Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้วิทย์าศาสตร์

ใบความรู้วิทย์าศาสตร์

Published by krittimuk.tommy, 2020-08-22 03:47:17

Description: ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้

Search

Read the Text Version

สาระความรู้ 2 วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ 2560) หน่วยที่ 1 วทิ ยาศาสตรน์ า่ รู้ บทท่ี 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 2 รา่ งกายของเรา บทท่ี 1 สารอาหารกบั การเจรญิ เติบโตของรา่ งกาย บทที่ 2 ระบบยอ่ ยอาหารของรา่ งกาย หนว่ ยที่ 3 แรงไฟฟา้ และวงจรไฟฟ้า บทท่ี 1 แรงไฟฟา้ น่ารู้ บทที่ 2 วงจรไฟฟ้าใกลต้ วั หนว่ ยท่ี 4 แสงและเงา บทที่ 1 เงามดื และเงามัว หนว่ ยท่ี 5 สารรอบตวั บทที่ 1 การแยกสารผสม หน่วยที่ 6 หินและซากดึกด�ำบรรพ์ บทที่ 1 หนิ ในธรรมชาติ บทท่ี 2 ซากดกึ ด�ำบรรพ์ หน่วยที่ 7 ปรากฏการณท์ างธรรมชาติและธรณพี ิบัตภิ ัย บทท่ี 1 ลมบก ลมทะเล และลมมรสมุ บทที่ 2 ภัยธรรมชาติและปรากฏการณ์เรือนกระจก หน่วยที่ 8 ดาราศาสตร์และเทคโนโลยีอวกาศ บทท่ี 1 ปรากฏการณด์ าราศาสตร์ บทท่ี 2 ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยอี วกาศ

ตวั ชว้ี ดั วชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ป.6 3 1. ระบสุ ารอาหารและบอกประโยชนข์ องสารอาหารแตล่ ะประเภทจากอาหารทต่ี นเองรบั ประทาน (ว 1.2 ป.6/1) 2. บอกแนวทางในการเลอื กรบั ประทานอาหารใหไ้ ดส้ ารอาหารครบถว้ น ในสดั สว่ นทเ่ี หมาะสมกบั เพศและวยั รวมทง้ั ความ ปลอดภยั ตอ่ สขุ ภาพ (ว 1.2 ป.6/2) 3. ตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของสารอาหาร โดยการเลอื กรบั ประทานอาหารทม่ี สี ารอาหารครบถว้ นในสดั สว่ นทเี่ หมาะสม (451ป8(1ก(6ก791งก1(ววววา03.12.....าบาัรน....รระเตเอรอสพ2222ขดตเจตตะออรธธปร....ยดกีศูำ3333บ�าบบ้ออรระิิน็ นวตซงแหะะสกกุาาปนแปปปปัแมละหหึวยย่นแแกบกผ....ะสนแกนนบบก6666ัตอวบนลาาปกก////ัับบถิยนรัรภจ4135ะถถรงึกก(อเ))))เำ�าะคงงึึกวาาปราลโพกปปวรรดิวรหดออททแรร1าแยมียางบะะม.ลดดลบ2รทใรโโแสะลลชะเะยยงั้ทตลำผป�ออห(้บปชชคอ่วยะีลงง.ลบลนน6บวบญัแแขกั/ยอขข์์1งรลลกอฐข5อ่ดออจ.ระะา2งา)อยงงภรยรททนแงอคคไาแยัปดดรเฟรายววชยตง.ลละหฟ6หาางกอไิ่บออ/มมาฟปาน้สสบงง4รอรรฟาร้าขุดด)ยขข้้ยููทะราภ้ววแ้้อ่ออา่จผขซ่ียยาลยงงงกสัอง่ึพววงะอกกษเมงา่ธธบกิิาาาแ์ยโททีี(หดรรริ รดตวเเรตต่ี่ีจาวหหล(ย่ยออร่่ามวกมมะ1ากหเทสซา.าายโ2วล2วร่ะะงลด้ัหตั.อหนสสร3ลยนปถดะมมยปไก์า้.ทบุฟไป6บิใใรทาฟผ/นนี่วุฟ.ะรอขี่63าฟ่ธกกิกบอา้/อ)นแีาาาอ้แอก2งกกแรรบบ)กอปออาบ้ กบขแวรญธธับานออยัขบบิิอรหงววนดัาารนวาะทกุถยยอ่งใกใุารวกูนนนจรงมโธาิชรรมใดกรโีกนไะวีแดตยาฟบากติลรยอใ่รฟบาปชแะบหใรา้ยหแ้ลรชอลดออ่ะบลแะ้กอแยูยจผมบกัปดาล่อำ�ลเฐ่ขงรไหรวาาขฟงนะกัหนลันา่อโาฟษาเกย็เยงนกชาร้าจดกชยแี่องิางึานโวบปรวกดรดแ์กวบยรัหตดูยลบมัะวออล่บะจทกะนกเกักอซกใัาง้ักาุฐานกรลษอรรารแรปลธ์รนมปะยบ(ไริน์ิเแรบฟวกชะาอละบโสฟยงิอยะย2ปายกา้กกแุ.ชรอ่แาร2บตนรยะบกใ์บ(ยจป์อบชาวอขข่กาั.ใรอ้6อย้นหนษกน2/อจาาช์ร1.กุ1านำร�อ)วีรหกใงติมหปดาั ท้ร.แ6แาล/ล1ะะ) และการประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั (ว 2.3 ป.6/6) 14. อธบิ ายการเกดิ เงามดื เงามวั จากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ (ว 2.3 ป.6/7) 15. เขยี นแผนภาพรงั สขี องแสงแสดงการเกดิ เงามดื เงามวั (ว 2.3 ป.6/8) 16. สรา้ งแบบจำ� ลองทอี่ ธบิ ายการเกดิ และเปรยี บเทยี บปรากฏการณส์ รุ ยิ ปุ ราคาและจนั ทรปุ ราคา (ว 3.1 ป.6/1) 17. อธบิ ายพฒั นาการของเทคโนโลยอี วกาศ และยกตวั อยา่ งการนำ� เทคโนโลยอี วกาศมาใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ประจำ� วนั จากขอ้ มลู ทรี่ วบรวมได้ (ว 3.1 ป.6/2) 18. เปรยี บเทยี บกระบวนการเกดิ หนิ อคั นี หนิ ตะกอน และหนิ แปร และอธบิ ายวฏั จกั รหนิ จากแบบจำ� ลอง (ว 3.2 ป.6/1) 19. บรรยายและยกตวั อยา่ งการใชป้ ระโยชนข์ องหนิ และแรใ่ นชวี ติ ประจำ� วนั จากขอ้ มลู ทรี่ วบรวมได้ (ว 3.2 ป.6/2) 20. สรา้ งแบบจำ� ลองทอี่ ธบิ ายการเกดิ ซากดกึ ดำ� บรรพ์ และคาดคะเนสภาพแวดลอ้ มในอดตี ของซากดกึ ดำ� บรรพ์ (ว 3.2 ป.6/3) 21. เปรยี บเทยี บการเกดิ ลมบก ลมทะเล และมรสมุ รวมทง้ั อธบิ ายผลทมี่ ตี อ่ สง่ิ มชี วี ติ และสงิ่ แวดลอ้ มจากแบบจำ� ลอง (ว 3.2 ป.6/4) 22. อธบิ ายผลของมรสมุ ตอ่ การเกดิ ฤดขู องประเทศไทยจากขอ้ มลู ทร่ี วบรวมได้ (ว 3.2 ป.6/5) 23. บรรยายลกั ษณะและผลกระทบของนำ้� ทว่ ม การกดั เซาะชายฝง่ั ดนิ ถลม่ แผน่ ดนิ ไหว สนึ ามิ (ว 3.2 ป.6/6) 24. ตระหนกั ถงึ ผลกระทบของภยั ธรรมชาตแิ ละธรณพี บิ ตั ภิ ยั โดยนำ� เสนอแนวทางในการเฝา้ ระวงั และปฏบิ ตั ติ นให้ ปลอดภยั จากภยั ธรรมชาตแิ ละธรณพี บิ ตั ภิ ยั ทอ่ี าจเกดิ ในทอ้ งถนิ่ (ว 3.2 ป.6/7) 25. สรา้ งแบบจำ� ลองทอ่ี ธบิ ายการเกดิ ปรากฏการณเ์ รอื นกระจก และผลของปรากฏการณเ์ รอื นกระจกตอ่ สงิ่ มชี วี ติ (ว 3.2 ป.6/8) 26. ตระหนกั ถงึ ผลกระทบของปรากฏการณเ์ รอื นกระจก โดยนำ� เสนอแนวทางการปฏบิ ตั ติ นเพอ่ื ลดกจิ กรรมทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ แกส๊ เรอื นกระจก (ว 3.2 ป.6/9)

ใบความรู้ วชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 4 หน่วยการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์น่ารู้ บทเรอื่ ง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1. วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ เปน็ ข้นั ตอนการท�ำงานอย่างเป็นระบบของนกั วทิ ยาศาสตร์ท่ีใชใ้ นการสืบเสาะหรอื ค้นหาความร้ทู าง วทิ ยาศาสตร์ที่เกิดจากความสงสยั ประกอบดว้ ย 5 ข้ันตอน ไดแ้ ก่ 1. ระบุปัญหา (ตง้ั ค�ำถาม) เป็นการต้ังคำ� ถาม ต้ังปัญหา หรือต้งั ข้อสงสัยที่เกิดจาก การสงั เกตส่ิงตา่ งๆ รอบตวั การสังเกตควรท�ำอยา่ งละเอียดรอบคอบ โดยใช้ประสาทสมั ผสั ตา่ งๆ เข้ามาช่วยในการสงั เกต 2. ต้ังสมมติฐาน (คาดคะเนค�ำตอบ) เป็นการคาดคะเนค�ำตอบของค�ำถามหรอื ปัญหาทีต่ ้องการศึกษา ไวล้ ่วงหนา้ โดยอาศัยข้อมูลหรอื ความรู้เดิม ซึง่ สามารถตรวจสอบ ไดโ้ ดยการสงั เกต การสำ� รวจ หรอื การทดลอง 3. รวบรวมข้อมูล เปน็ การรวบรวมขอ้ มลู หรอื คน้ หาค�ำตอบของปญั หาด้วยวิธกี ารตา่ งๆ เชน่ สังเกต สำ� รวจ ทดลอง หรือ สร้างแบบจ�ำลอง เพ่ือใหไ้ ด้ขอ้ มลู แลว้ บนั ทึกผลไว้ 4. วเิ คราะหข์ ้อมูล เปน็ การนำ� ข้อมูลทไ่ี ดจ้ ากการรวบรวมข้อมูลดว้ ยวธิ ี การตา่ งๆ มาแปลความหมาย หรอื อธิบายความหมายของ ขอ้ เทจ็ จริงที่มอี ยู่ เพ่อื นำ� ไปสู่การสรุปผล 5. สรปุ ผล เปน็ การสรปุ ผลของขอ้ มลู ทไ่ี ด้ศึกษาค้นควา้ มาเพ่ือ ตรวจสอบวา่ ตรงกับสมมติฐานทตี่ ้ังไว้ล่วงหนา้ หรอื ไม่ จาก น้ันนำ� ความรทู้ ่ไี ดไ้ ปประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจำ� วัน หรอื ตง้ั เป็นกฎเกณฑเ์ พอ่ื ใช้ในการศกึ ษาตอ่ ไป 2. ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เปน็ ทักษะกระบวนการทน่ี ักวิทยาศาสตร์นำ� มาใช้เพ่อื การศึกษาค้นคว้า สืบเสาะหาความรู้และแกป้ ญั หา ตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมะสม ชว่ ยใหเ้ ราหาความรู้ได้อยา่ งเป็นระบบและมคี วามถูกต้อง แบ่งออกเปน็ 2 ขั้น มี 14 ทกั ษะ

1. ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ข้ันพื้นฐาน มี 8 ทกั ษะ ดังนี้ 5 1. ทกั ษะการสงั เกต เป็นการใชป้ ระสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนง่ึ หรือใชห้ ลายอย่าง รว่ มกนั ได้แก่ ตา หู ลน้ิ ผิวกาย และจมกู เพือ่ คน้ หาและบอกรายละเอยี ด ของส่งิ ต่างๆ ท่ีสงั เกตโดยไมใ่ สค่ วามคิดเหน็ ของผสู้ งั เกตลงไป 2. ทักษะการจ�ำแนกประเภท เปน็ การแบ่งพวก การจดั กลุ่มส่งิ ต่างๆ การเรียงลำ� ดบั วตั ถหุ รอื เหตกุ ารณต์ ่างๆ ออกเป็นหมวดหมู่ โดยใช้ความเหมอื นกันหรอื ใชค้ วามแตกตา่ งกนั มาเป็นเกณฑใ์ นการจ�ำแนกวัตถเุ หตุการณห์ รือสง่ิ ตา่ งๆ ออกจากกนั 3. ทกั ษะการวดั เปน็ การเลือกเคร่ืองมือและการใชเ้ คร่อื งมอื ต่างๆ เพือ่ วัดหาปริมาณของสง่ิ ตา่ งๆ ออกมาเป็นตัวเลขได้ถูกตอ้ ง และเหมาะสมกับส่ิงทต่ี ้องการวดั รวมทัง้ บอกหรือระบ ุ หน่วยของตวั เลขทท่ี �ำการวัดได้อยา่ งถกู ตอ้ ง 4. ทกั ษะการใชจ้ �ำนวน เป็นการใชค้ วามร้ทู างดา้ นจ�ำนวนและการค�ำนวณ โดยการนบั จ�ำนวนหรือคดิ คำ� นวณ เพ่อื บรรยายหรือระบุ รายละเอยี ดเชงิ ปริมาณของสิ่งทส่ี งั เกตหรอื ทดลองได้ 5. ทักษะการลงความเห็นจากขอ้ มลู เป็นการใชค้ วามคดิ เห็นจากประสบการณ์ หรือความรู้เดมิ เพอ่ื อธบิ ายข้อมลู ท่ไี ดจ้ ากการสงั เกตอย่างมี เหตผุ ล โดยอาศยั ข้อมูลหรอื สารสนเทศท่ีเคยเกบ็ รวมรวมไว้ ในอดีต 6. ทักษะการจัดกระทำ� และสื่อความหมายข้อมูล เป็นการนำ� ข้อมูลทรี่ วบรวมได้จากวิธี การต่างๆ มาจดั กระทำ� ให้อยใู่ นรูปแบบท่มี คี วามหมายหรือ มีความสมั พนั ธ์กนั มากขนึ้ รวมท้ังนำ� ขอ้ มลู มาจัดกระท�ำใน รปู แบบต่างๆ เช่น แผนภาพ แผนภูมิ ตาราง กราฟ การเขียน บรรยาย สมการเพื่อทำ� ให้ผอู้ นื่ เขา้ ใจความหมายไดง้ ่ายขึ้น

7. ทักษะการหาความสัมพันธ์ของสเปซกบั เวลา 6 -การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซกับสเปซ เป็นการหาความสัมพันธร์ ะหว่างพนื้ ที่ที่วัตถ ุ ตา่ งๆ ครอบครองอยู่ -การหาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสเปซกบั เวลา เป็นการหาความสัมพันธ์ระหวา่ งพื้นท่ีที่วัตถ ุ ครอบครองอยู่เมอ่ื เวลาผ่านไป 8. ทักษะการพยากรณ์ เป็นการคิดคะเนผลลพั ธ์ของปรากฏการณส์ ถานการณ์ การสังเกต หรอื การทดลองไว้ล้วงหนา้ โดยอาศัยข้อมลู หรอื ประสบการณ์ของเรื่องนนั้ ท่เี กิดขึ้นซ้�ำๆ เป็นแบบรปู มาชว่ ยในการคาดกการณส์ ง่ิ ทจี่ ะเกดิ ข้นึ 2. ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ขัน้ สงู หรือข้นั ผสม มี 6 ทกั ษะ ดังนี้ 1. ทกั ษะการตงั้ สมมติฐาน เปน็ การคดิ หาค�ำตอบล่วงหนา้ ก่อนทำ� การทดลอง โดยอาศยั การสงั เกต ความรู้ หรอื ประสบการณ์เดิมเป็นพื้นฐาน โดยค�ำตอบท่คี ิดล่วงหนา้ นยี้ ังไมท่ ราบ ไมม่ หี ลกั การ หรอื ไม่เปน็ ทฤษฎีมากอ่ น และสมมตฐิ านทต่ี ้ังขนึ้ อาจถกู หรือผดิ ก็ได้ ซ่ึงจะทราบได้ภายหลังการทดลองแลว้ 2. ทักษะการก�ำหนดนิยามเชิงปฏิบตั กิ าร เปน็ การกำ� หนดความหมายและขอบเขตของสิ่งตา่ งๆ ทอ่ี ยู่ ในสมมตฐิ านหรอื ทีเ่ กย่ี วข้องกบั การทดลองเพอ่ื ให้เกิดความเข้าใจ ตรงกนั และสามารถสงั เกตหรือวดั ได้ โดยใหค้ �ำอธิบายเกยี่ วกับการ ทดลองและบอกวิธีการวัดตวั แปรทเ่ี กีย่ วกับการทดลองน้ันๆ 3. ทกั ษะการก�ำหนดและควบคุมตัวแปร เปน็ การก�ำหนดตัวแปรต้น ตวั แปรตาม และตวั แปรควบคุม ท่ีตอ้ งควบคุมให้คงท่ี โดยต้องใหส้ อดคลอ้ งกับการต้งั สมมตฐิ านของการทดลองหน่งึ ๆ 4. ทกั ษะการทดลอง เปน็ กระบวนการปฏิบัติในการออกแบบและวางแผนการ ทดลอง เพ่อื หาคำ� ตอบจากสมมตฐิ านทต่ี ้องไว้ ซึ่งประกอบด้วย 3 ข้นั ตอน คือ การออกแบบการทดลอง การปฏิบัติการทดลอง และการบนั ทกั ผลการทดลอง 5. ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงข้อสรปุ เป็นการแปลความหมายหรือบรรยายลักษณะและ สมบตั ขิ องข้อมูลท่มี อี ยู่ รวมทงั้ สามารถสรปุ ความสัมพนั ธข์ องขอ้ มูลทัง้ หมดได้

6. ทกั ษะการสรา้ งแบบจ�ำลอง 7 เป็นการสรา้ งหรอื ใช้สงิ่ ท่สี ร้างขนึ้ มา เพื่อเลยี นแบบหรือ อธิบายปรากฏการณท์ ่ศี กึ ษาหรือสนใจแล้วสามารถน�ำเสนอข้อมลู แนวคิด และความคิดรวมยอด เพื่อใหผ้ อู้ ่นื เข้าใจในรูปแบบของ แบบจ�ำลองต่างๆ เช่น ชนิ้ งาน สิ่งประดษิ ฐ์ กราฟ รปู ภาพ ข้อความ 3. จติ วทิ ยาศาสตร์ ลกั ษณะหรอื พฤติกรรมของแต่ละคนที่เกิดจากประสบการณ์ที่ได้จากการศกึ ษาในเร่อื งตา่ งๆ โดยใช้ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรใ์ นการศึกษา คุณลักษณะหรือพฤตกิ รรมทางจิตวิทยาศาสตรท์ ีเ่ ห็นไดช้ ัดเจน เชน่ - ความซอ่ื สตั ย์ เปน็ ลกั ษณะสำ� คัญทีแ่ สดงออกมาอยา่ งตรงไปตรงมาตามสภาพความเปน็ จริง ไมท่ ุจรติ ไมห่ ลอก ลวง มกี ารบันทกึ ขอ้ มูลตามความเป็นจริง - ความสนใจใฝ่รู้ เป็นลกั ษณะท่ีช่วยใหเ้ ราสามารถค้นหาค�ำตอบของข้อสงสัยหรอื ค้นพบวิธีการแกป้ ญั หาท่ศี ึกษาได้ โดยผทู้ ี่มคี วามสนใจใฝร่ ้จู ะมีลกั ษณะชอบศกึ ษา ค้นคว้า ทดลอง และใฝ่หาความรเู้ พิ่มเติมอย่เู สมอ - ความม่งุ ม่นั เพียรพยายาม เปน็ ลกั ษณะท่ีแสดงออกถงึ ความเพยี รพยายาม เม่ือมอี ปุ สรรคหรอื มคี วามล้มเหลวในระหว่างการ ท�ำงานจะไม่ท้อถอย โดยจะมคี วามมุ่งมนั่ และตั้งใจในการแสวงหาองค์ความร้นู ้ันมา - ยอมรับฟงั ความคดิ เห็นของผอู้ น่ื เปน็ ลกั ษณะสำ� คัญในการสรา้ งองค์ความรู้และนวัตกรรมใหมๆ่ ทำ� ใหไ้ ดค้ วามรทู้ ม่ี ีประสทิ ธภิ าพมาก ยง่ิ ขึ้น โดยจะตอ้ งเป็นผู้ทม่ี คี วามใจกว้าง ให้ความส�ำคัญกบั เหตผุ ลของผู้อ่นื และยอมรับฟงั ความคิดเหน็ ของผอู้ ื่น เสมอ - ความมีเหตผุ ล เป็นลกั ษณะสำ� คัญที่เราสามารถแสดงความคิดเหน็ ตรวจสอบความถกู ตอ้ งและยอมรบั ขอ้ มลู นน้ั ได้มาจากการคน้ คว้า หรือการทดลองทเ่ี ชือ่ ถือได้

4. รจู้ กั นกั วทิ ยาศาสตร์ 8 วลิ เลยี ม วเี วลล์ บญั ญตั คิ ำ� วา่ “นกั วทิ ยาศาสตร”์ ขน้ึ เมอื่ พ.ศ. 2376 โดยให้ ความหมายของนกั วทิ ยาศาสตร์ คอื บคุ คลทม่ี คี วามเชยี่ วชาญทางดา้ นวทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งนอ้ ย 1 สาขา และใชห้ ลกั วธิ ที างวทิ ยาศาสตรใ์ นการคน้ ควา้ และวจิ ยั ในอดตี เคยเรยี กนกั วทิ ยาศาสตร์ วา่ นกั ปรชั ญาธรรมชาติ หรอื บคุ คลแหง่ วทิ ยาศาสตร์ หลยุ ส์ ปาสเตอร์ เปน็ นกั จลุ ชวี วทิ ยาและนกั เคมชี าวฝรง่ั เศสไดร้ บั ยกยอ่ งวา่ เปน็ บดิ าแหง่ การแพทยส์ มยั ใหม่ เกรเกอร์ โยฮนั น์ เมนเดล เปน็ นกั พฤษศาสตรช์ าวออสเตรยี ไดร้ บั ยกยอ่ งวา่ เปน็ บดิ าแหง่ วชิ าพนั ธศุ าสตรไ์ ดท้ ดลองผสมพนั ธข์ุ องถวั่ ลนั เตา มารี กรู ี เปน็ นกั วทิ ยาศาสตรช์ าวโปแลนด์ ไดศ้ กึ ษาธาตทุ เ่ี ปน็ ประโยชนท์ างการแพทย์ คอื ธาตุ เรเดยี ม และไดร้ บั รางวลั โนเบลสองสาขาคอื สาขาฟสิ กิ ส์ และสาขาเคมี ชาลส์ รอเบริ ต์ ดารว์ นิ เปน็ นกั ธรรมชาตวิ ทิ ยาชาวองั กฤษ ไดร้ บั ยกยอ่ งวา่ เปน็ บดิ าแหง่ การศกึ ษาววิ ฒั นาการสง่ิ มชี วี ติ ไดเ้ สนอทฤษฎที เ่ี ปน็ รากฐานของทฤษฎวี วิ ฒั นาการสมยั ใหม่ คอื ทฤษฎกี ารคดั เลอื กโดยธรรมชาติ ทอมสั แอลวา เอดสิ นั เปน็ ผคู้ ดิ คน้ ประดษิ ฐห์ ลอดไฟแบบมไี ส้ ทำ� งานหนกั ไมท่ อ้ ถอย ประดษิ ฐส์ ง่ิ ตา่ ง ๆ มากมาย มคี วามพยายามและอดทน

9 กาลเิ ลโอ ไดส้ งั เกตการแกวง่ ของโคมไฟในวหิ ารเปน็ นกั วทิ ยาศาสตรท์ มี่ คี วามชา่ งสงั เกต เซอรไ์ อแซก นวิ ตนั คน้ พบแรงโนม้ ถว่ งของโลกจากการดลู กู แอปเปลิ หลน่ จากตน้ มคี วามชา่ งคดิ ชา่ งสงสยั แอลเบริ ต์ ไอนส์ ไตน์ รบั ฟงั ความคดิ ของผอู้ น่ื คน้ พบระเบดิ ปรมาณู มคี วามมเี หตผุ ล สองพน่ี อ้ งตระกลู ไรต์ สรา้ งเครอ่ื งรอ่ นและเครอ่ื งบนิ เปน็ นกั วทิ ยาศาสตรท์ ม่ี คี วามคดิ รเิ รม่ิ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั (รชั กาลที่ 4) ทรงตง้ั ปญั หาพยากรณด์ ว้ ย การคำ� นวณ การเกดิ สรุ ยิ ปุ ราคาลว่ งหนา้ ไวถ้ งึ 2 ปี ทรงเปน็ นกั วทิ ยาศาสตรท์ ม่ี คี วามทำ� งาน อยา่ งมรี ะบบ

ใบความรู้ วิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 10 หน่วยการเรียนรู้ รา่ งกายของเรา บทเร่ือง สารอาหารกับการเจริญเตบิ โตของรา่ งกาย 1. การเจริญเติบโตของรา่ งกาย ร่างกายของเรามีการเจรญิ เตบิ โตจากวยั ทารกสู่วยั เดก็ วัยรุ่น และวยั ผูใ้ หญ่ ซึ่งในแต่ละช่วงวยั ขนาดและรา่ งกายจะมีการเปลี่ยนแปลงแตกตา่ งกนั และมพี ฒั นาการดา้ นรา่ งกายแตกต่างกนั ดว้ ย รา่ งกายของคนเรามกี ารเจรญิ เติบโตตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาจนตลอดออกมาเป็นทารก จากนั้น ค่อย ๆ เจรญิ เติบโตสวู่ ัยเด็ก วัยรุ่น และวยั ผู้ใหญ่ ซ่งึ ในแตล่ ะชว่ งวยั ขนาดของรา่ งกายจะเปลีย่ นแปลงแตกตา่ ง กนั ไป โดยสงั เกตได้จากสัดสว่ นร่างกายทเี่ ปลี่ยนแปลง เชน่ ความยาวแขนและขา น้ำ� หนกั สว่ นสงู เพม่ิ ขน้ึ รวม ถึงลักษณะความแตกต่างทางเพศ เชน่ ผ้ชู ายมีหนวด สว่ นผ้หู ญิงมีประจำ� เดอื น การเปลีย่ นแปลงนี้เกิดจากรา่ งกาย ได้รบั สารอาหารท่มี ปี ระโยชน์ การเจรญิ เติบโตของรา่ งกายมนุษย์ วยั เดก็ 1) วัยทารก อายุ 0 – 1 ปี ผิวหนังออ่ นนุ่มสว่ นใหญม่ สี ชี มพู ฟันนำ้� นมเร่ิมขน้ึ เมอ่ื อายุประมาณ 5-6 เดอื น มีกลา้ มเนอ้ื น้อยแขนและ ขางออย่เู กือบตลอดเวลา

2) วยั ก่อนเรียน อายุ 1 – 6 ปี 11 ความสูงโดยเฉลย่ี เพ่ิมขึ้นประมาณปีละ 7.5 เซนตเิ มตร รูปรา่ งจะคอ่ ย ๆ ยืดตวั ออกใบหน้าและศีรษะเล็ก ลงเม่ือเทียบกับขนาดตัว แขน ขา ล�ำตัว และคอเรียวยาวขนึ้ ส่วนมือและเท้าจะใหญแ่ ละแข็งแรงขนึ้ 3) วัยเรียน อายุ 7 – 12 ปี ส่วนสงู เพ่ิมขึ้นประมาณ 4-5 เซนติเมตรต่อปี ฟนั นำ�้ นมเร่มิ หลดุ และจะมีฟันแท้งอกขน้ึ มาแทนที่ น้�ำหนกั ตวั เพม่ิ ขน้ึ ประมาณ 2-3 กิโลกรัม วัยรุ่น 4) วัยรนุ่ ชาย เเละวัยร่นุ หญงิ อายุ 13-19 ปี เป็นวัยทเี่ พศหญิงและเพศชายมกี ารเปล่ียนแปลงทางรา่ งกายและอารมณอ์ ย่างมาก ชว่ งอายุ 13-19 ปี เพศชายจะเจรญิ เตบิ โตมากกวา่ เดก็ ผูห้ ญิง • เรม่ิ มหี นวดเคราเสยี งหา้ ว • ในชว่ งแรกจะมนี ำ้� หนกั และ • รา่ งกายขยายใหญไ่ หล่ สว่ นสงู มากกวา่ เดก็ ผชู้ าย กวา้ งขน้ึ • แขนและขายาวขน้ึ • มกี ลา้ มเนอื้ แขง็ แรง • หนา้ อกขยายใหญข่ น้ึ • อณั ฑะเรมิ่ ผลติ อสจุ ิ สะโพกผายออก • เรมิ่ มปี ระจำ� เดอื น

วยั ผใู้ หญ่ 12 5) วัยหนุ่มสาว อายุ 20 – 39 ปี เพศชายไหล่กวา้ งขนาดของต้นแขนเพิม่ ขน้ึ เพศชายและเพศหญิงมพี ัฒนาการของร่างกายอย่างเต็มท่ี เพศ หญงิ เต้านมและสะโพกเจรญิ เตม็ ท่ี 6) วยั กลางคน อายุ 40 – 59 ปี ผวิ เร่ิมเหี่ยวย่น ไม่เตง่ ตงึ ร่างกายเร่มิ เสื่อมถอยการเคล่อื นไหวเรม่ิ ชา้ ลงน�้ำหนกั ตวั เพิ่มขนึ้ จากการสะสมไข มันใตผ้ ิวหนงั สายตาเร่ิมยาว หเู ร่ิมตงึ ผมเรม่ิ หงอก 7) วัยสูงอายุ อายุ 60 ปขี ึน้ ไป ผวิ หนงั แตกแห้งและเห่ียวยน่ รา่ งกายหยดุ การเจรญิ เตบิ โต ผมเรมิ่ เปลีย่ นเป็นสีขาวและหลุดรว่ ง สมองเริม่ เส่ือม กล้ามเนื้อลบี กระดูกเปราะ

วิธีตดิ ตามการเจรญิ เตบิ โตของตนเอง เพือ่ จะท�ำใหท้ ราบถงึ ความผดิ ปกตทิ ่ีอาจเกดิ ขึ้นกับตนเอง รวมท้ัง 13 สามารถป้องกนั หรอื แก้ไขปญั หาสุขภาพได้อยา่ งถกู ต้อง ปฏบิ ตั ไิ ด้ ดังน้ี 1. ช่งั นำ�้ หนกั และวดั ส่วนสูงของตนเองอย่างนอ้ ยปลี ะ 2 คร้งั 2. ส�ำรวจและจดบันทกึ การเปลีย่ นแปลงทางรา่ งกาย เพ่อื น�ำมาเปรยี บเทยี บกบั เกณฑ์มาตรฐาน 3. สังเกตหรอื สอบถามเพอ่ื นในวัยเดยี วกัน เพือ่ นำ� มาเปรียบเทยี บวา่ ตนเองมีการเจริญเติบโตเหมอื นหรอื แตกตา่ ง จากเพอ่ื นสว่ นใหญอ่ ย่างไร 4. เข้ารบั การตรวจสขุ ภาพประจ�ำปี เพอื่ ปอ้ งกันและดูแลรกั ษาสุขภาพอยเู่ สมอ 2. สารอาหารท่ีจำ� เปน็ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของร่างกาย อาหาร (food) หมายถงึ สง่ิ ที่เรารับประทานเขา้ ไปในร่างกายไดป้ ลอดภยั และมปี ระโยชน์ โดยส่งผลให้ ร่างกายด�ำรงชวี ติ ไดอ้ ยา่ งปกติ อาหารทีเ่ รารับประทานในแตล่ ะวันมหี ลากหลายชนิด ซึ่งอาหารแตล่ ะชนดิ จะใหส้ ารอาหารที่เปน็ ประโยชน์ ตอ่ รา่ งกายแตกต่างกัน และมีปรมิ าณมากน้อยเเตกต่างกนั อาหารเเบง่ ได้เป็น 5 หมู่ เรียกวา่ อาหารหลัก 5 หมู่ ดงั น้ี หม่ทู ี่ 1 เนื้อสตั ว์ นม ไข่ และถั่วชนดิ ต่าง ๆ อาหารประเภทนี้เมื่อผ่านการยอ่ ยแล้วจะใหส้ ารอาหาร ประเภทโปรตนี แก่รา่ กาย หม่ทู ่ี 2 ขา้ ว แปง้ เผือก มัน นำ�้ ตาล และอาหารแปรรูปจากแปง้ อาหารประเภทนีเ้ มือ่ ผา่ นการยอ่ ยแลว้ จะให้สารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตแกร่ า่ งกาย

หมู่ท่ี 3 พชื ผักชนิดต่าง ๆ อาหารประเภทนเี้ ม่อื ผ่านการยอ่ ยแลว้ จะให้สารอาหารประเภทวติ ามินและเกลือแร่แก1่ 4 รา่ งกาย หมทู่ ่ี 4 ผลไมช้ นิดต่าง ๆ อาหารประเภทนี้เม่อื ผ่านการย่อยแลว้ จะใหส้ ารอาหารประเภทวติ ามนิ และเกลอื แร่แก่ ร่างกาย หมูท่ ่ี 5 ไขมันและน�้ำมันจากพืชหรือสตั ว์ อาหารประเภทน้เี มอ่ื ผา่ นการย่อยแลว้ จะให้สารอาหารประเภทไขมนั แก่ รา่ งกาย สารอาหาร (nutrient) คือ สารที่เป็นสว่ นประกอบอยู่ในอาหารทเ่ี รารบั ประทานเข้าไปในร่างกาย ซึง่ ได้มา จากกระบวนการยอ่ ยอาหารของรา่ งกายแลว้ รา่ งกายนำ� ไปใชป้ ระโยชนเ์ พอื่ ดำ� รงชีวติ เช่น ใหพ้ ลังงานในการดำ� รง ชีวติ เป็นส่วนประกอบของเนอื้ เยื่อสว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย สารอาหารมี 6 ประเภท ไดแ้ ก่ คารโ์ บไฮเดรต โปรตนี ไขมัน เกลอื แร่ วิตามิน และนำ้� สารอาหาร แต่ละประเภทมีประโยชน์ตอ่ รา่ งกายตา่ งกนั ดงั นี้ 1. คาร์โบไฮเดรต เป็นสารอาหารทไี่ ด้จากอาหารจำ� พวกแปง้ และนำ้� ตาล เชน่ ขา้ ว เผอื ก มนั อาหารแปรรูปจากแปง้ รวม ท้งั ผกั และผลไม้ที่มรี สหวาน ประโยชน์ ให้พลงั งานแก่รา่ งกายเพือ่ ใช้ในการทำ� กิจกรรมต่าง ๆ และให้ความอบอ่นุ แกร่ ่างกาย

2. โปรตีน 15 เป็นสารอาหารทมี่ ีมากในเน้ือสตั ว์ต่าง ๆ นม ไข่ ถวั่ ชนดิ ตา่ ง ๆ รวมทง้ั ผลิตภัณฑ์จากถว่ั เชน่ เต้าหู้ เตา้ เจีย้ ว นมถั่วเหลอื ง ประโยชน์ สร้างเซลลก์ ลา้ มเนื้อและเนอ้ื เยอื่ กระดูกชว่ ยใหร้ ่างกายเจริญเตบิ โต ซอ่ มแซมสว่ นที่สึกหรอชว่ ย เสรมิ สรา้ งภมู ติ า้ นทานใหก้ บั รา่ งกาย รวมทั้งใหพ้ ลังงานแก่ร่างกาย 3. ไขมัน เป็นสารอาหารที่ไดจ้ าก ไขมนั พชื และสตั ว์ เช่น น้ำ� มนั หมู น้ำ� มนั ถว่ั เหลอื ง ถ่ัว งา เนย ประโยชน์ ใหพ้ ลงั งานและให้ความอบอุน่ แกร่ ่างกาย เป็นตวั ท�ำละลายวติ ามนิ เอ วิตามนิ ดี วิตามนิ อี เเละ วิตามนิ เคดดู ซมึ วิตามินทัง้ 4 ชนิด ไปใช้ประโยชนไ์ ดต้ อ่ ไป หากรา่ งกายได้รับไขมันมากเกนิ ความตอ้ งการ ไขมนั จะถกู เก็บสะสมตามส่วนตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย และอาจทำ� ใหเ้ กิดภาวะโรคอว้ นได้ 4. วิตามนิ เป็นสารอาหารทไี่ ดม้ าจากผักและผลไมต้ ่าง ๆ รวมทง้ั เน้ือสัตว์ ไข่ นม ประโยชน์ ช่วยควบคุมการทำ� งานของร่างกายใหเ้ ปน็ ปกติ ช่วยสรา้ งภูมิต้านทานต่าง ๆ ทำ� ให้รา่ งกาย เจริญเติบโตและมีสขุ ภาพดี วติ ามินเปน็ สารอาหารทม่ี มี ากในผลไม้จดั เปน็ สารอาหารที่ร่างกายตอ้ งการปริมาณน้อยเม่ือเทียบกับสาร อาหารประเภทโปรตนี คาร์โบไฮเดรต และไขมันแตร่ า่ งกายขาดไมไ่ ด้ เน่อื งจากร่างกายของเราไมส่ ามารถสรา้ ง วติ ามนิ ไดเ้ อง จงึ ต้องรับประทานอาหารท่มี วี ติ ามนิ เขา้ ไปในปริมาณที่เพยี งพอตามทีร่ า่ งกายต้องการ

โรคอ้วน คอื ภาวะของร่างกายทีม่ นี ำ้� หนักตัวมากกว่าปกตโิ ดยมีปรมิ าณของไขมนั ใต้ผิวหนังมากกว่าปกติ จน 16 ทำ� ให้มผี ลกระทบต่อสขุ ภาพ ซงึ่ สาเหตสุ ว่ นใหญ่อาจมาจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารไม่ถูกต้อง ขาดการออก กำ� ลงั กาย รวมถงึ สาเหตจุ ากพนั ธกุ รรม ประเภทของวติ ามิน วติ ามินทล่ี ะลายในไขมนั วติ ามนิ ท่ีละลายในนำ�้ A พบในตบั เครอ่ื งในสตั ว์ ไขแ่ ดง เนย ผกั และผลไม้ ตา่ ง ๆ B1 พบในเนอื้ หมู เครอื่ งในสตั ว์ ปลา ถวั่ ไขแ่ ดง ผกั ใบ + ชว่ ยบำ� รงุ สายตา เขยี ว + ชว่ ยบำ� รงุ ผวิ พรรณ + ทำ� ใหก้ ลา้ มเนอ้ื ทำ� งานไดด้ ี - ผมรว่ ง + ปอ้ งกนั โรคเหนบ็ ชา - ผวิ หนงั แหง้ เปน็ สะเกด็ - ทำ� ใหเ้ ปน็ โรคเหนบ็ ชา D พบในเนย ตบั ปลาตากแหง้ ไขแ่ ดง แสงแดออ่ น ๆ ยามเชา้ B2 พบในไข่ นม ตบั ถวั่ และผกั ใบเขยี ว + ชว่ ยใหก้ ระดกู และฟนั แขง็ แรง + ปอ้ งกนั โรคปากนกกระจอก - ทำ� ใหเ้ ปน็ โรคกระดกู ออ่ น + ปอ้ งกนั การอกั เสบทตี่ าและปาก - รา่ งกายเจรญิ เตบิ โตชา้ - ทำ� ใหร้ มิ ฝปี ากแหง้ ลนิ้ แตก ตวั มวั E พบในตบั ววั เนอื้ สตั วต์ า่ ง ๆ กลว้ ย ขา้ วซอ้ มมอื ขา้ วโพด เนย C พบในผกั สดและผลไมท้ ม่ี รี สเปรยี้ ว + ชว่ ยควบคมุ การทำ� งานของระบบสบื พนั ธุ์ + ปอ้ งกนั โรคเลอื ดออกตามไรฟนั - อาจทำ� ใหเ้ ปน็ หมนั หรอื มบี ตุ รยาก + ชว่ ยใหร้ ะบบขบั ถา่ ยทำ� งานไดด้ ี K พบในตบั ไขแ่ ดง นำ�้ มนั มะเขอื เทศ ผกั ใบเขยี ว - ทำ� ใหเ้ ลอื ดออกตามไรฟนั + ทำ� ใหเ้ ลอื ดแขง็ ตวั เพอ่ื หา้ มเลอื ดทไี่ หลออกจากบาดแผล - เหงอื กบวม - เมอ่ื เกดิ บาดแผลเลอื ดจะแขง็ ตวั ชา้

5. เกลือแร่ 17 เปน็ สารอาหารท่ีไดจ้ ากอาหารตา่ ง ๆ เช่น อาหารทะเล ผกั ผลไม้ เนือ้ สัตว์ นม ไขแ่ ดง ประโยชน์ ชว่ ยควบคมุ การทำ� งานของรา่ งกายใหเ้ ปน็ ปกติ และช่วยชะลอความเสอื่ มของร่างกายท�ำให้ ร่างกายเจริญเตบิ โตและมีสุขภาพทด่ี ี ร่างกายของคนเราตอ้ งการเกลอื แร่หลายชนดิ ซ่งึ เกลอื แรแ่ ต่ละชนดิ มีความส�ำคญั ตอ่ รา่ งกายแตกตา่ งกนั เกลอื แรท่ ี่นักเรียนควรรจู้ ัก มีดงั น้ี ชนิดของเกลือแร่ ตวั อยา่ งแหลง่ อาหาร ประโยชน์ ( + ) ผลจากการขาด ( - ) แคลเซยี ม - ถั่ว นม ไข่แดง - ชว่ ยเสรมิ สรา้ งกระดูก - ท�ำใหเ้ ปน็ โรคกระดกู ก้งุ แหง้ หอยนางรม ปลา และฟนั ใหแ้ ขง็ แรง อ่อน กระดกู เปราะ เเละ ตวั เล็ก ๆผักใบเขยี ว - มสี ว่ นช่วยในการ หกั ง่าย ฟนั ผุ ทำ� งานของกลา้ มเนื้อและ ประสาท ฟอสฟอรัส - นม เน้อื สตั ว์ ปลา ไข่ - ทำ� หน้าทร่ี ว่ มกับ - มอี าการต่าง ๆ คลา้ ย เหล็ก ผัก แคลเซียมในการสร้าง กับการขาดแคลเซยี ม กระดูกและฟัน - ตับ เครื่องในสัตว์ ไข่ - เป็นสว่ นประกอบ - ท�ำใหเ้ ป็นโรคโลหติ แดง ผกั ใบเขียว ส�ำคญั ของสารฮีโมโกลบิน จางมีอาการอ่อนเพลีย ในเม็ดเลือดแดง และเหนอื่ ยง่าย ไอโอดนี - อาหารทะเลทุกชนิด - ควบคมุ การเผาผลาญ - ทำ� ใหเ้ ป็นโรคคอพอก โซเดยี ม เกลือทะเล อาหารใหเ้ กิดพลงั งาน - ท�ำใหร้ า่ งกาย - เกลอื แกง และอาหาร - ควบคุมสมดลุ น�้ำ ออ่ นเพลียความดันโลหิต ที่มสี ่วนผสมของเกลอื ภายในและภายนอกเซลล์ ต�ำ่ และเป็นตะครวิ งา่ ย เชน่ นำ�้ ปลา กะปิ ฟลูออไรด์ - ผกั ผลไม้ อาหารทะเล - เป็นสารเคลือบฟนั - ท�ำใหฟ้ นั ผุง่าย นำ�้ ดมื่ จากธรรมชาติ ป้องกนั ฟนั ผุ

6. นำ้� 18 เป็นสารอาหารท่ไี ม่ใหพ้ ลงั งาน แตร่ ่างกายของเราขาดนำ�้ ไม่ได้ ซงึ่ เราควรดื่มน้�ำในปริมาณทีเ่ หมาะสมกับ ความต้องการของร่างกายในแตล่ ะวนั ประโยชน์ น้ำ� มีประโยชน์ต่อร่างกายหลายประการ เช่น ชว่ ยในการขับถ่ายของเสยี เป็นส่วนประกอบของ อวยั วะและสว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกาย ช่วยล�ำเลยี งสารในร่างกาย ชว่ ยควบคุมอณุ หภมู ิของรา่ งกายใหค้ งท่ี ในแต่ละวนั อาหารที่เรารับประทานเขา้ ไปน้นั บางชนิดอาจประกอบด้วยสารอาหารประเภทเดยี ว เชน่ น้ำ� มนั ปาล์มท่ีสกัดมาจากธรรมชาตมิ ีสารอาหารประเภทไขมันเทา่ น้นั และอาหารบางชนดิ อาจประกอบด้วยสาร อาหารหลายประเภท เชน่ ข้าวกลอ้ ง ประกอบด้วยสารอาหารประเภทโปรตนี คาร์โบไฮเดรต วิตามิน เกลอื แร่ และไขมัน หากรา่ กายของเราขาดนำ�้ จะเกดิ ผลเสยี ได้ เชน่ การขับถา่ ยของเสียไมเ่ ปน็ ไปตามปกติ ของเสยี จะถกู ขบั ออกมานอ้ ย เซลลต์ า่ ง ๆ ในร่างกายทำ� งานไมเ่ ป็นปกติปากและผิวหนังอาจแห้ง ลอก และ ไม่ชมุ่ ชื้น การทดสอบสารประเภทคาร์โบไฮเดรต 1. ทดสอบสารประเภทแปง้ ใชส้ ารละลายไอโอดนี (I2) ซง่ึ มีสนี ำ้� ตาลเหลือง ได้ผลการทดสอบคอื เกดิ ตะกอน สีน้ำ� เงนิ หรอื สารสนี ้�ำเงิน หรือมว่ งอมน�ำ้ เงนิ แป้ง + สารละลายไอโอดนี ตะกอนสีนำ้� เงนิ หรอื มว่ งอมน้ำ� เงนิ 2. การทดสอบน้�ำตาล ใช้สารละลายเบเนดิกต์ ผลการทดสอบขน้ึ อย่กู บั ปรมิ าณนำ้� ตาล ถา้ มมี ากจะไดส้ ารสีแดงอฐิ ถ้ามีปริมาณนอ้ ยจะได้สารสเี ขียวหรอื เขยี วอมเหลอื ง น�้ำตาล + สารละลายเบเนดกิ ต์ ตะกอนสแี ดงอิฐ, เขียว, เขยี วอมเหลือง ยกเว้น น้ำ� ตาลซโู ครส ตอ้ งตม้ และเตมิ กรด จงึ จะทำ� ปฏิกริ ิยากับสารละลายเบเนดิกต์ การทดสอบโปรตนี ทดสอบโปรตนี โดยการทดสอบไบยูเรต็ (สารละลายผสมของคอปเปอร์ซลั เฟต (CuSO4) กบั สารละลายโซเดยี มไฮ ดรอกไซด์ (NaOH) จะใหผ้ ลการทดสอบคือ ไดส้ ารสมี ว่ งนำ�้ เงนิ เกิดข้ึน

การทดสอบวติ ามินซี 19 สารทีใ่ ช้ทดสอบวิตามินซี คอื สารละลายไอโอดีนซ่งึ ท�ำปฏกิ ริ ิยากบั นำ้� แปง้ ไดส้ ารสนี ำ้� เงนิ วติ ามินซจี ะท�ำปฏิกริ ยิ า กับสารสีน้�ำเงนิ (ไอโอดนี + นำ้� แป้ง) จนสารละลายสนี ้�ำเงินจางหายไป การทดสอบน�้ำ ถ้าตอ้ งการทราบวา่ สารหรอื ของเหลวมีน�ำ้ เป็นองคป์ ระกอบหรอื ไม่ สามารถทดสอบโดยหยดสารนัน้ บนจุนสีสะตุ CuSO4.5H2O (ซึง่ มีผลึกสีขาว) จะเกดิ การเปลย่ี นแปลงเป็นสีฟา้ ถ้ามีน้ำ� อยู่ สรุปองคค์ วามรู้เรอ่ื ง สารอาหาร สารอาหาร หนว่ ยยอ่ ย แรงท่ยี ึดเหนย่ี ว(พนั ธะ) การทดสอบ **นำ้� ตาล + สารละลายเบเนดกิ ต์ เปลย่ี นจากสฟี ้า เป็นสแี ดงอฐิ กลโู คส พนั ธะไกลโคซิดกิ ยกเวน้ น้ำ� ตาลซโู ครส ต้องตม้ และเติมกรด **แปง้ + สารละลายไอโอดีน คาร์ เปลยี่ นจากสีนำ�้ ตาลเหลอื ง เป็นสนี ้�ำเงนิ โบ 1. น้ำ� ตาลโมเลกุลเด่ียว เช่น กลูโคส ฟรกั โทส กาแลกโทส ไฮ 2. นำ้� ตาลโมเลกุลคู่ เช่น มอลโทส เกิดจาก กลโู คส + กลูโคส เดรต ซโู ครส เกิดจาก กลโู คส + ฟรกั โทส แลกโทส เกิดจาก กลูโคส + กาแลกโทส 3. นำ้� ตาลโมเลกลุ ใหญ่ เชน่ แป้ง, เซลลโู ลส, ไกลโคเจน กรดอะมโิ น พนั ธะเพปไทด์ โปรตนี + สารละลายไบยเู ร็ต (คอปเปอร์ซัลเฟตผสม กับโซเดียมไฮดรอกไซด)์ เปลี่ยนจากสีฟา้ เปน็ สีม่วง โปร กรดอะมโิ น แบง่ เปน็ 2 กลุ่ม มี 20 ชนดิ ได้แก่ 1. กรดอะมิโนจ�ำเป็น คือ ร่างกายสร้างเองไมไ่ ด้ ต้องรบั จากอาหาร มี 8 ชนิดในผใู้ หญ่ และ ตนี 10 ชนิดในเด็ก 2. กรดอะมิโนไม่จำ� เปน็ คือ ร่างกายสรา้ งเองได้ ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งรบั จากอาหาร กรดไขมัน และกลเี ซอรอล ไขมัน ถูกบั กระดาษ จะมีลกั ษณะโปรง่ แสง ไข กรดไขมนั แบง่ เป็น 2 ชนิด ได้แก่ มัน 1. กรดไขมนั อ่มิ ตวั คอื เป็นของแขง็ ณ อุณหภมู ิห้อง ส่วนใหญ่เป็นไขมันจากสตั ว์ 2. กรดไขมันไมอ่ ม่ิ ตวั คอื เป็นของเหลว ณ อุณหภมู ิหอ้ ง สว่ นใหญเ่ ป็นน�้ำมนั จากพชื น้ำ� H , O พันธะไฮโดรเจน เผากับคอปเปอรซ์ ลั เฟต(จุนสสี ะตุ) CuSO4 เปลยี่ นสีฟา้ เปน็ สขี าว ไขมนั และน้�ำ เมอื่ เทรวมกัน จะแยกชน้ั กนั โดย นำ้� มนั อยูด่ ้านบน น�้ำอยดู่ า้ นล่าง

3. สดั ส่วนอาหารและพลงั งานทีร่ ่างกายต้องการ 20 อาหารแตล่ ะชนิดให้คุณคา่ สารอาหารที่มีประโยชนต์ ่อร่างกายต่างกัน ดงั น้ัน เราควรรบั ประทานอาหารให้ มคี วามหลากหลายและมปี ริมาณทเ่ี หมาะสมกบั เพศและวยั ของตนเอง เพอ่ื ใหร้ า่ งกายนำ� พลังงานจากสารอาหารไป ใชท้ �ำกิจกรรมต่าง ๆ ไดอ้ ย่างเพียงพอ โดยส�ำนกั โภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุขได้ก�ำหนดปริมาณ พลงั งานท่ีคนไทยควรไดร้ ับใน 1 วนั ไวด้ งั นี้ ตารางแสดงความตอ้ งการพลังงานที่ควรได้รับใน 1 วนั (ส�ำหรับคนไทย) เพศและวัย กลุ่มอายุ (ป)ี พลงั งานที่ควรได้รับ / วัน 1-3 ปี 1,000 กิโลแคลอรี วัยเด็ก 4-5 ปี 1.300 กโิ ลแคลอรี 6-8 ปี 1,400 กโิ ลแคลอรี วยั รุ่น กลมุ่ อายุ (ปี) พลังงานที่ควรได้รบั / วัน ผชู้ าย 9-12 ปี 1,700 กิโลแคลอรี 13-15 ปี 2,100 กิโลแคลอรี 16-18 ปี 2,300 กโิ ลแคลอรี ผหู้ ญงิ 9-12 ปี 1,600 กโิ ลแคลอรี 13-15 ปี 1,800 กโิ ลแคลอรี 16-18 ปี 1,850 กิโลแคลอรี วัยผูใ้ หญ่ กลุ่มอายุ (ปี) พลงั งานท่คี วรไดร้ บั / วนั 19-30 ปี 2,150 กโิ ลแคลอรี 31-50 ปี 2,100 กิโลแคลอรี ผชู้ าย 51-70 ปี 2,100 กโิ ลแคลอรี 71 ปขี น้ึ ไป 1,750 กิโลแคลอรี 19-30 ปี 1,750 กิโลแคลอรี 31-50 ปี 1,750 กิโลแคลอรี ผหู้ ญงิ 51-70 ปี 1,550 กิโลแคลอรี 71 ปขี ้นึ ไป 1,550 กิโลแคลอรี พลังงานทีไ่ ด้จากอาหารตา่ ง ๆ ที่เรารบั ประทานมาจากสารอาหารโปรตนี คาร์โบไฮเดรต และไขมนั จงึ ทำ� ให้เราสามารถทำ� กจิ กรรมตา่ ง ๆ ได้ หากเราไดร้ บั พลงั งานน้อยกว่าปรมิ าณพลงั งานที่รา่ งกายต้องการ เราจะรู้สึกออ่ นเพลยี มึนงง ไมส่ ดชืน่ และ ไมม่ ีแรง หากเราไดร้ บั พลังงานมากกว่าปรมิ าณพลังงานทรี่ า่ งกายตอ้ งการใน 1 วนั พลังงานนัน้ จะสะสมอยู่ใน ร่างกายในรปู ไขมนั จึงเป็นสาเหตขุ องโรคอ้วน

การรบั ประทานอาหารเพื่อใหร้ ่างกายแขง็ แรงและมสี ขุ ภาพดนี ั้นจ�ำเป็นตอ้ งไดร้ บั สารอาหารแต่ละประเภท21 ให้ครบถว้ นและมีปรมิ าณทเ่ี หมาะสมกับความต้องการของรา่ งกาย ซง่ึ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ ได้จดั ทำ� “ธงโภชนาการ” แนะน�ำสดั สว่ นการรบั ประทานอาหารของคนไทยแสดงไว้ ดังนี้ กลุม่ ขา้ ว แป้ง ควรรบั ประทานปรมิ าณมากท่สี ดุ โดยรับประทานได้ 8 – 12 ทัพพีต่อวัน ให้สารอาหาร ประเภทคาร์โบไฮเดรต ซงึ่ เป็นแหล่งพลงั งานหลกั กลมุ่ ผกั และผลไม้ มใี ยอาหารและใหส้ ารอาหารประเภทวิตามนิ และเกลอื แร่ ควรรบั ประทานปรมิ ารรอง ลงมา โดยรบั ประทานผกั ได้ 4 – 6 ทพั พตี ่อวนั รบั ประทานผลไมไ้ ด้ 3 – 5 ส่วนตอ่ วัน กล่มุ เนื้อสตั ว์ ถั่ว ไข่ และนม ใหส้ ารอาหารประเภทโปรตนี และเกลอื แร่ ควรรบั ประทานปริมาณพอ เหมาะโดยรบั ประทานเน้ือสตั ว์ 6 – 12 ชอ้ นโตะ๊ ตอ่ วนั สว่ นนมดม่ื ได้วนั ละ 1 – 2 แกว้ กล่มุ นำ�้ มัน น�ำ้ ตาล และเกลือ ใหส้ ารอาหารประไขมันและเกลือแรค่ วรรับประทานปรมิ าณนอ้ ยท่ีสดุ เทา่ ที่ จำ� เป็น นอกจากกลมุ่ อาหารในธงโภชนาการที่รา่ งกายตอ้ งการในสัดส่วนทเี่ หมาะสมแลว้ นำ�้ ก็เป็นสารอาหารหนง่ึ ทีร่ ่างกายขาดไมไ่ ด้ เนอ่ื งจากในรา่ งกายมนี ้ำ� เปน็ ส่วนประกอบถึงร้อยละ 75 ของน�้ำหนกั ตวั โดยนำ�้ จะชว่ ยให้ ระบบตา่ ง ๆ ของร่างกายทำ� งานได้ปกติดังนั้น ใน 1 วนั เราควรดม่ื น้�ำสะอาดประมาณ 6 – 8 แก้ว หรอื ด่ืมให้ เพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการของรา่ งกาย

ในชีวติ ประจ�ำวันเราจะพบวา่ อาหารในแต่ละหมู่ประกอบไปดว้ ยอาหารหลายชนิด ซึง่ อาหารในกล่มุ 22 เดียวกนั สามารถรับประทานทดแทนกนั ได้ เพราะใหส้ ารอาหารประเภทเดียวกัน รวมท้ังยงั ใหพ้ ลังงานและคณุ คา่ ทางโภชนาการเท่ากนั หรอื ใกล้เคยี งกนั โดยมีตวั อย่างสัดส่วนเปรยี บเทียบ ดงั นี้ กลมุ่ อาหาร ตัวอย่างชนดิ อาหาร กลมุ่ ขา้ ว แป้ง ขา้ วสกุ 1 ทพั พี = บะหม่ี 1 กอ้ น = ขนมจนี 1 จบั = ขนมปงั 1 แผน่ กลุม่ ผกั ผกั คะนา้ สกุ 1 ทพั พี = ผกั บงุ้ จนี สกุ 1 ทพั พี = ฟกั ทองสกุ 1 ทพั พี = แตงกวาดบิ 2 ผล กลุ่มผลไม้ (ผลไม้ 1 สว่ น) เงาะ 4 ผล = กลว้ ยนำ้� วา้ 1 ผล = องนุ่ 6-8 ผล = มะละกอสกุ 6-8 ชน้ิ กลุ่มเนอื้ สัตว์ เนอื้ หมสู กุ 1 ชอ้ นโตะ๊ = ปลาทู 1ชอ้ นโตะ๊ = ไขไ่ ก่ 1/2 ฟอง = เตา้ หแู้ ขง็ 1/4 ชนิ้ กล่มุ นม นมสด 1 แกว้ = โยเกริ ต์ 1 ถว้ ย = นมพรอ่ งมนั เนย 1 แกว้ จากตาราง ตวั อยา่ งการเปรยี บเทียบสดั ส่วนอาหาร เราจะพบว่าการตวงนบั ปรมิ าณอาหารจะใช้หนว่ ยแบบ ครัวเรือนไทย ซึง่ มตี ัวอย่าง ดงั นี้ 1. ทัพพี ใชต้ วงปรมิ าณอาหารกลมุ่ ของข้าว แปง้ ผัก เชน่ ข้าว 1 ทัพพี หรือ 1/2 ถว้ ยตวง ประมาณ 60 กรัม ผกั สกุ 1 ทัพพี หรอื 1/2 ถว้ ยตวง ประมาณ 40 กรัม ขนมปัง 1 แผ่น ประมาณ 30 กรมั 2. ชอ้ นโตะ๊ หรือ ช้อนกินข้าว ใชต้ วงปริมาณอาหารกลมุ่ เนือ้ สัตว์ เชน่ เนอ้ื หมสู กุ 1 ชอ้ นโต๊ะ ประมาณ 15 กรัม ไขไ่ ก่ 1/2 ฟอง ประมาณ 25 กรัม 3. สว่ น ใชต้ วงปรมิ าณอาหารกลมุ่ ผลไม้ คอื ผลไม้ 1 สว่ น สำ� หรบั ผลไมท้ เี่ ปน็ ผล เชน่ กลว้ ยนำ้� วา้ 1 ผล สำ� หรบั ผลไมท้ หี่ นั่ เปน็ ชนิ้ เชน่ มะละกอสกุ สบั ปะรด หรอื แตงโม 6-8 ชน้ิ ประมาณ 70-120 กรมั

4. แก้ว ใช้ตวงปริมาณอาหารกลมุ่ นม เช่น นมสด 1 แกว้ ประมาณ 200 มลิ ลิลิตร หรอื 200 ลกู บาศ2ก3์ เซนติเมตร หรอื ซีซี (cc) สารอาหารประเภททใี่ หพ้ ลังงานแกร่ ่างกาย จะมสี ัดสว่ นการใหป้ รมิ าณพลงั งานจากอาหารทีเ่ รารับประทาน เข้าไป คอื โปรตนี 1 กรัม ให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี คาร์โบไฮเดรต 1 กรมั ใหพ้ ลงั งาน 4 กิโลแคลอรี และ ไขมนั 1 กรมั ใหพ้ ลังงาน 9 กิโลแคลอรี อาหารแต่ละประเภทให้คณุ คา่ สารอาหารตา่ งกนั การรบั ประทานอาหารในแต่ละม้อื จงึ ตอ้ งค�ำนึงถึงปรมิ าณ และคุณคา่ สารอาหารท่ไี ดร้ บั ใหเ้ หมาะสมกับเพศ วัย และสภาพแวดลอ้ มของแต่ละบุคคล เช่น วัยเดก็ ต้องการโปรตีนสงู กว่าปกติเพราะเปน็ วยั ท่รี า่ งกายกำ� ลังเจริญเติบโต วยั ผู้ใหญ่ ตอ้ งการโปรตีน คารโ์ บไฮเดรต และไขมนั สูงกว่าวยั สูงอายุเพราะเป็นวยั ที่ตอ้ งใชพ้ ลงั งานในการทำ� งานสงู วัยสงู อายุ ต้องการคารโ์ บไฮเดรตและไขมันนอ้ ยลง แต่ตอ้ งการโปรตนี วติ ามิน และเกลือแร่เพอื่ นำ� ไปซอ่ มแซมและชะลอ ความเสือ่ มของรา่ งกาย สตรมี คี รรภ์ ต้องการสารอาหารทกุ ประเภทสูงกวา่ ทุก ๆ วัยเพราะอาหารบางสว่ นถูกนำ� ไปใชเ้ ล้ียงทารกในครรภแ์ ละน�ำไปผลิต น�้ำนม ตวั อยา่ ง ปรมิ าณอาหารส�ำหรับคนในวัยต่าง ๆ ที่ควรรับประทานใน 1 วนั ชนิดของอาหาร วยั ก่อนวัยเรียน ปรมิ าณอาหารสำ� หรบั คนในวัยตา่ ง ๆ วยั เรียน วยั หนุ่มสาว วัยผใู้ หญ่ ไข่ 1 ฟอง 1 ฟอง 1 ฟอง 1/2-1 ฟอง นม 2-4 แกว้ 3-4 แก้ว 3-4 แก้ว 0-1 แกว้ ขา้ วท่ีหุงสกุ แลว้ 1/2 - 3 ถว้ ยตวง 4-5 ถ้วยตวง 5-6 ถว้ ยตวง 3-6 ถว้ ยตวง เน้อื สตั ว์และ 3-4 ชอ้ นโตะ๊ ประมาณ 180 กรมั ประมาณ 200 กรมั ประมาณ 150 กรมั เครื่องในสตั ว์ (= 3/4-1 ถว้ ยตวง) (= 1 ถว้ ยตวง) (= 3/4 ถว้ ยตวง) ไขมนั หรือน้�ำมัน 2 ช้อนโตะ๊ 5/2-3 ช้อนโต๊ะ 5/2-3 ช้อนโตะ๊ 5/2-4 ช้อนโต๊ะ ผักใบเขียว 4-8 ช้อนโตะ๊ 1/2 - 1 ถ้วยตวง 1-2 ถว้ ยตวง 1-2 ถว้ ยตวง ผลไม้ มอื้ ละ 3/4 ผล มอ้ื ละ 1/2 -1 ผล ม้อื ละ 1/2 -1 ผล มอื้ ละ 1/2 -1 ผล

ส�ำหรับนกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6 ทม่ี ีอายุอยใู่ นชว่ ง 11-12 ปี ควรได้รบั พลังงานจากอาหาร 24 ประมาณวนั ละ 1,600 - 1,700 กโิ ลแคลอรี ซ่ึงปริมาณอาหารทเี่ หมาสมโดยประมาณ คือ กล่มุ ขา้ ว แป้ง 8 ทพั พี กลมุ่ ผัก 4 ทัพพี กลมุ่ ผลไม้ 3 สว่ น กลุม่ นม 2 แก้ว กลุ่มน�้ำมัน น�ำ้ ตาล และเกลือ ควรบริโภคปริมาณ น้อย ๆ และควรดืม่ นำ�้ ใหเ้ พยี งพอตอ่ ความตอ้ งการของร่างกาย วัตถเุ จือปนอาหาร (food additive) คือ สารเคมีท่ีชว่ ยเสริมหรอื ชว่ ยเพมิ่ สมบตั ิบางอยา่ งใหก้ บั อาหารโดย อาจไดม้ าจากสัตว์ พืช แรธ่ าตุ รวมถงึ การสงั เคราะห์ขนึ้ วัตถุเจอื ปนตา่ ง ๆ ถูกน�ำมาใช้เพือ่ จุดประสงค์ท่ตี า่ งกนั ไป เชน่ ช่วยเพ่มิ สสี ัน แตง่ กลิ่น เพิ่มรสชาติ ยดื อายุอาหาร ปอ้ งกันการหืน วตั ถุเจือปนอาหารทีไ่ ด้บอ่ ยในอาหาร เชน่ ผงชรู ส สผี สมอาหาร วัตถุกันเสีย สารให้ความหวานแทน นำ้� ตาล สารแตก่ ลิ่น โดยวตั ถุเจือปนในอาหารแต่ละชนดิ จะถูกกำ� หนดปริมาณการเจอื ปนอาหารสะสมเปน็ เวลา นานอาจส่งผลกระทบต่อสขุ ภาพได้ ตัวอยา่ งวัตถุเจอื ปนอาหาร ผงชรู ส (โมโนโซเดยี มกลตู าเมต) เป็นวัตถุเจอื ปนอาหารที่มลี ักษณะเปน็ ผง ผลกึ สขี าว ไมม่ ีกลิน่ ท�ำ หนา้ ท่ชี ่วยเพิ่มรสชาติให้อาหารโดยปกตเิ ราสามารถรับประทานผงชูรสไดไ้ ม่เกนิ วนั ละ 120 มลิ ลกิ รมั ตอ่ น้�ำหนกั ตวั 1 กโิ ลกรมั และหา้ มใชก้ ับทารกอายุต่�ำกวา่ 12 สัปดาห์ นอกจากน้ี ยังต้องระมดั ระวังความไวต่อสาร ประเภทน้ีในบางคนดว้ ย วตั ถกุ ันเสีย (สารกันบดู ) เป็นวัตถุ เจือปนอาหารท่ีใช้ถนอมและยดื อายอุ าหาร อาจไดจ้ ากธรรมชาตหิ รือ สังเคราะหข์ ้นึ โดยชว่ ยยับยั้งหรือท�ำลายจลุ นิ ทรีย์ เชน่ แบคทเี รีย รา ท่ีทำ� ให้อาหารเกิดการเนา่ เสยี หากรบั ประทานอาหารทเี่ จือปนวตั ถกุ ันเสียในปรมิ าณมาก อาจท�ำให้เกิดอาการปวดศรี ษะ อาเจียน หรอื หมดสติได้ หาก รับประทานติดตอ่ กันเปน็ เวลานาน อาจเกิดพิษสะสมในร่างกายเรือ้ รงั และอาจก่อให้เกดิ โรคมะเร็ง การรบั ประทานอาหารเพือ่ ใหร้ ่างกายเจรญิ เตบิ โต จ�ำเป็นต้องรบั ประทานให้ได้พลังงานเพยี งพอกับความ ตอ้ งการของร่างกาย และได้สารอาหารครบถ้วนในสัดส่วนที่เหมาะสมกบั เพศและวยั โดยสามารถปฏบิ ตั ติ ามหลัก โภชนบัญบัติ 9 ประการ ได้ดังนี้ 1) กนิ อาหารใหค้ รบ 5 หมู่ แต่ละหมู่ใหห้ ลากหลายและหมั่นดแู ลนำ้� หนกั ตัว 2) กนิ ข้าวเป็นหลกั สลับกับอาหารประเภทแป้งบางมือ้ 3) กนิ พืชผักใหม้ ากและกินผลไมเ้ ปน็ ประจำ� 4) กินปลา เนอื้ สตั วไ์ ม่ตดิ มัน ไข่ และถัว่ เมล็ดแหง้ เปน็ ประจำ� 5) ด่มื นมให้เหมาะสมตามวยั 6) กินอาหารทีม่ ไี ขมันแต่พอควร 7) หลีกเลีย่ งการกินอาหารทีห่ วานจดั และเคม็ จดั 8) กินอาหารท่สี ะอาด ปราศจากการปนเป้ือน 9) งดหรือลดเครื่องดม่ื ที่มแี อลกอฮอล์

ใบความรู้ วชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 25 หน่วยการเรยี นรู้ รา่ งกายของเรา บทเรื่อง ระบบย่อยอาหารของรา่ งกาย ระบบยอ่ ยอาหาร (digestive system) คอื ระบบท่ีทำ� หน้าทีย่ อ่ ยอาหารท่ีเรารับประทานเข้าไปใหเ้ ปน็ สาร อาหารขนาดเล็ก จนรา่ งกายสามารถดดู ซึมเข้าสูก่ ระแสเลือดและถกู ล�ำเลยี งไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย โดย ประกอบดว้ ยอวยั วะต่าง ๆ ท่ที ำ� งานร่วมกนั 1. การท�ำงานของอวัยวะในระบบย่อยอาหาร อาหารที่คนเรารบั ประทานเขา้ ไปนัน้ จะผ่านทางเดินอาหารทมี่ ีความยาวประมาณ 9 เมตร เร่ิมตงั้ แต่ปาก ผา่ นคอหอยสง่ ตอ่ ไปตามหลอดอาหาร เขา้ สูก่ ระเพาะอาหาร ล�ำไสเ้ ลก็ ลำ� ไสใ้ หญ่ และทวารหนกั ตามล�ำดับ นอกจากนี้ยังมีอวยั วะทีม่ ีส่วนชว่ ยในกระบวนการย่อยอาหาร ไดแ้ ก่ ตับและตบั ออ่ น ปาก ตอ่ มน้ำ� ลาย คอหอย หลอดลม กระเพาะอาหตาับร ลำ� ไสเ้ ลก็ ถงุ น้ำ� ดี รูทไสวต้าร่ิง ตับอ่อน ล�ำไส้ใหญ่ ล�ำไสต้ รง การยอ่ ยอาหารเปน็ การเปลยี่ นแปลงโมเลกุลของสารอาหารให้มขี นาดเลก็ ลง จนรา่ งกายสามารถดูดซึมไป ใชป้ ระโยชน์ได้ แบ่งเปน็ 2 ประเภท ได้แก่ 1) การยอ่ ยเชงิ กล เปน็ การย่อยอาหารโดยไมใ่ ช้เอนไซม์ ได้แก่ การบดเค้ยี วอาการในปาก การบบี ตวั ของ ทางเดนิ อาหาร ซึง่ จะพบไดใ้ นหลอดอาหาร กระเพาะอาหาร และล�ำไสเ้ ล็ก 2) การยอ่ ยเชิงเคมี เป็นการยอ่ ยอาหารโดยใช้เอนไซมย์ อ่ ยสลายสารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต โปรตนี และไขมัน ซ่ึงพบได้ที่บรเิ วณปาก กระเพาะอาหาร และลำ� ไส้เล็ก อวยั วะต่าง ๆ ในระบบยอ่ ยอาหารจะท�ำงานร่วมกนั โดยมขี ัน้ ตอน ดงั นี้ 1. เมื่อเรารับประทานอาหารเขา้ ไปภายในปาก จะมฟี นั เคีย้ วอาหาร ล้ินชว่ ยคลุกเคลา้ อาหาร และตอ่ ม นำ้� ลายจะขับนำ�้ ลายทมี่ เี อนไซม์อะไมเลส (น�้ำย่อย) ออกมาย่อยเฉพาะสารอาหารประเภทคารโ์ บไฮเดรตให้มขี นาด เลก็ ลง โดยจะเปลีย่ นแปง้ ใหเ้ ป็นนำ�้ ตาล และส่งตอ่ ไปสหู่ ลอดอาหาร

26 2. เมอ่ื อาหารเร่มิ เคลอ่ื นท่ผี า่ นคอหอยเข้าส่หู ลอดอาหารกล้ามเนอ้ื หลอด อาหารจะหดตัวและคลายตวั เพ่อื บบี ให้อาหารเคล่ือนทตี่ อ่ ไปยังกระเพาะอาหาร (เรยี กวา่ การเพอริทลั ซิส (Peristalsis)) 3. กล้ามเน้อื กระเพาะอาหารหดและคลายตัวเพ่อื คลกุ เคล้าอาหารและจะ ผลติ เอนไซมเ์ พปซิน (น�ำ้ ยอ่ ย) ออกมายอ่ ยสารอาหารประเภทโปรตนี ให้มีขนาด เลก็ ลง (ของเหลวทีม่ อี าหารและเอนไซม์ผสมกันอยูใ่ นกระเพาะอาหาร จะเรียกวา่ chyme) แล้วส่งตอ่ ไปสลู่ ำ� ไส้เลก็ 4. ล�ำไสเ้ ล็กรบั นำ�้ ดีท่ผี ลติ จากตับเอนไซม์จากตับออ่ น และเอนไซมท์ ี่ผลิตขึ้น ท่ีล�ำไสเ้ ลก็ เพอื่ ย่อยอาหารทกุ ประเภทใหม้ ขี นาดเล็กที่สุด จนเซลล์สามารถดูดซมึ ผา่ นผนงั ลำ� ไส้เล็กเข้าสู่กระแสเลอื ด ส่งไปเลี้ยงส่วนตา่ ง ๆ ของรา่ งกายได้โดยสาร อาหารเกอื บทกุ ชนิดสามารถถกู ดูดซึมทล่ี ำ� ไสเ้ ล็ก 5. กากอาหารทเ่ี หลือจากการย่อยและสว่ นท่ีย่อยไมไ่ ดจ้ ะถกู สง่ จากล�ำไส้เล็ก ตอ่ ไปยังลำ� ไส้ใหญ่ ซึง่ ท�ำหน้าที่ดดู นำ้� วติ ามนิ และเกลอื แร่ กลบั สู่รา่ งกาย สว่ นกากอาหารจะถกู ขบั ถา่ ยเป็นอุจาระออกจากรา่ งกายผ่านทางทวารหนัก 2. หน้าท่ีของอวยั วะตา่ ง ๆ ในระบบยอ่ ยอาหาร อวยั วะตา่ ง ๆ ในระบบย่อยอาหารมีหน้าทีแ่ ตกต่างกนั ดังนี้ ปาก (mouth) เป็นจดุ เร่มิ ต้นของทางเดนิ อาหารประกอบดว้ ย 3 สว่ น ไดแ้ ก่ - ฟนั (tooth) ทำ� หน้าท่ี ตดั ฉีก บด และเค้ียวอาหารใหม้ ขี นาดเลก็ ลงกอ่ นจะกลืน - ลิ้น (tongue) ทำ� หน้าที่ คลกุ เคล้าอาหาร ชว่ ยการกลืนและรับรสชาตอิ าหาร - ตอ่ มนำ�้ ลาย (salivary gland) มี 3 คู่ อย่บู ริเวรใต้ขากรรไกร ใตล้ น้ิ และข้างกกหู ท�ำหน้าท่ี สร้างน�ำ้ ลายทป่ี ระกอบด้วยนำ�้ สารเมอื ก และ เอนไซม์ (น้�ำย่อย) ทใี่ ช้ยอ่ ยสารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต

หลอดอาหาร (esophagus) 27 มีลักษณะเป็นทอ่ ตรงยาวประมาณ 25 เซนตเิ มตร อยบู่ ริเวรหลงั ท่อลม มกี ล้ามเน้ือทส่ี ามารถหด และคลายตวั ได้ ทำ� หน้าท่ี ล�ำเลยี งและส่งอาหารไปยงั บริเวณกระเพาะอาหาร โดยกล้ามเน้อื จะบีบตวั ใหอ้ าหาร เคลือ่ นท่ผี ่านไปได้ ข้ันตอน การกลนื อาหารและการล�ำเลียงอาหารลงสู่กระเพาะอาหาร 1.ขณะเคีย้ วอาหาร ฝาปิดกล่องเสียงยกสูง กล้ามเน้ือหรู ดู ทอี่ ยบู่ รเิ วณหลอดอาหารหดตัว 2.ขณะกลืนอาหาร ฝาปดิ กลอ่ งเสยี งเลื่อนลงมาปดิ กลอ่ งเสียงส่วนกลา้ มเนือ้ หูรดู ทีอ่ ยบู่ รเิ วณหลอดอาหาร จะมีการคลายตวั 3.กล้ามเนอื้ หลอดอาหารหดตัวและคลายตวั เพ่อื ชว่ ยล�ำเลยี งอาหารลงไปยงั กระเพาะอาหาร กระเพาะอาหาร (stomach) อยใู่ นชอ่ งทอ้ งค่อนไปทางฝงั่ ซา้ ย มีกลา้ มเนือ้ หนา แข็งแรง และยืดหยนุ่ ไดด้ ี กระเพาะอาหาร ประกอบ ดว้ ยเซลล์ 3 ชนิด ท�ำหน้าท่ีต่างกัน ดงั น้ี 1) สรา้ งสารเมอื ก เพอ่ื ป้องกันไม่ให้นำ้� ย่อยตา่ งๆ ย่อยเนอ้ื เยอื่ ของกระเพาะอาหาร 2) สรา้ งกรดไฮโดรคลอรกิ ท�ำให้กระเพาะอาหารมสี ภาพเปน็ กรด 3) สรา้ งเอนไซม์เพปซนิ (น้ำ� ย่อย) เพือ่ ยอ่ ยสารอาหารประเภทโปรตนี ใหม้ ีขนาดเล็ก แลว้ สง่ ตอ่ ไปยัง ล�ำไส้เล็ก นอกจากนี้ ในกระเพาะอาหารยงั มีเอนไซม์เรนนนิ (นำ้� ย่อย) ซึ่งทำ� หน้าท่ชี ่วยย่อยโปรตีนในนมด้วย กระเพาะอาหารสามารถดดู ซึมแอลกอฮอล์และสารท่ลี ะลายในไขมันได้ เชน่ ยาบางชนิด ส่วนสารอืน่ ๆ รวมทง้ั น�้ำ วติ ามนิ และแร่ธาตุ จะถูกดดู ซมึ ทล่ี �ำไสเ้ ล็ก ปกตแิ ล้วอาหารจะอยู่ในกระเพาะอาหารประมาณ 30 นาที ถึง 6 ชั่วโมง ขึ้นอย่กู ับชนดิ ของอาหารท่รี บั ประทาน

ล�ำไส้เลก็ (small intestine) 28 เป็นอวยั วะท่รี บั อาหารตอ่ มาจากกระเพาะอาหารมลี ักษณะเปน็ ท่อ ยาวประมาณ 6-7 เมตร และกว้างประมาณ 2.5 เซนตเิ มตร มว้ นขด อยู่ในช่องท้อง โดยท�ำหนา้ ท่ี ย่อยและดูดซมึ สารอาหารมากท่ีสดุ ในทาง เดินอาหาร โดยจะสรา้ งเอนไซม์ (น�้ำย่อย) หลายชนิด รวมทง้ั รบั นำ้� ดี จากตบั ท่ีสรา้ งมาเก็บไวใ้ นถงุ น้�ำดี และเอนไซม์ (น้�ำยอ่ ย) จากตับออ่ น เพือ่ ใช้ยอ่ ยอาหารทุกประเภท แลว้ ดูดซึมเข้าส่กู ระแสเลือดเพอื่ ส่งไปเลย้ี ง ส่วนตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย อวัยวะท่ีชว่ ยสร้างน้�ำดแี ละเอนไซม์สำ� หรบั การยอ่ ยอาหาร ตบั (liver) ทำ� หน้าที่ สรา้ งน้ำ� ดี (bile) ท่มี สี ีเขยี วเขม้ และมกี ลน่ิ ฉนุ แล้วสง่ ไปเก็บทถ่ี งุ น้ำ� ดี นำ้� ดีจะถกู สง่ เข้าสลู่ ำ� ไส้เล็ก เพอื่ ช่วยยอ่ ยไขมนั ให้ แตกตัวเป็นไขมันเม็ดเลก็ ๆ โดยท่อส่งน้ำ� ดีของตบั และท่อสง่ เอนไซมท์ ม่ี าจาก ตบั ออ่ นจะเปิดที่บริเวณลำ� ไสเ้ ล็กสว่ นตน้ เมือ่ มีการยอ่ ยอาหารเกิดข้นึ ตบั อ่อน (pancreas) ทำ� หนา้ ท่ี สรา้ งเอนไซมห์ ลายชนิดทใี่ ชส้ ำ� หรบั การยอ่ ยสารอาหารจากนัน้ จะสง่ ไปที่ ลำ� ไส้เล็ก เพ่ือย่อยสารอาหารประเภทโปรตนี คารโ์ บไฮเดรต และไขมนั ถุงนำ�้ ดี (gallbladder) ทำ� หน้าท่ี เก็บน้�ำดที ี่ผลติ จากตับ แล้วส่งต่อไปทีล่ �ำไว้เล็กส่วนต้น ดงั นัน้ ถงุ น้ำ� ดจี ึง ไม่ได้ทำ� หน้าท่ผี ลิตน้�ำดี เอนไซม์ (enzyme) เป็นสารอินทรียป์ ระเภทโปรตีนท่สี รา้ งขึน้ โดยเซลลข์ องสง่ิ มีชีวิตทำ� หนา้ ท่ีเปน็ ตวั เร่ง อัตราการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมที ีเ่ กิดขึ้นภายในเซลล์ของสง่ิ มชี วี ิตตา่ งๆ เอนไซม์มคี วามส�ำคญั ตอ่ กระบวนการตา่ งๆ ใน รา่ งกายของเรา เช่น เอนไซมท์ ี่ทำ� หนา้ ท่ใี นการย่อยอาหาร เราเรยี กวา่ น�ำ้ ย่อย ล�ำไสใ้ หญ่ (large intestine) เป็นทอ่ ท่ีต่อจากลำ� ไสเ้ ลก็ มีความยาวประมาณ 1.5 เมตร กว้างประมาณ 6 เซนตเิ มตร โดยผนังด้านใน ของล�ำไส้ใหญจ่ ะทำ� หน้าท่ีต่าง ๆ ดงั ต่อไปนี้ - ดดู ซมึ น้�ำ วิตามนิ และเกลือแร่ จากกากอาหารท่ไี มม่ ีการยอ่ ยแลว้ กลบั คืนสู่กระแสเลอื ด รวมท้ังมกี าร

ขบั เมือกมาหลอ่ ลน่ื การเคล่ือนตัวของกากอาหาร จากนั้นกากอาหารจะถกู ส่งไปท่ลี ำ� ไสต้ รง แล้วขบั ออกจาก 29 ร่างกายทางทวารหนัก - กากอาหารที่ถูกดูดซมึ แลว้ จะมลี กั ษณะเหนยี วข้น หากไม่มีการถา่ ยอจุ จาระหลายวนั จะแขง็ ตัวเน่ืองจาก ล�ำไส้ใหญ่จะดูดน้�ำออกจากกากอาหารมากเกินไป ท�ำใหท้ อ้ งผกู และถา่ ยอุจจาระไดล้ �ำบากดังน้ัน จงึ ควรรับ ประทานอาหารทม่ี ีใยอาหารสงู เช่น ผกั ผลไม้ตา่ ง ๆ เพ่อื ชว่ ยลดอาหารทอ้ งผกู ทวารหนกั (anus) ทำ� หนา้ ที่ ขบั กากอาหารท่สี ะสมและรวมกนั อย่ใู นลำ� ไส้ตรงให้ออกจากร่างกายในรปู ของอุจจาระ ผกั และผลไมจ้ ะใหใ้ ยอาหารซง่ึ มปี ระโยชน์ตอ่ รา่ งกาย เนอ่ื งจากใยอาหารช่วยกระตนุ้ การขบั ถ่ายของเราให้ เปน็ ปกตแิ ละไม่ทำ� ใหท้ อ้ งผกู นอกจากนีย้ งั ช่วยลดการดดู ซึมน้�ำตาล ลดการสะสมไขมัน และลดการสะสมของเสีย ในผนงั ล�ำไสไ้ ด้อีกด้วย โปรไบโอตกิ (probiotic) คอื กลุม่ แบคทีเรยี ดีท่ีอาศยั อยู่ในล�ำไสใ้ หญข่ องคนเราเชน่ กลุม่ แล็กโทบาซลิ ลัส กลุ่มบิฟโิ ดแบคทเี รยี ม ซ่ึงมีสว่ นช่วยในการทำ� งานของลำ� ไสท้ ำ� ใหข้ บั ถ่ายได้เปน็ ปกติ โพรไบโอตกิ สามารถผลติ วิตามินบางชนดิ และช่วยยับย้งั การเจรญิ เตบิ โตของแบคทเี รยี ทกี่ อ่ โรคในลำ� ไสไ้ ด้ ซึ่งเราสามารถเพมิ่ จ�ำนวนของ แบคทีเรียดไี ดโ้ ดยรบั ประทานอาหาร เชน่ โยเกิรต์ นมเปรย้ี ว

บรเิ วณ ชนิดของนำ้� ยอ่ ย สารท่ีถกู ยอ่ ย 30 ปาก อะไมเลส แป้ง เพปซนิ โปรตนี โมเลกลุ ใหญ่ ผลที่ไดจ้ ากการย่อย กระเพาะอาหาร เรนนิน โปรตนี ในนม (เคซนี ) มอลโทส โปรตนี โมเลกุลเล็ก นมตกตะกอนเป็นลิม่ ล�ำไสเ้ ล็ก ทรปิ ซนิ ,น้ำ� ย่อยโปรตีน โปรตีนขนาดเลก็ กรดอะมิโน ไลเปส ไขมนั กรดไขมัน + กลเี ซอรอล อะไมเลส แป้ง มอลโทส ซเู ครส ซูโครส กลโู คส + ฟรกั โทส มอลเทส มอลโทส กลโู คส + กลโู คส แล็กเทส แล็กโทส กลูโคส + กาแล็กโทส น้ำ� ย่อยโปรตนี โปรตนี ขนาดเลก็ กรดอะมิโน ตับออ่ น ไลเพส ไขมัน กรดไขมนั + กลเี ซอรอล อะไมเลส แป้ง มอลโทส ตบั เกลอื น�ำ้ ด(ี ไม่ใชน่ �ำ้ ยอ่ ย) ไขมัน ไขมันแตกตัวเปน็ เม็ดเลก็ ๆ สรปุ ระบบย่อยอาหาร 1. ปาก ภายในประกอบดว้ ย ฟัน ลิน้ ตอ่ มนำ�้ ลาย - ลนิ้ ทำ� หน้าท่ี ชว่ ยคลกุ เคลา้ อาหาร - ฟัน ท�ำหน้าที่ บดเคี้ยวอาหารให้เลก็ ลง - ต่อมนำ้� ลาย ทำ� หนา้ ท่ี ผลิตน้�ำย่อย ช่วยย่อยอาหารประเภท แป้ง 2. คอหอย ทำ� หนา้ ที่ เปน็ ทางผ่านของอาหารเข้าสู่หลอดอาหาร 3. หลอดอาหาร ทำ� หน้าท่ี เป็นทางลำ� เลียงอาหารโดยบีบรดั อาหารให้เคล่อื นลงสกู่ ระเพาะอาหาร เรียกวา่ กระบวนการเพอรทิ ัลซสี 4. กระเพาะอาหาร ทำ� หนา้ ท่ี ผลติ น�้ำยอ่ ยชว่ ยย่อยอาหารประเภทโปรตนี 5. ตบั ท�ำหน้าที่ผลิตน้�ำดีชว่ ยย่อยไขมนั 6. ถงุ น้ำ� ดี ทำ� หน้าท่ี เก็บนำ้� ดที ่ผี ลติ จากตบั ส่งไปยงั ล�ำไสเ้ ลก็ 7. ตับอ่อน ทำ� หน้าที่ ผลติ น้�ำย่อย ช่วยยอ่ ยอาหารประเภทแป้ง ไขมนั โปรตีน ส่งไปยงั ลำ� ไส้เล็ก 8. ลำ� ไส้เลก็ ทำ� หน้าท่ี ยอ่ ยอาหารทุกประเภทใหม้ ขี นาดเล็กทีส่ ุดจนสามารถดูดซมึ เขา้ สู่กระแสเลอื ด ไปเลยี้ งรา่ งกายได้ 9. ไส้ติง่ เป็นส่วนของไส้ อยสู่ ว่ นตน้ ของล�ำไสใ้ หญ่ 10. ลำ� ไสใ้ หญ่ เปน็ ทีร่ วมของกากอาหาร 11. ลำ� ไสต้ รง ท�ำหน้าท่ี ควบคุมการปิดเปดิ ของทวารหนัก 12. ทวารหนัก ท�ำหน้าท่ี ขับกากของเสียออกจากร่างกาย

3. แนวทางในการดแู ลรักษาอวยั วะในระบบยอ่ ยอาหาร 31 ระบบยอ่ ยอาหารเปน็ ระบบที่มคี วามส�ำคัญต่อร่างกาย ดงั นั้น เราควรปฏิบตั ิตนและดแู ลรักษาอวยั วะต่าง ๆ เพ่ือช่วยให้ระบบยอ่ ยอาหารทำ� งานได้ปกติ และไม่เปน็ โรคเกี่ยวกับทางเดินอาหาร เช่น โรคกรดไหลย้อน โรค ล�ำไสอ้ กั เสบ โรคกระเพาะอาหารอกั เสบ ทอ้ งอดื ท้องเสีย โดยสามารถปฏบิ ัตไิ ด้ ดงั น้ี 1) รบั ประทานอาหารท่สี ะอาดและปรุงสกุ ใหม่ 2) รบั ประทานอาหารท่ีมใี ยอาหารสูง ไดแ้ ก่ ผกั และผลไม้ 3) รับประทานอาหารใหเ้ ปน็ เวลา ครบท้งั 3 ม้ือ และรับประทานอาหารในปรมิ าณทเี่ หมาะสม 4) หลกี เลี่ยงการรับประทานอาหารทมี่ ีรสจดั เพราะจะทำ� ใหเ้ กดิ กรดในกระเพาะอาหารมากเกนิ ไป 5) ออกกำ� ลงั กายสม�่ำเสมอ เพ่ือช่วยใหอ้ วัยวะตา่ ง ๆ แข็งแรง และทำ� งานได้อย่างปกติ 6) หลีกเล่ยี งเนอ้ื สตั ว์ติดมันหรืออาหารที่มไี ขมนั สงู 7) หลีกเลยี่ งการสบู บุหรห่ี รือการดม่ื เคร่ืองด่ืมท่ีมแี อลกอฮอล์ 8) ดม่ื น�้ำอย่างนอ้ ย 6-8 แก้ว หรอื 2 ลิตรต่อวนั

ใบความรู้ วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 32 หน่วยการเรียนรู้ แรงไฟฟ้าและวงจรไฟฟา้ บทเรอื่ ง แรงไฟฟ้านา่ รู้ แรงไฟฟา้ ในฤดหู นาวอากาศจะเย็นและแห้ง บางครัง้ เราอาจสงั เกตเหน็ เสื้อผ้าที่เราสวมใส่ดูดติดตัวเรา หรือขณะท่ี เรากำ� ลงั หวผี ม เสน้ ผมจะติดท่ีหวี ซึ่งสิ่งทเี่ ราสงั เกตเห็นเกดิ จากแรงชนิดหนง่ึ เรียกวา่ แรงไฟฟา้ แรงไฟฟ้าเกิดข้นึ เม่ือเราน�ำวตั ถุ 2 ชนิด ท่ผี า่ นการขดั ถูกัน แลว้ น�ำมาเขา้ ใกลก้ ัน โดยอาจท�ำใหเ้ กดิ แรงดึงดดู หรอื แรงผลักกนั ก. ข. ก. ข. 1. การเกิดแรงไฟฟา้ วัตถุบางชนิด เชน่ ไมบ้ รรทดั พลาสตกิ เม่ือผ่านการขดั ถูดว้ ยผา้ แห้งแลว้ สามารถดงึ ดดู เศษกระดาษชนิ้ เล็ก ๆ ที่อยู่ใกล้ แสดงวา่ เม่ือน�ำวัตถุบางชนดิ มาขัดถกู นั จะทำ� ใหเ้ กดิ ไฟฟา้ ซึง่ เป็นแรงไม่สมั ผสั แรงไฟฟา้ (electric force) คอื แรงทีเ่ กดิ ขน้ึ ระหว่างประจไุ ฟฟ้าดว้ ยกันมีทั้งแรงดึงดดู และแรงผลัก ประจไุ ฟฟ้ามอี ยู่ด้วยกัน 2 ชนดิ คือ ประจไุ ฟฟา้ บวกและประจไุ ฟฟ้าลบโดยปกตวิ ตั ถหุ รือสงิ่ ของตา่ ง ๆ จะมีประจุบวกและประจลุ บในปริมาณเท่า ๆ กนั หากมกี ารน�ำวตั ถมุ าขดั ถกู ันจะท�ำใหว้ ัตถนุ น้ั ไมเ่ ป็นกลางทาง ไฟฟ้าหรือเสยี สมดลุ ของประจุไฟฟา้ จงึ ทำ� ใหเ้ กดิ อำ� นาจไฟฟา้ หรอื เเรงไฟฟ้าได้ แรงไฟฟ้าสามารถเกดิ ข้ึนไดเ้ องตามธรรมชาติซ่งึ การนำ� วตั ถุมาขดั ถูกนั จะทำ� ให้ เกดิ แรงไฟฟ้าขึ้นบริเวณท่มี ีการขัดถขู องวตั ถเุ ท่าน้นั เรยี กแรงไฟฟา้ นีว้ า่ ไฟฟ้าสถติ แรงไฟฟ้าจะไมส่ ามารถเกิดข้ึนได้กบั วัตถทุ กุ ชนิด โดยส่วนใหญ่แรงไฟฟ้าจะเกิดขึน้ กบั วัตถุท่ที �ำจาก พลาสติก แกว้ และยาง ส�ำหรับวสั ดุทเี่ กดิ แรงไฟฟ้าได้คอ่ นข้างยากหรอื อาจไมเ่ กิดเลย ได้แก่ โลหะต่าง ๆ และไม้ ดังนน้ั ลักษณะและสมบัตขิ องวัตถจุ งึ เป็นปัจจัยส�ำคญั ในการเกดิ แรงไฟฟ้าดว้ ย ปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อการเกิดแรงไฟฟา้ มีดงั นี้ • ความช้นื ของวตั ถุ โดยวตั ถทุ ่ีมีความชน้ื สงู จะเกิดแรงไฟฟ้าไดค้ อ่ นข้างยาก • ประเภทของวัสดทุ ีใ่ ชท้ �ำวัตถุ วสั ดุทเี่ กดิ แรงไฟฟา้ ไดง้ า่ ย เชน่ พลาสติก แก้ว ยาง • ระยะเวลาหรือจำ� นวนครง้ั ในการขดั ถูวัตถุ หากน้อยเกนิ ไปจะไมท่ ำ� ใหเ้ กดิ แรงไฟฟ้า

ไฟฟา้ สถติ (static electricity) เป็นแรงไฟฟ้าท่ีอยู่กับทไี่ ม่เคลอื่ นยา้ ยไปไหน ดงั นนั้ เมอ่ื น�ำวตั ถุหรือวัสดุท3ี่ 3 ไม่น�ำไฟฟ้ามาขัดถกู นั จะท�ำใหเ้ กดิ แรงไฟฟ้าขึ้นบริเวณทขี่ ดั ถเู ทา่ น้นั วัตถุจึงสามารถดงึ ดดู ฝนุ่ ละอองหรอื เศษ กระดาษเล็ก ๆ ได้ 2. ผลของแรงไฟฟ้าท่ีเกดิ ข้นึ เมื่อนำ� วตั ถุ 2 ชนิด มาขดั ถูกนั จะทำ� ให้ประจไุ ฟฟา้ บริเวณผวิ วตั ถุเกดิ การแลกเปลีย่ นกนั วัตถุจึงไม่เป็น กลางทางไฟฟ้าหรอื เสยี สมดลุ ของประจไุ ฟฟ้าไปจากเดิม เน่ืองจากมกี ารถ่ายโอนประจลุ บจากวตั ถหุ นึ่งไปยังอกี วตั ถหุ น่งึ ทำ� ให้วัตถุที่เสยี ประจลุ บไปเป็นประจุบวก สว่ นวัตถุทรี่ ับประจุลบไปจะมปี ระจุลบเพิ่มขนึ้ หากมกี ารนำ� วตั ถุทีไ่ มเ่ ป็นกลางทางไฟฟา้ มาเขา้ ใกล้วตั ถทุ ม่ี ีน้ำ� หนักเบาจะเกดิ การเหนี่ยวน�ำไฟฟา้ จึง สามารถดงึ ดูดวตั ถทุ มี่ นี ้�ำหนกั เบาได้ เช่น เมื่อนำ� ผา้ แหง้ ขัดถูกบั ไมบ้ รรทัดพลาสติกหลาย ๆ คร้งั ไมบ้ รรทดั จะมี ประจบุ วก ส่วนผา้ แห้งจะมีประจุลบ และเม่อื น�ำไม้บรรทดั ทีม่ ีประจบุ วกเข้าใกล้วตั ถชุ ิ้นเล็ก ๆ เช่น เศษกระดาษ ไมบ้ รรทัดจะดงึ ดูดเศษกระดาษนนั้ ข้นึ มาได้ ในช่วงฤดหู นาวจะเกิดแรงไฟฟ้าขนึ้ บ่อยที่ร่างกายของเรา ทั้งนเ้ี ป็นผลมาจากความช้ืนในอากาศต่�ำ ทำ� ให้ บริเวณพ้นื ผวิ ของวัตถุสามารถแลกเปลย่ี นประจไุ ฟฟา้ ได้งา่ ย จงึ ส่งผลให้เกดิ แรงไฟฟ้าได้บ่อย นอกจากน้ี หากน�ำวัตถุ 2 ชนิ้ ทไ่ี มเ่ ปน็ กลางทางไฟฟา้ มาเขา้ ใกล้กันจะทำ� ให้เกดิ แรงระหว่างประจไุ ฟฟ้า ขน้ึ โดยวตั ถุทม่ี ปี ระจไุ ฟฟา้ ชนดิ เดียวกันจะผลักกนั และวตั ถุทีม่ ีประจุตา่ งกนั จะดงึ ดดู กนั การขัดถวู ตั ถชุ นดิ เดียวกันดว้ ยสง่ิ เดยี วกันจะทำ� ให้เกิดประจุไฟฟ้าชนดิ เดยี วกนั ซ่ึงจะมแี รงระหวา่ ง ประจุไฟฟ้า เม่อื น�ำวัตถมุ าเขา้ ใกล้กันจะเกิดแรงผลัก การขัดถูวตั ถชุ นิดเดียวกันดว้ ยกนั ดว้ ยส่งิ ท่ตี า่ งกันจะท�ำให้เกดิ ประจุไฟฟ้าตา่ งชนิดกนั ซง่ึ จะมแี รงระหวา่ ง ประจไุ ฟฟา้ เม่ือนำ� วตั ถุมาเข้าใกลก้ ันจะเกิดแรงดึงดูด

ใบความรู้ วิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 34 หนว่ ยการเรียนรู้ แรงไฟฟา้ และวงจรไฟฟา้ บทเร่ือง วงจรไฟฟ้าใกล้ตัว 1. การตอ่ วงจรไฟฟ้า ไฟฟา้ เปน็ พลงั งานรปู หนง่ึ ท่เี ราใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ�ำวันในหลาย ๆ ด้าน เราใช้ประโยชน์จากไฟฟา้ มากมายผ่านเคร่ืองใช้ไฟฟา้ โดยเคร่อื งใชไ้ ฟฟ้าจะเปล่ยี นพลงั งานไฟฟ้าเปน็ พลงั งานอื่น ๆ เชน่ พลังงานแสง พลังงานความรอ้ น พลงั งานกล พลงั งานเสยี ง เครื่องใช้ไฟฟา้ แต่ละชนิดจะต่อกบั แหลง่ กำ� เนิดไฟฟา้ โดยมสี ายไฟฟา้ เป็นทางผ่านของกระแสไฟฟ้า จาก แหลง่ ก�ำเนดิ ไฟฟา้ มายังเคร่ืองใช้ไฟฟา้ แตล่ ะชนดิ เรยี กว่า วงจรไฟฟ้า 1.1 การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย วงจรไฟฟ้า เปน็ เส้นทางท่ีกระแสไฟฟา้ ไหลมาจากแหล่งกำ� เนดิ ไฟฟ้าผา่ นตัวน�ำไฟฟ้าและอปุ กรณไ์ ฟฟา้ และไหลกลับสูแ่ หล่งกำ� เนิดไฟฟ้าเดิมได้ครบวงจร วงจรไฟฟา้ อย่างงา่ ยประกอบด้วย 3 ส่วนส�ำคญั ดังนี้ 1. แหล่งก�ำเนดิ ไฟฟา้ เป็นแหล่งจ่ายพลังงานไฟฟา้ ไปยงั วงจรไฟฟ้า เชน่ ถา่ นไฟฉาย แบตเตอรี่ เครอื่ งก�ำเนดิ ไฟฟา้ ท�ำหน้าท่ีใหพ้ ลงั งานไฟฟ้า 2. สายไฟฟ้าหรือตัวนำ� ไฟฟ้า คอื วตั ถหุ รอื วัสดทุ ีเ่ ป็นส่อื กลางทยี่ อม ให้กระแสไฟฟา้ ไหลผ่านได้ ทำ� หนา้ ที่เชือ่ มต่อระหว่างแหล่งก�ำเนิดไฟฟ้ากบั อปุ กรณไ์ ฟฟา้ หรือเครือ่ งใชไ้ ฟฟา้ เข้าด้วยกนั 3. อปุ กรณ์ไฟฟ้าหรือเคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ ท�ำหนา้ ทเ่ี ปลีย่ นพลังงานไฟฟ้า ไปเปน็ พลงั งานรปู แบบตา่ ง ๆ เพ่ืออำ� นวยความสะดวกในการด�ำเนิน ชวี ิตประจำ� วัน

เมอ่ื ตอ่ วงจรไฟฟา้ จะมกี ระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นในวงจร โดยมีสวติ ชท์ �ำหน้าทคี่ วบคมุ กระแสไฟฟ้า หากตอ่ 35 วงจรไฟฟา้ ครบวงจรและเครอื่ งใช้ไฟฟา้ สามารถท�ำงานได้จะเรียกว่า วงจรปิด (Closed Circuit) หากทำ� การตอ่ วงจรไฟฟ้าไมค่ รบวงจร โดยปลดสายไฟฟ้าเส้นใดเสน้ หนงึ่ ออกหรือยกสวิตชข์ ึ้น และเครอื่ งใชไ้ ฟฟ้าไม่สามารถ ท�ำงานได้จะเรยี กวา่ วงจรเปดิ (Opened Circuit) วงจรเปดิ เคร่ืองใช้ไฟฟ้าไมท่ �ำงาน วงจรปดิ เคร่อื งใชไ้ ฟฟ้าไม่ท�ำงาน (หลอดไฟฟา้ ดับ) (หลอดไฟฟ้าสวา่ ง) การตอ่ วงจรไฟฟ้าอยา่ งง่ายต้องต่อปลายดา้ นหน่ึงของสายไฟฟ้าแต่ละเสน้ เขา้ กบั ขั้วของถ่ายไฟฉายทั้งขวั้ บวก (+) และขวั้ ลบ (-) และต่อปลายอีกดา้ นของสายไฟฟา้ แต่ละเสน้ เข้ากับเครอื่ งใช้ไฟฟ้า ซึง่ การต่อวงจร ไฟฟา้ อยา่ งง่ายแล้วท�ำใหห้ ลอดไฟฟา้ สว่างทำ� ได้หลายวธิ ี เช่น - กรณตี ่อดว้ ยสายไฟฟ้า 1 เส้น น�ำปลายด้านล่างท่ีเป็นโลหะของหลอดไฟฟ้าแตะท่ีขวั้ บวก (+) ของถา่ นไฟฉาย จากน้นั น�ำสายไฟฟ้าต่อเขา้ กับด้านข้างบริเวณทเ่ี ป็นโลหะของ หลอดไฟฟา้ แล้วนำ� ปลายสายไฟฟา้ ท่เี หลอื ต่อเข้ากบั ขั้วลบ (-) ของถา่ ยไฟฉาย - กรณีตอ่ ดว้ ยสายไฟฟา้ 2 เสน้ ต่อปลายด้านหนึ่งของสายไฟฟ้าแต่ละเส้นเข้ากับขั้วบวก (+) และขว้ั ลบ (-) ของถ่านไฟฉาย จากน้นั น�ำปลายสายไฟฟา้ ท่ีเหลอื เส้นหน่งึ ต่อเขา้ กับปลายด้านล่างของหลอดไฟฟา้ และนำ� ปลายของสายไฟฟา้ อีกเสน้ หน่งึ ตอ่ เข้ากับบรเิ วณโลหะของหลอดไฟฟ้า การตอ่ วงจรไฟฟ้าอยา่ งง่าย ประกอบด้วยแหลง่ กำ� เนดิ ไฟฟา้ สายไฟฟา้ และอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ ไฟฟา้ หากเราตอ้ งการอธบิ ายหรอื ส่ือสารการตอ่ วงจรไฟฟา้ หรอื เคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ หากเราต้องการอธิบายหรอื สื่อสาร การต่อวงจรไฟฟา้ ให้ผอู้ ่ืนเขา้ ใจตรงกนั จะใช้การเขยี นแผนภาพวงจรไฟฟา้ แทนการวาดรปู ซ่ึงท�ำไดโ้ ดยใช้ สญั ลกั ษณแ์ สดงส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้าและลกั ษณะการต่อของแตล่ ะส่วนประกอบในวงจรนนั้ ดังนี้

อุปกรณไ์ ฟฟา้ สญั ลักษณ์ 36 ข้อมลู เซลลไ์ ฟฟา้ 1 เซลล์ หลายเซลล์ เป็นแหล่งกำ� เนดิ กระแสไฟฟา้ หรือ สายไฟฟ้า แหล่งจ่ายพลังงานไฟฟา้ ใหว้ งจร ไฟฟา้ หากเป็นแบตเตอรจ่ี ะใช้ หลอดไฟฟ้า สัญลักษณ์หลายเซลล์ต่อกนั เปน็ สง่ิ ทใ่ี ชเ้ ชอ่ื มตอ่ ระหวา่ งอปุ กรณ์ ตา่ ง ๆ ในวงจรไฟฟา้ เข้าดว้ ยกัน หรอื เป็นอุปกรณไ์ ฟฟ้าทใ่ี หพ้ ลงั งานแสง มสี ัญลกั ษณ์หลายรูปแบบ M เปน็ อุปกรณ์ไฟฟา้ ที่ให้พลงั งานกล มอเตอร์ไฟฟ้า เปน็ อุปกรณ์ไฟฟา้ ที่ให้พลงั งานเสยี ง ออดไฟฟ้า สวิตช์ปิด เปน็ อุปกรณค์ วบคุมให้วงจร ยกสวิตช์ขน้ึ สวิตช์เปิด ไฟฟา้ ท�ำงานจะสับสวิตชล์ ง เรยี กวา่ วงจรปิด หรือใหว้ งจร สบั สวิตช์ลง ไฟฟา้ หยดุ ท�ำงานจะยกสวติ ช์ขนึ้ สวติ ชไ์ ฟฟ้า เรียกว่า วงจรเปิด

1.2 การต่อเซลล์ไฟฟา้ แบบอนกุ รม 37 แหลง่ ก�ำเนิดไฟฟา้ มีอยู่หลายชนดิ เช่น เซลลไ์ ฟฟ้าแบตเตอร่ี ซึง่ ถ่านไฟฉายจดั เปน็ เซลล์ไฟฟา้ ชนดิ หนึ่งที่ เปน็ แหลง่ ก�ำเนิดไฟฟ้าให้แกอ่ ุปกรณ์ไฟฟา้ หลายชนิด เช่น นาฬกิ า ไฟฉาย วทิ ยุ กลอ้ งถา่ ยรปู เซลล์ไฟฟ้า คือ แหลง่ ก�ำเนดิ กระแสไฟฟ้าหรือแหลง่ จา่ ยกระแสไฟฟา้ แบบหนึง่ ทใ่ี ช้ปฏกิ ริ ิยาเคมที �ำใหเ้ กิด กระแสไฟฟ้าได้ซึ่งเซลลไ์ ฟฟ้า 1 เซลล์ อาจให้กระแสไฟฟา้ ทไ่ี ม่เพยี งพอตอ่ การใชง้ านของเคร่อื งไฟฟา้ จึงจำ� เปน็ ต้องต่อเซลล์ไฟฟ้าเพม่ิ ขน้ึ เพือ่ ใหไ้ ด้พลงั งานไฟฟา้ มากขนึ้ โดยการต่อเซลล์ไฟฟา้ แบบอนุกรม การตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ แบบอนกุ รม เปน็ การนำ� เซลล์ไฟฟ้าหลาย ๆ เซลล์ มาเรยี งตอ่ กนั เพียงแถวเดียว ทำ� ให้ กระแสไฟฟา้ เดนิ ไปทศิ ทางเดยี ว โดยให้ขว้ั บวกของเซลลไ์ ฟฟ้าเซลลห์ น่งึ ตอ่ กับข้ัวลบของอีกเซลลห์ นงึ่ เรยี งกนั ไป เรอ่ื ย ๆ ท�ำให้มพี ลงั งานไฟฟ้าในวงจรมากขน้ึ ซงึ่ การต่อเซลลไ์ ฟฟ้าหลายเซลล์จะทำ� ใหม้ ีพลังงานไฟฟ้าในวงจร มากกว่าการต่อเซลลไ์ ฟฟ้าเพียงเซลลเ์ ดียว เซลล์ไฟฟ้านั้นมอี ยหู่ ลายแบบและหลายขนาดซ่งึ แตล่ ะแบบมคี วามเหมาะสมในการใช้งานตา่ งกัน เช่น เซลลไ์ ฟฟ้าแบบกระดุมนยิ มใช้ในนาฬิกาข้อมือ เซลลไ์ ฟฟ้าแบบก้อนมกั ใช้ในรีโมตคอนโทรลตา่ ง ๆ ในเซลล์ไฟฟ้าทกุ แบบจะมีขัว้ ไฟฟา้ 2 ขัว้ คอื ขัว้ บวก (+) และขั้วลบ (-) เมือ่ ต่อวงจรไฟฟ้าใหค้ รบ วงจรกระแสไฟฟ้าจากแหล่งกำ� เนิดไฟฟ้าจะเคลือ่ นทจี่ ากขัว้ บวกผา่ นอปุ กรณ์ไฟฟ้าและกลบั เข้าส่ขู วั้ ลบในทิศทาง เดยี ว ถ่านไฟฉาย 1 กอ้ น คือ เซลลไ์ ฟฟา้ 1 เซลล์ ซ่งึ เครอ่ื ง ใชไ้ ฟฟา้ บางชนิดอาจใชเ้ ซลลไ์ ฟฟา้ เพียงเซลลเ์ ดียว แตเ่ ครอ่ื งใช้ไฟฟ้าบางชนิด อาจใช้เซลลไ์ ฟฟ้ามากกวา่ 1 เซลล์ โดยเซลลไ์ ฟฟ้าต้งั แต่ 2 เซลล์ ทต่ี ่อเข้ากนั เรยี กวา่ แบตเตอรี่ ซ่งึ มีอยูด่ ้วยกนั หลายชนิด เชน่ แบตเตอร่ีโทรศัพทม์ อื ถอื แบตเตอรี่รถยนต์ การนำ� เซลลไ์ ฟฟ้าหลายเซลล์มาต่อกนั จะให้พลงั งานไฟฟ้าแก่ เครื่องใช้ไฟฟ้าหรอื อปุ กรณไ์ ฟฟา้ มากขึน้ ตามไปด้วย

การต่อเซลลไ์ ฟฟา้ แบบอนกุ รม จะท�ำใหผ้ ลรวมแรงดันไฟฟา้ (โวลต์) หรอื พลงั งานไฟฟา้ ในวงจรเพ่มิ ขึ้น38 แต่กระแสไฟฟา้ รวมของวงจรจะมีค่าเทา่ กับกระแสไฟฟา้ ของเซลล์ไฟฟ้าท่ตี �ำ่ ที่สดุ ดังนัน้ เราจงึ ไม่ควรนำ� เซลล์ ไฟฟา้ เกา่ มาใช้รวมกบั เซลล์ไฟฟ้าใหม่ เพราะจะเปน็ สาเหตทุ �ำใหก้ ระแสไฟฟา้ ในวงจรลดลงได้ เราสามารถน�ำความรู้เก่ียวกับการตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้าแบบอนกุ รมไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำ� วนั ได้ เนื่องจากมี อปุ กรณ์ไฟฟา้ หรอื เครื่องใช้ไฟฟ้าทตี่ อ้ งใชเ้ ซลลไ์ ฟฟา้ หลายเซลล์ตอ่ เขา้ ดว้ ยกัน จงึ จะสามารถท�ำงานได้ เชน่ ไฟฉาย รถของเลน่ รโี มตเครอ่ื งปรับอากาศ วทิ ยุ นาฬกิ าปลกุ นาฬิกาแขวน เซลล์ไฟฟา้ ถอื เป็นหนง่ึ ในขยะอนั ตราย เพราะมสี ว่ นผสมของสารเคมี เช่น ตะกวั่ แคดเมียม หากตอ้ งการ ท้งิ ควรแยกออกจากขยะประเภทอืน่ ๆ และท�ำสญั ลักษณบ์ อกว่าเป็นขยะอันตรายไว้ต่างหาก เพอ่ื หน่วยงานทีร่ ับ ผดิ ชอบจะไดน้ ำ� ไปก�ำจดั อยา่ งถูกวิธี 1.3 การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนกุ รมและแบบขนาน หากเราสังเกตการต่อวงจรไฟฟ้าจะพบว่า บางครงั้ มกี ารต่อหลอดไฟฟา้ มากกว่า 1 ดวง เช่น ไฟประดับ ต้นไม้ ไฟประดบั อาคาร ซ่ึงการตอ่ วงจรไฟฟา้ ที่มหี ลอดไฟฟ้ามากกวา่ 1 ดวง มี 2 แบบ คือการตอ่ หลอดไฟฟ้า แบบอนุกรม และการต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนาน 1) การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนกุ รม คอื การต่อหลอดไฟฟ้าแบบเรยี งต่อกนั โดยกระแสไฟฟา้ ทผ่ี ่านหลอด ไฟฟา้ แตล่ ะดวงจะมปี ริมาณเดียวกัน เม่ือถอดหลอดไฟฟ้าดวงใดดวงหนง่ึ ออก จะทำ� ให้หลอดไฟฟา้ ทเ่ี หลอื ดบั ทัง้ หมดเพราะท�ำให้วงจรไฟฟ้าไม่ครบวงจรและไม่มีกระแสไฟฟา้ ไหลผา่ น ประโยชน์ของการตอ่ หลอดไฟฟ้าแบบอนุกรม 1.การตอ่ วงจรไม่ยงุ่ ยากซับซอ้ น 2.สามารถเปดิ หลอดไฟฟ้าทกุ ๆ ดวงในวงจรไดพ้ ร้อมกนั

ข้อจำ� กัดในการตอ่ หลอดไฟฟา้ แบบอนุกรม 39 หากหลอดไฟฟ้าดวงหนงึ่ ชำ� รดุ หรอื ถกู ถอดออก หลอดไฟฟ้าดวงที่เหลอื จะดับท้ังหมด การประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจำ� วัน ใช้กับการต่อหลอดไฟฟา้ ทตี่ อ้ งการใหส้ วา่ งพร้อมกัน เช่น โคมไฟหรอื ไฟประดับตามสถานทตี่ า่ ง ๆ ไฟ กะพรบิ ตามงานรืน่ เริง การตอ่ ฟวิ ส์ภายในบ้านหรือในอาคารสถานทตี่ า่ ง ๆ 2) การต่อหลอดไฟฟา้ แบบขนาน คอื การตอ่ หลอดไฟฟ้าแตล่ ะดวงคร่อมกัน ทำ� ใหม้ ีปรมิ าณกระแสไฟฟ้า แยกผา่ นแตล่ ะเสน้ ทางตามสายไฟฟา้ ท่ีผ่านหลอดไฟฟา้ แตล่ ะดวง เม่อื ถอดหลอดไฟฟา้ ดวงใดดวงหนงึ่ ออกจะไม่มี กระแสไฟฟา้ ไหลผ่านเสน้ ทางนั้น แตเ่ สน้ ทางอื่นยงั มีกระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นอยู่ ท�ำให้หลอดไฟฟา้ ทีเ่ หลอื ยงั คงสวา่ ง อยู่ ประโยชนข์ องการตอ่ หลอดไฟฟ้าแบบขนาน 1. หลอดไฟฟ้าทกุ ดวงสว่างเทา่ กัน 2. หลอดไฟฟ้าดวงหน่ึงเสยี หลอดอนื่ ยังคงทำ� งานไดต้ ามปกติ 3. สามารถเปิดหรอื ปดิ หลอดไฟฟา้ เฉพาะดวงท่ตี ้องการใช้งานได้ ขอ้ จ�ำกดั ในการตอ่ หลอดไฟฟ้าแบบขนาน 1. ต้องใชอ้ ปุ กรณต์ ่อหลอดไฟฟา้ มากกวา่ แบบอนกุ รม 2. วิธีการตอ่ หลอดไฟฟา้ ซบั ซอ้ นมากกว่าการตอ่ แบบอนุกรม การประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำ� วัน การตอ่ หลอดไฟฟา้ แบบขนานถูกน�ำกลับมาประยุกตใ์ ช้กับเครื่องใชไ้ ฟฟ้าอน่ื ๆ ภายในบา้ น โดยมวี ิธีการ ต่อท่ีซบั ซอ้ นกว่าการต่อแบบอนกุ รม แตม่ ปี ระสทิ ธภิ าพในการใช้งานดกี วา่ เพราะหากเคร่อื งใช้ไฟฟา้ ชนิดหนง่ึ มี ปญั หาเครอื่ งใช้ไฟฟา้ ชนดิ อ่ืนจะไมเ่ กดิ ความเสยี หายและยงั คงใช้งานได้ตามปกติ

การต่อวงจรไฟฟา้ แบบอนุกรมและแบบขนานสามารถน�ำไปประยุกตใ์ ชป้ ระโยชนใ์ นชวี ิตประจำ� วันไดแ้ ตก 40 ต่างกนั ดงั นี้ การต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนานนนั้ มกั นิยมน�ำมาใช้ในการตอ่ วงจรไฟฟา้ ภายในบ้าน เพื่อใหส้ ามารถเลอื กใช้ เคร่ืองไฟฟ้าเครื่องใดเคร่ืองหนง่ึ ได้ตามต้องการ เพราะเมอ่ื ส่วนใดส่วนหน่งึ ของวงจรไฟฟ้าขาดไปอุปกรณ์ไฟฟ้า หรอื เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าอ่ืน ๆ ยังคงสามารถท�ำงานได้ตามปกติ การต่อวงจรไฟฟา้ แบบอนกุ รมนั้นมักใช้กับการต่อกบั อุปกรณไ์ ฟฟ้าหรอื เครื่องใช้ไฟฟ้าบางชนดิ เช่น การ ตอ่ หลอดไฟฟา้ ประดบั ตามสถานทต่ี ่าง ๆ หรอื การตอ่ ฟวิ สใ์ นวงจรไฟฟ้าในบา้ น เมื่อฟิวส์ขาดไฟฟ้าทง้ั หมดภายใน บ้านจะดบั และท�ำงานไม่ได้ ท�ำให้เกดิ ความปลอดภยั หากมกี ารใช้ไฟฟา้ เกดิ ขนาด 2. ตวั นำ� ไฟฟา้ และฉนวนไฟฟ้า วัสดุแตล่ ะชนดิ มสี มบัติในการนำ� ไฟฟ้าไดแ้ ตกตา่ งกนั ดังนัน้ เม่ือเรานำ� วสั ดุบางชนิดมาต่อเข้ากบั วงจรไฟฟา้ จะท�ำใหห้ ลอดไฟฟา้ สวา่ งและเม่ือนำ� วสั ดุบางชนดิ มาตอ่ เขา้ กบั วงจรไฟฟ้า จะท�ำให้หลอดไฟฟา้ ไม่สว่าง เราจงึ สามารถจำ� แนกวสั ดุได้ออกเปน็ 2 ประเภท ได้แก่ 1) ตัวน�ำไฟฟ้า คือ วัสดุที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ ส่วนใหญ่เปน็ วัสดปุ ระเภทโลหะ ซ่งึ โลหะท่ีน�ำไฟฟา้ ได้ดที ่สี ุด คอื เงนิ ทองแดง ทอง และอะลมู ิเนยี ม ตามลำ� ดบั แตส่ ายไฟฟ้าโดยท่ัวไปจะใช้ทองแดงเปน็ ตัวน�ำไฟฟ้า เพราะเงินมีราคาแพงมาก จึงไมน่ ิยมน�ำมาทำ� สายไฟฟา้ 2) ฉนวนไฟฟา้ คือ วสั ดุท่ไี ม่ยอมใหก้ ระแสไฟฟ้าไหลผา่ นได้ หรือไหลผา่ นได้ไม่ดี เช่น พลาสติก ไม้ แก้ว ยาง ผ้า จึงนิยมน�ำมาทำ� เป็นวัสดปุ ้องกนั ไฟฟ้า วสั ดุที่มสี มบัติเปน็ ตัวนำ� ไฟฟา้ และเปน็ ฉนวนไฟฟ้าสามารถนำ� ไปใช้ประโยชน์ในการผลติ เครอ่ื งใชต้ า่ งๆ เชน่ วสั ดทุ เี่ ปน็ ตัวนำ� ไฟฟา้ ใช้ท�ำสายไฟฟ้า อุปกรณไ์ ฟฟ้า สว่ นวสั ดุท่ีเป็นฉนวนไฟฟ้าจะนำ� ไปใชท้ �ำเครอ่ื งปอ้ งกัน ไฟฟา้ เช่น ใชห้ มุ้ สายไฟฟ้าปอ้ งกันไฟฟา้ รัว่ หรือไฟฟ้าดดู

ใบความรู้ วชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 41 หน่วยการเรยี นรู้ แสงและเงา บทเรื่อง เงามืดและเงามวั เงา คือ บริเวณมดื หลังวัตถทุ เ่ี กดิ ข้ึนจากวตั ถตุ า่ ง ๆ ขวางก้ันทางเดนิ แสงไวแ้ สงจึงไมส่ ามารถเดินทางไป ถึงหรือไปถึงเพียงบางสว่ น โดยลกั ษณะของเงาท่เี กดิ ขน้ึ แบง่ เป็น 2 ลกั ษณะ ได้แก่ เงามดื (umbra) และเงามวั (penumbra) เงามดื (umbra) คือ เงาของวัตถใุ นบริเวณท่ีไม่มีแสงผ่านไปถงึ ทำ� ใหบ้ ริเวณนน้ั มดื สนทิ เงามวั (penumbra) คอื เงาของวตั ถใุ นบรเิ วณที่มีแสงบางสว่ นผ่านไปถงึ ทำ� ใหบ้ รเิ วณน้นั มืดไม่สนทิ ขนาดของเงามดื (umbra) และเงามวั (penumbra) น้ันสามารถเปลย่ี นแปลงได้ โดยข้นึ อยู่กบั ระยะห่าง ของวตั ถกุ บั แหลง่ ก�ำเนิดแสง และระยะห่างของวตั ถกุ บั ฉากรับแสง เช่น - หากฉากรับแสงอยู่ใกล้วตั ถุ เงามืดจะมีขนาดใหญ่ แตเ่ งามวั จะมีขนาดเล็กลง - หากฉากรบั แสงอยไู่ กลจากวตั ถุมากขึ้น เงามดื จะมขี นาดเล็กลงแต่เงามวั จะมขี นาดใหญข่ ้ึน (ยกเวน้ หากแหล่งก�ำเนดิ แสงมีขนาดใหญ่เทา่ กบั วัตถุ จะท�ำให้เงามืดมขี นาดใหญเ่ ทา่ กับขนาดของวัตถเุ สมอ) วัตถุทบึ แสงสามารถทำ� ใหเ้ กดิ เงามืดและเงามวั ได้ สว่ นวัตถุทเ่ี ปน็ ตวั กลางโปรง่ แสงและตวั กลางโปรง่ แสง จะทำ� ให้เกิดเฉพาะเงามวั เนื่องจากมีแสงเพยี งบางสว่ นส่องผ่านตวั กลางไปตกกระทบที่บนฉากรบั แสง เมื่อเราใหแ้ สงจากแหลง่ ก�ำเนิดแสงส่องไปท่วี ตั ถทุ บึ แสง (วัตถุท่ใี ชก้ นั้ แสง) จะปรากฏเงาลกั ษณะตา่ ง ๆ ขนึ้ ทางดา้ นหลังของวตั ถุ ทำ� ให้สามารถเขียนแผนภาพรงั สขี องแสงแสดงการเกดิ เงามดื และเงามวั ได้ ดงั น้ี 1) แหลง่ ก�ำเนดิ แสงมีขนาดเลก็ เปน็ จุด - การเขยี นเส้นแนวทางเดินของแสงจะลอก เเหล่งกำ� เนิดเเสง ฉากรับเเสง เงาบนฉาก เสน้ รังสีของแสงเพียง 2 เสน้ ไปท่ีฉากรับแสง วตั ถุ - เกดิ เงามดื เท่าน้นั ไม่ว่าจะวางฉากห่างจาก วัตถมุ ากหรอื น้อยเพียงใด รังสขี องเเสง เงามืด

2) แหล่งกำ� เนิดแสงมีขนาดเล็กกว่าหรอื เท่ากับวตั ถุ 42 - การเขยี นเสน้ แนวทางเดินของแสงจะลากเสน้ รังสขี องแสงเพยี ง 4 เสน้ ไปทฉี่ ากรบั แสง - เกดิ เงามัวลอ้ มเงามดื ไม่วา่ จะวางฉากห่างจากวัตถุมากหรือน้อยเพยี งใด เเหล่งกำ� เนิดเเสง ฉากรับเเสง เงาบนฉาก วตั ถุ เงามัว รงั สขี องเเสง เงามืด 3) แหลง่ กำ� เนดิ แสงมีขนาดใหญ่กว่าวัตถทุ ่ใี ชก้ ้ันแสง - ในการเขียนเส้นแนวทางเดนิ ของแสงจะลากเสน้ รงั สีของแสงเพียง 4 เสน้ ไปทีฉ่ ากรบั แสง โดยจะเกิดเงามืดและเงามัวข้ึนในลักษณะต่าง ๆ ตามต�ำแหนง่ ทฉี่ ากรบั แสงตง้ั อยู่ - หากวางฉากรับแสงไวใ้ นบรเิ วณต�ำแหน่ง A จะเกิดเงามวั ล้อมเงามดื - หากวางฉากรบั แสงไว้ในบริเวณต�ำแหนง่ B จะเกดิ เฉพาะเงามวั เทา่ นนั้ เเหล่งก�ำเนดิ เเสง รังสีของเเสง ฉากรับเเสง เงามวั วัตถุ เงามัว AB เงามวั การเกดิ เงานำ� ไปใชป้ ระโยชนใ์ นกิจกรรมตา่ ง ๆ ได้หลายอย่าง เช่น 1) ใช้วัตถุทึบแสงมามุงหลังคา เพื่อป้องกันแสงแดดและความรอ้ นเขา้ บ้านหรืออาคาร 2) ใช้เพ่อื ความบันเทิง เชน่ การเล่นหนังตะลุง หนงั ใหญ่ แสดงละครเงา 3) ใช้เป็นหลกั การในการปลูกต้นไม้ เพือ่ บงั แสงแดดและท�ำใหเ้ กดิ รม่ เงา 4) ใชอ้ ธบิ ายปรากฏการณ์ธรรมชาติ เช่น การเกิดสุรยิ ปุ ราคา จันทรุปราคา เนอ่ื งจากเปน็ ปรากฏการณ์ทเ่ี กิดขนึ้ จากเงา 5) ใช้ประโยชนด์ า้ นอื่น ๆ เช่น การบอกเวลาโดยใชน้ าฬกิ าแดด

ใบความรู้ วชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 43 หนว่ ยการเรียนรู้ สารรอบตวั เรา บทเรอ่ื ง การแยกสารผสม สารผสม คอื สารทปี่ ระกอบดว้ ยสารตั้งแต่ 2 ชนดิ ขึน้ ไปที่ผสมอย่รู วมกัน โดยอาจมีลกั ษณะผสมกลมกลืน เปน็ เนอื้ เดียวกัน เรียกว่า สารเนือ้ เดยี ว เช่น นำ�้ เชอ่ื ม น�้ำเกลือ ทองเหลอื หรืออาจมีลกั ษณะไมผ่ สมกลมกลืนเปน็ เนอื้ เดียวกนั เรยี กว่า สารเนื้อผสม เชน่ ข้าวสารปนกรวด นำ�้ จิม้ ไก่ นำ�้ โคลน หากเราต้องการแยกสารท่ีผสมกันอยู่ออกจากกัน เราสามารถทำ� ไดห้ ลายวิธโี ดยข้นึ อย่กู ับลกั ษณะและสมบัติ ของสารท่ีผสมอย่รู วมกนั ดงั นี้ - สารผสมทปี่ ระกอบด้วยของแข็งปนกบั ของแข็งทีม่ ลี กั ษณะแตกต่างกนั ชัดเจน อาจแยกสารโดยใชว้ ิธีการ หยบิ ออก การรอ่ นผา่ นวัสดทุ ่มี ีรู หรอื การระเหิด - สารผสมทปี่ ระกอบด้วยของแข็งปนกบั ของเหลว โดยของแข็งนั้นไม่ละลายในของเหลว อาจแยกสาร โดยใช้ วิธีการรนิ ออก การกรอง หรือการท�ำใหต้ กตะกอน - สารผสมที่ประกอบด้วยของแขง็ ปนกบั ของเหลว โดยของแขง็ นั้นละลายไดใ้ นของเหลว อาจแยกสาร โดนใช้วธิ ีการระเหยแห้ง - สารผสมทปี่ ระกอบด้วยของแขง็ ที่เป็นสารแม่เหลก็ กับของแข็งท่ีไมเ่ ปน็ สารแมเ่ หล็ก อาจแยกสารโดยใช้ แม่เหลก็ ดงึ ดดู สารแมเ่ หลก็ ออกมาได้

สารเน้อื เดียว คอื สารท่มี องเห็นเปน็ เน้อื เดยี วชัดเจน อาจเปน็ สารบรสิ ทุ ธ์ิ เช่น นำ�้ กล่นั หรืออาจเป็น 44 สารละลาย เช่น น�ำ้ เกลอื นำ้� เชอ่ื ม นำ�้ โซดา สารเน้อื ผสม คอื สารทผ่ี สมกันแล้วไม่มกี ารละลายเกิดข้ึน โดยยงั มองเหน็ สารเดมิ อยู่ไมร่ วมเป็นเนอ้ื เดียวกนั หรอื แยกสว่ นกนั และไมเ่ กิดการเปลย่ี นแปลงทางเคมี เชน่ สลดั ผกั ข้าวสารปนกรวด ควนั ดำ� ในอากาศ สสาร สสาร มสี มบัติ 4 ประการ คอื 1. มตี วั ตน 2. มีมวล สาร 3. ตอ้ งการที่อยู่ 4. สมั ผสั ได้ สารเนอ้ื เดียว สารเน้อื ผสม สารบรสิ ุทธ ์ สารละลาย คอลลอยด์ แขวนลอย ธาต ุ สารประกอบ โลหะ กึ่งโลหะ อโลหะ 1. สารเนอ้ื เดยี ว คอื สารท่ีสายตามองเห็นเปน็ เนือ้ เดียวกนั 2. สารเนื้อผสม คอื สารทส่ี ายตามองเหน็ ว่าเน้อื ไมเ่ ปน็ เนอ้ื เดียวกัน แยกชิ้นสว่ นกันชัดเจน 3. เราสามารถแยกสารเนอื้ เดียวและสารเน้ือผสมออกจากกนั ไดโ้ ดยแยกทางกายภาพ คือใช้สายตามองได้เลย 4. สารบรสิ ทุ ธ์ิ คอื สารเนอื้ เดยี วทม่ี จี ดุ เดอื ดและจดุ หลอมเหลวคงท่ี รวมตวั ในอตั ราสว่ นคงท่ี เขยี นสตู รโมเลกลุ ได้ 5. สารละลาย คือ สารเนอ้ื เดียวที่สายตาแยกแยะองค์ประกอบไม่ได้ รวมตัวในอัตราสว่ นไมค่ งที่ เขยี นสตู ร โมเลกุลไม่ได้ 6. เราสามารถแยกสารบริสุทธแ์ิ ละสารละลายออกจากกนั ไดโ้ ดยดูจาก จดุ เดือดและจุดหลอมเหลว อตั ราส่วนการ รวมตัว 7. ธาตุ คอื สารบรสิ ุทธ์ทิ ่ปี ระกอบดว้ ยสารเพียงชนิดเดียว 8. สารประกอบ คือ สารบริสทุ ธ์ิที่เกดิ จากธาตตุ ัง้ แต่ 2 ชนดิ ขนึ้ ไปมารวมกัน 9. เราสามารถแยกธาตุและสารประกอบออกจากกนั โดยดจู �ำนวนธาตทุ ี่เปน็ องคป์ ระกอบ สมบตั ิ สารละลาย คอลลอยด์ เเขวนลอย 1. ขนาดอนภุ าค (เส้นผา่ นศนู ย์กลาง) เลก็ กวา่ 10-7 cm 10-7 - 10-4 cm ใหญก่ วา่ 10-4 cm 2. การผา่ นกระดาษกรอง 3. การผา่ นกระดาษเซลโลเฟน ได้ ได้ ไมไ่ ด้ 4. ปรากฏการณท์ ินดอลล์ ได้ ไม่ได้ ไม่ได้ ไม่ได้ ได้ ได้

การแยกสารผสมนน้ั เพอ่ื นำ� มาศกึ ษาองคป์ ระกอบของสาร เราจำ� เปน็ ตอ้ งทราบสมบตั ขิ องสารทเ่ี ปน็ องค์ 45 ประกอบของสารผสมนนั้ และตอ้ งเลอื กใชว้ ธิ กี ารแยกสารทถี่ กู ตอ้ งและเหมาะสม ซง่ึ การแยกสารมหี ลายวธิ ี เชน่ 1. การหยิบออก เปน็ วิธีการแยกสารผสมทมี่ ีของแขง็ ผสมกบั ของแขง็ ทมี่ ขี นาดและลักษณะต่างกันชัดเจน โดยของแขง็ นนั้ อาจมขี นาดใหญ่พอท่ีจะใช้มอื หยิบเข่ยี ออก หรือใช้อปุ กรณ์อืน่ ๆ มาช่วยหยบิ ออกได้ 2. การรอ่ น เปน็ วิธกี ารแยกสารผสมทีม่ ีของแขง็ ขนาดตา่ ง ๆ กนั ผสมกนั อย่ใู หอ้ อกจากกัน โดยของแข็งอาจมขี นาดเล็ก และไมส่ ามารถใชม้ ือหยบิ ออกจากกนั ได้ จงึ ต้องเลือกใช้อุปกรณ์ท่มี ีความกวา้ งของรูให้เหมาะสมกับอนุภาคของ สารทต่ี อ้ งการแยก เชน่ ตะแกรง กระชอน โดยการส่ายอุปกรณ์ไปมาเพื่อใหส้ ารทม่ี ีอนภุ าคเล็กกวา่ ลอดผ่านรูของ อุปกรณไ์ ด้ สว่ นสารทีม่ ีอนภุ าคใหญ่กวา่ จะค้างอย่บู นอุปกรณ์นน้ั 3. การระเหดิ เปน็ วธิ ีการแยกสารผสมที่มขี องแข็งท่ีระเหดิ ได้ผสมกบั ของแข็งที่ระเหิดไมไ่ ด้ ซง่ึ ของแขง็ ทร่ี ะเหิดไดจ้ ะ เปลี่ยนสถานะกลายเปน็ ไอโดยไม่ผ่านสถานะของเหลว ท�ำใหแ้ ยกสารออกจากสารผสมน้ันได้ เช่น แยกเกลด็ ไอโอดีน เมอ่ื น�ำสารผสมมาให้ความร้อน เกลด็ ไอโอดีนจะระเหิดกลายเปน็ ไอแยกออกจากทราย

4. การใช้แม่เหลก็ ดงึ ดดู 46 เปน็ วธิ กี ารแยกสารผสมที่ในสว่ นประกอบหนึง่ ของสารผสมมีสมบัติในการถูกแมเ่ หลก็ ดึงดดู ได้ เรียกวา่ สารแม่เหลก็ เชน่ ผงตะไบเหลก็ โดยใชอ้ �ำนาจแมเ่ หลก็ ดึงดดู สารแม่เหล็กให้แยกออกจากสารผสมนน้ั 5. การรนิ ออก เป็นวิธกี ารแยกสารผสมที่มีของแขง็ ผสมอยูใ่ นของเหลว โดยของแขง็ จะไม่ละลายในของเหลวนน้ั ในการ แยกดว้ ยการรนิ ออกท�ำไดง้ ่าย โดยรินสารส่วนทเ่ี ปน็ ของเหลวออกจากสว่ นท่ีเปน็ ของแข็ง เชน่ รนิ น้�ำซาวข้าวเพ่ือ แยกน�้ำออกจากเมล็ดข้าว 6. การตกตะกอน เป็นวธิ กี ารแยกสารผสมท่มี ีของแข็งแขวนลอยอยู่ในของเหลว โดยสารผสมนั้นจะมีลกั ษณะขนุ่ เราสามารถ แยกสารไดโ้ ดยวางสารผสมทิง้ ไว้ แลว้ ใหข้ องแข็งที่แขวนลอยอยคู่ ่อยๆ ตกตะกอนรวมกันท่ีก้นภาชนะตามแรงโนม้ ถว่ งของโลก หากต้องการใหข้ องแขง็ ท่แี ขวนลอยตกตะกอนได้เร็วขน้ึ อาจใชส้ ารตวั กลาง เช่น สารส้ม มาท�ำให้ อนภุ าคของตะกอนเกาะกัน เมอื่ อนภุ าคมากข้ึนน�้ำหนักก็มากข้ึน จึงตกตะกอนเร็วขนึ้ ท�ำให้สามารถแยกตะกอน ของแขง็ ออกจากของเหลวได้ การแยกสารโดยการตกตะกอนนัน้ เปน็ วธิ ที นี่ ยิ มนำ� มาใชใ้ นกระบวนการผลิต น�้ำประปา การกรองน�ำ้ บาดาล ใชใ้ นกระบวนการบำ� บดั น�้ำเสีย หรอื ใชท้ ำ� นำ�้ เพอ่ื อุปโภคและบริโภคในครวั เรอื น *สารส้ม (alum) เป็นสารท่ไี ม่มีสี ไมม่ ีกลน่ิ และเป็นสารท่สี ามารถท�ำใหข้ องแขง็ ทแ่ี ขวนลอยในน้ำ� ตกตะกอนได้ เราจึงนิยมน�ำมาแกวง่ ในน�้ำทมี่ ขี องแข็งแขวนลอยอยู่เพือ่ เร่งการตกตะกอน เนื่องจากในนำ�้ ข่นุ อาจมี สารท่ีไมล่ ะลายน้ำ� ท�ำใหเ้ กิดการตกตะกอนไดช้ ้าหรอื ไม่ตกตะกอน โดยสารทีไ่ ม่ละลายน�ำ้ นีม้ ักมีประจไุ ฟฟ้าทท่ี ำ� ให้ อนภุ าคของสารนัน้ กระจายตัวอยู่ในน�้ำได้โดยไมร่ วมตัวกัน เมอื่ สารส้มละลายน�้ำจะเกดิ เปน็ ไอออนที่ช่วยลดอำ� นาจ ประจไุ ฟฟ้าของสารเหล่านี้ ท�ำใหอ้ นุภาคของสารรวมตวั เป็นก้อนใหญ่และตกตะกอนไดใ้ นท่สี ดุ

47 7. การกรอง เป็นวธิ กี ารแยกสารผสมท่ีมขี องแข็งผสมอยู่กับของเหลวหรอื ใช้ในการแยกสารแขวนลอยออกจากนำ�้ ซึ่ง การกรองจะตอ้ งเทสารผสมผา่ นอปุ กรณ์ที่มรี ูพรุน เช่น กระดาษกรอง สำ� ลี ผ้าขาวบาง หรอื เครือ่ งกรองนำ้� โดย อนภุ าคของแข็งทล่ี อดผา่ นรูไม่ได้จะติดอยู่บนอุปกรณ์น้นั สว่ นนำ้� และสารทีล่ ะลายนำ้� ได้จะลอดผา่ นรลู งสภู่ าชนะที่ เตรยี มไว้ สารแขวนลอย (suspension) คอื สารเนื้อผสมทีข่ องแขง็ ไมเ่ กดิ การละลายในของเหลว โดยเน้อื สารที่เป็น ของแขง็ กระจายตวั อย่ใู นของเหลว เม่อื ตงั้ ท้งิ ไว้จะตกตะกอน เชน่ น้ำ� แป้งมนั น้ำ� โคลน 8. การระเหยเเห้ง เป็นวิธีการแยกสารผสมท่ีมขี องแข็งละลายอยูใ่ นของเหลว อย่างผสมกลมกลนื เปน็ เนอื้ เดียวกัน เราเรียก สารผสมน้วี า่ สารละลาย เช่น น้ำ� เกลือ นำ้� เชือ่ ม การระเหยแห้งเปน็ การให้ความรอ้ นจนทำ� ใหส้ ารทเ่ี ป็นของเหลว ระเหยออกจากสารท่ีเป็นของแข็ง ซ่งึ การแยกสารโดยการระเหยแหง้ สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ�ำวนั ได้ เชน่ การท�ำนาเกลอื ทำ� นาเกลือสมทุ ร เปน็ การปล่อยให้น้�ำทะเลเขา้ พื้นที่นาเกลือและปล่อยใหน้ �้ำได้รับแสงแดดจนกระทง่ั น�้ำ ระเหยไปหมดเหลอื แต่เกลอื ในนา ซง่ึ เกลอื ทีไ่ ดจ้ ากการระเหยแหง้ ของน�ำ้ ทะเล จงึ เรยี กว่า เกลือสมทุ ร ผลติ ไดจ้ าก หลายจงั หวัดในประเทศไทย เชน่ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร

ทำ� นาเกลอื สนิ เธาว์ เปน็ การสูบนำ�้ เกลือจากธารนำ�้ เกลือท่ลี กึ ลงไปใต้ดินข้ึนมาจากน้นั นำ� น�้ำเกลอื ท่ีไดไ้ ปตม้ 48 (ให้ความร้อน) จนน้ำ� ระเหยแหง้ ไปจนหมดเหลือแตผ่ ลกึ เกลือ จึงเรียกวา่ เกลือสนิ เธาว์ ผลติ ไดจ้ ากหลายจังหวัด ในประเทศไทย เชน่ น่าน อดุ รธานี หนองคาย

ใบความรู้ วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6 49 หนว่ ยการเรยี นรู้ หนิ และซากดกึ ด�ำบรรพ์ บทเรือ่ ง หินในธรรมชาติ หินในธรรมชาติ หนิ เป็นทรพั ยากรท่เี กดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาติ หนิ เปน็ ส่วนประกอบของเปลอื กโลกทม่ี ลี กั ษณะเปน็ ก้อนแขง็ มีรูปรา่ งและปริมาณทีแ่ น่นอน หินประกอบด้วยแร่ 1 ชนิด หรอื หลายชนดิ รวมกนั โดยแรช่ นิดตา่ ง ๆ ทพี่ บในหิน เรยี กวา่ แร่ประกอบ หิน (rock forming mineral) เช่น ครอตซ์ ไมกา นอกจากนี้ ในหนิ บางชนดิ อาจประกอบด้วยเศษตะกอนอนิ ทรยี ์ หรอื เกดิ การสะสมของซากส่ิงมีชวี ิตจ�ำนวนมาก เชน่ ถา่ นหิน หนิ เชิร์ต หินแต่ละชนิดจะมีลกั ษณะหรือสมบตั ิแตกต่างกันไปขึน้ อย่กู บั ชนดิ และองค์ประกอบของหิน หนิ จึงเปน็ ทรพั ยากรธรรมชาตสิ �ำคัญประเภทหน่ึงทมี่ กี ารน�ำมาใช้ประโยชน์ได้หลากหลายและแตกต่างกันไป 1. กระบวนการเกิดหิน นกั ธรณีวิทยาได้จ�ำแนกหนิ แตล่ ะชนิดโดยใชล้ กั ษณะกระบวนการเกิดของหนิ เปน็ เกณฑ์ ซง่ึ สามารถจ�ำแนก หนิ ไดเ้ ป็น 3 ประเภท คอื หนิ อัคนี หินตะกอน และหนิ แปร 1. หนิ อัคนี (igneous rock) คอื หินทีเ่ กดิ จากการรวมตัวของแร่ทเี่ ยน็ ตวั และตกผลกึ จากหนิ หนดื ที่มีอุณหภมู ิสูง สามารถเกิดได้ทง้ั บน ผิวโลกและใต้เปลือกโลก ดงั นี้ 1. หนิ อคั นที เ่ี ยน็ ตวั ใต้เปลอื กโลก เกิดขน้ึ จากแมกมา (หินหนดื ) ดนั ตวั ขึน้ มาอย่บู รเิ วณใตเ้ ปลอื กโลกท่ีมี อุณหภมู ิตำ่� กวา่ แมกมาจะเย็นตัวลงอย่างชา้ ๆ ทำ� ใหแ้ รต่ ่าง ๆ มเี วลาตกผลกึ นาน หนิ จึงมเี น้ือหยาบและแนน่ แข็งเพราะมีแร่หลายชนิดเป็นสว่ นประกอบอย่ใู นเน้อื หิน เราเรยี กหินอัคนีกล่มุ นว้ี า่ หนิ อัคนแี ทรกซอน หรือหนิ อคั นี ระดบั ลึก เช่น หนิ แกรนิต หินแกบโบร หนิ ไดออไรต์ หนิ แกรนติ หินแกบโบร หินไดออไรต์

2. หนิ อัคนที ่ีแขง็ ตัวบนเปลือกโลก เกดิ จากการประทุของภเู ขาไฟทำ� ให้แมกมา (หินหนืด) พุ่งขนึ้ มาอยู่บ5น0 ผวิ โลก เรียกว่า ลาวา (lava) เมอื่ ลาวาเยน็ ตัวลงอยา่ งรวดเร็วหรอื ฉบั พลนั จงึ ท�ำใหแ้ รต่ ่างๆ มเี วลาตกผลกึ น้อย เนอ้ื หนิ จึงเป็นรพู รุน เชน่ หินพมิ มซิ บางชนดิ มเี น้ือหนิ ละเอยี ด เช่น หินออบซเิ ดียน สว่ นลาวาทไี่ หลหลากมาตาม รอยแตกของพื้นดินจะเกิดการตกผลึกและเยน็ ตัวลงกลายเปน็ หนิ เชน่ หินไรโอไลต์ หนิ บะซอลต์ เราเรยี กหนิ อัคนี กลุ่มนี้ว่า หนิ ภูเขาไฟ หรอื หินอัคนพี ุ หินพิมมซิ หินออบซิเดียน หินไรโอไลต์ 2. หนิ ตะกอน (sedimentary rock) คือ หินทเ่ี กดิ จากการทับถมของเศษหนิ ทผ่ี ุพังมาจากหินต่าง ๆ รวมทั้งซากสิ่งมีชีวิต โคลน ดนิ ทราย หรอื สารอนื่ ท่สี ึกกรอ่ น แล้วถูกพดั พาโดยลม กระแสน้�ำ ธารนำ�้ แข็ง หรอื คล่ืนทะเลและมหาสมทุ รใหม้ าสะสมรวม กนั ในทอ้ งทะเลหรือในแอง่ เปลอื กโลกเป็นเวลานาน ท�ำให้ตะกอนถกู บีบอดั กดทบั และเกิดการเชอื่ มประสานเมด็ ตะกอนหรอื เกดิ การตกผลึก จนท�ำใหช้ ั้นตะกอนกลายเป็นหินตะกอนตา่ ง ๆ หินทราย หินปนู หินกรวดมน เนอ้ื หนิ ของหนิ ตะกอนส่วนใหญ่มลี กั ษณะเป็นเมด็ ตะกอน บางชนดิ เป็นเน้ือผลึกทีย่ ึดเกาะกนั ซ่ึงเกดิ จากการ ตกผลึกหรอื ตกตะกอนในนำ�้ และมบี างชนดิ มีลกั ษณะเปน็ ชน้ั จงึ เรียกหนิ ตะกอนอกี ชอ่ื หนง่ึ วา่ หินชัน้ 3. หนิ แปร (metamorphic rock) คอื หินทเ่ี กดิ จากการแปรสภาพของหินอัคนี หนิ ตะกอน หรือหนิ แปร โดยมกี ารตกผลกึ ใหมข่ องแร่ใน สภาวะทเ่ี ปน็ ของแขง็ เนอื่ งจากความร้อน ความดันภายในโลก หรอื เกิดจาก 2 ปัจจัย โดยมีกระบวนการทาง เคมีเข้ามาเกยี่ วข้อง ท�ำใหโ้ ครงสรา้ งและสมบตั ิของหินอาจเหมือนหนิ เดมิ หรืออาจแปรสภาพเป็นหนิ ชนดิ ใหม่ ซ่งึ เนือ้ หนิ แปรบางชนดิ ผลกึ ของแรเ่ รยี งตวั ขนานกันเป็นแถบ บางชนดิ แซะออกเป็นแผน่ ได้ บางชนิดเปน็ เนื้อผลกึ ทีม่ ี ความแข็งมาก ตวั อยา่ งหนิ แปร เชน่ หนิ ควอร์ตไซต์ หินชนวน หนิ อ่อน หนิ ไนส์ หินควอรต์ ไซต์ หนิ ชนวน หนิ ไนส์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook