Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ธุรกิจขนส่งเพื่อการท่องเที่ยว

ธุรกิจขนส่งเพื่อการท่องเที่ยว

Description: ธุรกิจขนส่งเพื่อการท่องเที่ยว

Search

Read the Text Version

การขนสง่ ผ้โู ดยสารเพ่อื การท่องเท่ยี ว



การท่องเทย่ี วเป็นกจิ กรรมที่ตอ้ งมีการเดินทางจากท่ีอยู่อาศัยประจา ไปยังแหล่งท่องเท่ียวเพ่ือเย่ียมชมความงามทางธรรมชาติและคุณค่าทาง วัฒนธรรม จึงตอ้ งอาศัยการขนส่งผู้โดยสารเป็นยานพาหนะในการนาไปยัง แหลง่ ท่องเที่ยวตามตอ้ งการ ซ่งึ อปุ กรณข์ นสง่ ผโู้ ดยสารทสี่ าคัญมีอยู่ 4 ประเภทคือ 1. การขนสง่ ผูโ้ ดยสารดว้ ยรถยนต์ 2. การขนสง่ ผโู้ ดยสารดว้ ยรถไฟ 3. การขนสง่ ผู้โดยสารดว้ ยเรือ 4. การขนสง่ ผโู้ ดยสารด้วยเคร่อื งบิน

ความสมั พันธ์ระหวา่ งการขนส่งผโู้ ดยสารกับการท่องเที่ยว 1. การขนสง่ ผู้โดยสารทาใหน้ ักทอ่ งเทย่ี วสามารถเดนิ ทางไปยังแหล่ง ท่องเที่ยวซึ่งเป็นจุดหมายปลายทาง(Destination)แล้วเดินทางกลับมายังจุด ออกเดนิ ทาง(Point of Origin)ได้ 2. การขนส่งผู้โดยสารให้บริการที่สะดวกสบายในระหว่างการเดินทาง ท่องเทย่ี วแก่นกั ทอ่ งเทยี่ ว เช่นการเดินทางท่องเท่ยี วไปกับเรือสาราญ

3. การขนส่งผโู้ ดยสารกอ่ เกดิ การกระต้นุ ให้มกี ารทอ่ งเทีย่ วเพิม่ ข้ึน เนื่องจากการ ขนส่งจะช่วยกระตุ้นให้เกิดการท่องเที่ยวด้วยวัตถุประสงค์ต่าง ๆ ย่อมมีผลต่อ ความตอ้ งการในการเดินทางทอ่ งเที่ยวเพ่ิมมากขึ้น 4. การขนส่งผู้โดยสารเป็นปัจจัยสาคัญในการพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว เนื่องจากประสิทธิภาพของการขนส่งผู้โดยสารจะส่งเสริมให้อุตสาหกรรมการ ท่องเท่ียวมคี วามเจริญเตบิ โต ก่อให้เกิดการสรา้ งงานสร้างอาชีพ

5. การขนส่งผู้โดยสารเป็นโครงสร้างพ้ืนฐานที่สาคัญในการพัฒนาแหล่ง ท่องเท่ียว การขนส่งผู้โดยสารช่วยให้แหล่งท่องเท่ียวท่ีอยู่ห่างไกลหรอื อยู่ใน แหล่งทรุ กนั ดารได้รบั การพฒั นา 6. การเจริญเติบโตของอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวกระตุ้นให้เกิดการ พัฒนาการขนส่งผู้โดยสาร เม่ืออุตสาหกรรมท่องเท่ียวเจริญเติบโตมี นกั ทอ่ งเที่ยวเดินทางไปท่องเทีย่ วมากขนึ้

เครือขา่ ยการขนสง่ ผโู้ ดยสาร (Passenger Transportation Networks) การขนส่งผู้โดยสารนอกจากจะมีอุปกรณ์ขนส่ง หรือยานพาหนะท่ีใช้ ในการเดินทางท่องเท่ียวแล้วยังต้องมีเครือข่ายการขนส่งผู้โดยสาร ซงึ่ เครือข่าย การขนส่งผู้โดยสาร หมายถึง เส้นทางภาคพ้ืนดิน พื้นน้า และบนอากาศท่ี ยานพาหนะนั้น ๆ สามารถใช้สัญจร ซงึ่ หมายรวมถึง สถานีรถไฟ หรอื สถานี รถทัวร์ ท่าเรือ และท่าอากาศยาน ที่ผู้โดยสารเร่ิมต้นการเดินทางท่องเที่ยว หรอื เป็นจุดหมายปลายทางในการท่องเทยี่ ว

จึงเห็นได้ว่า ถนน รางรถไฟ ร่องน้าและเส้นทางบิน ถือเป็น องค์ประกอบของเครือข่ายการขนส่งผู้โดยสารท่ีเป็นเครื่องชี้บ่งว่า ผู้โดยสาร นักท่องเท่ียวจะได้รับความสะดวกมากน้อยเพียงใดจากการใช้บริการขนส่ง ผู้โดยสารเพื่อการเดินทางท่องเที่ยวไปในอาณาบริเวณ โดยรอบของจุดหมาย ปลายทางหรอื แหล่งทอ่ งเท่ียว นอกจากน้ันควรจะมีบริการขนส่งผู้โดยสาร สาธารณะเข้าถึง จุดหมายปลายทางหรือแหล่งท่องเที่ยวได้อยา่ งสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย หากมีการขนส่งมวลชนของท้องถนิ่ นั้นใหบ้ รกิ ารดว้ ยก็ย่ิงเป็นการดี

ความหมายของการขนสง่ ผโู้ ดยสาร การขนส่ง หมายถึง การจัดให้มีการเคลื่อนยา้ ยบุคคล สัตว์ หรือส่ิงของด้วย อุปกรณ์การขนส่งจากทหี่ นึ่งไปยังอีกท่ีหนึ่งตามความประสงค์ของมนุษย์ ถ้า เป็นการขนส่งคน เรียกว่า การขนส่งผู้โดยสาร แต่ถ้าเป็น การขนส่งสัตว์ หรอื สง่ิ ของ เรียกว่า การขนส่งสนิ คา้

การขนสง่ ผ้โู ดยสาร หมายถึง การจัดให้มกี ารเคลือ่ นยา้ ยบคุ คลดว้ ยเคร่ืองมือ อปุ กรณ์การขนสง่ จากแห่งหนง่ึ ไปยังอีกแห่งหนง่ึ ตามความประสงคข์ องบคุ คลนนั้ ๆ การขนส่งผ้โู ดยสารจะตอ้ งประกอบดว้ ยลกั ษณะสาคญั อยู่ 3 ประการ 1. เปน็ กิจกรรมที่ต้องมีการเคลอ่ื นย้ายบุคคลจากทีห่ นึง่ ไปยังอกี ที่หนึ่ง 2. เปน็ การเคล่ือนยา้ ยท่ตี อ้ งกระทาดว้ ยอุปกรณก์ ารขนสง่ ก็คือ ยานพาหนะท่ีใชใ้ นการขนส่งนัน่ เอง 3. เป็นการเคลอ่ื นยา้ ยทตี่ อ้ งเป็นไปตามความประสงค์ของบคุ คลผู้ท่ี ต้องการขนส่ง

หน้าท่ขี องการขนสง่ ผู้โดยสาร การขนสง่ ผู้โดยสารทาหน้าทีผ่ ลติ บริการเพอ่ื บาบดั ความ ต้องการของมนุษยใ์ นการเดินทางจากแหง่ หน่ึงไปยังอีกแห่งหน่งึ ใหเ้ กิด อรรถประโยชนด์ า้ นเวลาและสถานท่ีข้นึ กลา่ วคอื การขนส่งผูโ้ ดยสาร ไมไ่ ดท้ าให้ผโู้ ดยสารที่ขนย้ายเกิดคุณค่าหรอื อรรถประโยชนด์ ้านรปู เพ่ิมขน้ึ มีแตท่ าใหผ้ ้โู ดยสารทถ่ี กู ขนยา้ ยมีสภาพทางรูปแย่ลงกวา่ เดิมหรอื เทา่ เดิม ความสาคญั ของการขนสง่ ผู้โดยสาร การขนส่งผูโ้ ดยสารมีความสาคญั ตอ่ การพฒั นาประเทศ เนื่องจากการขนส่งผโู้ ดยสารเป็นปัจจัยขนั้ พ้นื ฐาน (Infrastructure) อยา่ งหนึ่ง อันเปน็ รากฐานสาคญั ในการพฒั นาประเทศดา้ นตา่ งๆ เชน่ ดา้ น เศรษฐกิจ สังคม การเมอื งและการทหาร เปน็ ตน้ ซง่ึ ความสาคญั ของการ ขนส่งผูโ้ ดยสารพจิ ารณาได้ดงั ตอ่ ไปนี้

ความสาคญั ของการขนสง่ ผโู้ ดยสารตอ่ เศรษฐกจิ ของประเทศ 1. ทาให้นกั ธุรกิจสามารถดนิ ทางตดิ ตอ่ คา้ ขายกันได้ทั้งภายในประเทศและ ระหวา่ งประเทศ 2. การขนส่งผ้โู ดยสารทารายไดใ้ หก้ บั ประเทศอย่างมหาศาล 3. การขนสง่ ผู้โดยสารชว่ ยลดปญั หาการว่างงาน 4. การขนสง่ ผูโ้ ดยสารทาใหเ้ กิดการรว่ มมือทางเศรษฐกิจและการลงทุน 5. การขนส่งผู้โดยสารช่วยดุลการชาระเงนิ ของประเทศ

ความสาคญั ของการขนสง่ ผู้โดยสารตอ่ สงั คม 1. การขนส่งผู้โดยสารชว่ ยขยายตวั เมอื ง 2. การขนสง่ ผโู้ ดยสารช่วยลดการแบง่ แยกของสังคม 3. การขนสง่ ผโู้ ดยสารช่วยใหม้ าตรฐานการศึกษาดีข้นึ 4. การขนสง่ ผโู้ ดยสารชว่ ยใหม้ าตรฐานครองชพี ดขี ้ึน 5. การขนส่งผ้โู ดยสารช่วยให้เกนิ การแลกเปล่ียนวัฒนธรรมซ่งึ กันและกนั

ความสาคญั ของการขนสง่ ผู้โดยสารตอ่ การเมอื งและการทหาร 1. การขนส่งผู้โดยสารช่วยใหเ้ กิดความสามคั คี 2. การขนสง่ ผู้โดยสารกอ่ ให้เกิดความภาคภมู ใิ จในชาติ 3. การขนส่งผู้โดยสารช่วยใหก้ ารปกครองประเทศเป็นไปดว้ ยดี 4. การขนสง่ ผู้โดยสารช่วยใหค้ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศดีขน้ึ 5. การขนสง่ ผู้โดยสารชว่ ยสนบั สนนุ ป้องกันประเทศและความม่งั คงของประเทศ

ปัญหาของการขนสง่ ผ้โู ดยสาร 1. ปญั หาอากาศเป็นพษิ 2. ปญั หานา้ เป็นพิษ 3. ปญั หาเสียงรบกวน 4. ปญั หาการจราจรตดิ ขดั 5. ปญั หาอุบตั ิเหตุ 6. ปญั หาการลงทนุ

การบรกิ ารขนสง่ ผโู้ ดยสาร 1 การใหบ้ รกิ ารขนส่งผโู้ ดยสารในตวั เมือง 2 การใหบ้ รกิ ารขนสง่ ผูโ้ ดยสารระหวา่ งเมอื ง 3 การขนส่งผู้โดยสารระหวา่ งประเทศ ประเภทของการขนสง่ ผ้โู ดยสาร แบง่ ไดเ้ ปน็ 4 ปะเภทใหญ่ ๆ คือ 1. การขนสง่ ผ้โู ดยสารด้วยรถยนต์ 2. การขนส่งผู้โดยสารดว้ ยรถไฟ 3. การขนส่งผู้โดยสารดว้ ยเรอื 4. การขนสง่ ผู้โดยสารดว้ ยเครอ่ื งบนิ



การขนส่งผู้โดยสารด้วยรถยนต์หรือการขนส่งผู้โดยสารทางถนนเป็นการ เคลอื่ นยา้ ยบคุ คลด้วยรถยนตซ์ ึ่งว่งิ บนถนน จนถนนกบั รถยนตเ์ ปน็ ของคู่กัน “ถนนและรถยนตเ์ ป็นส่งิ ทแ่ี สดงออกถึงอารยธรรมของท้องถิน่ นน้ั เปน็ อย่างดี วา่ มคี วามเจรญิ แคไ่ หน หากทอ้ งถ่นิ ใดไม่มถี นนทจ่ี ะให้รถวิ่ง ก็แสดงว่าประชากร ในท้องถิน่ นั้นอยู่อย่างโดดเดี่ยวตามลาพัง ไมม่ ีการติดตอ่ ระหวา่ งกัน นบั วา่ ประชากรในทอ้ งถ่นิ นนั้ ห่างไกลวามเจริญ”

วิวฒั นาการของการขนสง่ ผู้โดยสารดว้ ยรถยนต์ 1. เดนิ เท้า 2. มนษุ ยม์ ีการเลี้ยงสตั ว์ ใช้สัตวเ์ ป็นพาหนะ 3. ศตวรรษที่ 15 มกี ารประดิษฐร์ ถเทยี มม้าว่ิงตามทางท่ถี างแลว้ 4. คศ.1776 นายเจมส์ วัตต์ วศิ วกรชาวสกอ็ ตไดป้ ระดิษฐเ์ ครอื่ งจกั รไอน้า และนาย นิโคลาส คุโยค์ นาเอาเครื่องจักรไอน้าไปใช้กับรถยนต์(สามารถ ขับเคลื่อนด้วยพลงั ไอน้า) 5. ศตวรรษที่ 19 มีผู้คิดประดิษฐ์เครื่องจักรกลท่ีใช้น้ามัน(นาไปใช้แทนรถยนต์ ไอน้า)

6. รถยนต์ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์สันดาปภายใน มีการใช้คันแรกท่ี ประ เทศสหรัสอเมรกิ า โดยนายเฮนรี ฟอรด์ (มีการเปลี่ยนแปลงการขนส่งผู้โดยสาร เกิดขนึ้ ) 7. มคี วามต้องการถนนท่ีดีขึ้นเพ่ือรองรบั การขับเคล่ือนของรถยนต์(ปกตเิ ป็นการ เดนิ เท้า) 8. รถยนต์เข้ามาในไทย เม่ือราชกาลท่ี5 (รถยนต์คันแรกท่ีเข้ามาในไทยเป็น ของเจา้ พระยาสุรศกั ด์มิ นตรี)

ความไดเ้ ปรยี บและเสยี เปรยี บของการขนสง่ ผ้โู ดยสารดว้ ยรถยนต์ การขนสง่ ผโู้ ดยสารด้วยรถยนต์เปน็ การขนสง่ ผู้โดยสารที่ประชาชนนยิ ม ใช้เดินทางกนั มากภายในประเทศ ซึ่งมีขอ้ ไดเ้ ปรียบเสยี เปรียบดังนี้ 1. ขอ้ ไดเ้ ปรยี บของการขนสง่ ผู้โดยสารดว้ ยรถยนต์ - หนว่ ยของกจิ การขนสง่ ผูโ้ ดยสารดว้ ยรถยนตเ์ ล็กมาก (สามารถลงทุนใน จานวนนอ้ ย) - การขยายทาไดง้ ่าย โดยการเพ่มิ ทนุ เลก็ นอ้ ยและไมต่ อ้ งใชเ้ คร่อื งมือพิเศษท่ี ต้องมเี จา้ หน้าทีค่ วบคุมท่มี ีความรู้ - การดาเนนิ งานไม่ยุง่ ยาก ทาให้บรกิ ารขนสง่ ทท่ี ดแทนกันได้ เนอ่ื งจากมี ผู้ประกอบการหลายราย

- มีความคลอ่ งตวั และสะดวกรวดเรว็ ในการขนสง่ ไม่มกี าหนดตารางเวลา การเดนิ ทางเหมอื นการขนสง่ ประเภทอนื่ - สามารถให้บริการถึงทแี่ บบประตูบ่ ้านสู่ประตู่บา้ น - ต้นทุนการขนสง่ ระยะใกลต้ ่า - การเลิกกจิ การทาไดง้ ่ายและเสียหายนอ้ ย

2. ขอ้ เสยี เปรยี บของการขนสง่ ผู้โดยสารดว้ ยรถยนต์ - สามารถขนส่งผูโ้ ดยสารแตล่ ะครงั้ ในปริมาณน้อย - ต้นทนุ ระยะไกลสงู เนอื่ งจากตน้ ทุนผนั แปรมาก ย่งิ ขนส่งไกลค่าใช้จ่าย ผนั แปรเพ่มิ ขึ้น - เกิดอบุ ัติเหตุได้ง่าย - เคร่ืองมือและอปุ กรณ์ล้าสมัยได้งา่ ย

องค์ประกอบของการขนสง่ ผโู้ ดยสารดว้ ยรถยนต์ การขนส่งผู้โดยสารด้วยรถยนต์มีองค์ประกอบที่สาคัญ 4 อย่าง คือ ผู้ประกอบการขนส่งผู้โดยสารด้วยรถยนต์ ,รถยนต์โดยสาร ,เส้นทางถนน และสถานีขนส่งผู้โดยสาร ดงั ต่อไปนี้

1. ผปู้ ระกอบการขนสง่ ผโู้ ดยสารดว้ ยรถยนต์ คอื ผู้ผลติ บริการขนส่งผู้โดยสารดว้ ยรถยนต์ แบ่งผปู้ ระกอบการขนสง่ ผ้โู ดยสาร ด้วยรถยนต์ออกเปน็ 3 ประเภท คอื - ผปู้ ระกอบการขนสง่ ผ้โู ดยสารดว้ ยรถยนต์สาธารณะ - ผู้ประกอบการขนส่งผ้โู ดยสารด้วยรถยนต์ตามสญั ญา - ผปู้ ระกอบการขนสง่ ผูโ้ ดยสารดว้ ยรถยนตส์ ่วนบคุ คล

2. รถยนต์โดยสาร คือ ยานพาหนะที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสารด้วยรถยนต์ เพ่ือใช้ขนส่งผู้โดยสารบุคคลโดยเฉพาะ มีท้ังรถยนต์โดยสารแบบช้ันเดียวและ สองชั้น มีส่ิงอานวยความสะดวกมากมายบนรถ รถยนต์โดยสารแบ่งได้ 3 ประเภท คือ - รถยนต์โดยสารสาธารณะ เปน็ รถรับจ้างขนสง่ บคุ คลเพอื่ สินจ้าง ประจาทางและไมป่ ระจาทาง สามารถแบ่งเป็น 2 ประเภทย่อยคือ 1. รถยนต์โดยสารสารธารณะประจาทาง 2. รถยนตโ์ ดยสารแท็กซ่ี - รถยนต์บริการ เป็นรถยนต์เช่าในการขนส่งบุคคล สาหรับ ประเทศไทยรถยนต์ประเภทนี้จะใช้ป้ายสีเขียว สามารถแบ่งเป็น 3 ประเภท คอื 1. รถเชา่ 2. รถทัวรเ์ ช่าเหมา 3. รถรับสง่ ที่สนามบิน

- รถยนต์โดยสารส่วนบุคคล เป็นรถยนต์โดยสารท่ีใช้ในกิจการของ ตนเอง สาหรับประเทศไทยรถยนต์ประเภทนี้ใช้ป้ายหลายสี เช่น สีดา ขาว นาเงิน หรือเปน็ เครื่องหมายกองทพั เปน็ ต้น

เหตผุ ลที่คนสว่ นใหญน่ ยิ มเดนิ ทางดว้ ยรถยนตส์ ว่ นบคุ คล

1. สามารถควบคุมการเดนิ ทางทอ่ งเทยี่ วได้ 2. อยากจะหยุดพักทไี่ หนกไ็ ด้ตามความสะดวก 3. จะออกเดินทางเวลาใดกไ็ ด้ และจะแวะแหลง่ ท่องเทย่ี วนานแค่ไหนก็ได้ 4. สามารถนาส่ิงของสมั ภาระติดตวั ไปได้มาก 5. เสยี คา่ ใช้จา่ ยถูกกว่าถา้ หากมกี ารเดนิ ทางมากกว่า 2 คนขน้ึ ไป 6. เมอื่ ไปถงึ ปลายทางแล้ว ยังสามารถใชร้ ถตอ่ ไปได้ โดยไม่ต้องเช่า

มารู้จกั กับปา้ ยทะเบียนรถแตล่ ะสีกนั เถอะ!!

พระราชบัญญตั กิ ารขนสง่ ทางบก พ.ศ. 2522

3.เสน้ ทางถนน คือ เสน้ ทางสาหรบั รถยนต์โดยสารวิง่ บรกิ ารไปยังที่ตา่ งๆ ถ้าหากไม่มีถนนเข้าไปถงึ กไ็ มอ่ าจทาการขนส่งผโู้ ดยสารดว้ ยรถยนตไ์ ด้ สามารถแบง่ ถนนตามการใชง้ านได้ 5 ประเภท คือ 1. ถนนท้องถน่ิ 2. ถนนระหวา่ งทอ้ งถ่นิ 3. ถนนพิเศษ 4. ถนนวงแหวน 5. ถนนระหวา่ งประเทศ

ทางหลวงในประเทศไทย แบง่ ออกเปน็ 5 ประเภท คอื 1. ทางหลวงพิเศษ 2. ทางหลวงแผน่ ดนิ 3. ทางหลวงชนบท 4. ทางหลวงสัมปทาน 5. ทางหลวงท้องถิ่น หรือ ทางหลวงจงั หวัด

ประเทศไทยได้มีการกาหนด เสน้ ทางหลวงหลกั เป็นหมายเลขประจา โดยใชต้ วั เลข 1 ตัว เพื่อความสะดวกแก่ผู้ใชเ้ สน้ ทางระหวา่ งการเดินทาง โดยแบ่งออกเป็น 4 สาย ดงั ต่อไปนี้ 1. ทางหลวงหมายเลข 1 สายเหนอื 2. ทางหลวงหมายเลข 2 สายตะวนั ออกเฉียงเหนือ 3. ทางหลวงหมายเลข 3 สายตะวันออก 4. ทางหลวงหมายเลข 4 สายใต้

4. การใหบ้ รกิ ารขนสง่ ผโู้ ดยสารดว้ ยรถยนต์ - การขนส่งผโู้ ดยสารดว้ ยรถยนตใ์ นตวั เมือง - การขนส่งผ้โู ดยสารดว้ ยรถยนต์ระหวา่ งเมอื ง - การให้บรกิ ารขนสง่ ผู้โดยสารระหว่างประเทศ



การขนสง่ ผูโ้ ดยสารด้วยรถไฟ หมายถงึ การเคล่ือนย้ายบคุ คลดว้ ยตู้รถไฟตอ่ กนั เปน็ ขบวนวิง่ ไปบนรางเฉพาะตามเสน้ ทาง

ลักษณะของรางรถไฟ 1. เหล็กกลา้ วางเป็นรางรองดว้ ย หมอนไม้/ คอนกรตี กว้าง ๑ เมตร 2. ผิวหนา้ รางแข็งลืน่ มีความ ตา้ นทานน้อย 3. เคล่ือนท่ีไดด้ ้วยแรงลากจงู เพยี ง เลก็ น้อย

วิวัฒนาการการขนสง่ ทางรถไฟ - เริ่มตน้ ในประเทศองั กฤษ คศ.1830(๒๓๗๓) ให้บรกิ ารระหวา่ งเมอื ง Manchester-Liverpool ระยะทาง 44 กม. ความเร็ว 26 กม./ชม การนาเทยี่ วดว้ ยรถไฟ - บ.Thomas Cook จดั นาเที่ยวทางรถไฟ ค.ศ.1841 (๒๓๘๔)ระหว่าง เมืองเลสเตอร์ Leicester- เมืองลฟั เบอระLoughborough มีนกั ท่องเที่ยว 570 คน เสยี คา่ ใช้จ่าย 1 ชลิ ลิง/คน - ค.ศ.1855 (๒๓๙๘)บ.ThomasCook จดั นาเท่ียวทางรถไฟไป Paris ชมงานWorld Expo. - ค.ศ.1856(๒๓๙๙) บ.Thomas Cook จัดทางรถไฟไปยุโรป(การทอ่ ง ยุโรป)

The Orient Express รถไฟขบวนหรูหราท่สี ดุ

พัฒนาการการใช้พลงั งานขบั เคลอื่ นการขนสง่ ทางรถไฟ - ระยะแรกใช้พลังงานไอน้า กอ่ นพฒั นาไปใชไ้ ฟฟ้าและดเี ซล และ กังหนั ไอพ่น - ในศตวรรษท่ี 20 บทบาทเครื่องจกั รไอน้าในการขับเคล่ือน ส้ินสดุ ลง หันมาใช้ไฟฟา้ แทน

การจดั กลมุ่ รถไฟตามความเร็ว ๑.กล่มุ ที่ว่ิงเรว็ ประมาณ 100 กม./ชม. เป็นรถจกั รดีเซลและ ดเี ซลราง ขับเคลอื่ นด้วยดีเซล ๒.ใช้เครอ่ื งยนตด์ ีเซลว่งิ เรว็ 140-180 กม./ชม. ๓.กลุม่ ท่ีว่งิ เรว็ กวา่ ๒๐๐ กม ตอ่ ชม.ขบั เคล่อื นดว้ ยพลังไฟฟา้

พฒั นาการรถไฟไทย - แรงบนั ดาลใจที่ตอ้ งการให้มีรถไฟเกดิ ข้ึนในสมัย ร. 4 เม่ือ Queen Victoria ของอังกฤษ สง่ รถไฟยอ่ สว่ นให้เซอร์ จอหน์ บาวริ่ง นาข้ึนทลู เกล้าฯถวายในปี พ.ศ. 2398 การขนสง่ ทางรถไฟ - การรเิ รม่ิ ขนส่งผู้โดยสารเกดิ ข้นึ ในสมยั ร.5เมอ่ื มีการสารวจ เพอ่ื ก่อสรา้ งทางรถไฟปี พ.ศ. 2430 จากกรุงเทพฯไปเชียงใหม่ แลว้ แยกไปจงั หวดั สาคัญทางเหนือและอสี าน

การสถาปนากรมรถไฟ - ต.ค.๒๔๓๓ ร.5 สถาปนากรมรถไฟ (กระทรวงโยธาฯ) - พ.ศ. 2433-2443 สรา้ งทางรถไฟสายแรกระหว่าง กรุงเทพฯ-โคราช - ใชง้ บประมาณ17.5 ล้านบาทและใชเ้ วลาในการกอ่ สร้าง 10 ปกี รม รถไฟ พัฒนาเป็นกรมรถไฟหลวง - ๕ มิ.ย.๒๔๖๗ ร. 6 ยกฐานะกรมรถไฟเป็น กรมรถไฟหลวง พระเจ้า นอ้ งยาเธอ กรมพระกาแพงเพชรอคั รโยธิน ทรงเปน็ ผู้บญั ชาการรถไฟหลวง พระองคแ์ รก - พ.ศ. 2494 จอมพล ป. พบิ ูลสงคราม ยกฐานะกรมรถไฟหลวงเปน็ การรถไฟแห่งประเทศไทย พลเอกจรญู รัตนกุลเสรีเริงฤทธิ์ เป็นผวู้ า่ การ การรถไฟแห่งประเทศไทยคนแรก

ขอ้ ไดเ้ ปรยี บของการขนสง่ ทางรถไฟ : - เหมาะสาหรับการขนส่งระยะปานกลางและไกลตน้ ทนุ คงท่ี ค่าเช้อื เพลิงต่อหน่วยการขนสง่ ต่า - บรรทกุ ได้มาก - ปรบั ตวั ตามปรมิ าณการขนสง่ ได้งา่ ย(เพม่ิ / ลดตู้) - ปลอดภยั สูง ทางวิง่ ของตนเอง - สะดวกสบายระหว่างการขนส่ง(ไมข่ รุขระ)

ขอ้ เสยี เปรียบของการขนสง่ ทางรถไฟ: - ลงทุนมาก - ขาดความคล่องตัวในการบริการ - การขนส่งระยะใกล้ มตี ้นทุนสงู - ไม่สามารถเปลยี่ นแปลงเสน้ ทางในการใหบ้ ริการได้ แมจ้ ะประสบสภาวะขาดทนุ - หากเลกิ กจิ การจะเสียหายมาก

องคป์ ระกอบการขนสง่ ทางรถไฟ ๔ ประการ ๑. ผูป้ ระกอบการ ๒. ขบวนรถไฟ ๓. เสน้ ทางรถไฟ ๔. สถานีรถไฟ

ผู้ประกอบการขนส่งผู้โดยสารด้วยรถไฟ หมายถึง ผู้ผลิตบริการขนส่ง ผู้โดยสารด้วยรถไฟในการสนองความต้องการของผู้ใช้บริการเพื่อบาเหน็จ การค้าผู้ประกอบการขนส่งโดยสารด้วยรถไฟ ออกเปน็ 2 ประเภทใหญๆ่ คือ 1. ผูป้ ระกอบการขนส่งผู้โดยสารด้วยรถไฟโดยรัฐบาล คือ กิจการขนส่งผู้โดยสารด้วยรถไฟทรี่ ัฐบาลเป็นเจ้าของและได้ลงทนุ ในการผลิต บรกิ ารขนส่งผโู้ ดยสารสาธารณะให้แก่ผตู้ ้องการใช้บรกิ ารเพือ่ สนิ จา้ ง 2. ผปู้ ระกอบการขนสง่ ผู้โดยสารด้วยรถไฟโดยเอกชน คอื กิจการขนส่งผู้โดยสารด้วยรถไฟที่รัฐบาลอนุญาตให้เอกชนเป็นผู้ดาเนินการ ลงทุนในการผลิตบรกิ ารขนส่งสาธารณะแก่ผตู้ อ้ งการใช้บริการ

ขบวนรถไฟ เปน็ ยานพาหนะทใี่ ช้ในการขนส่งผ้โู ดยสารด้วยรถไฟ ซง่ึ ขบวน รถไฟจะประกอบด้วย 2 ส่วนคือ หัวรถจักร และตู้รถไฟโดยสาร ซง่ึ หัวรถจักร จะลากจูงตรู้ ถโดยสารที่พว่ งกนั เป็นขบวนไปตามเสน้ ทางต่างๆ หวั รถลากจงู มี 3 ประเภทใหญๆ่ คอื 1. หวั รถจักรไอน้า 2. หวั รถจกั รไฟฟ้า 3. หัวรถจกั รดเี ซล

รถไฟโดยสารสมัยแรกๆ ทาด้วยไม้ แต่ปัจจุบันทาด้วยเหล็ก หรือ อลูมิเนยี มเป็นสว่ นใหญ่ บางตู้แบ่งออกเป็นห้องๆ และบางตู้จัดท่ีนั่งแบบรถ ประจาทางโดยเรยี งกันในแตล่ ะฟาก ถ้าเป็นรถไฟท่ีเดินทางระยะไกลมักมีตู้ รถพเิ ศษ เช่น ตู้รถนอน และตู้เสบยี งอาหาร ขบวนรถไฟโดยสารทใี่ หบ้ ริการแบง่ ออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. ขบวนรถธรรมดา 2. ขบวนรถเร็ว 3. ขบวนรถดว่ น ในขบวนรถไฟโดยสารท้ัง 3 ประเภท มีระดับช้ันในการ ให้บริการขนส่งผู้โดยสารอยู่หลายระดับ เช่น บริการนั่งช้ันหน่ึง ชั้นหน่ึง ปรับอากาศ ช้ันหน่ึงนอนปรับอากาศ ชั้น 2 นั่งปรับอากาศ ชั้น 2 ธรรมดา ช้นั 2 นอนปรบั อากาศ และชัน้ 3 เป็นตน้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook