Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2118011TM_คู่มือครูการออกแบบและเทคโนฯ-ม1[210426]

2118011TM_คู่มือครูการออกแบบและเทคโนฯ-ม1[210426]

Published by Grin Jirapon0901251081, 2021-05-15 14:03:29

Description: 2118011TM_คู่มือครูการออกแบบและเทคโนฯ-ม1[210426]

Search

Read the Text Version

คมู่ ือครู Teacher Script เทคโนโลยี ม.1 (การออกแบบและเทคโนโลยี) ช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 1 กลมุ สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 ผเู รียบเรียงหนังสอื เรยี น ผูต รวจหนังสอื เรียน บรรณาธกิ ารหนังสือเรยี น นางสาวเมษ ศรีพัฒนาสกลุ ผศ. ดร.จฬุ ารตั น บุษบงก ดร.ฉทั ทวุติ พชี ผล ดร.เอกเทศ แสงลับ ผูเรียบเรยี งคูม ือครู นางสาวพนดิ า พานิชกลุ นางสาวอารยี า ศรีประเสริฐ บรรณาธกิ ารคมู ือครู นายสิรนั ทร เพยี รพิทกั ษ พิมพค ร้ังท่ี 2 สงวนลิขสทิ ธติ์ ามพระราชบญั ญัติ รหัสสินคา 2148035

ค�ำแนะน�ำกำรใช้ คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.1 จัดท�าข้ึนส�าหรับให้ครูใช้เป็น แนวทางวางแผนการจัดการเรียนการสอน เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนและประกันคุณภาพผู้เรียนตามนโยบายของส�านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน (สพฐ.) Chapter Overview นาํ นาํ สอน สรปุ ประเมนิ โซน 1 โครงสรา้ งแผนและแนวทางการประเมินนกั เรียน ขน้ั นาํ ประจา� หน่วยการเรียนรู้ กระตนุ้ ความสนใจ Chapter Concept Overview 1. ครูใหนักเรียนดูที่ค้ันน้ํามะนาว แลวสอบถาม สรุปสาระส�าคญั ประจ�าหน่วยการเรยี นรู้ นกั เรยี นวา สง่ิ ประดิษฐช น้ิ นค้ี อื อะไร มีความ สําคัญกับการใชชีวิตของนักเรียนหรือไม อยางไร 2. ครอู ธบิ ายเพมิ่ เตมิ ใหน กั เรยี นเขา ใจวา ทค่ี นั้ นา้ํ มะนาวเปนเทคโนโลยีใกลตัวท่ีถูกสรางข้ึนมา เพ่ืออาํ นวยความสะดวกในการใชช วี ิตของเรา 3. ครูใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางสิ่งประดิษฐ ใกลตัวที่นักเรียนรูจัก พรอมท้ังอธิบายวา สิ่งประดิษฐน้ันเปนเทคโนโลยีใกลตัวท่ีชวย อํานวยความสะดวกในการใชชีวิตประจําวัน ของนกั เรียนอยางไร 4. ครูต้ังคําถามถามนักเรียนวา รูหรือไมวา เทคโนโลยีคืออะไร โดยใหนักเรียนรวมกัน อภิปรายเพอ่ื หาคาํ ตอบอยางอิสระ โซน 1 ช่วยครจู ัด เกร็ดแนะครู โซน 3 กำรเรยี นกำรสอน การจดั การเรยี นการสอนในหนว ยการเรียนรูที่ 1 ครูควรจัดการเรยี นรูเพ่ือ แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้แก่ครู เนนใหนักเรียนมีความรูความเขาใจเก่ียวกับความสําคัญของเทคโนโลยีกับการ โดยแนะนา� ขนั้ ตอนการสอน และการจัดกจิ กรรมอยา่ งละเอยี ด ดาํ เนินชีวติ ของมนุษย โดยใชก ระบวนการถามตอบ การทํางานรว มกันเปนกลมุ เพอ่ื ให้นักเรยี นบรรลผุ ลสมั ฤทธติ์ ามตวั ช้วี ัด การศกึ ษาคน ควา และการอภปิ รายรว มกนั เพอ่ื ใหน กั เรยี นเกดิ ความรคู วามเขา ใจ ในเน้ือหาทเ่ี รยี นอยา งแทจริง นาํ สอน สรปุ ประเมนิ โซน 2 T4 โซน 2 ช่วยครูเตรียมสอน ความรเู สรมิ (การออกแบบและเทคโนโลยี) ประกอบด้วยองค์ประกอบต่าง ๆ ท่ีเป็นประโยชน์เพ่ือ อธบิ ายความรูเ้ สริมท่ีมีในบทเรียนเพิ่มเติม ชว่ ยลดภาระในการสอนของครู สอ่ื Digital เกร็ดแนะครู การแนะน�าแหล่งคน้ ควา้ จากสอื่ Digital ต่าง ๆ ความรเู้ สรมิ สา� หรบั คร ู ขอ้ เสนอแนะ ขอ้ สงั เกต แนวทางการจดั กิจกรรม เพอ่ื ประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอน นักเรยี นควรรู ความรเู้ พม่ิ เตมิ จากเนอ้ื หา เพอื่ ใหค้ รนู า� ไปใชอ้ ธบิ ายใหน้ กั เรยี น

โดยใช้ หนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.1 และ แบบฝกหัดรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.1 ของบริษัท อักษร เจรญิ ทัศน ์ อจท. จ�ากดั เป็นสอื่ หลัก (Core Material) ประกอบการสอนและการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ้ เพือ่ ให้สอดคล้องกับ มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั ของกลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย ี(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู ร แกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ซง่ึ ค่มู ือครเู ลม่ น้มี อี งค์ประกอบที่งา่ ยต่อการใช้งาน ดังนี้ โซน 1 นาํ สอน สรปุ ประเมนิ โซน 3 ช่วยครูเตรยี มนักเรียน 1 2 ขนั้ สอน ประกอบด้วยแนวทางการจัดกิจกรรมและเสนอแนะ แนวขอ้ สอบ เพื่ออ�านวยความสะดวกใหแ้ กค่ รผู ูส้ อน สาํ รวจคน หา 1. ครถู ามคาํ ถามสาํ คญั ประจาํ หวั ขอ วา เทคโนโลยี กจิ กรรม 21st Century Skills เกย่ี วของกับชีวิตประจาํ วนั ของมนษุ ยอ ยา งไร กิจกรรมท่ีให้นักเรียนได้ประยุกต์ใช้ความรู้มาสร้างช้ินงาน 2. ครูใหนักเรียนแบงกลุม แลวใหแตละกลุม หรอื ทา� กจิ กรรมรวบยอด เพอ่ื ใหเ้ กดิ คณุ ลกั ษณะทร่ี ะบใุ นทกั ษะ แหง่ ศตวรรษที ่ 21 รวมกันศึกษาและสืบคนขอมูลวา เทคโนโลยี คืออะไร ขอสอบเนนการคิด 3. ครูสุมถามตัวแทนแตละกลุมใหอธิบายวา เทคโนโลยคี อื อะไร จนครบทกุ กลมุ โดยครคู อย ตัวอย่างข้อสอบท่ีมุ่งเน้นการคิด มีท้ังปรนัย-อัตนัย พร้อม อธิบายเสริมขอ มลู ท่ถี กู ตอง เฉลยอยา่ งละเอยี ด 4. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวา เทคโนโลยีคือ อะไร โดยครูคอยช้ีประเด็นใหนักเรียนสรุปวา กิจกรรมทาทาย เทคโนโลยี คอื สิง่ ทีม่ นุษยสรา งหรอื พฒั นาข้นึ เพอ่ื ใชใ นการแกป ญ หา ตอบสนองความตอ งการ เสนอแนะแนวทางการจดั กจิ กรรม เพอื่ ตอ่ ยอดสา� หรบั นกั เรยี น หรอื เพมิ่ ความสามารถในการทาํ งานของมนษุ ย ทเ่ี รยี นรไู้ ดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และตอ้ งการทา้ ทายความสามารถใน ซงึ่ อาจเปน ไดทง้ั ช้นิ งานหรอื วธิ กี าร ระดบั ท่สี งู ข้ึน แนวตอบ คาํ ถามสาํ คัญประจาํ หัวขอ กิจกรรมสรา งเสรมิ เทคโนโลยเี กยี่ วขอ งกบั ชวี ติ ประจาํ วนั ของมนุษย เสนอแนะแนวทางการจดั กจิ กรรมซอ่ มเสรมิ สา� หรบั นกั เรยี นท่ี อยตู ลอดเวลา เนอ่ื งจากในการดาํ รงชวี ติ ประจําวนั ควรได้รบั การพฒั นาการเรียนรู้ มนุษยต อ งพบกบั ปญหาตางๆ มากมาย จงึ ตองคดิ หาแนวทางในการแกป ญ หาทงั้ แบบวธิ กี ารหรอื สรา ง ช้ินงาน ทําใหการดํารงชีวิตมีความสะดวกสบาย มากข้ึน ขอสอบเนน การคดิ เกร็ดแนะครู ขอ ใดไมใชประโยชนของเทคโนโลยีในชีวิตประจําวัน ครอู าจใหนักเรียนชว ยกันคนหาตัวอยา งผลงานการออกแบบเทคโนโลยที ่ี 1. ตาลสงงานผาน e-mail นา สนใจหลายๆ แบบ แลว นาํ มาอภปิ รายรว มกนั วา ผลงานการออกแบบดงั กลา ว 2. ตองโทรศพั ทห าแมที่อยูตา งจังหวดั มคี วามนา สนใจและชว ยแกป ญ หาหรอื สรา งความสะดวกสบายในการดาํ เนนิ ชวี ติ 3. โบขาดการออกกําลังกายเนื่องจากเลน Facebook เปน ของมนุษยอยา งไร ประจําทกุ วัน 4. โอใชโปรแกรม PowerPoint มาสอนนักเรียนทาํ ใหน ักเรียน นักเรียนควรรู โซน 3เขา ใจมากขึน้ 1 ชน้ิ งาน (product) คอื สง่ิ ใดๆ ทท่ี าํ ขน้ึ มาเพอ่ื ตอบสนองความจาํ เปน หรอื ความตอ งการของมนุษยใหไ ดร บั ความพงึ พอใจ (วเิ คราะหค าํ ตอบ เทคโนโลยีมีประโยชนตอชีวิตประจําวันของ 2 วธิ กี าร (process) หมายถงึ ขนั้ ตอนการทาํ สง่ิ ใดสงิ่ หนง่ึ ตงั้ แตต น จนสาํ เรจ็ เรามากมาย เชน เพ่ิมความสะดวกสบายตั้งแตส วนบคุ คล จนถงึ การคมนาคมและสื่อสารทวั่ โลก เปน แหลง ความบันเทงิ ทาํ ใหเ กิด โซน 2หรือข้ันตอนการแกปญหาหรือตอบสนองตอความตองการ ซึ่งจะกอใหเกิดการ ความเทาเทียมกนั ในสงั คม แตห ากเราใชเ ทคโนโลยมี ากไปหรือใช ผดิ วิธีก็จะทาํ ใหเกิดโทษเชนกนั ดงั นัน้ ตอบขอ 3.) เปล่ียนแปลงจากทรัพยากรใหเปนผลผลติ หรือผลลัพธ T5 แนวทางการวัดและประเมนิ ผล การเสนอแนะแนวทางในการวดั และประเมนิ ผลนกั เรยี นทส่ี อดคลอ้ ง กับแผนการสอน

ค�ำอธิบายรายวิชา เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 เวลาเรยี น 20 ชัว่ โมง / ปี ศกึ ษาแนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยใี นชวี ติ ประจำ� วนั วเิ คราะหส์ าเหตหุ รอื ปจั จยั ทสี่ ง่ ผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี ระบปุ ญั หาหรือความต้องการในชวี ิตประจ�ำวัน รวบรวม วเิ คราะห์ขอ้ มลู แนวคิดที่เกยี่ วขอ้ งกบั ปัญหา การออกแบบวิธีการ แกป้ ญั หา ตดั สินใจเลือกขอ้ มลู ท่จี �ำเป็น นำ� เสนอแนวทางการแกป้ ัญหาให้ผอู้ ื่นเข้าใจ วางแผน ด�ำเนินการแก้ปัญหา ดว้ ย การทดสอบ ประเมินผล ระบุข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งหาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และน�ำเสนอผลการแก้ปัญหา เลือกใช้วัสดุ อปุ กรณ์ เคร่อื งมือ กลไก ไฟฟ้า หรืออิเล็กทรอนกิ สเ์ พ่ือแกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง เหมาะสมและปลอดภัย โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) และวัฏจักรการเรียนรู้แบบ สบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นไดล้ งมอื ปฏบิ ตั ิ ฝกึ ทกั ษะการคดิ เผชญิ สถานการณก์ ารแกป้ ญั หา วางแผนการเรยี นรู้ และน�ำเสนอผา่ นการท�ำกจิ กรรมโครงงาน เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจความสมั พนั ธข์ องความรวู้ ทิ ยาศาสตรท์ ม่ี ผี ลตอ่ การพฒั นาเทคโนโลยปี ระเภทตา่ ง ๆ และการพัฒนาเทคโนโลยีท่ีส่งผลให้มีการคิดค้นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ท่ีก้าวหน้า ผลของเทคโนโลยีต่อชีวิต สังคมและ สิง่ แวดล้อม ตลอดจนนำ� ความรคู้ วามเข้าใจในกล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์ต่อสงั คม และการด�ำรงชีวติ จนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและจนิ ตนาการ ความสามารถในการแกป้ ัญหาและการจดั การทกั ษะใน การสื่อสาร ความสามารถในการตัดสินใจ เป็นผทู้ ี่มจี ิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ ตัวชีว้ ัด ว 4.1 ม.1/1 อ ธิบายแนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิตประจ�ำวันและวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปล่ียนแปลง ของเทคโนโลยี ว 4.1 ม.1/2 ระบปุ ัญหาหรือความต้องการในชีวติ ประจ�ำวนั รวบรวม วเิ คราะห์ขอ้ มูลและแนวคดิ ท่เี กีย่ วขอ้ งกับปัญหา ว 4.1 ม .1/3 อ อกแบบวธิ กี ารแกป้ ญั หา โดยวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บ และตดั สนิ ใจเลอื กขอ้ มลู ทจี่ ำ� เปน็ นำ� เสนอแนวทางการแก้ ปัญหาใหผ้ อู้ น่ื เขา้ ใจ วางแผนและด�ำเนนิ การแกป้ ัญหา ว 4.1 ม.1/4 ทดสอบ ประเมนิ ผล และระบขุ ้อบกพร่องท่ีเกิดขึ้น พรอ้ มทง้ั หาแนวทางการปรบั ปรุงแก้ไข และนำ� เสนอผลการ แก้ปัญหา ว 4.1 ม .1/5 ใชค้ วามร้แู ละทักษะเก่ียวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครอ่ื งมือ กลไก ไฟฟ้า หรอื อเิ ล็กทรอนิกส์ เพือ่ แกป้ ัญหาได้อย่าง ถูกตอ้ ง เหมาะสมและปลอดภยั ร วม 5 ตัวชี้วดั

Pedagogy คูมอื ครูรายวิชาพ้ืนฐาน เทคโนโลยี (กำรออกแบบและเทคโนโลย)ี ม.1 จดั ทา� ขน้ึ เพอื่ ใหค้ รนู า� ไปใชเ้ ปน็ แนวทางวางแผนการสอนเพอ่ื พฒั นาผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรยี นของนกั เรยี น โดยครสู ามารถวางแผนการจดั การเรยี นรปู้ ระกอบการใชห้ นงั สอื เรยี นรายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลย ี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 1 (ฉบบั อนญุ าต) ทที่ างบรษิ ทั อกั ษรเจรญิ ทศั น ์ อจท. จา� กดั จดั พมิ พจ์ า� หนา่ ย เพ่ือให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนร้ ู (Instructional Design) สอดคล้องตามรปู แบบการเรยี นรทู้ ส่ี า� คญั 2 รปู แบบ คอื รปู แบบการสอนแบบ 5Es และรปู แบบการสอนแบบใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน (PBL) โดยมรี ายละเอยี ด ดงั นี้ รปู แบบกำรสอนแบบสบื เสำะหำควำมรู้ รปู แบบกำรสอนแบบใชป้ ญ หำเปนฐำน (5Es Instructional Model) (Problem-Based Learning: PBL) กรeะตngุนaคg1วeาmมeสnนt ใจ PBL 6 นาํ เสนอและ สาํ รวexจpแloลrะaคtiนoหn า ประเมินผลงาน elaขยาย ตeรvaวlจuaสtiอoบnผล 5 สรปุ และประเมิน ามรูtion คาของคาํ ตอบ 52 4 สงั เคราะหค วามรู 5Es 3 ดาํ เนนิ การศกึ ษาคน ควา ควาbมoเrขa4าtioใจn exอ3pธlaิบnาaยคว 2 ทําความเขาใจปญหา 1 กําหนดปญหา เลือกใช้วัฏจักรการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) เลือกใช้รูปแบบการสอนแบบใช้ปญหาเปนฐาน (Problem- เน่ืองจากเป็นกระบวนการเรียนรู้ท่ีต้องการให้ผู้เรียนสร้างองค์ Based Learning: PBL) เพราะเป็นรูปแบบการสอนที่ให้ผู้เรียน ความรู้ด้วยตนเองผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติ และใช้ สรา้ งความรใู้ หมจ่ ากการใชป้ ญั หาทเี่ กดิ ขน้ึ จรงิ ในชวี ติ ประจา� วนั ซ่ึง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นเครื่องมือให้ผู้เรียนได้ฝึกวิธี เป็นบริบทของการเรียนรู้เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดทักษะการคิดวิเคราะห์ การทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางการออกแบบและ และคดิ แกป้ ญั หา การเรยี นรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐานจงึ เปน็ ผลมาจาก เทคโนโลยี และทกั ษะแห่งศตวรรษท ่ี 21 โดยเฉพาะทกั ษะดา้ นการ กระบวนการทา� งานทตี่ อ้ งอาศยั ความเขา้ ใจและการแกไ้ ขปญั หาเปน็ เรยี นรแู้ ละนวัตกรรมกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร ์ และทกั ษะการ หลัก ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั การออกแบบและเทคโนโลยี เรยี นรูแ้ ห่งศตวรรษที ่ 21 วิธีสอน (Teaching Method) ผู้จัดท�าเลือกใช้วิธีสอนที่หลากหลาย เช่น การสาธิต การอภิปรายกลุ่มย่อย การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาที่ผู้เรียนสนใจ เพื่อ ให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุดต่อผู้เรียนอันจะช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ และเกิดทักษะทางวิทยาศาสตร์ท่ีคงทน ซ่ึงครูจะต้องมีการจัดแผนการ เรยี นรู้ตามความสนใจของผู้เรียนอยา่ งเหมาะสม เทคนิคกำรสอน (Technique) ผ้จู ดั ท�าเลอื กเทคนิคการสอนที่หลากหลายและเหมาะสมกับเร่อื งท่เี รยี น เพอื่ สง่ เสริมวธิ สี อนใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ เชน่ การใช้ค�าถาม การเลน่ เกม ซง่ึ เทคนิคการสอนต่าง ๆ จะชว่ ยให้ผเู้ รียนเกดิ การเรยี นรแู้ ละสามารถปฏบิ ตั ิกิจกรรมไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ รวมทง้ั ได้พฒั นา ทักษะในศตวรรษท่ี 21 อกี ดว้ ย

Teacher Guide Overview เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.1 หนว่ ย ตวั ชี้วดั ทกั ษะท่ไี ด้ เวลาท่ใี ช้ การประเมนิ สอ่ื ทใ่ี ช้ การเรยี นรู้ 1 - อธบิ ายแนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยี - ทกั ษะการแก้ปญั หา - ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น - ห นังสือเรียนรายวิชา ในชีวิตประจ�ำวันและวิเคราะห์ - ทักษะการคิดอยา่ งมี - ประเมินการนำ�เสนอผลงาน พ้ืนฐาน เทคโนโลยี เทคโนโลยกี บั สาเหตุหรือปัจจัยท่ีส่งผลต่อการ วจิ ารณญาณ - ตรวจใบงาน (การออกแบบและ มนุษย์ เปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี - ทักษะการสังเกต - สงั เกตพฤตกิ รรมการทำ�งาน เทคโนโลย)ี ม.1 (ว 4.1 ม.1/1) - ท กั ษะการนำ�ความรู้ 4 รายบคุ คล - ใบงาน - ระบุปัญหาหรือความต้องการใน ไปใช้ - สังเกตพฤตกิ รรมการทำ�งานกลมุ่ - แบบทดสอบ ช่วั โมง - สงั เกตคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ - ต รวจแบบทดสอบหลังเรียน กอ่ นเรยี น ชวี ติ ประจ�ำวัน รวบรวม วิเคราะห์ - แบบทดสอบ ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับ ปัญหา (ว 4.1 ม.1/2) หลังเรยี น - PowerPoint 2 - ระบุปัญหาหรือความต้องการใน - ทักษะการแก้ปญั หา - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น - หนงั สอื เรียนรายวิชา ชีวติ ประจ�ำวัน รวบรวม วเิ คราะห์ - ท กั ษะการคิดอยา่ งมี - สังเกตการอภิปรายร่วมกนั พืน้ ฐาน เทคโนโลยี กระบวนการ ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับ วจิ ารณญาณ - ต รวจช้นิ งาน/ผลงานผังมโนทัศน์ (การออกแบบและ ออกแบบเชิง ปญั หา (ว 4.1 ม.1/2) - ทักษะการสงั เกต - ตรวจใบงาน เทคโนโลยี) ม.1 วศิ วกรรม - ท กั ษะการน�ำความรู้ - ป ระเมินการน�ำเสนอผลงาน - ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดย ไปใช้ - สังเกตพฤตกิ รรม - ใบงาน วเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บ และตดั สนิ ใจ - ทกั ษะการสือ่ สาร 5 - แบบทดสอบ เลือกข้อมูลท่ีจ�ำเป็น น�ำเสนอ การท�ำงานรายบุคคล แนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อ่ืน ช่วั โมง - สังเกตพฤตกิ รรม กอ่ นเรียน เขา้ ใจ วางแผนและด�ำเนินการแก้ - แบบทดสอบ ปญั หา (ว 4.1 ม.1/3) การท�ำงานกลุ่ม - ส ังเกตคุณลักษณะ หลังเรยี น - PowerPoint อนั พงึ ประสงค์ - ท ดสอบ ประเมินผล และระบุ - ต รวจแบบทดสอบหลงั เรียน ข้อบกพร่องทีเ่ กิดขึ้น พรอ้ มท้ังหา แนวทางการปรับปรุงแก้ไข และ นำ� เสนอผลการแก้ปญั หา (ว 4.1 ม.1/4) 3 - ใช้ความรู้และทักษะเก่ียวกับวัสดุ - ทักษะการคดิ อยา่ ง - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน - หนังสือเรียนรายวชิ า อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า มวี จิ ารณญาณ - ตรวจใบงาน พืน้ ฐาน เทคโนโลยี ผลงาน หรอื อิเลก็ ทรอนิกส์ เพ่อื แก้ปัญหา - ท กั ษะการสงั เกต - ประเมนิ การน�ำเสนอผลงาน (การออกแบบและ ออกแบบ ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมและ - ท ักษะการน�ำความรู้ - สงั เกตพฤตกิ รรมการท�ำงาน เทคโนโลย)ี ม.1 เทคโนโลยี ปลอดภยั (ว 4.1 ม.1/5) ไปใช้ 11 รายบุคคล - ใบงาน - ทกั ษะการแกป้ ัญหา - สงั เกตพฤติกรรมการท�ำงานกล่มุ - แ บบทดสอบ - ทักษะการสือ่ สาร ชั่วโมง - สงั เกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน ก่อนเรยี น - ทักษะการท�ำงาน - แบบทดสอบ รว่ มกัน - ท กั ษะการใชเ้ ทคโนโลยี หลังเรียน สารสนเทศ - PowerPoint

สำรบัญ Chapter Title Chapter Chapter Teacher Overview Concept Script หนว ยการเรยี นรูที่ 1 เทคโนโลยีกบั มนษุ ย Overview T2 T4 • เทคโนโลยีคืออะไร T3 T5-T7 • แนวคิดหลกั ของเทคโนโลยี T8-T12 • ระบบทางเทคโนโลยี T20 T21 T13-T17 • ผลกระทบและการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี T18 ทา้ ยหน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 T19 หนว ยการเรียนรูท่ี 2 กระบวนกำรออกแบบ T22 เชิงวศิ วกรรม T23-T36 • กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม T37-T40 • ววิ ฒั นาการของเทคโนโลยี ท้ายหน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 2 T41 หนว ยการเรียนรทู ่ี 3 ผลงำนออกแบบเทคโนโลยี T42 T43 T44 T45-T51 • การเลอื กใช้วัสดุ อุปกรณ ์ และเครอ่ื งมอื T52-T64 • กรณศี กึ ษาผลงานการออกแบบและเทคโนโลยี T65 ทา้ ยหนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 บรรณำนุกรม T66

Chapter Overview แผนการจดั สื่อท่ีใช้ จดุ ประสงค์ วิธสี อน ประเมนิ ทกั ษะท่ีได้ คุณลักษณะ การเรยี นรู้ - แบบทดสอบกอ่ นเรียน อนั พึงประสงค์ แผนฯ ท่ี 1 - หนังสือเรียนรายวชิ า แนวคิดหลกั 1. อ ธิบายความหมายของ แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบทดสอบ - ทักษะการ - มวี ินัย ของเทคโนโลยี พ้ืนฐาน เทคโนโลยี เทคโนโลยแี ละแนวคิด หาความรู้ (5Es กอ่ นเรียน แก้ปญั หา - ใฝ่เรยี นรู้ และระบบทาง (การออกแบบและ หลักของเทคโนโลยี Instructional - ตรวจใบงาน - ท ักษะการคดิ อย่าง - ม ุ่งมั่นในการ เทคโนโลยี เทคโนโลย)ี ม.1 ในชวี ิตประจำ� วนั ได้ (K) Model) - ส ังเกตพฤติกรรม มีวจิ ารณญาณ ท�ำงาน 2. บอกรูปแบบเทคโนโลยี การนำ�เสนอผลงาน - ทักษะการสงั เกต 3 - แบบทดสอบหลังเรียน ประเภทของเทคโนโลยี - สงั เกตพฤติกรรม - ทักษะการน�ำ - หนังสือเรยี นรายวชิ า และองคป์ ระกอบของ การทำ�งานรายบุคคล ความรไู้ ปใช้ ชัว่ โมง ระบบทางเทคโนโลยี - สงั เกตพฤตกิ รรม พน้ื ฐาน เทคโนโลยี ได้ (K) การทำ�งานกลุ่ม แผนฯ ที่ 2 (การออกแบบและ 3. อ ธิบายเกี่ยวกบั - สังเกตคณุ ลักษณะ ผลกระทบ เทคโนโลย)ี ม.1 ระบบการทำ� งานของ อันพงึ ประสงค์ และการ เทคโนโลยไี ด้ (P) เปลี่ยนแปลง 4. วิเคราะหส์ าเหตุหรือ ของเทคโนโลยี ปจั จัยท่สี ง่ ผลตอ่ การ เปล่ยี นแปลงของ 1 เทคโนโลยไี ด้ (P) 5. เหน็ คุณประโยชน์ของ ชั่วโมง การเรียนวชิ า การออกแบบและ เทคโนโลยีและตระหนกั ในคุณคา่ ของความรู้ ทางเทคโนโลยีที่ใช้ใน ชีวิตประจำ� วัน (A) 1. ระบปุ ญั หาหรอื ความ แบบสบื เสาะ - ต รวจแบบทดสอบ - ท ักษะการ - มวี ินยั ต้องการที่เกี่ยวข้องกับ หาความรู้ (5Es หลงั เรียน แก้ปญั หา - ใฝ่เรียนรู้ เทคโนโลยใี นชวี ติ ประจำ� Instructional - ต รวจใบงาน - ทกั ษะการคดิ อยา่ ง - มงุ่ ม่นั ในการ วันได้ (K) Model) - ต รวจการนำ�เสนอ มวี ิจารณญาณ ทำ� งาน 2. รวบรวม วเิ คราะห์ ผลงาน - ทักษะการสังเกต ข้อมลู และแนวคิดที่ - สังเกตพฤตกิ รรม - ท กั ษะการน�ำ เกย่ี วข้องกับปัญหาที่ การทำ�งานกลุม่ ความรู้ไปใช้ เกิดจากเทคโนโลยใี น - สังเกตคณุ ลักษณะ ชีวิตประจ�ำวนั ได้ (P) อนั พึงประสงค์ 3. ตระหนักถงึ ผลกระทบ ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกบั ปญั หา และการเปลย่ี นแปลง ทีเ่ กดิ จากเทคโนโลยี ในชีวิตประจำ� วัน และ เสนอแนวทางในการ แก้ไขปญั หา และการ เปลย่ี นแปลงท่เี กดิ จาก เทคโนโลยีใน ชวี ติ ประจ�ำวนั (A) T2

Chapter Concept Overview หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 เทคโนโลยคี ืออะไร แนวคดิ หลักของเทคโนโลยี 1. ความหมายของเทคโนโลยี 1. การพัฒนาแนวทางปฏบิ ัติในการแก้ปัญหา หมายถึง ส่ิงที่มนุษย์สร้างขึ้นเพ่ือแก้ปัญหาหรือสนองความ 2. การตอบสนองความจ�ำเปน็ และความตอ้ งการของมนุษย์ ต้องการในชีวติ ประจ�ำวัน 3. ประเภทของเทคโนโลยี 2. รปู แบบของเทคโนโลย ี 1) เทคโนโลยีการศกึ ษา 1) ผ ลติ ภณั ฑ์ คอื เทคโนโลยที เี่ ปน็ ชน้ิ งาน รวมถงึ วสั ดแุ ละอปุ กรณ์ 2) เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร 2) ก ระบวนการ คอื เทคโนโลยที เี่ ปน็ กระบวนการหรอื การจดั ระบบ 3) เทคโนโลยกี ารเงนิ และการธนาคาร 4) เทคโนโลยสี ิง่ แวดลอ้ ม ข้ันตอนในการทำ� งาน 5) เทคโนโลยกี ารเกษตร 3) ผลติ ภณั ฑแ์ ละกระบวนการ คอื เทคโนโลยที ม่ี ลี กั ษณะผสมของ 6) เทคโนโลยกี ารแพทย์ ผลติ ภัณฑ์และกระบวนการ ระบบทางเทคโนโลยี 1. ระบบ หมายถงึ กลุ่มขององคป์ ระกอบต้ังแต่ 2 ส่วนขน้ึ ไป ทที่ �ำงานรว่ มกันภายใตว้ ตั ถุประสงค์เดียวกัน แบ่งได้ 2 ประเภท ดังนี้ 1) ระบบของธรรมชาติ หมายถงึ ระบบทีเ่ ปน็ ไปตามธรรมชาติ 2) ระบบทม่ี นษุ ยส์ รา้ งขึน้ หมายถึง ระบบท่มี นษุ ย์สร้างขึ้นเพ่อื ตอบสนองความตอ้ งการในการด�ำเนินชวี ิต 2. ระบบทางเทคโนโลยี ประกอบด้วยตวั ป้อน กระบวนการ และผลผลิตท่ีสัมพันธ์กนั อาจมีขอ้ มูลยอ้ นกลบั ดว้ ย ระบบทางเทคโนโลยี 12 3 ตวั ป้อน กระบวนการ ผลผลติ (input) (process) (output) 4 ข้อมลู ยอ้ นกลบั (feedback) ภาพที่ 1.25 แผนภาพแสดงระบบทางเทคโนโลยี ผลกระทบและก1 าตรัวปเ้อปนล(inีย่ puนt)แปลงของเทคโนโลยี 2 กระบวนการ (process) 1. ดา้ นสงิ่ แวดล้อม มหมผี าลยใถนึงดา้ขน้อมบูลวหกรแือลสิ่งะทดี่ปา้ ้อนนลเบข้าตส่อู่รสะบิง่ บแวเดพล่ืออ้ใหม้ไใดน้ ธรรมชาหตมิายถึง ขั้นตอนหรือวิธกี ารดา� เนนิ การในระบบ เพือ่ ให้ ผลผลติ ออกมาตอบสนองความตอ้ งการหรอื ความจา� เปน็ ของ ได้มาซง่ึ ผลผลิตท่ีตอ้ งการ 2. ด้านเศรษฐกิจ มมนีผุษยล์กระทบกับระบบธุรกรรมทางการเงนิ 3. ดา้ นวฒั นธรรม มีผลกระทบต่อวิถกี ารดำ� รงชวี ติ และการทำ� งานของมนษุ ย์ 4. ด้านการเมอื ง 3มีอ หผิทมลธาผพิยลถติลึงก(ผoบั ลutทกpีไ่าuดtร)้จตากดั กสรนิะบใวจนทกาางรทกเ่ีากริดเขม้นึ อื ในงรแะลบบะนอโายจบาย ก4ฎ หเขกม้อณามยูลฑถยึง้อ์ หนขกร้อลอืมับูลข ท(อ้ f่ีใeบชe้ปังd้อbคนaับcกkขล)ับอสงู่รระฐั บบ เพื่อให้ระบบเกิด ได้มาซ่ึงผลิตภัณฑ์หรือการท�างานใหม่ ๆ เพื่อช่วยให้การ การท�างานอย่างสมบูรณ์หรือบรรลุตามความต้องการ โดย ทา� งานมีประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลมากข้นึ ระบบแต่ละระบบอาจจะมีข้อมูลย้อนกลับหรือไม่มีข้อมูล T3 ย้อนกลับก็ได้

นาํ นํา สอน สรปุ ประเมนิ ขนั้ นาํ กระตนุ้ ความสนใจ 1. ครูใหนักเรียนดูที่ค้ันน้ํามะนาว แลวสอบถาม นกั เรยี นวา สงิ่ ประดษิ ฐช ้นิ นคี้ อื อะไร มีความ สําคัญกับการใชชีวิตของนักเรียนหรือไม อยา งไร 2. ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ ใหน กั เรยี นเขา ใจวา ทคี่ นั้ นา้ํ มะนาวเปนเทคโนโลยีใกลตัวที่ถูกสรางขึ้นมา เพอ่ื อาํ นวยความสะดวกในการใชชีวิตของเรา 3. ครูใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางสิ่งประดิษฐ ใกลตัวท่ีนักเรียนรูจัก พรอมท้ังอธิบายวา ส่ิงประดิษฐนั้นเปนเทคโนโลยีใกลตัวที่ชวย อํานวยความสะดวกในการใชชีวิตประจําวัน ของนักเรยี นอยา งไร 4. ครูต้ังคําถามถามนักเรียนวา รูหรือไมวา เทคโนโลยีคืออะไร โดยใหนักเรียนรวมกัน อภิปรายเพ่อื หาคาํ ตอบอยา งอิสระ เกร็ดแนะครู การจัดการเรียนการสอนในหนวยการเรยี นรูท่ี 1 ครคู วรจดั การเรยี นรูเพ่อื เนนใหนักเรียนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับความสําคัญของเทคโนโลยีกับการ ดําเนินชีวิตของมนุษย โดยใชกระบวนการถามตอบ การทาํ งานรว มกันเปนกลมุ การศกึ ษาคน ควา และการอภปิ รายรว มกนั เพอื่ ใหน กั เรยี นเกดิ ความรคู วามเขา ใจ ในเนื้อหาทเ่ี รยี นอยางแทจริง T4

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ 2 1 ขน้ั สอน สาํ รวจคน้ หา 1. ครถู ามคาํ ถามสาํ คญั ประจาํ หวั ขอ วา เทคโนโลยี เก่ียวของกับชีวติ ประจําวันของมนษุ ยอ ยางไร 2. ครูใหนักเรียนแบงกลุม แลวใหแตละกลุม รวมกันศึกษาและสืบคนขอมูลวา เทคโนโลยี คืออะไร 3. ครูสุมถามตัวแทนแตละกลุมใหอธิบายวา เทคโนโลยคี อื อะไร จนครบทกุ กลมุ โดยครคู อย อธบิ ายเสริมขอ มลู ท่ถี กู ตอ ง 4. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวา เทคโนโลยีคือ อะไร โดยครูคอยช้ีประเด็นใหนักเรียนสรุปวา เทคโนโลยี คอื สง่ิ ที่มนุษยส รางหรือพัฒนาขึ้น เพอ่ื ใชใ นการแกป ญ หา ตอบสนองความตอ งการ หรอื เพมิ่ ความสามารถในการทาํ งานของมนษุ ย ซงึ่ อาจเปน ไดทง้ั ช้นิ งานหรือวธิ ีการ ขอ สอบเนน การคิด แนวตอบ คําถามสาํ คัญประจาํ หวั ข้อ ขอใดไมใ ชประโยชนของเทคโนโลยีในชีวติ ประจาํ วัน เทคโนโลยเี กย่ี วขอ งกบั ชวี ติ ประจาํ วนั ของมนุษย 1. ตาลสงงานผาน e-mail อยูตลอดเวลา เน่อื งจากในการดาํ รงชวี ติ ประจําวัน 2. ตองโทรศัพทห าแมท ีอ่ ยตู างจังหวดั มนุษยตอ งพบกบั ปญ หาตางๆ มากมาย จึงตองคดิ 3. โบขาดการออกกําลังกายเน่ืองจากเลน Facebook เปน หาแนวทางในการแกป ญ หาทง้ั แบบวธิ กี ารหรอื สรา ง ประจาํ ทุกวัน ชิ้นงาน ทําใหการดํารงชีวิตมีความสะดวกสบาย 4. โอใชโปรแกรม PowerPoint มาสอนนักเรยี นทาํ ใหนักเรยี น มากขึ้น เขาใจมากขึ้น เกร็ดแนะครู (วิเคราะหค ําตอบ เทคโนโลยีมีประโยชนตอชีวิตประจําวันของ เรามากมาย เชน เพม่ิ ความสะดวกสบายตั้งแตส วนบุคคล จนถงึ ครูอาจใหนักเรียนชวยกันคนหาตัวอยางผลงานการออกแบบเทคโนโลยีท่ี การคมนาคมและสือ่ สารท่ัวโลก เปน แหลงความบนั เทงิ ทาํ ใหเ กิด นา สนใจหลายๆ แบบ แลว นาํ มาอภปิ รายรว มกนั วา ผลงานการออกแบบดงั กลา ว ความเทา เทียมกนั ในสังคม แตห ากเราใชเ ทคโนโลยมี ากไปหรอื ใช มคี วามนา สนใจและชว ยแกป ญ หาหรอื สรา งความสะดวกสบายในการดาํ เนนิ ชวี ติ ผดิ วธิ ีกจ็ ะทาํ ใหเกดิ โทษเชนกนั ดังน้ัน ตอบขอ 3.) ของมนุษยอ ยางไร นักเรียนควรรู 1 ชน้ิ งาน (product) คอื สงิ่ ใดๆ ทท่ี าํ ขน้ึ มาเพอื่ ตอบสนองความจาํ เปน หรอื ความตองการของมนษุ ยใ หไดรับความพงึ พอใจ 2 วธิ กี าร (process) หมายถงึ ขน้ั ตอนการทาํ สงิ่ ใดสงิ่ หนงึ่ ตง้ั แตต น จนสาํ เรจ็ หรือขั้นตอนการแกปญหาหรือตอบสนองตอความตองการ ซ่ึงจะกอใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงจากทรพั ยากรใหเ ปนผลผลิตหรอื ผลลัพธ T5

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั สอน 1.1 ความหมายของเทคโนโลยี สาํ รวจคน หา เทคโนโลยี (technology) มีรากศัพทมาจากคาํ วา Texere ในภาษาละตนิ ที่แปลวา การสราง (to construct) การสาน (to weave) และเทคโนโลยี ยังมาจากคําวา Technologia ในภาษากรีกที่แปลวา การทําอยางมีระบบ 5. ครูใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันศึกษาและ (systematic treatment) โดยในป พ.ศ. 2372 เจคอบ บิเกโลว (Jacob Bigelow) ไดนําคาํ วา เทคโนโลยี มาใช สบื คน ขอ มลู เกย่ี วกบั ความหมายและววิ ฒั นาการ คร้งั แรก โดยนํามาใชอ ธิบายถงึ การประยกุ ตใชว ิทยาศาสตร เมื่อเทคโนโลยีไดถ กู นํามาใชอ ยางแพรห ลายจงึ มีแหลง ของเทคโนโลยี ขอ มลู หลายแหลงไดกาํ หนดความหมายไว ดงั ตอ ไปน้ี 6. นกั เรยี นแตล ะกลมุ นาํ ขอ มลู ทสี่ บื คน ไดม ารว มกนั ความหมายของเทคโนโลยี อภปิ ราย แลว สรปุ ลงในกระดาษ A4 นาํ สง ครู เพื่อตรวจสอบความถกู ตอง จากรากศพั ทใ นภาษาละตนิ เทคโนโลยี หมายถงึ สงิ่ ทมี่ นษุ ยส รา งหรอื พฒั นาขนึ้ เพอ่ื แกป ญ หา สนองความตอ งการ หรอื เพมิ่ ความสามารถในการทาํ งานของมนษุ ย 7. ครูต้ังคาํ ถาม แลวสุมตวั แทนกลมุ ตอบคําถาม จากพจนานกุ รม ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2554 เทคโนโลยี หมายถงึ วทิ ยาการท่นี ําเอาความรทู างวิทยาศาสตร ดงั นี้ มาใชใหเกดิ ประโยชนในทางปฏิบตั ิ อตุ สาหกรรม เปนตน • ววิ ฒั นาการของเทคโนโลยมี ขี ดี จาํ กดั หรอื ไม จากหนว ยงาน Technology and Engineering bring STEM to Life (ITEEA) เทคโนโลยี คือ อยา งไร นวตั กรรมของมนุษย (แนวตอบ ไมม ขี ดี จาํ กดั เพราะมนษุ ยม ปี ญ หา จากพจนานุกรมภาษาองั กฤษของโคลิน (Collins English Dictionary) เทคโนโลยี คอื ความรู และความตองการความสะดวกสบายอยู และทักษะท่ีมีตอ สังคมของมนุษย ตลอดเวลา จงึ ทาํ ใหม นษุ ยพ ฒั นาเทคโนโลยี ใหมอ ยูต ลอดเวลา) โดยปกตแิ ลว เมือ่ มนุษยพบปญหาในชวี ติ ประจาํ วัน มนุษยก็จะหาวิธแี กปญ หา เพอื่ นาํ มาสรางสิง่ ท่นี าํ มาใชแ ก • สาเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ปญ หา เมอ่ื วนั เวลาผา นไปความตอ งการของมนษุ ยเปล่ียน มนษุ ยก จ็ ะพัฒนาเทคโนโลยใี หม ๆ โดยใชก ารออกแบบ ทางเทคโนโลยคี ืออะไร จากเทคโนโลยีท่ีมีอยเู ดมิ เปน จุดเรมิ่ ในการพัฒนาและไมว า มนุษยจะสรางเทคโนโลยอี อกมามากเพยี งใด เทคโนโลยี (แนวตอบ ความตองการความสะดวกสบาย ของมนุษย ปญหาท่ีเกิดขึ้นใหม พัฒนา ในปจ จบุ• นั นววิีแ้ ัฒละนใานกอานราขคอตงกเค็ยรงั ือ่คงงเจขะียถนกู1สรา งหรอื พัฒนาออกมาอยา งไรขีดจํากดั ดงั ตวั อยา งตอ ไปน้ี เทคโนโลยเี ดิมใหม ปี ระสิทธภิ าพมากขนึ้ ) • การวิวัฒนาการเทคโนโลยีมีความจําเปน ภาพที่ 1.2 ววิ ฒั นาการของเคร่ืองเขียน ตอการดาํ รงชีวิตของมนษุ ยหรอื ไม อยา งไร (แนวตอบ จําเปน เพราะปญหาและความ • วิวฒั นาการของโทรศัพท ตอ งการของมนษุ ยม ีมากขึ้น จงึ จําเปน ตอง พัฒนาเทคโนโลยดี ั้งเดมิ ทีม่ ีอยูใหด ีขึน้ ) ค.ศ. 1876 1931 1942 1992 2017 1919 1939 1963 2003 ภาพที่ 1.3 ววิ ฒั นาการของโทรศัพท 4 เกร็ดแนะครู ขอ สอบเนน การคดิ ครูควรใหนักเรียนแบงกลุมทํารายงานเก่ียวกับพัฒนาการของเทคโนโลยี เทคโนโลยีมีความสัมพนั ธก ับขอ ใดมากท่ีสุด ระดับสูงในปจจุบันวามีเทคโนโลยีดานใดบาง มีความสําคัญตอการดําเนินชีวิต 1. นําความรูมาสรางช้ินงานโดยผานกระบวนการ เพ่ือเพิ่ม ของมนษุ ยอยา งไร แลว ใหนกั เรียนออกมานาํ เสนอทห่ี นา ชั้นเรยี น ประสิทธิภาพของงาน 2. นาํ ทรพั ยากรมาสรา งชิ้นงานโดยผา นกระบวนการ เพอื่ เพมิ่ นักเรียนควรรู ประสทิ ธภิ าพของงาน 3. นาํ ความรแู ละทรพั ยากรมาสรา งชน้ิ งานโดยผา นกระบวนการ 1 ววิ ฒั นาการของเครอื่ งเขยี น ในป ค.ศ.1884 Lewis Edson Waterman ไดผ ลติ เพ่ือเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพของงาน ปากกาทมี่ หี มกึ ในตวั เรยี กวา ปากกาหมกึ ซมึ (fountain pen) ทรี่ ฐั นวิ ยอรก ประเทศ 4. นาํ ความรู ทกั ษะ และทรัพยากรมาสรางชิน้ งาน โดยผาน สหรัฐอเมริกา จึงถือวา Waterman เปนบิดาแหงการประดิษฐปากกาหมึกซึม กระบวนการ เพือ่ แกปญหา สนองความตองการ และเพิ่ม มกี ารคดิ คนพฒั นาปากกาชนิดนใี้ หมีคณุ ภาพดขี ึน้ สะดวกในการใชงาน และมี ประสิทธภิ าพของงาน รปู ทรงสวยงาม ผลติ ในระดบั อตุ สาหกรรมทงั้ ในทวปี อเมรกิ า ยโุ รป และญป่ี นุ และ (วิเคราะหคําตอบ เทคโนโลยี คือ การนําความรู ทักษะ และ ประเทศอน่ื ๆ สบื ตอมาจนถงึ ปจ จุบนั ทรัพยากรมาสรางชิ้นงานโดยผานกระบวนการ เพื่อแกปญหา T6 สนองความตอ งการใหก ารทํางานดขี น้ึ เปนการเพม่ิ ประสทิ ธิภาพ ของงานใหมากยง่ิ ข้นึ ดงั นน้ั ตอบขอ 4.)

นํา สอน สรปุ ประเมิน ขน้ั สอน สาํ รวจคน้ หา 8. ใหน กั เรียนแตละกลมุ รว มกันศกึ ษาและสบื คน ขอมูลเก่ียวกับรูปแบบของเทคโนโลยี แลวนํา ขอมูลที่สืบคนไดมารวมกันอภิปรายและสรุป เปน ผังมโนทศั นล งในกระดาษ A4 อธบิ ายความรู้ 1 1. ครูใหนักเรียนแตละกลุมออกมานําเสนอ ผลงานทีละกลุม โดยใชวิธีการสุมเลขท่ีของ สมาชิกภายในกลมุ 2. นกั เรยี นรว มกนั อภปิ รายความรเู กยี่ วกบั รปู แบบ ของเทคโนโลยี โดยครูคอยอธิบายความรู เพม่ิ เตมิ ใหถ กู ตอ งสมบรู ณ ขยายความเขา้ ใจ 1. ครูอธิบายเพิ่มเติมเพื่อขยายความเขาใจ ของนักเรียนเกี่ยวกับรูปแบบของเทคโนโลยี ในแตละหวั ขอ 2. ครูใหนักเรียนศึกษาความรูเพิ่มเติมเก่ียวกับ รปู แบบของเทคโนโลยจี ากแหลง เรียนรูอื่นๆ ขน้ั สรปุ ตรวจสอบผล 1. ครูใหนักเรียนรวมกันสรุปเก่ียวกับความหมาย และรูปแบบของเทคโนโลยี 2. ครูตรวจความถูกตองของผังมโนทัศนของ นกั เรียนแตละกลมุ 3. ครูใหน กั เรียนทาํ แบบฝกหัด หนา 2-4 กิจกรรม 21st Century Skills นักเรียนควรรู 1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-4 คน จากนั้นชวยกันสํารวจ 1 หนงั สอื อเิ ล็กทรอนกิ ส หรอื e-book ยอมาจากคาํ วา electronic book เทคโนโลยีท่พี บในชวี ติ ประจําวนั หมายถงึ หนงั สอื ทสี่ รา งขนึ้ ดว ยโปรแกรมคอมพวิ เตอร มลี กั ษณะคลา ยหนงั สอื จรงิ สามารถเปดอานไดในเคร่ืองคอมพิวเตอร และมีลักษณะพิเศษ คือ สามารถ 2. นําขอมูลท่ีไดมาวิเคราะหและจําแนกตามประเภทของรูปแบบ สื่อสารกับผูอานในลักษณะของมัลติมีเดียได ไดแก ขอความ ภาพนิ่ง ภาพ ทางเทคโนโลยี เคล่อื นไหว และเสียง 3. นําขอมูลที่จําแนกแลวมาจัดทําเปนแผนพับเสริมความรู เร่ือง รูปแบบของเทคโนโลยีทใี่ ชใ นชวี ิตประจําวัน พรอ มทงั้ ออกแบบ และตกแตงใหส วยงาม 4. แตล ะกลุมสงตวั แทนออกมานาํ เสนอผลงาน จากน้นั นําผลงาน ไปจดั แสดงตามบรเิ วณตา งๆ ของโรงเรยี นเพื่อเผยแพรความรู T7

นาํ นํา สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั นาํ ขอ สอบเนน การคดิ ขอ ใดไมใชการใชกรรไกรเปนเทคโนโลยีในการแกปญหา กระตนุ้ ความสนใจ ก. กิ่งใชไขควงขันสกรขู องกรรไกรท่ีหลวมใหแ นนข้นึ ข. โกใชหินลบั มีดลบั กรรไกรใหค มเพ่อื นําไปตดั แผนพลาสติกใส 1. ครูถามนักเรียนวา เทคโนโลยีชวยในการแก ค. ไกใ ชก รรไกรตดั เศษดา ยทย่ี ่ืนออกมาจากตัวตุกตาประดิษฐ ปญหาอยางไร ง. เกใชกรรไกรตัดกระดาษสีทําดอกไมตกแตงกระดานหนา ชนั้ เรียน 2. ครอู ธบิ ายเพมิ่ เตมิ วา ทเ่ี ทคโนโลยสี ามารถชว ย 1. ขอ ก. และ ค. 2. ขอ ข. และ ง. ในการแกปญหาตางๆ ได เพราะเทคโนโลยี 3. ขอ ก. และ ข. 4. ขอ ค. และ ง. เกดิ จากการนาํ ความรู ทกั ษะ และทรพั ยากรมา สรางเปนผลิตภัณฑหรือสรางสรรควิธีการ (วเิ คราะหคาํ ตอบ ก่ิงใชไขควงเปนเทคโนโลยีในการแกปญหา สําหรับใชใ นการแกป ญหาของมนุษย โกใชห นิ ลับมดี เปน เทคโนโลยใี นการแกปญหา ดงั น้นั ตอบขอ 3.) ขน้ั สอน สาํ รวจคน้ หา 1. ใหนักเรียนแบงกลุม แลวรวมกันศึกษาและ สบื คน ขอ มลู เกยี่ วกบั แนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยี แลวอภิปรายเก่ียวกับขอมูลท่ีสืบคนไดรวมกัน ภายในกลุม 2. ใหน กั เรยี นแตล ะกลมุ แบง เปน กลมุ ยอ ย 2 กลมุ แลวแบงหนาท่ีเพ่ือรวมอภิปรายในหัวขอ แนวคิดหลักของเทคโนโลยีที่เกิดจากการ พัฒนาแนวทางปฏิบัติในการแกปญหา และ แนวคิดหลักของเทคโนโลยีที่เกิดจากการ ตอบสนองความจําเปนและความตองการ ของมนุษยบ ริเวณท่ีครูกาํ หนดให ภายในเวลา 5 นาที 3. สมาชิกของแตละกลุมกลับเขากลุมเดิม แลว ผลัดกันอธิบายความรูท่ีไดจากการรวม อภปิ รายกบั กลมุ อนื่ จากนนั้ รว มกนั สรปุ เกย่ี วกบั แนวคิดหลกั ของเทคโนโลยี พรอมยกตัวอยาง ประกอบ แนวตอบ คาํ ถามสําคญั ประจําหัวขอ้ ชว ยประหยดั เวลาในการทาํ งาน ชว ยสรา งงาน ทม่ี คี ณุ ภาพ ชว ยใหท าํ งานไดใ นปรมิ าณมาก ชว ยให สะดวกสบาย เกร็ดแนะครู ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจถึงการพัฒนาแนวทางปฏิบัติในการแกปญหา ทางเทคโนโลยีวา เปนกระบวนการที่นําเทคโนโลยีที่เกิดข้ึนหรือพัฒนาข้ึน ในสถานท่ีหนงึ่ เพือ่ วตั ถปุ ระสงคอ ยา งหนงึ่ ไปใชกับสถานทีอ่ ื่นในวตั ถุประสงค เดียวกัน หรือเพื่อวัตถุประสงคท่ีแตกตางกันออกไป โดยองคประกอบของ การพฒั นาแนวทางปฏบิ ตั ใิ นการแกป ญ หาทางเทคโนโลยจี ะตอ งประกอบไปดว ย • Know how คอื องคความรูห รอื ประสบการณต า งๆ • Show how คอื การฝก ทกั ษะคาํ แนะนาํ ตา งๆ ทชี่ ว ยในการใชอ งคค วามรู ไดอ ยา งชํานาญหรืออยางมีประสทิ ธภิ าพ • Utilization คอื การนาํ องคค วามรูท ่ีไดไ ปใชใ หเกิดประโยชน T8

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ 1 ขนั้ สอน ขอ สอบเนน การคดิ สาํ รวจคน้ หา บคุ คลใดตอไปนเ้ี ลือกใชเ ทคโนโลยีอยางชาญฉลาด 4. ตัวแทนกลุมแตละกลุมออกมาสรุปความรู 1. โอเลือกใชเทคโนโลยีที่มีราคาแพงและสามารถปรับเปล่ียน เก่ียวกับแนวคิดหลักของเทคโนโลยีหนา ไดในราคาสงู ช้ันเรียนทีละกลุม โดยครูคอยอธิบายเพ่ิมเติม 2. ออยเลือกใชเทคโนโลยีระดับสูงท่ีมีความยุงยากซับซอน ขอมูลที่ไมส มบูรณจนถูกตอ ง แบบมอื อาชพี 3. อารม เลอื กใชเ ทคโนโลยที สี่ ะดวกสบายและตอบสนองความ 5. ครตู ้ังคําถามใหนกั เรียนชวยกนั ตอบ ดังนี้ ตอ งการของตนเอง • แนวคดิ หลักของเทคโนโลยเี กดิ จากอะไร 4. แอนเลือกใชเทคโนโลยีท่ีสามารถนําทรัพยากรในทองถ่ิน (แนวตอบ มาบรหิ ารจัดการแบบครบวงจร 1. การพัฒนาแนวทางปฏิบัติในการแก (วเิ คราะหคาํ ตอบ การเลอื กใชเ ทคโนโลยอี ยา งชาญฉลาด จะตอ ง ปญหา 2. การตอบสนองความจําเปนและความ คํานึงถึงความเหมาะสมและผลที่จะเกิดข้ึนตอชีวิต สังคม และ ตองการของมนษุ ย) สงิ่ แวดลอ ม โดยมหี ลกั การเลอื กใช คอื มคี ณุ ภาพ มคี วามคมุ คา มี • ปจ จยั สาํ คญั สาํ หรบั ผทู น่ี าํ เทคโนโลยมี าใชใ น ความสะดวก มคี วามปลอดภยั สงู และสามารถใชว สั ดใุ นทอ งถน่ิ ได การแกป ญหาไดแ กปจ จยั ใดบาง ดังนัน้ ตอบขอ 4.) (แนวตอบ 1. ความรู คือ ขอมลู ที่เราจําเปนตอ งรกู อน เริม่ สรางหรอื ทาํ บางสิง่ 2. ทกั ษะ คอื สงิ่ ทผี่ ใู ชเ ทคโนโลยจี าํ เปน ตอ งมี เพื่อที่จะสามารถผลิตบางส่ิงหรือสราง บางส่งิ ได 3. ทรพั ยากร คอื วสั ดุ อปุ กรณ หรอื เครอื่ งมอื ที่จําเปนท่ีนํามาใชสรางสิ่งท่ีชวยแก ปญ หา) • เทคโนโลยีที่สรางข้ึนเพ่ือสนองความจําเปน และสนองความตองการของมนุษยมีความ แตกตา งกันอยา งไร (แนวตอบ เทคโนโลยีที่สรางข้ึนเพ่ือสนอง ความจําเปน (needs) คือ เทคโนโลยีที่ มนุษยขาดไมได สรางขึ้นมาเพื่อชวยให มนุษยสามารถดํารงชีวิตอยูได เทคโนโลยี ที่สรางขึ้นเพ่อื สนองความตองการ (wants) คือ เทคโนโลยีที่มนุษยขาดได สรางขึ้นมา เพื่อชว ยใหม นษุ ยดํารงชวี ิตไดสะดวกขน้ึ ) เกร็ดแนะครู ครูสุมถามนักเรียนเปนรายบุคคลเก่ียวกับสิ่งท่ีจําเปนและส่ิงที่ตองการ หรอื หาตวั อยา งบตั รภาพสง่ิ ตา งๆ มาใหน กั เรยี นดู เพอื่ ฝก ฝนใหน กั เรยี นสามารถ บอกไดว า สง่ิ นน้ั เปน สง่ิ ทจ่ี าํ เปน หรอื สง่ิ ทตี่ อ งการ พรอ มทงั้ สามารถอธบิ ายเหตผุ ล ประกอบได เพอ่ื ใหน กั เรยี นมีความเขา ใจทถ่ี ูกตองตรงกนั นักเรียนควรรู 1 บา น อาหาร เสอ้ื ผา ยารกั ษาโรค คอื ปจ จยั 4 เปน สง่ิ ทม่ี นษุ ยจ าํ เปน ตอ การ ดาํ รงชวี ติ โดยไมต อ งพงึ่ สงิ่ อาํ นวยความสะดวกอน่ื ๆ และมนษุ ยไ มส ามารถขาดได เพราะเม่ือขาดแลวอาจสงผลตอการดําเนนิ ชีวิต T9

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั สอน อธบิ ายความรู้ 1. ครสู มุ นกั เรยี นยกตวั อยา งเทคโนโลยที เี่ กดิ จาก การพัฒนาแนวทางปฏิบัติในการแกปญหา และเทคโนโลยีท่ีเกิดจากการตอบสนองความ จาํ เปนและความตอ งการของมนษุ ย 2. ครูอธิบายความรูเพิ่มเติมจนนักเรียนมีความรู ความเขา ใจทตี่ รงกนั และตงั้ คาํ ถามใหน กั เรยี น ชวยกนั ตอบ ดังนี้ • ส่ิงท่ีจําเปนมีความสําคัญตอการดํารงชีวิต อยา งไรบา ง (แนวตอบ ชวยใหมนุษยสามารถดํารงชีวิต อยไู ดโดยไมตองพบกบั ความยากลาํ บาก) • สิ่งที่ตองการใดบางที่นักเรียนคิดวาจําเปน ตอ งมี เพราะอะไร (แนวตอบ นกั เรยี นสามารถตอบไดห ลากหลาย) 3. นกั เรยี นทาํ กจิ กรรม Design Activity ในหนา 8 4. ครูสุมถามนักเรียนเปนรายบุคคลทีละภาพ จนครบทุกภาพ โดยระหวางท่ีนักเรียนตอบ ใหเ พอื่ นนกั เรยี นคนอน่ื รว มกนั พจิ ารณาคาํ ตอบ เพ่ือตรวจสอบความถูกตอง และรวมกัน อภปิ รายเพ่อื หาขอ สรปุ รวมกัน เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด หลังจากนักเรยี นทํากจิ กรรม Design Activity เสรจ็ แลว ครูอาจใหน ักเรยี น ขอใดคือสง่ิ ท่ีจําเปน สาํ หรบั มนษุ ย เลน เกมจาํ แนกสง่ิ ทจ่ี าํ เปน หรอื สง่ิ ทตี่ อ งการ โดยการแจกบตั รคาํ ทเี่ ขยี นชอ่ื สงิ่ ของ 1. เงนิ นาฬกา ตา งๆ ใหน กั เรยี นนาํ มาตดิ ใหต รงฝง เมอ่ื นกั เรยี นตดิ บตั รคาํ ครบทกุ คนแลว ใหช ว ย 2. โทรศัพท โทรทัศน กนั ตรวจสอบความถกู ตอ งของคาํ ตอบ และครคู อยอธบิ ายเพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั บตั รคาํ 3. ยารักษาโรค ทีอ่ ยูอาศยั ท่ีติดผิดฝง โดยกิจกรรมนี้เปนกิจกรรมท่ีจัดขึ้นเพื่อตรวจสอบความเขาใจของ 4. คอมพิวเตอร เครอ่ื งปรบั อากาศ นกั เรียนเกยี่ วกับส่งิ ทจ่ี าํ เปนหรอื ส่ิงทีต่ องการในการดําเนินชีวติ ของมนุษย (วเิ คราะหคาํ ตอบ ส่ิงท่ีจําเปน คือ สิ่งที่มนุษยขาดแลวจะไม สามารถดํารงชีวิตอยูได ทําใหมนุษยอาจเสียชีวิตหรือประสบกับ ความลาํ บาก น่ันคอื ปจจยั 4 ซึ่งประกอบดว ยอาหาร เครอ่ื งนงุ หม ทอี่ ยูอาศยั และยารักษาโรค ดังนนั้ ตอบขอ 3.) T10

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ 2.3 ประเภทของเทคโนโลยี ขนั้ สอน ในชีวิตประจ�าวันของเราจะพบว่า มีเทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้องเป็นอย่างมาก ท้ังที่เป็นเทคโนโลยีพ้ืนฐาน อธบิ ายความรู้ ธรรมดาไม่ซับซ้อนจนถึงเทคโนโลยีขั้นสูง ซึ่งเทคโนโลยีดังกล่าวได้เข้ามาช่วยพัฒนาและเพ่ิมประสิทธิภาพในการ ทา� งานของมนษุ ย์ 5. ใหน ักเรยี นแตละกลุมรว มกันศกึ ษาและสบื คน ขอ มลู เกย่ี วกบั ประเภทของเทคโนโลยี แลว สรปุ ตัวอยา่ ง ประเภทของเทคโนโลยี ความรเู ปน ผงั มโนทศั นล งในกระดาษ A4 ตาม ประเดน็ ดังนี้ เทคโนโลยีการศึกษา (Educational Technology) · 1) ความจาํ เปน ในการนาํ ไปใชใ นชวี ติ ประจาํ วนั • เปน็ การพฒั นาการเรยี นรใู้ หม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ ดว้ ยการ · 2) ประเภทของเทคโนโลยีที่พบบอยในชีวิต น�าเอาเทคโนโลยเี ขา้ มาประกอบการเรยี นการสอน ประจาํ วัน ตัวอยา่ ง · 3) ขอ จาํ กดั ในการใชเ ทคโนโลยแี ตล ะประเภท 6. นักเรียนแตละกลุมออกแบบวิธีการนําเสนอ การเอาระบบวิดีโอออนไลน์มาช่วยพัฒนาการเรียนรู้และ อ�านวยความสะดวกใหแ้ กผ่ เู้ รียน ผลงานท่นี า สนใจ 7. นักเรียนแตละกลุมผลัดกันออกมานําเสนอ ภาพท่ี 1.17 ระบบวดิ โี อออนไลน์ ผลงานตามที่ไดออกแบบเอาไวทีละกลุม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and จนครบทกุ กลุม เม่อื นําเสนอจบแลว ใหแตล ะ Communication Technology) กลมุ นาํ ผลงานไปตดิ ไวบ รเิ วณรอบๆ หอ งเรยี น 8. แตล ะกลุมคดั เลือกตัวแทน 1 คน เพ่อื อธบิ าย • เปน็ ววิ ฒั นาการของเทคโนโลยที ที่ า� ใหเ้ กดิ ชอ่ งทางการสอ่ื สาร เกี่ยวกับผลงานของกลุมตนเอง 9. ครูใหเ วลานักเรียนเดินตามเข็มนาฬก าเพื่อชม ใหม่ ที่สะดวกและประหยัดเวลา ไม่ว่าจะเป็นการใช้อีเมล ผลงานรอบบรเิ วณหอ ง เมอ่ื ไปหยดุ ทผี่ ลงานใคร (e-mail) และการสื่อสารผ่านเครือข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต กใ็ หต วั แทนกลมุ น้นั ทาํ หนา ที่อธิบาย ตัวอ1ย่าง การแชต (chat) ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ (social media) ต่าง ๆ เช่น เฟซบกุ๊ (facebook) เปน็ ต้น ภาพท่ี 1.18 ส่ือสังคมออนไลน์ เทคโนโลยกี ารเงนิ และการธนาคาร (Financial Technology) • เปน็ เทคโนโลยที ีเ่ ข้ามามีสว่ นช่วยทา� ใหธ้ ุรกรรมทางการเงิน สะดวกและมปี ระสทิ ธภิ าพมากข้นึ ตัวอยา่ ง การท�าธุรกรรมทางการเงนิ ออนไลน์ การเบกิ ถอนเงนิ จากตู้ กดเงินอัตโนมัติ (ATM: Auto Teller Machine) ภาพท่ี 1.19 การท�าธรุ กรรมทางการเงนิ 9เทคโนโลยี กับมนุษย์ ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู ขอใดไมใ ชก ารประยุกตใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศดานการศึกษา ครูควรใหนักเรียนคนควาประเภทของเทคโนโลยีเพิ่มเติมจากในบท 1. การใช e-learning เรียนโดยเฉพาะเทคโนโลยีใกลตัวในชีวิตประจําวัน เชน เทคโนโลยีอาหาร 2. การออกแบบปา ยชอ่ื นักเรียน เทคโนโลยชี วี ภาพ เทคโนโลยขี นสง เพ่ือใหนกั เรียนรูจักประเภทของเทคโนโลยี 3. การใชโ ปรแกรม PowerPoint มากขน้ึ 4. การจดั เกบ็ ขอ มูลประวัตินกั เรยี นในแผน ดสิ ก นักเรียนควรรู (วิเคราะหค ําตอบ การประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศดาน การศกึ ษา เปนการใชเทคโนโลยีสมยั ใหมหลายอยา ง สอนดวยส่ือ 1 การแชต (chat) คือ การพูดคุยออนไลนผานอินเทอรเน็ต โดยอาจใช อปุ กรณทท่ี นั สมยั หองเรยี นสมยั ใหม มีอุปกรณเ ครอื่ งฉายวดี ิทัศน โปรแกรมแตกตางกันไป เชน MSN, Google, Yahoo, Messenger, Skype เครอ่ื งคอมพวิ เตอร ระบบการอา นขอ มลู อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ บบตา ง ๆ หองสนทนา (chat room) คือ การสนทนาออนไลนอีกประเภทหน่ึง รูปแบบของสื่อที่นํามาใชในดานการเรียนการสอนก็มีหลากหลาย ทมี่ กี ารสงขอความถงึ กนั โตตอบกันไดอ ยา งรวดเรว็ แมไ มไ ดอยสู ถานทเี่ ดยี วกนั ขึ้นอยูกับความเหมาะสมในการนํามาใช เพ่ือใหการเรียนรูมี แลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ กนั ไดใ นทนั ที ไมจ าํ กดั อายแุ ละเพศ ซง่ึ การเขา ไปสนทนา ประสิทธิภาพยิ่งข้ึน ดังน้นั ตอบขอ 2.) เราจําเปน ตอ งเขา ไปในเว็บไซตท ่ีใหบริการหอ งสนทนา T11

นํา สอน สรุป ประเมิน ขน้ั สอน 1 ขยายความเขา้ ใจ 1. นักเรียนแตละคนกลับเขาประจํากลุม แลว รวมกันวิเคราะหเก่ียวกับความสําคัญของ เทคโนโลยีประเภทตางๆ กับการดํารงชีวิต ประจําวันของนักเรียน โดยรวมกันสรุปเปน ประเด็นใหครูบนั ทกึ บนกระดาน 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมวา นอกจากประเภทของ เทคโนโลยที อ่ี ยใู นบทเรยี น ยงั มเี ทคโนโลยอี นื่ ๆ อกี จาํ นวนมากทจ่ี าํ เปน ตอ การดาํ เนนิ ชวี ติ ของ มนุษย เนื่องจากมนุษยทุกคนตองการความ สะดวกสบาย ดังน้ัน เราจึงพบเทคโนโลยีได ตลอดเวลา 3. ครใู หน กั เรยี นทาํ ใบงาน เรอื่ ง แนวคดิ หลกั ของ เทคโนโลยแี ละระบบทางเทคโนโลยี ขอ 1. และ ขอ 2. ขน้ั สรปุ ตรวจสอบผล 1. ครใู หน กั เรยี นรว มกนั สรปุ เกย่ี วกบั ความสาํ คญั ของเทคโนโลยี 2. ครูตรวจสอบความถูกตองจากการทาํ ใบงาน 3. ครูใหนกั เรยี นทําแบบฝก หัด หนา 5-9 นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคดิ 1 รถยนตไฮบริด คือ รถท่ีมีแหลงกําเนิดของพลังงานมากกวา 1 แหง ขอใดคือประโยชนของเทคโนโลยีตอการพัฒนาอุตสาหกรรม หรือรถท่ีเกิดจากการรวมขอดีของแหลงพลังงานแตละชนิดเขาดวยกัน มากทสี่ ุด และหลีกเล่ียงหรอื ขจัดขอ เสยี ของแตละแหลงพลงั งานออกไป ซง่ึ รถยนตไ ฮบรดิ แตล ะประเภทแตกตางกนั อยบู า ง เชน ประเภทใชมอเตอรไ ฟฟา กบั เคร่อื งยนต 1. ประหยดั เวลา ประเภทเผาไหมภ ายใน หรือใชเ คร่ืองยนตกบั ลอ ชว ยแรง หรอื มอเตอรไฟฟากบั 2. รกั ษาสิง่ แวดลอ ม ลอชว ยแรง 3. ลดตน ทนุ การผลิต 4. เพมิ่ ประสิทธิภาพในการผลติ T12 (วิเคราะหค าํ ตอบ ประโยชนของเทคโนโลยีตอการพัฒนา อุตสาหกรรม คือ การนําเทคโนโลยีมาใชในการผลิต ทําให ประสิทธิภาพในการผลิตเพิ่มขึ้น นอกจากน้ี ยังชวยประหยัด แรงงาน เวลา ลดตนทุนการผลิต และรักษาสิ่งแวดลอมอีกดวย เทคโนโลยีท่ีมีบทบาทในการพัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศไทย เชน คอมพิวเตอร อเิ ล็กทรอนกิ ส ดังน้ัน ตอบขอ 4.)

นาํ นาํ สอน สรปุ ประเมนิ กจิ กรรม สรา งเสรมิ ขน้ั นาํ ใหนักเรียนแบงเปน 4 กลมุ แตล ะกลมุ สืบคน ตวั อยา งระบบ กระตนุ้ ความสนใจ ของธรรมชาตมิ ากลมุ ละ 1 ตวั อยา งไมซ า้ํ กนั แลว วาดลงในกระดาษ A4 สงทายคาบเรยี น 1. ครูถามนักเรียนวา สวนใดของระบบทาง เทคโนโลยีที่ตอบสนองความตองการของ มนุษย 2. ครูใหนักเรียนอภิปรายคําตอบกันอยางอิสระ แลวบอกกับนักเรียนวา เราจะมาตรวจสอบ คาํ ตอบหลงั จากทเ่ี รยี นเรอ่ื งนจี้ บแลว ขนั้ สอน สาํ รวจคน้ หา 1. แบง นกั เรยี นออกเปน กลมุ กลมุ ละ 4-5 คน ให ชว ยกนั สบื คน ขอ มลู เกยี่ วกบั คาํ วา ระบบ จาก ทางอนิ เทอรเ นต็ ทเี่ ครอ่ื งคอมพวิ เตอรข องตนเอง 2. ครสู มุ นกั เรยี น 2-3 กลมุ ออกมานาํ เสนอขอ มลู ตามทไ่ี ดส บื คน มาหนา ชน้ั เรยี นและอธบิ ายความรู อธบิ ายความรู้ 1. ครูอธิบายความหมายและประเภทของระบบ ใหน กั เรียนฟง วา ระบบ หมายถึง การรวมกนั ของกลุมองคประกอบตาง ๆ ตั้งแต 2 สวน ขน้ึ ไป ทาํ งานรวมกันและเก่ยี วขอ งสมั พันธกัน เพ่ือเปาหมายหรือวัตถุประสงคเดียวกัน สามารถจําแนกได 2 ประเภท ดงั นี้ 1. ระบบ ของธรรมชาติ หมายถึง ระบบที่เปนไปตาม ธรรมชาติ เชน ระบบนเิ วศ ระบบตา ง ๆ ใน รางกายมนษุ ย แนวตอบ คําถามสําคัญประจาํ หวั ขอ้ ผลผลติ หรอื ผลลพั ธ เปน ผลทไี่ ดจ ากกระบวนการ แกปญหา เชน ผลติ ภัณฑหรือวธิ ีการใหมๆ ทส่ี นอง ความจําเปนในชีวิตประจําวันหรือความตองการ ของมนุษย ซ่ึงชวยใหสามารถทํางานไดอยางมี ประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลมากขน้ึ เกร็ดแนะครู ครูควรจัดการเรียนรูใหนักเรียนมีความเขาใจเก่ียวกับระบบทางเทคโนโลยี และสามารถวเิ คราะหร ะบบทางเทคโนโลยไี ด โดยใชท กั ษะกระบวนการดงั ตอ ไปนี้ • ทักษะความคิดสรางสรรคในการนําระบบทางเทคโนโลยีมาออกแบบ ช้นิ งานผลติ ภณั ฑ เพ่อื นํามาใชป ระโยชนใ นชวี ติ ประจําวนั • ทักษะการประยุกตใชความรูเก่ียวกับการเลือกใชเทคโนโลยีใหเช่ือมโยง สัมพันธกับวิชาอ่นื ๆ • ทักษะการแกปญหาที่เกิดขึ้นโดยการใชระบบทางเทคโนโลยีเขามาเปน ตวั ชวย สื่อ Digital T13 ศกึ ษาเพิ่มเตมิ ไดจากการสแกน QR Code เรื่อง เทคโนโลยีกับมนุษย

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขนั้ สอน อธบิ ายความรู้ 2 ครูอธิบายประเภทของระบบใหนักเรียนฟงวา 2. ระบบทม่ี นษุ ยส รา งขน้ึ หมายถงึ ระบบตา ง ๆ ทมี่ นษุ ยส รา งขน้ึ มาเพอ่ื ตอบสนองความตอ งการ หรือเปนเครื่องมืออํานวยความสะดวกในการ ดําเนินชีวิตในปจจุบัน เชน ระบบรถ ระบบ คอมพิวเตอร ระบบไฟฟา และระบบทาง เทคโนโลยี ซงึ่ ถอื ไดว า เปน ระบบทม่ี นษุ ยส รา งขนึ้ 3. ครอู ธบิ ายระบบทางเทคโนโลยใี หน กั เรยี นฟง วา ระบบทางเทคโนโลยี หมายถึง กลุมของสวน ตา ง ๆ ตงั้ แต 2 สว นขน้ึ ไป ประกอบเขา ดว ยกนั โดยแตละสวนทํางานรวมกันอยางเปนระบบ และสัมพันธกัน เพ่ือใหไดผลผลิตตาม วตั ถปุ ระสงคท ีต่ ัง้ ไว เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ ใหน กั เรยี นเขา ใจถงึ ปจ จยั เออื้ และปจ จยั ขดั ขวางตอ ระบบ ขั้นตอนใดในกระบวนการเทคโนโลยีท่ีมีสวนทําใหชิ้นงานมี เทคโนโลยี คือ ทรัพยากรท่ีใชสรางเทคโนโลยี เชน คนหรือแรงงานในระบบ ความสมบรู ณม ากท่ีสดุ เทคโนโลยี วสั ดุ อปุ กรณ เครอ่ื งมอื เครอ่ื งใชท ใี่ ชใ นกระบวนการ เวลา เงนิ ทนุ และ เทคนคิ หรอื วธิ กี าร ปจ จยั เหลา นเ้ี ปน สง่ิ สาํ คญั ในระบบเทคโนโลยี ถา มที รพั ยากร 1. ทดสอบ ทด่ี ี ผลลพั ธกจ็ ะออกมาดี แตถ าขาดทรัพยากรสงิ่ ใดสิ่งหนงึ่ ไปจากที่กลาวมาจะ 2. ประเมนิ ผล กลายเปนปจจัยขัดขวางตอระบบเทคโนโลยี ทําใหไดผลลัพธที่ไมเปนไปตาม 3. รวบรวมขอมูล ตองการหรอื ไมบรรลุจุดประสงคท ตี่ ง้ั ไว 4. เลอื กวิธกี ารแกป ญหา T14 (วเิ คราะหคําตอบ ประเมินผล เปนการตรวจสอบชิ้นงานวาตรง กับปญหาหรือความตองการหรือไม หากผลการประเมินพบวา ชิ้นงานไมสามารถแกปญหาได ควรพิจารณาวาจําเปนตองแกไข ในขน้ั ตอนใด เพอ่ื นาํ ไปปรบั ปรงุ ตามกระบวนการเทคโนโลยอี กี ครง้ั เพื่อทําใหช้ินงานมีประสิทธิภาพมากขึ้นและมีความสมบูรณ มากที่สดุ ดงั นัน้ ตอบขอ 2.)

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ 1 ระบบทางเทคโนโลยี ผลผลิต1 ขน้ั สอน ตวั ปอ้ น (input) 23 (output) อธบิ ายความรู้ กระบวนการ 4. ครูอธิบายระบบทางเทคโนโลยีใหนักเรียนฟง (process) ตอ วา ระบบทางเทคโนโลยปี ระกอบดว ย 4 สว น 4 ดังนี้ ข้อมูลย้อนกลบั · 1) ตัวปอน (feedback) 2) กระบวนการ 3) ผลผลิต ภาพท่ี 1.25 แผนภาพแสดงระบบทางเทคโนโลยี 4) ขอมูลยอ นกลบั 1 ตัวป้อน (input) 2 กระบวนการ (process) 5. ครูใหนักเรียนทําความเขาใจความหมายของ หมายถึง ข้อมูลหรือสิ่งที่ป้อนเข้าสู่ระบบ เพื่อให้ได้ หมายถึง ขน้ั ตอนหรือวิธกี ารดา� เนนิ การในระบบ เพอื่ ให้ สวนประกอบของระบบทางเทคโนโลยีท้ัง 4 สว น ในหนังสอื เรียน หนา 13 ผลผลติ ออกมาตอบสนองความตอ้ งการหรอื ความจา� เปน็ ของ ไดม้ าซงึ่ ผลผลิตท่ตี อ้ งการ มนษุ ย์ 6. ครูใหนักเรียนศึกษา เรื่อง การวิเคราะหการ ทํางานของระบบเทคโนโลยี ในหนังสือเรียน หนา 13 ขยายความเขา้ ใจ 1. ครูอธิบายเพ่ิมเติมวา การที่ระบบทาง เทคโนโลยจี ะทาํ งานไดอ ยา งเตม็ ประสทิ ธภิ าพ ผูใชตองวิเคราะหระบบทางเทคโนโลยีของ เทคโนโลยีท่ีจะนํามาใชไ ด 3 ผลผลติ (output) 4 ขอ้ มลู ยอ้ นกลบั (feedback) หมายถงึ ผลทไ่ี ดจ้ ากกระบวนการทเี่ กิดขึน้ ในระบบ อาจ หมายถึง ข้อมูลท่ีใช้ป้อนกลับสู่ระบบ เพ่ือให้ระบบเกิด ได้มาซ่ึงผลิตภัณฑ์หรือการท�างานใหม่ ๆ เพ่ือช่วยให้การ การท�างานอย่างสมบูรณ์หรือบรรลุตามความต้องการ โดย ท�างานมีประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผลมากข้นึ ระบบแต่ละระบบอาจจะมีข้อมูลย้อนกลับหรือไม่มีข้อมูล ย้อนกลบั ก็ได้ การวิเคราะห์การท�างานของระบบเทคโนโลยี การท่ีระบบจะท�างานได้อย่างมีประสิทธิภาพน้ันเราจ�าเป็นต้อง วิเคราะห์การท�างานของระบบเทคโนโลยี น่ันคือ การตรวจสอบและประเมินผลการท�างานของระบบเทคโนโลยี ในทกุ องคป์ ระกอบวา่ มกี ารทา� งานอยา่ งเปน็ ระบบหรอื ไม่ มขี อ้ บกพรอ่ งอยา่ งไร การวเิ คราะหร์ ะบบเทคโนโลยจี ะทา� ใหท้ ราบ ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นและด�าเนินการแก้ไข ก่อให้เกิดระบบเทคโนโลยีท่ีมีประสิทธิภาพและย่ังยืน และยังรวมถึงการ คา� นงึ ถงึ ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อส่ิงแวดลอ้ ม เชน่ มลภาวะท่ีเกิดจากเทคโนโลยี 13เทคโนโลยี กบั มนษุ ย์ กิจกรรม สรางเสรมิ นักเรียนควรรู ใหน ักเรยี นแบงเปน 4 กลมุ แตละกลมุ สืบคน ตัวอยางระบบ 1 ผลผลิต (output) คือ สิ่งท่ไี ดอ อกมาเปน รปู ธรรมหรอื รบั รไู ด ทีจ่ ดั ทาํ ขึ้น งานในอินเทอรเ นต็ มากลุมละ 1 ตวั อยา งไมซ าํ้ กนั นาํ มาเขียนเปน หรอื ผลติ ขนึ้ โดยหนว ยงาน เพอื่ ใหผ ทู เี่ กย่ี วขอ งหรอื บคุ ลากรไดใ ชป ระโยชน หรอื ระบบทางเทคโนโลยี วาดลงในกระดาษ A4 แลวใหตัวแทนกลมุ ตอบคาํ ถามที่วา จะไดร ับอะไรจากการดําเนนิ งานและหรอื กิจกรรมนน้ั ออกมานาํ เสนอหนา ช้ันเรยี น T15

นาํ สอน สรุป ประเมิน ขนั้ สอน ขยายความเขา้ ใจ 2. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางการวิเคราะห ระบบทางเทคโนโลยีของฝนเทียมและระบบ ทางเทคโนโลยีของเคร่ืองปรับอากาศใน หนังสือเรียน หนา 14 แลวแลกเปลี่ยน ความคิดเหน็ กบั เพ่อื นในช้นั เรียน 3. ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจวา การวิเคราะห ระบบทางเทคโนโลยี เปนการตรวจสอบและ ประเมนิ ผลการทาํ งานของระบบทางเทคโนโลยี ทกุ องคป ระกอบวา มกี ารทาํ งานอยา งเปน ระบบ หรือไม มีขอบกพรองอยางไร นอกจากน้ี การวิเคราะหระบบทางเทคโนโลยีทําใหทราบ ขอผิดพลาดที่เกิดข้ึนและขอท่ีตองดําเนินการ แกไข ซึ่งสงผลใหเกิดระบบทางเทคโนโลยี ที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน และทําใหเห็น ผลกระทบ เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคดิ ครคู วรนาํ ตัวอยา งระบบเทคโนโลยขี องสิ่งตางๆ นอกเหนือจากในบทเรยี น ขอ ใดไมเ กย่ี วขอ งกบั การวเิ คราะหก ารทาํ งานของระบบเทคโนโลยี มาใหนักเรียนฝกวิเคราะห แลวนําเสนอเพื่อแลกเปล่ียนความรูกับเพ่ือนในหอง 1. เกง ตรวจคาสารพษิ ท่ีรถยนตปลอ ยสธู รรมชาติ เพื่อประเมินความรคู วามเขาใจของผเู รยี นเปนรายบคุ คล 2. กานคํานวณคาใชจายทั้งหมดสําหรับการสรางตูเย็น เครื่องหน่งึ T16 3. ก้ังทดลองเคร่ืองกําจัดขยะดวยการลองใสขยะทุกประเภท ลงไปเพอื่ ดกู ารทํางาน 4. กองพบวาเครื่องปรับอากาศท่ีสรางข้ึนใหความเย็นไมคงท่ี จงึ นําเครื่องไปปรบั ปรุง (วเิ คราะหค ําตอบ การวิเคราะหการทํางานของระบบเทคโนโลยี คือ การตรวจสอบและประเมนิ ผลการทาํ งานของระบบเทคโนโลยี ในทกุ องคป ระกอบใหท าํ งานอยา งเปน ระบบ ไมม ขี อ บกพรอ ง แกไ ข ขอผิดพลาดเพื่อใหมีประสิทธิภาพและยั่งยืน รวมถึงคํานึงถึงผล กระทบตอ สิง่ แวดลอ ม ดังนน้ั ตอบขอ 2.)

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ Design Activity ขนั้ สอน ระบบทางเทคโนโลยี ขยายความเขา้ ใจ ให้นกั เรียนวเิ คราะห์หาองคป์ ระกอบพื้นฐานของระบบทางเทคโนโลยขี องสถานการณ์ทกี่ �าหนดให้ พรอ้ มท้ังระบแุ ละอธบิ าย 4. นักเรียนทํากิจกรรมท่ีสอดคลองกับเนื้อหา สถานการณท์ ีส่ อดคลอ้ งของแตล่ ะองค์ประกอบ โดยนักเรยี นอาจจะบนั ทึกในรูปแบบแผนผงั ดังตวั อยา่ งด้านล่าง โดยใหผูเรียนฝกปฏิบัติเพ่ือพัฒนาความรูและ ทกั ษะ (Design Activity) สถานการณ์ การเข้าห้องน้�าถือเป็นเรื่องปกติและส�าคัญของมนุษย์ ดังนั้น จึงมีการผลิตและการพัฒนา 5. ครใู หน กั เรยี นทาํ ใบงาน เรอ่ื ง แนวคดิ หลกั ของ เครอื่ งสขุ ภณั ฑอ์ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง ในปจั จบุ นั เครอื่ งสขุ ภณั ฑท์ แ่ี พรห่ ลาย คอื เครอื่ งสขุ ภณั ฑแ์ บบชกั โครก ซง่ึ ไดร้ บั เทคโนโลยแี ละระบบทางเทคโนโลยี ขอ 3. และ การพัฒนาท้ังทางด้านการออกแบบรูปทรงให้สวยงามทันสมัย เพื่อให้เกิดความสะดวกสบายแก่ผู้ใช้งาน ขอ 4. มากข้ึน ขน้ั สรปุ เคร่ืองสขุ ภัณฑแ์ บบชักโครกจะมีหลกั การท�างาน คอื เมอ่ื ผใู้ ช้งานกดชกั โครก น้�าจากถงั เกบ็ นา�้ จะ ไหลออกมาชา� ระสงิ่ ปฏกิ ลู ให้ไหลลงไปสู่ถงั เกบ็ ตรวจสอบผล 1 ตวั ป้อน 2 กระบวนการ 3 ผลผลติ 1. ครูประเมินผลการนําเสนอของนักเรียนและ (input) (process) (output) ตรวจสอบความถูกตองจากการทําใบงาน .............................................................. .............................................................. .............................................................. 2. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเก่ียวกับระบบทาง .............................................................. .............................................................. เทคโนโลยี .............................................................. .............................................................. .............................................................. .............................................................. .............................................................. 3. ครใู หน ักเรยี นทาํ แบบฝก หดั หนา 10-21 .............................................................. .............................................................. .............................................................. .............................................................. .............................................................. ขน้ั ประเมนิ .............................................................. .............................................................. .............................................................. ตรวจสอบผล .............................................................. ตารางการวัดและประเมนิ ผล ....................................บ....ัน......ท....กึ......ล....ง....ใ..น....ส......ม....ดุ ............................................ 4 ข้อมลู ยอ้ นกลับ วิธีการ เครอื่ งมอื เกณฑก ารประเมิน (feedback) ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบ ประเมนิ ตาม กอ นเรยี น สภาพจรงิ .............................................................. กอนเรยี น รอยละ 60 .............................................................. ตรวจใบงาน ใบงาน ผา นเกณฑ .............................................................. รอ ยละ 60 .............................................................. ตรวจแบบฝก หดั แบบฝก หดั ผานเกณฑ .............................................................. ระดับคณุ ภาพ 2 .............................................................. ประเมนิ แบบประเมนิ ผานเกณฑ .............................................................. การนาํ เสนอ การนําเสนอ ระดับคุณภาพ 2 ผานเกณฑ 15เทคโนโลยี ผลงาน ผลงาน ระดับคณุ ภาพ 2 กบั มนษุ ย์ สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกต ผานเกณฑ พฤตกิ รรม การทาํ งาน แบบสังเกต รายบคุ คล พฤตกิ รรม สงั เกตพฤตกิ รรม การทาํ งานกลมุ กิจกรรม สรางเสริม แนวทางการวัดและประเมินผล ใหนักเรียนจับสลากช่ือสิ่งของที่เปนเทคโนโลยีตามท่ีครู ครูสามารถประเมินการนําเสนอผลงาน และสังเกตพฤติกรรมการทํางาน กาํ หนดคนละ 1 ใบ จากนน้ั ใหน กั เรยี นวเิ คราะหร ะบบทางเทคโนโลยี รายบุคคลและการทํางานกลุมของนักเรียน โดยศึกษาเกณฑการวัดและ ของสงิ่ ของทจ่ี บั สลากไดต ามตวั อยา งในบทเรยี นลงในกระดาษ A4 ประเมินผลจากแบบประเมินการนําเสนอผลงาน แบบสังเกตพฤติกรรม แลววาดภาพและเขียนอธิบายใหชัดเจน เพ่ือเปนการเสริมความ การทํางานรายบุคคล และแบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุมที่แนบมา เขาใจเกย่ี วกับเร่ืองการวเิ คราะหระบบทางเทคโนโลยไี ดดีย่งิ ขึน้ ทา ยแผนการจดั การเรียนรูที่ 2 หนว ยการเรียนรูที่ 1 แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม คาชแี้ จง : ให้ผสู้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ลงในชอ่ งท่ี คาช้แี จง : ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ คาชแ้ี จง : ใหผ้ ้สู อนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ลงในชอ่ งที่ ตรงกบั ระดับคะแนน ตรงกับระดับคะแนน ตรงกบั ระดับคะแนน ลาดับที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 ลาดับท่ี รายการประเมิน ระดับคะแนน การแสดง การยอมรับ การทางาน ความมนี ้าใจ การมี รวม 32  32 ความคดิ เหน็ ฟังคนอ่ืน ตามทไี่ ด้รบั ส่วนรว่ มใน 15 1 ความถูกต้องของเน้ือหา   1 การแสดงความคดิ เห็น  1 ลาดับท่ี ชอ่ื –สกุล มอบหมาย การปรับปรุง คะแนน 2 ความคิดสรา้ งสรรค์  2 การยอมรับฟังความคดิ เห็นของผู้อ่นื  ของนกั เรียน ผลงานกลุ่ม 3 วธิ กี ารนาเสนอผลงาน   3 การทางานตามหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมาย   4 การนาไปใชป้ ระโยชน์  4 ความมนี าใจ  321321321321321 5 การตรงต่อเวลา  5 การตรงต่อเวลา    รวม  รวม    ลงชื่อ...................................................ผูป้ ระเมนิ ลงช่อื ...................................................ผู้ประเมนิ ............/................./................... ............/.................../................ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ลงชอื่ ...................................................ผู้ประเมนิ ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินสมบรู ณ์ชัดเจน ให้ 2 คะแนน ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ............./.................../............... ให้ 1 คะแนน ให้ 1 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินเปน็ ส่วนใหญ่ ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครัง เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ บางส่วน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางครงั ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยคร้งั ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ 14–15 ดมี าก 14–15 ดีมาก ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 11–13 ดี 11–13 ดี 14–15 ดมี าก 8–10 พอใช้ 8–10 พอใช้ 11–13 ดี ต่ากวา่ 8 ปรบั ปรงุ ตา่ กว่า 8 ปรับปรุง 8–10 พอใช้ ต่ากว่า 8 ปรับปรงุ T17

นํา นาํ สอน สรปุ ประเมิน ขนั้ นาํ กระตนุ้ ความสนใจ ครสู มุ ถามนกั เรยี น 3-4 คน เกยี่ วกบั สาเหตขุ อง การเปลยี่ นแปลงเทคโนโลยี ขน้ั สอน สาํ รวจคน้ หา ใหน กั เรยี นศกึ ษาผลกระทบและการเปลยี่ นแปลง ของเทคโนโลยีจากหนังสือเรยี น อธบิ ายความรู้ ครใู หน กั เรยี นชว ยกนั ยกตวั อยา งผลกระทบของ การพฒั นาเทคโนโลยดี านตา งๆ ขยายความเขา้ ใจ ครูชวยยกตัวอยางผลกระทบของการพัฒนา เทคโนโลยดี า นตา งๆ เพมิ่ เตมิ ขน้ั สรปุ ตรวจสอบผล ครใู หน กั เรยี นรว มกนั สรปุ เกยี่ วกบั ผลกระทบและ การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี ขนั้ ประเมนิ ตรวจสอบผล ตารางการวดั และประเมินผล วธิ กี าร เครอ่ื งมือ เกณฑการประเมิน ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบ รอ ยละ 60 หลงั เรยี น หลงั เรียน ผานเกณฑ ตรวจใบงาน ใบงาน รอ ยละ 60 ผา นเกณฑ ประเมนิ แบบประเมนิ ระดับคณุ ภาพ 2 การนาํ เสนอ การนําเสนอ ผา นเกณฑ ผลงาน ผลงาน สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสังเกต ระดบั คณุ ภาพ 2 การทาํ งานกลมุ พฤตกิ รรม ผานเกณฑ แนวทางการวัดและประเมินผล ขอ สอบเนน การคิด ครสู ามารถประเมนิ การนาํ เสนอผลงาน และสงั เกตพฤตกิ รรมการทาํ งานกลมุ ขอ ใดเปน ผลกระทบของการพฒั นาเทคโนโลยดี านเศรษฐกิจ ของนกั เรยี น โดยศกึ ษาเกณฑก ารวดั และประเมนิ ผลจากแบบประเมนิ การนาํ เสนอ 1. อองสงจดหมายใหเพ่อื นท่ปี ระเทศองั กฤษทางอเี มล ผลงาน และแบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุมท่ีแนบมาทายแผนการจัด 2. ออยตรวจสอบขอกฎหมายจากระบบอินเทอรเน็ตไดอยาง การเรียนรทู ่ี 2 หนวยการเรียนรูท่ี 1 รวดเร็ว 3. อุงขายกางเกงทางออนไลนไดจึงใหลูกคาโอนเงินผานทาง แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม โทรศพั ทม ือถือ 4. แอว สามารถเดนิ ทางดว ยรถไฟฟา ทาํ ใหส ะดวกและลดเวลา คาช้แี จง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ คาชแี้ จง : ให้ผสู้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ลงในชอ่ งที่ การเดินทางไดมากขึ้น ตรงกบั ระดบั คะแนน ตรงกับระดับคะแนน (วเิ คราะหค าํ ตอบ ผลกระทบของการพัฒนาเทคโนโลยีดาน ลาดับที่ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 1 การแสดง การยอมรับ การทางาน ความมนี า้ ใจ การมี รวม เศรษฐกิจ คือ ผลกระทบทางระบบธุรกรรมทางการเงิน ดังน้ัน 32  ความคดิ เหน็ ฟังคนอื่น ตามท่ีไดร้ ับ สว่ นร่วมใน 15 ตอบขอ 3.) 1 ความถูกต้องของเน้ือหา   ลาดับท่ี ชอ่ื –สกลุ มอบหมาย การปรบั ปรุง คะแนน 2 ความคดิ สร้างสรรค์  ของนักเรียน ผลงานกลุ่ม 3 วธิ กี ารนาเสนอผลงาน   4 การนาไปใชป้ ระโยชน์  321321321321321 5 การตรงต่อเวลา  รวม   ลงชอื่ ...................................................ผ้ปู ระเมิน ............/................./................... เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ลงชื่อ...................................................ผ้ปู ระเมนิ ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินสมบรู ณช์ ัดเจน ให้ 2 คะแนน ............./.................../............... ให้ 1 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินเป็นสว่ นใหญ่ เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมินบางส่วน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครงั้ ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครัง้ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ 14–15 ดีมาก ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 11–13 ดี 14–15 ดีมาก 8–10 พอใช้ 11–13 ดี ตา่ กว่า 8 ปรับปรงุ 8–10 พอใช้ ต่ากวา่ 8 ปรับปรุง T18

นํา สอน สรุป ประเมิน แนวตอบ Self-Check 1. ถกู 2. ถกู 3. ถกู 4. ผิด 5. ถกู แนวตอบ Unit Activity 1. วิเคราะหระบบทางเทคโนโลยขี องตกู ดเครอื่ งดื่มอัตโนมตั ิ ระบบยอ ยที่ 2 ระบบยอ ยที่ 1 ตัวปอน ตวั ปอ น กระบวนการ ผลผลติ กดปุม กระบวนการ ผลผลติ เงิน ระบบทําใหปมุ กดทํางาน ปุมกดทํางาน เลือกชนิดนํา้ ระบบเลอื กชนดิ น้ํา ชนดิ นาํ้ ที่ตองการ ตามที่กดปมุ สงไปยังชอ งจาย ไหลออกมายังชอ งจา ย 2. ระบบทางเทคโนโลยีในการผลิตตเู ย็น ตวั ปอน กระบวนการ ผลผลติ ไฟฟา ใชพ ลงั งานไฟฟา สรา งความเยน็ อุณหภูมใิ นตลู ดลง และดดู ความรอ นออก ตามทีต่ องการ ขอมลู ยอนกลบั การตรวจสอบอณุ หภมู ใิ นตเู ยน็ เพอ่ื ปรบั ใหเ หมาะสม T19

Chapter Overview แผนการจดั สือ่ ที่ใช้ จดุ ประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้ คุณลกั ษณะ การเรียนรู้ อนั พึงประสงค์ แผนฯ ที่ 1 - แบบทดสอบก่อนเรยี น 1. อ ธบิ ายความหมายของ แบบใช้ปญั หา - การนำ�เสนอผลงาน - ท กั ษะการคิด - มีวนิ ยั กระบวนการ - ห นังสือเรยี นรายวิชา กระบวนการออกแบบ เป็นฐาน - สงั เกตพฤตกิ รรม วิเคราะห์ - ใฝเ่ รยี นรู้ เทคโนโลยี พื้นฐาน เทคโนโลยี เชิงวศิ วกรรม (K) (Problem-Based การทำ�งานรายบุคคล - ท ักษะการคิดอยา่ ง - ม งุ่ มัน่ ในการ (การออกแบบและ 2. บอกองค์ประกอบและ Learning) - สงั เกตพฤตกิ รรม สร้างสรรค์ ท�ำงาน 4 เทคโนโลย)ี ม.1 ความสำ� คัญของ การทำ�งานกลุม่ - ท ักษะการคดิ - ใบงาน เร่ือง กระบวนการออกแบบ - สงั เกตคุณลกั ษณะ อยา่ งเป็นระบบ ชั่วโมง กระบวนการเทคโนโลยี เชิงวศิ วกรรม (K) อนั พงึ ประสงค์ 3. อ ธบิ ายเกย่ี วกับขัน้ ตอน - ต รวจใบงาน การแกป้ ญั หาผา่ น - ต รวจแบบทดสอบ กระบวนการออกแบบ กอ่ นเรยี น เชงิ วิศวกรรม (P) 4. วิเคราะหส์ าเหตุหรอื ปจั จัยท่สี ่งผลตอ่ การแก้ ปญั หาโดยใชก้ ระบวนการ ออกแบบเชิงวิศวกรรม (P) 5. เห็นคุณประโยชนข์ อง การเรียนวชิ าการ ออกแบบและเทคโนโลยี และตระหนกั ในคณุ ค่า ของความรู้ไปแกป้ ัญหา ในชีวติ ประจำ� วนั (A) แผนฯ ท่ี 2 - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 1. อ ธบิ ายและสรปุ แบบสืบเสาะ - การนำ�เสนอผลงาน - ท ักษะการคิด - มวี ินัย ววิ ัฒนาการของ - ห นงั สอื เรียนรายวิชา วิวัฒนาการของ หาความรู้ (5Es - ส งั เกตพฤติกรรม วเิ คราะห์ - ใฝเ่ รยี นรู้ เทคโนโลยี พืน้ ฐาน เทคโนโลยี เทคโนโลยีได้และการ Instructional การทำ�งานรายบคุ คล - ท ักษะการคดิ - มงุ่ ม่นั ในการ อย่างสรา้ งสรรค์ 1 (การออกแบบและ ประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยี Model) - สงั เกตพฤติกรรม - ทกั ษะการคดิ ทำ� งาน เทคโนโลย)ี ม.1 ในชีวติ ประจ�ำวนั ได้ (K) การทำ�งานกลมุ่ อย่างเป็นระบบ ชั่วโมง - ใบงาน เรือ่ ง 2. รวบรวม วเิ คราะห์ วิวฒั นาการของ ข้อมูลววิ ัฒนาการของ - สงั เกตคุณลกั ษณะ อนั พงึ ประสงค์ เทคโนโลยี เทคโนโลยีและการ - ต รวจใบงาน - แบบทดสอบหลงั เรยี น ประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยี - ต รวจแบบทดสอบ ในชวี ติ ประจ�ำวนั ได้ (P) หลงั เรียน 3. เหน็ ประโยชนข์ องการ เรียนวชิ าออกแบบและ เทคโนโลยี และตระหนัก ในคณุ ค่าของความรู้ วิวฒั นาการของ เทคโนโลยี (A) T20

Chapter Concept Overview หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมเป็นกระบวนการที่นำ� มาใช้เป็นส่วนหนึ่งของการท�ำงานเพื่อสร้างสรรค์ช้ินงานหรือวิธีการของการ จดั การศึกษาท่บี ูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร์ และคณติ ศาสตร์ (STEM Education) เพือ่ ให้ผ้เู รียนสามารถน�ำไปใช้ แก้ปญั หาหรือพัฒนาช้นิ งานในชวี ติ จริงได้ โดยสามารถบูรณาการรว่ มกบั ศาสตรอ์ ่นื  ๆ รวมท้งั ความคดิ สรา้ งสรรคเ์ พือ่ ให้ไดผ้ ลลพั ธใ์ นการแก้ ปญั หาทีเ่ หมาะสมท่ีสุดได้ มขี ้นั ตอน ดังนี้ กระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม 1 ระบปุ ญั หา 2 รวบรวมข้อมลู และแนวคดิ ทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั ปญั หา ออกแบบ วิธีการ แกป้ ญั หา 3 ทดสอบ 5 4 ประเมินผล และ วางแผน ปรับปรงุ แก้ไขวธิ ีการ และดำ� เนนิ การ แกป้ ัญหาหรอื ช้นิ งาน แก้ไขปญั หา 6 น�ำเสนอวธิ กี ารแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรอื ชน้ิ งาน ววิ ัฒนาการของเทคโนโลยี ประวตั ศิ าสตรข์ องเทคโนโลยตี งั้ แตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จบุ นั แบง่ ออกไดเ้ ปน็ 9 ยุค ไดแ้ ก่ 1. ยคุ พาลโิ อลิทิก (Paleolithic Age) หรอื ยคุ หินเกา่ (The Old Stone Age) 6. ยุคกลาง (Middle Age) 2. ยคุ เมโซลทิ กิ (Mesolithic Age) หรือยุคหินกลาง (The Middle Stone Age ) 7. ยุคเรอเนซองซ์ (The Renaissance) 3. ยคุ นโี อลิทิก (Neolithic Age) หรอื ยุคหนิ ใหม่ (The New Stone Age) 8. ยุคอุตสาหกรรม (The Industrial Age) 4. ยคุ สำ� ริด (Bronze Age) 9. ยคุ ขอ้ มลู ข่าวสาร (The Information Age) 5. ยุคเหล็ก (Iron Age) T21

นาํ นํา สอน สรปุ ประเมนิ ขนั้ นาํ 1. ครูชักชวนนักเรียนสนทนาเก่ียวกับการใช เทคโนโลยีในชีวิตประจําวัน และสุมถาม นักเรียนวา นักเรียนเลนโทรศัพทมือถือบอย แคไ หน อยา งไร 2. ครูบอกนักเรียนเก่ียวกับปญหาการใช เทคโนโลยีที่ไมเหมาะสมในปจจุบันวา เปน ปญหาทจ่ี ะตอ งมีการแกไ ข 3. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา สิ่งอํานวยความสะดวกในชีวิตประจําวัน ของมนุษยลวนเปนเทคโนโลยีท่ีเกิดจาก กระบวนการคิดที่เปนระบบเพื่อใชแกปญหา และทําใหคุณภาพชีวิตดีข้ึน แตถานําไปใช อยางไมเ หมาะสมก็อาจเปนโทษได 4. นกั เรยี นทําแบบทดสอบกอ นเรียน เกร็ดแนะครู การจดั การเรียนการสอนในหนวยการเรยี นรทู ่ี 2 ครูผสู อนควรจัดกจิ กรรม การเรียนการสอนท่ีเนนใหนักเรียนเกิดความรูความเขาใจเก่ียวกับกระบวนการ เทคโนโลยีและสามารถนําไปใชในการระบุปญหาหรือความตองการในชีวิต ประจําวัน รวบรวม วิเคราะหขอมูล และแนวคิดที่เกี่ยวของกับปญหา รวมถึง การออกแบบวธิ ีการแกป ญหา โดยสามารถวิเคราะห เปรยี บเทียบ และตดั สนิ ใจ เลือกขอมลู ทจ่ี าํ เปน เพือ่ นําเสนอแนวทางการแกป ญ หาใหผ อู นื่ เขา ใจได นอกจากนี้ ยงั ควรจดั กจิ กรรมทม่ี กี ารยกตวั อยา งสถานการณเ พอื่ ใหน กั เรยี น ไดฝ ก ทดสอบ ประเมนิ ผลและระบขุ อ บกพรอ งทเ่ี กดิ ขน้ึ ของสถานการณเ หลา นนั้ พรอมทั้งหาแนวทางการปรับปรุง แกไข และนําเสนอผลการแกปญหาไดอยาง ถูกตอง ซ่งึ จะทาํ ใหน กั เรยี นเกดิ ความรูความเขาใจและสามารถนําไปใชในชวี ติ ประจําวันไดจรงิ T22

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั สอน กาํ หนดปญ หา 1 1. ครถู ามคาํ ถามสาํ คญั ประจาํ หวั ขอ กบั นกั เรยี นวา กระบวนการเทคโนโลยีชวยตอบสนองความ จาํ เปนและความตองการของมนษุ ยอ ยา งไร 2. ครูใหน กั เรียนแบงกลมุ กลมุ ละ 3-4 คน แลว ใหแตละกลุมรวมกันศึกษาและสืบคนขอมูล เก่ียวกับความหมายและองคประกอบของ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม จากนั้น รวมกันอภิปรายขอมูลท่ีสืบคนไดภายในกลุม และสรุปความรูที่ไดลงในกระดาษ A4 เสร็จ แลวนําสง ครู เพอ่ื ตรวจสอบความถกู ตอ ง 3. นักเรียนและครูรวมกันสนทนาเก่ียวกับ ความหมายและองคป ระกอบของกระบวนการ เทคโนโลยีวา ชว ยตอบสนองความจาํ เปนและ ความตองการของมนุษยอ ยางไร ขอสอบเนน การคดิ แนวตอบ คาํ ถามสาํ คัญประจําหัวข้อ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมมีความสําคัญตอการดํารง กระบวนการเทคโนโลยีชวยตอบสนองความ ชีวิตของมนุษยอ ยางไร ตองการของชีวิตมนุษยในปจจุบัน ดานเทคโนโลยี เพ่ือพัฒนาทางดานส่ิงอํานวยความสะดวก ทําให 1. ชวยใหสามารถอยูรวมกนั เปนหมูคณะ ใชช วี ติ ประจาํ วนั ไดส ะดวกสบายยง่ิ ขน้ึ 2. ชวยใหรกั ษาอุปกรณห รอื เคร่ืองมอื เครอื่ งใชไมใ หชํารุด 3. ชว ยใหสรางผลงานตางๆ ไดอ ยา งเปน ระเบียบเรยี บรอ ย เกร็ดแนะครู 4. ชว ยแกปญหาและสนองความตอ งการทางดานตางๆ ได (วิเคราะหคาํ ตอบ กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม คอื ขนั้ ตอน กอ นครจู ะอธบิ ายความเชอ่ื มโยงของกระบวนการเทคโนโลยกี บั กระบวนการ การแกปญหาหรือตอบสนองตอความตองการที่กอใหเกิดการ ออกแบบเชงิ วศิ วกรรม ควรใหน กั เรยี นรว มกนั พจิ ารณาและอภปิ รายเปรยี บเทยี บ เปลย่ี นแปลงจากทรพั ยากรใหเปนผลผลติ หรือผลลัพธท ใ่ี ชสําหรับ ความเหมอื นและความแตกตางของกระบวนการท้ัง 2 กระบวนการนี้กอน เพ่อื แกปญหาหรือสนองความตอ งการ ดงั นน้ั ตอบขอ 4.) ใหน ักเรียนเชอ่ื มโยงขอมลู ไดดวยตนเองและเกิดความเขา ใจไดมากขึ้น นักเรียนควรรู 1 กระบวนการเทคโนโลยี เปนขั้นตอนการทํางานเพื่อสรางส่ิงของเครื่องใช หรือวิธีการอยางใดอยางหนึ่งข้ึนมา เพื่อแกปญหาหรือสนองความตองการของ มนษุ ย กระบวนการเทคโนโลยี ประกอบดว ย 7 ขนั้ ตอน ไดแ ก 1. ระบปุ ญ หาหรอื ความตอ งการ 2. รวบรวมขอมูลทเ่ี กี่ยวขอ งกบั ปญ หา 3. เลือกวิธีการแกป ญหา 4. ออกแบบวิธกี ารแกป ญ หา 5. ทดสอบ 6. การปรับปรงุ แกไข และประเมนิ ผล 7. นําเสนอผลงาน T23

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขนั้ สอน 1 กาํ หนดปญ หา 4. ครูต้ังคําถามและสุมตัวแทนแตละกลุม ตอบคําถาม ดังนี้ • กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมมีความ สาํ คญั อยางไร (แนวตอบ ชว ยแกป ญ หาและสนองความจาํ เปน และความตอ งการของมนุษยได) • องคประกอบของกระบวนการออกแบบ เชิงวศิ วกรรมมกี ่ีข้นั ตอน อะไรบาง (แนวตอบ 6 ขน้ั ตอน ดงั นี้ 1. ระบุปญหา 2. รวบรวมขอมูลและแนวคิดท่ีเกี่ยวของ กับปญหา 3. ออกแบบวธิ ีการแกปญ หา 4. วางแผนและดาํ เนนิ การแกปญหา 5. ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแกไ ข วิธกี ารแกป ญ หาหรอื ชิ้นงาน 6. นาํ เสนอวธิ กี ารแกป ญ หา ผลการแกป ญ หา หรอื ชนิ้ งาน) 5. นักเรียนรวมกันอภิปรายและสรุปเก่ียวกับ ความหมายและองคป ระกอบของกระบวนการ ออกแบบเชงิ วศิ วกรรม 6. ครใู หน กั เรยี นศกึ ษาตวั อยา ง การระบปุ ญ หาจาก หนงั สอื เรยี นหนา 20 จากน้ันรว มกนั อภิปราย เรอ่ื ง ปญ หาการใชเ ทคโนโลยไี มเ หมาะสมในชวี ติ ประจาํ วนั ที่ครูกาํ หนดใหภ ายในเวลา 5 นาที 7. ครจู ดบนั ทกึ ปญ หาทนี่ กั เรยี นไดจ ากการอภปิ ราย ลงบนกระดาน เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด ขณะท่ีนกั เรียนรว มกันอภปิ รายหัวขอ ปญ หาการใชเ ทคโนโลยไี มเหมาะสม ตน ชมพทู บี่ า นมผี ลดก รสชาตดิ ี แตต น สงู ใหญเ กบ็ เกย่ี วไมส ะดวก ในชีวิตประจําวัน ครูควรพูดช้ีประเด็นใหนักเรียนเห็นถึงปญหาที่หลากหลาย จากขอมูล เปนขั้นตอนในการสรางและพัฒนาส่ิงของเคร่ืองใช จากการใชเทคโนโลยีไมเหมาะสมจากสถานการณหรือขาวสาร ท่ีเกิดข้ึน ตามกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรมขั้นตอนใด ในชีวิตประจําวัน เพื่อจุดประกายความคิดใหนักเรียนมองเห็นถึงปญหาท่ี หลากหลายและครอบคลมุ ประเด็นไดม ากขนึ้ 1. ระบุปญ หา 2. ออกแบบวิธกี ารแกปญ หา นักเรียนควรรู 3. วางแผนและดําเนินการแกปญ หา 4. รวบรวมขอ มูลและแนวคดิ ท่ีเกย่ี วขอ งกับปญหา 1 สะพานโกลเดนเกต เปน สะพานขา มอา วทางตอนเหนอื ของเมอื งแซนแฟรนซสิ โก (วเิ คราะหคาํ ตอบ ขอความนี้เปนการระบุปญหาหรือความ รฐั แคลฟิ อรเ นยี ประเทศสหรฐั อเมรกิ า สรา งในสมยั ประธานาธบิ ดแี ฟรงกลนิ ด.ี ตองการกอนท่ีจะนําไปสูการสรางหรือประดิษฐเคร่ืองมือเคร่ืองใช รสู เวลต เมอื่ ป ค.ศ.1933 เปน สถานทที่ อ งเทยี่ วทส่ี าํ คญั ของประเทศสหรฐั อเมรกิ า เพือ่ แกป ญหาน้ี ดังนน้ั ตอบขอ 1.) T24

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ 1 ขนั้ สอน กาํ หนดปญ หา 8. ใหนักเรียนแบงกลุมเลือกปญหาการใช เทคโนโลยีไมเหมาะสมในชีวิตประจําวันที่ บันทึกไวบ นกระดานตามความสนใจ 9. นักเรียนแตละกลุมรวมกันวางแผนวิธีการ ศึกษาเกี่ยวกับปญหาการใชเทคโนโลยีไม เหมาะสมทก่ี ลมุ เลอื ก ทาํ ความเขา้ ใจปญ หา 1. ครตู ัง้ คําถามใหน ักเรียนชวยกนั ตอบ ดังนี้ • องคป ระกอบของการระบปุ ญ หามอี ะไรบาง (แนวตอบ 1. ปญ หา คอื ส่งิ ท่จี ําเปนตอ งแกไ ข 2. ใคร คือ ผูที่เผชิญปญหาท่ีเราจําเปน ตอ งแก 3. เหตุผล คือ เหตุใดปญหานี้จึงจําเปน ตองแก) • นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐมีความแตกตาง กันอยา งไร (แนวตอบ นวัตกรรม (Innovation) คือ การนําวิทยาการตางๆ มาออกแบบเพื่อ ตอบสนองความจําเปนหรือความตองการ สามารถนํามาใชกอใหเกิดประโยชนทาง เศรษฐกิจและสังคมได สามารถนํามา ทําการคาได สามารถสรางผลกําไรให กับธุรกิจ เชน หุนยนต คอมพิวเตอร สวนสิ่งประดิษฐ (Invention) คือ ส่ิง ที่เปนการคิดคนทางวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี เชน พิมพดดี วิทยุ โทรทัศน) ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู การนําทางเลือกที่ไดเลือกไวมาลําดับความคิดเพื่อสราง เม่ือนักเรียนตอบคําถามเสร็จ ครูอธิบายเพ่ิมเติมเก่ียวกับความหมายของ แนวทางการแกปญ หา ตรงกบั กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม นวัตกรรมและส่ิงประดิษฐ แลวทดสอบความรูความเขาใจของนักเรียนเปน ขน้ั ตอนใด รายบคุ คล โดยสอบถามเกีย่ วกับความเหมอื นและความแตกตา งของนวตั กรรม และสิ่งประดิษฐ ฝกจําแนกส่ิงประดิษฐและนวัตกรรมรอบๆ ตัวที่รูจักเปนราย 1. ระบปุ ญ หา บุคคล 2. ออกแบบวิธีการแกป ญหา 3. วางแผนและดาํ เนนิ การแกป ญ หา นักเรียนควรรู 4. ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรบั ปรงุ แกไ ขวธิ กี ารแกป ญ หาหรอื 1 หลอดไฟแบบไส เปนหลอดไฟที่ใหแสงสวางโดยการใหความรอนแก ชิ้นงาน ไสหลอดที่เปนลวดโลหะจนมีอุณหภูมิสูงและเปลงแสง มีหลอดแกวท่ีเติม (วเิ คราะหคําตอบ เม่ือเลือกวิธีการแกปญหาที่เหมาะสมแลว แกสเฉื่อยหรือเปนสุญญากาศครอบเพื่อปองกันไสหลอดท่ีรอนสัมผัสอากาศ ข้ันตอนตอไปคือการนําวิธีการที่ไดเลือกไวมาลําดับความคิดเพื่อ อุปกรณท่ใี ชห ลอดไฟชนดิ น้ี เชน ไฟตง้ั โตะ ไฟฉาย ไฟตกแตงโฆษณา สรางแนวทางการแกปญหาหรือเรียกวา ออกแบบวิธกี ารแกปญหา ดงั นนั้ ตอบขอ 2.) T25

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขนั้ สอน ทาํ ความเขา้ ใจปญ หา 2. นักเรียนทํากิจกรรม Design Activity ใน หนังสือเรียน เสร็จแลวครูสุมตัวแทนนักเรียน อธบิ ายคาํ ตอบทลี ะสถานการณ ครแู ละนกั เรยี น คนอน่ื ๆ รว มกนั พจิ ารณาคาํ ตอบ เพอ่ื ตรวจสอบ ความถกู ตอ งและอภปิ รายหาขอสรปุ รว มกนั 3. ครูใหนักเรียนเขากลุมที่แบงจากการเลือก ปญหาเกี่ยวกับการใชเทคโนโลยีไมเหมาะสม ในชีวิตประจําวันเพื่อรวมกันอภิปรายตาม ประเดน็ ท่ีกาํ หนดให ดังน้ี • ปญหาทีจ่ าํ เปน ตอ งแกคืออะไร • ใครคอื ผูท ี่เผชิญปญ หาท่เี ราจําเปนตองแก • เหตุใดปญหาน้ีจึงจาํ เปนตองแก แลวสรุปลงในกระดาษ A4 พรอมทั้งรวมกัน ออกแบบวิธีการนําเสนอผลงานทีน่ า สนใจ 4. นักเรียนแตละกลุมผลัดกันสงตัวแทนออกมา นําเสนอผลงานตามที่ไดออกแบบไวจนครบ ทุกกลมุ จากนั้นใหแ ตล ะกลุมนาํ ผลงานไปตดิ ไวบรเิ วณรอบๆ หอ งเรียน เกร็ดแนะครู กิจกรรม 21st Century Skills เมอ่ื ตวั แทนนกั เรยี นระบปุ ญ หาหรอื ความตอ งการของภาพสถานการณจ าก 1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-4 คน แลวชวยกันสํารวจ กจิ กรรม Design Activity ครบทง้ั 2 ภาพแลว ครอู าจเตรยี มภาพสถานการณอ น่ื สถานการณท สี่ ง ผลกระทบดา นตา งๆ ในโรงเรยี น 1 สถานการณ นอกเหนอื จากในกจิ กรรมมาใหน กั เรยี นชว ยกนั ระบปุ ญ หาหรอื ความตอ งการ เพอ่ื เพิ่มความรูความเขาใจเกี่ยวกับกระบวนการเทคโนโลยีขั้นที่ 1 การระบุปญหา 2. ระดมสมองชว ยกนั ระบปุ ญ หาหรอื ความตอ งการของสถานการณ หรือความตอ งการ นอกจากน้ี ครูควรสมุ นกั เรยี นสลับกบั ระบุปญ หาหรอื ความ ตามประเด็น ดังนี้ ปญหาท่ีจําเปนตองแกคืออะไร ใครคือผู ตองการตามสถานการณท่ีกาํ หนดให เพ่ือเปน การตรวจสอบความรคู วามเขา ใจ ไดรับผลกระทบจากปญหานี้ สาเหตุท่ีจําเปนตองแกปญหานี้ ของนกั เรียนเปน รายบคุ คล คืออะไร 3. นาํ ขอ มลู ทไ่ี ดม าจดั ทาํ เปน โปสเตอรภ าพ เรอ่ื ง ปญ หาหรอื ความ ตอ งการทคี่ วรไดรบั การแกไขในโรงเรยี น ใหส วยงาม 4. แตละกลุมสงตัวแทนนําเสนอ ครูและนักเรียนกลุมอ่ืนรวมกัน วิเคราะห เสร็จแลวนําไปติดตามหนาบอรดประชาสัมพันธใน โรงเรียน T26

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ 1.2 รวบรวมข้อมลู และแนวคิดท่ีเกยี่ วขอ้ งกับปัญหา ขน้ั สอน เมอื่ เราระบปุ ญั หาหรอื ความตอ้ งการแลว้ ขนั้ ตอนตอ่ ไป คอื เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และความรทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ปญั หา ทาํ ความเขา้ ใจปญ หา หรือคว1า.ม ตก้อางรกรวาบรนรวน้ั มๆข้อเพม่ือลู ขห้นัาวปธิ ฐกีมาภรมูท1ิี่เห(pมriาmะสaมryส�าdหaรtaบั )แกค้ปือัญกหาารเซกงึ่็บกราวรบรรววบมรขว้อมมขูล้อเมพูล่อื ทศา� กึ ไษด้า2แลวะธิ ทหี า� ลคกั วาดมังเนขี้้าใจ 5. ใหนักเรียนแตละกลุมเดินชมผลงานที่ติดไว บริเวณรอบๆ หองเรียนเปนเวลา 5 นาที เพือ่ ด้วยตนเอง โดยวิธีการรวบรวมขอ้ มูลขน้ั ปฐมภูมนิ นั้ ทา� ได้หลายวิธี แลกเปลย่ี นความรกู บั กลมุ อน่ื ๆ จากนน้ั รว มกนั ตัวอย่าง วิธกี ารรวบรวมข้อมลู ขัน้ ปฐมภูมิ วิเคราะหสถานการณของปญหาการใช เทคโนโลยีไมเหมาะสมในชวี ติ ประจําวัน และ การพดู คยุ หรอื การสมั ภาษณ์ (deepinterview) เปน็ การตง้ั คา� ถามเพอ่ื สรา้ งความเขา้ ใจเกยี่ วกบั ความตอ้ งการ แนวทางแกไขที่สามารถนําไปปฏิบัติใชใน ของกลุ่มเป้าหมายท่ีเราต้องการจะแก้ปัญหา การพูดคุยหรือสัมภาษณ์ที่ดีน้ัน คือ การต้ังใจรับฟังเพ่ือเรียนรู้ ชีวิตประจาํ วนั ไดจ ริง ความตอ้ งการเบื้องลึก 6. ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ ใหน กั เรยี นเขา ใจวา นอกจาก การสังเกต (observation) คือ การพิจารณาปัญหาด้วยการมองอย่างวิเคราะห์เพ่ือสร้างความเข้าใจในปัญหา ปญหาที่เปนตัวอยางสถานการณศึกษาน้ีแลว ท่เี ราตอ้ งการจะแกม้ ากขึ้น ยังมีปญหาอ่ืนๆ อีกมากมาย ซ่ึงนักเรียน สามารถนาํ กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม การร่วมประสบการณ์ (immersion) คือ การท�าความเข้าใจด้วยการลองเอาตัวเองเข้าไปอยู่ในส่ิงแวดล้อม มาใชใ นการแกป ญ หาเพอื่ การตอบสนองความ เดียวกับผทู้ ีเ่ ราพยายามจะสร้างเทคโนโลยีให้ จาํ เปน หรือความตอ งการได Design Focus แผนผังความเขา้ ใจ ดาํ เนนิ การศกึ ษาคน้ ควา้ แผนผังความเข้าใจ (Empathy Map) เป็นหน่ึงในเคร่ืองมือหรือแนวคิดที่ท�ำให้เรำสำมำรถพิจำรณำปัญหำ 1. ครูถามนักเรียนวา วิธีการรวบรวมขอมูลที่ และควำมต้องกำรจำกข้อมูลข้ันปฐมภูมิได้ในเชิงลึก น่ันคือ เรำควรค�ำนึงถึงควำมต้องกำรและปัญหำในมุมต่ำง ๆ เก่ยี วขอ งกับปญ หามอี ะไรบาง ต่อไปน้ี (แนวตอบ การรวบรวมขอมูลมีหลายรูปแบบ เชน การพูดคยุ หรือการสมั ภาษณ การสังเกต SAY : เขาพูดอะไร แผนผงั THINK : เขาคดิ อยา่ งไร การรวมประสบการณ การศึกษาจากหนังสือ ความเขา้ ใจ วารสาร สืบคน จากอินเทอรเ น็ต เปนตน ) บันทึกสิ่งท่ีเราได้ยิน ได้ฟัง จากการพูดคุย บนั ทึกความคิดเห็นเก่ยี วกบั ปญั หา หรอื ความ หรอื สมั ภาษณ์ ตอ้ งการ 2. ครใู หน กั เรยี นแตล ะกลมุ รว มกนั ศกึ ษาตวั อยา ง วิธีการรวบรวมขอมูลท่ีเกี่ยวของกับปญหา DO : เขาท�าอะไร FEEL : เขาตอ้ งการอะไร จากหนงั สือเรยี น หนา 23 แลว รวมกันกาํ หนด ปญหาที่พบในชีวิตประจําวันที่สมาชิกในกลุม บนั ทึกพฤตกิ รรม หรอื การกระท�าทีส่ ังเกตเห็น บันทึกความรู้สึกเกี่ยวกับปัญหา หรือความ สนใจรว มกนั 1 ปญหา เกีย่ วกบั ปัญหาหรือความต้องการ ต้องการ 23กระบวนการ ออกแบบเชงิ วศิ วกรรม ขอสอบเนน การคดิ เกร็ดแนะครู สิตาตองการซ้ือช้ันสําหรับวางของท่ีมีนํ้าหนักมาก จึงทําการ เม่ือนักเรียนแตละกลุมศึกษาวิธีการรวบรวมขอมูลขั้นปฐมภูมิเสร็จแลว ทดสอบความแข็งแรงวัสดุตางๆ ท่ีใชทําช้ันวางของ วิธีการของ ครูควรตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนแตละกลุมโดยการสอบถามให สติ าสอดคลอ งกบั ขน้ั ตอนใดของกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม นักเรียนในกลุมชวยกันตอบหรือกําหนดหัวขอส้ันๆ ใหแตละกลุมฝกรวบรวม ขอมูลเพ่ือใหนักเรียนทั้งหองมีความเขาใจที่ตรงกันและสามารถนําไปปฏิบัติ 1. ระบุปญ หา ในการทํากจิ กรรมไดอยางถกู ตอง 2. ออกแบบวิธีการแกป ญหา 3. วางแผนและดาํ เนินการแกปญ หา นักเรียนควรรู 4. รวบรวมขอ มลู และแนวคิดท่เี กยี่ วขอ งกับปญหา (วิเคราะหค ําตอบ สิตารูวาของที่จะใชวางบนชั้นมีน้ําหนักมาก 1 ขอ มลู ขนั้ ปฐมภมู ิ (primary data) เปน ขอ มลู ทผ่ี ใู ชห รอื หนว ยงานทใี่ ชเ ปน สิตาจึงทดสอบความแข็งแรงของวัสดุตางๆ ที่ใชทําชั้นวามี ผทู าํ การเกบ็ ขอ มลู ดว ยตนเอง ซงึ่ วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมขอ มลู อาจใชว ธิ กี ารสมั ภาษณ ความแข็งแรงเหมาะสมกับการเลือกนํามาใชหรือไม ซึ่งการ การทดลอง หรอื การสงั เกตการณ ขอ มลู ปฐมภมู เิ ปน ขอ มลู ทม่ี รี ายละเอยี ดตรงตาม กระทําน้ีสอดคลองกับข้ันตอนการออกแบบวิธีการแกปญหาของ ที่ผูใ ชต องการ แตม กั จะเสยี เวลาในการจัดหาและมีคา ใชจายสงู กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม ดงั น้นั ตอบขอ 2.) T27

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั สอน 2. การรวบรวมขอ้ มลู ขัน้ ทตุ ยิ ภูมิ1(secondary data) คอื การเกบ็ รวบรวมข้อมูลเพื่อศกึ ษาจากขอ้ มลู ทีม่ อี ยู่ ดาํ เนนิ การศกึ ษาคน้ ควา้ ผา่ นการสรปุ ผลและการวเิ คราะหผ์ ล ในทางปฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั ขนั้ ทตุ ยิ ภมู เิ ปน็ การรวบรวมขอ้ มลู จากหนงั สอื วารสารตา่ ง ๆ หรือสบื ค้นจากอนิ เทอรเ์ นต็ 3. นักเรียนแตละกลุมรวมกันศึกษาคนควา การเก็บข้อมูลข้ันทุติยภูมิน้ีไม่ต้องใช้เวลาและค่าใช้จ่ายมาก แต่ต้องระมัดระวังในการใช้เพราะข้อมูลอาจ หาขอ มลู เพมิ่ เตมิ ตามประเดน็ ปญ หาของกลมุ เกา่ ลา้ สมยั หรอื ไมส่ มบรู ณ์ ตอ้ งตรวจสอบความถกู ตอ้ งและความสมบรู ณข์ องขอ้ มลู และความนา่ เชอ่ื ถอื ของแหลง่ ขอ้ มลู โดยใหส มาชกิ ในกลมุ แบง หนา ทกี่ นั ทาํ งานตาม การวิเคราะห์แหล่งท่ีมาของข้อมูลว่าเป็นแหล่งข้อมูลท่ีน่าเช่ือถือได้หรือไม่ เป็นข้อมูลที่มาจากใครหรือองค์กรใด ลําดับ ดงั น้ี มีความส�าคัญไม่น้อยไปกว่าความถูกต้องของข้อมูล แหล่งข้อมูลท่ีน่าเช่ือถือท�าให้น้�าหนักของข้อมูลมีมากข้ึน 1) กาํ หนดเปาหมายของงาน และสามารถนา� ขอ้ มูลนน้ั ไปใช้ต่อได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพมากขึน้ 2) กําหนดระยะเวลาการคน ควา หลังจากที่มีการรวบรวมข้อมูลแล้ว สิ่งท่ีตามมาก็คือการน�าข้อมูลท่ีเก็บมาระดมสมอง (brainstroming) 3) กาํ หนดระยะเวลาการบนั ทกึ ขอ มลู สรา้ งค�าถามเพื่อทา� ให้มองเห็นปญั หาอยา่ งแท้จริง และนา� ไปสูก่ ารคน้ พบทางเลอื กในการแกไ้ ขปญั หาขึ้นมา ในการ ระดมสมองหาวิธีแกป้ ัญหาใหม่ ๆ นน้ั มีหลักการส�าคญั คือ การคิดใหฟ้ ุ้ง ไมเ่ อากรอบความคดิ หรือข้อจ�ากัดตา่ ง ๆ 4. ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ กอ นทนี่ กั เรยี นแตล ะกลมุ จะ มาปิดกั้นเพ่ือใหเ้ กิดความคิดแหวกแนวใหม่ ๆ การระดมสมองท่ดี นี น้ั มีหลักการ ดงั ต่อไปนี้ ลงมอื ปฏบิ ตั งิ านวา การรวบรวมขอ มลู ทเี่ กย่ี วขอ ง กับปญหาสามารถทาํ ได 2 วิธกี ารหลกั คือ เนน้ ปรมิ าณมากกว่าคุณภาพ 1) การรวบรวมขอมูลขน้ั ปฐมภมู ิ เรมิ่ จากการแยกการคดิ และการประเมนิ ออกจากกนั โดยคดิ และเสนอแนวทางการแกป้ ญั หาใหไ้ ดจ้ า� นวนมากกอ่ น 2) การรวบรวมขอ มลู ข้ันทตุ ยิ ภูมิ แล้วจึงเริม่ ประเมินและคัดเลอื กวธิ กี ารแกป้ ัญหาทเี่ หมาะสมในภายหลัง ตามขอ มูลจากหนงั สอื เรียน หนา 23-24 มองปญั หาให้เป็นโอกาสดว้ ยการต้ังคา� ถาม การตงั้ คา� ถามชว่ ยใหก้ ารคดิ วธิ แี กป้ ญั หามปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ โดยรปู แบบคา� ถามทอี่ งคก์ รระดบั โลกมากมายใช้ คือ การตัง้ คา� ถามวา่ “เราจะ...ได้อยา่ งไร” (How might we...?) เช่น ปญั หา เราจะ... ได้อยา่ งไร คนไมก่ ลา้ ซือ้ ของ ••• เเเรรราาาจจจะะะททท��าาา� ใใใหหห้้้กกกาาารรรซซซืื้ออื้้อขขขออองงงออออออนนนไไไลลลนนนเ์์์นสสนา่ มเกุ ชอื ไ่ือนดถจ้อือรยิงไ่าดไงด้อไ้อรยย่า่างงไรไร ออนไลน์ 24 เกร็ดแนะครู ขอ สอบเนน การคดิ ครูควรแนะนําใหนักเรียนแตละกลุมกําหนดปญหาท่ีพบในชีวิตประจําวัน ขอใดไมใ ชก ารรวบรวมขอ มลู ทเ่ี กย่ี วของกับปญหาข้นั ทุติยภูมิ สําหรับการศึกษาคนควาที่แตกตางกัน เพื่อใหนักเรียนไดเห็นปญหาในชีวิต 1. วรากรคนควาขอมูลเกี่ยวกับการสรางเครื่องเก็บผลไมจาก ประจําวนั ท่หี ลากหลายและขอ มลู ทีเ่ กีย่ วกบั ปญหาทแ่ี ตกตางกนั ไป อนิ เทอรเ น็ต 2. วราคมศกึ ษางานวจิ ยั ของสถาบนั ชอ่ื ดงั เพอ่ื เปน แนวทางกอ น นักเรียนควรรู การทาํ งานทกุ คร้งั 3. วราลกั ษณร วบรวมขา วเกย่ี วกบั เหตกุ ารณท สี่ ง ผลกระทบตอ 1 ขอ มลู ขนั้ ทตุ ยิ ภมู ิ (secondary data) เปน ขอ มลู ทผี่ ใู ชไ มไ ดเ กบ็ รวบรวมเอง สงิ่ แวดลอมจากหนงั สอื พิมพ แตม ีผอู นื่ หรือหนวยงานอืน่ เกบ็ รวบรวมไวแลว เชน จากรายงานท่พี ิมพแลวหรอื 4. วราพรสาํ รวจความตอ งการเครอ่ื งมอื ทนุ แรงทางการเกษตร ยังไมไดพิมพของหนวยงานของรัฐบาล สํานักงานวิจัย หนังสือพิมพ การใช ของคนในชุมชนโดยการสมั ภาษณ ขอ มลู ทตุ ยิ ภมู ชิ ว ยประหยดั เวลาและคา ใชจ า ย แตข อ มลู ทไ่ี ดอ าจไมต รงกบั ความ (วเิ คราะหคําตอบ การรวบรวมขอมูลดวยตนเองโดยใชการ ตอ งการทง้ั หมดหรอื อาจมคี วามผดิ พลาดของขอ มลู ทสี่ ง ผลกระทบตอ การสรปุ ผล ดงั น้นั ควรตรวจสอบคณุ ภาพของขอมลู กอ นนาํ มาใช สัมภาษณ ถอื เปน ขอมลู ขนั้ ปฐมภมู ิ ดังนั้น ตอบขอ 4.) T28

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ Design Activity ขน้ั สอน แผนผงั ความเขา้ ใจ ดาํ เนนิ การศกึ ษาคน้ ควา้ ใหน้ กั เรียนวเิ คราะหค์ วามตอ้ งการของคนในภาพ แลว้ สรปุ ขอ้ มูลทว่ี เิ คราะห์ไดใ้ นรปู แบบแผนผังความเขา้ ใจ 5. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรม Design Activity จากหนังสือเรียน หนา 25 6. ครูสุมถามคําตอบของนักเรียนเปนรายบุคคล โดยเมอื่ ตวั แทนนกั เรยี นเฉลยคาํ ตอบจบ 1 ภาพ ครูและนักเรียนคนอื่นๆ รวมกันอภิปรายและ หาขอสรปุ คาํ ตอบของภาพน้นั 7. ครูสุมนักเรียนเฉลยคําตอบภาพถัดไป โดยใช วิธีการซา้ํ ตามขอ 6. จนครบทกุ ภาพ ภาพท ่ี 2.10 คนพกิ ารน่งั รถเขน็ ภาพที่ 2.11 ผูส้ ูงอายุ ภาพท่ ี 2.12 แม่ลูกอ่อน 25กระบวนการ ออกแบบเชงิ วิศวกรรม กิจกรรม สรางเสรมิ เกร็ดแนะครู ครูนําภาพ 5-6 ภาพ ไปตดิ ตามมุมตา งๆ ของหอง เชน ภาพ ในขณะทน่ี กั เรยี นทาํ กจิ กรรม Design Activity รว มกนั ครสู งั เกตพฤตกิ รรม เด็กทารกกําลังคลาน ภาพคนตาบอดกําลังจะขามถนน ภาพ การทาํ งานของนกั เรยี นเปน รายบคุ คลวา มคี วามเขา ใจเกยี่ วกบั กจิ กรรมทท่ี าํ หรอื ไม ผูหญิงหิ้วของรุงรัง จากน้ันใหนักเรียนแตละคนเลือกวิเคราะห หลังจากนักเรียนแตละคนทํากิจกรรมเสร็จแลว ใหครูผูสอนสุมเรียกนักเรียน ความตองการของคนในภาพในรูปแบบแผนผังความเขาใจใน ที่ยังเขาใจเก่ียวกับกิจกรรมที่ทําไมชัดเจนเปนผูเฉลยคําตอบ เพื่อที่ครูผูสอน บทเรียนลงในกระดาษ A4 แลวตกแตงใหสวยงาม จากนั้น จะไดแนะนําและอธิบายขยายความเขาใจเพิ่มเติม เพื่อใหนักเรียนเกิดความรู ครูสุมนักเรียนออกมานําเสนอผลงานทีละคน โดยจัดลําดับการ ความเขา ใจที่ถกู ตองชัดเจนมากย่ิงขน้ึ นาํ เสนอเปน กลมุ ตามลาํ ดบั ภาพทนี่ กั เรยี นเลอื ก เพอ่ื ใหน กั เรยี นได เปรียบเทียบการวเิ คราะหของตนเองและเพือ่ นๆ ที่เลอื กวเิ คราะห ภาพเดียวกันวามีความเขาใจตรงกันหรือไม และเปนการเสริม ความรูความเขาใจเก่ียวกับเนื้อหาในบทเรียนของนักเรียนใหดี ยงิ่ ข้ึน T29

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั สอน 1 สงั เคราะหค์ วามรู้ 1. ครูยกตัวอยางปญหาที่ควรไดรับการแกไข ภายในโรงเรียน 2-3 ปญ หา เชน ปญ หาการ จราจรติดขัดหนาโรงเรียนในตอนเชา ปญหา นักเรียนท้ิงขยะไมถูกท่ี เพื่อใหนักเรียนแตละ กลมุ รว มกนั คดิ หาวิธีการแกไ ขปญ หา 2. นักเรียนแตละกลุมศึกษาตัวอยาง การเลือก วธิ กี ารแกป ญ หาจากหนงั สอื เรยี น หนา 26-28 จากนั้นสมาชิกแตละคนในกลุมชวยกันคิดวิธี การแกปญ หาคนละ 1 วิธี 3. สมาชกิ ภายในกลมุ รว มกนั เลอื กแนวทางในการ แกป ญ หาของสมาชกิ แตล ะคน โดยใชแ นวทาง การเลือกตามตัวอยางในหนังสือเรียน หนา 26-28 เพ่ือคัดเลือกวิธีการแกปญหาที่ดีที่สุด ของกลมุ 1 วิธี 4. ครูอธิบายเพ่ิมเติมวา เหตุผลท่ีกระบวนการ เทคโนโลยีมีข้ันตอนการเลือกวิธีการ เพราะ ตอ งการหาวิธีการแกป ญ หาทดี่ ที ่สี ดุ 5. ครูใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันศึกษาเร่ือง ออกแบบวิธีการแกปญหาจากหนังสือเรียน หนา 26-28 จากนั้นใหแตละกลุมรวมกัน อภิปรายวา จะมีแนวทางในการออกแบบ วธิ กี ารแกปญหาของกลมุ อยางไร 6. ครูอธิบายความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับตนแบบวา เปนการสรางแบบจําลองของเทคโนโลยีเพื่อ ตรวจสอบวา ตรงกับความตองการของผูใช หรือไม และส่ิงท่ีผูสรางตนแบบจากผูใช คือ ความคิดเห็นหรือผลสะทอนกลับวาชอบหรือ ไมชอบ เพ่ือท่ีจะนําไปเปนแนวทางในการ พัฒนาตอไป นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคดิ 1 ผลสะทอนกลับ (feedback) คือ สวนแสดงผลที่ใชในการทําใหเกิดการ เหตใุ ดกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมจงึ ตอ งมขี น้ั ตอนการ เปลย่ี นแปลงตอ สว นทนี่ าํ เขา หรอื สว นประมวลผล เชน ความผดิ พลาดหรอื ปญ หาท่ี ออกแบบวธิ กี ารแกป ญหา เกดิ ขน้ึ อาจจาํ เปน ตอ งแกไ ขขอ มลู นาํ เขา หรอื ทาํ การเปลยี่ นแปลงการประมวลผล เพ่อื ใหไ ดส ว นแสดงผลทถี่ กู ตอ ง ตวั อยา งเชน ระบบการจายเงนิ เดอื นพนักงาน 1. เพราะแหลง เรียนรูม ีมากมาย ทําการปอ นชว่ั โมงการทํางานรายสัปดาหเปน 400 ชว่ั โมง แตก ารกาํ หนดระบบ 2. เพราะตอ งการไดว ธิ ีการแกป ญหาท่ดี ีท่ีสุด ตรวจสอบคา ช่ัวโมงการทํางานใหอยูในชวง 0-100 ช่วั โมง ดังนน้ั เมื่อพบขอมูล 3. เพราะสมาชิกในกลมุ มคี วามคดิ ท่แี ตกตา งกนั นีเ้ ปน 400 ชั่วโมง ระบบจะทาํ การสงผลสะทอนกลบั ออกมา อาจอยูในรปู ของ 4. เพราะตอ งการใหสมาชิกในกลุมมีสว นรว มในการทาํ งาน รายงานความผดิ พลาด ทาํ ใหส ามารถนาํ ไปใชใ นการตรวจสอบและแกไ ขจาํ นวน (วเิ คราะหคําตอบ การออกแบบวิธีการแกปญหาเปนกระบวน ช่ัวโมงการทาํ งานใหถ กู ตอ งได การออกแบบเชิงวิศวกรรมที่เกิดขึ้นหลังจากเขาใจปญหาอยาง ลึกซึ้งแลว เพื่อเลือกวิธีการแกปญหาใหเหมาะสมกับปญหามาก ทส่ี ุด โดยการทดลองสรางตนแบบข้ึนมา ดงั นั้น ตอบขอ 2.) T30

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ การออกแบบวิธีการแก้ปัญหาด้วยการสร้างต้นแบบน้ัน ท�าให้เราสามารถทดสอบสมมติฐานที่เรามีก่อนท่ีจะ ขนั้ สอน ลงทนุ และลงแรงสร้างเทคโนโลยอี อกมาอยา่ งเต็มรปู แบบ ซึง่ หลักการส�าคญั ในการสร้างต้นแบบมี 3 ขอ้ ดังน้ี สงั เคราะหค์ วามรู้ 1 ความง่าย (rough) 2 ความเรว็ (rapid) 3 ความเหมาะสม (right) ไม่เพียงสรา้ งให้เสมือนจริง แต่ 7. นักเรียนแตละกลุมรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับ สรา้ งตน้ แบบดว้ ยวสั ดสุ ามารถสอ่ื สารได้ เนน้ ความเร็วเพ่อื รบี นา� ตน้ แบบไป ออกแบบมาเพื่อทดสอบสมมตฐิ านท่ี วิธีการแกปญหาของกลุม พรอมออกแบบวิธี แตไ่ ม่ต้องลงทนุ มาก ทดสอบขอความคิดเห็นและปรับปรุง ผคู้ ิดเทคโนโลยีต้องการจะหาค�าตอบ การแกปญหา แลวสรุปเปนผังมโนทศั น ไดผ้ ลลพั ธป์ ระสทิ ธภิ าพตา่� ได้ผลลัพธ์ประสทิ ธภิ าพสูง 8. ตัวแทนแตล ะกลมุ ออกมานําเสนอผงั มโนทศั น หนาชั้นเรียน จากนั้นครูและนักเรียนรวมกัน ตวั อยา่ ง รูปแบบของต้นแบบอย่างงา่ ยท่ีใชใ้ นการทดสอบสมมติฐาน อภปิ รายความรเู กย่ี วกบั วธิ กี ารออกแบบวธิ กี าร แกป ญหารวมกนั การสรา้ งต้นแบบดว้ ยการสรา้ งผังงาน (concept sheet) 9. ครขู ยายความรเู พม่ิ เตมิ ในหนงั สอื เรยี นเกย่ี วกบั • การสรา้ งตน้ แบบดว้ ยวธิ นี เี้ ปน็ วธิ ที งี่ า่ ยทส่ี ดุ สามารถลงมอื ทา� ไดเ้ ลยดว้ ยการ หลักสําคัญการสรางตนแบบ แลวลองให นักเรียนแตละกลุมรวมกันสรางตนแบบ วาดภาพเพอ่ื ให้คนเข้าใจและรับรแู้ นวคิดของการแกป้ ัญหา อยางงาย โดยเลือกวิธีท่ีนักเรียนถนัดจาก ตัวอยา งในหนงั สอื เรียน หนา 27-28 ภาพท่ี 2.15 การสร้างตน้ แบบดว้ ยการสร้างผังงาน การสรา้ งตน้ แบบดว้ ยกระดาษ (paper prototyping) • ช้ินงานบางช้ินน้ันอาจใช้เวลาในการสร้าง แต่บางชิ้นงานสามารถสรา้ งแบบ จา� ลองเรว็ ๆ ไดจ้ ากกระดาษหรอื วสั ดรุ อบตวั โดยใชว้ ธิ เี ขยี น วาดภาพประกอบ ตัดแปะกระดาษ ซ่งึ ท�าให้แนวคิดน้นั จับตอ้ งไดม้ ากขึ้น ภาพท่ี 2.16 การสรา้ งตน้ แบบด้วยกระดาษ 1 การสรา้ งต้นแบบด้วยสอื่ วดิ โี อ (video prototyping) • เน่ืองจากเทคโนโลยีมีความทันสมัยมากขึ้น การสร้างต้นแบบด้วยวิดีโอจึง สามารถท�าให้เรารู้ถึงค�าติชมได้อย่างรวดเร็ว ดังน้ันทีมผู้ออกแบบสามารถ น�าค�าติชมไปปรับเพ่ือสร้างต้นแบบใหม่อีกคร้ัง โดยเร่ิมต้นจากการท�าวิดีโอ จ�าลองการใช้งานและน�าไปเผยแพร่เพ่ือสอบถามความคิดเห็น ผลลัพธ์ คือ คนสนใจเปน็ จา� นวนมาก วธิ กี ารนที้ า� ใหผ้ ผู้ ลติ เหน็ ถงึ จา� นวนคนทส่ี นใจไดอ้ ยา่ ง ชัดเจนโดยไมต่ ้องลงมอื สรา้ งผลติ ภณั ฑจ์ รงิ ภาพท่ี 2.17 การสร้างต้นแบบด้วยสอ่ื วดิ โี อ 27กระบวนการ ออกแบบเชิงวิศวกรรม ขอ สอบเนน การคิด นักเรียนควรรู การเขียนภาพ 3 มิติของชิ้นงานสําเร็จตรงกับขั้นตอนใดใน 1 วดิ โี อ คอื มลั ตมิ เี ดยี ทส่ี ามารถแสดงภาพเคลอื่ นไหวพรอ มเสยี งบรรยายได กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม วดิ ีโอแบงไดเ ปน 2 ชนิด คือ 1. ระบปุ ญ หา 1) วดิ ีโอแอนะล็อก (analog video) เปนวดิ โี อที่ทาํ การบนั ทกึ ขอ มลู ภาพ 2. ออกแบบวธิ กี ารแกปญ หา และเสียงใหอยูในรูปของสัญญาณไฟฟา มีลักษณะการบันทึกขอมูล 3. รวบรวมขอมูลและแนวคดิ ท่ีเกี่ยวขอ งกบั ปญ หา ท่ีใหความคมชดั ตา่ํ กวาวิดโี อแบบดิจทิ ัล 4. ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรบั ปรงุ แกไ ขวธิ กี ารแกป ญ หาหรอื 2) วิดีโอดิจิทัล (digital video) เปนวิดีโอท่ีทําการบันทึกขอมูลภาพและ ชิน้ งาน เสียงดวยการแปลสัญญาณคลื่นใหเปนตัวเลข 0 กับ 1 คุณภาพของ (วิเคราะหค ําตอบ การออกแบบวธิ กี ารแกป ญ หาในการสรา งสรรค วดิ โี อทไ่ี ดจ ะมคี วามใกลเ คยี งกบั ตน ฉบบั มาก ทาํ ใหส ามารถบนั ทกึ ขอ มลู เทคโนโลยีจะเร่มิ ตนดวยการสรางตน แบบกอนทีจ่ ะสรางจริง เพื่อ ลงบนฮารดดิสก ซีดีรอม ดีวีดี หรืออุปกรณบันทึกขอมูลอื่นๆ และ ตรวจสอบวา ตรงตามความตอ งการของผใู ชห รอื ไม การเขยี นภาพ สามารถแสดงผลบนคอมพวิ เตอรไดอยางมีประสิทธภิ าพ 3 มิติของช้ินงานจึงเปนขั้นตอนหน่ึงของการออกแบบวิธีการ แกปญหา ดงั น้ัน ตอบขอ 2.) T31

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั สอน การสรา้ งต้นแบบด้วยการจา� ลองสถานการณ์ หรือบทบาทสมมติ (role play prototyping) สงั เคราะหค วามรู • การแสดงบทบาทสมมตหิ รอื จา� ลองสถานการณถ์ อื เปน็ อกี วธิ ที ง่ี า่ ยและรวดเรว็ 10. ครใู หน กั เรยี นแตล ะกลมุ ศกึ ษาความรเู กยี่ วกบั ขั้นตอนของวิธีการสรางตนแบบจากหนังสือ การสรา้ งตน้ แบบดว้ ยวธิ ีน้ี จะท�าให้ทมี ผอู้ อกแบบไดส้ วมบทบาทตวั ผูใ้ ช้งาน เรียน เองดว้ ยซง่ึ วธิ นี จ้ี ะชว่ ยใหผ้ อู้ อกแบบเขา้ ใจและเขา้ ถงึ วธิ กี ารแกป้ ญั หาทแ่ี ทจ้ รงิ การสร้างตน้ แบบด้วยวิธนี ี้จะเหมาะกับเทคโนโลยีทเี่ ปน็ งานบริการ 11. นักเรียนแตละกลุมลงมือสรางตนแบบอยาง งายตามวิธีที่ท่ีเลือกไว เสร็จแลวครูสุมเรียก ภาพท่ี 2.18 การสร้างตน้ แบบดว้ ยการจา� ลองสถานการณ์ นักเรียนทีละกลุมออกมานําเสนอตนแบบที่ สราง พรอมอธิบายลักษณะสิ่งท่ีสรางและ ตน้ แบบนนั้ ไมไ่ ดเ้ ปน็ ชน้ิ งานสดุ ทา้ ย แตเ่ ปน็ แนวคดิ ของเทคโนโลยที ต่ี อ้ งปรบั และพฒั นาตอ่ ไปจากการทดสอบ วัตถปุ ระสงคข องการสรางใหเ พ่อื นๆ ฟง ดหังรนือั้มนรี าใคนากสาูงรสหร้าางกตจ้น�าเแปบ็นบตเ้อรางจม�าีกเาปร็นสทรา้ี่จงะรตะ้อบงบคไัดฟเลฟือ้าก1วระัสบดบุอกุปลกไรกณ์อหยร่าืองรสะรบ้าบงอสเิรลรก็ คท์ รไอมน่เลกิ ือสก์อวาัสจดจุอะเุปปกน็ รกณา์ทรป่ีซรับะซย้อุกนต์ 12. ครูอธิบายเพิ่มเติมวา ตนแบบไมใชงาน ช้ินสุดทายของกระบวนการออกแบบเชิง จากระบบไฟฟ้างา่ ย ๆ กอ่ นในเบอื้ งตน้ วศิ วกรรม เมอื่ ไดต น แบบของวธิ กี ารแกป ญ หา กระบวนการสร้างต้นแบบ (Prototyping Process) มาแลว จะตองมีการทดสอบวาแนวคิดของ การสร้างต้นแบบจะไม่พัฒนาทั้งระบบทีเดียว เทคโนโลยีน้ันตอบโจทยของผูใชงานหรือ ท้ังหมด แต่จะพัฒนาโดยใช้ต้นแบบ ซ่ึงประกอบด้วย ไม และหลังจากที่ทําการทดสอบแลวพบ ส่วนต่าง ๆ ของระบบใหม่แต่จ�าลองให้มีขนาดเล็กเพื่อ วาเทคโนโลยีที่ออกแบบนั้นมีขอบกพรอง ก็ ให้ผู้ใช้ได้ทดลองใช้ก่อน และให้ข้อเสนอแนะเพื่อใช้ใน จะตองมีการปรับปรุงแกไขใหดีขึ้น ซ่ึงการ การปรับปรุงต้นแบบนี้ให้เหมาะสมต่อไป กระบวนการนี้ ปรับปรุงแกไขน้ีสามารถทาํ ไดหลายครั้ง เพอ่ื จะปฏบิ ตั ิการซา�้ ๆ จนกระทัง่ ผู้ใช้ยอมรับระบบ จึงจะน�า ใหช้ินงานเทคโนโลยีสามารถตอบโจทยการ ตน้ แบบนั้นไปพฒั นาใหเ้ ตม็ รปู แบบตอ่ ไป ใชงานไดดีทส่ี ดุ ขั้นตอนของวธิ ีการสร้างต้นแบบ มี 4 ขั้นตอน ดงั นี้ ภาพท่ี 2.19 กระบวนการสรา้ งตน้ แบบ 1 ก�าหนดความต้องการ เปน็ การหาความตอ้ งการพนื้ ฐานของผใู้ ชร้ ะบบ นกั ออกแบบระบบจะตอ้ งมเี วลาเพยี งพอในการศกึ ษาหาความตอ้ งการดา้ น สารสนเทศพ้นื ฐานของผู้ใช้ 2 ออกแบบตน้ แบบ นกั พัฒนาระบบสามารถใชเ้ คร่อื งมอื ในการพฒั นาตน้ แบบออกแบบระบบ เพื่อใหเ้ กิดความรวดเร็ว 3 นา� ต้นแบบไปใช้ ผู้ใช้จะน�าต้นแบบไปทดลองใช้ว่าสามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้เพียงใด โดยผู้ใช้สามารถให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับ ปัญหาหรือข้อแนะนา� ในการปรบั ปรุงตน้ แบบได้ 4 ปรับแตง่ ต้นแบบ เป็นการน�าความเห็นของผู้ใช้มาปรับปรุงต้นแบบให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ข้ันตอนนี้จะเกิดซ้�าไปซ้�ามาจนกระทั่งผู้ใช้เกิด ความพอใจ แล้วจึงจะสามารถน�าต้นแบบไปใช้งานได้ 28 นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด 1 ระบบไฟฟา หมายถึง ลักษณะการสงจายกระแสไฟฟาจากแหลงกําเนิด ขอใดเปรียบเทียบความคลายกันของขั้นตอนวิธีการสราง ไปยงั ผใู ชไ ฟฟา ตามประเภทการใชง าน โดยสง จากสถานไี ฟฟา ผา นสายไฟฟา แรง ตน แบบกบั กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมผดิ สงู สถานไี ฟฟา ยอ ย หมอ แปลงแปลงไฟฟา ใหต าํ่ ลง ไปยงั บา นพกั อาศยั สาํ นกั งาน หรือโรงงานอุตสาหกรรม ระบบไฟฟา แบง ออกไดเ ปน 2 ระบบ ดงั นี้ 1. กาํ หนดความตองการกับระบุปญหา 2. ออกแบบตน แบบกับออกแบบวิธแี กปญ หา 1) ระบบไฟฟา 1 เฟส คอื ระบบไฟฟา ทม่ี สี ายไฟฟา จาํ นวน 2 เสน เสน ทมี่ ไี ฟ 3. นําตน แบบไปใชก บั วางแผนและดําเนนิ การแกป ญหา เรียกวา สายไฟฟา สายเฟส หรือสายไลน เสนท่ีไมมีไฟ เรียกวา 4. ปรบั แตงตนแบบกบั ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแกไข สายนวิ ทรลั หรือสายศนู ย แรงดันไฟฟา ทีใ่ ชม ขี นาด 220 โวลต (Volt) ใชสาํ หรบั บานพกั อาศยั ทวั่ ไปท่มี กี ารใชไฟฟาไมมากนกั วธิ กี ารแกปญหาหรอื ชิน้ งาน (วิเคราะหคําตอบ ข้ันการนําตนแบบไปใชของขั้นตอนวิธีการ 2) ระบบไฟฟา 3 เฟส คื อระบบไฟฟา ทมี่ สี ายไฟฟา จาํ นวน 3 เสน และสาย สรางตนแบบเปรียบเทียบไดกับขั้นทดสอบ ประเมินผล และ นิวทรัล 1 เสน ระบบนี้สามารถตอใชงานเปนระบบไฟฟา 1 เฟสได ปรับปรุงแกไขวิธีการแกปญหาหรือชิ้นงานของกระบวนการ และสามารถจา ยกระแสไฟฟา ไดม ากกวาระบบ 1 เฟส ถึง 3 เทา จึง ออกแบบเชิงวศิ วกรรม ดังนน้ั ตอบขอ 3.) เหมาะกบั การใชใ นสถานทท่ี ต่ี อ งการใชไ ฟฟา มากๆ เชน อาคารพาณชิ ย โรงงานอตุ สาหกรรมขนาดเลก็ เปน ตน T32

นาํ สอน สรุป ประเมนิ 1.4 วางแผนและดา� เนนิ การแก้ไขปญั หา ขนั้ สอน วางแผนและด�าเนินการแก้ปัญหาเป็นการก�าหนดล�าดับขั้นตอนของการสร้างช้ินงานหรือวิธีการ แล้วลงมือ สงั เคราะหค์ วามรู้ สร้างช้ินงานหรือพัฒนาวิธีการเพื่อใช้ในการแก้ปัญหา หลังจากที่ได้ออกแบบวิธีการและก�าหนดเค้าโครงของวิธีการ แกป้ ัญหาแล้ว ขนั้ ตอนตอ่ ไปคือการพัฒนาตน้ แบบ (Prototype) ของสง่ิ ทีไ่ ดอ้ อกแบบไวใ้ นขน้ั ตอนน ี้ ผู้แกไ้ ขปญั หา 13. ครูใหนักเรียนแตละกลุมศึกษากระบวนการ ต้องก�าหนดขน้ั ตอนยอ่ ยในการทา� งานรวมกนั ทัง้ ก�าหนดเปา้ หมายและระยะเวลาในการดา� เนินการแต่ละขนั้ ตอนย่อย ออกแบบเชงิ วศิ วกรรมขนั้ วางแผนและดาํ เนนิ ให้ชัดเจน การแกป ญ หาจากหนังสือเรยี น หนา 29 ตวั อย่าง แผนการปฏบิ ตั งิ านการท�ากิจกรรมโครงงานวทิ ยาศาสตร ์ 14. ครูใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันเขียนแผน เรือ่ ง เครือ่ งวดั ความเรว็ ลม ปฏิบัติงานและแผนการดําเนินงานในการ พัฒนาตนแบบของแตละกลมุ ตารางท่ ี 2.1 แผนการปฏบิ ัติงาน เรอ่ื ง เครอ่ื งวัดความเรว็ ลม ระยะเวลาท่ีใช้ 15. ครูใหนักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนออกมา กิจกรรม 1 กันยายน - 15 กนั ยายน นําเสนอแผนปฏิบัติงานและแผนการดําเนิน 16 กนั ยายน - 30 กันยายน งานในการพฒั นาตน แบบของแตล ะกลมุ และ คดิ เลอื กหัวเร่อื งและการศกึ ษาเอกสารทเี่ กี่ยวข้อง 1 ตลุ าคม - 1 พฤศจิกายน แลกเปลยี่ นขอ คดิ เหน็ กบั เพอื่ นในชนั้ เรยี นเพอื่ การเขยี นเค้าโครงของโครงงาน 2 พฤศจิกายน - 30 พฤศจิกายน ปรับปรุงใหม ีความเหมาะสมมากขนึ้ การปฏบิ ตั ิโครงงาน 1 ธันวาคม - 10 ธันวาคม การเขียนรายงาน การน�าเสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน ตวั อยา่ ง แผนการด�าเนนิ งานการท�ากจิ กรรมโครงงานวทิ ยาศาสตร์ เร่ือง เครือ่ งวดั ความเรว็ ลม ตารางที ่ 2.2 แผนการด�าเนินงาน เร่ือง เครอ่ื งวดั ความเรว็ ลม ลา� ดับ กจิ กรรม กันยายน ระยะเวลา (ชั่วโมง) 1. คิดเลอื กหัวเรื่องและการศึกษาเอกสารทเี่ ก่ยี วข้อง ตลุ าคม พฤศจิกายน ธนั วาคม 2. การเขยี นเค้าโครงของโครงงาน 3. การปฏิบัตโิ ครงงาน 4. การเขยี นรายงาน 5. การนา� เสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน 29กระบวนการ ออกแบบเชงิ วศิ วกรรม ขอสอบเนน การคิด ความรูเสริม ก า ร เ ขี ย น แ ผ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น แ ล ะ แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น แผนการปฏิบัติงานและแผนการดําเนินงาน เปนเคร่ืองมือในการแปลง มีประโยชนในการพัฒนางานอยางไร แผนการทํางาน/โครงงานไปเปนกิจกรรมยอยในเชิงปฏิบัติ ชวยในการควบคุม ใหผูปฏิบัติงานทํางานไดสะดวกมากยิ่งขึ้น และสามารถลดภาระในการตัดสิน (แนวตอบ นกั เรยี นตอบตามความคดิ เหน็ ของตนเอง โดยคาํ ตอบ ใจวาจะตองทําอะไร ในชวงเวลาไหน รวมทั้งชวยใหผูปฏิบัติงานในแตละสวน ขึ้นอยกู บั ดลุ ยพนิ ิจของครู เชน ชว ยใหส ามารถควบคมุ การทํางาน ทราบวาใครจะตองทําอะไร เมื่อไหร อยางไร จึงชวยปองกันและลดการเกิด ในแตละขั้นตอนใหเสร็จภายในระยะเวลาท่ีกําหนดไดงายข้ึน ปญหาระหวา งการทาํ งานลวงหนา ได ชว ยปอ งกนั และลดการเกดิ ปญหาระหวางการทาํ งานไดล ว งหนา ) T33

นาํ สอน สรปุ ประเมิน ขน้ั สอน สงั เคราะหค์ วามรู้ 16. ครูใหนักเรียนแตละกลุมศึกษากระบวนการ ออกแบบเชงิ วศิ วกรรมขนั้ ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรบั ปรงุ แกไ ขวธิ กี ารแกป ญ หาหรอื ชน้ิ งาน จากหนงั สอื เรยี น หนา 30 17. ครูใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันเขียนแบบ ทดสอบความคิดเห็นในการทดลองใชงาน ตน แบบของแตละกลมุ 18. ครใู หน กั เรยี นแตล ะกลมุ สง ตวั แทนออกมานาํ เสนอแบบทดสอบความคิดเห็นในการพัฒนา ตน แบบของแตล ะกลมุ และแลกเปลย่ี นขอ คดิ เห็นกับเพ่ือนในชั้นเรียนเพื่อปรับปรุงใหมี ความเหมาะสมมากขึ้น เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด ครูควรอธิบายเพ่ิมเติมใหนักเรียนเห็นความสําคัญของกระบวนการ ผลิตภัณฑท่ีวางจําหนายในตลาดไดแลว จําเปนตองนํามา ออกแบบเชิงวิศวกรรมและการนํามาใชวา กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม วิเคราะหค ณุ ภาพทางดา นตา ง ๆ อีกหรือไม เพราะอะไร เปน กระบวนการที่นกั เรยี นสามารถนาํ ความรูไ ปใชแ กป ญ หาในชีวติ จรงิ รวมทง้ั การพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหมท่ีเปนประโยชนตอการดํารงชีวิตและ 1. ไมจ ําเปน เพราะสามารถจําหนายไดแลว การทํางานได 2. ไมจําเปน เพราะมีขอมลู เกย่ี วกับผลิตภณั ฑน น้ั ๆ อยูแลว 3. จาํ เปน เพราะจะทาํ ใหผ ลติ ภณั ฑน น้ั ๆ มยี อดจาํ หนา ยสงู ขน้ึ T34 4. จําเปน เพราะจะไดแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑนั้นๆ ใหมคี ุณภาพดยี ง่ิ ข้ึน (วเิ คราะหคําตอบ เมื่อจําหนายผลิตภัณฑใหกับลูกคาไปแลว ผูผลิตจําเปนจะตองติดตามวาผลิตภัณฑน้ันตอบโจทยผูใชงาน หรือไม มีสวนใดตองพัฒนาหรือแกไขบาง เพื่อใหผลิตภัณฑน้ัน มีคุณภาพดียิ่งขึ้น ซึ่งข้ันตอนน้ีตรงกับกระบวนการเทคโนโลยี ข้นั ตรวจสอบ ดังนัน้ ตอบขอ 4.)

นํา สอน สรปุ ประเมนิ 1.6 นา� เสนอวธิ กี ารแก้ปัญหา ผลการแกป้ ญั หาหรือช้ินงาน ขนั้ สอน กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมทด่ี นี น้ั ไมเ่ พยี งประกอบดว้ ยขนั้ ตอนการทา� งานทเี่ ปน็ ระบบ แตย่ งั รวมไปถงึ สงั เคราะหค์ วามรู้ การสื่อสารวิธีการแก้ปัญหาให้ผู้ใช้และสังคมเข้าใจ ดังนั้น การน�าเสนอผลงานจึงเป็นข้ันตอนสุดท้ายที่ส�าคัญของ กระบวนการเทคโนโลยี 19. ครูใหนักเรียนแตละกลุมศึกษากระบวนการ การนา� เสนอผลงานเปน็ การถา่ ยทอดแนวคดิ เพอื่ ใหผ้ อู้ นื่ เขา้ ใจเกยี่ วกบั กระบวนการทา� งานและชนิ้ งาน หรอื วธิ กี าร ออกแบบเชิงวิศวกรรมข้ันนําเสนอวิธีการ ทีไ่ ด้ ซง่ึ สามารถทา� ได้หลายวิธี เช่น การเขียนรายงาน การทา� แผ่นนา� เสนอผลงาน การเล่าเรอื่ ง รปู แบบการนา� เสนอ แกปญหา ผลการแกปญหาหรือช้ินงานจาก หนังสอื เรียน ผสาลมงาานรถทน่ีดา�นี เ้ันสนคอวรเรเรอ่ื มิ่งรตา้นวจไาดกค้ ทรี่มบถาขว้ นองคปรญัอบหคาลแมุ ลทะง้ั คกรรอะบบควนลมุกไาปรอถอึงวกธิแีกบาบรเแชกงิ ้ปวศิัญวหการรโมดยคหอื นสึง่ ตในอเรคบี รอ่อื รงด์ม1ือ(sทto่ชี r่วyยbใoหa้เrรdา) 20. ครูใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันเขียนสตอรี หรือการสร้างภาพให้เหน็ ล�าดบั ขนั้ ตอนการท�างาน บอรด สาํ หรบั นําเสนอผลงานของแตละกลุม ตวั อยา่ ง การน�าเสนอผลงานผา่ นสตอรบี อรด์ 21. ครูใหนักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนออกมา นําเสนอสตอรีบอรดสําหรับนําเสนอผลงาน 1 ปัญหาทตี่ ้องการแก้ไข 2 ข้อมูลท่พี บเก่ียวกบั ปญั หา 3 แนวทางการแก้ปญั หา ของแตละกลุม และแลกเปล่ียนขอคิดเห็น กับเพื่อนในช้ันเรียนเพื่อปรับปรุงใหถูกตอง 4 การทดลอง 5 ผลการทดลองและการ 6 เทคโนโลยที ่พี ัฒนาส�าเร็จ มากขน้ึ ประเมินผล ขน้ั สรปุ การสร้างสรรค์นวัตกรรมทางเทคโนโลยี มีผู้สร้างที่เราเรียกว่า วิศวกร (engineer) ซ่ึงวิศวกรจะประยุกต์ใช้ หลักการทางวิทยาศาสตร์ผ่านคณิตศาสตร์ รวมไปถึงการใช้เทคโนโลยีท่ีมีอยู่เดิมในการสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ผ่าน สรปุ และประเมนิ คา ของคาํ ตอบ กระบวนการเทคโนโลยี หรอื เรยี กอกี อยา่ งหนง่ึ วา่ กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม (Engineering Design Process) 1. ครใู หน กั เรยี นสอบถามเพมิ่ เตมิ เกยี่ วกบั เนอ้ื หา กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม มี 2 สว่ น คอื สว่ นทน่ี า� วทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตรม์ าใชใ้ หเ้ ปน็ ประโยชน์ ท่ียงั ไมเ ขาใจ แลว ครูชว ยอธบิ ายขยายความรู กับส่วนที่ออกแบบให้ได้ผลงานท่ีต้องการ ซึ่งเทคโนโลยีมากมายท่ีมนุษย์สร้างและพัฒนาขึ้น ท้ังหมดน้ีอยู่ในการ เพมิ่ เติมให ออกแบบเชิงวิศวกรรม เน่ืองจากเทคโนโลยีคือส่ิงที่มีกระบวนการท�างาน เพ่ือตอบสนองความต้องการของมนุษย์ และการออกแบบคือกระบวนการท่ีเอาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มาท�าความเข้าใจว่า เราจะจัดการดัดแปลง 2. นกั เรยี นทาํ ใบงาน เรอื่ ง กระบวนการเทคโนโลยี ทรัพยากรธรรมชาติแล้วนา� มารวมกันได้อยา่ งไร เพือ่ ใหส้ ิง่ นั้นทา� งานได้ 3. ครูใหน กั เรยี นทําแบบฝก หัด หนา 23-29 ตวั อย่าง การผลิตเครื่องปรับอากาศ เร่ิมจากวิศวกรออกแบบวัสดุให้มีรูปร่างต่าง ๆ แล้วใช้ทรัพยากรธรรมชาติ เช่น น้�า น�้ามัน อากาศ สร้างช้ินสว่ นตา่ ง ๆ ใหม้ ีรูปร่างตามท่ีออกแบบ จากนนั้ นา� ช้ินสว่ นตา่ ง ๆ มาประกอบกนั ตามทอ่ี อกแบบไว้ เราก็จะได้ เทคโนโลยเี ครอื่ งปรบั อากาศทน่ี �ามาดัดแปลงธรรมชาติ คือ เปลี่ยนอากาศรอ้ นให้เป็น อากาศเย็น นน่ั เอง 31กระบวนการ ออกแบบเชิงวิศวกรรม ขอ สอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู กระบวนการเทคโนโลยีข้ันตอนใดท่ีมีสวนทําใหช้ินงานมีความ เมื่อนักเรียนศึกษาตัวอยางการนําเสนอผลงานผานสตอรีบอรดเสร็จแลว สมบรู ณม ากทสี่ ดุ ครูควรอธิบายเพิ่มเติมเก่ียวกับข้ันตอนการทําทีละข้ันตอนอยางชัดเจน และ มอบหมายใหน กั เรยี นแตล ะคนทาํ สตอรบี อรด เกยี่ วกบั ปญ หาทพ่ี บในชวี ติ ประจาํ วนั 1. ระบุปญหา ของตนเอง แลวนํามาเสนอหนาชั้นเรียนในชั่วโมงถัดไป เพื่อตรวจสอบความ 2. ออกแบบวธิ ีการแกป ญหา เขา ใจของนกั เรยี น 3. วางแผนและดําเนินการแกป ญ หา 4. ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรบั ปรงุ แกไ ขวธิ กี ารแกป ญ หาหรอื นักเรียนควรรู ชิ้นงาน 1 สตอรบี อรด (storyboard) คอื การเขยี นภาพนง่ิ และขอความเพือ่ กําหนด (วเิ คราะหค ําตอบ ทดสอบ ประเมินผล และปรบั ปรุงแกไขวิธกี าร แนวทางในการถา ยทาํ หรอื ผลติ ภาพเคลอ่ื นไหวในรปู แบบตา งๆ เชน ภาพยนตร แกปญหาหรือช้ินงาน เปนการทําเพื่อทดสอบองคประกอบตางๆ โฆษณา การตนู ของชนิ้ งานเทคโนโลยี เพอื่ ใหม คี วามสมบรู ณ โดยเปน ขน้ั ตอนของ กระบวนการเทคโนโลยที สี่ ามารถทาํ ไดห ลายครงั้ ยง่ิ มกี ารทดสอบ T35 ประเมินผล และปรับปรุงแกไขวิธีการแกปญหาหรือชิ้นงานมาก ชิ้นงานก็จะมคี วามสมบรู ณม ากข้ึนเรอื่ ยๆ ดงั นน้ั ตอบขอ 4.)

นาํ สอน สรุป ประเมนิ ขน้ั สรปุ สรปุ และประเมนิ คา ของคาํ ตอบ 4. นักเรียนทํากิจกรรมที่สอดคลองกับเน้ือหา โดยใหผูเรียนฝกปฏิบัติเพื่อพัฒนาความรูและ ทักษะ (Design Activity) 5. ครูประเมินผลการนําเสนอของนักเรียนและ ตรวจสอบความถูกตอ งจากการทําใบงาน 6. ครูมอบหมายใหนักเรียนสรุปความรู เร่ือง กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม ขนั้ ประเมนิ นาํ เสนอและประเมนิ ผลงาน ตารางการวัดและประเมินผล วิธีการ เครอื่ งมอื เกณฑก ารประเมนิ ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบ ประเมินตาม กอ นเรียน กอ นเรียน สภาพจริง ตรวจใบงาน ใบงาน รอ ยละ 60 ผานเกณฑ ประเมนิ แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ 2 การนาํ เสนอ การนาํ เสนอ ผานเกณฑ ผลงาน ผลงาน สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสังเกต ระดับคณุ ภาพ 2 การทาํ งาน พฤตกิ รรม ผานเกณฑ รายบคุ คล สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกต ระดับคณุ ภาพ 2 การทาํ งานกลมุ พฤติกรรม ผานเกณฑ แนวทางการวัดและประเมินผล กจิ กรรม ทาทาย ครูสามารถประเมินการนําเสนอผลงาน และสังเกตพฤติกรรมการทํางาน ใหนกั เรียนแบงกลมุ กลมุ ละ 3-4 คน จากนั้นใหแตล ะกลุม รายบุคคลและการทํางานกลุมของนักเรียน โดยศึกษาเกณฑการวัดและ รวมกันระดมความคิดออกแบบวิธีการแกปญหาที่พบในโรงเรียน ประเมินผลจากแบบประเมินการนําเสนอผลงาน แบบสังเกตพฤติกรรม 1 ปญหา จากน้ันใหชวยกันออกแบบตนแบบที่จะใชแกปญหา การทํางานรายบุคคล และแบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุมที่แนบมา ทั้ง 3 รูปแบบ ไดแก ความงาย ความเร็ว และความเหมาะ ทายแผนการจดั การเรียนรทู ี่ 2 หนวยการเรียนรูท่ี 2 สม โดยครูกําหนดระยะเวลาในการคิดและสรางตนแบบเปน ระยะเวลา 2 สัปดาห จากนั้นใหนักเรียนแตละกลุมนําผลงาน แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุ การออกแบบมาจัดนิทรรศการภายในหองเรียน เพื่อแลกเปลี่ยน ความรแู ละประสบการณ คาชี้แจง : ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในชอ่ งที่ คาช้ีแจง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ลงในชอ่ งที่ คาชแ้ี จง : ใหผ้ ้สู อนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ลงในชอ่ งท่ี ตรงกบั ระดับคะแนน ตรงกบั ระดับคะแนน ตรงกบั ระดับคะแนน ลาดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 1 ลาดบั ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน การแสดง การยอมรับ การทางาน ความมีน้าใจ การมี รวม 32  32 ความคดิ เหน็ ฟงั คนอ่นื ตามท่ีไดร้ บั สว่ นร่วมใน 15 1 ความถกู ต้องของเนอ้ื หา   1 การแสดงความคิดเห็น  1 ลาดับที่ ช่อื –สกลุ มอบหมาย การปรบั ปรงุ คะแนน 2 ความคดิ สร้างสรรค์  2 การยอมรับฟังความคดิ เห็นของผู้อืน่  ของนักเรียน ผลงานกลมุ่ 3 วธิ ีการนาเสนอผลงาน   3 การทางานตามหนา้ ท่ีทไ่ี ด้รับมอบหมาย   4 การนาไปใช้ประโยชน์  4 ความมีนาใจ  321321321321321 5 การตรงต่อเวลา  5 การตรงต่อเวลา        รวม รวม ลงช่อื ...................................................ผปู้ ระเมิน ลงชื่อ...................................................ผูป้ ระเมิน ............/................./................... ............/.................../................ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ลงชอ่ื ...................................................ผปู้ ระเมิน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมินสมบรู ณ์ชัดเจน ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 2 คะแนน ............./.................../............... ให้ 1 คะแนน ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ เปน็ ส่วนใหญ่ ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครัง เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมนิ บางส่วน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤติกรรมบางครงั ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครั้ง ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ 14–15 ดมี าก 14–15 ดมี าก ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ 11–13 ดี 11–13 ดี 14–15 ดมี าก 8–10 พอใช้ 8–10 พอใช้ 11–13 ดี ตา่ กว่า 8 ปรับปรุง ตา่ กว่า 8 ปรับปรุง 8–10 พอใช้ ต่ากวา่ 8 ปรบั ปรงุ T36

นํา นาํ สอน สรปุ ประเมิน ขนั้ นาํ กระตนุ้ ความสนใจ 1. ครถู ามคาํ ถามสาํ คญั ประจาํ หวั ขอ วา เครอ่ื งมอื และวตั ถมุ ผี ลกระทบตอ ววิ ฒั นาการของมนษุ ย และสังคมอยา งไร 2. ครูนําภาพเก่ียวกับสิ่งประดิษฐที่ใชในการ ดํารงชีวิตในยุคหิน เชน ขวานหิน เข็มที่ ทําจากกระดูก เตาไฟ มาใหนักเรียนดูแลว สอบถามนกั เรยี นวา เคยเหน็ สงิ่ ประดษิ ฐเ หลา นี้ หรือไม และสิ่งประดิษฐน้ีใชทําอะไร จากน้ัน จึงนําภาพเปรียบเทียบสิ่งประดิษฐต้ังแตอดีต จนถึงปจจุบันมาใหนักเรียนดู แลวบอกกับ นกั เรยี นวา ภาพทน่ี กั เรยี นเหน็ เปน ภาพทแี่ สดง ถงึ ววิ ฒั นาการของเทคโนโลยี ขนั้ สอน สาํ รวจคน้ หา 1. ครใู หน กั เรยี นจบั คกู บั เพอ่ื น แลว รว มกนั สบื คน วา เคร่ืองมือและวัตถุท่ีสรางข้ึนในแตละยุคสงผล กระทบตอวิวัฒนาการของมนุษยและสังคม อยา งไร โดยเขยี นชอื่ เครอื่ งมอื และวตั ถทุ ส่ี รา งขน้ึ ในแตละยุคท่ีสงผลกระทบตอวิวัฒนาการ ลงในกระดาษ จากนนั้ ครสู มุ เรยี กนกั เรยี นทลี ะคู ออกมาเลา ขอมูลท่คี น ควา ไดใ หเพอ่ื นฟง 1 แนวตอบ คาํ ถามสําคญั ประจําหัวขอ้ ขอสอบเนน การคดิ เคร่ืองมือและวัตถุมีผลกระทบตอวิวัฒนาการ ของมนษุ ย โดยการทมี่ นุษยส ามารถนาํ ความคดิ มา ขอใดกลา วไมถูกตองเกย่ี วกับววิ ัฒนาการของเทคโนโลยี พัฒนาเคร่ืองมือและวัตถุใหมีความกาวหนา และ 1. การเพมิ่ ปริมาณงานของมนษุ ยใ หมากขนึ้ สามารถใชงานในการอํานวยความสะดวกในชีวิต 2. การพฒั นาเทคโนโลยีใหดีขึน้ อยางเปน ระบบ ประจําวัน 3. การปรับปรุงกระบวนการผลิตใหดยี งิ่ ข้ึนตามยุคสมัย 4. การพัฒนาผลิตภัณฑใหมๆ เพื่อสนองความตองการของ เกร็ดแนะครู มนุษย (วเิ คราะหค ําตอบ วิวัฒนาการของเทคโนโลยี คือ การพัฒนา ครอู าจใหน กั เรยี นแตล ะคนไปหาภาพเก่ียวกับส่งิ ประดษิ ฐต ามทีค่ รกู ําหนด มาคนละ 1 ภาพ โดยใหน ักเรยี นจบั สลากเลอื กวา ตองไปหาภาพส่งิ ประดษิ ฐยุค ส่ิงของเครื่องใชหรือผลิตภัณฑใหมๆ เพ่ือแกปญหา สนองความ เกา หรอื ยคุ ปจ จบุ นั เชน ภาพขวานหนิ ภาพขวานปจ จบุ นั แลว นาํ มาสลบั กนั ทาย ตองการ หรือเพ่ิมความสามารถในการทํางานของมนุษยอยาง ภายในหองเรียนแทนการดภู าพจากที่ครูเตรยี มมาให ตอ เนอ่ื งและเปน ระบบ ซง่ึ ไมเ กย่ี วขอ งกบั ววิ ฒั นาการของเทคโนโลยี ดงั นน้ั ตอบขอ 1.) นักเรียนควรรู 1 เคียว คือ เครื่องมือทางการเกษตรชนิดหน่ึงใชสําหรับเก็บเกี่ยวพืชผล ประเภทขา วและธญั พชื มลี กั ษณะเปน มดี ทาํ ดว ยเหลก็ โคง คลา ยตะขอและมคี ม อยดู านใน มดี ามจบั สําหรับถือ T37

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั สอน 1 สาํ รวจคน้ หา 2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายและสรุป ววิ ฒั นาการของมนษุ ยแ ละเทคโนโลยพี รอ มกบั เขยี นเปนผงั มโนทศั น 3. ครใู หน กั เรยี นแบง กลมุ กลมุ ละ 3-4 คน แลว ให แตล ะกลมุ รว มกนั ศกึ ษาคน ควา และเปรยี บเทยี บ สิ่งประดิษฐยคุ เกากบั สง่ิ ประดษิ ฐยคุ ปจ จบุ นั 4. นักเรียนแตละกลุมรวมกันอภิปรายและสรุป วิวฒั นาการของเทคโนโลยี ขนั้ สอน อธบิ ายความรู้ 1. ครอู ธบิ ายเพมิ่ เตมิ วา ววิ ฒั นาการทเี่ กดิ จากการ พัฒนาเทคโนโลยีมีประโยชนตอการดํารงชีวิต ของมนษุ ย และชว ยในการอาํ นวยความสะดวก เกร็ดแนะครู กิจกรรม สรา งเสริม ครอู าจกาํ หนดชือ่ เครอ่ื งมือหรอื วตั ถใุ หนกั เรยี นแตละคสู าํ หรบั สืบคนขอมูล ใหนักเรียนเลือกศึกษาคนควาขอมูลเก่ียวกับยุคของ เพอื่ ทจี่ ะไดข อ มลู ทหี่ ลากหลายหรอื อาจใหน กั เรยี นแตล ะคเู ลอื กกนั เองตามความ ประวตั ศิ าสตรเ ทคโนโลยที ส่ี นใจคนละ 1 ยคุ อยา งละเอยี ด จากนนั้ สนใจก็ได ใหนักเรียนท่ีเลือกยุคเหมือนกันจับกลุม 3-4 คน แลวรวมกัน วเิ คราะหว วิ ฒั นาการในยคุ นน้ั ๆ แลว รว มกนั สรปุ ขอ มลู ทไี่ ด พรอ ม นักเรียนควรรู สงตัวแทนออกมานําเสนอหนาช้ันเรียน เพื่อเพ่ิมเติมความรูเกี่ยว กบั ววิ ฒั นาการของเทคโนโลยใี นแตล ะยคุ ใหม ากขนึ้ นอกเหนอื จาก 1 สาํ รดิ เปน โลหะผสมระหวา งทองแดงกบั ดบี กุ บางชนดิ อาจมสี ว นผสมของ ในหนงั สอื เรียน สังกะสีหรือตะกั่วปนอยูดวย สําริดแบงออกเปนหลายประเภท ตามชนิดและ สวนผสมของสาร เชน สาํ ริดทีม่ ดี บี ุกตํ่ากวา รอ ยละ 8 คอ นขางออ น ตแี ผห รือ รีดไดงาย เหมาะกับงานท่ัวๆ ไป สําริดท่ีมีฟอสฟอรัสผสมอยูรอยละ 0.1-0.6 และดบี ุกรอ ยละ 6-14 สาํ ริดชนดิ นีจ้ ะทนตอ การกดั กรอนของนาํ้ ทะเล จึงเหมาะ ที่จะนําไปใชทาํ ชน้ิ สว นของเรือเดินทะเล T38

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ 6 ยุคกลาง (Middle Age) เป็นยุคหลังจากอาณาจักรโรมันล่มสลาย ถูกแบ่งออกเป็นยุคกลางเริ่มต้น ขน้ั สอน ยุคกลางสงู สดุ และยคุ กลางตอนปลาย อธบิ ายความรู้ ชว่ งเวลา : ค.ศ. 450 - ค.ศ. 1400 2. ครูใหนักเรียนแตละกลุมจําแนกยุคของ ผลกระทบ : ยุคกลางตอนต้น ถูกเพ่ิมความกดดันจากการ ประวัติศาสตรเทคโนโลยี โดยสรุปเปนผัง มโนทศั นล งในกระดาษ A4 เสร็จแลวใหแตละ ภาพที่ 2.31 กงั หันลม ถูกบุกรุกซึ่งน�าไปสู่การลดลงของจ�าน1วนประชากร กลุมออกแบบวิธีการนําเสนอผลงานท่ีหนา ช้ันเรยี น ยุคกลางสูงสุด มีการเร่ิมระบบศักดินา มีประชากร เพิ่มข้ึน และเร่ิมมีนวัตกรรมด้านการเกษตร 3. ครูใหนักเรียนแตละกลุมผลัดกันออกมานํา ยคุ กลางตอนปลาย เกิดภยั พิบัติ ขา้ วยากหมากแพง เสนอผลงานหนา ชน้ั เรยี นทลี ะกลมุ โดยใหเ วลา และเกดิ สงคราม ประชากรล้มตายไปหน่ึงในสามของ นําเสนอกลมุ ละ 3 นาที จนครบทุกกลุม ทม่ี อี ยู่ 4. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายและสรุป วัตถุทส่ี ร้างขึน้ : เหล็กหลอ่ ปืนใหญ่ นาฬกิ าเชิงกล เข็มทิศ เก่ยี วกบั ยคุ ประวัติศาสตรเ ทคโนโลยี ตวั อย่างการออกแบบเชิงวิศวกรรม : ขยายความเขา้ ใจ • กงั หันลมท่ีถูกผลติ โดยเครอ่ื งจกั รกล • แท่นพมิ พม์ ไี ว้เพื่อส่งข้อมูลข่าวสารและความรู้ 1. ครตู ้ังคําถามวา จากการศกึ ษาประวัตศิ าสตร ของเทคโนโลยีทําใหทราบถึงวิวัฒนาการของ 7 ยคุ เรอเนสซองส์ (The Renaissance) เทคโนโลยี แลวนักเรียนมีแนวทางในการ พฒั นาเทคโนโลยอี ยางไรบา ง เป็นยุคการฟ้ืนฟูอทิ ธิพลของสถาปตั ยกรรมคลาสสกิ และมกี ารแบง่ ปนั ทางดา้ น ความคิด 2. ครใู หนกั เรียนทาํ ใบงาน เรอ่ื ง ววิ ัฒนาการของ เทคโนโลยี ชว่ งเวลา : ค.ศ. 1400 - ค.ศ. 1750 ภาพที่ 2.32 เคร่อื งรอ่ น ผลกระทบ : การสร้างเครื่องมือ และอุปกรณ์ต่าง ๆ เกิดจากการ สงั เกตปรากฏการณท์ างธรรมชาตขิ องนกั วทิ ยาศาสตร์ วตั ถุทส่ี รา้ งขึน้ : กลอ้ งโทรทรรศน์ กล้องจุลทรรศน์ เทอร์มอมิเตอร์ ตัวอย่างการออกแบบเชิงวศิ วกรรม : • เลโอนาร์โด ดา วนิ ชี เกิดท่ีประเทศอิตาลี ในปี ค.ศ. 1452 เรมิ่ ต้นอาชพี ดว้ ยการเป็นจิตรกร มกี ารแกะสลกั และระบายสี เขาไดอ้ อกแบบอาวธุ ตึก และเครือ่ งจักร • กาลเิ ลโอ กาลเิ ลอี เกดิ ในปี ค.ศ.1564 และเปน็ ทรี่ จู้ กั กนั วา่ เปน็ นกั ฟสิ กิ ส์ นักดาราศาสตร์ และนักปรัชญา เขามีช่ือเสียงในเร่ืองการปรับปรุง กลอ้ งโทรทรรศน์ และการสงั เกตการเคล่อื นทข่ี องดาว 35กระบวนการ ออกแบบเชิงวิศวกรรม ขอสอบเนน การคดิ เกร็ดแนะครู ขอใดไมใชสิ่งประดิษฐในยุคปจจุบันท่ีมีพื้นฐานมาจากผลงาน ครอู าจใหน กั เรยี นแตล ะกลมุ นาํ ผงั มโนทศั นท น่ี าํ เสนอเสรจ็ แลว ไปตดิ ไวต าม ของเลโอนารโ ด ดา วนิ ชี บรเิ วณตา งๆ รอบหอ งเรยี น เพอื่ ใหน กั เรยี นไดแ ลกเปลย่ี นแนวคดิ กบั กลมุ อนื่ และ เปรียบเทยี บผลงานเพื่อนาํ ไปเปนแนวทางในการสรางสรรคผลงานในครัง้ ตอ ไป 1. เรอื ดํานํา้ 2. เฮลิคอปเตอร นักเรียนควรรู 3. รถถังหมุ เกราะ 4. ชุดมนุษยกบ 1 ระบบศักดินา หรือระบอบฟวดัล (feudalism) เปนระบอบการเมืองการ (วเิ คราะหคาํ ตอบ เลโอนารโด ดา วินชี นอกจากจะเปนจติ รกร ปกครองและเศรษฐกิจของยุโรปในสมัยกลาง ท่ีเกี่ยวกับที่ดินท่ีเปนพันธสัญญา เอกของโลกแลว ยงั มคี วามสามารถอีกหลายดาน โดยเฉพาะดาน ระหวางเจานายที่เปนเจาของที่ดินกับผูที่หาประโยชนในที่ดิน สังคมในระบอบ วทิ ยาศาสตร นอกจากนเี้ ขายงั ออกแบบนวตั กรรมทเี่ ปน พน้ื ฐานของ ฟวดัล ประกอบดวย สง่ิ ประดษิ ฐใ นยคุ ปจ จบุ นั เชน เฮลคิ อปเตอร เรอื ทอ งแบน เรอื ดาํ นา้ํ 1) กษตั รยิ  มฐี านะเปน เจานายสงู สดุ 3) อศั วนิ ปนกล ชุดมนุษยกบ ไฮโกรมิเตอร สวนรถถังหุมเกราะไมได 2) ขนุ นาง รบั กรรมสทิ ธท์ิ ดี่ นิ จากกษตั รยิ  4) ชาวนา ขา ทาส มาจากแนวคิดของเลโอนารโด ดา วินชี ดงั น้นั ตอบขอ 3.) และเปน เจา ของชาวนาและขา ทาส T39

นํา สอน สรปุ ประเมนิ ขนั้ สอน 8 ยุคอตุ สาหกรรม (The Industrial Age) ขยายความเขา้ ใจ เป็นยคุ ทีม่ กี ารเริ่มใช้เครื่องจกั รทมี่ คี วามซับซ้อน มีโรงงานเกิดขน้ึ และมีความ เป็นสงั คมเมอื ง 3. นักเรียนและครูรวมกันสรุปวิวัฒนาการของ เทคโนโลยี ชว่ งเวลา : ค.ศ. 1750 - ค.ศ. 1950 4. ครูใหน ักเรยี นทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน ขนั้ สรปุ ผลกระทบ : การปฏวิ ตั อิ ตุ สาหกรรมเกดิ ศนู ยก์ ลางของเมอื ง มคี วาม ต้องการบริการจากเทศบาล เกิดระบบเศรษฐกิจที่ ตรวจสอบผล ภาพท่ ี 2.33 รถไฟไอน้�า พง่ึ พากนั และการแผข่ ยายของเศรษฐกจิ ทา� ใหเ้ กดิ การ เพิ่มข้ึนของประชากร มีความเป็นมืออาชีพในแต่ละ 1. ครูประเมินผลการนําเสนอของนักเรียนและ ด้านเกดิ ขน้ึ และมีการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตของมนุษย์ ตรวจสอบความถกู ตองจากการทําใบงาน วตั ถทุ ่สี ร้างขึ้น : เคร่ืองใช้ไฟฟ้า รถยนต์ เคร่ืองบิน วิทยุ โทรทัศน ์ 2. ครแู ละนกั เรยี นรว มกนั สรปุ เกย่ี วกบั ววิ ฒั นาการ โทรศัพท ์ และจรวด ของเทคโนโลยี ตวั อยา่ งการออกแบบเชิงวิศวกรรม : 3. ครูใหนกั เรยี นทาํ แบบฝก หดั หนา 30-41 • เจมส์ วตั ต ์ ปรับแต่งเคร่ืองจักรไอน�า้ เพ่ือนา� มาใชใ้ นทางปฏิบตั ิ • อเลสซานโดร โวลตา คน้ พบหลกั การทา� งานของแบตเตอร่ี ขน้ั ประเมนิ • เฮนรีย ์ ฟอร์ด สร้างแนวคิดระบบการวางเครอ่ื งจักรใหต้ ดิ ต่อกนั ตรวจสอบผล (assembly line) ตารางการวัดและประเมินผล 9 ยุคขอ้ มูลขา่ วสาร (The Information Age) วธิ ีการ เคร่อื งมอื เกณฑก ารประเมิน เปน็ ยุคแหง่ การรวบรวม จัดการ แกไ้ ข และแบ่งปันขอ้ มูล ขา่ วสาร ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบ รอยละ 60 ช่วงเวลา : ค.ศ. 1950 - ปัจจบุ นั หลงั เรยี น หลังเรยี น ผานเกณฑ ผลกระทบ : ข้อมูล ข่าวสารมีการแพร่กระจายอย่างรวดเร็ว และ ตรวจใบงาน ใบงาน รอ ยละ 60 ผานเกณฑ มีการเพ่มิ ของจ�านวนประชากรอย่างรวดเร็ว ตรวจแบบฝก หดั แบบฝก หดั รอ ยละ 60 วตั ถทุ ีส่ ร้างขึน้ : วงจรไฟฟา้ ทซี่ บั ซอ้ น คอมพวิ เตอร ์ พลงั งานนวิ เคลยี ร์ ผา นเกณฑ กลอ้ งดจิ ทิ ัล ประเมนิ แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ 2 ภาพที่ 2.34 เครอื ข่ายเทคโนโลยี การนาํ เสนอ การนาํ เสนอ ผา นเกณฑ ผลงาน ผลงาน สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสังเกต ระดบั คุณภาพ 2 การทาํ งาน พฤติกรรม ผานเกณฑ การพฒั นาทางเทคโนโลยเี ปน็ กระบวนการทม่ี วี วิ ฒั นาการ เพราะมนษุ ยม์ กี ารเพม่ิ ขดี ความสามารถใน รายบคุ คล ตวั เองในการสรา้ งสรรคเ์ ทคโนโลยแี ละนวตั กรรมอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และในปจั จบุ นั นว้ี วิ ฒั นาการของเทคโนโลยี สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกต ระดับคณุ ภาพ 2 จ�าเป็นต้องใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ มาเป็นพ้ืนฐานในการสร้างเทคโนโลยีในอนาคต การทาํ งานกลมุ พฤตกิ รรม ผา นเกณฑ ต่อไป 36 แนวทางการวัดและประเมินผล ขอสอบเนน การคดิ ครูสามารถประเมินการนําเสนอผลงาน และสังเกตพฤติกรรมการทํางาน GPS จดั เปนเทคโนโลยีการสอื่ สารและโทรคมนาคมทีเ่ ก่ยี วของ รายบุคคลและการทํางานกลุมของนักเรียน โดยศึกษาเกณฑการวัดและ กบั สงิ่ ใด ประเมินผลจากแบบประเมินการนําเสนอผลงาน แบบสังเกตพฤติกรรม การทํางานรายบุคคล และแบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุมท่ีแนบมา 1. การแลกเปล่ียนขอ มูลเชงิ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส ทา ยแผนการจัดการเรยี นรูที่ 2 หนวยการเรียนรูที่ 2 2. การส่ือสารขอ มูลโดยผานเครอื ขายอนิ เทอรเนต็ 3. การประชุมระหวา งบุคคลทีอ่ ยคู นละพ้นื ทกี่ ัน แบบประเมินการนาเสนอผลงาน แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุ 4. การระบุตาํ แหนง สิง่ ของเปา หมายโดยใชด าวเทียม (วิเคราะหคําตอบ หลกั การทํางานของ GPS มาจากดาวเทยี มท่ี คาช้แี จง : ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ลงในช่องที่ คาชแ้ี จง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในชอ่ งที่ คาชีแ้ จง : ให้ผสู้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ลงในชอ่ งที่ โคจรอยรู อบโลกสง สญั ญาณกลบั มายงั จดุ รบั สญั ญาณทม่ี อี ยทู วั่ โลก ตรงกบั ระดับคะแนน ตรงกบั ระดับคะแนน ตรงกบั ระดับคะแนน เพอ่ื ระบพุ กิ ดั ของจดุ ทอี่ ปุ กรณส ง สญั ญาณมาชว ยในการคน หาหรอื คาํ นวณระยะเวลาในการเดนิ ทาง ดังน้นั ตอบขอ 4.) ลาดบั ที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 ลาดบั ท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน การแสดง การยอมรับ การทางาน ความมนี ้าใจ การมี รวม 32  32 ความคิดเห็น ฟงั คนอ่ืน ตามทีไ่ ดร้ ับ ส่วนรว่ มใน 15 1 ความถูกต้องของเนือ้ หา   1 การแสดงความคิดเห็น  1 ลาดบั ที่ ชื่อ–สกลุ มอบหมาย การปรับปรงุ คะแนน 2 ความคิดสร้างสรรค์  2 การยอมรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของผอู้ ่นื  ของนักเรยี น ผลงานกลมุ่ 3 วธิ ีการนาเสนอผลงาน   3 การทางานตามหนา้ ที่ท่ีไดร้ บั มอบหมาย   4 การนาไปใช้ประโยชน์  4 ความมนี าใจ  321321321321321 5 การตรงต่อเวลา  5 การตรงต่อเวลา    รวม     รวม ลงชอื่ ...................................................ผ้ปู ระเมิน ลงชอื่ ...................................................ผูป้ ระเมิน ............/................./................... ............/.................../................ เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ลงชือ่ ...................................................ผู้ประเมิน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมินสมบูรณ์ชัดเจน ให้ 2 คะแนน ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 2 คะแนน ............./.................../............... ให้ 1 คะแนน ให้ 1 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินเปน็ ส่วนใหญ่ ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครงั เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมนิ บางส่วน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครัง ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครัง้ ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ 14–15 ดีมาก 14–15 ดมี าก ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 11–13 ดี 11–13 ดี 14–15 ดีมาก 8–10 พอใช้ 8–10 พอใช้ 11–13 ดี ต่ากวา่ 8 ปรบั ปรงุ ต่ากวา่ 8 ปรับปรงุ 8–10 พอใช้ ต่ากว่า 8 ปรบั ปรงุ T40

นํา สอน สรปุ ประเมิน แนวตอบ Self-Check 3. ผิด 1. ถกู 2. ถูก 4. ถกู 5. ถูก แนวตอบ Unit Activity แนวตอบ Unit Question 1. สถานการณท่ี 1 1) ระบปุ ญ หา กลุ ตอ งการปด ไฟหอ งนอนโดยไม ตองลุกออกจากเตยี ง 2) รวบรวมขอ มลู และแนวคดิ ทเี่ กยี่ วขอ งกบั ปญ หา ไดแ นวทางในการแกป ญ หามา 3 วธิ ี คอื • วธิ ที ี่ 1 ยา ยตาํ แหนง สวิตชไฟ ขอด-ี ขอเสยี สะดวกเวลาปด แตไ มสะดวกเวลาเปด • วิธีที่ 2 เปลี่ยนสวิตชไฟเปนระบบรีโมต คอนโทรล ขอ ด-ี ขอ เสีย สะดวกท้งั เวลาปด และเปด รโี มตใชแบตเตอรี่อยไู ดป ระมาณ 6 เดอื น • วิธีท่ี 3 ใชไมขนาดยาว 3.5 เมตร สําหรบั กดปด สวติ ชไฟ ขอดี-ขอเสยี เวลาไมไดใ ช งานจะเปน ของเกะกะ ถา ไมม ที เี่ กบ็ ทเี่ หมาะสม 3) ออกแบบวิธีการแกปญหา เลือกใชวิธีท่ี 2 เน่ืองจากมีความสะดวกท่ีสุดและไมเกิด ปญหาตามมา 4) วางแผนและดําเนินการแกปญหา กําหนด ระยะเวลาตดิ ตงั้ ระบบ 2 ชั่วโมง • ปดไฟทุกหองในบา น • ตัดไฟฟา • ร้ือสวิตชไฟเดิมออก ติดต้ังอุปกรณใหม ลงไป • ตอ ไฟฟาเขาสูร ะบบอกี คร้งั • ทดสอบการทาํ งานของอุปกรณ 5) ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรบั ปรงุ แกไ ขวธิ กี าร แกป ญ หาหรอื ชน้ิ งาน ทาํ ตามขนั้ ตอนในขอ 4. 6) นําเสนอวิธีการแกปญหา ผลการแกปญหา หรือชิ้นงาน สรุปผลจากการใชงานจริง ในสถานการณท่ี 2 และ 3 ใหอธิบายตาม แนวทางเดียวกับสถานการณท ่ี 1 ยุค ยคุ หินเกา ยคุ หนิ กลาง ยุคหินใหม ยุคสาํ ริด ยคุ เหล็ก ยคุ กลาง ยุคเรอเนซองซ ยุคอตุ สาหกรรม ยคุ ขอมูล ชว งเวลา (พาลิโอลิทกิ ) (เมโซลทิ กิ ) (นโี อลิทิก) 2,300 700 ป ค.ศ. 450 ค.ศ. 1400 ค.ศ. 1750 ขาวสาร ถึง 700 ป กอ นครสิ ตกาล ถงึ ค.ศ. 1400 ค.ศ. 1950 ผลกระทบที่ 500,000 10,000 4,000 กอ นคริสตกาล ถึง ค.ศ. 450 ถงึ ค.ศ. 1750 ถึง ค.ศ. 1950 ถงึ ปจ จุบัน ทําใหเกิดการ ถงึ 10,000 ป ถึง 4,000 ป ถึง 2,300 ป เปล่ยี นแปลง กอ นคริสตกาล กอนครสิ ตกาล กอนครสิ ตกาล การเพมิ่ จํานวน การยตุ กิ ารเรรอ น มีการแบงหนาท่ี มกี ารพฒั นา มกี ารพฒั นา ประชากรลดลง มกี ารพฒั นา เกิดระบบ เกิดแหลงขอมูล ประชากร สรางท่อี ยอู าศัย ในการทํางานจน วัสดุในการสรา ง วสั ดใุ นการสรา ง จากสงครามและ นวัตกรรมจาก เศรษฐกจิ แบบ ขาวสาร มีการ เปน หลกั แหลง เกดิ เปน ทกั ษะ เครือ่ งมอื เครื่องมือและเร่ิม ภยั พบิ ัติ แนวคดิ เชงิ พง่ึ พาและอาชีพ พฒั นาวิธีการ เฉพาะดานขึ้น มีการปกครอง วทิ ยาศาสตรแ ละ ตา งๆ สอ่ื สารใหเหมาะ ทางทหาร จินตนาการ สมกบั จาํ นวน ประชากรท่เี พิม่ ขึน้ อยางรวดเร็ว T41

Chapter Overview แผนการจดั สอ่ื ที่ใช้ จุดประสงค์ วธิ สี อน ประเมนิ ทกั ษะท่ีได้ คณุ ลักษณะ การเรียนรู้ อนั พึงประสงค์ - มวี นิ ยั แผนฯ ท่ี 1 - แบบทดสอบกอ่ นเรียน 1. อ ธิบายและสรปุ การ แบบสบื เสาะ - การนำ�เสนอผลงาน - ท ักษะการคดิ - ใฝเ่ รยี นรู้ การเลือกใช้วสั ดุ - หนงั สอื เรียนรายวิชา เลือกใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ หาความรู้ (5Es - ต รวจใบงาน วิเคราะห์ - ม ุ่งมน่ั ในการ อุปกรณ์ และ พ้ืนฐาน เทคโนโลยี และเคร่อื งมือ และการ Instructional - ต รวจแบบทดสอบ - ทักษะการคิด ทำ� งาน เคร่อื งมือ (การออกแบบและ ประยุกต์ใชใ้ นชีวติ Model) กอ่ นเรยี น อย่างสร้างสรรค์ - ท ักษะการคิด - มวี นิ ยั 2 เทคโนโลยี) ม.1 ประจำ� วันได้ (K) - สงั เกตพฤติกรรม อย่างเปน็ ระบบ - ใฝเ่ รยี นรู้ - ใบงาน เรอ่ื ง การเลอื ก 2. รวบรวม วิเคราะห์ การทำ�งานรายบุคคล - มงุ่ มัน่ ในการ ใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ และ ขอ้ มูลการเลอื กใช้วสั ดุ - สงั เกตพฤตกิ รรม ชั่วโมง เครื่องมอื อปุ กรณ์ และเครือ่ งมือ การทำ�งานกลุ่ม ท�ำงาน และการประยุกต์ใช้ - สังเกตคุณลกั ษณะ เทคโนโลยใี นชวี ิต อนั พงึ ประสงค์ ประจำ� วนั ได้ (P) 3. เห็นประโยชนข์ อง การเรยี นวิชาออกแบบ และเทคโนโลยี และ ตระหนักในคณุ คา่ ของ ความร้วู วิ ัฒนาการของ เทคโนโลยี (A) แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียนรายวชิ า 1. อธบิ ายการประยกุ ต์ใช้ แบบใชป้ ญั หา - การนำ�เสนอผลงาน - ท กั ษะการคิด ศึกษากรณี พน้ื ฐาน เทคโนโลยี กระบวนการเทคโนโลยี เปน็ ฐาน - ต รวจใบงาน วิเคราะห์ ตัวอยา่ ง (การออกแบบและ จากกรณตี วั อย่าง (K) (Problem- - ตรวจช้ินงาน/ภาระงาน - ทักษะการคิด เทคโนโลยี) ม.1 2. อ ธบิ ายเก่ียวกบั การแก้ Based (รวบยอด) อยา่ งสรา้ งสรรค์ 9 - ใบงาน เรอื่ ง ศึกษากรณี ปัญหาจากกรณตี ัวอย่าง Learning) - สังเกตพฤตกิ รรม - ทักษะการคดิ ตวั อยา่ งหมวกจกั รยาน ผา่ นกระบวนการ การทำ�งานรายบคุ คล อยา่ งเป็นระบบ ชว่ั โมง อัจฉรยิ ะและหุ่นยนต์ เทคโนโลยีได้ (P) - สงั เกตพฤติกรรม ปากกา 3. วิเคราะห์สาเหตุหรือ การทำ�งานกลุ่ม - ใบงาน เรอ่ื ง พฒั นา ปัจจัยที่สง่ ผลต่อการแก้ - สงั เกตคณุ ลักษณะ โครงงาน ปัญหาจากกรณตี ัวอย่าง อันพึงประสงค์ - ช ิน้ งาน/ภาระงาน โดยใช้กระบวนการ - ตรวจชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) เทคโนโลยีได้ (P) (รวบยอด) - แบบทดสอบหลังเรยี น 4. เห็นคุณประโยชน์ของ - ตรวจแบบทดสอบ การเรยี นวชิ าการ หลงั เรยี น ออกแบบและเทคโนโลยี และตระหนกั ในคุณคา่ ของความรไู้ ปแก้ปญั หา ใชใ้ นชีวิตประจำ� วนั (A) T42

Chapter Concept Overview หนวยการเรยี นรูที่ 3 การเลอื กใชว้ สั ด ุ อปุ กรณ ์ และเครอื่ งมอื การมคี วามรดู้ า้ นตา่ ง ๆ เกยี่ วกบั วสั ดมุ ปี ระโยชนใ์ นการสรา้ งสรรคเ์ ทคโนโลยเี ปน็ อยา่ งมาก คอื ชว่ ยใหผ้ สู้ รา้ งสรรคส์ ามารถพจิ ารณาเลอื กวัสดจุ ากสมบัตขิ องวัสดุแตล่ ะประเภทไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ปลอดภยั และคุม้ คา่ สง่ ผลใหไ้ ด้ชนิ้ งานท่ี มีคุณภาพอยา่ งแทจ้ ริง ประเภทของวัสดุ สมบัติและการเลือกใชวสั ดุ แบ่งเป็น 4 ประเภท ดงั น้ี สมบัตขิ องวัสดุ แบ่งเป็น 4 ประเภท ดังนี้ 1) ว สั ดุประเภทโลหะ แบง่ เปน็ โลหะกล่มุ เหล็ก โลหะนอกกลมุ่ เหลก็ โดย 1) ส มบัติทางเคมี บอกโครงสร้างและองค์ประกอบธาตุของวัสดุ โดย ทว่ั ไปน�าความร้อนและไฟฟา ไดด้ ี วเิ คราะหแ์ บบทา� ลายหรือไมท่ �าลายตวั อย่าง 2) ว สั ดพุ อลเิ มอร โครงสรา้ งสว่ นใหญไ่ มม่ รี ปู รา่ งผลกึ เปน็ ฉนวนไฟฟา ทดี่ ี 2) ส มบัตทิ างกายภาพ บอกอัตราการเกิดปฏิกิริยาของวัสดุกับพลังงานใน 3) ว ัสดเุ ซรามกิ มีโครงสร้างแบบมีรปู รา่ งผลึก ไมม่ รี ปู ร่างผลึก หรือผสม รปู ตา่ ง ๆ กัน ทง้ั 2 แบบ นา้� หนักเบา มคี วามแข็ง ทนความรอ้ นสูง และเป็นฉนวน 3) ส มบัตเิ ชงิ กล บอกคุณสมบัติเฉพาะตัวของวัสดทุ ถ่ี ูกกระทา� ดว้ ยแรง 4) ว สั ดผุ สม ผลติ ได้หลากหลายชนดิ ชนิดท่ีใช้ส่วนใหญ่ คอื ใชเ้ สน้ ใยแก้ว 4) ส มบัติเชงิ มิติ เปน็ คณุ สมบัติส�าคัญในการพิจารณาเลือกใช้วสั ดุ เสริมแรงและใชเ้ สน้ ใยคารบ์ อนเสริมแรง เคร่ืองมอื วัด เครอ่ื งมอื ตดั เครอ่ื งมอื ชา งพื้นฐาน เคร่ืองมือสาํ หรับยึดติด เครื่องมอื สําหรบั เจาะ กรณีศกึ ษาผลงานการออกแบบและเทคโนโลยี กรณีศกึ ษาที ่ 1 หมวกจกั รยานอจั ฉริยะ กรณีศกึ ษาท่ี 2 หุ่นยนตป์ ากกา T43


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook