบวนการระบบและกลไกของการบริหารจัดการสาระรายวิ ชา ของหลกั สูตร เพือ่ นามาปรับปรุงและพฒั นากระบวนการอย่างเปน็ รปู ธรรมก่อใหเ้ กิดแนวปฏิบัติท่ีดีต่อไป โดยรายละเอยี ดกระบวนการของระบบและกลไกสาระของรายวชิ าในหลกั สตู ร สามารถอธิบายได้ดงั น้ี 1. อาจารย์ประจาหลักสูตรฯ ประชุมวางแผนเพ่ือออกแบบหลักสูตร โดยการนาข้อมูลจากการสารวจ ความต้องการของตลาดแรงงาน/ผู้ใช้บัณฑิต และวิเคราะห์สภาวการณ์ในปัจจุบัน มาใช้ในการพิจารณา ออกแบบหลกั สตู ร 2. งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษาดาเนินการจัดทา Concept Paper และนาเสนอเพ่ือรับ ความเหน็ ชอบ จากคณะกรรมการตา่ ง ๆ ตามลาดับ ดงั น้ี  คณะกรรมการประจาคณะ  คณะทางานทบทวนหลักสตู รและแผนการรบั นักศกึ ษา  คณะกรรมการวางแผนและพฒั นามหาวทิ ยาลัย  คณะกรรมการบรหิ ารมหาวิทยาลัย  คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย

35 3. หลังจากได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยแล้ว กองแผนงานดาเนินการ บรรจุหลักสูตรใหม่ลงในแผนพัฒนาการศกึ ษาระดบั อุดมศกึ ษาของมหาวิทยาลัย 4. คณะฯ ส่งรายชื่อคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร (ในกรณีที่คณะฯ ดาเนินการพัฒนาหลักสูตรใหม)่ และ/หรือ คณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร (ในกรณีท่ีคณะฯ ดาเนินการปรับปรุงหลักสูตรเดิมตามรอบ ระยะเวลาตามเกณฑ์ที่กาหนด) ไปยังสานักบริหารและพัฒนาวิชาการ เพ่ือดาเนินการแต่งต้ังคณะกรรมการ ดงั กลา่ ว 5. คณะกรรมการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร ดาเนินการจัดทา (ร่าง) หลักสูตร โดยมีการกาหนด รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2) รวมถึงบรรจุรายวิชาที่มีเน้ือหาสัมพันธ์กับรายละเอียดของหลักสูตร โดย เน้ือหาไม่มีความซ้าซ้อน มีความทันสมัย ตลอดจนมีความเหมาะสมกับระดับการศึกษาของหลักสูตร ตาม รายละเอยี ด และรปู แบบทสี่ านักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษากาหนด 6. คณะฯ ส่งรายชื่อคณะกรรมการวิพากษ์หลักสูตรไปยังสานักบริหารและพัฒนาวิชาการ เพื่อ ดาเนินการแต่งตั้ง จากนั้นคณะกรรมการวิพากษ์หลักสูตร จะดาเนินการวิพากษ์ (ร่าง) หลักสูตร แล้วนาผล การวิพากษ์เสนอต่อคณะกรรมการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร เพื่อดาเนินการจัดทารายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.2 7. คณะกรรมการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร นาเสนอ มคอ.2 ต่อท่ีประชุมคณะกรรมการวิชาการของ คณะฯ และคณะกรรมการประจาคณะ เพ่ือขอรบั ความเหน็ ชอบ ตามลาดับ 8. คณะฯ ส่ง มคอ.2 ไปยังสานักบริหารและพัฒนาวิชาการเพื่อตรวจสอบรูปแบบ และนาเสนอต่อ คณะกรรมการวิชาการมหาวิทยาลัย คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย คณะอนุกรรมการสภามหาวิทยาลัย และคณะกรรมการสภามหาวทิ ยาลัย เพอื่ พิจารณาอนุมัติ ตามลาดบั 9. สานักบริหารและพัฒนาวิชาการดาเนินการจัดส่งหลักสูตรไปยังสานักงานคณะกรรมการการ อดุ มศกึ ษา (สกอ.) เพ่ือเสนอให้รับทราบ 10. คณะฯ ส่งรายช่ืออาจารย์ประจาหลักสูตรไปยังสานักบริหารและพัฒนาวิชาการเพื่อดาเนินการ แตง่ ตัง้ อาจารย์ประจาหลกั สูตร 11. หลักสูตรฯ ดาเนินการจัดการเรียนการสอน โดยมีอาจารย์ประจาหลักสูตรเป็นผู้บริหารกากับ ตดิ ตาม และควบคุมให้หลกั สูตรดาเนนิ การตามเกณฑ์ทีก่ าหนด 12. เมื่อครบรอบระยะเวลาตามเกณฑ์ที่กาหนด (5 ปี) อาจารย์ประจาหลักสูตรฯ จะจัดประชุมเพ่ือ ทบทวนผลการดาเนินงานของหลักสูตร และวางแผนการปรับปรุงหลักสูตร โดยดาเนินการตามขั้นตอนท่ี กาหนด D : มีการนาระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดาเนินงานการออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชาใน หลกั สตู ร หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2554 และ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบัณฑิตทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ที่มีความรู้ ความสามารถและมีประสบการณ์โดยมีความรอบรทู้ ้ังภาคทฤษฎแี ละภาคปฏิบัติสามารถนาความรู้ไปใชใ้ นการ ประกอบอาชีพในภาครัฐและภาคเอกชน และประกอบอาชีพอิสระหรือการศึกษาต่อในระดับท่ีสูงขึ้น และนา ความรูไ้ ปพัฒนาประเทศในด้านคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยี ได้อย่างเหมาะสมและเป็นที่ตอ้ งการของสงั คม C : มีการประเมินกระบวนการออกแบบหลักสูตรและสาระรายวชิ าในหลกั สตู ร อาจารย์ประจาหลักสูตรได้ร่วมพิจารณาหลักเกณฑ์ของการปรับปรุงหลักสูตรให้เกิดความทันสมัย (การประชุมครั้งที่ 1/2561) โดยท่ีประชุมมีมติให้เปิดรับนักศึกษาเทียบโอน เพื่อโดยสนองความต้องการของ นักศึกษา และตลาดแรงงาน ประกอบกับการพัฒนาหลักสูตรยึดหลักไทยแลนด์ 4.0 ตามนโยบายของรัฐบาล

36 ทิศทางการพัฒนาประเทศให้สอดคล้องกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม และข้อเสนอแนะจากการเข้า ร่วมโครงการเพื่อพัฒนาทักษะทางด้านความรู้/การฝึกอบรมโครงการต่างๆของอาจารย์ และแจ้งอาจารย์ ประจารายวิชาในหลักสูตรทราบเพ่ือให้อาจารย์ประจารายวิชาแสดงความต้องการที่จะแก้ไขรายวิ ชามายัง หลกั สูตรเพอ่ื ใช้เป็นขอ้ มลู สาหรบั กากับและตดิ ตามการแก้ไขปรับปรุงหลักสูตรให้ทนั สมยั A : การปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมินการออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชาใน หลกั สตู ร ผลจากการประเมินกระบวนการออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชาในหลักสูตรได้ทาการปรับปรุง หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2562 ขึ้น เพ่อื รองรบั ความต้องการของนักศึกษาท่ีเข้าศึกษาต่อดว้ ยวธิ ีการเทียบโอนผลการ เรียน และไดน้ าขอ้ เสนอแนะจากอาจารยป์ ระจาหลักสตู รมาทาการปรับปรุงรายวิชาภายในหลักสูตรฯ เพอ่ื ให้มี ความสอดคล้องกับหลักไทยแลนด์ 4.0 ตามนโยบายของรฐั บาล 2.1 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2554 และ หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 มีการพฒั นาหลักสูตรใหส้ อดคล้องกับระเบยี บคณะกรรมการสภาวิศวกร ว่าด้วย วิชาพ้ืนฐานทางวิทยาศาสตร์ วิชาพ้ืนฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ และวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม ท่ีสภาวิศวกรจะ ให้การรับรองปริญญา ในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม และมีโครงสร้างหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน หลักสูตรระดับปริญญาตรี ของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เพอื่ ใชป้ ระกอบการพิจารณารับรองวุฒิ ปรญิ ญาตรี วศิ วกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 2.2 หลักสตู รวิศวกรรมศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์และระบบอตั โนมัติ ไดถ้ ูกพฒั นาเพ่ือ ตอบสนอง โดยสนองความต้องการของนักศึกษา ตลาดแรงงาน และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการ ปฏบิ ัตงิ านทางด้านวศิ วกรรมคอมพิวเตอร์ 2.3 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ มีโครงสร้าง หลักสูตรที่มีเน้ือหาสาระวิชา ในหมวดวิชาเฉพาะตรงตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาวิชาสาขา วิศวกรรมศาสตร์ และมีรายละเอียด เน้ือหารายวิชาเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและระเบยี บคณะกรรมการสภาวศิ วกร 2.4 เนื้อหาของหลักสูตรในแต่ละรายวิชาปรับปรุงให้ทันสมัย โดยเฉพาะเนื้อหาสาระสาคัญของหมวดวิชา เฉพาะ ได้กาหนดตามระเบยี บคณะกรรมการสภาวิศวกร แบ่งเปน็ 5 ด้าน ดังนี้ 2.4.1 ความรูด้ ้านวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ 2.4.2 ความรดู้ ้านวิชาพ้นื ฐานวศิ วกรรมศาสตร์ 2.4.3 ความรูด้ า้ นวิชาชพี บงั คบั 2.4.4 ความรดู้ า้ นวิชาชพี เลือก 2.4.5 ความรดู้ า้ นวิชาฝกึ งานและสหกิจศกึ ษา 2.5 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ มีคาอธิบาย รายวิชาท่ีเหมาะสมกับชื่อวิชา มีจานวนหน่วยกิตและเนื้อหาครอบคลุมกว้างขวางครบถ้วนในส่ิงท่ีควรเรียน ทางดา้ นวศิ วกรรม และรายวชิ ามคี วามต่อเนื่องเชอื่ มโยงสัมพันธ์กันระหว่างรายวิชาตามรายวิชาบังคบั ก่อนและ รายวิชาต่อเนื่อง โดยเนื้อหาที่กาหนดในแต่ละรายวิชาจะไม่มีความซับซ้อนกัน และเหมาะสมกับการศึกษา ระดบั ปรญิ ญาตรี 2.6 สาขาวิชากาหนดให้อาจารย์ประจาวิชาจัดทา มคอ. 3 ในแตล่ ะรายวชิ า โดยกาหนดน้าหนักคะแนนตาม ผลการเรียนรู้ที่ยกมาจาก มคอ. 2 ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนจึงตรงกับผลลัพธ์การเรียนรู้ท่ีกาหนดใน รายวชิ า และหลกั สตู ร

37 2.7 สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ มีการจัดการเรียนการสอนครอบคลุมเนื้อหาสาระ ท่ีกาหนดในคาอธิบายรายวิชาอย่างครบถ้วน ซงึ่ เกดิ จากการแบ่งหนว่ ยเรยี นใน มคอ. 3 ตามคาอธิบายทปี่ รากฏ ใน มคอ. 2 2.8 สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ มีการจัดแผนการเรียนของนักศึกษาตามรายวิชา บังคับก่อนและรายวิชาต่อเนื่องตามลาดับก่อนหลัง เพื่อให้นักศึกษาสามารถนาความรู้พ้ืนฐานมาต่อยอดใน รายวิชาต่อเน่ืองได้ และกาหนดให้อาจารย์ท่ีปรึกษาต้องตรวจสอบรายวิชาบังคับก่อน ก่อนให้นักศึกษา ลงทะเบียนรายวิชาต่อเนื่อง นอกจากน้ันกาหนดให้อาจารย์ประจาวิชาแจ้งรายละเอียดรายวิชา โดยเน้นการ สอบถามนกั ศกึ ษาถึงรายวิชาบงั คบั ก่อน ก่อนเร่มิ เรยี นในรายวิชาตอ่ เนอื่ งทุกครัง้ 2.9 สาขาวิชามีการจัดแผนการเรียนของนักศึกษาเป็นไปตามข้อกาหนดของหลักสูตรและข้อกาหนดของ มหาวิทยาลัย และจัดแผนการเรยี นให้นักศึกษาสาเร็จการศึกษาตามเวลาของหลักสูตร ในกรณีท่ีนักศึกษามีผล การเรียนซึ่งไม่เป็นไปตามแผนการเรียนตลอดหลกั สูตรท่ีกาหนดไว้ สาขามีแนวทางให้นักศึกษาขอเปิดรายวชิ า ภาคฤดูร้อนนอกแผนการเรียน เพื่อให้สาเร็จการศึกษาได้ในเวลาท่ีเหมาะสม โดยให้ถือปฏิบัติตามประกาศ มหาวิทยาลัยฯ เร่ือง หลักเกณฑ์การขอเปิดรายวิชาภาคฤดูร้อนนอกแผนการเรียน ลงวันท่ี 30 เมษายน 2557 รายละเอียด คอื 2.9.1 รายวชิ าที่จะสาเรจ็ การศึกษาในภาคฤดรู ้อน 2.9.2 รายวิชาทข่ี อเทียบโอนผลการศกึ ษาแลว้ ผลการเทียบโอนไมผ่ า่ น 2.9.3 รายวิชาที่เคยลงทะเบยี นเรียนแล้วผลการเรยี นตก (F) หรอื ออ่ นมาก (D) หรอื ออ่ น (D+) 2.9.4 รายวชิ าทเี่ ปน็ วชิ าบังคับกอ่ นของรายวชิ าทจี่ ะลงทะเบยี นเรียนในภาคการศึกษาปกตถิ ดั ไป 2.9.5 รายวิชาทีเ่ คยลงทะเบียนเรยี นแลว้ ผลการเรยี นเป็นโมฆะ 2.9.6 รายวชิ าต่อเน่อื งตามทีส่ ภาวิชาชพี กาหนด 2.10 สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ จัดทาหลักสูตรโดยเชิญผู้ทรงคุณวุฒิจากสถาน ประกอบการ และหน่วยงานราชการท่ีเป็นผู้ใช้บัณฑิต เพื่อร่วมกันวิพากษ์หลักสูตรและได้ปรับเปลี่ยนรายวิชา โดยเฉพาะวิชาเลือก ซ่ึงแบ่งเป็นวิชาชีพเลือก 9 หนว่ ยกิต ใหเ้ ป็นไปตามความต้องการของตลาดแรงงาน และมี ความทันสมยั นอกจากน้ันยงั มีวชิ าเลือกเสรอี ีก 6 หน่วยกิต 2.11 สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ จัดการศึกษาท่ีศูนย์พื้นท่ีในเมือง เพื่อให้การจัด การศึกษาเป็นมาตรฐานเดียวกันสาขาได้กาหนดให้ทุกศูนยพ์ ื้นที่ต้องร่วมกันจัดทา มคอ. 3 และรายงานผลการ ดาเนินงานรายวิชา หรือ มคอ. 5 ให้แก่หัวหน้าสาขาวิชาประจาคณะ เพื่อกาหนดแนวทางการทวนสอบ ผลสมั ฤทธิ์ 2.12 สาขาวชิ าวิศวกรรมคอมพิวเตอรแ์ ละระบบอัตโนมัติ ได้กาหนดโครงสรา้ งหลกั สูตรไว้ ดังนี้ หลกั สูตรใหม่ พ.ศ. 2554 มีโครงสรา้ งหลกั สูตรดังนี้ ก. หมวดวชิ าศกึ ษาท่วั ไป 33 หนว่ ยกิต 1. กลมุ่ วชิ าภาษาและการส่ือสาร 9 หน่วยกิต 2. กลุ่มวชิ ามนษุ ยศาสตร์ 9 หนว่ ยกติ 3. กลุม่ วชิ าสังคมศาสตร์ 6 หน่วยกิต 4. กลมุ่ วิชาคณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 9 หนว่ ยกิต ข. หมวดวชิ าเฉพาะ 97 หนว่ ยกิต 1. กล่มุ วชิ าพนื้ ฐาน 31 หนว่ ยกิต 2. กลมุ่ วชิ าชพี บงั คับ 51 หนว่ ยกิต

38 3. กลมุ่ วิชาเลอื ก 15 หนว่ ยกิต ค. หมวดวชิ าประสบการณภ์ าคสนาม 6 หนว่ ยกติ ง. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หนว่ ยกิต 142 หน่วยกติ รวม หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. 2562 มโี ครงสรา้ งหลักสูตรดังนี้ ก. หมวดวิชาศกึ ษาทว่ั ไป 30 หนว่ ยกติ 1. กลุม่ วชิ าภาษาและการสือ่ สาร 15 หนว่ ยกติ 2. กลมุ่ วชิ ามนุษยศาสตร์ 3 หนว่ ยกิต 3. กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 3 หนว่ ยกิต 4. กลุม่ วชิ ากลมุ่ วชิ าคณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 6 หนว่ ยกิต และเทคโนโลยี 5. กลมุ่ วชิ ากฬี าและนนั ทนาการ 3 หนว่ ยกิต ข. หมวดวชิ าเฉพาะ 106 หน่วยกิต 1. กลมุ่ วิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ 10 หน่วยกิต 2. กลุ่มวิชาพ้ืนฐานวิศวกรรมศาสตร์ 20 หน่วยกิต 3. กลุ่มวชิ าชพี บงั คบั 59 หน่วยกติ 4. กลุ่มวชิ าชพี เลอื ก 9 หนว่ ยกิต 5. กลุ่มวชิ าฝกึ งานและสหกิจศึกษา 8 หนว่ ยกิต ค. หมวดวชิ าเลือกเสรี 6 หน่วยกติ รวม 142 หนว่ ยกติ ผลการประเมนิ ตนเอง ผลการประเมิน เป้าหมาย คะแนนประเมินตนเอง บรรลุเปา้ หมาย เป้าหมาย ปที ่ีแลว้ 6 ระดับ (,) ปีถดั ไป 33 (คะแนน 0-5)  4 3 รายการหลักฐาน รายการหลักฐาน หมายเลข เอกสาร มคอ. 2 (หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ.2554) วค. 5.1-1 เอกสาร มคอ. 2 (หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ.2562) วค. 5.1-2 ใบรายงานผลการศึกษาแบบสะสม ระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาวิชา วิศวกรรมคอมพิวเตอรแ์ ละระบบอตั โนมตั ิ ผู้กากับดูแลตวั บ่งช้ี: ผจู้ ดั เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล/รายงานผลการดาเนินงาน: 1. นางอจั ฉรา ชุมพล, 0832907447 1. นางอัจฉรา ชมุ พล, 0832907447 2. นายรณชยั สงั หมน่ื เม้า, 0874778519 2. นายรณชัย สังหมืน่ เม้า, 0874778519

39 ตวั บง่ ชที้ ี่ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจดั การเรยี นการสอน การคิดรอบปี : ปีการศึกษา ผลการดาเนินงาน : ระบบและกลไก การกาหนดผู้สอน การจัดการเรยี นการสอน และการกากบั ตดิ ตาม มคอ.3-4 มคอ.5-6 หลกั สตู รวศิ วกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพวิ เตอร์และระบบอัตโนมตั ิ

40 1. การกาหนดผสู้ อน P : อาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลักสตู รประชมุ วางแผน เพ่อื พิจารณากาหนดคุณสมบัตแิ ละความเหมาะสม ของอาจารย์ผู้สอนในแต่ละรายวิชา โดยพิจารณาข้อมูลจากงานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา ดาเนินการสารวจและรวบรวมรายวิชาท่ีเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา ส่งให้อาจารย์ประจาหลักสูตร เพ่ือ นามาเปน็ ข้อมูลในการประชมุ วางแผนการจดั การเรียนการสอนและกาหนดผู้รบั ผดิ ชอบในแตล่ ะรายวิชา D : หลักสูตรได้ดาเนินการนาเสนอผลการพิจารณาแผนการจัดการเรียนการสอนและกาหนด ผู้รับผิดชอบในแต่ละรายวิชาต่อคณะกรรมการประจาคณะ เพื่อพิจารณาเห็นชอบและจัดส่งข้อมูลเข้าสู่ระบบ เพ่อื ให้ทาการประกาศรายชือ่ อาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบการเรียนการสอนในแตล่ ะรายวชิ า อาจารย์ผู้รับผิดชอบการเรียนการสอนในแต่ละรายวิชา ดาเนินการจัดการเรยี นการสอนโดยมีการบรู ณาการในเรื่องการเรียนการสอนกับการวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม และการทานุบารุงศิลปะและ วัฒนธรรม C : หลักสตู รไดด้ าเนินการกากับติดตาม การดาเนนิ การจดั การเรยี นการสอนตลอดปีการศกึ ษา 2561 ในแต่ละรายวิชา พบว่าโดยภาพรวมอาจารย์ผู้สอนในแต่ละรายวิชาสามารถควบคุมและจัดให้มีการจัดการ เรยี นการสอนได้ครบถว้ นตามแผนที่กาหนด อกี ทั้งยังสามารถดาเนนิ การจัดการเรยี นการสอน โดยมีการบูรณา การในเร่ืองการเรียนการสอนกับการวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม และการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ได้ 2. การกากับ ติดตามและตรวจสอบการจัดทาแผนการเรียนรู้ มคอ.3 และ มคอ.4 การจดั การเรียนการสอน P : หลักสูตรได้ประชุมวางแผนการจัดทา มคอ.3 และกาหนดวันส่งก่อนเปิดภาคเรียน จัดแบ่ง รายวชิ าทจ่ี ะทาการทวนสอบความสมบรู ณ์ของ มคอ.3 แต่ละวิชาให้แกก่ รรมการเพอ่ื ชว่ ยกนั ตรวจสอบแผนการ เรียนรู้ เพ่ือให้มีผลสัมฤทธ์ิครบท้ัง 5 ด้าน และนาปัญหาของการกากับ ติดตาม ตรวจสอบ ของ มคอ.3 ภาค การศึกษาท่ีผ่านมา มาปรับแผนการปฏิบัติงานในภาคเรียนน้ี และเม่ือเปิดภาคเรียนแต่ละวิชาได้ทาการเรียน การสอน หลักสูตรได้สุ่มติดตามกิจกรรม การเรียนการสอนของอาจารย์ การวัดผลของอาจารย์ ให้สอดคล้อง กับการเขียน มคอ. 3 แตล่ ะรายวชิ า คลา้ ยการนิเทศการสอน โดยเฉพาะวชิ าท่ีมีอาจารย์ผู้สอนที่เข้ามาใหม่ ซ่งึ ประสบการณ์สอนยังน้อย และเปน็ การแลกเปล่ียนประสบการณ์ ชว่ ยชแ้ี นะอาจารย์ผู้สอนอีกด้วย หลักสูตรแจ้งกาหนดการระยะเวลาในการดาเนินการส่งมอบ มคอ.3-4 (นาส่งหลักสูตรก่อนเปิดภาค เรยี น 15 วัน) และ มคอ.5-6 (นาส่งหลกั สตู รหลังส้นิ สุดภาคเรียน 30 วัน) D : หลักสูตรได้ดาเนินการรวบรวม มคอ.3-6 ตามระยะเวลาท่ีกาหนด และได้ทาการประชุมหา หลักเกณฑ์ เพื่อเลือกทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ อย่างน้อย 25% ของรายวิชาที่เปิดเรียนทั้งหมดในภาค การศึกษานี้ และแจ้งให้อาจารย์ประจาวิชาทุกท่านรับทราบว่าจะมีการทวนสอบ เพ่ือให้เก็บหลักฐานการให้ คะแนน การวดั ผล การประเมนิ ผลต่างๆ ใหค้ รบทงั้ 5 ดา้ น C : หลักสูตรได้ดาเนินการสอบผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของรายวิชาที่ได้เลือกไว้ จานวน 25% ของ วิชาทั้งหมด โดยท่ีประชุมตรวจสอบ ผลการเรียนรู้ กับ มคอ.3 และการชี้แจงของอาจารย์ประจาวิชา ซึ่งมีใน รายงานการทวนสอบรายวิชา ซึ่งผลการทวนสอบปรากฎว่า ทุกรายวิชาการประเมินผลสัมฤทธ์ิ สอดคล้องกับ มคอ.3 ท่ีไดว้ างแผนไวจ้ ากผลการดาเนนิ งานการกากบั ดแู ล และติดตามการทา มคอ. 3 และ มคอ.5 ผลปรากฎ ว่า มีการดาเนินการ 100 % จากน้ันหลักสูตรได้ทาการประเมิน ปัญหาอุปสรรค์ของการ กากับติดตาม การทา มคอ.3 พบวา่

41 1) ผู้รับผิดชอบรายวิชาบางวิชาส่งล่าช้า คือได้หลังจากการเปิดภาคเรียน โดยเฉพาะรายวิชาศึกษา ทว่ั ไป และรายวชิ าท่อี าจารย์ผู้สอนอยูต่ า่ งสาขาวชิ า 2) จุดมงุ่ หมายในรายวิชายงั ไมค่ รอบคลุมทกุ มาตรฐาน โดยทาการปรบั ปรุงแกไ้ ข ดังนี้ 2.1) กากบั ติดตามให้อาจารยผ์ ู้สอนส่ง มคอ.3 ก่อนเปิดภาคการศึกษาในเทอมต่อมา โดยเนน้ ไปยังวชิ าศกึ ษาท่ัวไป และรายวชิ าท่มี อี าจารยผ์ ูส้ อนอยตู่ า่ งสาขา 2.2) หลักสูตรตรวจสอบความสอดคล้องของจุดมุ่งหมายรายวิชา การแบ่งเนื้อหารายวิชา หน่วยเรียน วิธีการสอน วิธีการประเมินผู้เรียนให้ครบถ้วน หากรายวิชาใดไม่ครบถ้วนให้อาจารย์ผู้สอนรีบ ปรับปรุงแกไ้ ขกอ่ นเปดิ ภาคเรยี น 3. การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทาง สังคม และการทานุบารุงศลิ ปะและวฒั นธรรม ระบบและกลไก การจดั การเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีทมี่ ีการบรู ณาการกับการวิจัย การบริการทางวิชาการ และการทานบุ ารงุ ศลิ ปะวฒั นธรรม หลกั สูตรวศิ วกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวศิ วกรรมคอมพิวเตอร์และ ระบบอัตโนมัติ

42 ผลการดาเนนิ งาน : P : อาจารย์ผูร้ บั ผดิ ชอบหลักสูตรประชุมวางแผน เพื่อร่วมกันระดมความเห็นเห็นวางแนวทางจัดการ เรียนการสอนในแต่ละรายวิชาให้สามารถต่อยอดเนื้อหาสาระความรู้สู่การบูรณาการกับการวิจัย การบริการ ทางวชิ าการ และการทานุบารงุ ศิลปวฒั นธรรม ที่ประชุมหลกั สตู รเสนอแนะให้อาจารย์ผูส้ อนดาเนินการจัดการเรียนการสอนเป็นไปตามแผนการสอน ท่ีได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร (แผนการเรียนรวมตลอดหลักสูตร และใบ กาหนดผู้สอน) และแต่ละรายวิชาจดั การเรยี นการสอนตามรายละเอยี ดของรายวิชา (มคอ. 3) เมอ่ื ส้ินภาคเรียน ให้รายงานผลการดาเนินการของรายวชิ า (มคอ. 5) เกี่ยวกับภาพรวมของการจัดการเรียนการสอนในวิชานนั้ ๆ วา่ ไดด้ าเนินการสอนอยา่ งครอบคลมุ และเปน็ ไปตามแผนท่วี างไว้ หากไม่เปน็ ไปตามแผนที่วางไว้ ตอ้ งให้เหตุผล และข้อเสนอแนะในการปรบั ปรุงการจดั การเรียนการสอนของรายวชิ าดังกลา่ วในครัง้ ต่อไป D : หลักสตู รไดด้ าเนินการให้อาจารย์ผ้สู อน/อาจารย์ผูร้ ับผิดชอบรายวิชา ในรายวชิ าทมี่ ีเน้ือหาสาระ ทสี่ ามารถเชอ่ื มโยงต่อยอดบูรณาการกับการวจิ ยั การบริการทางวิชาการ และการทานบุ ารุงศิลปวัฒนธรรม มี การจดั การเรียนการสอนโดยการบรู ณาการร่วมกับพนั ธกจิ ดา้ นต่างๆ C : หลักสูตรได้ดาเนินการกากับติดตาม ผลการดาเนินงานในรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน แบบบูรณาการต่อยอดรว่ มกับพันธกจิ ดา้ นต่างๆ ดงั น้ี - บูรณาการการเรียนการสอนกับการวิจัยรายวิชาเตรียมโครงงาน โดยอาจารย์ที่ปรึกษาจะ ช่วยแนะนาหวั ขอ้ วชิ าโครงงาน ให้สอดคลอ้ งกับงานวิจยั ทอี่ าจารยด์ าเนนิ การอยู่ และสามารถประยุกต์ ในการเรียนการสอนในวิชานั้นๆ ได้ รวมท้ังการบริการวิชาการได้มีนักศึกษาช่วยแนะนาผู้เข้าร่วมการ รบั บริการวชิ าการ - บูรณาการการเรียนการสอนกับการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม มีการบูรณาการกับการทานุ บารุงศิลปวัฒนธรรม โดยกาหนดให้นักศึกษาทากิจกรรมและเผยแพร่กิจกรรมท่ีนักศึกษาดาเนินการ ผ่าน facebook และพานักศึกษาทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมโดยการทาความสะอาดบริเวณวัดดงเมือง เป็นต้น 4. การควบคุมหัวข้อวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา ให้สอดคล้องกับสาขาวิชา และความกา้ วหน้าของศาสตร์ P : อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสตู รประชุมวางแผน เพอ่ื ร่วมกันระดมความเห็นเห็นวางแนวทางจัดการ เรียนการสอนในแต่ละรายวิชาให้สามารถต่อยอดเนื้อหาสาระความรู้สู่การบูรณาการกับการวิจยั ให้สอดคล้อง กบั สาขาวชิ าและความก้าวหน้าของศาสตร์ ที่ประชมุ หลักสูตรเสนอแนะให้อาจารย์ผสู้ อนดาเนนิ การจดั การเรียนการสอนเปน็ ไปตามแผนการสอน และให้สอดคล้องกับสาขาวิชาและความก้าวหน้าของศาสตร์ ที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ผู้รับผิดชอบหลกั สูตร (แผนการเรียนรวมตลอดหลักสูตร และใบกาหนดผู้สอน) และแต่ละรายวชิ าจดั การเรยี น การสอนตามรายละเอียดของรายวิชา (มคอ. 3) เมื่อสิ้นภาคเรียนให้รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา (มคอ. 5) เกี่ยวกับภาพรวมของการจดั การเรียนการสอนในวชิ าน้ันๆ ว่าได้ดาเนินการสอนอย่างครอบคลมุ และ เป็นไปตามแผนท่ีวางไว้ หากไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ ต้องให้เหตุผลและข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการ จดั การเรียนการสอนของรายวิชาดงั กล่าวในคร้ังตอ่ ไป

43 D : หลักสูตรไดด้ าเนินการให้อาจารย์ผสู้ อน/อาจารย์ผูร้ ับผดิ ชอบรายวชิ า ในรายวชิ าที่มีเน้ือหาสาระ ที่สามารถเชื่อมโยงต่อยอดบูรณาการกับการวิจัย ให้สอดคล้องกับสาขาวิชาและความก้าวหน้าของศาสตร์ มี การจดั การเรียนการสอนโดยการบูรณาการรว่ มกบั พนั ธกจิ ดา้ นต่างๆ C : หลักสูตรได้ดาเนินการกากับติดตาม ผลการดาเนินงานในรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน แบบบูรณาการต่อยอดร่วมกับพันธกิจดา้ นต่างๆ 5. การแต่งต้ังอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ในระดับบัณฑิตศึกษา ท่ีมีความเช่ียวชาญ สอดคล้องหรือสมั พนั ธ์กบั หวั ขอ้ วิทยานพิ นธ์ P : อาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลักสตู รประชุมวางแผน เพือ่ ร่วมกันระดมความเห็นเห็นวางแนวทางจัดการ เรียนการสอนในแต่ละรายวิชาโครงงานวิศวกรรมโลจิสติกส์ ในการแต่งต้ังอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และ สารนิพนธใ์ นระดับบณั ฑติ ศกึ ษา ที่มีความเชยี่ วชาญสอดคล้องหรอื สัมพนั ธ์กบั หัวข้อวทิ ยานพิ นธ์ โดยที่ประชุมได้ทาการเสนอการแต่งต้ังอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ในระดับ บณั ฑิตศกึ ษา ที่มีความเชี่ยวชาญสอดคลอ้ งหรอื สัมพนั ธ์กับหวั ขอ้ วิทยานิพนธ์ เพ่ือให้สามารถพัฒนาโครงงานได้ ตรงตามความสามารถของที่ปรึกษา จึงทาให้งานที่ได้สมบูรณ์มากท่ีสุด หากไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ ต้องให้ เหตุผลและขอ้ เสนอแนะในการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนของรายวชิ าดังกลา่ วในครง้ั ตอ่ ไป D : หลักสูตรไดด้ าเนนิ การแต่งตั้งอาจารย์ทปี่ รกึ ษาวิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ในระดบั บัณฑิตศึกษา ทม่ี ีความเชี่ยวชาญสอดคลอ้ งหรอื สมั พันธ์กบั หวั ขอ้ วิทยานิพนธ์ ตามแผนที่วางไว้ C : หลักสูตรได้ดาเนินการกากับติดตาม ผลการดาเนินงานในรายวิชาท่ีมีการจัดการเรียนการสอน แบบบูรณาการตอ่ ยอดร่วมกบั พันธกจิ ด้านต่างๆ 6. การช่วยเหลือ กากับ ติดตาม ในการทาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ และการตีพิมพ์ ผลงานในระดบั บณั ฑิตศกึ ษา - ผลการประเมินตนเอง ผลการประเมิน เป้าหมาย คะแนนประเมนิ ตนเอง บรรลเุ ปา้ หมาย เป้าหมาย ปีทแ่ี ล้ว 6 ระดับ (,) ปถี ดั ไป 34 (คะแนน 0-5)  4 3 รายการหลักฐาน รายการหลักฐาน หมายเลข รายงานการประชมุ คร้งั ที่ 5/2561 งานวจิ ัยท่ีมีการประยุกต์กับการเรยี นการสอน วค. 5.2-1 วค. 5.2-2 ผู้กากับดแู ลตัวบง่ ช:ี้ ผ้จู ัดเก็บรวบรวมข้อมลู /รายงานผลการดาเนินงาน: 1. นางอัจฉรา ชุมพล, 0832907447 1. นางอัจฉรา ชมุ พล, 0832907447 2. นายรณชัย สังหม่ืนเม้า, 0874778519 2. นายรณชัย สงั หมน่ื เม้า, 0874778519

44 ตัวบ่งชี้ท่ี 5.3 การประเมินผู้เรยี น การคิดรอบปี : ปีการศกึ ษา ผลการดาเนนิ งาน : 1. การประเมินผลการเรียนร้ตู ามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ P : อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้ประชุมวางแผนกิจกรรมการประเมินผลการเรียนรู้ ตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) เพื่อพิจารณากาหนดคณะดาเนินงานผู้รับผิดชอบกิจกรรม การประเมินผลการเรียนรู้ประจาปีการศึกษา 2561 อีกท้ังได้กาหนดกรอบระยะเวลาในการดาเนินงานตาม ความเหมาะสมของข้อมลู และกิจกรรมในแตล่ ะองคป์ ระกอบ D : หลักสูตรได้กากับติดตามรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องในทุกด้าน โดยเฉพาะการกากับติดตามการ นาส่งเอกสาร มคอ.3, 4, 5, 6 ให้ครบถ้วนทุกรายวิชาภายในระยะเวลากาหนด และจัดให้มีการทวนสอบ ผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานการเรียนรู้ในแต่ละรายวิชา (Curriculum Mapping) เพื่อนาผลสรุปข้อมูลมา รวบรวมในการจัดทา มคอ.7 เพอ่ื รายงานคณะฯ ตามลาดับ C : จากการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาประจาปีการศึกษา 2561 พบว่านักศึกษาผลการ เรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ทั้ง 6 ด้าน แต่มีข้อสังเกต คือ มาตรฐานด้านความรู้และมาตรฐานทักษะทาง ปัญญา นักศึกษามีผลการเรียนรไู้ ม่เป็นไปตามเกณฑ์ซึ่งเป็นไปในทิศทางเดยี วกันกับปกี ารศึกษา 2560 เมื่อนา ผลการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษามาเปรียบเทียบกันแล้ว พบว่านักศึกษามีค่าคะแนนผลสัมฤทธิ์ใน ภาพรวมเพ่ิมขึ้น และมาตรฐานด้านความรู้และมาตรฐานทักษะทางปัญญา พบว่านักศึกษามีผลการเรียนรูไ้ ม่ เป็นไปตามเกณฑ์เชน่ เดียวกนั ระบบและกลไก การประเมินผลการเรยี นรตู้ ามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหง่ ชาติ (TQF) หลักสตู รวศิ วกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวศิ วกรรมคอมพวิ เตอรแ์ ละระบบอตั โนมตั ิ

45 2. การตรวจสอบการประเมนิ ผลการเรียนร้ขู องนกั ศึกษา P : อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรประชุมวางแผนการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของ นักศกึ ษาประจาปีการศกึ ษา 2561 เพือ่ พิจารณากาหนดคณะดาเนนิ งานผู้รบั ผิดชอบและดาเนนิ งานตามแผน D : คณะดาเนินงานผ้รู ับผิดชอบผลการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา และไดร้ วบรวมขอ้ มูลเพื่อ นามาสูร่ ะบบและกลไกในการตรวจสอบการประเมินผลการเรยี นรขู้ องนักศึกษา C : จากการผลการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาในปีการศึกษา 2561 คณะ ดาเนินงานได้ร่วมประชุมวิเคราะห์ข้อมูลและทาการสรุปผล เพ่ือแจ้งผลสรุปให้ผู้ท่ีเก่ียวข้องในหลักสูตรทุกคน ไดร้ ับทราบผลและนาข้อเสนอแนะต่างๆ ไปปรบั ปรงุ ใหเ้ กดิ การพัฒนาในปกี ารศกึ ษาต่อๆ ไป ระบบและกลไก การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนกั ศกึ ษา หลักสตู รวศิ วกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ า วิศวกรรมคอมพิวเตอรแ์ ละระบบอตั โนมตั ิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook