Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นายสุทธิวัฒน์ พิมพ์จันทร์

นายสุทธิวัฒน์ พิมพ์จันทร์

Published by kruaorsa, 2020-08-22 02:03:56

Description: นายสุทธิวัฒน์ พิมพ์จันทร์

Search

Read the Text Version

เซลล์และโครงสร้างของเซลล์ โดย นายสุทธิวฒั น์ พมิ พ์จนั ทร์ รหัสนักศึกษา 621400198

เซลล์และโครงสร้างของเซลล์

ทฤษฎเีซลล์ (Cell theory) ⚫ ส่ิงมชี ีวติ ทุกชนิดประกอบด้วยเซลล์และ ผลติ ภัณฑ์ของเซลล์ ⚫ เซลล์เป็ นหน่วยย่อยของส่ิงมชี ีวติ ท้ังในแง่ โครงสร้างและการทางานของร่างกาย ⚫ เซลล์ทุกเซลล์มกี าเนิดมาจากเซลล์ทม่ี อี ยู่ก่อน

เซลล์ เป็ นหน่วยพืน้ ฐานท่ีเลก็ ทสี่ ุดของ ส่ิงมชี ีวติ (ยกเว้น ไวรัส ไวรอยด์)

ส่ิงมีชีวติ ออกเป็ น 2 ประเภท 1.สิ่งมชี ีวติ ทเ่ี ป็ นอนุภาคหรือไวริออน (virion) ได้แก่ ไวรัส และไวรอยด์ 2.ส่ิงมีชีวติ ทเ่ี ป็ นเซลล์ ได้แก่ ส่ิงมชี ีวติ อ่ืนๆ (ยกเว้น ไวรัส และไวรอยด์)



sperm paramecium Amoeba nerve cell blood cell

ภาพเซลล์

แผนผงั

แล้วแต่ละเซลล์มโี ครงสร้างพืน้ ฐานเหมือนกนั หรือไม่ • ทุกเซลลจ์ ะมีโครงสร้างพ้นื ฐาน 3 อยา่ งเหมือนกนั คือ ส่วนที่ห่อหุม้ เซลล์ , นิวเคลียส และไซโทพลาสซึม • ภายในไซโทพลาสซึมยงั มีโครงสร้างพ้ืนฐานขนาดเลก็ ที่ ทาใหเ้ ซลลส์ ามารถดารงชีวิตหรือทาหนา้ ที่ของมนั ต่อไปได้ เรียกโครงสร้างน้นั วา่ ออร์แกเนลล์ (Organelle) • ตวั อยา่ งออร์แกเนลที่สาคญั ไดแ้ ก่ คลอโรพลาสต,์ ไมโทคอนเดรีย, แวคิวโอล, ไรโบโซม เป็นตน้

• เย่ือหุ้มเซลล์ (Cell membrane) • ช้ันของสารเคลือบเซลล์ (Cell Coat)

เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane หรือ plasma membrane ) โครงสร้างของ CELL MEMBRANE

Phospholipid Bilayer มีข้วั polar ไม่มีข้วั nonpolar มีข้วั polar

Protein ⚫ Peripheral / Extrinsic protein ⚫ โปรตีนอยู่ทข่ี อบไขมนั ⚫ Integral / Intrinsic protein ⚫ โปรตนี ทแี่ ทรกอยู่ทชี่ ้ันไขมนั

สารประกอบอ่ืน ๆ • Carbohydrate (Oligosaccharide) • Glycoprotein • Glycolipid • Cholesterol

หน้าทข่ี องเยื่อหุ้มเซลล์ 1. แสดงขอบเขตของเซลล์ 2. ห่อหุ้มส่วนทอี่ ยู่ภายในเซลล์ ให้คงรูป 3. semipermeable membrane 4. การยดึ ตดิ กนั ของเซลล์ (Cell adhesion) และการจดจากนั ของเซลล์ (Cell recongnition) 5. การรับและส่งสัญญาณฮอร์โมนหรือสารควบคุมการเจริญเตบิ โต 6. เป็ นตวั ขนส่งสาร (Transporter) ซึ่งจะทาหน้าทเี่ ป็ นตวั พา (Carrier) หรือเป็ นช่อง (Channels) 7. เยื่อหุ้มเซลล์บางชนิด ยื่นออกเป็ นท่อ คล้ายนิว้ มือ เรียกว่า ไมโครวลิ ไล (Microvilli) เช่น เซลล์เยื่อบุผวิ ของลาไส้เลก็

ผนังเซลล์ (cell wall) ⚫ ห่อหุ้มเยื่อหุ้มเซลล์ ⚫ พบได้ในเซลล์แบคทเี รีย ฟังไจ สาหร่าย และพืชช้ันสูง ⚫ พลาสโมเดสมาตา (plasmodesmata) คือ รูหรือช่องเลก็ ๆทผี่ นัง เซลล์เช่ือมตดิ กนั มหี น้าทเี่ กยี่ วข้องกบั การลาเลยี งสารระหว่างเซลล์

สารเคลือบเซลล์ (Cell Coat) หน้าท่ี 1. เป็ นโครงสร้างทมี่ คี วามเหนียว แข็งแรง จึงทาให้เซลล์คงรูปร่าง 2. เป็ นสารไม่ละลายนา้ ช่วยลดการสูญเสียนา้ ให้กบั เซลล์ 3. ทาให้เซลล์ชนิดเดยี วกนั จากนั ได้ ไกลโคแคลกิ ซ์ (Glycocalyx) เป็ นสารเคลือบเซลล์ ทพี่ บในเซลล์สัตว์ เป็ นสารพวกไกลโคโปรตีน (Glycoprotein)

⚫ เซลล์ของสาหร่ายบางชนิด เช่น ไดอะตอม มีสารเคลือบเซลล์เป็ นซิลิ กา (silica) ทาให้เซลล์คงรูปร่างได้ และเป็ นเงาแวววาว ⚫ พวกเห็ด รา มีสารเคลือบเซลล์เป็ นพวกไคติน(chitin) ⚫ กระดองปู เปลอื กนอกของก้งุ และของแมลง มีสารเคลือบเซลล์เป็ น พวกไคตนิ (chitin) diatom image

• นิวเคลยี ส (Nucleus) • ไซโทพลาซึม (Cytoplasm)

* ศูนย์กลางควบคุมกจิ กรรมการทางานต่างๆ ของเซลล์ * ภายในประกอบด้วยสารต่าง ๆ ได้แก่ DNA RNA โปรตนี เอนไซม์และแร่ธาตุต่างๆ

1. เซลล์ปกติมีหนึ่งนิวเคลยี ส 2. บางเซลล์มสี องนิวเคลยี ส เช่น เซลล์ตบั เซลล์กระดูกอ่อน และพารามเี ซียม 3. เซลล์ทีม่ ีนิวเคลยี สจานวนมาก เช่นเซลล์กล้ามเนื้อลาย 4. เซลล์บางชนิดเม่ือเจริญเต็มทไ่ี ม่มนี ิวเคลยี ส เช่น เซลล์ เมด็ เลือดแดงของสัตว์เลยี้ งลูกด้วยนา้ นม เปลย่ี นแปลงได้ตามรูปร่างของเซลล์เพ่ือให้เหมาะสมกบั กจิ กรรมของเซลล์

1. ศูนย์กลางควบคุมกจิ กรรมการทางานต่างๆ ของเซลล์ 2. ควบคุมการเข้าออกของสารระหว่างไซโทพลาซึม กบั นิวคลโี อพลาซึม (Nucleoplasm) 3. มคี วามสาคญั ต่อกระบวนการแบ่งเซลล์และการสืบพนั ธ์ุของเซลล์ 4. ควบคุมลกั ษณะต่างของส่ิงมชี ีวติ และควบคุมลกั ษณะการถ่ายทอด ทางพนั ธุกรรมจากพ่อแม่ไปยงั ลูกหลาน

1. ส่วนห่อหุ้มนิวเคลียส (nuclear envelope หรือ Nuclear membrane) เป็ น double unit membrane 1.1 เยื่อหุ้มช้ันนอก (outer membrane) สัมผสั กบั ไซโทพลาซึมและเชื่อมติดกบั เอนโดพลาสมิคเรติคูลมั และมไี รโบโซมเกาะท่ีเยื่อหุ้ม 1.2 เย่ือหุ้มช้ันใน (inner membrane) ตดิ กบั ของเหลวภายในนิวเคลยี ส



2. (Nucleoplasm / Nucleosome) เป็ นส่วนของเหลวท่อี ยู่ภายในเย่ือหุ้มนิวเคลยี ส ประกอบด้วย 2.1 (Chromatin) มลี กั ษณะเป็ นเส้นใยเลก็ ๆ พนั กนั ประกอบด้วยสาย DNA รวม กบั โปรตีน ขณะมกี ารแบ่งเซลล์โครมาทนิ จะมกี ารหดส้ันจนมรี ูปร่างลกั ษณะ เป็ นแท่ง เรียกว่า โครโมโซม (Chromosome)



2.2 (Nucleolus) ลกั ษณะเป็ นก้อนกลม มหี น้าที่สร้างสาร rRNA และ โปรตีนซึ่งเป็ นส่วนประกอบของไรโบโซมส่งออกไปยงั ไซโตพลาซึม และยงั เกยี่ วข้องกบั การสังเคราะห์โปรตนี ฮิสโตนอกี ด้วย 2.3 (Nuclear sap / Karyolymph) เป็ นของเหลวหรือสารละลายคล้ายกบั สารละลายภายในไซโทพลาซึม

นานิวเคลยี สออก เซลล์มกี ารเคล่ือนไหว ไม่สามารถแบ่งเซลล์ได้ แล้วทดลองเลยี้ งไว้ และแลกเปลย่ี นสารได้ และตาย นานิวเคลยี สของอะมบี าอกี เซลล์หนึ่ง อะมบี ามชี ีวติ อย่ไู ด้และแบ่งเซลล์ ใส่ให้อะมบี าอกี เซลล์หน่ึงที่นานิวเคลยี สออก เพ่ือสืบพนั ธ์ุได้



1. อนิ คูชัน (inclusion) 2. ออร์แกเนลล์ (organelles)

1. อนิ คูชัน (inclusion) สารอนินทรีย์ เช่น นา้ กรด เบส เกลือ ก๊าซ ผลกึ ต่างๆ และแร่ธาตุต่างๆ สารอนิ ทรีย์ เช่น คาร์โบไฮเดรต เม็ดแป้ง นา้ ตาล โปรตีน ลปิ ิ ด หยดไขมัน และกรดนิวคลอี กิ

2. ออร์แกเนลล์ (organelles) 2.1 ออร์แกเนลล์ทมี่ เี ยื่อหุ้ม (Membrane bounded organelles) ได้แก่ Endoplasmic reticulum ,Golgi body, Lysosome, Vacuole, Plastid, Mitochondria 2.2 ออร์แกเนลล์ทไี่ ม่มีเย่ือหุ้ม (nonmembrane bounded organelles)ได้แก่ Ribosome, Centriole

Endoplasmic reticulum ; ER รูปร่าง ลกั ษณะ : เป็นเยอื่ บางๆ ชอ้ น เรียงทบกนั ไปมาในลกั ษณะ สานติดต่อกนั เป็นร่างแห แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ 1. Rough endoplasmic reticulum ;RER มีไรโบโซมมาเกาะ 2. Smooth endoplasmic reticulum ;SER ไม่มีไรโบโซมมาเกาะ

หน้าทีข่ อง RER 1. ทาหนา้ ท่ีในการร่วมกบั ไรโบโซมในการสงั เคราะห์ โปรตีน ส่งออกนอกเซลล์ เซลลท์ ี่พบ RER มาก เช่น เซลลต์ บั อ่อน

2. ลาเลยี งสารไปยงั ส่วนต่าง ๆ ของเซลล์ 3. สังเคราะห์ไตรกลเี ซอไรด์ (Triglyceride)

หน้าท่ขี อง SER 1. กาจดั สารพษิ (Detoxification) ในเซลล์ตบั และเกย่ี วข้องการย่อย สลายไกลโคเจนและ สังเคราะห์ ไตรกลเี ซอไรด์ 2. สังเคราะห์สาร กลุ่มสเตอรอยด์ เช่นคอเลสเทอรอล ฮอร์โมนเพศ ชายและหญงิ ฮอร์โมนจาก ต่อมหมวกไตช้ันนอก (Adrenal cortex) 3. สะสมสารและลาเลยี งสารไปส่วนต่างๆ ของเซลล์ ช่วยดูดซมึ อาหารประเภทไขมนั ในผนงั ของลาไส้เลก็ 4. กระตุ้นการทางานของกล้ามเนื้อ

กอลจิบอดี (Golgi body) ⚫ รูปร่างลกั ษณะ คล้ายจานหรือซิสเตอร์นี (cisternae) เรียงซ้อน กนั 5-8 ช้ัน ปลายโป่ งออกเป็ นถุงหรือกระเปราะ (vesicle) ⚫ มกั พบใกล้กบั ER หรือเยื่อหุ้มนิวเคลยี ส ⚫ เป็ นแหล่งรวบรวมบรรจุและขนส่งสาร ไปนอกเซลล์ ⚫ พบมากในเซลล์ทม่ี กี ารขับสารต่างๆ (Secretory granules) เช่น เซลล์ตับอ่อน เซลล์ประสาท เซลล์พืชพบมาก ในระยะมกี ารสร้างเซลล์เพลต

หน้าท่ี ⚫ สร้างสารเชิงซ้อน ไกลโคโปรตีน (Glycoprotein) ⚫ เป็ นแหล่งเกบ็ สะสมสารทเ่ี ซลล์ผลติ ขนึ้ ก่อนลาเลยี งส่งออกนอก เซลล์ ⚫ สร้าง(cell plate) ⚫ การสร้างอะโครโซม (Acrosome) ⚫ สร้าง Primary lysosome ⚫ สร้างเมือก (Mucilage) ในเซลล์หมวกรากและเซลล์เยื่อบุของลาไส้

ไลโซโซม (Lysosome) รูปร่างลกั ษณะ มเี ย่ือหุ้มช้ันเดยี ว (single unit membrane) เกดิ จากถุง กอลจบิ อดี (vesicle) หลุดออกมา ภายในมเี อนไซม์ ย่อยสลายสารต่างๆมากมาย จะพบในเซลลส์ ตั วช์ นิดต่างๆพบมากในฟาโกไซติกเซลล์ (Phagocytic cell) เซลลต์ บั มา้ ม ไขกระดูก ปอด เซลลท์ ่ีไดร้ ับบาดเจบ็ หรือเซลลท์ ี่มีการทาลายตวั เอง เช่น เซลลส์ ่วนหางของลูกออ๊ ด



หน้าที่ 1. ย่อยสลายสารอาหารและสารต่างๆทถ่ี ูกนาเข้าสู่เซลล์ 2. ย่อยสลายโครงสร้างต่าง ๆ ของเซลล์ ทม่ี กี ารเจริญ เปลยี่ นแปลงและเมตามอร์โฟซิส และเซลล์ทหี่ มดอายุ 3. ทาลายเชื้อโรคหรือส่ิงแปลกปลอมทเี่ ข้าสู่ร่างกาย

แวควิ โอล (Vacuole) รูปร่าง ลกั ษณะ เป็ นโครงสร้างทพี่ บในไซโทพลาซึมของ เซลล์ส่ิงมชี ีวติ โดยเฉพาะเซลล์พืชทเี่ จริญ เตม็ ที่ สาหร่าย ฟังไจบางชนิด ในเซลล์ พืช แวควิ โอลมลี กั ษณะเป็ นถุง เป็ นยูนิต เมมเบรนเพยี งช้ันเดยี วมเี ยื่อหุ้ม เรียกว่า Tonoplast ภายในมสี ่วนทเี่ ป็ น ของเหลว หน้าที่ เป็ นแหล่งเกบ็ สะสมอาหาร ของเสีย และสารต่าง ๆและควบคุมนา้ ภายในเซลล์

ชนิดของแวควิ โอล 1. แซฟแวคิวโอล ( Sap vacuole ) พบในเซลลพ์ ชื ขณะเซลลเ์ จริญยงั ไม่เตม็ ที่จะมีขนาดเลก็ ค่อนขา้ งกลม เมื่อเจริญเตม็ ที่มีขนาดใหญ่ ทาให้ นิวเคลียสและไซโทพลาซึมถูกดนั ไป ขา้ ง ๆเซลล์ หน้าที่ ทาหน้าท่สี ะสมสารบางชนิดเช่น สารมกี ลนิ่ สี ในพืชบางชนิดเกบ็ สารพษิ

2. ฟูดแวควิ โอล ( Food vacuole ) พบในส่ิงมีชีวติ เซลล์เดียว บางชนิด เป็ นแวควิ โอลทเี่ กดิ จากการนาอาหารเข้าสู่เซลล์ โดยการยื่นเว้าของเยื่อหุ้มเซลล์ ออกมาล้อมรอบอนุภาคอาหาร จนกระทง่ั หลดุ เข้าไปในเซลล์ จากน้ันจะรวมกบั ไลโซโซม เพื่อย่อยต่อไป

3. คอนแทร็กไทล์แวควิ โอล ( Contractile vacuole ) เป็ นแวควิ โอลท่ีพบในเซลล์ของโพรติสต์บางชนิด เช่น พารามีเซียม อะมบี า ทาหน้าทขี่ บั นา้ ทม่ี ากเกนิ ความต้องการ และของเสียออกจากเซลล์และ ควบคุมสมดุลนา้ ภายในเซลล์ให้เหมาะสม

พลาสตดิ (Plastid) • เป็ น organelle ทพี่ บในเซลล์พืชและสาหร่าย (ยกเว้น สาหร่ายสีเขียวแกมนา้ เงนิ ) และพบใน โพรตสิ ต์ บางชนิด เช่น ยูกลนี า วอลวอกซ์ • เป็ นออแกเนลล์ทมี่ เี ย่ือหุ้ม 2 ช้ัน • การสังเคราะห์แสงและเป็ นแหล่งเกบ็ สะสมอาหาร

ประเภทของพลาสติด จาแนกได้ 3 ประเภท จาแนกตามชนิดของรงควตั ถุ คือ 1.ลวิ โคพลาสต์ (leucoplast) เป็ นพลาสตดิ ทไี่ ม่มรี งควตั ถุ จงึ ไม่มีสี รูปร่าง เป็ นท่อน กลม รี คล้ายรูปไข่ พบตามเนื้อเย่ือสะสม ของราก ผล หรือลาต้นใต้ดนิ และเซลล์พวกใบเลีย้ ง เป็ นแหล่งสะสมอาหารของพืช

2. โครโมพลาสต์ (Chromoplast) ⚫ เป็ นพลาสตดิ ที่มสี ารทท่ี าให้เกดิ สีต่างๆยกเว้นสีเขียว ⚫ รงควตั ถุที่สาคญั ได้แก่ แคโรทีนอยด์ (Carotenoid) มีสีส้ม แดง เหลือง และ นา้ ตาล พบมากในผลไม้สุก ไฟโคบิลนิ (Phycobilin) ประกอบด้วยรงควตั ถุพวก Phycocyanin มีสีนา้ เงิน และPhycoerythrin มีสี แดงพบในสาหร่ายบางชนิด

3.คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) ⚫ เป็ นพลาสติดท่มี ี รงควตั ถุสีเขยี ว คือ สารคลอโรฟิ ลล์ (chlorophyll) จานวนมาก พบในเซลล์พืชและสาหร่าย (ยกเว้น สาหร่ายสีเขยี วแกมนา้ เงนิ ) ⚫ รูปร่าง คล้ายไข่ รูปจาน หรือกระบอง ⚫ มีเยื่อหุ้ม 2 ช้ัน เย่ือช้ันในย่ืนเข้าไปกลายเป็ นถุง เรียกว่า Lamella หรือ Thylakoid ไทลาคอยด์ ไทลาคอยด์หลายอนั มาเรียงซ้อนกนั เป็ นต้งั เรียกรวมว่า Granum ส่วนของเหลวภายในเรียกว่า Stroma


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook