วเิ คราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม กระทรวงคมนาคม และ แผนงานบูรณาการ พฒั นาดา้ นคมนาคมและโลจสิ ตกิ ส์ สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ หนำ้ ก เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563
วิเคราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 1 สารบัญ 17 15 ภาพรวมกระทรวงคมนาคม 30 ภารกจิ ดา้ นนโยบายคมนาคมขนส่ง 36 1. สำนกั งำนปลัดกระทรวงคมนำคม 40 2. สำนกั งำนนโยบำยและแผนกำรขนสง่ และจรำจร 46 54 ภารกิจด้านการคมนาคมขนสง่ ทางถนน 61 3. กรมกำรขนส่งทำงบก 63 4. กรมทำงหลวง 5. กรมทำงหลวงชนบท 67 6. กำรทำงพิเศษแห่งประเทศไทย 72 7. องค์กำรขนส่งมวลชนกรงุ เทพ 78 ภารกจิ ดา้ นการคมนาคมขนสง่ ทางอากาศ 81 8. กรมทำ่ อำกำศยำน 85 9. สถำบนั กำรบินพลเรือน 94 ภารกจิ ด้านการคมนาคมขนสง่ ทางนา 98 10. กรมเจ้ำทำ่ 101 108 ภารกิจดา้ นการคมนาคมขนสง่ ทางราง 11. กรมกำรขนสง่ ทำงรำง 112 12. กำรรถไฟแหง่ ประเทศไทย 13. กำรรถไฟฟำ้ ขนสง่ มวลชนแห่งประเทศไทย แผนงานบรู ณาการพัฒนาดา้ นคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ หนำ้ ก เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พิจารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม ภาพรวมกระทรวงคมนาคม สถานการณ์และประเด็นท่ีเกี่ยวขอ้ งในภาพรวมของการคมนาคมขนส่งของประเทศ ระบบการคมนาคมขนส่งมีความความสาคัญต่อประเทศ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ถ้าประเทศมีระบบการคมนาคมขนส่งท่ีมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย มีความน่าเช่ือถือ และมีต้นทุนที่ประหยัด จะมีส่วนสาคัญในการเพ่ิมความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจของประเทศให้สูงขึ้น สามารถเชื่อมโยงฐานการ ผลิตภายในภูมิภาคได้โดยสะดวก ส่งผลทาให้เกิดการจ้างงาน เป็นแรงขับเคล่ือนท่ีสาคัญต่อการเติบโตทาง เศรษฐกิจภายในประเทศ นอกจากนี้ยังทาให้มีการเดนิ ทางเชื่อมโยงกันระหว่างพื้นที่ เกดิ การพฒั นาเมอื งและทาง สังคมอยา่ งเป็นระบบ ปัจจุบันระบบคมนาคมขนส่งของประเทศไทย ท้ังในส่วนของการขนส่งสินค้าและการขนส่งคนยัง ประสบปัญหาไม่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ สะท้อนปัญหาได้ จากข้อมูลการจัดอันดับคุณภาพของโครงสร้างพ้ืนฐานในภาพรวมและโครงสร้างพื้นฐานในแต่ละรูปแบบ ไม่ว่า จะเป็น ทางถนน รถไฟ ท่าเรือ และสนามบิน ของประเทศไทยถูกจัดอยู่ในลาดับที่ต่ากว่าประเทศเพื่อนบ้าน อยา่ งประเทศสิงคโปรแ์ ละประเทศมาเลเซียในทกุ รูปแบบการคมนาคมขนสง่ เน่ืองจากประเทศไทยยังคงใช้การคมนาคมขนส่งทางถนนเป็นหลัก สัดส่วนการขนส่งสินค้ากว่า 90% ถกู ขนส่งโดยรถบรรทุกและรถหัวลากซึง่ ใช้ทางร่วมกับการเดินทางของคนที่สว่ นใหญ่ยังคงใชร้ ถยนต์ส่วนบุคคล ทาให้ปริมาณการคมนาคมขนส่งทางถนนมีมากกว่าความจุของถนนท่ีสามารถรองรับได้ ส่งผลให้เกิดปัญหา การจราจรติดขัดต่อเน่ืองมาอย่างยาวนาน ซึ่งหากยังไม่มีการพัฒนาและปรับปรุงโครงข่ายการคมนาคมขนส่ง รูปแบบอ่ืน ๆ และการเชื่อมโยงการคมนาคมขนส่งแต่ละรูปแบบให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ปัญหาดังกล่าวก็จะ ทวคี วามรุนแรงมากข้นึ ในอนาคต จากการศึกษาแผนในระดับนโยบายที่เก่ียวข้องกับด้านการคมนาคมขนส่งของประเทศ อาทิ ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 แผนยุทธศาสตร์คมนาคม พ.ศ. 2560-2564 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2560-2564) และยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งของไทย พ.ศ. 2558-2565 พบว่า ประเทศไทยได้ให้ความสาคัญกับการปรับเปลี่ยนรูปแบบการขนส่งสินค้าทางถนนสู่ การขนส่งที่ต้นทุนต่ากว่า รวมทั้งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวกในการเดินทางและขนส่ง ไปสู่เมืองศูนย์กลางภูมิภาคทั่วประเทศ มุ่งเน้นการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานด้านขนส่งทุกรูปแบบ โดยให้ระบบ รถไฟเป็นโครงข่ายหลักในการคมนาคมขนสง่ ของประเทศ จากสถานการณ์ ปัญหา และนโยบายด้านการคมนาคมขนส่งของประเทศท่ีกล่าวมาขา้ งต้น รัฐบาลจึง จาเป็นที่จะต้องมีการลงทุนพัฒนาและเช่ือมโยงโครงสร้างพ้ืนฐานด้านคมนาคมขนส่งในทุกรูปแบบ โดย ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 กระทรวงคมนาคมได้รบั การจัดสรรงบประมาณจานวน 211,384 ลา้ นบาท แบ่งเป็น ส่วนราชการ 178,840 ล้านบาท และรัฐวิสาหกิจในกากับ 32,544 ล้านบาท โดยเป็นหน่วยงานท่ีได้รับการ จัดสรรงบประมาณสูงสุดเป็นลาดับท่ี 5 ซึ่งเห็นได้ว่าการลงทุนเพ่ือพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานด้านการคมนาคม สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 1 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม ขนส่งของประเทศมีความจาเป็นต้องใช้งบประมาณค่อนข้างสูง ดังน้ันจึงต้องพิจารณาหลายมิติประกอบการ จดั สรรงบประมาณให้เกิดประสทิ ธิภาพ คุม้ ค่ากับงบประมาณทล่ี งทุนไป สานักงบประมาณของรัฐสภา ซึ่งมีภารกิจท่ีต้องปฏิบัติหน้าที่สนับสนุนการดาเนินงานด้านวิชาการ ให้กับฝ่ายนิติบัญญัติ เพ่ือให้การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ จึงได้วิเคราะห์โดยทาการศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ที่คาดว่าจะได้รับจากการจัดสรร งบประมาณปี พ.ศ.2563 ของกระทรวงคมนาคมว่ามีความสอดคล้องกับแผนในระดับนโยบายและสถานการณ์ และสภาพปัญหาด้านคมนาคมขนส่งของประเทศ รวมไปถึงสามารถพัฒนาองค์ประกอบของการการคมนาคม ขนส่งของประเทศครบถ้วนในระดับใด เพื่อเปน็ ข้อเสนอแนะแนวทางประกอบการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ งบประมาณของกระทรวงคมนาคมตอ่ ไป ข้อมูลในภาพรวมของกระทรวงคมนาคม 1. วสิ ัยทศั น์ พฒั นาระบบขนสง่ อย่างบรู ณาการ เพื่อยกระดับคุณภาพชวี ิตของประชาชนทุกภาคสว่ นและขับเคลือ่ น เศรษฐกิจของประเทศอยา่ งย่งั ยืน 2. พันธกจิ 1) บรหิ ารนโยบายและขับเคลือ่ นยุทธศาสตรอ์ ยา่ งบูรณาการให้สอดคลอ้ งกบั ทิศทางการ พัฒนาประเทศ 2) ปรบั ปรงุ และพัฒนาโครงสร้างพน้ื ฐาน และระบบการจัดการการจราจรให้เพียงพอกับความ ต้องการท้งั ปจั จุบนั และอนาคต 3) กากบั ดแู ลอย่างมีธรรมาภบิ าล ปรับปรงุ พฒั นาระบบกฎหมายและมาตรฐานให้ทนั ต่อ ความเปลยี่ นแปลง 4) ปรบั ปรุงและพัฒนาการใหบ้ รกิ ารการขนสง่ ให้มคี ุณภาพอย่างต่อเนอ่ื ง 5) ส่งเสรมิ สนับสนนุ เพอื่ สรา้ งค่านยิ มทเ่ี หมาะสมของผใู้ ชร้ ะบบขนส่ง และพฒั นาขีด ความสามารถในการประกอบการ 6) บรหิ ารและพัฒนาองคก์ รอย่างต่อเนื่องสคู่ วามเป็นเลิศ สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 2 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 3. สรุปภาพรวมงบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 หนว่ ย : ล้านบาท หน่วยงาน ปีงบประมาณ เพมิ่ /(ลด) รอ้ ยละ ปี 2562 ปี 2563 จานวน รวมทง้ั สน้ิ 205,005.4563 211,384.2405 6,378.7842 3.11 ส่วนราชการ 179,598.6513 178,840.0784 -758.5729 0.42 1. สานกั ปลัดกระทรวงคมนาคม 614.5708 651.0591 36.4883 5.94 2. กรมการขนส่งทางบก 4,117.2190 3,675.0802 -442.1388 -10.74 3. กรมขนส่งทางราง 26.5514 73.3658 46.8144 176.32 4. กรมเจ้าท่า 4,631.0757 4,386.9861 -244.0896 -5.27 5. กรมทางหลวง 117,138.8497 115,888.4316 -1,250.4181 -1.07 6. กรมทางหลวงชนบท 46,786.3216 48,005.5657 1,219.2441 2.61 7. กรมทา่ อากาศยาน 5,943.0100 5,827.0780 -115.9320 -1.95 8. สานกั นโยบายและแผนการ 341.0531 332.5119 -8.5412 -2.50 ขนสง่ และจราจร รัฐวิสาหกิจในกากบั 25,406.8050 32,544.1621 7,137.3571 28.09 209.5557 209.56 1. การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศ 100.0000 309.5557 4,184.0388 369.62 2ไท. ยองคก์ ารขนสง่ มวลชนกรงุ เทพ 1,131.9955 5,316.0343 247.1293 62.66 51.19 3. สถาบันการบินพลเรอื น 394.3801 641.5094 4,651.9265 -14.67 -2,155.2932 4. การรถไฟแห่งประเทศไทย 9,086.9687 13,738.8952 5. การรถไฟฟ้าขนสง่ มวลชน 14,693.4607 12,538.1675 แหง่ ประเทศไทย ทมี่ า : เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 1 (ขาวคาดส้ม) ปี 2562 และ 2563 กระทรวงคมนาคมได้รับการจัดสรรงบประมาณในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จานวนรวมท้ังส้ิน 211,384.2405 ล้านบาท จาแนกเป็นงบประมาณของส่วนราชการได้รับการจัดสรรงบประมาณรวม 178,840.0784 ล้านบาท และรัฐวสิ าหกิจในกากับได้รบั การจดั สรรงบประมาณรวม 32,544.1621 ลา้ นบาท ส่วนราชการภายใต้กระทรวงคมนาคมที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณมากท่ีสุด 2 อันดับแรก ยงั คงเป็นสว่ นราชการทีม่ ภี ารกจิ ดา้ นการคมนาคมทางถนน ไดแ้ ก่ กรมทางหลวง ได้รับการจัดสรรงบประมาณจานวน 115,888.4316 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 54.82 ของงบประมาณกระทรวงคมนาคมทั้งหมด ลดลงจาก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 1,250.4181 ลา้ นบาท หรอื ลดลงรอ้ ยละ 1.07 กรมทางหลวงชนบท ได้รับการจัดสรรงบประมาณจานวน 48,005.5657 ล้านบาท คดิ เปน็ สัดส่วนร้อยละ 22.71 ของงบประมาณของส่วนราชการของกระทรวงคมนาคมท้งั หมด เพ่มิ ข้นึ จากปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 1,219.2441 ลา้ นบาท หรือเพม่ิ ข้ึนร้อยละ 2.61 รัฐวิสาหกิจในกากับของกระทรวงคมนาคมที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณมากที่สุดเป็นส่วน รฐั วิสาหกิจที่มีภารกิจด้านการคมนาคมทางรางซึ่งเป็นการคมนาคมประเภทท่ีประเทศไทยจะ ผลกั ดนั ใหเ้ ปน็ การคมนาคมขนส่งหลกั ของประเทศ ได้แก่ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ได้รับการจัดสรรงบประมาณจานวน 12,538.1675 ล้านบาท ลดลงจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 2,155.2932 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 14.67 สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 3 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม เม่ือจาแนกงบประมาณของกระทรวงคมนาคม ตามภารกิจแต่ละรูปแบบการคมนาคม พบว่า ภารกิจ ด้านการคมนาคมทางถนนได้รับการจัดสรรงบประมาณสูงที่สุดจานวน 173,194.6675 ล้านบาท ลาดับ ถัดไปได้แก่ ภารกิจด้านการคมนาคมทางรางได้รับการจัดสรรงบประมาณ 26,350.4285 ล้านบาท ภารกิจด้าน การคมนาคมทางอากาศได้รับการจัดสรรงบประมาณ 6,468.5874 ล้านบาทภารกิจด้านการคมนาคมทางน้า ได้รบั การจัดสรรงบประมาณ 4,386.9861 ล้านบาท และภารกิจด้านนโยบายได้รบั การจัดสรรงบประมาณน้อย ทส่ี ุด จานวน 983.571 ลา้ นบาท สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 4 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 4. เงนิ นอกงบประมาณ ปี 2561 ปี 2562 หน่วย : ล้านบาท รอ้ ยละเงิน ปี 2563 งปม. เงนิ นอกฯ นอกฯ ต่อ หนว่ ยงาน รอ้ ยละ รอ้ ยละ เงนิ งปม. งปม. เงนิ นอกฯ เงินนอก งปม. เงนิ นอกฯ เงนิ นอก ฯ ตอ่ ฯ ต่อ เงนิ งปม. เงนิ งปม. รวมท้ังส้ิน 213,389.8025 77,566.7002 36.35 205,005.4563 61,792.5573 36.78 211,384.2405 103,953.2991 49.18 ส่วนราชการ 168,767.9964 521.7680 0.31 179,598.6513 660.0820 0.37 178,840.0784 1,075.6400 0.60 1. กรมทาง 105,746.5862 508.1680 0.48 117,138.8497 660.0820 0.56 115,888.4316 1,075.6400 0.93 หลวง 61,132.4753 294.21 32,544.1621 102,877.6591 316.12 5,542.7000 1790.53 รัฐวสิ าหกิจ 44,621.8061 77,044.9322 172.66 25,406.8050 -- 309.5557 427.1857 108.00 641.5094 552.7861 86.17% 1. การทาง 44,251.9100 487.00 13,738.8952 59,987.7000 436.63 พเิ ศษแห่ง 460.0000 - - 100.0000 16,453.3796 112.00 12,538.1675 36,794.4730 293.46 ประเทศไทย 2. สถาบนั การ 412.1350 464.0742 112.60 394.3801 บินพลเรือน 3. การรถไฟ แห่งประเทศ 12,913.8123 61,846.8900 478.92 9,086.9687 ไทย 4. การ รถไฟฟ้าขนส่ง 25,162.7466 14,733.9680 58.55% 14,693.4607 มวลชนแหง่ ประเทศไทย ท่ีมา : เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 (ขาวคาดแดง) ปี 2563 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กระทรวงคมนาคม ไดร้ บั จดั สรรงบประมาณ 211,384.2405 ล้านบาท และ ใช้เงินนอกงบประมาณสมทบ103,953.2991 ล้านบาท หรือร้อยละ 49.18 ของวงเงินงบประมาณท้ังหมด ประกอบด้วย 1) ส่วนราชการ 8 หน่วย ได้รับจัดสรรงบประมาณรวม 178,840.0784 ล้านบาท ใช้เงินนอก งบประมาณสมทบ 1,075.6400 ล้านบาท หรือร้อยละ 0.01 โดยกรมทางหลวงเป็นส่วนราชการเดียวที่ใช้เงิน นอกงบประมาณจานวน 1,075.6400 ล้านบาท หรือร้อยละ 0.93 ของงบประมาณที่ได้รับจัดสรร 115,888.4316 ลา้ นบาท 2) รัฐวิสาหกิจ 5 หน่วยงาน ส่วนใหญ่ใช้เงินนอกงบประมาณเป็นสัดส่วนท่ีสูงกว่าเงินงบประมาณที่ ได้รับ โดยรัฐวิสาหกิจได้รับจัดสรรงบประมาณ 32,544.1621 ล้านบาท และใช้เงินนอกงบประมาณสมทบ 102,877.6591 ล้านบาท หรือ ประมาณ 3 เท่าของวงเงินงบประมาณท่ีได้รับจัดสรร ทั้งน้ี รัฐวิสาหกิจท่ีมี จานวนเงินนอกงบประมาณสมทบสูงที่สุด ได้แก่ การรถไฟแห่งประเทศไทย ใช้เงินนอกงบประมาณสมทบ 59,987.7000 ล้านบาท หรือ 4.37 เท่าของงบประมาณที่ได้รับ รองลงมาคือ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่ง ประเทศไทย ใช้เงินนอกงบประมาณสมทบ 36,794.4730 ล้านบาท หรือ 2.93 เท่าของวงเงินงบประมาณท่ี ได้รบั สาหรบั หน่วยงานท่ไี ม่ได้ใชเ้ งินนอกงบประมาณสมทบ คือ องค์การขนสง่ มวลชนกรงุ เทพ สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 5 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 5. งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 (จาแนกตามงบรายจา่ ย) หน่วย : ลา้ นบาท หน่วยงาน งบบุคลากร งบ งบลงทุน งบเงินอดุ หนุน งบรายจา่ ยอื่น รวม เงนิ นอกฯ ดาเนนิ งาน รวมท้ังสิ้น 9,684.5206 2,500.3258 175,109.2775 3,243.7823 20,846.3343 211,384.2405 103,953.2991 สว่ นราชการ 9,684.5206 2,500.3258 165,887.1967 59.1163 708.9190 178,840.0784 1,075.6400 1. สานักปลัดกระทรวง 168.6687 254.8966 110.6355 44.4415 72.4168 651.0591 - 2ค.มกนรามคกมารขนสง่ ทาง 1,913.4117 824.8897 931.8319 - 4.9469 3,675.0802 - บ3.กกรมขนส่งทางราง 21.5327 14.8767 23.3211 - 13.2553 298.8482 3,347.2801 0.3800 1.9774 73.3658 - 4. กรมเจ้าทา่ 733.3791 710.1715 109,595.3665 5.5013 560.4944 4,386.9861 5,016.2457 162.2549 46,411.9645 6.1535 115,888.4316 1,075.6400 5. กรมทางหลวง 1,428.7063 2.6400 - 48,005.5657 - 6. กรมทางหลวงชนบท 7. กรมทา่ อากาศยาน 320.5477 192.1789 5,275.8474 - 38.5040 5,827.0780 - 8. สานักนโยบายและ 90.3061 35.5533 199.3941 - 7.2584 332.5119 - แผนการขนส่งและ - - จรัฐราวจิสราหกจิ 9,222.0808 3,184.6660 20,137.4153 32,544.1621 102,877.6591 1. การทางพิเศษแห่ง - - 309.5557 - - 309.5557 5,542.7000 ประเทศไทย 2. องค์การขนส่ง - - 2,243.4801 - 3,072.5542 5,316.0343 - มวลชนกรุงเทพ 3. สถาบนั การบินพล - - 446.1390 195.3704 - 641.5094 552.7861 เรือน - - 2,716.0654 2,989.2956 8,033.5342 13,738.8952 59,987.7000 4. การรถไฟแห่ง ประเทศไทย 5. การรถไฟฟา้ ขนสง่ - - 3,506.8406 - 9,031.3269 12,538.1675 36,794.4730 มวลชนแหง่ ประเทศ ไทย ท่ีมา : เอกสารงบประมาณ ฉบบั ท่ี 3 เลม่ ที่ 5 (ขาวคาดแดง) ปี 2563 หน้าที่ 14-558 และเล่มท่ี 14 ปี 2563 ส่วนราชการได้รับงบประมาณทั้งสิ้น 178,840.0784 ล้านบาท จาแนกเป็น 1) งบบุคลากร 9,684.5206 ล้านบาท 2) งบดาเนินงาน 2,500.3258 ล้านบาท 3) งบลงทุน 165,887.1967 ล้านบาท 4) งบ เงินอุดหนุน 59.1163 ล้านบาท และ งบรายจ่ายอ่ืน 708.9190 ล้านบาท โดยงบประมาณส่วนใหญ่เป็นงบ ลงทุนถึงร้อยละ 92.76 หน่วยงานที่ได้รับจัดสรรงบลงทุนสูงท่ีสุด คือ กรมทางหลวง 109,595.3665 ล้านบาท รองลงมาคอื กรมทางหลวงชนบท 46,411.9645 ล้านบาท สาหรับรัฐวิสาหกิจได้รับจัดสรรงบประมาณท้ังสิ้น 32,544.1621 ล้านบาท จาแนกเป็น 1) งบลงทุน 9,222.0808 ล้านบาท 2) งบเงินอุดหนุน 3,184.6660 ล้านบาท 3) งบรายจ่ายอ่ืน 20,137.4153 ล้านบาท โดยงบรายจ่ายอื่นได้รับจัดสรรสูงสุดร้อยละ 61.88 รัฐวิสาหกิจท่ีได้รับจัดสรรงบประมาณสูงสุด คือ การรถไฟ แหง่ ประเทศไทย รองลงมาคอื การรถไฟฟา้ ขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 6 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม งบรายจ่าย งบบุคลากร งบ ง บ ป ร ะ ม า ณ ร า ย จ่ า ย ข อ ง ก ร ะ ท ร ว ง อน่ื 4.58% ดาเนินงาน คมนาคมประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เม่ือ 9.86% จาแนกตามงบรายจ่าย สามารถเรียงลาดับ 1.18% งบประมาณจากมากไปนอ้ ย ดงั นี้ งบเงนิ 1) งบลงทุนจานวน 175,109.2775 ลา้ นบาท อดุ หนุน 2) งบรายจ่ายอื่น 20,846.3343 ล้านบาท 1.53% 3) งบบุคลากร 9,684.5206 ล้านบาท 4) งบเงินอุดหนุน 3,243.7823 ลา้ นบาท งบลงทนุ 5) งบดาเนนิ งาน 2,500.3258 ลา้ นบาท 82.84% 6. งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (จาแนกตามแผนงาน) หนว่ ย : ลา้ นบาท หน่วยงาน แผนงานบุคลากร แผนงาน แผนงาน แผนงาน รายจา่ ยเพ่ือ รวม ภาครฐั พน้ื ฐาน ยทุ ธศาสตร์ บรู ณาการ รวมทั้งสิ้น ชาระหน้ี สว่ นราชการ 10,183.7899 55,533.7295 4,525.4302 121,003.8756 1. สานกั ปลัดกระทรวง 9,794.0570 53,960.3531 662.6091 114,423.0592 20,ภ1า3ค7ร.4ฐั 153 211,384.2405 คมนาคม - 2. กรมการขนสง่ ทางบก 169.3159 456.3557 25.3875 - 178,840.0784 3. กรมขนสง่ ทางราง 4. กรมเจ้าทา่ - 651.0591 5. กรมทางหลวง 6. กรมทา่ อากาศยาน 1,933.3641 974.6559 466.4521 300.6081 - 3,675.0802 7. กรมทางหลวงชนบท 13.3449 45.5458 - 14.4751 - 73.3658 8. สานักนโยบายและ 743.0878 2,341.4927 - 1,302.4056 - 4,386.9861 แผนการขนสง่ และจราจร 26,668.1375 - 84,152.3043 - 115,888.4316 5,067.9898 474.9059 - 5,028.4018 - 5,827.0780 323.7703 22,952.3444 23,404.9165 - 48,005.5657 46.9152 196.1570 194.5603 - 332.5119 1,452.1478 - 91.0364 รัฐวสิ าหกิจ 389.7329 1,573.3764 3,862.8211 6,580.8164 20,137.4153 32,544.1621 1. การทางพิเศษแห่งประเทศ -- - ไทย 309.5557 - 309.5557 2. องค์การขนสง่ มวลชน กรุงเทพ - - 2,243.4801 - 3,072.5542 5,316.0343 3. สถาบนั การบนิ พลเรือน 83.5796 509.5751 - 48.3547 - 641.5094 4. การรถไฟแห่งประเทศไทย 306.1533 1,063.8013 1,619.3410 2,716.0654 8,033.5342 13,738.8952 5. การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน - - - 3,506.8406 9,031.3269 12,538.1675 แห่งประเทศไทย ทีม่ า : เอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 1 (ขาวคาดสม้ ) ปี 2563 หนา้ 45 สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 7 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พิจารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม แผนงานบุคลากรภาครัฐ รายจ่ายเพอื่ ชาระหนภี้ าครัฐ 5% 10% แผนงานพนื้ ฐาน 26% แผนงาน บูรณาการ แผนงานยทุ ธศาสตร์ 57% 2% ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 แผนงานท่ไี ด้รับงบประมาณสงู ที่สุด คอื แผนงานบูรณาการ ร้อยละ 57 โดย กรมท่ีได้รับงบประมาณสูงสุด คือ กรมทางหลวง 84,152.3043 ล้านบาท และกรมทางหลวงชนบท 23,404.9165 ล้านบาท สาหรับรัฐวิสาหกิจที่ที่ได้รับงบประมาณสูงสุด คือ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่ง ประเทศไทย 12,538.1675 ลา้ นบาท รองลงมาคอื การรถไฟแหง่ ประเทศไทย 13,738.8952 ล้านบาท แผนงานบรู ณาการที่ได้รบั จัดสรรงบประมาณสงู สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ แผนงานบูรณาการพัฒนาด้านคมนาคมและระบบโลจสิ ติกส์ จานวน 96,986,603,500 บาท ลดลง จากปี 2562 จานวน -5,858,561,400 ลา้ นบาท หรอื ร้อยละ 6 แผนงานบูรณาการเขตเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวันออก จานวน 11,688,992,000 บาท เพม่ิ ข้ึนจากปี 2562 จานวน 519.8655 ล้านบาท หรือรอ้ ยละ 5% แผนงานบูรณาการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ จานวน 5,292,789,200 บาท ลดลงจากปี 2562 จานวน -1,174.4967 ล้านบาท หรือ ร้อยละ -18% โดยมรี ายละเอยี ดตามตารางข้างลา่ ง สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 8 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 7. งบประมาณแผนงานบูรณาการ (สว่ นราชการ รวมรัฐวิสาหกจิ ) แผนงานบรู ณาการ ปงี บประมาณ เพมิ่ /(ลด) ปี 2562 ปี 2563 จานวน ร้อยละ รวมทั้งสิ้น 126,572,621,700 121,003,875,600 -5,568,746,100 -4.40 แผนงานบูรณาการ 102,845,164,900 96,986,603,500 -5,858,561,400 -5.70 พฒั นาดา้ นคมนาคม และระบบโลจสิ ตกิ ส์ แผนงานบรู ณาการ 3,898,600 2,307,600 -1,591,000 -40.81 ต่อต้านการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบ แผนงานบูรณาการ 6,467,285,900 5,292,789,200 -1,174,496,700 -18.16 พฒั นาเขตเศรษฐกิจ พเิ ศษ แผนงานบูรณาการ 929,708,700 1,276,120,600 346,411,900 37.26 สร้างรายไดจ้ ากการ ท่องเทย่ี ว แผนงานบรู ณาการ 4,256,978,900 4,958,918,700 701,939,800 16.49 พัฒนาพนื้ ทร่ี ะดบั ภาค แผนงานบูรณาการ 483,603,400 271,060,000 -212,543,400 -43.95 519,865,500 4.65 จดั การทรัพยากรน้า แผนงานบรู ณาการ 11,169,126,500 11,688,992,000 เขตเศรษฐกิจพเิ ศษ ภาคตะวนั ออก แผนงานขับเคล่ือน 416,854,800 527,084,000 110,229,200 26.44 การแก้ไขปัญหา ชายแดนภาคใต้ ทม่ี า : เอกสารงบประมาณ ฉบบั ที่ 1 (ขาวคาดสม้ ) ปี 2563 สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 9 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 8. รายการผูกพนั หน่วย : ลา้ นบาท หน่วยงาน จานวน ปี 2563 ปงี บประมาณ ปี 2566- เงนิ นอก รวม รายกา จบ งบประมาณ 231,008.12 รวมทัง้ ส้นิ 72,642.7326 ปี 2564 งบลงปที นุ2565 ร 222.4400 3,327.8020 ส่วนราชการ 905 71,372.6300 งบเงนิ อดุ หนนุ 101,933.0147งบราย5จ2่า,8ย8อ2นื่ .1432 1. สานกั ปลัดกระทรวงคมนาคม 881 45.9300 2. กรมการขนส่งทางบก 578.1713 100,222.2400 52,826.4000 222.4400 2,882.2800 227,525.98 3. กรมขนสง่ ทางราง 16 24.2055 4. กรมเจา้ ทา่ 1,395.0367 9.6200 4.2156 4.3009 - 64.0665 5. กรมทางหลวง 26 59,255.3306 6. กรมท่าอากาศยาน 7 2,949.8777 691.1885 394.9200 2041.421900 - 1,865.4898 7. กรมทางหลวงชนบท 49 6,915.7804 57.1527 1.7688 8.5550 - 87.5460 8. สานกั นโยบายและแผน 451 208.2900 2,175.0550 - - การขนสง่ และจราจร 55 79,937.8721 842.8999 - 2,882.2800 4,421.5466 รัฐวิสาหกิจ 260 1,270.1026 48,766.1031 0.9396 190,841.5858 1. สถาบันการบินพลเรอื น 17 357.8898 7,357.8818 3.0100 - 9,777.1394 1,421.5980 - 11,729.3575 24 1,376.8145 - 18,070.6739 1 216.3300 18.0800 445.7100 1,710.7747 55.7432 - 445.5220 3,482.14 158.2399 - - 445.5220 961.65 2. การรถไฟแหง่ ประเทศไทย 23 912.2128 1,552.5348 55.7432 - - 2,520.49 ท่มี า : เอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 3 เลม่ ท่ี 5 (ขาวคาดแดง) ปี 2563 ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจภายใต้กระทรวงคมนาคม มีรายการผูกพันรวม 227,525.798 ล้านบาท โดย กรมทางหลวงมีรายการผูกพัน ระหว่างปี 2563-2566 จนจบโครงการเป็นจานวน 190,841.5858 ลา้ นบาท รองลงมา คือ กรมทางหลวงชนบท 18,070.6700 ลา้ นบาท และ กรมท่าอากาศยาน 11,729.3600 ล้านบาท สาหรับรายการใหม่ที่ผูกพันต้ังแต่ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จนจบโครงการ มีท้ังหมด 332 รายการ วงเงินรวม 19,039.4029 ล้านบาท โดยมีรายละเอียดแตล่ ะหนว่ ยงาน ดง้ นี้ 1. สานกั ปลดั กระทรวงคมนาคม 2 รายการ งบประมาณ 0.6075 ล้านบาท 2. กรมการขนสง่ ทางบก 13 รายการ 344.2266 ล้านบาท 3. กรมขนส่งทางราง 6 รายการ 14.7304 ลา้ นบาท 4. กรมเจ้าท่า 25 รายการ 561.5927 ล้านบาท 5. กรมทางหลวง 162 รายการ 15,553.5322 ลา้ นบาท 6. กรมทางหลวงชนบท 82 รายการ 1,103.7086 ลา้ นบาท 7. กรมทา่ อากาศยาน 25 รายการ 980.2800 ล้านบาท 8. สานักนโยบายและแผนการขนสง่ และจราจร 9 รายการ 52.8087 ลา้ นบาท 9. การรถไฟแหง่ ประเทศไทย 8 รายการ 427.9162 ลา้ นบาท สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 10 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 9. ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีและเงนิ เหลอ่ื มปี ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 รวมท้ังสน้ิ หน่วยงาน รวมเงินกนั เงนิ กนั ฯ เงนิ กนั ฯ กรณี อยรู่ ะหว่าง ไวเ้ บิกเหลือ่ ม เบกิ จ่าย ดาเนินการ กรณีมี ไม่ รวม ปี หนผี้ กู พนั มหี นผ้ี ูกพัน กระทรวงคมนาคม 37,648.513 23,565.279 690.591 851.404 12,541.239 14,083.234 0.009 0.009 สนง.ปลัดกระทรวงคมนาคม 32.379 32.370 0.000 0.000 1,044.416 1,114.469 กรมเจ้าทา่ 3,563.269 2,448.800 21.491 48.562 57.388 345.721 กรมการขนส่งทางบก 718.236 372.516 288.060 0.273 10,254.043 11,021.146 802.570 1,175.450 กรมทางหลวง 25,976.241 14,955.095 334.201 432.902 กรมทางหลวงชนบท 5,410.019 4,234.569 6.818 366.062 สนง.นโยบายและแผนการ 192.116 153.839 0.000 0.000 38.277 38.277 ขนส่งและจราจร 388.163 344.537 กรมท่าอากาศยาน 1,756.253 1,368.090 40.021 3.605 0.000 0.000 469.766 กรมการขนสง่ ทางราง 4.001 17.765 0.000 การทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย 476.827 7.061 469.766 2,452.319 0.879 6.349 9,059.807 องค์การขนส่งมวลชนกรงุ เทพ 1,290.274 1,272.508 0.879 7.415 591.206 สถาบันการบนิ พลเรอื น 93.923 93.044 6,016.282 การรถไฟแหง่ ประเทศไทย 12,719.106 3,659.299 4,373.762 การรถไฟฟา้ ขนส่งมวลชนแห่ง 4,570.286 196.524 0.000 4,373.762 ประเทศไทย ทีม่ า : ระบบ GFMIS กรมบัญชีกลาง ณ 30 กนั ยายน 2562 ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2562 กระทรวงคมนาคมมีการกันเงินไว้เบิกจ่ายเหลื่อมปี จานวน 14,083.234 ล้านบาท โดยแบ่งเป็น กรณีมีหน้ีผูกพัน 690.591 ล้านบาท ไม่มีหนี้ผูกพัน 851.404 ล้านบาท และอยรู่ ะหวา่ งดาเนนิ การ 12,541.239 ล้านบาท โดยส่วนราชการทีม่ กี ารกันเงนิ สงู สุด 3 อนั ดับแรกไดแ้ ก่ 1) กรมทางหลวง 11,021.146 ล้านบาท ประกอบด้วย กรณีมีหนี้ผูกพัน 334.201 ล้านบาท ไม่มีหน้ี ผูกพัน 432.902 ล้านบาท และอยู่ระหว่างดาเนินการ 10,254.043 ล้านบาท โดยโครงการท่ีมีการกันเงินฯสูง ได้แก่ แผนงานบูรณาการพัฒนาอตุ สาหกรรมศักยภาพ 9,556.6944 ล้านบาท สว่ นใหญอ่ ยู่ในโครงการก่อสร้าง ทางหลวงพเิ ศษระหวา่ งเมือง 8,539.2204 ล้านบาท 2) กรมทางหลวงชนบท 1,175.450 ล้านบาท ประกอบดว้ ย กรณีมีหนี้ผูกพัน 6.818 ล้านบาท ไม่มหี นี้ ผกู พนั 366.062 ล้านบาท และอยรู่ ะหว่างดาเนนิ การ 802.570 ล้านบาท โดยโครงการทีม่ กี ารกนั เงนิ ฯสูง ไดแ้ ก่ แผนงานบูรณาการพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ ส่วนใหญ่อยู่ในโครงการแก้ไขปัญหาจราจรในปริมณฑลและ ภมู ิภาค 186.1015 ล้านบาท และ โครงการแกไ้ ขปัญหาจราจร 178.0913 ลา้ นบาท 3) กรมเจ้าท่า 1,114.469 ล้านบาท ประกอบด้วย กรณีมีหน้ีผูกพัน 21.491 ล้านบาท ไม่มีหน้ีผูกพัน 48.562 ล้านบาท และอยู่ระหว่างดาเนินการ 1,044.416 ล้านบาท โดยโครงการท่ีมีการกันเงินฯสูง ได้แก่ แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาความเช่ือมโยงกับภูมิภาคและเศรษฐกิจโลกฯ 292.3778 ล้านบาท ส่วนใหญ่อยู่ใน กิจกรรมการพัฒนาและบารุงรักษาโครงสร้างพื้นฐาน และแผนงานบูรณาการปฏิรูปกฎหมายและพัฒนา กระบวนการยุติธรรม 282.5867 ล้านบาทส่วนใหญอ่ ยู่โครงการปอ้ งกนั การกดั เซาะชายฝั่ง สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 11 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 10. ข้อมูลงบการเงนิ ฐานะการเงนิ : สภาพคล่อง หนว่ ย : ลา้ นบาท ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 หนว่ ยงาน สนิ ทรพั ย์ หนี้สนิ หมุนเวยี น สภาพคล่อง สนิ ทรพั ย์ หน้ีสนิ สภาพคลอ่ ง หมุนเวยี น (เทา่ ) หมนุ เวียน หมนุ เวยี น (1) (2) (3)=(1)/(2) (1) (2) (3)=(1)/(2) รฐั วสิ าหกจิ ในกากับ 1. การทางพเิ ศษแหง่ 7,519.0700 8,812.3500 0.85 6,917.1900 10,417.7463 0.66 ประเทศไทย 6,118.0000 28,710.5600 0.21 5,852.4200 17,679.2400 0.33 2. องค์การขนสง่ มวลชน 1,264.3711 11.37 1,319.3100 99.3100 13.28 กรงุ เทพ 6,087.0521 111.1701 0.13 5,711.7271 72,045.5645 0.08 48,341.3323 3. สถาบันการบนิ พลเรอื น 4. การรถไฟแห่งประเทศ ไทย 5. การรถไฟฟา้ ขนสง่ 34,382.3178 37,587.9532 0.91 38,299.4247 60,883.7886 0.63 มวลชนแห่งประเทศไทย ที่มา : ระบบ CFS ของกรมบัญชกี ลาง สบื ค้น ณ วันท่ี 3 พฤศจกิ ายน 2562 (ตามรายงานผสู้ อบบัญชขี องสานกั งานการตรวจ เงนิ แผ่นดนิ ) ประมวลผลโดย สานกั งบประมาณของรัฐสภา รฐั วิสาหกิจทมี่ สี ินทรพั ยห์ มุนเวียนสงู กวา่ หนีส้ ินหมนุ เวียนทาใหม้ ีสภาพคล่องสูง ท้ังในปี 2560 และ 2561 ได้แก่ สถาบันการบนิ พลเรอื น สาหรบั หน่วยงานที่สภาพคล่องตา่ ในปี 2560 และ 2561 ได้แก่ องค์การ ขนสง่ มวลชนกรุงเทพ มีอตั ราส่วนสภาพคล่องเท่ากบั 0.21 และ 0.33 (ตามลาดับ) และการรถไฟแห่งประเทศ ไทยมีสภาพคลอ่ ง 0.13 และ 0.08 เทา่ (ตามลาดบั ) สว่ นการรถไฟฟ้าขนสง่ มวลชนแหง่ ประเทศไทย มีสภาพ คลอ่ ง 0.91 และ 0.63 (ตามลาดับ) สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 12 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม รายไดแ้ ละคา่ ใชจ้ ่าย หนว่ ยงาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 หนว่ ย : ล้านบาท ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 สว่ นราชการ รายได้ ค่าใชจ้ า่ ย รายไดส้ งู กว่า 1. สานักงาน ค่าใช้จ่าย รายได้ คา่ ใชจ้ ่าย รายได้สงู กวา่ ปลดั กระทรวง ค่าใช้จ่าย ค2.มกนรามคเมจ้าท่า (1) (2) (3)= (1)-(2) 3. กรมการ (1) (2) (3)= (1)-(2) ขนสง่ ทางบก 1,596.4303 1,630.1316 -33.7013 1,283.2896 1,301.9889 -18.6993 4. กรมท่า 5,400.1722 4,253.2356 1,146.9367 4,936.5238 4,101.2709 835.2528 อากาศยาน 5,605.9178 4,525.0748 1,080.8429 5,507.4384 4,871.0004 636.4380 5. กรมทาง หลวง 3,507.7532 2,160.5108 1,347.2423 5,185.8663 2,907.2050 2,278.6613 6. กรมทาง 107,419.0601 116,906.8432 -9,487.7830 96,519.4374 65,058.8393 31,460.5981 หลวงชนบท 50,696.5604 41,696.1945 9,000.3659 46,515.4792 36,873.3437 9,642.1354 7. สานักงาน นโยบายและ 656.4883 736.0030 -79.5147 582.4489 604.9456 -22.4967 แผนการขนสง่ และจราจร 17,555.4927 6,993.3899 9,539.7319 17,597.0764 11,034.5870 5,798.4575 รฐั วิสาหกิจ 1. การทางพเิ ศษ แห่งประเทศไทย 2. องคก์ ารขนสง่ มวลชนกรุงเทพ 8,114.0742 13,030.8682 -4,916.7940 7,045.6136 13,220.1712 -6,174.5576 3. สถาบนั การ 619.9237 495.1899 124.7338 652.6483 530.8376 121.8107 บนิ พลเรือน 20,605.1705 27,498.7696 -2.4364 17,454.6573 26,753.0409 -4.1593 4. การรถไฟแห่ง ประเทศไทย* 5. การถไฟฟา้ ขนสง่ มวลชน แห่งประเทศไทย 15,435.4005 10,721.6260 4,714.6620 14,253.7050 11,712.9361 2,541.0284 ทม่ี าข้อมลู : ระบบ CFS ของกรมบญั ชกี ลาง สบื คน้ ณ วันที่ 2 พ.ย.2562 (ตามรายงานผสู้ อบบัญชีของสานกั งานการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ ) ประมวลผล โดยสานักงบประมาณของรัฐสภา หมายเหตุ *กาไรเบด็ เสร็จได้หกั ตน้ ทุนทางการเงนิ แลว้ **การรถไฟแหง่ ประเทศไทยมีรายได้เงินชดเชยตามกฎหมาย จงึ ทาให้ผลการขาดทุนลดลง (ตามข้อมลู ดา้ นล่าง) สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 13 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม ส่วนราชการท่ีมีค่าใช้จ่ายในปี 2560 สูงกว่ารายได้ ประกอบด้วย สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม จานวน 33.7013 ล้านบาท และกรมทางหลวง จานวน 9,487.7830 ล้านบาท (ปี 2560 มีค่าเสือ่ มราคาและค่า ตดั จาหน่ายสูงถงึ 75,474.21692 ล้านบาท ในขณะท่ีปี 2561 มีจานวน 26,923.9661 ล้านบาท) (ขอ้ มลู CFS) อย่างไรก็ตามปี 2561 สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคมยังคงมีค่าใช้จ่ายสูงกว่ารายได้เป็นจานวน 18.6993 ล้านบาท รัฐวิสาหกจิ ท่ีมรี ายได้ต่ากว่าค่าใช้จ่ายตอ่ เนอ่ื งทงั้ ในปี 2560 และ 2561 ประกอบดว้ ย องค์การขนส่ง มวลชนกรุงเทพ มีรายได้ต่ากว่าค่าใช้จ่ายจานวน 4,916.7940 ล้านบาท และ 6,174.5576 ล้านบาท (ตามลาดับ) และ การรถไฟแห่งประเทศไทย มีรายได้ต่ากว่าค่าใช้จ่ายจานวน 2.4364 ล้านบาท และ4.1593 ลา้ นบาท (ตามลาดับ) สาหรับการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) มีรายได้สูงกว่าค่าใช้จ่ายในปี 2560 และ2561 จานวน 4,714.6620 ล้านบาท และ2,541.0284 ล้านบาท สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 14 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 11. ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 5 ปยี อ้ นหลงั (พ.ศ. 2558 - 2562) หนว่ ย : ล้านบาท หน่วยงาน 2558 2559 2560 2561 2562 กระทรวงคมนาคม - งบประมาณหลงั โอนเปลี่ยนแปลง 110,895.04 133,656.19 150,344.65 168,527.86 179,672.10 - ผลการเบกิ จ่าย 102,083.01 125,077.82 136,910.50 133,062.90 140,681.87 1. สานักปลัดกระทรวงคมนาคม - งบประมาณหลังโอนเปลย่ี นแปลง 467.94 527.09 904.62 720.63 617.30 - ผลการเบิกจ่าย 425.44 459.77 855.10 687.62 502.10 2. กรมการขนสง่ ทางบก - งบประมาณหลงั โอนเปลีย่ นแปลง 2,921.86 3,817.44 3,771.78 4,019.35 4,147.07 - ผลการเบกิ จ่าย 2,694.60 3,698.46 3,462.69 3,331.86 3,502.65 3. กรมขนสง่ ทางราง - งบประมาณหลงั โอนเปลยี่ นแปลง - - - - 6.18 - ผลการเบกิ จา่ ย - - - - 4.82 4. กรมเจ้าทา่ - งบประมาณหลงั โอนเปลย่ี นแปลง 4,757.22 5,463.04 4,815.33 5,445.48 4,643.60 - ผลการเบิกจ่าย 3,382.21 3,919.90 3,404.49 3,094.91 3,645.61 5. กรมทางหลวง - งบประมาณหลงั โอนเปลย่ี นแปลง 60,467.17 76,246.13 91,271.36 105,620.14 117,167.70 - ผลการเบิกจา่ ย 54,549.79 71,922.68 85,172.49 79,830.01 87,981.64 6. กรมทางหลวงชนบท - งบประมาณหลังโอนเปลย่ี นแปลง 40,056.67 44,963.84 45,911.56 46,335.56 46,786.42 - ผลการเบิกจ่าย 38,976.21 43,204.73 41,224.87 41,586.12 40,873.44 7. กรมทา่ อากาศยาน - งบประมาณหลงั โอนเปล่ยี นแปลง - 2,032.02 3,248.66 5,884.52 5,943.53 - ผลการเบกิ จา่ ย - 1,427.48 2,460.07 4,189.21 3,880.23 8. สานักนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร - งบประมาณหลงั โอนเปล่ยี นแปลง 510.35 540.69 421.33 502.19 360.29 - ผลการเบิกจา่ ย 453.01 401.80 330.78 343.16 291.38 หมายเหตุ : เป็นข้อมลู ณ สนิ้ เดอื นกันยายนของทปุ ี (ไมร่ วมเงินกนั ไว้เบกิ เหลอื่ มป)ี ทม่ี า : ผลการเบิกจา่ ยเงินงบประมาณประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 - 2561 ของกระทรวงคมนาคม จาแนกตามลกั ษณะ เศรษฐกจิ จากกรมบญั ชีกลาง สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 15 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 12. เงนิ กนั ไวเ้ บกิ เหลื่อมปีและขยายระยะเวลาเบกิ จา่ ย หน่วยงาน / ปีงบประมาณ 2558 2559 2560 2561 1. สานกั ปลดั กระทรวงคมนาคม - เงนิ กนั เหลื่อมปี - 9.46 5.38 17.53 - เบิกจา่ ยเหลื่อมปี - 9.46 5.38 17.52 2. กรมการขนสง่ ทางบก - เงินกันเหลื่อมปี - - 32.77 397.13 - เบกิ จา่ ยเหล่อื มปี - - 24.77 347.74 3. กรมเจ้าทา่ - เงินกันเหลอ่ื มปี 234.89 359.91 411.01 2,290.53 - เบิกจา่ ยเหลื่อมปี 213.48 207.00 213.89 1,672.77 4. กรมทางหลวง - เงนิ กันเหลอื่ มปี 62.51 113.27 771.96 24,233.04 - เบกิ จ่ายเหลอ่ื มปี 39.72 86.40 476.40 14,337.35 5. กรมทา่ อากาศยาน - เงนิ กนั เหลอ่ื มปี 19.20 1.20 94.14 1,596.72 - เบิกจา่ ยเหลอ่ื มปี - 1.20 82.72 1,283.30 6. กรมทางหลวงชนบท - เงนิ กนั เหลื่อมปี 8.00 29.38 859.27 4,140.48 - เบิกจ่ายเหลื่อมปี 8.00 29.38 669.74 3,527.44 7. สานกั นโยบายและแผนการขนสง่ และ จราจร - เงนิ กนั เหล่ือมปี 1.42 2.26 31.12 156.90 - เบิกจ่ายเหล่ือมปี 1.42 2.26 - 149.74 ท่ีมา : รายงานผลการเบิกจา่ ยเงินกนั ไว้เบกิ เหลื่อมปี จาแนกรายปที ไ่ี ด้รบั งบประมาณ (ต้ังแตต่ ้นปีงบประมาณ จนถึงวันที่ 30 กันยายน 2562) กรมบญั ชกี ลาง ส่วนราชการที่มีรายการเงินกันเหลื่อมปี ปี 2561 สูงท่ีสุด 3 อันดับแรก คือ กรมทางหลวง 24,233.04 ล้านบาท กรมทางหลวงชนบท 4,140.48 ลา้ นบาท และ กรมเจ้าท่า 2,290.53 ล้านบาท สาหรับ หน่วยงานท่ีสามารถเบิกจ่ายเงินกันเหล่ือมปีได้ดี คือ สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม สานักงานนโยบายและ แผนการขนสง่ และ กรมการขนส่งทางบก สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 16 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม ภารกิจดา้ นนโยบายคมนาคมขนส่ง แผนในระดบั นโยบายที่เกีย่ วข้องกับด้านการคมนาคมขนส่งของประเทศ จากการศึกษาแผนในระดับนโยบายที่เกี่ยวข้องกับด้านการคมนาคมขนส่งของประเทศ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 แผน ยุทธศาสตร์คมนาคม พ.ศ. 2560-2564 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2560-2564) และยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งของไทย พ.ศ. 2558-2565 พบว่า รัฐบาลได้ให้ความสาคัญกับการปรับเปล่ียนรูปแบบการขนส่งสินค้าทางถนนสู่การขนส่งรูปแบบอื่นที่มี ตน้ ทุนการขนส่งทตี่ า่ กว่า และมงุ่ เนน้ พฒั นาความเชื่อมโยงทั้งระหว่างการขนส่งในแต่ละรปู แบบและกบั ประเทศ เพ่ือนบ้านตามแนวระเบียงเศรษฐกิจภายใต้กรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจต่าง ๆ รวมไปถึงการมุ่งเน้นท่ีจะ ผลักดันให้ประชาชนให้เปล่ียนไปใช้บริการระบบขนส่งสาธารณะให้มากขึ้น เพ่ือแก้ไขปัญหาปัญหาการจราจร ติดขัด ปัญหาอุบัติเหตุทางถนนท่ีเกิดข้ึนอย่างรุนแรงมานาน และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศ ซึ่งสรปุ ประเด็นทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับภารกจิ ดา้ นนโยบายคมนาคมขนส่ง ดงั น้ี 1. ยุทธศาสตร์ชาตริ ะยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) กรอบยทุ ธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี เปน็ กรอบการพัฒนาระยะยาวทีม่ ุง่ หวงั ให้ไทยเปน็ ประเทศที่พัฒนา แล้ว มีเน้อื หาทเี่ ก่ียวข้องกับการพัฒนาระบบการคมนาคมขนส่ง ไดแ้ ก่ 1) แนวทางพัฒนาระบบขนส่งเพ่ือให้เกิดความเช่ือมโยงเป็นโครงข่ายสมบูรณ์และลด ต้นทุนทางเศรษฐกิจและสังคม โดยให้ความสาคัญกับการปรับเปลี่ยนรูปแบบการขนส่งสินค้าทางถนนสู่การ ขนส่งที่ต้นทุนต่า เช่น การขนส่งทางน้า การพัฒนาความเช่ือมโยงกับประเทศเพ่ือนบ้านตามแนวระเบียง เศรษฐกิจภายใต้กรอบความร่วมมอื ทางเศรษฐกจิ GMS, IMT-GT, อาเซยี น และเส้นทางสายไหมของจนี รวมท้ัง พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและส่ิงอานวยความสะดวกในการเดินทางและขนส่งไปสู่เมืองศูนย์กลางภูมิภาค ท่วั ประเทศ 2) แนวทางเน้นการพัฒนาเชิงพ้ืนที่ ได้แก่ พัฒนาระบบขนส่งเชื่อมโยงเขตเศรษฐกิจพิเศษ (Special Economic Zone หรือ SEZ) บริเวณชายแดน พัฒนาระบบขนส่งในพื้นท่ีระเบียงเศรษฐกิจภาค ตะวันออก (Eastern Economic Corridor หรือ EEC) และพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะในเมืองศูนย์กลางของ ภูมภิ าคตา่ ง ๆ 2. แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564 มีสาระสาคัญท่ีเก่ียวข้องกับ การพฒั นาระบบขนส่งและโลจสิ ติกส์ไทย ดังน้ี 1) ยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและระบบโลจิสติกส์ เน้นการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานด้านขนส่งทุกรูปแบบ โดยให้ระบบรถไฟเป็นโครงข่ายหลัก พัฒนาอุตสาหกรรมต่อเน่ืองจาก การลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน พฒั นาการบริหารจดั การระบบขนสง่ ตลอดจนพฒั นาและยกระดบั มาตรฐานระบบ การบรหิ ารจัดการโลจสิ ติกสแ์ ละห่วงโซอ่ ุปทานให้ได้มาตรฐานสากล 2) ยุทธศาสตร์ท่ี 9 การพัฒนาภาค เมือง และพ้ืนที่เศรษฐกิจ เน้นการพัฒนาระบบขนส่ง สาธารณะในเขตเมืองหลัก พัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝ่ังทะเลตะวันออกให้เป็นฐานการผลิตอุตสาหกรรมหลัก ของประเทศ และพัฒนาพ้นื ทเ่ี ศรษฐกิจใหมบ่ ริเวณชายแดน สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 17 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 3. แผนยุทธศาสตร์คมนาคม พ.ศ. 2560-2564 เป็นการจัดทาแผนของกระทรวงคมนาคม โดยมีเน้ือหาสอดคลอ้ งกับยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี และ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 มีประเด็นยุทธศาสตร์หลัก 4 ประเด็น ดังนี้ 1) ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาระบบขนส่งขั้นพ้ืนฐานให้เชื่อมโยง ท่ัวถึง และเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม เน้นไปที่การบารุงโครงสร้างพื้นฐานที่มีอยู่ ปรับปรุงระบบขนส่งสาธารณะให้มีมาตรฐาน สามารถ รองรับทุกกลมุ่ เพ่ิมความคล่องตัวในการเปล่ียนรูปแบบการขนส่ง ส่งเสริมระบบท่ีประหยัดพลงั งานเปน็ มิตรกับ สง่ิ แวดลอ้ ม 2) ยุทธศาสตร์ที่ 2 การยกระดับความปลอดภยั และความมนั่ คงของระบบขนส่ง เน้นไปที่การ พัฒนาระบบมาตรฐานและกากบั ดแู ลความปลอดภัย ตลอดจนความมั่นคงของระบบ ลดอบุ ตั ิเหตรุ ะบบขนส่ง 3) ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาระบบขนส่งเพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและ ขับเคลื่อนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ เน้นไปท่ีการสร้างโครงสร้างพื้นฐานเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ โดยเฉพาะ โครงการระบบราง ทางพิเศษระหว่างเมือง สถานีขนส่งสินค้า ท่าเรือชายฝั่งทะเล ปรับปรุงท่าอากาศยาน เพื่อการเชื่อมโยงระหว่างประเทศ เพิม่ สัดส่วนการขนส่งทางรางและทางน้า เพิ่มความสามารถในการให้บริการ ของทา่ เรอื และท่าอากาศยานหลัก 4) ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาปัจจัยสนับสนุนการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์สู่ความสาเร็จ เป็นการพัฒนากฎระเบียบ ประสิทธิภาพองค์กร เน้นสร้างงานวิจัย และเพ่ิมความพึงพอใจในกลุ่มผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย 4. แผนยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาระบบโลจิสติกสข์ องประเทศไทย ฉบบั ที่ 3 (พ.ศ. 2560-2564) เป็นกรอบการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศ ซึ่งเป็นไปตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 มีเป้าหมายให้ประเทศไทยสามารถ ยกระดับระบบโลจิสติกส์เพื่อเป็นศูนย์กลางทางการค้า การบริการ และการลงทุนในภูมิภาค ประกอบด้วย 3 ยุทธศาสตรห์ ลัก คือ 1) ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การพัฒนาเพิ่มมูลค่าระบบห่วงโซ่อุปทาน เน้นการยกระดับการบริหาร จัดการโลจิสติกส์ในภาคเกษตรและอุตสาหกรรม เชื่อมโยงสู่ระบบการค้าอิเล็กทรอนิกส์ (e-commerce) และ พัฒนาศกั ยภาพผใู้ หบ้ ริการโลจิสตกิ สใ์ ห้สามารถแขง่ ขันได้ 2) ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและส่ิงอานวยความสะดวกเน้นไปที่ การพัฒนาโครงสรา้ งพนื้ ฐานดา้ นการขนส่งและเครือขา่ ยโลจิสติกส์ตามเส้นทางยุทธศาสตร์เพ่ือเชอื่ มโยงภูมภิ าค พัฒนาระบบหน้าต่างเดียว (National Single Window หรือ NSW) ใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ให้มากข้ึนและ แก้ไขอุปสรรคทางการค้าระหว่างประเทศ 3) ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาปัจจัยสนับสนุนดา้ นโลจิสติก เป็นการพัฒนามาตรฐานวิชาชีพ พัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ สนับสนุนงานวิจัยและพัฒนา ตลอดจนพัฒนาฐานข้อมูลและติดตามข้อตกลง ระหว่างประเทศ โดยเฉพาะของอาเซียนและองค์การการคา้ โลก 5. ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาโครงสร้างพนื้ ฐานด้านคมนาคมขนส่งของไทย พ.ศ. 2558-2565 กระทรวงคมนาคมได้บูรณาการความต้องการด้านโครงสร้างพ้ืนฐานด้านคมนาคมขนส่งของไทย เพ่ือสร้างรากฐานความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคม ความปลอดภัยในการเดินทางและการขนส่ง รวมทั้งสร้าง โอกาสสาหรับการใช้ประโยชน์สูงสุดจากการเป็นประชาคมอาเซยี น ตามเป้าหมายการพฒั นาโครงสร้างพ้ืนฐาน รวมทั้งมุ่งเน้นประเด็นท้าทายของการพัฒนาท่ีจะสนับสนุนการปรับเปลี่ยนรูปแบบการขนส่งสินค้าที่พ่ึงพาทาง ถนนเป็นหลักไปใช้การขนส่งหลักท่ีเป็นรูปแบบท่ีมีต้นทุนต่อหน่วยต่ากว่า และการเช่ือมต่อการเดินทางและ สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 18 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม การขนส่งกบั ประเทศเพื่อนบ้าน รวมทั้งการยกระดับความคล่องตัวในการเดนิ ทางและการขนส่งไปสู่ศูนย์กลาง ของภมู ภิ าคท่ัวประเทศ สรุปดังนี้ 1) แผนงานการพัฒนาโครงข่ายรถไฟระหว่างเมือง การพัฒนาโครงข่ายรถไฟระหว่างเมืองจะดาเนินการปรับปรุงระบบอุปกรณ์และโครงสร้าง พืน้ ฐานการขนส่งทางราง และพัฒนาระบบรถไฟทางคู่ที่มีความพร้อมดาเนินการ 6 สายแรก และเรง่ ผลักดันให้ สามารถดาเนินการก่อสร้างทางคู่ขนาดรางมาตรฐาน (Standard Gauge) เชื่อมโยงกับประเทศเพ่ือนบ้านและ สาธารณรัฐประชาชนจีน (จีนตอนใต้) เพื่อให้รถไฟเป็นทางเลือกใหมข่ องการเดินทาง และสรา้ งความได้เปรียบ ในการแขง่ ขันของประเทศ ภาพแสดงโครงการภายใต้แผนงานการพัฒนาโครงขา่ ยรถไฟระหวา่ งเมอื ง ทม่ี า : ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพนื้ ฐานด้านคมนาคมขนส่งของไทย พ.ศ. 2558-2565 ประโยชน์ท่ีจะไดร้ บั จากการพฒั นาโครงข่ายรถไฟระหว่างเมือง เช่น - โครงขา่ ยรถไฟครอบคลุมข้ึนอกี 6 จงั หวัด ทางคู่เพม่ิ ขึ้นอกี 1,300 กิโลเมตร - เพ่ิมความเร็วในการเดินรถ (รถสินค้าจาก 29 กิโลเมตรต่อช่ัวโมง เป็น 60 กิโลเมตรต่อ ช่ัวโมง และรถด่วนพเิ ศษจาก 50 กโิ ลเมตรตอ่ ช่ัวโมง เปน็ 100 กิโลเมตรตอ่ ชั่วโมง) - เพ่ิมนา้ หนักลงเพลาทาใหส้ ามารถเพมิ่ การขนส่งไดร้ อ้ ยละ 25 ตอ่ ขบวน - สัดส่วนการขนส่งทางรถไฟในประเทศจะเพิ่มขึ้นจากเดิม ร้อยละ 1.5 เป็นร้อยละ 5 ในปี 2563 - ประชาชนเข้าถึงรถไฟได้ง่ายขึ้น การเดินทางและขนส่งด้วยรถไฟตรงเวลา และปลอดภัย มากข้ึน - โครงข่ายของไทยสามารถเชื่อมโยงกบั ประเทศเพื่อนบา้ นและจีนตอนใตไ้ ด้มากย่งิ ข้ึน สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 19 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 2) แผนงานการพัฒนาโครงข่ายขนส่งสาธารณะเพ่ือแก้ไขปัญหาจราจรใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะเร่งรัดขยายเส้นทางรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเพื่อให้บริการ ประชาชนได้อย่างทั่วถึง เปลี่ยนรถโดยสารประจาทางให้ประชาชนได้ใช้รถที่ได้มาตรฐาน ลดมลพิษในเขตเมือง ปรับปรุงถนนและสะพาน เพื่อลดความแออัดของปริมาณจราจรในพนื้ ที่ตา่ งๆ รวมท้ังการพิจารณาความเป็นไป ได้ในการพฒั นาถนนเลยี บแมน่ ้าเจ้าพระยาในเขตกรุงเทพมหานคร ภาพแสดงโครงการภายใตแ้ ผนงานการพฒั นาโครงข่ายขนสง่ สาธารณะ เพ่อื แก้ไขปัญหาจราจรในกรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑล ที่มา : ยุทธศาสตร์การพฒั นาโครงสรา้ งพื้นฐานดา้ นคมนาคมขนสง่ ของไทย พ.ศ. 2558-2565 ประโยชน์ท่ีจะได้รับจากการพัฒนาโครงข่ายขนส่งสาธารณะเพ่ือแก้ไขปัญหาจราจร ในกรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล เชน่ - ระบบรถไฟฟา้ สามารถรองรับการเดินทาง 5-8 ล้านคนเที่ยว/วนั - มโี ครงข่ายรถไฟฟ้า 299 กิโลเมตร ในอกี 5 ปีขา้ งหน้า - คุณภาพรถประจาทางและอ่จู อดรถขององค์การขนส่งมวลชนกรงุ เทพดีข้นึ - ลดการขาดทุนขององค์การขนสง่ มวลชนกรงุ เทพจากการใช้เชื้อเพลงิ ท่ีประหยดั และเป็นมติ ร ตอ่ สิง่ แวดล้อม - สัดส่วนการเดินทางโดยระบบขนส่งสาธารณะกับการเดินทางโดยรถยนต์ส่วนบุคคล เท่ากับ ร้อยละ 60 ต่อ รอ้ ยละ 40 - ลดปัญหาจราจรและโครงข่ายถนนในกรุงเทพมหานครชั้นในและปริมณฑลมีความคล่องตัว ข้นึ สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 20 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 3) แผนงานการเพิ่มขีดความสามารถทางหลวงเพ่ือเช่ือมโยงฐานการผลิตท่ีสาคัญของ ประเทศและเช่อื มโยงกับประเทศเพื่อนบา้ น โดยปรับปรุงถนนเช่ือมโยงแหล่งเกษตรและแหลง่ ทอ่ งเท่ียว รวมถึงการปรับปรุงโครงขา่ ยถนน ระหว่างเมืองหลักและเช่ือมเมืองหลักกับด่านพรมแดนให้เป็น 4 ช่องจราจร การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้าน ศุลกากร การก่อสร้างทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองในเส้นทางท่ีมีความจาเป็น ตลอดจนผลักดันการพัฒนาสิ่ง อานวยความสะดวกด้านการขนส่งทางถนน เช่น จุดพักรถบรรทุก สถานีขนส่งสินค้า ศูนย์เปลี่ยนถ่ายระหว่าง การขนส่งทางรางกบั ทางถนน เพื่อให้เกิดระบบขนส่งต่อเน่ืองหลายรูปแบบ สามารถรองรับการค้า การลงทุนที่ จะสูงข้ึนจากการเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน ภาพแสดงโครงการภายใต้แผนงานการเพ่มิ ขดี ความสามารถทางหลวง เพื่อเช่อื มโยงฐานการผลิตที่สาคญั ของประเทศและเชื่อมโยงกับประเทศเพือ่ นบา้ น ท่มี า : ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาโครงสรา้ งพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งของไทย พ.ศ. 2558-2565 ประโยชน์ท่ีจะได้รับจากการพัฒนาทางหลวงเชื่อมโยงพ้ืนที่สาคัญของประเทศและเช่ือมโยง กบั ประเทศเพอ่ื นบา้ น เช่น - มาตรฐานข้ันต่าของโครงข่ายถนนสว่ นใหญ่ของประเทศเป็นถนนลาดยาง ต้ังแตก่ ารเดินทาง ระดบั หมู่บา้ นจนถงึ ระหว่างประเทศระยะทาง 461,221 กโิ ลเมตร - มีถนน 4 ช่องจราจร 1,864 กิโลเมตร ในทางหลวงสายหลกั ทว่ั ประเทศ - โครงขา่ ยทางหลวงอาเซียนท้ังหมดในไทยอยา่ งน้อยเปน็ ถนน 4 ชอ่ งจราจร - มีมาตรฐานถนน ส่ิงอานวยความสะดวกดา้ นการขนส่งทช่ี ่วยลดอุบัติเหตุท่ีมสี าเหตุจากถนน และการขับข่ี - การขนส่งทางถนนจะช่วยสนับสนุนให้การขนส่งทางน้า ทางรถไฟและทางอากาศสามารถ ใหบ้ รกิ ารโดยสะดวกจากต้นทางถงึ ปลายทาง - ดึงดูดการกระจายตัวของการตั้งถ่ินฐาน การใช้พ้ืนที่ของภาคต่างๆ เป็นฐานการผลิตของ ประเทศและของประชาคมอาเซยี น - ด่านศุลกากรท่ีเป็นประตูทางการค้าบริเวณชายแดนมีการเช่ือมโยงกับโครงข่ายถนน ราง ท่าเรือ และท่าอากาศยานหลกั รวมท้งั มคี วามพร้อมและทันสมยั สามารถรองรบั การเขา้ สู่ประชาคมอาเซยี น สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 21 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 4) แผนงานการพัฒนาโครงข่ายการขนส่งทางน้า โดยการพิจารณาความเหมาะสมในการพัฒนาท่าเรือลาน้าและท่าเรือชายฝ่ังทะเลด้าน อ่าวไทยและทะเลอันดามัน เพื่อประโยชน์ในการขนส่งสินค้าทั้งภายในและระหว่างประเทศ และเป็นการเปิด ประตกู ารขนสง่ ด้านฝ่ังทะเลอันดามันทส่ี ามารถเช่ือมโยงเป็นสะพานเศรษฐกิจกบั ท่าเรือฝั่งอ่าวไทย รวมท้งั เป็น ทางเลือกในการขนสง่ ท่ีประหยัดและเป็นมติ รกับสิ่งแวดลอ้ มในพื้นท่ีใหม่ ภาพแสดงโครงการภายใตแ้ ผนงานการพฒั นาโครงขา่ ยการขนสง่ ทางน้า ทมี่ า : ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานดา้ นคมนาคมขนส่งของไทย พ.ศ. 2558-2565 ประโยชน์ที่จะไดร้ ับจากการพฒั นาโครงขา่ ยการขนสง่ ทางนา้ - สดั ส่วนการขนส่งทางนา้ ในประเทศจะเพ่มิ ขึ้นจากเดิมอีกร้อยละ 20 - มีทางเลอื กในการขนส่งที่ประหยดั และเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมในพื้นที่ใหม่ - เปิดประตูการขนส่งด้านฝ่ังทะเลอันดามันที่สามารถเช่ือมโยงเป็นสะพานเศรษฐกิจ กับทา่ เรือฝงั่ อ่าวไทย - เมอื งท่าของประเทศที่ขยายตวั จากภาคตะวนั ออกไปสู่ภาคใต้ 5) แผนงานการเพิ่มขดี ความสามารถในการใหบ้ รกิ ารขนส่งทางอากาศ โดยการเร่งผลักดันการพัฒนาท่าอากาศยานหลักท่ีเป็นประตูการขนส่งของประเทศ ให้ได้ มาตรฐานสากล สามารถรองรับความต้องการของประชาชนผู้เดินทางไปอย่างมีประสิทธิภาพ การส่งเสริมการ ใช้ประโยชน์ท่าอากาศยานในภูมิภาคให้มีบทบาทมากขึ้นในกิจกรรมด้านการบินและกิจกรรมที่เก่ียวเนื่อง รวมทั้งการส่งเสริมการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมการบินของประเทศ และการพิจารณาความเหมาะสมในการ สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 22 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม พัฒนาห้วงอากาศของไทยให้สามารถใช้ประโยชน์ร่วมกันเพ่ือความม่ันคงและการพัฒนาเศรษฐกิจได้อย่าง เหมาะสม ภาพแสดงโครงการภายใต้แผนงานการเพิ่มขีดความสามารถในการให้บรกิ ารขนสง่ ทางอากาศ ที่มา : ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาโครงสรา้ งพ้ืนฐานด้านคมนาคมขนส่งของไทย พ.ศ. 2558-2565 ประโยชนท์ ่จี ะไดร้ ับจากการพัฒนาเพม่ิ ขีดความสามารถในการให้บรกิ ารขนสง่ ทางอากาศ - การเดินทางระยะทางไกลด้วยการขนส่งทางอากาศสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย ประชาชนมี ทางเลือกในการเดินทางเพมิ่ มากขน้ึ - ปรมิ าณการขนส่งสินค้าและปริมาณผโู้ ดยสารผา่ นท่าอากาศยานหลักเพิ่มสงู ขน้ึ - ศักยภาพการให้บริการการเดินอากาศของไทยเพ่ือรองรับปริมาณเท่ียวบินท่ัวประเทศเพ่ิม สงู ขึน้ 6. ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งของไทย ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2579) ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งของไทย ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2579) ประกอบด้วย 5 ยทุ ธศาสตร์ 1) ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 การบรู ณาการระบบคมนาคมขนส่ง (Integrated Transport Systems) 2) ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 การบริการของภาคคมนาคมขนส่ง (Transport Services) 3) ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การพัฒนา ปรบั ปรงุ กฎหมาย กากับดแู ล และปฏิรูปองคก์ ร (Regulations and Institution) 4) ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การผลติ และพัฒนาบคุ ลากร (Human Resource Development) สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 23 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 5) ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การนาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมมาใช้ในการพฒั นาระบบคมนาคม ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาระบบคมนาคมขนส่ง กรอบวงเงินรวม ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 หนว่ ย : ลา้ นบาท ของไทย ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2579) ระยะ 5 ปี 242,207.21 528,067.40 632,818.81 ปี 2564 10,924.29 21,231.96 30,417.37 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การบูรณาการระบบคมนาคม 27,06,592.83 704,731.93 598,767.46 ขนส่ง - 206.00 272.00 84,823.92 15,811.18 6,439.12 ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 การบริการของภาคคมนาคม ขนส่ง 1,022.00 272.00 272.00 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพฒั นา ปรบั ปรงุ กฎหมาย กากบั ดแู ล และ ปฏิรปู องค์กร ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การผลิตและพฒั นาบคุ ลากร 1,451.95 238.60 379.38 335.19 395.19 103.58 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 การนาเทคโนโลยีและ 4,672.03 503.30 908.85 1,191.41 1,074.75 993.74 นวตั กรรม มาใชใ้ นการพฒั นาระบบคมนาคม รวมวงเงนิ ยุทธศาสตรท์ ี่ 1-5 2,798,562.73 253,873.40 550,793.59 665,034.78 722,285.05 606,575.90 (Technology and Innovation) โดยทั้ง 5 ยุทธศาสตร์ มีแผนงาน/โครงการของกระทรวงคมนาคม จาแนกตามรูปแบบการขนส่ง (Mode) ได้แก่ 1) การพัฒนาด้านคมนาคมขนส่งทางถนน 2) การพัฒนาด้านคมนาคมขนส่งทางราง 3) การ พัฒนาด้านคมนาคมขนส่งทางน้า 4) การพัฒนาด้านคมนาคมขนส่งทางอากาศ และ 5) การศึกษาและ เสนอแนะนโยบายด้านคมนาคมขนส่ง รวมวงเงินท้ังส้ิน 7,822,581.70 ล้านบาท ซ่ึงสามารถแบ่งระยะของการ ลงทุนออกเป็นชว่ งๆ ละ 5 ปจี าแนกตามยทุ ธศาสตร์ฯ รายละเอียดตามตาราง ตารางแสดงประมาณการวงเงนิ ลงทนุ รายปี พ.ศ. 2560 - 2564 จาแนกตามยุทธศาสตรฯ์ ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาระบบ กรอบวงเงินรวม ระยะ ปี 60-64 ปี 65-69 ปี 70-74 หนว่ ย : ลา้ นบาท คมนาคมขนส่งของไทย ระยะ ๒๐ 20 ปี (ปี 60-79) 2,706,592.83 2,352,092.91 ปี 75-79 7,669,108.10 84,823.92 ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙) 104,267.50 7,469.01 1,264,868.78 1,345,553.58 1,022.00 1,000.00 5,987.28 5,987.28 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การบรู ณาการ 4,022.00 1,451.95 55.97 ระบบคมนาคมขนส่ง 4,672.03 12,984.08 1,000.00 1,000.00 1,619.84 2,798,562.73 2,373,601.96 ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 การบรกิ ารของ 55.97 55.97 ภาคคมนาคมขนส่ง 43,564.26 7,822,581.70 12,954.08 12,954.08 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนา 1,284,866.10 1,365,550.90 ปรบั ปรุงกฎหมาย กากบั ดแู ล และ ปฏริ ปู องค์กร ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 การผลติ และ พัฒนาบุคลากร ยุทธศาสตร์ที่ 5 การนาเทคโนโลยี และนวตั กรรม มาใชใ้ นการ พัฒนาระบบคมนาคม รวมวงเงนิ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1-5 สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 24 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 1. สานักงานปลดั กระทรวงคมนาคม สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคมเป็นหน่วยงานท่ีสาคัญในการทาหน้าท่ีพัฒนายุทธศาสตร์ และแปลง นโยบายของกระทรวงคมนาคมเป็นแผนปฏิบัติ จัดสรรทรัพยากรและบริหารราชการทั่วไป รวมทั้ง งานกากับ และเร่งรัดตรวจสอบ ติดตามและประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงให้บรรลุเป้าหมาย และเกดิ ผลสมั ฤทธ์ิผลตามภารกจิ ของกระทรวง 1. วิสัยทัศน์ เปน็ ศูนย์กลางในการบรหิ ารด้านคมนาคมทที่ ันสมยั 2. พันธกจิ 1. บริหารนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนงาน งบประมาณ การตรวจสอบและติดตามประเมินผลเพ่ือ ขบั เคลือ่ นการพฒั นาระบบขนสง่ ตามเป้าหมายการพัฒนาประเทศอยา่ งมพี ลวัตร 2. บริหารยุทธศาสตร์ด้านความร่วมมือระหว่างประเทศ ด้านการปรับปรุงพัฒนาระบบกฎหมายด้าน การพัฒนาระบบข้อมูล และเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการส่ือสารและประชาสัมพนั ธ์ด้านการจัดการเรื่องร้อง ทุกขแ์ ละการอทุ ธรณ์ เพือ่ สนับสนุนการบรหิ ารนโยบายคมนาคมได้อยา่ งเป็นผลสาเรจ็ 3. ยกระดับการบริหารดา้ นความปลอดภัยในระบบขนส่งของประเทศ 4. บริหารความสัมพันธ์ผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสียที่สาคัญและให้บริการประชาชนตามภารกิจอย่างมีคุณภาพ และพัฒนาอยา่ งตอ่ เน่ือง 5. พัฒนาทรัพยากรบุคคลและองค์กร รวมถึงปัจจัยสนับสนุนการบริหารงานต่อเนื่องเพื่อให้สามารถ นาสง่ ผลผลติ และสร้างผลลพั ธไ์ ดต้ ามความคาดหวงั อยา่ งมอื อาชีพ 3. ภาพรวมงบประมาณสานักงานปลดั กระทรวงคมนาคม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคมได้รับการจัดสรรงบประมาณจานวน 651.0591 ล้านบาท เพ่ิมขึ้นจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 36.4883 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.94 สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 25 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม งบประมาณสานักงานปลดั กระทรวงคมนาคม (ล้านบาท) 1000 933.127 900 761.9807 651.0591 800 700 487.5433 614.5708 600 453.0584 500 400 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 300 200 100 0 2557 งบเงนิ อุดหนุน งบรายจ่ายอน่ื งบบุคลากร ง บ ป ร ะ ม า ณ ร า ย จ่ า ย ข อ ง ส า นั ก ง า น 6.83% 11.12% 25.91% ปลดั กระทรวงคมนาคมประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 เม่ือจาแนกตามงบรายจ่าย สามารถ งบลงทุน สานปั ลดั เรยี งลาดบั งบประมาณจากมากไปน้อย ดังนี้ 16.99% กระทรวง คมนาคม 1) งบดาเนินงาน 254.8966 ล้านบาท 2) งบบคุ ลากร 168.6687 ล้านบาท 3) งบลงทุน 110.6355 ล้านบาท 4) งบรายจา่ ยอืน่ 72.4168 ล้านบาท 5) งบเงินอดุ หนนุ 44.4415 ล้านบาท งบดาเนนิ งาน 39.15% เม่ือจาแนกตามแผนงานสานักงานปลัดกระทรวงคมนาคมได้รับการจัดสรรงบประมาณภายใต้ 4 แผนงานเรียงลาดับงบประมาณจากมากไปนอ้ ย ดังน้ี 1) งบประมาณภายใต้แผนงานพ้ืนฐานด้านการสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน 456.3557 ล้านบาท 2) งบประมาณรายจ่ายบคุ ลากร 169.3159 ลา้ นบาท 3) งบประมาณภายใต้แผนงานบูรณาการพัฒนาดา้ นคมนาคมและระบบโลจิสตกิ ส์ 23.0799 ล้านบาท 4) งบประมาณภายใตแ้ ผนงานบรู ณาการตอ่ ตา้ นการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ 2.3076 ลา้ นบาท สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 26 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม งบประมาณจาแนกตามกลุ่มงบประมาณรายจ่าย 0.35% งบประมาณรายจ่ายบุคลากร 3.54% แผนงานพ้นื ฐานดา้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขนั 26.01% แผนงานบูรณาการพฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ 70.09% แผนงานบูรณาการต่อตา้ นการทุจริตและประพฤติมิชอบ 4. ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ หมายเหตุ : เป็นขอ้ มลู งบประมาณหลังโอน/เปลย่ี นแปลง ณ สิ้นเดือนกันยายนของทกุ ปี (ไม่รวมเงินกันไวเ้ บิกเหลือ่ มปี) ทม่ี า : ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณตามลกั ษณะเศรษฐกจิ และสว่ นราชการ กรมบญั ชกี ลาง และงบประมาณปี พ.ศ. 2563 จากเอกสาร งบประมาณ สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 27 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 5. ผลประโยชนท์ ีไ่ ดร้ บั จากการจดั สรรงบประมาณของสานกั งานปลดั กระทรวงคมนาคม เม่ือวิเคราะห์ โครงการ/กิจกรรม ทั้งหมดของสานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม พบว่างบประมาณ ส่วนใหญ่จะเป็นงบดาเนินงาน เพื่อบริหารจัดการ นโยบาย แผน และมาตรการการคมนาคมขนส่งภายใต้ แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ช่วยให้เกิดการประสานงานและ เชอื่ มโยงการพัฒนาอย่างมีบรู ณาการของหน่วยงานภายในกระทรวง โดยการการจัดงานประชาสัมพนั ธ์ รณรงค์ ฝึกอบรม จัดทาแผนงานต่างๆ การจัดประชมุ ระหวา่ งหน่วยงาน ในปีงบประมาณปี พ.ศ. 2563 สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม ได้ใช้งบประมาณในการดาเนิน โครงการ/กิจกรรม เพ่ือสนับสนุนการคมนาคมในรูปแบบต่าง ๆ คอื ดาเนนิ การพัฒนาการคมนาคมขนส่งทาง ราง ด้วยการจ้างที่ปรึกษาดาเนินการขับเคลื่อน ติดตาม และประเมินผลการดาเนินโครงการความร่วมมือด้าน รถไฟระหว่างไทย-จีน การพัฒนาการคมนาคมขนส่งทางอากาศ ด้วยการพัฒนาบุคลากรทางการบินจัด ฝึกอบรมตามมาตรฐานขององค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (ICAO) และสัมมนาการพัฒนาระบบ Search and Rescue System การพัฒนาการคมนาคมขนส่งทางถนน โดยการจัดทาฐานข้อมูลพัฒนา มาตรฐานข้อมูลถนนของประเทศ พร้อมระบบรายงานผลข้อมูลถนน และพัฒนาระบบวิเคราะห์ข้อมูลขนาด ใหญด่ ้านคมนาคม (MOT Big Data Analytics) โดยมีรายละเอียดลักษณะการใชง้ บประมาณ ดังนี้ ผลผลติ /โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ ลกั ษณะการใชง้ บประมาณ (บาท) แผนงานพื้นฐานดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั งบประมาณ 456,355,700.00 บาท การบริหารจัดการ นโยบาย แผน และ 452,086,700 เป็นการใช้งบประมาณในการบริหารจัดการ มาตรการดา้ นการคมนาคมขนสง่ นโยบาย แผน และมาตรการการคมนาคมขนส่ง เพ่ือหน่วยงานในสังกัดกระทรวงคมนาคมเพ่ือให้เกิด การประสานงานและเช่ือมโยงการพัฒนาอย่างมี บูรณาการ โดยงบประมาณส่วนใหญ่เป็นงบ ดาเนินงานและค่าใช้จ่ายประจาของหน่วยงาน เช่น ค่าตอบแทน ใช้สอยวัสดุ ค่าเช่ารถจานวน 33 คัน สาหรับงบลงทุนประกอบด้วยค่าครุภัณฑ์และ สิ่งก่อสร้าง สาหรับโครงการ/กิจกรรมท่ีจะช่วยให้ เกิดการประสานงานและเชือ่ มโยงการพัฒนาอยา่ งมี บู ร ณ า ก า ร ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ภ า ย ใ น ก ร ะ ท ร ว ง นั้ น ส่วนมากเป็นการจัดงานประชาสัมพันธ์ รณรงค์ ฝึกอบรม จัดทาแผนงานต่างๆ การจัดประชุม เป็น ต้น โ ค ร ง ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น ก า ร ด า เ นิ น ง า น 23,079,900.00 จ้างท่ีปรึกษาเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อน ติดตาม โครงการความรว่ มมอื ดา้ นรถไฟ และประเมินผลการดาเนินโครงการความร่วมมือ ดา้ นรถไฟระหว่างไทย – จีน แผนงานบรู ณาการพัฒนาดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ติกส์ 23,079,900.00 บาท โครงการพัฒนางานด้านการค้นหา และ 2,847,200 จัดฝึกอบรมตามมาตรฐานขององค์การการบินพล ช่วยเหลืองานนิรภัยการบินและสอบสวน เรือนระหว่างประเทศ (ICAO) และสัมมนาการ พฒั นาระบบ Search and Rescue System สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 28 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม ผลผลติ /โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ลักษณะการใช้งบประมาณ (บาท) ด้ า น ก า ร บิ น พ ล เ รื อ น ต า ม ม า ต ร ฐ า น องคก์ ารการบนิ พลเรือนระหวา่ งประเทศ โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ โ ค ร ง ส ร้ า ง พื้ น 20,232,700 พัฒนามาตรฐานข้อมูลถนนของประเทศ พร้อม ฐานข้อมูลคมนาคมขนส่งแบบบูรณาการ ระบบรายงานผลข้อมูลถนน และพัฒนาระบบ เพ่ือสนับสนนุ การกาหนดนโยบายและการ วิเคราะห์ข้อมลู ขนาดใหญด่ ้าน คมนาคม (MOT Big บรหิ ารจัดการด้านคมนาคมขนส่ง Data Analytics) แผนงานบูรณาการตอ่ ตา้ นการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ 2,307,600 บาท โครงการดาเนินงานในลักษณะบูรณา 2,307,600 ดาเนินโครงการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร การการปอ้ งกนั ปราบปราม คุณธรรมในการตอ่ ต้านการทจุ รติ และสง่ เสริม คณุ ธรรม และโครงการยกระดับธรรมาภิบาล ในการต่อตา้ นการทุจริตเชิงรุก 6. ขอ้ สงั เกตและขอ้ เสนอแนะเพิ่มเตมิ ของสานักงบประมาณของรฐั สภา ด้วยอานาจหน้าที่ของสานักงานปลัดกระทรวงคมนาคมที่สาคัญ คือ การนานโยบายไปสู่แผนการ ปฏิบตั ิ ประสานแผนของหนว่ ยงานทม่ี ภี ารกิจในการพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งในแต่ละรูปแบบ และงานกากับ และเร่งรัดตรวจสอบติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงให้บรรลุเป้าหมาย และเกิดผลสัมฤทธิ์ผลตามภารกิจของกระทรวง ดังน้ันสานักงานปลัดกระทรวงคมนาคมจึงต้องมีการจัดสรร งบประมาณเพ่อื ดาเนนิ การเพมิ่ เติม ดังน้ี 1) การพัฒนาระบบข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการส่ือสารและประชาสัมพันธ์ด้านการ จัดการเรื่องร้องทุกข์และการอุทธรณ์ เพื่อสนับสนุนการกาหนดนโยบายด้านคมนาคมขนส่ง นาไปสู่การนา นโยบายไปกาหนดโครงการ/กิจกรรม ท่ีแก้ปญั หาและพฒั นาระบบคมนาคมขนสง่ ไดต้ รงจุด สอดคล้องกับความ ต้องการของประชาชน เกิดความคมุ้ คา่ และมปี ระสทิ ธิภาพในการใชจ้ า่ ยงบประมาณ 2) ประสานแผนพฒั นาระบบคมนาคมขนสง่ ในแตล่ ะรปู แบบ ไดแ้ ก่ การคมนาคมขนสง่ ทางถนน ราง นา้ และอากาศ ท่ีมีอย่จู านวนมาก ซ่ึงทาให้แผนอาจจะมีลักษณะที่ซ้าซ้อนกัน นาไปสู่ความสิ้นเปลืองและไม่ ค้มุ ค่า รวมไปถงึ เป็นเรือ่ งยากตอ่ การติดตามและประเมินผล 3) ดาเนินการแบบบรู ณาการกับสานักนโยบายและแผนการขนสง่ และจราจรจัดลาดบั ความสาคัญของ โครงการของกระทรวงคมนาคม เพ่ือดาเนินโครงการตามลาดับ ก่อน-หลัง ให้ตรงกับความจาเป็น และสภาพ ปัญหาในแตล่ ะพน้ื ที่ของประเทศ 4) นาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใ้ นหน่วยงาน เพ่ือเพิ่มประสิทธภิ าพในการกากับและเร่งรัดตรวจสอบ ตดิ ตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานในสงั กัดกระทรวงให้บรรลุเป้าหมายและเกิดผลสัมฤทธ์ิผล ตามภารกจิ ของกระทรวงในภาพรวม สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 29 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 2. สานกั งานนโยบายและแผนการขนสง่ และจราจร 1. วิสัยทศั น์ องค์กรนาในการกาหนดทิศทางการพัฒนาระบบขนสง่ และจราจรของประเทศ 2. พนั ธกจิ 1. เสนอแนะนโยบาย มาตรการ มาตรฐาน และจัดทาแผนพัฒนาระบบขนส่งและจราจร 2. ศึกษาวจิ ัยและพัฒนาเทคโนโลยีนวัตกรรมดา้ นการขนส่งและจราจร 3. ส่งเสรมิ ความปลอดภยั และสิง่ แวดลอ้ มในระบบการขนสง่ และจราจร 4. จัดทา พัฒนา เผยแพร่ขอ้ มลู สารสนเทศการจดั การองค์ความรูดา้ นการขนสง่ และจราจร 5. ขบั เคลื่อนนโยบาย มาตรการ มาตรฐาน และแผนเพ่ือให้เกดิ ผลในการปฏิบตั ิ 3. ภาพรวมงบประมาณสานักงานนโยบายและแผนการขนสง่ และจราจร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจรได้รับการจัดสรร งบประมาณจานวน 332.5119 ล้านบาท ลดลงจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 8.5412 ล้านบาท หรือ ลดลงรอ้ ยละ 2.50 ภายใต้เปา้ หมายการให้บริการจานวน 4 เป้าหมาย งบประมาณสว่ นใหญ่ มุ่งเนน้ หน่วยงานท่ี เก่ยี วขอ้ งมีนโยบายและแผนด้านการขนส่งและจราจรนาไปปฏบิ ตั ิ งบประมาณสานกั นโยบายและแผนการขนสง่ 600 และจราจร (ล้านบาท) 540.6862 516.7601 550 500 510.3481 541.1288 450 341.0531 400 332.5119 350 300 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2557 สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 30 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม งบรายจ่ายอนื่ งบบุคลากร งบประมาณรายจ่ายของ 2.18% 27.16% สานักงานนโยบายและแผนการขนส่ง และจราจร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. สนข. งบดาเนนิ งาน 2563 เมื่อจาแนกตามงบรายจ่าย 10.69% สามารถเรียงลาดับงบประมาณจาก งบลงทนุ มากไปน้อย ดงั น้ี 59.97% 1) งบลงทุน 199.3941 ลา้ นบาท 2) งบบคุ ลากร 90.3061 ลา้ นบาท 3) งบดาเนนิ งาน 35.5533 ลา้ นบาท 4) งบรายจ่ายอน่ื 7.2584 ล้านบาท เม่ื อ จ า แ น กต า มแ ผ น งา น ส านั ก งา น น โ ย บ า ยแ ล ะแ ผ น กา ร ข นส่ ง แล ะ จ รา จ ร ได้ รั บก า ร จั ด ส ร ร งบประมาณภายใต้ 4 แผนงานเรียงลาดับงบประมาณจากมากไปนอ้ ย ดงั น้ี 1) งบประมาณรายจ่ายบุคลากร 91.0364 ลา้ นบาท 2) แผนงานพื้นฐานด้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน 46.9152 ล้านบาท 3) แผนงานบรู ณาการพัฒนาดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ติกส์ 180.8353 ลา้ นบาท 4) แผนงานบรู ณาการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก 13.7250 ลา้ นบาท งบประมาณจาแนกตามกลุ่มงบประมาณรายจ่าย 4.13% 27.38% งบประมาณรายจ่ายบุคลากร 54.38% แผนงานพ้ืนฐานดา้ นการสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั แผนงานบูรณาการพฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ แผนงานบูรณาการเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก 14.11% สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 31 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 4. ผลการเบกิ จ่ายงบประมาณ หมายเหตุ : เปน็ ขอ้ มลู งบประมาณหลังโอน/เปลีย่ นแปลง ณ สิน้ เดอื นกนั ยายนของทุกปี (ไม่รวมเงินกนั ไว้เบกิ เหลือ่ มปี) ท่ีมา : ผลการเบกิ จ่ายเงินงบประมาณตามลักษณะเศรษฐกิจและสว่ นราชการ กรมบัญชกี ลาง และงบประมาณปี พ.ศ. 2563 จากเอกสาร งบประมาณ 5. ผลประโยชน์ทีไ่ ดร้ บั จากการจดั สรรงบประมาณของสานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร สานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจรได้รับการจัดสรรงบประมาณในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จานวน 332.5119 ลา้ นบาท เมื่อวิเคราะห์ โครงการ/กิจกรรมท่ีหน่วยงานดาเนินการ พบวา่ งบประมาณ ส่วนใหญ่เป็นการจ้างท่ีปรึกษาดาเนินการศึกษาในประเดน็ ที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาระบบคมนาคมขนส่ง ซง่ึ จะ สง่ ผลประโยชนต์ อ่ ประเทศใน 3 ประเดน็ ไดแ้ ก่ มแี ผนดา้ นคมนาคมขนส่งเพ่ิมเตมิ 7 แผน ได้แก่ 1) แผนเรง่ ด่วนในการบรหิ ารจัดการจราจรเป็นพืน้ ที่ยา่ นธรุ กิจหลกั เพ่ือเพิ่มศักยภาพการแขง่ ขันของ ประเทศ 2) แผนแม่บทด้านการจัดการสิง่ แวดลอ้ มในระบบคมนาคมเพอื่ การพัฒนาที่ย่ังยืน 3) แผนพฒั นาระบบคมนาคมขนส่งของไทย พ.ศ. 2564-2580 4) แผนโลจสิ ตกิ ส์เพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธิภาพการขนสง่ สนิ ค้าเชอ่ื มโยงฐานการผลติ ในพืน้ ที่เขตพัฒนาพเิ ศษ ภาคตะวนั ออก (EEC) กับประตูการค้าในพนื้ ที่ภาคใต้ 5) แผนพัฒนาการเดินทางทางน้าในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและการเชอ่ื มต่อการเดินทาง รปู แบบอืน่ สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 32 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 6) แผนการกากบั การบริหารจดั การระบบตั๋วรว่ ม 7) แผนแม่บทพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะกลุ่มจังหวัด ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง เพ่ือรองรับการ พฒั นาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มีมาตรการ มาตรฐาน ด้านคมนาคมขนส่ง เพิ่มขึ้น 2 เรอ่ื ง ได้แก่ 1) การพัฒนาเมอื งกบั ระบบโครงสร้างพ้ืนฐานด้านคมนาคมขนส่ง 2) การพฒั นามาตรฐานแบ่งลาดบั ชนั้ ถนนของโครงข่าย (Road Hierarchy) เพอ่ื ความปลอดภัยในการ คมนาคมขนสง่ ทางถนนอย่างยง่ั ยนื มกี ารพัฒนาฐานข้อมูลสารสนเทศ 1 ฐานข้อมลู พัฒนานวัตกรรมระบบวิเคราะห์ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data Analytics) เพ่ือการขนส่งสินค้าด้วย รถบรรทกุ และการเดินทางของคนในเขตกรงุ เทพมหานครและปริมณฑล โดยมีรายละเอียดลักษณะการใช้งบประมาณ ดงั นี้ ผลผลติ /โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ลกั ษณะการดาเนนิ การ (บาท) แผนงานพน้ื ฐานดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั 46,915,200 บาท นโยบายและแผนการขนสง่ และจราจร 46,915,200 1. ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ ค่าสาธารณูปโภค ครุภณั ฑส์ านักงาน 2. จา้ งศึกษาจัดทาแผนเร่งด่วนในการบรหิ ารจดั การ จราจรเป็นพื้นที่ยา่ นธรุ กจิ หลักเพอื่ เพมิ่ ศักยภาพการ แข่งขนั ของประเทศ 3. จ้างศึกษาจัดทา แผนแม่บทด้านการจัดการ สิ่งแวดล้อมในระบบคมนาคมเพ่ือการพัฒนาทยี่ ่ังยืน แผนงานบูรณาการพฒั นาด้านคมนาคมและระบบโลจสิ ตกิ ส์ 180,835,3000 บาท โครงการโครงข่ายคมนาคมขนส่งมีความ 180,835,3000 1. จ้างศึกษาพัฒนาเมอื งกับระบบโครงสร้างพ้ืนฐาน สะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ด้านคมนาคมขนสง่ สามารถเชื่อมโยงท่ัวถึงทั้งภายในประเทศ 2. จ้างศึกษาการพัฒนาโครงข่ายคมนาคมเช่ือมโยง และตา่ งประเทศ รูปแบบการเดินทางเพื่อเข้าถึงสถานีรถไฟฟ้าและ สนามบนิ ในเขตกทม.และปรมิ ณฑล 3. ค่าจา้ งศกึ ษาการพฒั นานวตั กรรมระบบวเิ คราะห์ ฐานขอ้ มูลขนาดใหญ(่ Big Data Analytics) เพอื่ การ ขนส่งสินค้าด้วย รถบรรทุกและการเดินทางของคน ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ระยะท่ี 1 4. จ้างศึกษาจัดทาแผนพัฒนาระบบคมนาคมขนส่ง ของไทยพ.ศ. 2564 - 2580 5. จ้างศึกษาการจัดทาแผนโลจิสติกส์เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการขนส่งสินค้าเชื่อมโยงฐานการผลิต ในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) กับ ประตกู ารคา้ ในพ้นื ที่ภาคใต้ สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 33 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม ผลผลติ /โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ลักษณะการดาเนินการ (บาท) 6. จ้างศกึ ษาการพฒั นามาตรฐานแบง่ ลาดับช้ันถนน ข อ ง โ ค ร ง ข่ า ย ( Road Hierarchy) เ พ่ื อ ค ว า ม ปลอดภยั ในการคมนาคมขนส่งทางถนนอย่างยั่งยนื 7. จา้ งศึกษาจดั ทาแผนพัฒนาการเดินทางทางนา้ ใน เ ข ต ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร แ ล ะ ป ริ ม ณ ฑ ล แ ล ะ ก า ร เชื่อมตอ่ การเดนิ ทางรูปแบบอื่น 8. จ้างศึกษาจัดทาแผนการกากับการบริหารจัดการ ระบบตวั๋ ร่วม แผนงานบรู ณาการเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก 13,725,000 บาท โ ค ร ง ก า ร ศึ ก ษ า ก า ร จั ด ท า แ ผ น แ ม่ บ ท 13,725,000 จ้างศึกษาจัดทาแผนแม่บทพัฒนาระบบขนส่ง พัฒนาระบบขนส่งสาธารณะกลุ่มจังหวัด สาธารณะกลุ่มจังหวัด ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยองเพื่อรองรับการ เ พ่ื อ ร อ ง รั บ ก า ร พั ฒ น า เ ข ต พั ฒ น า พิ เ ศ ษ ภ า ค พฒั นาเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก ตะวนั ออก 6. ข้อสังเกตและขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เติมของสานกั งบประมาณของรฐั สภา ทผี่ ่านมาสานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจรเป็นหน่วยงานที่กาหนดทิศทางการคมนาคม ขนส่งและโลจิสติกส์ของประเทศ ซึ่งผลการศึกษาต่าง ๆ ที่สานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร ทาการศึกษาสามารถผลักดันโครงการที่ส่งผลประโยชน์ต่อการอานวยความสะดวกขั้นพื้นฐานให้กับประชาชน และเป็นปัจจัยสาคัญของการเจริญเติบโต ความสามารถในการแข่งขัน รวมไปถึงระบบเศรษฐกิจของประเทศ เปน็ อยา่ งมาก 1. สานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจรควรศึกษาทบทวนแผนท่ีเก่ียวข้องกับระบบ คมนาคมขนส่งท่ีมีอยู่จานวนมาก เนื่องจากพบว่าบางโครงการนั้นทับซ้อนกัน เพื่อให้เกิดเกิดโครงข่ายระบบ คมนาคมขนส่งท่ีสมบูรณ์ และเพ่ือให้การใช้เงินงบประมาณการลงทุนของภาครัฐเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเกดิ ประโยชน์สูงสุด 2. วางแผนให้การคมนาคมแต่ละรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็น ทางถนน ทางราง ทางอากาศ และทางน้า ให้ เช่ือมโยงกันทั้ง 3 มิติ เพื่อลดเวลา ลดคา่ ใช้จ่าย ตลอดจนลดความไมส่ ะดวกในการเปล่ียนรูปแบบการเดินทาง และขนสง่ สนิ คา้ 1) การเช่ือมโยงทางกายภาพ (Physical Connectivity) โดยมีการวางแผนและออกแบบจุด เปลีย่ นรูปแบบการขนส่ง โดยคานึงถึงความสะดวกและปลอดภัยในการเปล่ียนถ่ายระหว่างยานพาหนะรูปแบบ เดียวกัน หรอื ระหวา่ งเดยี วกันใหม้ ากท่สี ุด พิจารณาถงึ ระยะทางและระยะเวลาในเดินทางระหวา่ งรูปแบบ 2) การเชื่อมโยงตารางเวลาเดินทาง (Schedule Connectivity) โดยการออกแบบจัดตาราง การเดินทางของการคมนาขนส่ง ในสถานีขนส่งหรือจุดเปล่ียนรูปแบบการขนส่ง ให้เวลาเข้ามาของระบบหนึ่ง และการออกไปของอีกระบบหน่ึง มีการประสานตารางกันอย่างสมบูรณ์ ให้ใช้เวลารอคอยเพื่อเดินทางระหว่าง ระบบตา่ ที่สดุ โดยเฉพาะในคู่ระบบทีม่ ผี ้เู ดนิ ทางจานวนมากและเชื่อมต่อกันโดยตรง 3) การเชื่อมโยงค่าโดยสาร (Fare Connectivity) วางแผนทาสัญญาร่วมกันระหว่าง ผู้ประกอบการขนส่งผู้โดยสาร ให้เช่ือมโยงระบบการจัดเก็บค่าโดยสาร โดยผู้โดยสารไม่ต้องมีการจ่ายค่าเข้า ระบบอีก หากมีการตอ่ เชือ่ มมาจากอกี ระบบหน่งึ สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 34 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 3. สานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจรควรร่วมบูรณาการกับหน่วยงานในกระทรวง คมนาคมในการจัดลาดบั ความสาคญั ของโครงการของกระทรวงคมนาคม เพอ่ื ดาเนนิ โครงการตามลาดับ กอ่ น - หลัง ให้ตรงกับความจาเป็น และสภาพปัญหาในแต่ละพ้ืนที่ของประเทศ รวมไปถึงร่วมติดตามและประเมินผล การปฏบิ ัติงานของหน่วยงานในสงั กัดกระทรวงให้บรรลุเปา้ หมายและเกิดผลสัมฤทธ์ิ สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 35 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม ภารกิจดา้ นการคมนาคมขนสง่ ทางถนน สถานการณ์และประเดน็ ท่เี กี่ยวข้องกบั การคมนาคมทางถนน “ประเทศไทยมีโครงข่ายถนนท่ีครอบคลุม แต่มีปัญหารถติดและอุบัติเหตุที่รุนแรง” ประเทศไทยมีโครงข่ายการคมนาคมขนส่งทางถนนที่ครอบคลุมในเชิงพื้นท่ีท่ัวประเทศ สามารถ เชื่อมโยงการคมนาคมขนส่งระหว่างกลุ่มเมืองต่าง ๆ ได้ จนถือได้ว่าไม่มีโครงข่ายที่ขาดหายไป (Missing Link) โดยในอนาคตอีก 10 ปีขา้ งหนา้ ยงั ไม่มคี วามจาเปน็ ต้องมีการพัฒนาโครงข่ายการเชื่อมโยงหลักและรองเพ่มิ เติม แต่ในทางกลบั กันยังคงประสบปญั หาการจราจรตดิ ขัดและอุบตั ิเหตุทางถนนทีร่ ุนแรงมาอยา่ งยาวนานและยังคง มีแนวโน้มท่ีจะทวีความรุนแรงขึ้นในอนาคต เน่ืองจากโครงข่ายระบบขนส่งสาธารณะในเขตเมือง และระหว่าง เมืองยังไม่ครอบคลุมท่ัวถึงและยังไม่เชื่อมต่อกันอย่างเป็นระบบ ไม่สามารถตอบสนองความต้องการการใช้ ระบบขนส่งสาธารณะของประชาชนได้เพียงพอ ทาให้การขนส่งสินค้าและขนส่งคนยังคงใช้การคมนาคมขนส่ง ทางถนนเป็นหลัก ซ่ึงมีปริมาณมากเกินกว่าที่ความจุถนนที่มีอยู่จะรองรับได้ ที่ผ่านมาการจัดสรรงบประมาณ พัฒนาการขนส่งทางถนน มุ่งเน้นที่การพัฒนาทางกายภาพ (การพัฒนาเส้นทาง ขยายช่องทางจราจรและ โครงข่ายถนน) มากกว่าการบริหารจัดการและการพัฒนาทางสังคม (การให้ความรู้ สร้างวินัยจราจร การ ควบคุมการพัฒนาเมือง และการกากับทางกฎหมาย) ทาให้ต้องใช้งบประมาณค่อนข่างสูงและยังไม่สามารถ แกป้ ญั หาได้ไมเ่ ต็มประสทิ ธภิ าพเท่าทีค่ วร “แนวโน้มการขนส่งสนิ ค้าทางถนนเพิ่มขึน้ ปรมิ าณการใชร้ ถโดยสารสาธารณะลดลง” กระทรวงคมนาคมได้มีการเกบ็ สถิติการขนส่งสนิ ค้าและผโู้ ดยสารโดยพบวา่ ในปี พ.ศ. 2559 มปี รมิ าณ การขนส่งสินค้าทางถนนจานวน 484,884 ล้านตัน-กิโลเมตร คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 81 ของปริมาณ การขนส่งสินค้ารวม และจัดเป็นรูปแบบท่ีมีปริมาณการขนส่งมากที่สุด จึงถือว่าการขนส่งทางถนนนั้นมี ความสาคัญต่อเศรษฐกิจไทยเป็นอย่างมาก ทั้งนี้เป็นเพราะโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมทางถนนเป็น รปู แบบที่มกี ารพัฒนาให้ครอบคลุมทกุ พื้นทมี่ ากทสี่ ดุ ขณะที่การพัฒนาการขนส่งทางรางและนา้ ภายในประเทศ ยงั อยู่ในระดับที่ต่ากว่า สาหรับการขนส่งผู้โดยสารน้ันมีการเก็บข้อมูลเฉพาะผู้โดยสารในระบบโดยสาร ขสมก. และบขส. เท่านั้น ซ่ึงเหน็ ได้ชัดว่ากรณีของรถ บขส. มีแนวโน้มลดลงเรื่อย ๆ เพราะการแข่งขันจากสายการบิน ต้นทุนต่าและการที่ประชาชนมีรถยนต์ส่วนตวั มากข้นึ ตารางที่แสดงสถิติขนส่งทางถนนในประเทศไทย ปี 2555 2556 2557 2558 2559 การขนส่งสินค้า (ล้านตัน-กม.) 458,781 458,828 465,020 382,358 484,884 รถโดยสาร ขสมก. (พันคน) 355,134 341,540 315,362 324,747 317,278 รถโดยสาร บขส. (พันคน) 10,112 9,599 8,620 7,781 7,286 ท่มี า : สถาบนั การขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 36 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม สภาพการจราจรติดขัดในประเทศไทยเป็นปัญหาท่ีเรื้อรังมาอย่างยาวนาน เน่ืองจากจานวนประชากร ในเมืองใหญ่ได้เพิ่มจานวนข้ึนอย่างรวดเร็ว ประกอบกับประชาชนส่วนใหญ่ยังใช้รถยนต์ส่วนบุคคล โดยมี แนวโน้มการจดทะเบียนรถใหม่เพ่ิมข้ึนทุกปี ขณะที่การเพิ่มพื้นที่โครงข่ายถนนไม่ได้ทันต่อการเพ่ิมข้ึนของ ปริมาณรถยนต์ อีกทั้งโครงข่ายระบบขนส่งสาธารณะในเขตเมอื งและระหว่างเมอื งยังไม่ครอบคลมุ ท่ัวถึงและยัง ไม่เช่ือมต่อกันอย่างเป็นระบบ ทาให้ไม่สามารถตอบสนองความต้องการในการใช้ระบบขนส่งสาธารณะของ ประชาชน จะเห็นได้จากสัดส่วนการใช้ระบบขนส่งสาธารณะของประชาชนในปี พ.ศ. 2558 มีปริมาณร้อยละ 32.82 เทา่ น้ัน จากขอ้ มูลของกรมทางหลวง พบวา่ ในปี พ.ศ. 2560 มีบริเวณเสน้ ทางถนนทม่ี ีค่าดัชนีการจราจรติดขัด สูงกว่า 0.80 จานวน 33 แห่ง โดยอยู่ในพื้นท่ีภาคกลางได้แก่ ปทุมธานี นนทบุรี สมุทรปราการ พระนครศรีอยุธยา นครปฐม เส้นทางสู่ภาคตะวันออก ได้แก่ ปราจีนบุรี ชลบุรี ระยอง เส้นทางสู่ภาคใต้ ได้แก่ สมุทรสงคราม สมทุ รสาคร ภูเก็ต ตรัง สตูล รวมไปถงึ ภาคเหนือและภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ได้แก่ เชียงใหม่ ขอนแก่น ตามลาดบั ตารางท่ี 2 ค่าดชั นีการจราจรติดขดั บนทางหลวงทว่ั ประเทศ พ.ศ. 2560 ระดบั คา่ ดชั นี จานวนช่องจราจรในปจั จบุ นั การ การ 2 ชอ่ งจราจร 4 ชอ่ งจราจร มากกว่า4 ช่องจราจร รวม บริการ จราจร จานวน ระยะทาง จานวน ระยะทาง จานวน ระยะทาง จานวน ระยะทาง ตดิ ขดั (แหง่ ) (กม.) (แหง่ ) (กม.) (แหง่ ) (กม.) (แหง่ ) (กม.) A 0.00-0.60 1,742 35,287.648 412 8,638.647 160 3,068.305 2,314 46,994.600 B 0.61-0.70 16 318.663 - - 7 89.760 23 408.423 C 0.71-0.80 12 193.124 5 80.885 5 77.857 22 351.866 D 0.81-0.90 8 136.551 2 15.145 2 17.337 12 169.003 E 0.91-1.00 1 29.449 - - 1 26.267 2 55.716 F มากกว่า 1 15 194.157 3 34.192 1 24.110 19 252.459 รวมระยะทางท้งั หมด 1,794 36,159.592 422 8,768.869 176 3,303.636 2,392 48,232.097 (กม.) ทมี่ า : รายงานปรมิ าณการเดนิ ทางบนทางหลวง 2560 ในปี พ.ศ. 2561 บริเวณเส้นทางถนนท่ีมีค่าดัชนีการจราจรติดขัดสูงกว่า 0.80 เพิ่มขึ้นเป็น 316 แห่ง ประกอบด้วย ภาคกลาง กรงุ เทพมหานคร นครปฐม พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี สมุทรสาคร สระบุรี ราชบุรี นนทบุรี สมุทรสงคราม กาญจนบุรี อ่างทอง ลพบุรี นครนายก เพชรบุรี สมุทรปราการ กาแพงเพชร ภาคตะวันออก ฉะเชิงเทรา ชลบุรี สระแก้ว ปราจนี บุรี ระยอง จันทบุรี ภาคใต้ ตรัง ประจวบคีรีขันธ์ สรุ าษฎร์ ธานี พัทลุง สงขลา ภูเก็ต ตรัง นครศรีธรรมราช ยะลา พังงา สตูล ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขอนแก่น นครพนม กาฬสินธ์ุ นครราชสีมา หนองบัวลาภู อุบลราชธานี มหาสารคาม ศรีษะเกษ ชัยภูมิ มุกดาหาร ร้อยเอ็ด อุดรธานี สุรินทร์ บุรีรัมย์ บึงกาฬ ภาคเหนือ เชียงใหม่ ลาปาง ลาพูน สุโขทัย เชียงราย อุตรดิตถ์ เพชรบรู ณ์ สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 37 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม ตารางแสดงค่าดัชนกี ารจราจรติดขัดบนทางหลวงทัว่ ประเทศ พ.ศ. 2561 ระดับ ค่าดชั นี จานวนช่องจราจรในปจั จบุ ัน การ การ 2 ชอ่ งจราจร 4 ช่องจราจร มากกว่า4 ช่องจราจร รวม บริการ จราจร จานวน ระยะทาง จานวน ระยะทาง จานวน ระยะทาง จานวน ระยะทาง ติดขดั (แห่ง) (กม.) (แห่ง) (กม.) (แห่ง) (กม.) (แหง่ ) (กม.) A 0.00-0.60 1,032 23,531.682 451 10,885.141 127 2,488.568 1,610 36,905.391 B 0.61-0.70 57 1,466.531 20 418.814 11 237.302 88 2,122.647 C 0.71-0.80 53 1,463.974 13 253.050 6 75.808 72 1,792.832 D 0.81-0.90 43 951.694 13 326.524 7 85.497 63 1,363.715 E 0.91-1.00 31 796.570 7 191.119 6 95.035 44 1,082.724 F มากกวา่ 1 147 3,114.160 31 470.892 31 492.424 209 4,077.476 รวมระยะทางท้งั หมด 1,363 31,324 535 12,545.540 188 3,474.634 2,086 47,344.785 (กม.) ที่มา : รายงานปริมาณการเดนิ ทางบนทางหลวง 2561 จากข้อมูลค่าดัชนีการจราจรติดขัดบนทางหลวงทั่วประเทศในข้างต้นเห็นได้ว่าในระยะเวลา 1 ปี ประเทศไทยมีปัญหาการจราจรติดขัดเพ่ิมข้ึนอย่างรวดเร็วไม่ว่าจะเป็นจานวนบริเวณและระยะทางของทาง หลวงท่ีประสบปัญหา เป็นสาเหตุจากการขยายตัวของเขตเมือง ย่านชุมชน และแหล่งท่องเที่ยว เป็นปัจจัย สาคัญที่มีต่อความสัมพันธ์ค่าดัชนีการติดขัดและค่าความหนาแน่นการจราจร โดยเฉพาะจังหวัดต่าง ๆ ในเขต ปริมณฑลและแหล่งทอ่ งเทีย่ ว “ในอนาคตถ้าไมม่ กี ารลงทนุ ในโครงสรา้ งพ้นื ฐานในระบบอนื่ ปัญหารถตดิ จะทวีความรนุ แรง” อีกทั้งในอนาคตกระทรวงคมนาคมได้มีการประมาณการว่าในปี พ.ศ. 2570 และพ.ศ. 2575 นั้น การเดินทางของคนทางถนนมแี นวโน้มหนาแนน่ มากขน้ึ จนถึงระดับมากกว่า 2 แสนคน-เทยี่ ว/วัน เป็นสาเหตใุ ห้ เกิดปัญหาการจราจรติดขัดของทางหลวงสายหลัก โดยเฉพาะบริเวณโดยรอบกรุงเทพมหานครและปริมณฑล พื้นท่ีเขตอุตสาหกรรมท่ีเช่ือมต่อกับถนนวงแหวนอุตสาหกรรม เส้นทางสายหลักท่ีเชื่อมไปยังประตูการค้าท่ี สาคัญ อาทิ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าเรือกรุงเทพ ท่าเรือแหลมฉบัง ฯลฯ รวมถึง เส้นทางสายหลักท่ีมุ่งหน้าไปยังเมืองหลักภูมิภาคต่าง ๆ ที่มีความหนาแน่นของประมาณจราจรเกินกว่าร้อยละ 90 ในชว่ งชัว่ โมงเร่งด่วนและชว่ งเทศกาลทมี่ วี นั หยดุ ยาวต่อเน่อื ง สาหรับปริมาณการเดินทางภายในพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมทั้งจังหวัด พระนครศรีอยุธยาและจังหวัดฉะเชิงเทรา มีประมาณ 24 ล้านคน-เท่ียวต่อวันในปี พ.ศ. 2556 โดยจะเพิ่มขึ้น เป็น 42 ล้านคน-เท่ียวต่อวันในปี พ.ศ. 2575 คิดเป็นสัดส่วนการเดินทางโดยรถไฟฟ้าประมาณ ร้อยละ 5 ของการเดินทางทั้งหมด หากพิจารณาสภาพการจราจรเปรียบเทียบค่าความจุของถนน ( V/C) จะพบว่า การจราจรจะแออัดเพ่ิมขึ้นในปีอนาคต โดยขยายเป็นวงกว้างจากพ้ืนท่ีใจกลางกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมท้ังจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและจังหวัดฉะเชิงเทราไปในแนวทิศตะวันออกและตะวันตกของแม่น้า เจ้าพระยาตอนใต้เป็นส่วนใหญ่ ส่วนพ้ืนท่ีฝั่งตะวันออกและตะวันตกของแม่น้าเจ้าพระยาตอนเหนือ สภาพจราจรยังอยู่ในระดับไม่หนาแน่นมากนัก (V/C น้อยกว่า 0.85) แต่ส่วนตอนใต้ลงไปจะมีสภาพการจราจร แออดั (V/C มากกว่ากวา่ 0.85) นอกจากน้ี อุบัติเหตุทางถนนก็นับเป็นปัญหาท่ีเกิดข้ึนอย่างรุนแรงและต่อเนื่อง จะเห็นได้จากสถิติการ เกิดอุบัตเิ หตุทางถนนของประเทศไทย พ.ศ. 2560 มจี านวน 85,949 ครง้ั เพมิ่ ขึ้นจาก พ.ศ. 2559 รอ้ ยละ 1.65 ผูเ้ สียชีวิต 8,746 ราย เพ่ิมข้ึนจาก พ.ศ. 2559 ร้อยละ 4.01 ผู้บาดเจ็บ 3,785 คน ลดลงจาก พ.ศ. 2559 ร้อย สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 38 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม ละ 62.78 โดยลักษณะบริเวณท่ีเกดิ อุบตั ิเหตสุ ว่ นใหญ่เปน็ ทางตรงร้อยละ 74.13 โดยสาเหตุในการเกดิ อบุ ัตเิ หตุ มากทสี่ ุด คือ ขับรถเร็วเกินกาหนดคดิ เปน็ ร้อยละ 64.43 คนหรือรถตัดหน้ากระชน้ั ชดิ ร้อยละ 12.09 และมีการ หลับในร้อยละ 7.88 ซึ่งเม่ือพิจารณาสาเหตุการเกิดอุบัติเหตุส่วนใหญ่เกิดข้ึนจากการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย และวินยั การจราจรมากกวา่ องคป์ ระกอบต่าง ๆ ของถนน ภาพแสดงผลการประมาณการปรมิ าณจราจรต่อความจุ (v/c) ในปี พ.ศ. 2575 ที่มา : โครงการศึกษาพฒั นาเพ่อื เพมิ่ ประสิทธภิ าพระบบการขนสง่ สนิ ค้าต่อเนื่องหลายรูปแบบ เชือ่ มโยงกับเขตพน้ื ทีฐ่ านการผลิตหลกั ของประเทศ สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 39 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 3. กรมการขนส่งทางบก 1. วสิ ยั ทศั น์ เป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมในการควบคุม กากับ ดูแล ระบบการขนส่งทางถนนให้มีคุณภาพและ ปลอดภัย 2. พันธกจิ 1. พัฒนาระบบควบคุม กากับ ดูแลระบบการขนสง่ ทางถนนให้ไดม้ าตรฐานและมีความปลอดภยั รวมถึงเชื่อมโยงกับการขนส่งรปู แบบอืน่ 2. พฒั นานวตั กรรมการควบคุม กากับ ดูแลระบบการขนสง่ ทางถนนและบังคับใชก้ ฎหมาย 3. พฒั นาและส่งเสริมการให้บรกิ ารระบบการขนส่งทางถนนให้มคี ุณภาพและมีสานกึ รับผิดชอบ 4. บรหิ ารจดั การองค์กรตามหลกั ธรรมาภบิ าล 3. ภาพรวมงบประมาณ กรมการขนส่งทางบกเป็นหน่วยงานสาคัญที่จะพัฒนาระบบควบคุม นวัตกรรม กากับ ดูแล ระบบการ ขนส่งทางถนนให้ได้มาตรฐาน และมีความปลอดภัย การบังคับใช้กฎหมาย รวมไปถึงพัฒนาและส่งเสริมการ ใหบ้ ริการระบบการขนสง่ ทางถนน ใหม้ ีคณุ ภาพ และมสี านกึ รับผิดชอบ งบประมาณกรมการขนส่งทางบก (ลา้ นบาท) 4,500 4,117.2190 4,000 3757.3556 3805.4546 3999.4412 3,500 3,675.0802 3,000 2879.3587 2,500 2,000 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2557 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 กรมการขนส่งทางบกได้รับการจดั สรรงบประมาณจานวน 3,675.0802 ลา้ นบาท ลดลงจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 442.1388 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 10.74 ภายใต้ 5 แผนงาน สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 40 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม เมื่อจ าแน กตา มแผ น งาน ส านั กงา น น โ ย บาย แล ะ แผ น การ ข น ส่ ง แล ะ จ ร า จ ร ได้ รั บก าร จั ดส ร ร งบประมาณภายใต้ แผนงานเรียงลาดับงบประมาณจากมากไปน้อย ดงั นี้ 1) งบประมาณรายจา่ ยบคุ ลากร จานวน 1,933.3641 ลา้ นบาท 2) แผนงานพืน้ ฐานด้านการสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน จานวน 974.6559 ล้านบาท 3) แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาบริการประชาชนและการพัฒนาประสิทธิภาพภาครัฐ จานวน 466.4521 ล้านบาท 4) แผนงานบรู ณาการพัฒนาพ้ืนที่เขตเศรษฐกจิ พิเศษ จานวน 159.1930 ล้านบาท 5) และแผนงานบูรณาการพฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ตกิ ส์ จานวน 141.4151 ล้านบาท งบประมาณจาแนกตามกลุ่มงบประมาณรายจ่าย 4.33% 3.85% 12.69% งบประมาณรายจ่ายบุคลากร แผนงานพ้นื ฐานดา้ นการสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั 52.61% แผนงานยทุ ธศาสตร์พฒั นาบริการประชาชนและการพฒั นา 26.52% ประสิทธิภาพภาครัฐ งบรายจ่ายอนื่ งบประมาณรายจา่ ยของกรมการขนส่ง 0.13% ทางบก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 เมื่อจาแนกตามงบรายจ่าย สามารถ งบลงทนุ กรมการ งบบุคลากร เรียงลาดับงบประมาณจากมากไปน้อย 25.36% ขนส่งทางบก 52.06% ดงั นี้ 1) งบบุคลากร 1,913.4117 ล้านบาท งบดาเนนิ งาน 2) งบลงทุน 931.8319 ล้านบาท 22.45% 3) งบดาเนินงาน 824.8897 ล้านบาท 4) งบรายจา่ ยอื่น 4.9469 ล้านบาท สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 41 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 4. ผลการเบกิ จ่ายงบประมาณ หมายเหตุ : เปน็ ขอ้ มูลงบประมาณหลังโอน/เปลย่ี นแปลง ณ สิ้นเดือนกันยายนของทุกปี (ไม่รวมเงนิ กนั ไวเ้ บิกเหลอ่ื มปี) ทมี่ า : ผลการเบกิ จา่ ยเงนิ งบประมาณตามลกั ษณะเศรษฐกจิ และสว่ นราชการ กรมบัญชกี ลาง และงบประมาณปี พ.ศ. 2563 จากเอกสาร งบประมาณ 5. ผลประโยชนท์ ี่ได้รับจากการจัดสรรงบประมาณของกรมการขนสง่ ทางบก กรมการขนส่งทางบกไดร้ บั การจัดสรรงบประมาณจานวน 3,675.0802 ลา้ นบาท เม่ือดาเนนิ การ โครงการ/กจิ กรรม แล้วเสรจ็ จะเกดิ ประโยชนต์ อ่ ระบบคมนาคมขนสง่ ของประเทศ 3 ประเดน็ 1. พัฒนามาตรฐานการให้บริการดา้ นการขนส่ง ด้วยการเพิม่ ประสิทธภิ าพระบบฐานขอ้ มลู กลาง การจัดทาระบบสารสนเทศ จัดหาวัสดุเพ่ือใช้ในการพิมพ์ใบอนุญาตขับรถแบบอิเล็กทรอนิกส์ การพัฒนาและ สนับสนุนการให้บริการประชาชนให้สะดวกรวดเร็วมากข้ึน สาหรับงบประมาณส่วนใหญ่ในประเด็นน้ีจะเป็น การกอ่ สรา้ งอาคารท่ีพักอาศัยขา้ ราชการ 5 แห่ง กอ่ สรา้ งอาคารที่ทาการสานกั งานขนส่งจงั หวัด จานวน 6 แห่ง ปรับปรุงอาคารที่ทาการและบ้านพักอาศัย รวมไปถึงก่อสร้างอื่น ๆ จานวนท้ังหมด 60 รายการ ซึ่งเป็น ผลประโยชน์ทางออ้ มในการสนับสนนุ พฒั นาการใหบ้ ริการประชาชน 2. พฒั นาการกากับการขนส่ง 1) พัฒนาความปลอดภัยและกากับดูแลการขนส่งทางถนนด้วยการอบรมให้ความรู้ผู้ขับรถ และผปู้ ระจารถ การพฒั นาความปลอดภยั ของตวั รถ และการควบคุมกากับดแู ลใหเ้ ป็นไปตามกฎหมาย 2) พัฒนาการกากับ ดูแล การให้บริการของผู้ประกอบการขนส่งสาธารณะ ด้วยการก่อสร้าง อาคารศูนย์บริหารจัดการเดินรถระบบ GPS 1 แห่ง และจัดทาระบบสารสนเทศและฐานข้อมูลเพ่ือการกากับ ดูแลและการประเมนิ ผลการประกอบการของเส้นทางรถโดยสารประจาทาง สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 42 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 3. พฒั นาสถานีขนสง่ 1) พัฒนาสถานีคนส่งสินค้า ด้วยการพัฒนาระบบงานการขนส่งสินค้าด้วยรถบรรทุก 1 ระบบ ก่อสร้างและควบคุมงานก่อสร้างศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของจังหวัดเชียงราย และ กอ่ สร้างและควบคุมงานก่อสร้างศนู ยก์ ารขนสง่ ชายแดน จงั หวัดนครพนม สาหรับเปน็ ศนู ยร์ วบรวมและกระจาย สินค้ารองรับกิจกรรมการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศไทยกับเวียดนามและภาคตะวันตกของสาธารณรัฐ ประชาชนจีนที่ทาการขนส่งผ่านถนนสาย R12 ผ่านสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวเข้ามาประเทศไทย โดยข้ามสะพานข้ามแมน่ า้ โขง แหง่ ท่ี 3 2) พัฒนาสถานีขนส่งคน ด้วยการก่อสร้างสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดนครนายก และ สารวจอสงั หารมิ ทรัพย์และจดั กรรมสิทธ์ิท่ีดนิ เพอื่ ดาเนินโครงการก่อสร้างสถานีขนสง่ สินคา้ เมืองหลัก (จังหวดั สุ ราษฎรธ์ านี ขอนแก่น อุบลราชธานี นครราชสมี า และปราจีนบรุ ี) โดยมีรายละเอยี ดลักษณะการใช้งบประมาณ ดังนี้ ผลผลติ /โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ลกั ษณะการดาเนินการ (บาท) แผนงานพน้ื ฐานด้านการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขันงบประมาณ 974,655,900.00 บาท องค์กรมีสมรรถนะสูง และมีการบริหาร 133,571,700 ประกอบด้วย ค่าบารุงรักษาคอมพิวเตอร์ค่าใช้จ่าย จัดการที่ดี ในการสัมมนาและฝึกอบรม และค่าบริการสื่อสาร และโทรคมนาคม การพฒั นาระบบการขนสง่ ทางถนน 128,611,300 ประกอบดว้ ยงบดาเนินงาน ค่าตอบแทนใชส้ อยวัสดุ ค่าเชา่ รถจานวน 299 คัน และคา่ สาธารณปู โภคต่าง ๆ การพัฒนาความปลอดภัยและกากับดูแล 129,488,100 ประกอบด้วยค่าตอบแทน ใช้สอยวัสดุในการอบรม การขนสง่ ทางถนน ให้ความรู้ผู้ขับรถและผู้ประจารถ การพัฒนาความ ปลอดภัยของตัวรถ และการควบคุมกากับดูแลให้ เปน็ ไปตามกฎหมาย การพฒั นาการใหบ้ รกิ ารประชาชน 582,984,800 ประกอบด้วยค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ และงบ ลงทุนในการก่อสร้างอาคารทีพ่ ักอาศัยข้าราชการ 5 แหง่ กอ่ สรา้ งอาคารที่ทาการสานักงานขนสง่ จงั หวัด จานวน 6 แห่ง ปรบั ปรุงอาคารที่ทาการและบ้านพกั อาศัย รวมไปถึงก่อสร้างอื่น ๆ จานวนท้ังหมด 60 รายการ เพื่อสนับสนุนภารกิจการดาเนินการด้าน ทะเบยี นและภาษีรถและด้านใบอนุญาตขับรถและผู้ ประจารถ แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาบรกิ ารประชาชนและการพัฒนาประสิทธภิ าพภาครฐั 466,452,100 บาท โครงการยกระดับคุณภาพและพัฒนา 466,452,100 ประกอบด้วยการจัดหาวัสดุเพ่ือใช้ในการพิมพ์ มาตรฐานการใหบ้ ริการดา้ นการขนสง่ ใบอนุญาตขับรถแบบอิเล็กทรอนิกส์ การจัดทา ร ะ บ บ ส า ร ส น เ ท ศ เ พื่ อ เ พ่ิ ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก า ร ให้บริการประชาชน การเพิ่มประสิทธิภาพระบบ ฐานข้อมูลกลางเพื่อสนับสนุนการให้บริการ และ การจัดหาครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 43 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม ผลผลติ /โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ลกั ษณะการดาเนนิ การ (บาท) แผนงานบูรณาการพัฒนาพน้ื ทเี่ ขตเศรษฐกิจพิเศษ 159,193,000 บาท โครงการศูนยเ์ ปลย่ี นถ่ายรูปแบบการขนส่ง 159,193,000 ดาเนนิ การจ้างกอ่ สรา้ งและควบคุมงานกอ่ สร้างศนู ย์ สินคา้ เชยี งของ จงั หวดั เชียงราย เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินคา้ เชยี งของจังหวัด เชียงราย ระยะท่ี 1 โครงการศูนย์การขนส่งชายแดน จังหวัด - ดาเนนิ การจา้ งกอ่ สร้างและควบคมุ งานก่อสร้างศูนย์ นครพนม การขนส่งชายแดน จังหวดั นครพนม แผนงานบรู ณาการพฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ 141,415,100 บาท โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า ม า ต ร ฐ า น ด้ า น ค ว า ม 60,288,100 ดาเนินการกอ่ สร้างอาคารศูนย์บริหารจัดการเดนิ รถ ปลอดภยั ทางถนน ระบบ GPS 1 แห่ง โ ค ร ง ก า ร เ พ่ิ ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก า ร ข น ส่ ง 4,946,900 ดาเนินการศึกษาเพ่ือจัดทาระบบสารสนเทศและ ผูโ้ ดยสารทางถนน ฐานข้อมูลเพื่อการกากับดูแลและการประเมินผล การประกอบการของเส้นทางรถโดยสารประจาทาง หมวด 1 และหมวด 4 ในสว่ นภมู ิภาค 1 รายการ โครงการเพิ่มขีดความสามารถในการ 23,090,500 ดาเนินการพัฒนาระบบงานการขนส่งสินค้าด้วย แข่งขันของผู้ประกอบการขนส่งไทยสู่การ รถบรรทุก 1 ระบบ ขนส่งสินค้าทางถนนท่ีมีประสิทธิภาพ ปลอดภยั ไดม้ าตรฐาน โ ค ร ง ก า ร ส ถ า นี ข น ส่ ง สิ น ค้ า เ พื่ อ เ พิ่ ม 9,319,600 จ้างสารวจอสังหาริมทรัพย์และจัดกรรมสิทธ์ิท่ีดิน ประสิทธิภาพการขนส่งสินค้าทางถนน เพื่อดาเนินโครงการก่อสร้างสถานขี นส่งสินค้าเมือง (สถานีขนส่งสินค้าเมืองหลัก) หลัก (จังหวัดสุราษฎร์ธานี ขอนแก่น อุบลราชธานี นครราชสมี า และปราจนี บุร)ี โครงการพัฒนาสถานีขนส่งผู้โดยสารเพ่ือ 43,770,000 ดาเนินการก่อสร้างสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัด เพิ่มประสทิ ธภิ าพการขนสง่ ผู้โดยสาร นครนายก 6. ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะเพิ่มเตมิ ของสานกั งบประมาณของรฐั สภา กรมการขนส่งทางบก 2 ประการคือ 1) การควบคุม กากับ ดูแลระบบขนส่งทางถนน และ2) การ ให้บริการระบบขนส่งทางถนน ซึ่งนับเป็นบทบาทที่สาคญั ต่อการแกไ้ ขปัญหาการจราจรทางถนนทง้ั ในส่วนของ ปัญหาการจราจรติดขัดและปัญหาอุบัติเหตุทางถนนที่เกิดขึ้นมาอย่างยาวนานได้อย่างมีประสิทธิภาพและ ประหยัดงบประมาณ โดยภารกิจการให้บริการระบบขนส่งทางถนนน้ัน กรมการขนส่งทางบกดาเนินการได้ อย่างมีประสิทธิภาพดีอยู่แล้ว อีกท้ังงบประมาณส่วนใหญ่ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ของกรมการขนส่ง ทางบกก็มุ่งเน้นเพื่อการให้บริการเพื่อระบบขนส่งที่มีคุณภาพ แต่การจัดสรรงบประมาณเพ่ือดาเนินโครงการ/ กจิ กรรม ในส่วนของการกากับดูแลระบบขนส่งและผู้ใหบ้ ริการขนส่งทางถนนยังมีค่อนข้างน้อย กรมขนส่งทาง บกจึงควรเพิ่มการมุ่งเน้นในการกากับดูแลระบบขนส่ง ซ่ึงจะส่งผลให้การดาเนินภารกิจของหน่วยงานมีความ ครบถ้วนและมปี ระสิทธิภาพย่ิงขึ้น ดังน้ี 1. บูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการยกระดับการกากับดูแลผู้ใช้ถนนให้ปฏิบัติตามกฎ จราจรอย่างเคร่งครัด เนื่องจากสาเหตุของปัญหาการจราจรติดขัดและอุบัติเหตุทางถนนส่วนหนึ่งเกิดจากการ ขาดวินยั ของผใู้ ช้ถนน สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 44 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 2. ควบคมุ กากับดูแลผูใ้ หบ้ รกิ ารรถขนส่งสาธารณะใหม้ ีคณุ ภาพและมมี าตรฐานความปลอดภัยให้มาก ข้ึน ซ่ึงจะเป็นส่วนสาคัญที่จะช่วยจูงใจให้ประชาชนมาใช้บริการรถสาธารณะ และลดปริมาณการใช้รถส่วน บุคคล สามารถบรรเทาปญั หาการจราจรได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 3. พิจารณาวางแผนก่อสร้างสถานีขนส่งแห่งใหม่ในตาแหน่งให้มีความเชื่อมโยงทางกายภาพ (Physical Connectivity) และเช่ือมโยงตารางเวลาเดินทาง (Schedule Connectivity) กับระบบการ คมนาคมขนสง่ รปู แบบอ่ืนท่ีกาลงั จะเกิดขน้ึ ในอนาคต 4. กรมการขนส่งทางบกควรเข้มงวดในการกากับดูแล ท้ังการกาหนดโครงข่ายเส้นทางใหม่ จัดสรร เส้นทางการเดินรถตามโครงข่ายใหม่ กาหนดเง่ือนไขขอรับใบอนุญาต การคัดเลือกผู้ประกอบการท่ีมีคุณภาพ เกณฑ์คนขับรถโดยสารสาธารณะ และการออกใบอนญุ าตประกอบการขนสง่ ใหม่ สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 45 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 4. กรมทางหลวง 1. วสิ ัยทัศน์ ระบบทางหลวงทสี่ ะดวก ปลอดภัย และเชือ่ มโยงการพัฒนาโครงสรา้ งพ้ืนฐานของประเทศ 2. พนั ธกจิ 1. พัฒนาระบบทางหลวง (Highway System) ให้เกิดความเชื่อมต่อ (Connectivity) การเข้าถึง (Accessibility) และความคล่องตัว (Mobility) ท่ีสมบูรณ์ เพ่ือการขับเคลื่อนประเทศ ท้ังในด้านเศรษฐกิจและ สังคม 2. ควบคุมดูแลระดับการให้บริการ (Serviceability) และความปลอดภัย (Safety) บนทางหลวงให้ได้ ตามมาตรฐานเพื่อคุณภาพการให้บริการทีด่ ี 3. พัฒนาระบบบรหิ ารองค์กร (Organization Management) ตามหลกั ธรรมาภบิ าล 3. ภาพรวมงบประมาณ กรมทางหลวงเป็นหน่วยงานที่สาคัญในด้านคมนาคมขนส่งของประเทศ เนื่องจากมีภารกิจในการ พฒั นาระบบทางหลวงให้เกิดความเช่ือมต่อ การเข้าถึงและความคล่องตัวท่ีสมบูรณ์ เพราะว่าการคมนาคมทาง ถนนเปน็ ระบบหลกั ทจี่ ะขบั เคล่อื นการคมนาคมและเศรษฐกจิ และสงั คมมาตลอดตัง้ แตอ่ ดีตจนถึงปจั จบุ นั งบประมาณกรมทางหลวง (ลา้ นบาท) 130,000 117,138.8497 120,000 107,881.8587 110,000 115,888.4316 100,000 90,000 77,509.9751 94,951.8257 80,000 70,000 60,000 60,334.2338 50,000 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2557 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กรมทางหลวงได้รับการจัดสรรงบประมาณจานวน 115,888.2059 ล้านบาท ลดลงจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 1,250.4181 ล้านบาท หรือลดลงรอ้ ยละ 1.07 โดยมีเงิน นอกงบประมาณ (เงนิ กู้ตา่ งประเทศจานวน 1,075.6400 ล้านบาท) รวมใช้เงินทัง้ หมด 116,964.0716 ลา้ นบาท สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 46 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พิจารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม งบรายจ่ายอนื่ งบเงนิ อดุ หนุน งบบุคลากร งบประมาณรายจ่ายของ 0.48% 0.01% 4.33% กรมทางหลวง ประจาปีงบประมาณ งบดาเนินงาน พ.ศ. 2563 เม่ือจาแนกตามงบรายจ่าย 0.61% สามารถเรียงลาดับงบประมาณจาก มากไปนอ้ ย ดงั น้ี กรมทางหลวง 1) งบลงทนุ 109,595.3665 ล้านบาท 2) งบบุคลากร 5,016.2457 ลา้ นบาท งบลงทุน 3) งบดาเนนิ งาน 710.1715 ลา้ นบาท 94.57% 4) งบรายจ่ายอน่ื 560.4944 ล้านบาท 5) งบเงนิ อุดหนุน 6.1535 ล้านบาท กรมทางหลวงได้รับการจดั สรรงบประมาณจาแนกตามกลุ่มงบประมาณรายจ่ายภายใต้ 6 แผนงาน โดยเรียงลาดบั แผนงานทีไ่ ดร้ บั การจดั สรรงบประมาณมากไปน้อยได้ดังน้ี 1) แผนงานบรู ณาการพฒั นาด้านคมนาคมและระบบโลจสิ ตกิ ส์ 67,287.0560 ลา้ นบาท 2) แผนงานพื้นฐานด้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน 26,668.1375 ลา้ นบาท 3) แผนงานบูรณาการเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก 9,926.7292 ล้านบาท 4) งบประมาณรายจ่ายบุคลากร 5,067.9898 ล้านบาท 5) แผนงานบูรณาการพัฒนาพ้นื ทีเ่ ขตเศรษฐกจิ พิเศษ 3,804.5191 ลา้ นบาท 6) แผนงานบูรณาการพฒั นาพื้นที่ระดบั ภาค 3,134.0000 ล้านบาท งบประมาณจาแนกตามกลุ่มงบประมาณรายจ่าย 8.57% 4.37% 23.01% งบประมาณรายจ่ายบุคลากร แผนงานพ้ืนฐานดา้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขนั 58.06% 3.28% แผนงานบูรณาการพฒั นาพ้ืนที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ 2.70% แผนงานบูรณาการพฒั นาพ้นื ที่ระดบั ภาค แผนงานบูรณาการพฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ แผนงานบูรณาการเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 47 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 4. ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ หมายเหตุ : เป็นข้อมลู งบประมาณหลงั โอน/เปลี่ยนแปลง ณ สิ้นเดอื นกันยายนของทกุ ปี (ไม่รวมเงินกนั ไวเ้ บิกเหล่อื มปี) ทม่ี า : ผลการเบิกจ่ายเงนิ งบประมาณตามลกั ษณะเศรษฐกิจและส่วนราชการ กรมบัญชกี ลาง และงบประมาณปี พ.ศ. 2563 จากเอกสาร งบประมาณ 5. ผลประโยชน์ท่ีได้รับจากการจดั สรรงบประมาณของกรมทางหลวง พัฒนาเส้นทางและโครงขา่ ยถนน 1. มีทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง (Motorway) เพ่ิมข้ึน 2 เส้นทาง ระยะทางเพิ่มขึ้น 124.075 กโิ ลเมตร จากเดิมประเทศไทยมที างหลวงพเิ ศษระหว่างเมอื งเปดิ ให้บรกิ ารแลว้ 2 สาย รวมระยะ 146 กิโลเมตร รวมเป็น270.075 กโิ ลเมตร 2. ก่อสร้างทางหลวงเพิ่ม 687.891 กิโลเมตร เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการของทางหลวงสาย หลัก 319.057 กิโลเมตร 3. บารุงรักษาทางหลวง ระยะทาง 70,575 กโิ ลเมตร 4. พฒั นาทางหลวง 70 แหง่ การพฒั นาพื้นที่ระดบั ภาคทัว่ ประเทศ 5. กอ่ สรา้ งทางยกระดบั บนทางหลวงหมายเลข 35 สายธนบรุ ี - ปากทอ่ (ถนนพระราม 2) ยกระดับความปลอดภัยการคมนาคมขนส่งทางถนน 1. ปรับปรุงจุดเสี่ยงและบริเวณอันตรายบนทางหลวง ทั้งหมด 28 แห่ง 15 จังหวัด ได้แก่ นครสวรรค์ เชียงราย กาแพงเพชร เพชรบูรณ์ ขอนแก่น ร้อยเอ็ด สุรินทร์ นครราชสีมา บุรีรัมย์ ชัยนาท สุพรรณบรุ ี อทุ ยั ธานี เพชรบุรี พทั ลุง และอ่างทอง 2. ปรบั ปรงุ ความปลอดภยั ของทางและสะพานบรเิ วณหนา้ โรงเรียนทง้ั หมด 702 แหง่ สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 48 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123