๑๐๑ ๒. บทสวดมนตป์ ระจาํ อัฏฐมหาสถาน บทสวดมนตป์ ระจําอัฏฐมหาสถาน91 ณ อุทยานพทุ ธธรรมสิกขา กรมยุทธศึกษาทหารบก ................................................ อะระหัง สมั มาสัมพทุ โธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวนั ตงั อะภิวาเทมิ สะวากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม ธมั มงั นะมสั สามิ สุปะฏปิ นั โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ สงั ฆงั นะมามิ นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธสั สะ (สวด ๓ หน) ฉันท์รวม ๘ สถานท่ี ปะฐะมงั โพธิปัลลังกงั ทุติยงั อะนมิ สิ สะกัง ตะตยิ งั จงั กะมงั เสฏฐัง จะตุตถงั ระตะนาฆะรงั ปญั จะมงั อะชะปาลญั จะ ฉัฏฐัง วะ มุจจะลนิ ทะกงั สตั ตาหงั มนุ เิ สเวตัง ราชายะตะนะสัตตะมงั อฏั ฐมมั ปจิ สิ นี งั ยงั ปะตะนฏั ฐานะโสภิตัง ธมั มะจักกปั ปะวัตตัญจะ สัมปุณณะระตะนัตตะยัง ชัมพทุ ีเปฏฐะ ฐานานิ ปชู ิตานิ นริ ันตะรัง สัทธาปะสาทกิ าเนวะ อะหงั วนั ทามิ ทรู ะโต เอเตสัง อานภุ าเวนะ สะทา โสตถี ภะวนั ตุ เมฯ คําแปล ขา้ ขอกราบก้มบชู า ทเ่ี กิดศรทั ธา แปดสถานสถิตอดิสัย สอง...ทเี่ พ่งนัยน์ หนึ่ง...ที่ตรสั รอู้ ําไพ สาม...คือสถานจงกรม หา้ ...แหลง่ รื่นรมย์ ส.่ี ..เรอื นแก้วอนั อุดม ร่มไทรพวกอชบาล 91 ประพนั ธภ์ าษาไทย โดย พ.อ. ศรัณยภมู ิ ผู้พงึ่ , ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ. ลําดบั ท่ี ๒๔ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๖)
๑๐๒ หก...สระมุจลนิ ท์ตระการ นาคแผ่พงั พาน เจด็ ...ต้นเกดแกว้ แพรวพราว แปด...คือทง่ี ามอะครา้ ว ธรรมจกั รสกาว แจ้งแกเ่ บญจวัคคีย์ ทร่ี วมหมู่ของฤๅษี ณ พ้ืนปฐั พี ชมพทู วปี น้นั แล ดว้ ยอานุภาพกระแส จิตมปิ รวนแปร ในศาสน์แห่งพระสมั มา สขุ สวัสด์จิ งมแี ก่ข้าฯ ในทกุ เวลา ตลอดกาลนิรนั ดร เทอญฯ ..............................
๑๐๓ กาพย์ฉบัง ๑๖ มหาสถานที่ ๑ “ต้นพระศรมี หาโพธิ”์ พระองคผ์ ูส้ รรเพชญดา ตรัสรธู้ รรมา เหนอื วัชรอาสนอ์ ําพน ใตศ้ รพี ฤกษ์โพธานนท์ สถานมงคล รมิ ฝ่งั เนรญั ชรา ตลอดกาลรว่ มเจด็ ทวิ า ทรงพจิ ารณา ปฏจิ จสมุปบาทบรบิ ูรณ์ เหตเุ กิดระงบั ดับสญู กิเลสอากลู อนั กอ่ ทุกขซ์ ้ํารา่ํ ไป ข้าฯ ขอกราบบาททรงชยั ผเู้ ลิศลบไตร- โลกเปี่ยมปล้ืมด้วยศรัทธาฯ ..............................
๑๐๔ มหาสถานท่ี ๒ “อนิมสิ เจดยี ”์ พระองคผ์ ู้สงู ศักดา เหินสูน่ ภา แสดงยมกปาฏหิ ารยิ ์ นัยนาเพง่ นิ่งโพธ์นิ าน สัปดาห์โดยกาล กตญั ญูต่อพฤกษโ์ พธ์ิศรี อนมิ ิสสเจดยี ์ นามมงคลมี ณ ท่แี หง่ น้นั นานเนา เปน็ แหลง่ ราํ ลกึ ร่มเงา ใหท้ างขัดเกลา ตรัสรอู้ รยิ ธรรม ขอกราบบาทพระผ้นู าํ ขนั ติประจาํ จติ ขา้ ฯ ใหก้ ล้าทานทน ฯ ..............................
๑๐๕ มหาสถานที่ ๓ “รัตนจงกรมเจดยี ์” ดว้ ยปาฏิหารยิ ์ดาลดล เกดิ ศรมี งคล รตั นจงกรมเจดีย์ ทรงเอาทรายหมื่นธาตรี เร่ยี รายปฐั พี เป็นท่ดี าํ เนนิ จงกรม พระโลกเชษฐ์องค์ปฐม คมนาคม บนพื้นอรุ ุรมยา วนั คืนลว่ งลเุ วลา รวมหนึ่งสัปดาห์ เสวยวมิ ตุ เิ กษม ขา้ ฯ กราบดว้ ยใจปรีดเ์ิ ปรม พระผ้อู ิ่มเอม ด่งั แกว้ แพรวพรรณอาํ ไพฯ ..............................
๑๐๖ มหาสถานที่ ๔ “รตั นฆรเจดยี ์” พระชินสีหเ์ จา้ ผไู้ กล กิเลสปวงภยั ประทบั พายพั ทิศสถาน ฉัพพรรณรังสีเบ่งบาน ฉายแหลง่ โอฬาร รตั นฆรเจดยี ์ ทรงพนิ จิ ธรรมวถิ ี ถว้ นเจ็ดราตรี ปรารภอภธิ รรมนยั อันจกั แจ่มแจง้ แก่ใจ สมตามวิสัย เหลา่ สตั ว์ผูท้ รงปัญญา ขา้ ฯ ขอกราบกม้ บชู า องค์พระศาสดา ผู้เลิศยิ่งล้วนการณุ ย์ ฯ ..............................
๑๐๗ มหาสถานที่ ๕ “ตน้ อชปาลนโิ ครธ” พระพุทธเจ้าทรงคุณ เสวยสขุ ละมนุ วมิ ตุ ิใตร้ ม่ ไทรงาม อชปาละคอื นาม พวกผเู้ ดินตาม แพะแกะได้พักอาศยั ณ ทแี่ หง่ นัน้ เกดิ ภยั ธิดามารไป สามตนวนย่ัวยวนองค์ กําจดั มารร้ายสูญพงศ์ เจด็ วนั ดาํ รง สมาธมิ น่ั ทวี ข้าฯ ขอกราบกม้ เกศี แดพ่ ระมนุ ี เชดิ ชผู ้ปู ราบธดิ ามารฯ ..............................
๑๐๘ มหาสถานท่ี ๖ “สระมุจลนิ ท์” ณ ภมู ภิ าคพืน้ สถาน พฤกษพ์ รา่ งโอฬาร มีสระชือ่ มุจลินท์ ฝนตกเจด็ วนั อาจิณ มีจอมนาคนิ ทร์ จิตเกดิ เลอ่ื มใสศรัทธา เล้อื ยรา่ งจากสระข้นึ มา ขนดกายา พนั รอบพระทศพล แผ่พังพานปกเบ้อื งบน พระเศยี รเวียนวน ป้องผองภยั ทัว่ สรรพางค์ ขา้ ฯ ขอก้มกราบบาทางค์ พระผูเ้ วน้ วาง ทางบาปดว้ ยเกล้าโดยดฯี ..............................
๑๐๙ มหาสถานที่ ๗ “ตน้ ราชายตนะ” ประทับส้นิ เจ็ดราตรี ใต้ต้นเกดมี ราชายตนะ นาม องคอ์ ินทราชสยุ าม ถวายผลสมองาม และสองพาณิชจํานง ถวายสตั ตุกอ้ น, ผง จิตนน้ั มน่ั คง ถึงพระพุทธกับพระธรรม ท้าวจตุโลกบาลนาํ บาตรศิลาอํา- ไพให้เพื่อทรงใช้สอย ข้าฯ กราบบาทบงสบ์ุ นรอย จารึกจติ พลอย ปลืม้ ปริม่ อิ่มเอมกมล ฯ ..............................
๑๑๐ มหาสถานท่ี ๘ “ปฐมเทศนา ปฐมสาวก ครบองคร์ ัตนตรยั ” พระองค์ผ้ทู ศพล สําแดงดาลดล ธมั มจักกัปปวัตตนงั คอื หลกั อรยิ สจั จัง ส่อี งคป์ ระดงั ประดษิ ฐ์โดยธรรมวิธี หวั หน้าเบญจวัคคยี ์ จติ แจ้งสวา่ งดี บรรลดุ วงตาเห็นธรรม เป็นสงฆอ์ งค์แรกเลิศลํา้ แหง่ พทุ ธศาสน์นาํ ครบถว้ นพระรัตนตรยั ข้าฯ ขอกราบกรานธงชยั พเิ ศษสุกใส ด้วยจติ และกายวาจาฯ -----------------------------------
๓. เจ้าภาพสรา้ งพระฯ และศาลาปฏบิ ตั ธิ รรม92 ๑๑๑ 92 ขอ้ มลู ณ วันท่ี ๙ ม.ค. ๖๒
๑๑๒
๑๑๓ โครงการเย่ียมบํารุงขวัญทหารตามแนวชายแดน ............................... มลู นิธเิ ผยแผธ่ รรมะของอนศุ าสนาจารย์ทหารบก รว่ มกบั กองอนศุ าสนาจารย์ กรมยุทธศกึ ษา ทหารบก ในฐานะเปน็ ผ้กู าํ กับดูแลสายวิทยาการอนศุ าสนาจารย์ การพฒั นาศกั ยภาพสร้างเสริมประสบการณ์ อนุศาสนาจารยท์ หารบก ไดจ้ ดั โครงการเยยี่ มบาํ รงุ ขวญั ทหารทป่ี ฏบิ ตั ภิ ารกจิ ตามแนวชายแดน เพ่อื เปน็ การ สร้างขวญั และกําลังใจแกท่ หารที่ปฏบิ ตั ิภารกจิ อย่ตู ามชายแดน โดยมวี ัตถุประสงค์ ดงั นี้ ๑. เพ่ือเยยี่ มบาํ รุงขวัญทหารทป่ี ฏบิ ัตริ าชการตามแนวชายแดนของประเทศไทย ๒. เพื่อออกเผยแผธ่ รรมะและแนะนาํ ทางใจแก่ทหารทีอ่ ยู่หา่ งไกลครอบครัว ๓. เพอื่ รบั ทราบปัญหาและแนวทางในการปลุกปลอบใจทหารทปี่ ฏบิ ตั ิงานตามแนว ชายแดนของไทย ๔. เพอ่ื เยยี่ มเยอื นถวายกาํ ลังใจแกพ่ ระสงฆ์ทปี่ ฏิบัตศิ าสนกิจในพน้ื ที่เสย่ี งภยั ๕. เพ่อื เยยี่ มเยือนสนบั สนนุ กิจกรรมทางการศึกษาของเยาวชน/นักเรยี นในโรงเรียนตาม แนวชายแดน พล.ต. สมพงษ์ ถน่ิ ทวี รองประธานมูลนธิ ิฯ นําคณะ อศจ.ทบ.และสมาคมสตรศี รีอยธุ ยา ถวาย/มอบสง่ิ ของแกว่ ดั ทหารและนักเรยี น ตามแนวชายแดนจังหวดั เชียงใหม่ เมื่อ ๒๑ - ๒๓ ต.ค. ๖๑
๑๑๔ โครงการทอดผ้าปา่ สามคั คี ๑๐๐ ปี อศจ. คืนสู่เหย้า ............................... ด้วยสายวทิ ยาการอนุศาสนาจารย์ทหารบกจะเขา้ ส่กู าล ครบรอบปที ี่ ๑๐๐ ทไ่ี ดร้ บั พระราชทาน กิจการอนศุ าสนาจารย์ จากพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยหู่ วั เมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๖๒ โดย เป็นหน่วยงานรบั ผดิ ชอบดา้ นการพัฒนาคณุ ธรรมจรยิ ธรรมของกองทพั บก ซ่งึ ไดเ้ นน้ การพฒั นาคณุ ธรรมด้วย การนําเข้าสกู่ ารปฏบิ ตั วิ ปิ สั สนากรรมฐานตามหลักสตปิ ัฏฐาน ๔ เพ่ือดาํ รงชีวิตได้อยา่ งมีสติสัมปชญั ญะและ ปญั ญารูเ้ ทา่ ทนั โลกและแกไ้ ขปญั หาชวี ติ ได้อยา่ งมสี ติ และสนั ติสขุ กอรปกบั กรมยทุ ธศึกษาทหารบกได้จดั สร้างอุทยานพทุ ธธรรมสกิ ขา ให้เป็นสถานที่ศึกษาและปฏบิ ตั ิ ธรรมในพ้ืนท่ี ๕ ไร่เศษภายในกรมยทุ ธศึกษาทหารบก โดยสร้างจําลองพทุ ธประวตั ดิ ้วยการเสวยวมิ ุตติ ๗ สปั ดาห์และการทรงแสดงพระปฐมเทศนา รวมเปน็ ๘ มหาสถานพรอ้ มกบั ไดส้ ร้างพระพุทธรูปปางประทับยนื สูง ๑๙๐ ซ.ม. ปางประทบั น่ังหนา้ ตกั ๘๕ ซ.ม. จํานวน ๘ องค์ และสร้างศาลาปฏบิ ตั ิธรรม ประจาํ อุทยาน พุทธธรรมสิกขา ซึ่งจะเอ้ืออํานวยใหส้ ายวทิ ยาการอนศุ าสนาจารย์ได้จดั กจิ กรรมปฏิบตั ธิ รรม มีสถานที่เดนิ จงกรมและน่งั บําเพญ็ จติ ภาวนาอยา่ งสงบร่มรืน่ สบื ไป มูลนธิ เิ ผยแผ่ธรรมะของอนศุ าสนาจารย์ทหารบก จงึ ได้จัดโครงการทอดผา้ ป่าสามัคคี ๑๐๐ ปี อนศุ าสนาจารย์คนื สู่เหยา้ ขึน้ เพื่อสมทบทุนสรา้ งอทุ ยานพุทธธรรมสกิ ขา กรมยทุ ธศกึ ษาทหารบก เม่อื วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๑ พล.ต. สุเทพ นพวงิ รอง จก.ยศ.ทบ. พรอ้ มดว้ ยคณะ อศจ.ทบ., อศจ.ทร., อศจ.ทอ., อศจ.รท.และ อศจ.ตํารวจ พร้อมดว้ ยผมู้ ีจติ ศรัทธา ไดท้ อดผา้ ป่าสามัคคีฯ สมทบทุนสรา้ งอทุ ยานพทุ ธธรรมสกิ ขา ยศ.ทบ. เมื่อ ๒๓ ธ.ค. ๖๑ ณ หอ้ งประชมุ พระพุทธสิงห์ชัยมงคล
๑๑๕ โครงการจัดสรา้ งพระพทุ ธสงิ ห์ชัยมงคล ๑๐๐ ปี การอนศุ าสนาจารยไ์ ทย ............................... กิจการอนุศาสนาจารย์ไทย ถือกําเนิดขึ้นเมื่อวันท่ี ๑ มิถุนายน ๒๔๖๒ ตามพระราชปณิธานของพระ บาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๖ ท่ีทรงพระราชปรารภว่า “ทหารที่จากบ้านเมืองไปในคราวน้ี ต้องไปอยู่ในถิ่นไกล ไม่ได้พบเห็นพระเหมือนเมื่ออยู่ในบ้านเมืองของตน จิตใจห่างเหินจากทางธรรม ถึงยาม คะนองก็จะฮึกเหิมเกินไปเป็นเหตุให้เส่ือมเสีย ไม่มีใครคอยให้โอวาทตักเตือน ถึงคราวทุกข์ร้อนก็จะอาดูร ระสํ่าระสาย ไม่มีใครจะช่วยปลดเปล้ืองบรรเทาให้ ดูเป็นการว้าเหว่น่าอนาถ ถ้ามีอนุศาสนาจารย์ออกไป จะได้ คอยอนศุ าสน์พร่ําสอนและปลอบโยนปลดเปล้ืองในยามทุกข์” นับตั้งแต่วันนั้นจนถึงวันนี้ อนุศาสนาจารย์ก็เป็น ส่วนหนึ่งของกองทัพบก โดยข้ึนกับกรมยุทธศึกษาทหารบก ในนามว่า กองอนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษา ทหารบก โดยมีภารกิจหน้าท่ีรับผิดชอบกิจการอนุศาสนาจารย์ของกองทัพบก อํานวยการและดําเนินงาน เก่ียวกับพิธีการทางศาสนา ให้คําแนะนําแก่ผู้บังคับบัญชาในปัญหาทั้งปวงที่เก่ียวกับการศาสนาและขวัญตลอด ถึงการอบรมศีลธรรมและวัฒนธรรมทหาร การเย่ียวไข้และการบํารุงขวัญกําลังพลกองทัพบก มูลนิธิเผยแผ่ ธรรมะของอนุศาสนาจารย์ทหารบก ได้มีมติในการจัดสร้างพระพุทธสิงห์ชัยมงคล ขนาดหน้าตัก ๙ น้ิว จํานวน ๑,๐๐๐ องค์ สาํ หรบั ผู้จัดตง้ั กองทุนๆละ ๓,๔๙๙ บาท วตั ถุประสงค์การจัดสร้าง ๑. เพอื่ สมทบทนุ มลู นิธิเผยแผธ่ รรมะของอนุศาสนาจารยท์ หารบก (หลังหักคา่ ใช้จ่ายแลว้ ) ๒. เพ่อื จัดพธิ ีบาํ เพ็ญกศุ ล ๑๐๐ ปี อนศุ าสนาจารย์ไทย ๓. เพื่อจัดกิจกรรมเผยแผ่พระพุทธศาสนา เช่น การประกวดสวดมนต์ตามแบบธรรมเนียมทหาร ท่ผี ่านการคัดเลือกจากกองทัพภาคที่ ๑-๔ และหนว่ ยขึ้นตรงกองทัพบกสว่ นกลาง ๔. เพอ่ื การประกวดสวดมนต์หม่สู รรเสริญพระรัตนตรัยทาํ นองสรภญั ญะ ๕. เพ่ือการประกวดกล่าวคําอาราธนาในพระพุทธศาสนาพิธีและประกวดการบรรยายธรรม ของนกั เรียน นกั ศึกษาจากสถาบันการศึกษาตา่ งๆ ๖. เพ่ือจดั ทาํ หนงั สอื ทร่ี ะลกึ “๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย
๑๑๖ พล.อ. วรวทิ ย์ วรรธนศักด์ิ ประธานคณะทปี่ รกึ ษากองทพั บก ผู้แทน ผบ.ทบ. เป็นประธานพธิ ีนั่งปรกอธิษฐานจิตพทุ ธาภเิ ษก พระพุทธสิงหช์ ยั มงคล ๑๐๐ ปี อศจ.ไทย ณ อโุ บสถวัดตาลเอน อ.บางปะหนั จว.อ.ย. เมื่อ ๑๔ พ.ย. ๖๑
๑๑๗ บทที่ ๑๗ อาจริยบชู า - อาจรยิ พจน์
๑๑๘ ความสามารถ93 ความสามารถน้นั มบี างคนกเ็ ข้าใจกว้าง ๆ บางคนก็เข้าใจแต่แคบ ๆ อย่าง ที่แคบคือใครทําการ ได้ดีเต็มตามวิชาท่ีได้เรียนมาแล้ว ก็เรียกว่าเป็นคนท่ีมีความสามารถเสียแล้ว แต่แท้จริงควรจะใช้คําว่าชํานาญ จะเหมาะกว่า เปรียบเหมือนช่างไม้ ช่างเหล็กหรือช่างอะไร ๆ ที่ทํางานดี ๆ ก็หากล่าวไม่ว่าเขาสามารถ มัก กล่าวแต่ว่าผีมือ ดี และผู้ท่ีขี่ม้าขับรถเก่ง ๆ ก็หากล่าวไม่ว่าเขาสามารถ กล่าวแต่ว่าเขาชํานาญ แต่ท่ี ผู้ได้รอบรู้ วิทยาการอย่างใดอย่างหน่ึงแล้ว และใช้ความรู้นั้น โดยอาการอันช่ําชอง มักกล่าวกัน, ว่าเขาสามารถ ซ่ึงเป็น การส่งเสริมเกินกว่าที่ควรไปโดยแท้ อันที่จรงิ ผู้ทไ่ี ด้เรยี นการช่างไม้ จนทาํ การในหนา้ ทีข่ องเขาได้ดีทุกสถานแล้ว ไม่เลวไปกว่าผู้ท่ีได้ เรียนกฎหมายจนว่าความได้น้ันเลย เป็นแต่ชํานาญการคนละอย่างเท่านั้น แต่ถ้าจะ แปล ความสามารถให้กว้างออกไป ต้องแปลว่าส่ิงซึ่งกระทําให้ความเป็นใหญ่มีมาแต่ผู้ท่ีมีอยู่ และจะแปลให้ดีกว่านี้ก็ ยาก เพราะความสามารถเป็นสิ่งซึ่งมิได้อยู่ในตํารบ ตําราอันใด และจะสอนให้แก่กันก็หาได้ไม่ ย่อมเป็นส่ิงซึ่งบัง เกิดขึ้นในตัวบุคคลเอง หาใช่เพราะข้ึนโดยหาคะแนนมากๆในเวลาสอบไล่ในโรงเรียนหรือโดยได้ ประกาศนียบัตรหลาย ๆ ใบก็หามิได้ การแปลคําว่าสามารถแคบไปน้ันแหละ ทําให้เป็นเครื่องบํารุงความ โทมนัสแห่งบุคคลบางจําพวกเป็นอันมาก คําว่าสามารถควรจะแปลเสียให้ กว้างทีเดียวว่า “อาจจะทําการงาน ใหเ้ ปน็ ผลสําเร็จไดด้ ียิง่ กว่าผู้ทมี่ โี อกาสเทา่ ๆ กนั ” เชน่ ตา่ งวา่ คน ๒ คนได้เรียนหนังสือโรงเรียนเดียวกัน สอบไล่ ได้ปาน ๆ กัน ไดไ้ ป ยุโรปดว้ ยกนั เรยี นเท่า ๆ กนั อีก และกลบั พร้อมกัน เข้ารับราชการพร้อมกันในหน้าที่คล้าย ๆ กัน แต่คร้ันเม่ือทํางานแล้ว คน ๑ รู้จักใช้วิชาของตนให้เหมาะแก่กาลเทศะและสมเหตุสมผล อีกคน ๑ ต้อง คอยใหน้ ายชห้ี นทางให้ทํากอ่ นจึงทาํ เช่นนี้ นับว่าคนที่ ๑ เปน็ ผู้มคี วามสามารถมากกว่าคนท่ี ๒ ................................... 93 จากหลักราชการ พระราชนพิ นธ์ ร. ๖
๑๑๙ อาจรยิ บชู า “ปฐมอนศุ าสนาจารยท์ หารบก”
ประวตั ิ พระธรรมนิเทศทวยหาญ(อยู่ อดุ มศิลป)์ 94 ๑๒๐ พ.ศ. ๒๔๒๔ – ๒๕๑๐ --------------------- อํามาตย์ตรี พระธรรมนิเทศทวยหาญ นามเดิม ทองอยู่ ภายหลังเปลี่ยนเป็น อยู่ นามสกุล อุดมศิลป์ เป็นบุตรนายด้วง นางพร้อม เกิดที่บ้านในตรอกบ้านข้าวหลาม ตําบลหัวลําโพงใน จังหวัดพระนคร เมื่อวันท่ี ๑๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๒๔ เมื่อเยาว์วัยบรรพชาเป็นสามเณรท่ีวัดเทพศิรินทราวาส พระธรรมไตรโลกาจารย์ (เดช) ครั้งยังเป็น พระเทพกวีเป็นพระอุปัชฌาย์ คร้ันเมื่อสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงบรรพชาเป็นสามเณร ณ วัดบวรนิเวศวิหาร พระธรรมนิเทศทวยหาญก็ได้เป็นสหจรด้วย ดังที่พระธรรม นิเทศทวยหาญบนั ทกึ ไว้ใน “หมายเหต”ุ (พ.ศ. ๒๔๙๒ พระธรรมนิเทศทวยหาญได้ยกหนังสือ เอกสาร และพัสดุ ต่างๆ ซึ่งเป็นของส่วนตัวให้ นาวาอากาศเอก เมฆ อําไพจริต95 อนุศาสนาจารย์ผู้เป็นศิษย์คนหนึ่ง นําไปมอบ เป็นสมบัติของห้องสมุดอนุศาสนาจารย์ทหารอากาศ และได้เขียนเล่าเร่ืองความเป็นมาของเอกสารต่างๆ เป็น ทํานอง “หมายเหตุ” เพื่อให้ทราบเร่ืองราวตา่ งๆ ได้กระจ่างชดั ข้ึน) วา่ “ทูลกระหม่อมพระองค์ใหญ่ (สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร) ทรงผนวชเณร ไม่มีเณรเล็กๆ เป็นสหจร (มีแต่เณรโข่ง ทรงเรียกว่าปู่เณร รูปร่างใหญ่โตมาก....ฉันเล็กกว่าเพื่อน จนทรงเรียกว่าเณรแอ๊ว พระราชทานตุ๊กตาปอสเลน ๒ ตัว) พระราชาคณะต่างวัดที่เป็นเวรถวายธรรมิกถาจัด สามเณรเข้าไปถวายเป็นบริวาร ท่านเจา้ คณุ พระธรรมไตรโลกาจารย์ (เดช) เจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทรฯ เป็นพระ อุปัชฌาย์เณรของฉัน เอาฉันเข้าไปถวายด้วย จึงต้องไปอยู่กับวัดบวรฯ ในคราวนั้น ล้นเกล้าฯ(พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะทรงดํารงพระอิสริยยศที่ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าวชิราวุธ) กับ ทูลกระหม่อมพระองค์อ่ืนไปประทับอยู่กับสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช ได้ทรงเห็นฉันเสมอ และทรงทักทายใน บางโอกาส จึงทรงรูจ้ ักแต่นน้ั มา” จากนั้นได้เข้าเป็นนักเรียนบาลีในโรงเรียนของมหามกุฎราชวิทยาลัย ซ่ึงสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรม พระยาวชิรญาณวโรรส คร้ังยังทรงเป็นกรมหม่ืน ทรงต้ังข้ึน ใช้หลักสูตรใหม่สอบความรู้ด้วยวิธีเขียน พ.ศ. ๒๔๔๒ สอบได้เทยี บเปรยี ญ ๗ ประโยค วันที่ ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๔๕ อปุ สมบทเป็นพระภิกษุ ไดร้ บั ฉายาว่า “เขมจาโร” สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ เป็นพระอุปัชฌาย์ และเข้าแปลประโยค ๘ ได้ในปีนั้น ปีต่อมาก็เข้าแปล ประโยค ๙ ได้ ซึ่งสองประโยคหลังน้ีสอบท่ีวัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยวิธีสอบแบบเดิมคือ แปลด้วยปาก เปลา่ และในการแปลประโยค ๙ ได้น้ี สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ประทานพระรูปเป็นรางวัล มีลายพระหัตถ์ใต้ พระรูปว่า 94 นายสดุภณ จังกาจิตต์ ผู้เรียบเรียงจากหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพพระธรรมนิเทศทวยหาญ ณ เมรุวัดมกุฎกษัตริ ยาราม, ๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๑ 95 อศจ.ทบ.รุ่นท่ี ๔/๒๔๗๑ ต่อมาโอนไปเป็น อศจ.ท่ีกองทัพอากาศ ดํารงตําแหน่ง ผอ.กอศ.ยศ.ทอ.ลําดับที่ ๓ (พ.ศ.๒๔๙๙- ๒๕๐๕)
๑๒๑ “ให้พระมหาเขมจาโร (อยู่) ในการแปลฎีกาสังคหะประโยค ๙ ได้น่าที่น่ังเมื่อวันท่ี ๒๙ มีนาคม ร.ศ. ๑๒๒ ณ วัดพระศรีรตั นศาสดาราม กรมหมนื่ วชิรญาณวโรรส ผู้อุปัชฌายะ วัดบวรนิเวศวิหาร วนั ที่ ๕ เมษายน ร.ศ. ๑๒๓” พระธรรมนิเทศทวยหาญขณะเป็นสามเณรอายุได้ ๑๖ ปี สอบได้เป็นนักเรียนเอก(คือ ๓ ประโยค) ก็เริ่ม เป็นครูเป็นการส่วนตัว สอนไปด้วย เรียนไปด้วย จนมีนักเรียนมากขึ้น สองปีต่อมาคือ พ.ศ. ๒๔๔๒ ทางวัด เทพศริ นิ ทราวาส จึงแต่งตั้งให้เป็นผ้อู าํ นวยการศึกษาพระปริยัติธรรมสํานักเรียนวัดเทพศิรินทรฯ พระมหาเปรม เปมงฺกโร ศิษย์รูปหนงึ่ ได้กลา่ วไว้ในหนงั สอื งานพระราชทานเพลิงศพพระธรรมนิเทศทวยหาญถึงเรื่องนี้ตอนหนึ่ง วา่ “ท่านลงมือเปิดสอนบาลีไวยากรณ์ก่อนเปนเบื้องต้น เอากุฎีที่อยู่ของท่านเองเปนสํานักเรียน เมื่อ นักเรียนพระเณรเข้ามามอบตัวเปนศิษย์มากขึ้นเปนลําดับ...เจ้าอาวาส...จึงมอบโรงเรียนปริยัติธรรมภาษาบาลี ให้ท่านอาจารยม์ หาอยเู่ ข้าจดั การศึกษา ฝกึ สอนเปนอิสระคนเดียวหมด ....ท่านอาจารย์เอาใจใส่ทุกวิถีทาง... ทั้งวันทั้งคืนไม่เป็นอันกินอันนอน เพราะต้องทําการสอนเองคน เดียวด้วยทุกชั้นทุกแผนก... แบ่งเวลาสอนเช้าเร่ืองนี้ บ่ายเรื่องน้ัน บางครั้งเพิ่มการสอนกลางคืนเข้าอีกด้วย.. ผลปรากฏว่าพระเณรนักเรียนทวีจํานวนมากขึ้นเรื่อยๆ ประกาศความเจริญก้าวหน้าของการศึกษาพระปริยัตติ ธรรมท่ที า่ นอาจารย์มหาอย่ไู ดเ้ สกสร้างขึน้ ดว้ ยกําลงั ใจ..” นอกจากจะเป็นครูผู้มีความสามารถแล้ว พระธรรมนิเทศทวยหาญ ยังเป็นนักเทศน์ช้ันเลิศรูปหนึ่งใน สมัยนั้น ซึ่งนิยมเทศน์ปฏิภาณ คือเทศน์ปากเปล่า ได้ถวายเทศน์หน้าพระที่นั่ง เป็นที่พอพระราชหฤทัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวถึง ๓ คราว และหลังจากถวายเทศน์คราวท่ี ๓ ได้ไม่กี่วัน มีพระราช พธิ ีขนานนามเรอื ยนตพ์ ระทีน่ ่ัง ๒ ลํา ทีท่ ่าวาสุกรี พระธรรมนิเทศทวยหาญบนั ทกึ ไวใ้ น “หมายเหตุ” ว่า “เสร็จพระราชพิธีแล้วเสด็จประพาสลํานํ้า ฉันถูกคัดให้ลงลําประทับในเรือพระที่นั่งยนต์ลํานี้แหละ ล้น เกล้าฯ รับส่ังกับเจ้าประคุณ (สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส) ว่าได้ฟังพระอมราฯ ถวาย เทศน์เม่ือวานซืนน้ี นึกอุ่นใจว่ายังมีผู้ถวายเทศน์ให้ฟังได้...ในท่ีสุดรับสั่งว่า ได้ถวายเทศน์โปรดถึง ๓ คราวติดๆ กนั มาแล้ว ต่อไปจะเป็นคนสําหรับเทศนถ์ วายหลวง ต้องขอพรสักอย่างเถอะ จงใหป้ ฏิญาณเสยี เดยี๋ วน้ีแหละ คือ ในการรับนิมนต์ไม่ว่าท่ีไหน ขออย่าได้รับนิมนต์เทศน์ตลกเป็นอันขาดทีเดียวนะ เทศน์คู่ ทรงเรียกว่าเทศน์ตลก ทีแรกฟังไม่เข้าใจเล่นเอางง ทรงอธิบายว่าเทศน์คู่มักจะติดตลก บ่อยเข้าก็เคยปากจะพล้ังออกไปในเวลาถวาย เทศน์ ท่ที รงขอพรไวต้ ั้งแตต่ น้ ดังนี้มีประโยชนแ์ ก่ฉนั มาก ตัดความยงุ่ ยากไปอย่างถนัดใจ...”
๑๒๒ สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส แม้จะมงี านเทศนม์ ากเพยี งไร แต่พระธรรมนิเทศทวยหาญก็ยังเป็นครู รกั การสอน รกั ศิษย์เปน็ อยา่ งมาก ดังทไี่ ด้บนั ทกึ ไว้ใน “หมายเหตุ” ตอนหนง่ึ วา่ “ฉนั ทุม่ เทเวลาและกาํ ลงั ใจให้นักเรียนอยา่ งสิ้นเนื้อประดาตัว การสอนนักเรียนเปน็ งานดั้งเดิมตั้งแต่เป็น น.เอก (๓ ประโยค) อายุ ๑๖ ปี ก็เป็นครูเร่ือยมา ท้ังท่ีตนเองยังเรียนอยู่....ต่อมามีหน้าท่ีปกครองนักเรียนด้วย ต้องรับธุระหลายอย่างแผ่กว้างออกไปจนเป็นสํานักใหญ่ ทั้งที่ตนเองเป็นลูกวัด ต้องจัดหมดท้ังฝ่ายครูและ นักเรียน..ปัจจัยทางนักเรียนเป็นมาเช่นนี้แหละ จึงหายใจเป็นนักเรียน น่ังกับนักเรียน คุยกับนักเรียน สวดกับ นักเรียน ไปไหนๆ กับนักเรียนเสมอ...เทศน์เป็นงานภายหลังประดังเข้ามา ทําเวลาของนักเรียนให้เสียไป จะ ลดหยอ่ นความรับผดิ ชอบก็ไมไ่ ด้ เพราะนักเรียนยดึ เราเปน็ ทพ่ี ง่ึ ” ด้วยเหตุน้ี สํานักเรียนวัดเทพศิรินทราวาสซ่ึงเคยซบเซาไประยะหนึ่งจึงกลับรุ่งเรืองขึ้นอีก สมเด็จพระ พุทธโฆษาจารย์ (ญาณวโร) คร้ังยังเป็นพระธรรมไตรโลกาจารย์ เจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาสได้มอบภาพถ่าย ใหแ้ ละมีลายลขิ ติ ใต้ภาพวา่ “ท่ี ๑/๘๐๑ พระธรรมไตรโลกาจารย์ ผู้กรรมวาจาจารย์ ให้พระอมราภิรักขิต (เขมจาโร) เปรียญเอก ๙ ประโยค อันเตวาสิกท่ี ๑๒๐ เป็นเคร่ืองประกาศความดีความงาม ในการที่ได้จัดการศึกษาพระปริยัติธรรมอันเป็นกิจ สําคัญ ซึ่งเป็นรากเง่าเค้ามูลแห่งพระศาสนาในวัดเทพศิรินทรฯ ด้วยความตั้งใจทําจริงๆ จนเต็มสติกําลังปัญญา สามารถและความอุตสาหะอันกล้าหาญโดยความเอื้อเฟื้ออันดี สู้อดทน มิได้ครั่นคร้ามต่อความลําบากเหน็ด เหนอ่ื ย ทาํ ให้นกั เรียนไดค้ วามร้มู ากโดยรวดเร็ว แต่วนั ท่ี ๑ พฤศจกิ ายน รตั นโกสินทรศก ๑๓๐”
๑๒๓ ในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระธรรมนิเทศทวยหาญได้เป็นพระราชา คณะที่ พระอมราภิรักขิต เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๒ ดํารงสมณเพศมาจนถึง พ.ศ. ๒๔๕๙ เกิดอาพาธหนัก จึงได้ถวาย บงั คมลาสิกขา พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวรับส่ังไว้ในท้ายพระบรมราชานุญาตว่า “ให้เกลี้ยกล่อม เอาตัวไว้ใช้ในการศึกษา” เม่ือรักษาตัวจนทุเลาแล้ว วันท่ี ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๖๐ จึงเข้ารับราชการในกรม ศกึ ษาธิการ กระทรวงธรรมการ เป็นพนักงานกรมราชบัณฑิต ประจําแผนกรวบรวมตํารา เทียบชั้นเจ้าพนักงาน ตรวจการในกรมศึกษาธกิ าร พ.ศ. ๒๔๖๑ รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ออกไปเป็นอนุศาสนาจารย์ของกองทหารไทยใน ราชการสงคราม ณ ประเทศยุโรป ประจําอยู่ในกองทูตทหารที่กรุงปารีส มีหน้าที่คอยเยี่ยมเยียนให้กําลังใจ ทหาร ซ่ึงแยกย้ายกันปฏิบัติหน้าท่ีอยู่ตามที่ต่างๆ วันท่ีออกเดินทางมีเอกสารกล่าวถึงอยู่ในหนังสืองาน พระราชทานเพลงิ ศพพระธรรมนิเทศทวยหาญ ดงั นี้ ถวายบังคมลา วันท่ี ๑๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๖๑ ท่ีท่าวาสุกรี เสดจ็ ลงเวลา ๑๐ ก.ท. ลว่ งแล้ว ปลัดทลู ฉลองกระทรวงกลาโหม เบิกฯ พรอ้ มกับพระราชดํารัส พระราชหัตถ์เบอื้ งขวา ทรงประทับไวบ้ นบา่ ซ้ายของผู้คกุ เข่าฟงั กระแสอยู่ ในทเ่ี ฉพาะพระพกั ตร์ เมอ่ื รับพระราชทานเสมาสาํ หรับงานพระราชสงครามเสร็จแล้วฯ พระราชดาํ รสั นี่แน่ะ เจ้าเป็นผู้ที่ข้าได้เลือกแล้ว เพ่ือให้ไปเป็นผู้สอนทหาร ด้วยเห็นว่า เจ้าเป็นผู้สามารถท่ีจะส่ังสอน ทหารได้ ตามท่ีข้าได้รู้จักชอบพอกับเจ้ามานานแล้ว เพราะฉะนั้น ขอให้เจ้าช่วยรับธุระของข้าไปส่ังสอนทหาร
๑๒๔ ทางโน้น ตามแบบอย่างท่ีข้าได้เคยสอนมาแล้ว เจ้าก็คงจะได้เห็นแล้วไม่ใช่หรือ (ทูลรับ) เออ น่ันแหละ ข้าขอ ฝากใหเ้ จ้าชว่ ยส่ังสอนอยา่ งน้ันด้วย เข้าใจละนะ (ทูลรับและกราบถวายบังคม สังเกตดูพระอาการละเห่ีย พระสุ รเสียงละหอ้ ย เหน็ ไดว้ า่ ทรงคิดถึงทหารอย่างลน้ พ้น) ก่อนออกเดินทาง สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ประทานเหรียญให้ ๓ เหรียญ ดงั ขอ้ ความตอนหนึง่ ที่พระธรรมนเิ ทศทวยหาญบนั ทึกไวใ้ น “หมายเหตุ” วา่ “เจ้าประคุณพอพระทัยมากรับสั่งว่า คราวนี้เป็นการดี ตลอดฐานะท่ีได้มาในเวลาเป็นพระ เป็นอันตาม ทนั กนั ไดห้ มด ฯลฯ แลว้ ประทานเหรียญครบท้ังสามคือ เหรียญพระพุทธชินสีห์ เหรียญจตุราริยสัจ เหรียญมหา สมณุตตมาภิเสก ทรงช้ีแจงว่า ถ้าถึงคราวจําเป็นต้องการน้ํามนต์ ก็เอาน่ีทําน้ํามนต์ได้ คร้ันแล้วจะทรงเฉลียว พระทัยข้ึนมา จงึ ทรงอธบิ ายต่อไปวา่ สลี ัพพตปรามาส ถา้ เป็นไปเพ่ือเมตตากรณุ าแลว้ ไมค่ วรรังเกยี จ...” เมอื่ ไปราชการสงคราม ณ ทวปี ยุโรปแล้ว ครง้ั หนง่ึ มีเหตุตอ้ งบํารุงขวญั ทหารท่ีเจ็บป่วยที่โรงพยาบาลลุก เซมเบิร์ก กรุงปารีส พระธรรมนิเทศทวยหาญก็เชิญเหรียญท้ัง ๓ มาทําน้ํามนต์ โดยใช้วิธีประกาศคุณพระ รัตนตรัยด้วยเสียงดัง อย่างพระอาลักษณ์อ่านประกาศในพระราชพิธี ไม่ท่องมนต์หมุบหมิบอยู่ท่ีปากอย่าง เช่น พระภิกษุทํานํ้ามนต์ บรรดาทหารท่ีเจ็บป่วยต่างได้รับนํ้ามนต์เป็นกําลังใจกันอย่างถ้วนท่ัวและหายจากการ เจบ็ ป่วยทกุ คน เหรียญพระพทุ ธชนิ สีห์ เหรียญมหาสมณตุ ตมาภิเสก
๑๒๕ พระธรรมนิเทศทวยหาญ (คนกลาง) ในคราวไปเย่ียมทหารป่วยที่โรงพยาบาลลุกเซมเบริ ์กในกรงุ ปารีส พระธรรมนิเทศทวยหาญปฏิบัติหน้าที่อนุศาสนาจารย์เป็นอย่างดีและเต็มความสามารถ คร้ันกลับจาก ราชการสงคราม ณ ประเทศยุโรปแล้ว กระทรวงกลาโหมเห็นประโยชน์ในราชการทหารที่พระธรรมนิเทศทวย หาญไปปฏิบัติมา จึงได้จัดต้ังกองอนุศาสนาจารย์ ซ่ึงเป็นฝ่ายพลเรือนข้ึนในกรมตําราทหารบกเมื่อวันท่ี ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๒ และโอนพระธรรมนิเทศทวยหาญจากกระทรวงธรรมการมาเป็นหัวหน้า อนศุ าสนาจารย์ ดังบันทึกใน “หมายเหต”ุ ถึงเรื่องน้ี วา่ “...ฉันกลับกับกองทูตทหาร เข้าไปทูลข้อราชการแด่ทูลกระหม่อมเล็ก (จอมพล สมเด็จฯ เจ้าฟ้าจักร พงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานารถ เสนาธิการทหารบกครั้งนั้น) พอเสร็จก็รับสั่งว่า เดี๋ยวนี้ฉันกับ พระเจ้าอยูห่ ัวไดค้ ิดกันไว้เสรจ็ แลว้ ว่า กลับมากจ็ ะไม่คืนให้กระทรวงธรรมการ จะเอาไวก้ บั ทหารน่แี หละ ฯลฯ ... ทลู กระหมอ่ มพระองค์น้ันทรงร่างข้อบังคับทหารบกว่าด้วยกองอนุศาสนาจารย์ด้วยพระองค์เอง ข้อบังคับนี้เป็น ฉะบับแรกในกําเนิดแห่งคณะอนุศาสนาจารย์ ทรงบันทึกเอาคุณประโยชน์ที่ไปทําครั้งนั้นขึ้นต้ังเป็นรูปแห่ง ข้อบังคับนี้ ...ข้อบังคับกับคําส่ังบรรจุให้เป็นหัวหน้าออกพร้อมกัน (ท่านพระองค์นี้เร็วจี๋เป็นเคร่ืองจักร) ฉันเข้า ไปรายงานตนตามระเบียบ...”
๑๒๖ จอมพล สมเด็จฯ เจา้ ฟ้าจกั รพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพษิ ณโุ ลกประชานารถ ต่อมาทางราชการยกฐานะอนุศาสนาจารย์ข้ึนเป็นแผนกที่ ๓ พระธรรมนิเทศทวยหาญได้เป็นหัวหน้า แผนก ภายหลังย้ายอนุศาสนาจารย์ไปอยู่กรมยุทธศึกษาทหารบก ต้ังเป็นแผนกที่ ๔ ถึง พ.ศ. ๒๔๘๔ แก้แผนก ๔ กรมยุทธศึกษาทหารบก เป็นแผนกอนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบก พระธรรมนิเทศทวยหาญเป็น หวั หนา้ แผนกจนครบเกษียณอายเุ มือ่ วันที่ ๑๓ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๔๘๕ ตรงกบั วนั เกิดครบ ๖๐ ปี เครื่องแบบของพระธรรมนิเทศทวยหาญ (ในพิพิธภัณฑก์ องทัพอากาศ) นอกจากงานในหน้าที่ของอนุศาสนาจารย์แล้ว พระธรรมนิเทศทวยหาญยังมีงานราชการพิเศษที่สําคัญ อีกหลายประการ กล่าวคอื พ.ศ. ๒๔๖๘ ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ เป็นราชบัณฑิตทําการบูชาทิศ ถวายนํ้ามูรธาภิเษกด้วยมงคลคาถาเป็นภาษาบาลี อัญเชิญเสด็จครอบครองรัฐ สีมาประจาํ ทิศอาคเนย์ และถวายพระพรชัยให้ทรงพระเจรญิ ในสริ ริ าชสมบตั ิ พ.ศ. ๒๔๗๕ เป็นกรรมการชาํ ระปทานุกรม ตามท่ีกระทรวงธรรมการขอมา
๑๒๗ พ.ศ. ๒๔๗๗ เป็นภาคีสมาชิกของราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๗๘ เป็นกรรมการสอบไล่ผู้สมัครสอบแข่งขันเพื่อรับทุนเล่าเรียนหลวง และเป็นประธานสํานัก ศลิ ปกรรม ผลงานทพี่ ระธรรมนิเทศทวยหาญแปลและแต่ง ซึ่งไดพ้ ิมพ์แลว้ มจี ํานวนมากกวา่ ๓๐ เร่อื ง เช่น ปัญจสติ กกั ขนั ธกะ (สังคายนาครั้งที่ ๑) เวสสนั ดรชาดกกณั ฑท์ ี่ ๑๐ สกั กบรรพ ปกิณณกเทศนา ผลที่ต้องกับการ สงวน ศาสนา สัตย์และสุจริต สงครามปาก บัวเบญจพรรณ แม้กับแม้น การอ่านหนังสือ คําแนะนําแก่ผู้ที่จะเป็นครู สอนภาษาบาลี เปน็ ตน้ หลังเกษียณอายุราชการแล้ว พระธรรมนิเทศทวยหาญได้บําเพ็ญประโยชน์ตนคือปฏิบัติวิปัสสนา กมั มฏั ฐาน ทําตนใหเ้ ป็นที่พึง่ ของตน มากข้นึ เป็นลําดับ พระธรรมนิเทศทวยหาญมีสุขภาพไม่แข็งแรงนัก เจ็บป่วยบ่อย แต่ก็มีชีวิตอยู่ยืนยาวมาจนถึงวันที่ ๒๓ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๑๐ จึงได้ถงึ แก่กรรมด้วยโรคมะเรง็ ท่คี อ สริ ิอายไุ ด้ ๘๖ ปี ๑ เดอื น ๑๐ วัน --------------------------------
๑๒๘ อาจริยบูชา “พ.อ.ปิน่ มุทุกนั ต์” ผสู้ รา้ งคณุ ปู การแก่พระพทุ ธศาสนา ชวี ิตนีเ้ พอ่ื ธรรม96 .................................. “มคี นไม่น้อยที่มกั ไม่พอใจในสง่ิ ที่ตนได้ กลับไปพอใจกับสงิ่ ท่ตี นไมไ่ ด้ เข้าตํารา “เมียตัวไม่รกั เทยี่ วไปรกั เมียคนอืน่ ” คนประเภทนี้จงึ มักตอ้ งเปน็ ทุกข์ ไมค่ ่อยไดเ้ จอสขุ เพราะชอบเลอ่ื นความสุขไปไว้ที่อ่นื เสยี ” 97 อ่านเกร็ดธรรมข้างบนนี้แล้ว ทําให้ย้อนระลึกถึงอดีตอนุศาสนาจารย์ทหารบกท่านหนึ่ง ท่ีมีผลงานโดดเด่นในการ ปกปอ้ งและเผยแผพ่ ระพุทธศาสนากวา่ ๔ ทศวรรษ ทา่ นอธบิ าย สาธยายหลักธรรมได้ซาบซ้ึง กินใจ เข้าใจง่าย สามารถทําส่ิง ที่เป็นนามธรรมให้เป็นรูปธรรม ผลงานของท่านทําให้คนหนุ่มคนสาว ท่ีไม่ค่อยสนใจธรรมะ ได้หันมาศึกษาธรรมะ ท่านเป็น นกั เผยแผ่ธรรมทเ่ี ลอ่ื งชื่อแห่งยคุ ๒๕ พุทธศตวรรษ ทา่ นผนู้ ี้คือ พ.อ.ป่ิน มุทุกันต์ ในโอกาสที่ครบ ๑๐๐ ปีชาตกาลของท่านเม่ือวันท่ี ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๙ ที่ผ่านมา ขอนําเร่ืองราวชีวิตของท่านมา นําเสนอให้ท่านผู้อ่าน เพ่ือรําลึกถึงบุคคลผู้สร้างคุณูปการแก่พระพุทธศาสนาและประเทศชาติมาอย่างยาวนาน แม้ท่านจะ จากโลกน้ไี ปกว่า ๔๗ ปีแลว้ แตว่ รรณกรรมของท่านก็ยงั คงโดดเด่น เป็นทนี่ า่ ศึกษามาจนถึงปจั จบุ นั พ.อ.ปน่ิ มทุ ุกนั ต9์ 8 เกดิ เมือ่ วันพธุ ที่ ๑๑ ตลุ าคม ๒๔๕๙ ณ บา้ นคําพระ ตาํ บลคําพระ อําเภออาํ นาจเจริญ จงั หวัดอุบลราชธานี เปน็ ลูกคนที่ ๙ (คนสดุ ท้อง) ของนายมหาธิราช (มนั่ ) กับนางสุดซา นายมหาธิราช (ม่นั ) บดิ าผใู้ ห้กาํ เนดิ เดก็ ชายปิน่ ผูส้ ร้างคณุ ปู การแก่ พระพุทธศาสนาในเวลาต่อมา เด็กชายปนิ่ เป็นคนมอี ัธยาศัยรา่ เรงิ ฉลาดขยันขันแขง็ ไมช่ อบอยเู่ ฉย ๆ มีความรับผดิ ชอบ มีอุปนิสัยกล้าได้ กลา้ เสีย มคี วามคิดรเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์และมีภาวะผูน้ าํ แม้จะยงั อยู่ในวยั เด็ก 96 เรยี บเรียงโดย พ.ท. เกรยี งไกร จันทะแจ่มหน.วชิ าการและการศึกษา กอศจ.ยศ.ทบ. 97 ดรู ายละเอยี ดใน,พ.ต.ปนิ่ มุทุกันต์, กลวิธแี ก้ทุกข,์ สาํ นักพมิ พ์คลังวทิ ยา : พระนคร, ๒๔๙๙. 98 รักพงษ์ แซ่โซว, ปิ่น มุทุกันต์ ชีวิตนี้เพื่อธรรม, เอกสารพิมพ์เผยแผ่เป็นธรรมทานในวโรกาส พระบาทสมเด็จพระ เจา้ อย่หู วั ทรงเจรญิ พระชนมพรรษา ๘๔ พรรษา, ๒๕๕๔.
๑๒๙ พออายุได้ ๙ ขวบ ได้เข้าเรียนช้ันประถมที่โรงเรียนประชาบาลบ้านคําพระ เป็นเด็กที่มีผลการเรียนดีจนเป็นท่ี ชอบใจของครูอาจารย์ หลังจากจบช้ันประถม ๔ แล้ว ด้วยความที่ครอบครัวมีฐานะยากจน บิดามารดาไม่มีเงินส่งท่านเรียน หนังสือ จงึ ไดน้ ําไปฝากเป็นศิษยว์ ดั อยกู่ ับเจ้าอาวาสวัดบา้ นคําพระ วดั บา้ นคําพระ ปจั จบุ ันอยใู่ นเขตปกครองของ อ.หวั ตะพาน จ.อาํ นาจเจริญ อยเู่ ป็นศษิ ย์วดั ได้ระยะหนึ่ง เด็กชายปน่ิ ได้บวชเปน็ ผ้าขาว (ผถู้ ือศีล ๘) ทว่ี ัดปา่ สายธดุ งค์กรรมฐานไม่ไกลจากบ้าน คําพระนัก ได้มีโอกาสออกธุดงค์ติดตามรับใช้และฝึกปฏิบัติไปกับท่านพระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม ศิษย์พระอาจารย์ มน่ั ภรู ทิ ตฺโต ซึง่ เป็นอาจารย์ใหญ่สายกรรมฐานท่ผี คู้ นเคารพ ศรัทธาเปน็ อย่างยง่ิ ซงึ่ เด็กชายป่ินได้เข้ากราบคารวะและเรียน กรรมฐานจากพระอาจารยม์ ่ัน ภรู ิทตโฺ ต อกี ด้วย พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม พระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ผู้นําพา ด.ช.ปิ่น เข้าสู่เส้นทาง พ ร ะ อ า จ า ร ย์ ผู้ ส อ น พ ร ะ สายกรรมฐานและปฏิบัติกับ กรรมฐานเด็กชายปิ่นเป็น พระอาจารย์มัน่ ภรู ิทตฺโต เวลากวา่ ๒ ปี ต่อมาในปี ๒๔๗๔ บิดาของท่านได้ถึงแก่กรรมลง จึงได้กลับมาช่วยเหลือการงานท่ีบ้านระยะหน่ึง แต่มารดา อยากให้ท่านบวช จึงพาท่านไปบวชเป็นสามเณรที่วัดสุทัศนาราม จังหวัดอุบลราชธานี หลังจากบวชเรียนแล้วท่านก็สอบได้ นกั ธรรมชัน้ ตรี ชน้ั โท ชน้ั เอกพร้อมกับบาลีไวยากรณ์ ในระยะเวลา ๓ ปี ทําให้มารดาของท่านปลาบปลืม้ ใจย่งิ นกั ในช่วงเป็นสามเณร ท่านได้สนใจแนวทางการเทศนาของท่านเจ้าคุณ พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท) แห่งวัดบรมนิวาส กรุงเทพมหานคร ย่ิงนัก เพราะท่านเป็นพระสุปฏิปันโน มีชื่อเสียงทางด้านเทศนาโวหารและการปฏิบัติ ธรรมโดยเป็นสหายธรรมทีม่ ีความคุ้นเคยกับพระอาจารย์ม่นั ภูรทิ ตฺโต
๑๓๐ พระอบุ าลีคณุ ปู มาจารย์ (จันทร์ สริ ิจนฺโท) องคต์ น้ แบบแห่งการแสดงธรรมที่ซาบซงึ้ กินใจของ พ.อ.ปิน่ มุทุกันต์ สามเณรปิ่น ได้อ่านหนังสือธรรมเทศนาของท่านเจ้าคุณฯ ซ้ําแล้วซํ้าเล่าจนจําได้ขึ้นใจ เมื่อมีโอกาส เกิด สถานการณ์ที่ต้องข้ึนเทศน์ในงานบุญ ท่านก็ได้อาศัยความจําจากบทธรรมเทศนาน้ี ขึ้นแสดงธรรมจนเป็นท่ีติดอกติดใจของ ผู้ฟัง ท่านจึงเป็นสามเณรนักเทศน์ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา แต่อย่างไรก็ตาม ต่อมาท่านก็ได้พัฒนาความสามารถของตนเอง จน เกิดความชาํ นาญกระทัง่ ไดก้ ลายเปน็ นักเทศน์ นกั บรรยายธรรมท่ีมวี าทะคมคาย จับใจผ้ฟู ังอยา่ งแพรห่ ลายในเวลาตอ่ มา หลังสอบได้นักธรรมชั้นเอก พระอาจารย์ของท่าน คือ พระครูสุวรรณวารีคณารักษ์ (วิเชียร) ได้นําท่านไปฝากกับ พระมหาเฉย ยโส (ธรรมพันธ์ุ) วัดสัมพันธวงศ์ กรุงเทพฯ ซึ่งเป็นสํานักเรียนท่ีมีชื่อเสียงแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานครขณะน้ัน เม่ืออายุ ๒๐ ปีท่านจึงได้อุปสมบท ณ พัทธสีมาวัดสัมพันธวงศ์ เม่ือปี ๒๔๗๙ โดยมีสมเด็จพระวชิรญาณวงศ์ (ต่อมาได้รับ การสถาปนาข้ึนเป็น สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์) วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นพระอุปัชฌาย์, พระรัชชมงคล มุนี เป็นพระกรรมวาจารย์ และพระมหาเฉย ยโส เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายาว่า “วิริยากโร” (แปลว่า ผู้กระทํา ความเพียร) จากน้ันทา่ นกไ็ ด้รบั ความก้าวหน้าทางการศกึ ษาตามลาํ ดับ โดยสอบได้เปรียญธรรม ๗ ประโยค สํานักวดั สมั พันธวงศแ์ หง่ น้เี ป็นแหล่งฝึกฝนกริ ยิ ามารยาทและฝกึ ฝนนักเทศนท์ ่ที รงประสิทธิภาพทําใหพ้ ระมหาปนิ่ วริ ยิ ากโร ได้รับการฝึกฝนอบรมและเพ่ิมพูนทักษะความสามารถในการเทศน์ได้อย่างดี จนท่านกลายเป็นนักเทศน์นักบรรยาย ธรรมท่ีมหาชนรู้จักในเวลาต่อมา ผลงานของท่านเป็นท่ีพอใจของพระเถระผู้ใหญ่ เช่น สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส) แห่งวดั บรมนวิ าส ถงึ กับกล่าวเปรยี บทา่ นวา่ “เหมอื นดั่งเพชรประดับหวั แหวน ทจ่ี ะนําไปประดับท่ีไหนก็มีแต่จะเปล่งประกาย สรา้ งมลู คา่ ให้แก่แหวนวงนนั้ ” แต่แล้วก็เกิดเหตุการณ์พลิกผลันที่ทําให้ท่านต้องลาสิกขาแบบปัจจุบันทันด่วน เมื่อวันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๔๘๗ เน่อื งจากเหตุผลการบริหารงานบางประการภายในวดั แตเ่ พชรไมว่ า่ จะอยทู่ ่ไี หนกย็ ังเป็นเพชรวนั ยงั คํ่า ภายหลงั จากท่ที า่ นไดล้ าสกิ ขาออกมา ไดเ้ ข้าสอบบรรจเุ ปน็ อนุศาสนาจารยท์ หารบก เม่ือวนั ที่ ๓ เมษายน ๒๔๘๘ ซงึ่ สามารถสอบได้เป็นอนั ดบั ที่ ๑ นับเปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ชวี ิตนักเผยแผ่ธรรมท่ีมีช่ือเสียงแห่งยุค ๒๕ พุทธศตวรรษในเวลาเพียงไม่กี่ ปีตอ่ มา เปน็ อนุศาสนาจารย์ทหารบกผมู้ คี วามสามารถในการบรรยายธรรม เปน็ ท่ีสนใจของข้าราชการ พระสงฆ์และประชาชน
๑๓๑ งานอนุศาสนาจารย์ เปน็ งานท่ีถกู จรติ ของทา่ นยิ่งนัก เพราะนอกจากจะอบรมธรรมแกท่ หารในหน่วยต่าง ๆ ทั้งใน กรงุ เทพและต่างจงั หวดั แล้ว ยงั ตอ้ งไปบรรยายธรรมแก่ผู้ต้องขังในเรอื นจาํ อีกดว้ ย นอกจากนั้นท่านยังได้รับเชิญให้ไปบรรยาย ธรรม ปาฐกถาธรรมในสถานทีแ่ ละโอกาสอนั หลากหลาย ในปี ๒๔๙๗ ท่านได้เร่ิมจัดรายการธรรมะเผยแผ่ทั้งทางโทรทัศน์และวิทยุ เช่น รายการแก้ปัญหาทางธรรมและ ปัญหาชีวิต ทางสถานีวิทยุกรมการทหารสื่อสาร, รายการมุมสว่างทางวิทยุ ท.ท.ท., รายการนาทีทอง ทางสถานีโทรทัศน์ ซึ่ง ปรากฏว่าแนวทางและลีลาความสามารถของท่านเป็นที่ถูกอก ถูกใจผู้คนเป็นอันมากท้ังพระสงฆ์และฆราวาส จะมีแฟนคลับ คอยติดตามประหนึ่งติดหนังติดละครเลยทีเดียว แต่รายการที่ทําให้ท่านเป็นที่รู้จักของสื่อมวลชน และมหาชน คือ รายการ ธรรมนิเทศ อนั เปน็ รายการที่มุ่งอบรมให้ความรู้ทางธรรมแก่ทหาร หากแต่ไม่เพียงทหารเท่าน้ันที่รับฟัง ชาวบ้านทั่วไปตลอด ท้ังพระสงฆ์ ต่างช่ืนชอบติดอกติดใจเป็นการใหญ่ และหาก พ.อ.ป่ิน มุทุกันต์ ได้รับเชิญไปบรรยายธรรมหรือปาฐกถาธรรมที่ ไหน ส่วนใหญท่ ่ีนง่ั มักไม่เพียงพอ ผู้คนต้องยืนเบียดเสียดกันลน้ สถานที่ ต่อมาในปี ๒๔๘๙ ทา่ นไดส้ มรสกับ อาจารย์จรัสศรี ประภัสสร ธิดาของนายบุญสืบและนางละมุน ประภัสสร มี พยานรกั ด้วยกัน ๒ คน คือ นางสาวจนั ทมิ า และ นาง ภาณพุ งษ์ มุทุกันต์ พันเอกปนิ่ และอาจารยจ์ รสั ศรี (ประภสั สร) คู่ชวี ติ ผูอ้ ยู่เบื้องหลงั งานเผยแผ่ พระพุทธศาสนา แม้ท่านจะเป็นท่ีรู้จักของคนหมู่มาก มีชื่อเสียงในสังคมมาโดยลําดับ แต่ท่านก็มิได้ลุ่มหลงในชื่อเสียง คําช่ืนชม และลาภสักการะที่ตามมา เพราะท่านมีปณิธานท่ีจะทํางานเผยแผ่ธรรมด้วยใจบริสุทธิ์ มุ่งประโยชน์ของเพ่ือนมนุษย์เป็นท่ีตั้ง มิได้มุ่งหวังชื่อเสียงหรือลาภสักการะใด ๆ โดยก่อนการบรรยายท่านจะตั้งจิตแผ่เมตตาส่งความปรารถนาดีอย่างจริงใจแก่ ประชุมชนท่มี ารบั ฟัง นอกจากทา่ นจะมีวิชาความรดู้ ีแลว้ ท่านยงั มคี วามประพฤตทิ ่ีดีอกี ดว้ ย โดยยึดหลักที่ว่า “ยถาวาที ตถา การี (สอนคนอืน่ เช่นไร ให้ทําตนเช่นนั้น) ” ดังมีเหตกุ ารณเ์ มื่อปี ๒๔๙๗ เกดิ เหตุเพลิงไหม้ชุมชนย่านบ้านพักของท่าน ทําให้ ท่านสูญเสียทรัพย์สินทุกอย่าง เหลือเพียงเสื้อผ้าติดตัวเท่าน้ัน นับเป็นเรื่องราวท่ีน่าทุกข์ใจยิ่งนัก สําหรับปุถุชนอย่างเรา ๆ ท่าน ๆ แต่สําหรับ พ.อ.ป่ิน มุทุกันต์แล้ว ท่านได้ถือเป็นโอกาสปฏิบัติธรรมไปด้วย โดยนํา “กลวิธีแก้ทุกข์” ซึ่งท่านได้ บรรยายแก่มหาชน มาปฏิบัติ และเป็นสิ่งพิสูจน์ด้วยว่า อัคคีภัยที่เกิดกับครอบครัวของท่าน มิอาจลามมามอดไหม้ถึงใจของ ท่านได้เลย ท่านยังคงออกบรรยาย ปาฐกถาธรรมเพ่ือประโยชน์เก้ือกูลแก่ชนหมู่มาก โดยไม่สะทกสะท้านกับความวอดวาย ทเ่ี กิดขึ้น ตลอดเวลาท่ีท่านเป็นอนุศาสนาจารย์ทหารบกนี้ ท่านได้สร้างผลงานอันเป็นคุณประโยชน์แก่ทางราชการ สังคม และพระพุทธศาสนาไว้เป็นอันมาก เช่น การบรรยายชุดพิเศษในวาระเฉลิมฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษ ภายใต้ผลงาน “พุทธ ศาสตร์” มีประชาชนสนใจสมัครเป็นนักศึกษาพุทธศาสตร์กับท่านเป็นจํานวนมากเกินกว่าจํานวนท่ีกําหนดไว้ และนับเป็น พระมหากรุณาธคิ ณุ อย่างยง่ิ ทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั ทรงพอพระทยั และสนพระทัยต่อคาํ บรรยายชดุ น้ีด้วย และมีเหตุการณ์เขียนหนังสือเรื่องปุจฉา วิสัชชนา ๑๙๕๘ มีเนื้อหาโจมตีพระพุทธศาสนาอย่างร้ายแรงในหลาย ประเด็น ซ่ึงผู้เขียนเป็นนักบวชต่างศาสนา ท่านก็ได้แสดงปาฐกถาพิเศษเพ่ือช้ีแจงข้อกล่าวหาร้ายแรงนั้น เพื่อความเข้าใจอัน ถูกต้องต่อพระพุทธศาสนา แบบบัวไม่ช้ํา นํ้าไม่ขุ่น ต่อมาได้มีการจัดพิมพ์ปาฐกถาพิเศษของท่านเพื่อให้ชาวพุทธและศาสนิก ต่างศาสนาได้ศึกษาและทาํ ความเข้าใจในประเด็นตา่ ง ๆ เหล่านัน้ ดว้ ย
๑๓๒ หลังจากภารกิจปกป้องพระพุทธศาสนาผ่านไปไม่นาน ด้วยบทบาทอนุศาสนาจารย์ทหารบก ท่ีนอกจากอบรม ธรรมะใหแ้ กก่ าํ ลงั พลแล้ว ยังต้องให้คาํ ปรึกษาแกห่ น่วยทหารในประเดน็ ปญั หาตา่ ง ๆ ที่เกย่ี วกบั ทหารซง่ึ นบั ถอื ศาสนาอื่นด้วย เช่น เมื่อปี ๒๕๐๒99 กรณีองค์กรของชาวซิกข์ ได้ร้องขอให้ทหารท่ีนับถือซิกข์ไม่ต้องสวมหมวก โดยให้โพกผ้าบนศีรษะตาม ขอ้ กาํ หนดทางศาสนาแทน ซง่ึ ทา่ นกเ็ ป็นผปู้ ระสานกับทางกองทพั บกในการผ่อนผันใหท้ หารซิกขไ์ ม่ตอ้ งสวมหมวก ตอ่ มา ปี ๒๕๐๓ ทา่ นไดร้ ับอนมุ ตั ิใหเ้ ดินทางไปทศั นศึกษา เพ่ือดูงานด้านศาสนาในประเทศอินเดียและปากีสถาน เป็นเวลา ๒๐ วัน โดยได้รับการสนับสนุนการเดินทางจาก บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ,ชาวอินเดียผู้นับถือซิกข์และ สถานทูตอินเดียได้อํานวยความสะดวกด้านต่าง ๆ ในการเดินทาง ซึ่งการไปทัศนศึกษาในคร้ังน้ีได้เกิดเหตุการณ์น่าประทับใจ คือ ชาวซิกข์ทั่วโลกที่เมืองอมฤตสระ ได้มอบดาบศรีซาฮิบแก่ท่านเพ่ือตอบแทนที่ท่านเป็นผู้ประสานความเข้าใจอันดี ระหว่างศาสนิกของศาสนาต่าง ๆ ในประเทศไทย และท่านได้มีโอกาสเข้าเฝ้าองค์ดาไลลามะ พระประมุขแห่งธิเบตถึงที่ ประทับส่วนพระองค์ ก่อนลากลับยังได้รับพระราชทานบัตรลงพระปรมาภิไธยจากองค์ดาไลลามะเป็นที่ระลึกอีกด้วย ซ่ึงการ เดินทางไปทศั นศึกษาครง้ั นเ้ี ปน็ การเดินทางเพ่อื ประกาศพระศาสนาและสร้างศาสนสมั พนั ธ์กับศาสนกิ ต่างศาสนา เปน็ อยา่ งดี ศึกษาภูมิประเทศและวัฒนธรรมประเทศ อินเดยี ถ่ินกําเนดิ พระพทุ ธศาสนา ได้เข้าร่วมเป็นคณะทํางานเพื่ออบรมศีลธรรมแก่ผู้ประพฤติตนเป็นอันธพาลในช่วงปี ๒๕๐๒ , ได้นําเสนอ โครงการศาสนสถานประจําหน่วยทหาร เพื่อปลูกฝังธรรมะ และสร้างทัศนคติที่ต่อกําลังพล ทําให้ทุกมณฑลทหารบกมีศาสน สถานประจําหนว่ ยเกดิ ขึน้ มาโดยลําดบั , ร้ือฟ้ืนโครงการหอพักบุตรข้าราชการทหารบก เพื่ออํานวยความสะดวกแก่บุตร ทหารทไี่ มอ่ าจโยกย้ายไปตามบดิ า/มารดา ด้วยเหตุผลทางการเรยี น โครงการน้ีทําใหเ้ กิดการจดั ตั้งโรงเรียนกองทัพบกอุปถัมภ์ ตามมาอีกด้วย, เสนอจัดตั้งโรงเรียนการศาสนาและศีลธรรมทหารบก โดยมีการเปิดการศึกษา รุ่นที่แรกเมื่อ พ.ศ.๒๕๐๐ ปัจจุบันได้เปิดทําการเรียนการสอนเป็นรุ่นที่ ๖๐ แล้ว และมีแผนจะเปิดสอนออนไลน์ เพื่อเปิดโอกาสให้กําลังพลได้ศึกษา อยา่ งท่ัวถึงในทุกภมู ภิ าค นอกจากน้ันกองทัพบกยังมีบรรจุวิชาการศาสนาและศีลธรรม ลงในหลักสูตรการศึกษาของโรงเรียน เหล่า สายวทิ ยาการทกุ หลกั สตู ร ขณะที่ท่านเพียรสร้างคุณประโยชน์แก่สังคมและพระศาสนาอย่างไม่รู้จักเบ่ือ รู้จักท้อในฐานะอนุศาสนาจารย์ ทหารบกน้นั กระทรวงกลาโหมได้โอนท่านไปรบั ราชการในตําแหน่งรักษาการรองอธิบดีกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ เม่ือ ๗ ธันวาคม ๒๕๐๕ และในปีถัดมาอธิบดีกรมการศาสนาเกษียณอายุราชการ ท่านก็ได้เล่ือนตําแหน่งอธิบดีกรมการ ศาสนาในวันท่ี ๑๖ ตุลาคม ๒๕๐๖ ท่านจึงได้รับภารธุระในการบํารุงสนับสนุนพระศาสนาของประเทศให้เจริญรุ่งเรืองตาม สมควรแก่ฐานะ แต่โดยเหตุที่คนไทยส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนา งานส่วนมากจึงเก่ียวข้องกับพระพุทธศาสนา การเข้า มาน่ังเก้าอ้ีอธิบดีกรมการศาสนาคร้ังนี้ พ.อ.ปิ่น มุทุกันต์ มีความต้ังใจแน่วแน่ในอันที่จะสร้างความเจริญให้เกิดแก่ พระพุทธศาสนาและหน่วยราชการแห่งน้ี โดยท่านปรับปรุงงานให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพย่ิงข้ึน มีการปรับโครงสร้าง ขยายอัตราขนานใหญ่ เพ่ือให้เหมาะกับภาระงานที่รับผิดชอบ พัฒนาความรู้ของเจ้าหน้าท่ีให้พร้อมรองรับแผนงานโครงการ ต่าง ๆ นบั เปน็ การปฏริ ูปครั้งใหญ่นับแต่จดั ตั้งกรมเลยทีเดียว ท่านไดเ้ สนอแผนงาน/โครงการสาํ คญั ๆ เช่น ได้ดําเนินการป้องกันความมัวหมองอันเน่ืองจากเร่ืองศาสนสมบัติที่จะเกิดกับพระพุทธศาสนา โดยเตรียมออก พระราชบัญญตั ิคุ้มครองวัดในพระพุทธศาสนา 99 เรอื่ งเดียวกัน, หน้า ๙๐.
๑๓๓ โครงการพระธรรมทตู เพอื่ การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาไปสูม่ หาชนทั้งในและต่างประเทศ เม่ือปี ๒๕๐๗ โครงการ นปี้ ระสบผลสัมฤทธ์อิ ยา่ งรวดเร็วและเจริญก้าวหนา้ สบื มาจนปจั จบุ นั ทั้งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวยงั ทรงรบั ไว้ในพระบรม ราชปู ถัมภ์อีกดว้ ย ภาพในประวตั ศิ าสตรท์ ี่ พ.อ.ปิ่น บนั ทกึ รว่ มกบั คณะ ณ วดั สมั พนั ธวงศ์ โครงการพัฒนาวดั ทั่วประเทศ โดยได้รบั ความเห็นขอบจากคณะรฐั มนตรี เมือ่ ปี ๒๕๐๗ -๒๕๑๘ มีส่วนราชการ เข้ามาเก่ียวข้อง เช่น กรมการศาสนา กรมศิลปากร กรมอาชีวศึกษา กรมการปกครอง กรมโยธาธิการ กรมการแพทย์ สํานัก งบประมาณ และมหาเถรสมาคมโดยมีปลัดกระทรวงศึกษาธิการเป็นประธานกรรมการ โครงการน้ีจึงดําเนินไปอย่างคล่องตัว ส่งผลให้วัดหลายแห่งที่ทรุดโทรมได้รับการปรับปรุงให้สะอาด เรียบร้อยยังความศรัทธาปสาทะให้เกิดแก่พุทธศาสนิกชนทั้ง ประเทศนับเปน็ การสร้างคณุ ประโยชนใ์ นวงกว้างแกพ่ ระพุทธศาสนา จัดต้ังหน่วยนพกะ เพ่ือสงเคราะห์พุทธมามกะผู้เยาว์ เน่ืองจากสมัยก่อนเยาวชนในครอบครัวหนึ่งมีมากหากแต่ ยากจน อาจถูกชักนําให้เดินทางผิด เข้าสู่ลัทธิมืดมนไร้อนาคต เป็นการดําเนินการด้วยการจําแนกตามสภาพ ออกเย่ียมเยียน เพื่อบํารุงขวัญให้กําลังใจ ส่งเสริมทางดีงาม สนับสนุนการศึกษาและช่วยแก้ไขปัญหาชีวิต เป็นการปกป้องให้พ้นจากหายนะ ภัยท้งั หลาย การจัดพิมพ์พระไตรปิฎก ฉบับรัชดาภิเษก เม่ือปี ๒๕๐๖ เพื่อส่งเสริมให้คนไทยได้ศึกษาพระไตรปิฎกมากขึ้น ทําให้มีผู้คนสนใจมากมาย จนขาดตลาดลงในเวลาเพียง ๕ ปี ท่านจึงดําริให้จัดพิมพ์เป็นคร้ังที่ ๒ โดยกําหนดให้เป็นฉบับ รชั ดาภิเษก ฉลองวโรกาสท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะทรงครองราชย์ครบ ๒๕ ปี ในปี ๒๕๑๔ รวมเล่มจากจํานวน ๘๐ เลม่ เปน็ ๔๕ เลม่ ตามจาํ นวนปีทพ่ี ระพทุ ธองค์ทรงปฏบิ ัติพุทธกิจ สร้างวัดพุทธประทีป กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เพ่ือบรรยายธรรมและสอนวิปัสสนากรรมฐาน เมื่อปี ๒๕๐๘ ทา่ นไดร้ เิ รมิ่ ด้วยการจดั ซอ้ื อาคาร ๒ ชนั้ ครง่ึ พร้อมเนอ้ื ท่ี ๕๐๐ ตารางวา เพ่ือสร้างวัด และได้จัดให้มีพิธีเปิดอย่างเป็น ทางการเมื่อ ๑ สงิ หาคม ๒๕๐๙ โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จพระ ราชดําเนนิ เป็นองค์ประธาน และมพี ระราชสทิ ธิมุนี หัวหนา้ คณะพระธรรมทตู สายอังกฤษเปน็ เจ้าอาวาสรูปแรก นับตั้งแต่ท่านได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งสําคัญในกรมการศาสนาเมื่อปี ๒๕๐๕ เป็นต้นมานั้น ท่านก็มุ่งมัน สร้างประโยชน์แก่พระพุทธศาสนาอย่างเต็มท่ี ทําให้ท่านมีภารกิจด้านงานบริหารมากมาย จนต้องห่างเหินจากงานบรรยาย ธรรมท่ีรักสุดชีวิต ท่านจึงเผยแผ่ธรรมผ่านงานเขียนแทน โดยท่านอาศัยช่วงเวลากลางคืนและเช้าตรู่ก่อนไปทํางานในการ สร้างสรรค์ผลงาน แม้ยามพักผ่อนสุดสัปดาห์หรือวันหยุดนักขัตฤกษ์ ก็ยังมิวายต้องนําพางานเขียนไปทําด้วย และด้วยความ ที่ท่านเป็นคนมุมานะ ทุ่มเทกับงานน้ีเอง เป็นเหตุให้ท่านป่วยด้วยโรคทางเดินอาหาร จนต้องเจ็บออด ๆ แอด ๆ บ่ันทอง สมรรถภาพการทํางานของท่านลง
๑๓๔ นําผู้แทนจากศาสนาต่าง ๆ เข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว ในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ท่านได้เข้ารับการรักษาจากแพทย์ในช่วงปลายปี ๒๕๑๓ แต่หลังจากเข้ารับการรักษาด้วยการผ่าตัดแล้ว ร่างกาย ของทา่ นกลบั ซูบซดี ไร้เร่ยี วแรง เมือ่ พิจารณาเห็นว่าคงไม่อาจทาํ งานใหร้ าชการไดอ้ ย่างเตม็ ที่เหมือนเม่ือก่อน ท่านจึงตัดสินใจ ย่ืนหนังสือลาออกจากราชการต้ังแต่วันท่ี ๒ มีนาคม ๒๕๑๔ แต่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายสุกิจ นิมมานเห มินท)์ ไดย้ บั ยง้ั การลาออกนนั้ เนือ่ งจากเสียดายในความสามารถของท่าน โดยขอใหล้ าปว่ ยแทนการลาออก อธิบดีปิ่นได้ชี้แจงข้อเท็จจริง แก่ข้าราชการกรมการศาสนา ก่อนลาป่วยเพอ่ื พักรักษาตวั แต่ในปีถัดมา ท่านเห็นว่าไม่อาจฝืนต่อไปได้ จึงได้ขอลาออกจากราชการด้วยเหตุผลเรื่องสุขภาพ เมื่อวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๕ และหลังจากลาออกได้ไม่นาน ท่านก็ได้เข้ารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า แม้จะต้อง ประสบกับภาวะทุกขเวทนาแรงกล้าจากโรคภัยที่เบียดเบียนจนต้องมีการให้ออกซิเจน แต่ท่านก็ได้อาศัยหลักธรรมทาง พระพุทธศาสนาเป็นท่ีพ่ึงในการรับมือกับทุกขเวทนาในเวลาเจ็บป่วยได้เป็นอย่างดี พ.อ.ป่ิน ได้ยกเอาอานาปานสติเป็นหลัก พจิ ารณาเพื่อใหเ้ กดิ ปีติและนําไปสสู่ ภาวะอเุ บกขาในท่ีสุด ทั้งนีเ้ นือ่ งจากปกตใิ นยามทย่ี ังแขง็ แรงดี ท่านไหว้พระสวดมนต์และ ทําสมาธิก่อนนอนทุกคืน ทําให้จิตเสพคุ้นกับการปฏิบัติอานาปานสติ จึงไม่เป็นการยากเลยที่ท่านจะน้อมจิตเข้าสู่อารมณ์ กรรมฐานนี้ แมข้ ณะท่ีกําลังกายถดถอยและจติ ใจถูกรบกวนจากทกุ ขเวทนาอันแรงกลา้ อยู่กต็ าม จึงถือวา่ เปน็ ข้อไดเ้ ปรยี บของผู้ที่ตั้งใจพากเพียรปฏิบัติธรรมเป็นนิตย์ตั้งแต่ที่ร่างกายและจิตใจยังแข็งแรงเป็นปกติ เพราะถ้ารั้งบ่ายเบี่ยงไว้ปฏิบัติยามแก่เฒ่าเรี่ยวแรงถดถอย ย่ิงถูกโรคภัยเบียดเบียนด้วยแล้ว ก็ยิ่งเป็นการยากที่จะน้อมจิต ไปสู่อารมณ์ทางธรรมได้ เพราะแม้ขณะร่างกายแข็งแรงจิตใจเป็นปกติดี จิตยังไม่เข้มแข็งพอที่นําตนเข้าสู่การปฏิบัติได้ จะ กล่าวไปใยกับการคาดหวังที่จะเร่งกระทําเอาในขณะท่ีจิตใจและร่างกายเศร้าหมอง ท้อถอย ถูกทุกขเวทนารุมเร้า ซึ่งมีแต่จะ
๑๓๕ จมไปกับความทุกข์ โดนทุกขเวทนาฉุดลากพาไปด้วยเท่านั้นเอง อาการที่จิตไม่อาจมีสติตั้งมั่นเป็นของตนเองได้ ต้องหลงไป กบั อารมณท์ ุกขเวทนาจนบางรายถึงกบั ละเมอเพ้อคลั่งออกมา น่ีเองที่ทางพระท่านเรียกว่า “หลงตาย” และผู้ท่ีหลงตายน้ัน ยากนักท่ีจะคาดหวังสุคติได้ การศึกษาปฏิบัติธรรมในทางพระพุทธศาสนาจึงเป็นสิ่งท่ีทรงคุณค่า อํานวยประโยชน์สุขให้ แม้ ในขณะปจั จบุ นั และในเวลาอันวกิ ฤติท่กี าํ ลังจะสิน้ ลม ดังน้ันแม้สภาพร่างกายของ พ.อ.ปิ่น จะผ่ายผอมทรุดโทรมลงโดยลําดับ อันเน่ืองจากอํานาจแห่งโรคภัยที่รุมเร้า เบียดเบียนท่านหนักข้ึนทุกขณะ แต่โดยท่ัวไปท่านก็ไม่ได้แสดงอาการทรมานกระสับกระส่ายออกมาให้ปรากฏแต่อย่างใด อันแสดงถึงสภาวะจิตที่ได้รับการประคับประคองไว้เป็นอย่างดี จวบจนกระทั่ง ๑๕.๔๕ นาฬิกา ของวันอังคารที่ ๔ เมษายน ๒๕๑๕ ท่านจึงถึงแก่อนิจกรรมด้วยอาการอันสงบท่ามกลางความอาลัยรักจากภรรยา บุตร-ธิดาและสัมพันธชนท่ีเฝ้าอยู่ข้าง เตียง สริ ิอายุรวม ๕๕ ปี งานบําเพ็ญกุศลศพของท่านจัดข้ึนที่วัดโสมนัสวิหาร ระหว่างเดือนเมษายน ถึง กรกฎาคม ๒๕๑๕ และได้รับพระ มหากรณุ าธิคณุ จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (รัชกาลท่ี ๙ )และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ (ในรัชกาลที่๙) เสดจ็ พระราชดาํ เนนิ ทรงเป็นองคป์ ระธานพิธีพระราชทานเพลงิ ศพ ณ เมรุหน้าพลับพลาอิสริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส เม่ือ วันจันทร์ท่ี ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๑๕ นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณ ล้นเกล้าล้นกระหม่อมอย่างหาท่ีสุดมิได้ ยังความปลาบปลื้ม แก่ครอบครวั มทุ กุ ันตอ์ ยา่ งซาบซึ้ง ดร. จนั ทิมา มุทุกนั ต์ (คนน่งั ด้านซา้ ย) แม้ พ.อ.ป่ิน มุทุกันต์ ได้ลาจากไปกว่า ๔๗ ปีแล้ว ลกู สาวของ พ.อ. ป่นิ มุทกุ ันต์ แต่เสียงบรรยายธรรม เสียงปาฐกถาธรรม ท่ีมีลีลาและโวหาร อันอาจหาญ เฉียบคมของท่านในรูปแบบวรรณกรรมทาง พระพุทธศาสนากว่า ๓๔ เรื่อง100ยังคงเป็นมรดกธรรมท่ียังคง ตราตรึงในมโนสัญเจตนาของอนุชนคนรุ่นหลังมาจวบจน ปัจจุบัน หลายโครงการที่ท่านได้ริเริ่มสร้างไว้ก็ยังคงมีการสาน ต่อมาจวบจนปัจจุบัน และยังคงสร้างคุณประโยชน์ให้แก่สังคม และพระพทุ ธศาสนาอย่างไมม่ ีวันกําหนดหมดอายุ นบั ไดว้ ่า พ.อ.ป่นิ มุทกุ ันต์ เป็นผู้มีสายตาอันยาวไกลและมุ่งม่ันที่จะสร้างสรรค์คุณประโยชน์แก่ประเทศชาติและ พระศาสนาอย่างจริงจัง โดยมุ่งพัฒนาใน ๓ ปัจจัยหลัก คือ ด้านศาสนธรรมผ่านโครงการพระธรรมทูต ทําให้ศาสนธรรมเข้า ไปสหู่ ัวใจของมหาชนทัง้ ในและต่างประเทศ, ด้านศาสนวตั ถุผ่านโครงการพัฒนาวัดท่ัวประเทศ ทําให้สังคมไทยในยุคของท่าน งามเรืองรองไปด้วยวัดวาอาราม และด้านศาสนบุคคลผ่านโครงการนพกะ พัฒนาคุณภาพชีวิตของเยาวชน ให้เป็นคนดี มี คุณภาพและคณุ ธรรม เพื่อให้สังคมไทยเกดิ ความม่ันคง และม่งั คง่ั อย่างยงั่ ยืนตราบนานเท่านาน เน่ืองในโอกาสวันท่ี ๑ มิถุนายน ๒๕๖๒ เวียนมาบรรจบ ซ่ึงเป็นวาระครบ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย จึงนําเสนอเกียรติประวัติของ พ.อ.ป่ิน มุทุกันต์ ในฐานะเป็นอนุศาสนาจารย์ที่สร้างคุณูปการอย่างมากมายแก่ประเทศชาติ พระศาสนา จงึ ขอเชิญชวนท่านผู้อา่ น ตดิ ตามผลงานของท่าน เพื่ออนุสรณ์ถึงเกียรติคุณของ พ.อ.ปิ่น มุทุกันต์ ผู้อุทิศชีวิต น้เี พื่อพระธรรมและพระพุทธศาสนาตลอดชวี ติ ของท่าน ตาม QR.code ได้ครบั .............................. 100 รักพงษ์ แซ่โซว, ๔ ทศวรรษมรดกธรรม จาก ปิ่น มุทุกันต์ , เอกสารพิมพ์เผยแผ่เป็นธรรมทานในโอกาสคุณแม่สมปอง ลิ้มเรอื งรอง อายุ ๘๐ ปี, ๒๕๕๕.
อาจริยบชู า “พ.อ. ทองคํา ศรีโยธนิ ” 101 ๑๓๖ .............................. ทา่ นอาจารยท์ องคําทองล้ําคา่ 102 ทอง บรสิ ทุ ธแิ์ ท้ เลอคุณ คา่ เฮย คํา หยาดหวานละมนุ โสดพรอ้ ง ศรี ศาสน์พอ่ นําหนุน นานเน่อื ง โยธนิ ธีรราฎร์ซอ้ ง แซด่ า้ วสรรเสริญ ทา่ นอาจารยท์ องคําทองลา้ํ คา่ นอ้ มศรัทธาด้วยใจไมข่ ัดเขนิ เป็นแบบอย่างคุณธรรมควรดาํ เนิน ใหเ้ จริญรอยตามคุณความดี เมตตาลาํ้ ฉํา่ ใจในทุกที่ ทา่ นถงึ พรอ้ มด้วยพรหมวิหารธรรม ทา่ นมากมีน้ําใจให้ทุกคน เปยี่ มด้วยความกรณุ าเอ้ืออารี ผู้ท้อทกุ ข์ปลอบใจใหห้ ายหมน่ วางกมลอเุ บกขาคราเป็นกลาง มุทติ ายนิ ดีเม่อื มสี ขุ สะท้อนจติ ผ่องแผว้ แววสวา่ ง แม้คราวใดไมอ่ าจช่วยดว้ ยกรรมดล มงุ่ ในทางอรยิ มรรคสู่หลกั ชัย ยดึ ไตรรตั นแ์ นแ่ น่วหมดสงสัย ทา่ นสขุ ุมเยือกเย็นอยเู่ ปน็ นิจ อยู่ด้วยใจปกติวิหารธรรม รอนความโลภโกรธหลงลงเบาบาง รอ้ ยลลี าโลมใจใหช้ น่ื ฉ่ํา ดจุ ลํานําธรรมธารรนิ ผ่านใจ สักกายะอัตตาหาไมแ่ ลว้ สวา่ งเย็นเปน็ สุขเม่อื อยูใ่ กล้ ไมล่ ว่ งศลี สังวรระวงั ภยั ใหส้ ายใยอบอนุ่ ละมนุ มาน ท่านเมตตาช่วยตรองมองรอบดา้ น ทา่ นถงึ ธรรมสอนธรรมธรรมกถา มงุ่ ประสานประโยชนไ์ วใ้ หเ้ กดิ คุณ ซาบซึ้งตรึงใจในนํา้ คํา ทา่ นเปรยี บดงั ดวงจันทรค์ ืนวนั เพญ็ ใหท้ ง้ั แสงสอ่ งทางสว่างไกล แมค้ ราวใดใครทมี่ ีปัญหา แนะแนวทางนุ่มนวลใคร่ครวญการ 101 หก.กอศจ.ลําดับที่ ๘ (พ.ศ.๒๕๑๖ – ๒๕๒๑) 102ชาญชยั รวิรงั สิมา ประพันธใ์ นนาม ยุวพุทธิกสมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์
ทา่ นไม่คดิ มุ่งรา้ ยใหใ้ ครซํ้า แมถ้ อ้ ยคํากไ็ ม่ให้ใครเคืองขนุ่ ๑๓๗ มแี ต่รกั เมตตาเกอื้ การุญ มแี ต่บญุ อ่นุ ใจเมือ่ ใกล้ชดิ ท่านเป็นหลกั เป็นชัยในเรอ่ื งธรรม เปน็ ผู้นาํ ธรรมทานเจือจานศิษย์ จะเหน่ือยยากเพียงใดไมเ่ คยคิด เป็นกัลยาณมติ รจิตเมตตา ห้าสิบปีเคียงคยู่ วุ พทุ ธฯ เปรยี บประดุจดวงมณีที่ลาํ้ คา่ เฉิดฉายพรายแสงแห่งปญั ญา นาํ พายวุ พทุ ธก้าวรดุ ไกล แปดสิบปที ่ีวยั ไมห่ วนกลบั ย่ิงนบั ย่ิงเห็นความย่งิ ใหญ่ บนเสน้ ทางยาวนานทผ่ี ่านวยั มอบชีวติ อทุ ิศให้ธรรมทาน ทา่ นสงู ค่าควรศษิ ย์น้อมจิตเทดิ ผเู้ ลอเลิศคุณธรรมนําสขุ ศานต์ ทองเนื้อแท้บริสุทธ์ดิ ุจอาจารย์ ศษิ ย์ขอจารจดไว้ในแผ่นดนิ ........................................ พระในบ้าน103 ขออนุโมทนาทา่ นวิทยากรท่ีมีความเสียสละ ท่ีมาประคับประคองลูกโยคีให้ก้าวจากท่ีมืดไปพบแสงสว่าง ก้าวจากที่มี ความทกุ ขไ์ ปพบท่ีเยือกเยน็ ท่านเจ้าภาพท่บี าํ รงุ อาหารมาตลอด ๗-๘ วัน ผู้ปฏิบัติธรรมถ้ายุ่งกับการทํามาหากินก็ไม่ได้ปฏิบัติ ธรรม เพราะฉะนั้น จึงเป็นผู้มีพระคุณอย่างย่ิงต่อผู้ปฏิบัติ ท่านเหล่านี้คือ คุณอาทร-คุณยุพยง ติตติรานนท์, คุณย่าสมหมาย พรรณรักษา, คณุ จักษณา เอี่ยมวสนั ต์ บริษทั ทนั ตสยามวสิ าหกิจ ผสู้ ละทรพั ย์เพื่อลูกโยคี เปน็ มหากศุ ลอยา่ งยิ่ง วันหนึ่ง เมื่อ ๒๕๔๓ ปีมาแล้ว วันน้ันเป็นวันวิสาขบูชา เจ้าชายสิทธัตถะบรรพชาแล้ว ๖ ปี บําเพ็ญเพียรมาถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๖ มาแสวงหาที่ปฏิบัติธรรม เพื่อให้ตรัสรู้ในวันน้ี ตอนเช้าประทับอยู่ใต้ต้นไม้ คนใช้ของลูกเศรษฐีออกมาดู ได้ บนไว้ท่ีต้นไม้ขอให้ประสบความสําเร็จในชีวิต จะมาแก้บนในวันวิสาขบูชา คนใช้มาปัดกวาดโคนต้นไม้ เห็นเจ้าชายประทับ สมาธิใต้ต้นไม้ บารมีเต็มเปี่ยม ผิวพรรณผ่องใส คนใช้ก็วิ่งไปบอกนายว่าเห็นเทวดานั่งใต้ต้นไม้ นางสุชาดาปรุงอาหารอย่างดี ช่ือข้าวมธุปายาสใส่ถาดทองมาน้อมถวาย พระองค์ก็ทรงรับ แล้วเสด็จไปใต้ต้นโพธ์ิเพ่ือเสวยพระกระยาหาร เสร็จแล้ว อธิษฐานเส่ียงทาย หากบรรลุเป็นพระสัมมาสัมโพธิญาณ ก็ขอให้ถาดลอยทวนนํ้าข้ึนไป ในท่ีสุดถาดก็จมไปถึงท่ีอยู่ของ พญานาค เปน็ อนั ว่าอาหารม้ือน้ันเปลี่ยนเจ้าชายให้กลายเป็นศาสดาเอกของโลก มื้อสําคัญที่สุดของพระพุทธเจ้า เหมือนพวก เราทกุ คนในท่นี ีร้ ับประทานอาหารของเจ้าภาพ ใครท่ีเป็นถาดเงินปฏิบัติไปจะเป็นถาดทองคํา เปล่ียนเป็นพระสัมมาสัมพุทธะ เหมือนตายแล้วเกิดใหม่ เปลี่ยนดวงวิญญาณจากวิญญาณแมลงวันเป็นแมลงผึ้ง ตอมแต่ดอกไม้หอม วันวิสาขบูชาเป็นวันท่ี เปล่ียนจากเจ้าชายเป็นพระสัมมาสัมพุทธะ เพราะฉะน้ัน ลูกทุกคนที่ปฏิบัติวิปัสสนา เป็นผู้มีบุญสูง มาบําเพ็ญเพียรใน ระยะเวลาสาํ คญั ที่สดุ ของโลกคอื วนั วิสาขบชู า วันนี้เป็นวนั ที่ ๔ ของการปฏบิ ตั ิ เพราะฉะนน้ั ลูกทกุ คนจะเปล่ียนชีวิตใหม่ จาก ถาดเงินเป็นถาดทองคํา เปลี่ยนจากพลอยเป็นเพชร วันท่ี ๖ ของการปฏิบัติจะมีเสียงแว่วบอกตัวเอง ไม่สูบบุหรี่มา ๖ วัน ทําไมจะกลับไปเป็นทาสอีก เปลี่ยนจากแมลงวันเป็นแมลงผึ้ง ลูกทุกคนท่ีไม่ดีจะเปล่ียนตัวเอง พัฒนาจิตให้เกิดปัญญาและ สนั ติสุขด้วยการบําเพ็ญสมาธิ ทาํ จติ ใจให้เป็นสมาธเิ ปน็ ปัจจุบนั มีมารยาท เปลย่ี นชีวติ ใหม่ เหมอื นตายแล้วเกิดใหม่ เปน็ สาระ อันประเสริฐ การพัฒนาจิตให้เกิดปัญญาและสันติสุขเหมือนการบ่มมะม่วง พอวันท่ี ๔ จะรู้ได้ทันทีว่ามะม่วงสุกเพราะกล่ิน หอม ใครอดทนมากก็หอม ใครทําคนน้นั ได้ เหมือนการทาํ นา อยู่ท่คี วามขยัน ทํามากก็ได้มาก ทําน้อยก็ได้น้อย การพัฒนาจิต 103 พ.อ. ทองคาํ ศรีโยธิน บรรยายเมอ่ื วันวิสาขบชู า ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๔๓ หลกั สตู รพัฒนาจติ ให้เกดิ ปัญญาและสันติสุข ๑๔- ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๔๓.
๑๓๘ ทาํ ใหม้ ะมว่ งเปลย่ี นสผี วิ จากเขียวเปน็ เหลอื ง เปล่ียนรสจากเปร้ียวเปน็ หวาน วันแรกทล่ี กู เขา้ มาลูกยงั ดบิ กิริยามารยาทยังแข็ง กระด้าง จิตใจก็ไม่เชื่อม่ัน วิทยากรแนะนําลูกให้ทําช้าๆ มีสติ ตอนน้ีจิตใจสงบกว่าวันแรก กริยาก็นุ่มนวล กราบก็สวย เสียงก็ นุ่ม เทวดาก็ช่ืนชมเลื่อมใส จิตใจของลูกก็เป็นมะม่วงที่สุก นุ่มนวล อ่อนโยน สุภาพ เป็นยอดคน เหมือนกับยอดไม้ ต้องอ่อน ยกตัวอย่าง คนท่ีคนรักกันทั้งเมืองขณะนี้คือสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ท่านทรงสุภาพนุ่มนวล คนรักทั้งเมือง ขณะนี้ลูก อ่อนโยนกว่าเดิม พัฒนาได้จริง ลูกปฏิบัติถึงวันน้ีลูกจะมีเมตตา รู้จักให้อภัย เปล่ียนจากเปร้ียวเป็นหวาน สมุห์บัญชีหญิงคน หน่งึ มารายงานว่าเธอเป็นคนไม่ยอมใคร ใครทําให้เจ็บใจต้องเอาคืน แต่ขณะนี้ใจเย็นลงแล้ว ให้อภัยได้แล้ว โยคีชายคนหนึ่งมี บัญชีแค้นในใจ ขณะน้ีได้ฉีกท้ิงแล้ว ให้อภัย แผ่เมตตาให้ จากวันแรกถึงวันที่ ๔ จะเปล่ียนไป ผิวพรรณผ่องใส ใจเย็น ใจเป็น นายกายเปน็ บา่ ว สงบ ใบหน้าสดใส จิตใจผ่องใส การพัฒนาจิตพิสูจน์ได้ท้ังหมด มะม่วงดิบไม่มีกล่ินหอม วันน้ีเร่ิมมีกลิ่นหอม ใจหอม ความจริงในตัวเราไม่มีอะไรหอม แต่จะหอมได้อย่างไร ดอกมะลิเป็นราชินีดอกไม้หอม หอมเย็นช่ืนใจ เขาจึงร้อยมา บูชาพระพุทธรูป ร้อยถวายในหลวง พระราชินี แก่นไม้ในป่า เช่น แก่นจันทน์ ยังหอมในตัว รากไม้ เช่น รากกฤษณา ก็หอม ธรรมชาติ เอามารวมใส่พานตั้ง ยังหอม แต่คนเราหอมย่ิงกว่าน้ัน หอมคุณธรรมความดีออกมาจากใจ วันท่ี ๓ ถึง ๔ มีใคร จิตใจหอมฟุ้งไปถึงพ่อแม่บ้าง คิดถึงพ่อแม่เป็นพิเศษ ระลึกถึงว่าทําอย่างไรจึงจะชวนท่านมาปฏิบัติได้ น้ีแหละกลิ่นหอมของ เรา “สะตัญจะคัณโฑ ปฏิวาตะเมติ” กลิ่นหอมของคนดีจะฟุ้งยิ่งกว่ามะลิ แก่นจันทน์ รากกฤษณา กล่ินหอมของคนดี ยอด กตัญญู หอมทั้งตามลมท้ังทวนลม หอมไกลได้เป็นพันกิโล ใครเป็นยอดกตัญญูดูกันท่ีหัวใจ ระลึกถึงผู้มีคุณ ตอบแทนผู้มีคุณ หอมฟุ้งมาจากใจ “คุณแม่หนาหนักเพ้ียงพสุธา” ทั้งหนาท้ังหนักยังกับแผ่นดิน ไม่มีแผ่นดินก็ไม่มีตึก แม่ใหญ่ขนาดนี้ ย่ิงใหญ่ ทีส่ ุด “อันมอื ไกวเปลไซรแ้ ตไ่ รมา คอื หัตถาครองพิภพจบสากล” มือไกวเปลเล็กๆ นี้คือมือครองโลก โลกก็คือลูกที่น่ังอยู่น้ี แม่ ปั้นมากบั มอื อาจารย์เป็นลกู กาํ พร้า พ่อตายตงั้ แต่ ๔ ขวบ แม่อาจารยม์ ีความทุกข์โศก กลบั ไปหาพ่อตัวท่บี ้าน พ่อ มภี รรยาใหม่ ไมแ่ สดงความเมตตา บังเอญิ ได้พบแม่ชี ทา่ นหนงึ่ อยทู่ ่ีเขาพระงาม จังหวัดลพบุรี ไดค้ ุยกับแม่ชี ในทีส่ ุดก็ตัดสินใจบวชเปน็ แม่ชี เพราะแมเ่ ป็นชีจึง กลายเปน็ แม่เหลก็ ดึงดูดอาจารย์ตามไป เอาพ่ีชายไป เป็นครูสอนที่โน่น แลว้ มารับอาจารย์ พอเรยี นจบ ประถมกอ็ ยากจะเรยี นมธั ยม ไมม่ สี ิทธิเรียน ไม่มีค่าเลา่ เรยี น แม่บอกวา่ ลกู เรยี นหนังสอื พระ เรยี นใหเ้ กง่ สัก อยา่ งแล้วจะเป็นท่ีพงึ่ ของชวี ิตได้ ก็เชอื่ แม่จงึ บวช และ เรยี นหนังสือ จนมคี วามรพู้ อสมควร จบออกมาจากพระ โรงเรยี นนายร้อย จ.ป.ร. รับใหเ้ ป็นอาจารยส์ อนศาสนาในโรงเรียน นายรอ้ ย ยศพันเอกพิเศษนเ้ี ปน็ ยศอาจารยส์ อนศาสนานักเรยี นนายร้อย ยงิ ปืนไมเ่ ปน็ เพราะแม่ จึงมสี ิทธิเปน็ อาจารย์ นกั เรียนนายรอ้ ย แมเ่ ป็นอาจารยค์ นแรก แม่เปน็ พระพรหมของลกู สอนเราทั้งรกั ทงั้ ทะนถุ นอม เปน็ อาจารยค์ นแรก อาจารย์ จําไดแ้ ม่พูดวา่ “ถดั จากหวั ใจแม่ คอื ลูก” ชท้ี ี่หัวใจ ลกู อยา่ เกเร เราลกู ไมม่ พี ่อ เพราะฉะนัน้ อาจารย์ทาํ บาปน้อยท่ีสุด เกเร นอ้ ยที่สุด เราไมม่ พี ่อ หมั่นศกึ ษาเล่าเรียน โตขนึ้ ไดเ้ ลยี้ งแม่ พอเปน็ อาจารย์นักเรียนนายรอ้ ยมีเงินเดือน มยี ศ ทแ่ี มส่ อนจรงิ หมด มีความรดู้ ี ความประพฤตดิ ีพอสมควร คนใหค้ วามยกย่องเพราะแม่ป้ัน ใครท่ีกาํ แหงกับแม่เลกิ กาํ แหง อยา่ นึกว่าตวั เก่ง เพราะแม่เปน็ พระอรหันตข์ องลกู ลกู กราบ ลูกบาํ รุงเลี้ยง ลกู จะทะนถุ นอม จะปฏิบตั ิดั่งพระอรหนั ต์ เพราะฉะนนั้ ลูกจึงมแี ต่ ความรงุ่ เรอื ง ลาภยศ สรรเสริญจะมาเป็นแถว ค้าขายเจรญิ ผูป้ น้ั เราคอื แม่ คนที่ ๒ คอื คณุ บิดรดจุ อากาศกวา้ ง คุณพ่อ เหมือนอากาศออกซิเจน โลกน้ีแผน่ ดนิ นี้ ถ้าไม่มอี อกซิเจนก็อย่ไู ม่ได้ ออกซิเจนทาํ ใหม้ ีชีวิต เพราะฉะน้ันอย่าทะเลาะกับพอ่ ไม่
๑๓๙ มีอากาศออกซิเจน ไมม่ ีตน้ ไม้ ไม่มีชีวติ ไมม่ ีเรา พอ่ มพี ระคุณยิง่ ใหญ่ บางคนทะเลาะกับพ่อเพราะพอ่ มีแม่ใหม่ปลอ่ ยใหเ้ ราอยู่ กบั แม่ พอ่ ทิ้งเรา เราก็เจ็บใจแทนแม่ ไม่นบั ถือท่าน มพี ระองคห์ นึ่งเรยี นหนงั สอื พระจนได้เป็นเปรยี ญ ๙ ประโยค วันนนั้ ไปรบั พัด ขณะทรี่ อกไ็ ปน่งั อยูใ่ ตต้ ้นไม้ มีผลไม้หล่นมาตรงหนา้ เกดิ แวบข้ึนมา ผลไม้นม้ี แี ม่เป็นต้นไม้จึงเกดิ เปน็ ผลข้ึนมา และเรามา จากไหน ต้นของเรากต็ อ้ งเท่ากบั แมช่ ซี ิ แวบข้ึนมา ถา้ ไมม่ ีพอ่ เรากไ็ มไ่ ดเ้ รยี นสาํ เรจ็ มาถึงวันน้ี ทา่ นตอ้ งแยกไปเพราะกฎแห่ง กรรมทาํ ใหแ้ ยกกันได้ กฎแหง่ กรรมทาํ ใหแ้ ตง่ งานกัน เพราะฉะน้นั พระคณุ เอาไวต้ า่ งหาก เราเปน็ หนใ้ี ครเราต้องจดั การใชห้ นี้ ไม่ใชห้ นี้ไมใ่ ช่คนดี คนดที ี่โลกตอ้ งการคือยอดกตญั ญู เพราะฉะนน้ั คนทสี่ ร้างความสะเทือนใจให้กบั พ่อแม่ ตอ้ งล้างใจวันน้ี ตอบแทนบุญคณุ ทา่ นตามเหมาะตามควร พระคุณยง่ิ ใหญค่ ือทา่ นเล้ียงเรามา รกั เราจรงิ ไมม่ ีใครรกั เราเท่ากับแม่กบั พ่อ “อนั ชนกชนนนี รี้ กั เจา้ เทียบเท่าชีวากว็ า่ ได้” พอ่ แม่รกั ลกู เทา่ ชวี ิต ตอนอาจารย์เป็นพันตรี ไปสอนทโี่ คราช เขามีรถจิ๊บจัดให้ อาจารยส์ ่งั คนขบั รถออกนอกเทศบาลไปอําเภอปักธงชัย ๔ โมงเย็น คนเอาวัวมาเล้ียงใกล้ถนน รถว่ิงไปพอดีกับวัวข้ามถนน รถผ่านไปไม่ได้ มีแม่วัวตัวหน่ึงไม่ยอมเดิน พอเข้าไปใกล้เห็น ลูกวัวยืนพิงขาแม่อยู่ มันคลอดลูกตอนกินหญ้า แม่วัวหันมาค้อนอาจารย์ตาโตๆ นาทีน้ันอาจารย์สะเทือนใจ พ่อแม่รักลูกเท่า ชีวิต ตอนนี้เห็นจริง แม่วัวรักลูกกว่าชีวิต แม่อาจารย์รักอาจารย์ย่ิงกว่าชีวิต พอรถจอดสนิทแล้ว แม่มันชวนลูกค่อยๆ เดิน ท่ี มันไม่กระโดด เพราะมันรู้ว่าลูกกระโดดตามไม่ได้ รถต้องทับตายแน่ แม่รักลูกย่ิงชีวิต วัวตัวนี้สละชีวิตช่วยลูก ลูกวัวตัวน้ีตอบ แทนแม่อย่างไร ลูกวัวเป็นสัตว์เดรัจฉาน ใจถึงธรรมะได้น้อยมาก ลูกวัวไม่ตอบแทนบุญคุณ ลูกวัวสู้ลูกคนไม่ได้ แต่ไม่แน่ รับรองว่าวัวจะไม่เถยี งแม่ ไมท่ ําให้แมน่ ํ้าตาไหล แตล่ ูกคนทําให้แม่รอ้ งไห้กี่คร้ัง กําแหงว่าตวั ใหญ่ เถียงแม่ ตวาดแม่ แสดงว่าสู้ ลูกววั ไม่ได้ คนอกตัญญูสู้ลูกวัวไม่ได้ วันน้ีลูกจิตใจแจ่มใส รู้สํานึก น้ีแหละปัญญาเกิดแล้ว พัฒนาจิตให้เกิดปัญญาและสันติสุข นํ้าตาซึม เห็นข้อบกพร่องตัวเอง เห็นความผิดของตัว คนกําลังเป็นบัณฑิต ปัญญาเกิด จะเปล่ียนแปลงตัวเอง เพราะฉะนั้นไม่ ต้องเสียดาย คนกําลังรับปริญญาจากพระพุทธเจ้า นํ้าตาจะซึม เป็นนํ้าตาของปัญญา เป็นบัณฑิตเปล่ียนแปลงได้จากการ ปฏิบัติน้ียอด ผู้จัดการธนาคารปฏิบัติธรรมแล้วมาบอกว่า เต่ียอยู่กับผม ผมก็ภูมิใจว่าผมเป็นคนกตัญญู แต่ปฏิบัติธรรมแล้ว รู้ตัว ตกลงผมยังใชไ้ ม่ได้ เลยี้ งเตี่ยกไ็ ดบ้ ญุ ตอบแทนค่าอาหาร แต่ยงั เลวอยู่ เต่ยี ผมแก่ ตอนเช้าผมจะกินข้าว กินขนมปัง กาแฟ กับลูกกับเมีย ส่วนเตี่ยให้คนใช้ดูแล ผมไม่ดูแล แต่งตัวเสร็จผมก็เดินผ่าน เตี่ยก็นั่งเงียบๆ เหงาๆ คนเดียว ผมก็เดินผ่านไป ทํางาน ตอนเย็นกลับมาก็เดินผ่านเต่ียไปคุยกับเมียกับลูก แล้วก็ไปเล่นกับไอ้ด่าง ตกลงผมมีเวลาให้ไอ้ด่าง แต่ไม่มีเวลาให้เต่ีย ผมเลวมาก ผ้จู ัดการธนาคารมคี วามรู้สูง ได้ปริญญาแต่ไม่ส่องกระจกดูเงาตัวเอง ไอ้ด่างมีอะไรก็เล่นด้วยพูดด้วย กับเตี่ยไม่พูด สักคํา ผมมาประชุมท่ีกรุงเทพฯ โทรศัพท์กลับบ้าน เตี่ยเป็นคนรับสาย ผมก็ขอพูดกับติ๋ม ไม่พูดกับเต่ีย นํ้าใจแห้งขนาดน้ี ไม่รู้ บุญคุณ ไม่ตอบแทนบุญคุณ ผมเลวมาก ต้องเปล่ียนแปลงตัวเองใหม่ ต้องมีเวลาให้เตี่ย นางพยาบาลก็ยังดูคนไข้อย่าง ประคบั ประคอง นเี่ ตีย่ เป็นพระอรหนั ต์ ไม่ดแู ล ลกู ทกุ คนเอาไปคดิ พ่อแม่เปน็ อาจารย์คนแรกท่ีสอนลกู ลูกอย่างนั้นลูกอย่างนี้ เราโตขึ้นแล้วกําแหง ไม่ต้องโตมาก ขนาดเรียนมัธยม แม่สอนอย่างนั้นอย่างน้ี รําคาญจะตาย ไม่ต้องพูดมาก เบ่ือ บางทีก็ กระทืบเทา้ แทนที่จะขอบคณุ สง่ ไปเรยี นหนงั สือกล็ มื ตัวว่าฉันเรียนมัธยมแม่เรียนประถม ๔ แม่สอนเพราะลูก เป็นลูกของแม่ จงึ สอน ไมใ่ ช่ลกู แม่ แม่ไมส่ อน มคี วามรกั ยงั ไมส่ ะเทอื น ทุม่ เทเวลาทั้งหมดให้เพื่อน มีอะไรก็เพื่อน เอาเวลาให้เพ่ือน ไม่มีเวลา ใหแ้ มใ่ ห้พ่อ ลกู ทุกคนไปพจิ ารณาตัดสินตวั เอง ตอนนล้ี กู เห็นตัวเองยืนอย่หู นา้ กระจกบานใหญ่ ลูกเห็นดินหม้อเปื้อนหน้า ต้อง มีใครบอกไหม ลูกเห็นก็เข้าห้องน้ําล้างเอง เห็นความผิดของตัวเอง ปัญญาเกิดจากการภาวนา แม่บางคนมากราบขอบคุณ อาจารย์ ส่งลูกมาปฏิบัติ บอกว่าดิฉันได้ลูกคนใหม่ เปล่ียนเป็นคนละคน เปล่ียนจากตะก่ัวเป็นเงิน เปล่ียนจากเงินเป็นทองคํา พระพทุ ธเจ้าเปลี่ยนเขาแลว้ เห็นหรอื ยัง มะม่วงหอม คราวนี้ ไปดูฝ่ายอกตัญญู หมดความเจริญ ชีวิตล้มลุกคลุกคลาน ไม่เห็นพระคุณของพ่อแม่ ตรงกันข้ามกับฝ่ายมี คุณธรรม อีกรายเป็นนักธุรกิจ กู้เงินมาต้ังโรงงานขายไฟฟ้า ขายดิบขายดี วันหน่ึงไล่เต่ียอายุ ๗๐ ปีออกจากบ้าน หอบผ้าไป ขออาศัยคนรู้จักอยู่ ซํ้าใจ ไม่นานก็ตาย ทําบุญกับพระอรหันต์ชีวิตเจริญ ทําบาปกับพระอรหันต์ตกนรกหมกไหม้ ย่อยยับ
๑๔๐ ภายใน ๑ ปี ตอนน้ันเงินบาทลอยตัว ยุคพลเอกเปรม บริษัทถูกยึด หมดตัว บาปท่ีทํากับผู้มีพระคุณโดยเฉพาะกับพ่อแม่ นอกจากโรงงานถูกยดึ ตัวเองยงั เปน็ อมั พฤกษ์ซีกซ้าย พูดเสียงก็แหบๆ แต่ก่อนเคยเสียงดัง ในท่ีสุดยิงตัวตาย เพราะฉะน้ันลูก ทุกคนจัดการกบั ตัวเองใหเ้ หมาะให้ควร คราวน้มี าดูคนหอมย่งิ กวา่ ดอกมะลิ นักเรียนนายร้อย จ.ป.ร. ชัน้ ปีท่ี ๑ จะคดั เลือกคนที่นิสัยดี วินัยดี ขยันเรียนดี ผล การเรียนดี จะส่งคนยอดดีไปเรียนโรงเรียนนายร้อยฝร่ังเศส ไปเรียนแข่งกับนักเรียนฝรั่งเศส ฟังรู้บ้างไม่รู้บ้างไม่ได้ ต้องขยัน วันเสาร์อาทิตย์ไม่ได้หยุด ไม่ได้เท่ียว ต้องปรับตัว ต้องขยัน จะกินข้าวต้องไปท่ีโรงเลี้ยง มีแต่อาหารฝรั่ง อยากกินอาหารไทย ก็ไปที่บ้านท่านทูตทหาร ไปช่วยล้างชาม ขูดมะพร้าว พออาหารเสร็จก็กินร่วมกัน เป็นเด็กขยัน ช่วยงานทุกอย่าง พอครบ ๒ ปี ท่านทูตจะกลับกรุงเทพฯ นักเรียนนายร้อยคนนี้ก็ไปหาท่านทูตขอฝากเงินที่เก็บไว้ ๔-๕ พันบาท มาให้พ่อ พ่อเป็นคนขาย ถ่านในคลอง เช่าเรือไปขายถา่ นไดเ้ งินมาเลีย้ งแมก่ บั น้อง “ผมขอส่งเงนิ ให้พอ่ เพือ่ ซือ้ เรือขายถ่านจะได้ไม่ต้องไปเช่าเรือ จะได้ มีเงินเหลือเก็บ” ท่านทูตได้ฟังก็ตะลึง ไม่นึกว่าจะเป็นยอดกตัญญูขนาดนี้ ไม่ต้องรอให้สําเร็จแล้วค่อยมาตอบแทนบุญคุณ หอมยง่ิ กวา่ มะลิ พอสําเรจ็ กลบั มารับราชการเจริญร่งุ เรอื ง ไดเ้ ลอ่ื นยศข้ึนไป ขณะน้เี ปน็ พลเอก เป็นอันว่าถ้าการกตัญญูชีวิตราบร่ืนรุ่งเรือง ถ้าอกตัญญูเนรคุณ เหมือนตาลยอดด้วน หนอนเจาะยืนตาย ต่อให้เป็น รฐั มนตรกี ็ยืนตาย จะพาไปพบยอดกตญั ญอู กี คนหนึง่ เพื่อให้ลกู ประทับใจ ในหวั ใจของพ่อแม่มีแต่เสียสละให้ลูกมากมาย ชีวิต กไ็ มเ่ สียดาย ทรัพยส์ มบัตกิ ็ไมเ่ สียดาย มอี าจารยใ์ หญโ่ รงเรียนอนุบาลคนหน่ึง มีคนรักกันทั้งตลาด เพราะเป็นคนใจบุญ เล่าให้ ฟังว่า ตอนดิฉันเป็นนักเรียน ดิฉันจน พอโรงเรียนจะเก็บค่าเทอมก็ไปหาแม่ แม่ถอดสร้อยจากคอออกให้เขาไปตัดขายเท่ากับ ค่าเทอม สละได้ ทาํ เพ่ือลกู ได้ พอ่ แมย่ ิ่งใหญ่ทีส่ ุด ลกู ทีต่ อบแทนก็มี ไม่ตอบแทนก็มี อยู่ท่ีจิตใจใครได้สัมผัสธรรมะมากกว่ากัน ที่บ้านพกั คนชราบางแค มคี นแกท่ ีม่ ีลูกท้ังนั้น แต่ลูกไม่ดูแล มีบ้างพอถึงวันสงกรานต์ก็ซื้อขนม ข้าวของมาให้ พาลูกพาเมียมา เยี่ยม ๓๖๕ วนั ในหนึง่ ปมี าหาสกั คร้งั ก็ชนื่ ใจ จติ ใจแจม่ ใส และในจํานวนลกู ทไี่ ม่มา แมก่ ็นั่งแหง้ เหีย่ ว เพราะฉะนั้น ความหวังของพ่อแม่ มี ๓ ความหวัง “ยามแก่เฒ่าหวังเจ้าเฝ้ารับใช้” ตอนยังไม่แก่ทําขนมขายส่งลูก เรียน ตวั เองเหนือ่ ยไมว่ า่ พอแก่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ก็หวังพ่ึงลูก “ยามเจ็บไข้หวังเจ้าเฝ้ารักษา” แก่แล้วมือเท้าทํางานไม่ได้ หวังให้ลูกช่วยประคอง เหมือนนํ้าในลําธาร มีน้ําในลําธารท่ีไหนไหลขึ้นที่สูงบ้าง จิตใจคนท่ีไม่ปฏิบัติธรรม ไม่ซ้ึงในความ กตญั ญๆู จะไหลไปหมด จะไหลกลบั ไปหาพอ่ แมน่ น้ั ยาก มีคณุ นา้ คนหน่ึงเล่าให้ฟังว่าลูกดิฉันแต่งงานออกไป ดิฉันแบ่งท่ีดินให้ ปลูกบา้ น นานๆ จะไปอยดู่ ้วย วนั หนงึ่ ดฉิ นั ไปค้างทบี่ า้ นลกู สาว กําลงั ทานข้าว ลูกสาวเรามอี ะไรอรอ่ ยก็ตักให้สามี แม่ไม่ตักให้ แปลว่ากระแสนํ้าไหลไปหาแฟนหาลูกหมด ไม่ได้ไหลมาหาแม่ ส่วนมรดกลูกสาวบอกว่าถ้าแบ่งมรดกเขาจะต้องได้เท่ากับคน อื่น แตม่ ีอะไรอร่อยกต็ ักใหผ้ วั หมด จะตักใหท้ ้ัง ๒ คน กจ็ ะได้บุญเท่ากนั ส่วนคนทีม่ ีคณุ ธรรมพิเศษ สง่ ไปเล้ียงต้นลาํ ธารได้ นาํ้ ไหลลงต่ําก็สร้างเครื่องสูบน้ํา มีสายยางต่อ เลี้ยงต้นลําธารได้ เพราะฉะน้ัน ขณะน้ีลูกมีเครื่องสูบส่งไปต้นลําธารได้ ร้อยคนจะ มสี ักกคี่ นทที่ าํ ได้ การปฏบิ ตั ธิ รรมน้ียอดทีท่ ําให้เราเห็น ยามแก่เฒ่าหวังเจ้าเฝ้ารับใช้ ใครเป็นมือเป็นเท้าให้พ่อแม่ ได้ปฏิบัติรับ ใช้จนพอ่ แม่สิ้นลมในอ้อมแขนถอื วา่ ยอด ในหลวงของเราเป็นยอดสุด ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ท่ีทรงคุณธรรมสูงย่ิงกว่าฟ้า ใหญ่ยิ่งกว่าพสุธา ลึกยิ่งกว่า มหาสมุทร เย็นยิ่งกว่านํ้าในคงคา ในหลวงองค์น้ียอดกตัญญู เราเกิดมาได้พบผู้มีบุญ ยอดกตัญญูเป็นสิริมงคลกับชีวิต ทรงรับ ใช้ประเทศชาติ “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม” ตลอดกว่า ๕๐ ปี ทรงช่วยเหลือ ประชาชน ทั้งภาคเหนือ, กลาง, อีสาน, ใต้ ทรงสร้างอ่างเก็บนํ้ามากมาย ทรงส่งเสริมอาชีพ ขณะน้ีโลกได้ตัดสินให้ว่ากษัตริย์ ไทยยอดท่ีสุด มคี ณุ ธรรม ช่วยเหลอื ประชาชน เสยี สละ “ยามแกเ่ ฒา่ หวังเจา้ เฝา้ รับใช้” ทุกคนคงเห็นภาพในหลวงทรงประคองสมเด็จย่า เสด็จพระราชดาํ เนินทา่ มกลางคน เฝ้าจํานวนมาก เป็นภาพที่ประทับใจคนท้ังประเทศ อาจารย์ทราบจากเลขานุการของสมเด็จย่า ท่านเล่าว่าประมาณ ๑ ปี ก่อนสมเด็จย่าจะสิ้นพระชนม์ ในหลวงทรงตระหนักว่า สมเด็จย่าทรงมีพระชนมายุ ๙๔ แล้ว ต้องรีบใช้หนี้ ตอนเย็นในหลวง
๑๔๑ เสด็จวังสระปทมุ ไปเสวยพระกระยาหารกับสมเดจ็ ย่า สปั ดาห์หนึ่ง ๕ วัน ทรงตักอาหารอร่อยถวายสมเด็จย่า ทรงช้ีชวนอันน้ี อร่อย อันน้ันอย่างน้ันอันนี้อย่างน้ี ทรงป้อนพระราชชนนีของท่านเหมือนกับแม่ป้อนเราตอนเด็กๆ อีกอย่างขณะท่ีเสวย ใน หลวงทรงรับสง่ั ถามสมเด็จย่าว่า ตอนในหลวงทรงพระเยาว์ สมเด็จย่าเคยทรงสอนอะไรท่ีสําคัญบ้าง ทรงยากฟัง ซ่ึงสมเด็จย่า ก็จะทรงเล่าให้ฟัง “ยามเจ็บไข้ หวังเจ้าเฝ้ารักษา” เม่ือสมเด็จย่าทรงพระประชวร เข้าโรงพยาบาลศิริราช ในหลวงเสด็จไป เย่ียมทุกคืน ประมาณตี ๒ ถึง ๔ เวลาในหลวงกับสมเด็จย่าบังเอิญประชวรพร้อมๆ กัน อยู่โรงพยาบาลเดียวกัน สมเด็จย่า ประทับซีกหนึ่ง ในหลวงประทับอีกซีกหน่ึง วันหนึ่งในหลวงเสด็จออกมานอกห้อง ทอดพระเนตรเห็นพยาบาลเข็นรถสมเด็จ ย่าผ่าน ในหลวงเสดจ็ ตรงมาทีร่ ถสมเดจ็ ย่าแล้วทรงเข็นรถแทนพยาบาล สมเดจ็ ยา่ กท็ รงกอดในหลวง “ยามใกล้จะตายวายชีวา หวังลูกช่วยปิดตาเมื่อสิ้นใจ” ขณะที่สมเด็จย่าจะสิ้นพระชนม์ ในหลวงไม่ได้ประทับใกล้ พอทรงทราบก็รีบเสด็จไปยังห้องสมเด็จย่าซ่ึงนอนสิ้นพระชนม์แล้ว ในหลงทรงเข้าไปคุกเข่ากราบลงที่พระอุระของสมเด็จย่า พระพักตร์ในหลวงทรงซบลงกบั หวั ใจของแม่ ทรงระลกึ ถึงความเสยี สละของแม่ นา้ํ ตาหล่งั ออกมา เปน็ ภาพประทับใจย่ิง หอม หัวใจของคุณแม่ หัวใจใครก็หอมสู้หัวใจของคุณพ่อคุณแม่ไม่ได้ ในหลวงทรงหวีพระเกศาให้สมเด็จย่าด้วย หวีให้สวยที่สุดใน โลก ไม่รังเกียจ ไม่กลัว แต่งตัวให้แม่ อาจารย์ได้อ่านหนังสือเก่ียวกับสมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพซึ่งเป็นพระราชโอรส รัชกาลที่ ๔ ตอนพระชนมายุได้ ๗ พรรษา รัชกาลที่ ๔ สวรรคต เจ้าจอมมารดาชุ่มต้องออกจากหวัง สมเด็จกรมพระยาดํารง ราชานภุ าพทรงอยู่กบั แม่ เปน็ ลูกยอดกตัญญู เรยี นหนังสือเก่ง ในหลวงรัชกาลท่ี ๕ ทรงต้ังให้เป็นเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ดํารงตําแหน่งอยู่ ๒๐ ปี กรมพระยาดํารงฯ เสวยเช้าแล้ว พอรถประจําตําแหน่งมารับก็เดินทางไปหาแม่ที่เรือนอีกหลัง ขึ้นไป กราบก่อนไปทํางาน ถ้าแม่น่ังที่เก้าอี้ ก็กราบที่เท้า หน้าผากติดหลังเท้าเป็นศิริมงคลแก่ชีวิต หากแม่น่ังพับเพียบก็กราบที่ตัก เพราะเท้าซ้อนที่ตัก ก่อนนอน ๓ ทุ่มก็ลงจากวังมากราบแม่แล้วค่อยไปนอน เราทําสู้ท่านไม่ได้ กลับไปต้องไปกราบเท้าใช้หนี้ เคารพผู้มีพระคุณต้องส่ิงสูงสุดไปสัมผัสกับสิ่งท่ีต่ําสุดของผู้มีพระคุณ คือหน้าผากกับเท้าของผู้มีพระคุณ ใครทําได้เป็นสิริ มงคลชีวติ ก่อนนอนกก็ ราบ หาคนเทียบไม่ได้อีกแลว้ อาจารยเ์ วลาเงนิ เดือนออกก็เอาเงินเดือนไปให้แม่ท่ีวัด เพราะแม่เป็นแม่ ชี ชวนลูกกับเมียไปด้วย ตื่นเช้าเดินผ่านห้องก็เอาหม้อปัสสาวะมาเท ขณะที่เดินลงบันไดรู้สึกตัวเองเบา ภูมิใจว่าเราเป็นลูก กตญั ญู ปกติสวดมนตจ์ ะกราบ ๕ ครงั้ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ มารดาบิดา ครูบาอาจารย์ กราบผู้ท่คี วรกราบควรเคารพ ควรบูชา วันหน่ึงแม่มาพักด้วย ก็สวดมนต์ก่อนนอน พอกราบคร้ังที่ ๔ หมอนมันหัวเราะ แม่มาอยู่ด้วยทําไมไม่ไปกราบที่ตัก เอง ก็ผลัดกับหมอนเอาไว้พรุ่งน้ีแล้วกัน พอถึงพรุ่งน้ีก่อนนอนก็ไปคุยกับแม่เร่ืองธรรมะ พอได้เวลาพักผ่อนอาจารย์ก็ยกมือ เตรยี มจะกราบ มนั รูส้ ึกจั๊กกะเดยี มมือ ตกลงวนั นั้นกราบไม่สําเร็จ “ทําดีเหมือนเขน็ ครกข้นึ ภูเขา” เพราะฉะนน้ั พรุ่งน้ีต้องเอา ใหม่ทําอย่างไรถึงจะกราบแม่ได้ อาจารย์มีลูกสาว กําลังเรียนอยู่อนุบาลก็บอกกับลูกว่าถ้าอยากเรียนเก่งให้ไปนวดคุณย่า พอ ได้เวลานานพอสมควรก็บอกลูกสาวให้มากราบคุณย่าพร้อมกัน คุณย่าก็ยิ้มแก้มปริ สวยท่ีสุด คงให้คะแนนสมกับเป็น อนุศาสนาจารย์สอนคนท่ัวไป แต่ทไี่ หนได้ต้องอาศัยบารมีลูกกราบแม่แกเ้ ขนิ ประเด็นสุดท้าย ขอเล่าเรื่องอาจารย์ของอาจารย์ ขณะน้ีท่านเสียแล้ว แม่ของท่านตาบอดทั้ง ๒ ข้าง ผู้มีพระคุณต้อง เปน็ พระประธานของบา้ น ต้องใหแ้ มอ่ ยู่ที่สง่า ไม่มที า่ นไมม่ เี รา เพราะมีท่านจึงมีวันนี้ ท่านอาจารย์บอกว่าท่านให้เงินเดือนแม่ เดือนละ ๓๐๐ บาท วันน้ีท่านกําลังคิดจะตัดรายจ่ายภายในบ้าน อาจารย์บอกให้ตัดเงินท่ีให้แม่ได้ไหม ท่านบอกว่า ปีหนึ่ง เสื้อผ้า ๓ ชุดให้ร่างกาย อาหารให้ทาน เงิน ๓๐๐ บาท เพ่ือเล้ียงหัวใจแม่ เคยไหมที่เราไม่มีเงินในกระเป๋า หัวใจเราเหี่ยวเฉา เหมือนดอกไมเ้ หยี่ ว ตอนไหนเงินเดอื นออกหัวใจบาน วนั ไหนเงนิ เดือนออกก็คลานเขา้ ไปหาคุณแมเ่ อาเงินไปให้ คณุ แมก่ ใ็ ห้ศีล ให้พรเอาเก็บไว้ใต้หมอน เมื่อตอนท่ีหลานชายเกิดก็รับขวัญด้วยสร้อยทอง เวลามีคนมาเรี่ยไรบอกบุญให้สร้างโบสถ์ ที่ นครนายก คุณแม่ก็ทําบุญด้วยเงินท่ีเราให้ ทําให้แม่ได้ทําบุญไต่บันใดข้ึนสวรรค์ เพราะฉะนั้นใครเงินเดือนข้ึนก็ข้ึนให้แม่ด้วย หลังๆ ท่านไม่ค่อยกล้าไปต่างจังหวัดเพราะแม่แก่มาก ตอนกลางคืนต้องลงมาดูประมาณตี ๒ ชงโอวัลตินให้ด่ืม ตอนนี้โยคีมี จิตที่เอิบอ่ิมประทับใจในพระคุณแม่ หลวงพ่อวัดอัมพวันข้ึนเทศน์ให้ทุกคนฟังว่า “วันเกิดของเราคือวันตายของแม่” ให้จําไว้
๑๔๒ ทุกคน พอวันเกิดของเราก็ซ้ือขนม, พวงมาลัยไปกราบแม่ ถ้าเก่งจริงต้องล้างเท้าให้ด้วย คนน้ันจึงเจริญรุ่งเรือง เพราะฉะน้ัน โอกาสน้ีลูกน่ังสมาธิกําหนดปวดหนอๆ ให้คิดว่าแม่คลอดเราเจ็บกว่านี้ ปวดกว่าน้ี วันน้ีเราจะบูชาพระคุณแม่ ของดีอยู่เลย ตายไปนิดเดียว ขอให้ลูกก้าวหน้าในการปฏิบัติธรรมสูงยิ่งๆ ขึ้นไป ประสบความสําเร็จ รู้คุณธรรม เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ตัวเอง ปรารถนาส่ิงใดจงสมประสงคท์ ุกประการ สามารถรับชมการบรรยายธรรมของท่านอาจารย์ได้ที่ QR.code ....................................
๑๔๓ อาจริยพจน์ พนั เอก บวั ทอง ประสานเนตร “ความคดิ เหน็ บางอยา่ ง” .............................. ผมได้ทราบว่ากองอนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบก จะสถาปนากิจการวิปัสสนากรรมฐานตาม หลักสติปัฏฐานในหลักการทางพระพุทธศาสนา ผมรู้สึกดีใจพอใจเป็นอย่างมาก และขอสรรเสริญความคิด ในทางสร้างสรรค์ทเ่ี ป็นประโยชนแ์ กก่ จิ การอนศุ าสนาจารยอ์ ยา่ งแท้จรงิ กจิ การอนุศาสนาจารย์จะเจริญไปไม่ได้ หากจะมัวแต่ปฏิบัติตามประเพณีการปฏิบัติต่าง ๆ ตามท่ีเคยปฏิบัติมา พวกเราคงจะเคยเห็นและชินกับการ ปฏิบัติเดิมๆ เช่นการอบรมศีลธรรมแก่กําลังพลของหน่วยเดือนละ ๑-๒ คร้ัง ตามจํานวนหน่วยท่ีอยู่ในความ รับผิดชอบของตน โดยอบรมไปแล้วก็อย่างน้ันๆ ไม่เห็นมีการเปล่ียนแปลงใดๆ ภายในหน่วย เคยทําความผิด ใดๆ ก็ทําความผิดน้ันๆ ซ้ําๆ ซากๆ ธรรมะที่ใช้สอนอบรมก็เป็นหัวข้อเดิมๆ ซํ้าซากตามแต่อนุศาสนาจารย์น้ัน จะนํามาสอน เพราะอนุศาสนาจารยป์ ระจําหน่วยจะมีเพียง ๑-๒ คนเท่านั้น แต่ละคนก็ต้องประจําหน่วยน้ันคน ละหลายปี แม้จะนิมนต์พระสงฆ์หรือเชิญบุคคลผู้ทรงคุณวุฒิมาอบรมแทนตนบ้างเป็นบางคร้ัง ก็สักแต่เพียงรับ ฟังเป็นพิธีเพียงเท่าน้ัน ไม่เห็นมีผลอะไรเท่าท่ีควร แต่หากแต่จะจัดหาวิธีการใหม่ๆ โดยใช้การอบรมตามแนว วิปัสสนากรรมฐาน อย่างที่เราคิดกันอยู่ คิดว่าผลคงจะเปล่ียนแปลงไปบ้าง แต่เราอย่าไปเล็งผลเลิศในการบรรลุ มรรคผลนิพานใดๆ ทั้งส้ิน เอาแต่เพียงสร้างให้คนเป็นคนดี อยู่ในศีลในธรรมก็เพียงพอ นอกจากน้ันเราอย่าลืม เยาวชนและบุคคลภายนอกด้วย อย่างหวังแต่เพียงเอาเฉพาะกําลังพลที่เป็นทหารเท่าน้ัน ในระยะปิดเทอมเรา ต้องสร้างหลักสูตรสั้นๆ สําหรับเยาวชนและครอบครัวทหารและประชาชนทั่วไป เราอย่าลืมนิมนต์พระสงฆ์ที่ ชํานาญในทางเจริญวิปัสสนากรรมฐานมาบรรยาย เพื่อดึงดูดบุคคลให้มาฟัง หรือมิฉะน้ันก็อาจจะส่ง อนุศาสนาจารย์ที่มีจริตนิสัย ไปอบรมกรรมฐานในสํานักที่มีช่ือเสียงและเป็นที่นับถือของประชาชนท่ัวไปเป็น รุ่นๆ แล้วกลับมาช่วยกันเป็นอาจารย์สอน คงจะได้ผลบ้างไม่มากก็น้อย สมัยนี้ประชาชนสนใจในการเจริญ วิปัสสนากรรมฐานมาก ผมเห็นสมัยหน่ึงเมื่อคร้ังหลวงพ่อพิมลธรรม (อาจ อาสภมหาเถร) เจ้าอาวาสวัด มหาธาตุ ได้จัดต้ังกองการวิปัสสนาข้ึนในวัดมหาธาตุโดยใช้โบสถ์และวิหารเป็นสถานที่อบรม และจัดบริเวณ วิหารคตสําหรับพระภิกษุและสามเณร โดยมีท่านเจ้าคุณโชดก ญาณสิทธิ เป็นอาจารย์สอน ปรากฏมีประชาชน ไปปฏิบัติธรรมเป็นจํานวนมาก วันเสาร์-อาทิตย์และวันนักขัตฤกษ์ ภายในวัดมหาธาตุ แทบหาที่เดินไม่ได้ คน แน่นไปหมด แต่ต่อมาคนท่ีมาปฏิบัติก็น้อยลงกว่าสมัยท่ีท่านเจ้าคุณโชดก ญาณสิทธิ เป็นพระอาจารย์สอน
๑๔๔ อนึง่ กิจการอนุศาสนาจารยก์ องทัพบกไม่ใช่จะยุติเพียงแค่นี้ เราจะต้องจัดตั้งเป็น “เหล่า” ของตนเองให้ ได้ จะชื่อว่า “เหล่าอนุศาสนาจารย์” หรืออื่นใดก็ได้ เราจะได้บริหารกิจการของเราด้วยตนเอง และทําเป็น นโยบายของเราโดยอิสระ ไม่ต้องไปพ่ึงกรมสารบรรณทหารบกเป็นเหล่าอย่างเดี๋ยวน้ี คร้ังหน่ึงผมจําได้ว่าขณะ ผมมียศเป็น พันโท ผมได้ถูกส่งไปเรียนหลักสูตรนายทหารสารบรรณ/สัสดี ช้ันนายพันร่วมกับนายทหารเหล่า สารบรรณของหนว่ ยต่าง ๆ รู้สึกวา่ จะเปน็ รุ่นท่ี ๒๑ ผมไดร้ ับเลอื กใหเ้ ป็นหวั หน้านายทหารนักเรียนในรุ่นนน้ั ดว้ ย ผมได้ปกครองนายทหารน้ันมาได้โดยเรียบร้อย ขณะท่ีผมศึกษาผมมองไม่เห็นเนื้อหาในหลักสูตรจะเก้ือกูลต่อ กจิ การอนศุ าสนาจารยเ์ ลย เมื่อผมเรียนจบหลักสูตรกลับมารบั ราชการตอ่ ที่กองอนุศาสนาจารย์ ผมได้รับแต่งตั้ง ให้เป็นหัวหน้าแผนกวิชาการ ผมจึงได้คิดจัดต้ังหลักสูตรนายทหารอนุศาสนาจารย์ขึ้น โดยจัดเป็น ๒ หลักสูตร คือหลักสูตรนายทหารอนุศาสนาจารย์ช้ันต้น (เทียบเท่าชั้นนายร้อย) และหลักสูตรอนุศาสนาจารย์ช้ันสูง (เทียบเท่าชั้นนายพัน) ทั้ง ๒ หลักสูตร ผมคิด เขียน และพิมพ์ดีดด้วยตนเองท้ังสิ้น ได้ขออนุมัติจัดตั้งหลักสูตร จากกองทัพบกเป็นหลักสูตรหลักตามแนวทางรับราชการ ได้รับการอนุมัติหลักสูตรเรียบร้อย จึงได้ใช้เป็น หลักสูตรในสายวทิ ยาการอนุศาสนาจารยจ์ วบปัจจุบนั นี้ ท้งั น้ีไดอ้ าศัยใบบุญจากกรมสารบรรณทหารบกที่กรุณา ให้เข้าศึกษาในโรงเรียนสารบรรณทหารบกเพียงปีละ ๑-๒ คนเท่านั้น ซ่ึงกว่าที่นายทหารอนุศาสนาจารย์จะได้ เรียนกันครบทุกนายจะต้องใช้เวลาเกือบ ๑๐๐ ปี เราจะเล่ือนยศอนุศาสนาจารย์ในแต่ละครั้งจะต้องอิง การศกึ ษาชัน้ นายร้อย และช้ันนายพนั ดว้ ย เช่นนายร้อยจะติดยศร้อยเอก-พันตรีได้ ต้องผ่านการศึกษาหลักสูตร ช้ันนายร้อย จะติดยศพันโทได้ ต้องผ่านการศึกษาหลักสูตรชั้นนายพัน เม่ือมีสองหลักสูตรแล้วเช่นน้ี เราก็ สามารถขออนุมัติจัดตั้งโรงเรียนได้ เมื่อมีโรงเรียนแล้วเราก็สามารถจัดตั้งเป็น “เหล่า” ได้กิจการ อนุศาสนาจารย์กไ็ ดเ้ จริญเติบโตยิง่ ๆขนึ้ ไปได้ สมกบั พระปณิธานของล้นเกล้ารัชการท่ี ๖ สืบไป ---------------------
อาจริยพจน์ พ.อ. ศรสี วสั ดิ์ แสนพวง104 ๑๔๕ .......................... สําหรับหนังสืออนุสรณ์ ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย (๑ มิถุนายน ๒๕๖๒) ซ่ึงท่านอดีต อนุศาสนาจารย์ทุกท่านได้มอบสมบัติอันทรงคุณค่ามหาศาลแก่อนุศาสนาจารย์รุ่นหลังๆ ได้ดําเนินรอยตาม อย่างต่อเนอื่ ง จนครบ ๑๐๐ ปี กิจการของหน่วยงาน จะดําเนินไปด้วยดีและเจริญก้าวหน้า เพราะอาศัยผู้ร่วมงานแต่ละคนแต่ละฝ่าย ปฏบิ ตั ิหนา้ ทีข่ องตนๆ ตามปกติ หากขัดขอ้ ง จะทําให้งานน้ันๆ หยุดชะงัก หรือเสื่อมถอย เช่นเดียวกับนาฬิกาที่ เดินตรงเวลา เพราะอาศัยตัวจักรแต่ละชิ้นทํางานตามปกติ หากช้ินใดช้ินหน่ึงขัดข้อง จะหยุดเดิน หรือเดินไม่ ตรงเวลา ..................................... 104 ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ. ลาํ ดบั ที่ ๑๔ (พ.ศ.๒๕๓๓ – ๒๕๓๗)
อาจริยพจน์ พ.อ. สัมฤทธ์ิ คมขํา105 ๑๔๖ “ความเป็นอนุศาสนาจารย”์ .......................................... \"ทุกหน่วยราชการ หรือแม้องค์กรเอกชน กําหนดให้มีกฎเกณฑ์และมีวัฒนธรรมการปฏิบัติเป็นของ ตนเอง เพื่อความดาํ รงอยู่ดีและความพฒั นาย่ิงขน้ึ ของหน่วย/องคก์ ร และบคุ ลากร กองทัพเป็นหน่วยราชการใหญ่ จึงมีกฎเกณฑ์และวัฒนธรรมการปฏิบัติเป็นของตนเอง เฉพาะ กองทัพบก ซึ่งมีกําลังพลมากกว่ากองทัพอื่นๆ จึงมีระเบียบ คําส่ัง เป็นต้นไว้อย่างเป็นมาตรฐาน และเป็น วฒั นธรรมของกองทัพและของกาํ ลังพลอยา่ งชัดเจน อนุศาสนาจารย์กองทัพบก มีหน้าที่ปฏิบัติการหรืออํานวยการเก่ียวกับการศาสนา และให้คําแนะนํา แก่ผบู้ ังคบั บัญชาในปญั หาทัง้ ปวงเกีย่ วกบั ศาสนาและขวญั รวมทงั้ การปฏบิ ตั ทิ ่เี กย่ี วกับศาสนาและขวญั เนื่องจากมีภารกิจหน้าที่ดังกล่าว ท่ีประชุมอนุศาสนาจารย์จึงมีมติให้มีวินัย (จรรยาบรรณ) ของอนุศาสนาจารย์ด้วยการออกเป็นประกาศคณะอนุศาสนาจารย์ (ฉบับที่ 1) ไว้ต้ังแต่ 17 เมษายน 2501 เป็นตน้ มา โดยไดร้ วบรวมข้อปฏิบัติของอนุศาสนาจารยต์ ้ังแต่ปฐมอนุศาสนาจารย์ ได้ถือปฏิบัติสืบกันมานั่นเอง มาเป็นวินยั ของอนุศาสนาจารย์ จึงเท่ากบั วา่ อนุศาสนาจารย์มวี นิ ัย 2 ชั้น คอื 1. วินัยทหารในฐานะอนศุ าสนาจารย์เปน็ ทหาร 2. วนิ ยั ของอนศุ าสนาจารยใ์ นฐานะเปน็ อนศุ าสนาจารย์ การเป็นอนุศาสนาจารย์ เม่ือผ่านการสอบคัดเลือกคือสอบได้ ก็ได้รับการแต่งตั้งยศเป็นนายทหาร สัญญาบัตร ตําแหน่งอนุศาสนาจารย์ ซ่ึงกองทัพก็ออกคําสั่งแต่งตั้งให้ตามขั้นตอน ไม่มีส่ิงใดยุ่งยาก แต่ความ เป็นอนุศาสนาจารย์น้ัน อนุศาสนาจารย์ล้วนแต่ถือกันว่าไม่มีใครแต่งต้ังให้เป็นได้ ฉะนั้นถึงจะมีตําแหน่งเป็น อนุศาสนาจารยแ์ ลว้ ความเปน็ อนุศาสนาจารย์ก็อาจจะยงั ไม่เกดิ ขึน้ อนุศาสนาจารย์แต่ละนายจึงฝึกอบรมตนเองเพิ่มเติม ให้มีฉันทะและศรัทธาในตําแหน่งหน้าท่ี มีจิต วิญญาณ รักและชอบในภารกิจของตนจริง และมีความรู้สึกเป็นสุขใจเมื่อได้ปฏิบัติภารกิจหน้าที่ตน อันเป็น ภารกิจหน้าที่ที่เป็นบุญกุศลและเสียสละ มีมโนธรรมสํานึกท่ีจะอยู่ในขอบเขตของตน เพื่อจะได้เข้าถึงความ เปน็ อนุศาสนาจารย์ที่แทจ้ รงิ จงึ เทา่ กับว่าการเปน็ อนศุ าสนาจารย์เป็นได้ดว้ ย 105 ผอ.กอศจ. ลาํ ดบั ที่ ๑๖ (พ.ศ. ๒๕๓๙ – ๒๕๔๑)
๑๔๗ ภมู ิรู้ ท่สี อบผ่านเขา้ มาได้และได้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็น แตค่ วามเปน็ อนศุ าสนาจารย์ เป็นได้ด้วย ภูมิธรรม ไม่ มีใครออกคาํ สัง่ แต่งตง้ั ใหเ้ ปน็ ได้ อนศุ าสนาจารย์ผ้นู ้ันเทา่ นัน้ ที่จะแตง่ ตั้งให้ตนมีความเปน็ อนุศาสนาจารย์ได้เอง อน่ึงอนุศาสนาจารย์เป็นผู้ได้บวชเรียนศึกษามาทางด้านพระพุทธศาสนาโดยตรง จึงล้วนแต่เป็นผู้มี สํานึกอยู่เสมอว่า ตนเป็นตัวแทนของคณะสงฆ์ที่เผยแผ่พระพุทธศาสนาแก่กําลังพลทุกประเภทในกองทัพ จึง ย่อมจําเป็นที่จะต้องให้การสนับสนุนกิจการของคณะสงฆ์ด้วยความเต็มใจ มีศรัทธาม่ันคง และสนับสนุน สง่ เสริมพระสงฆ์ทป่ี ฏบิ ตั ิดีปฏบิ ัติชอบเป็นสุปฏิบตั ิสมํา่ เสมอ สิ่งสําคัญอีกประการหน่ึงคือ ผู้เข้ามาเป็นอนุศาสนาจารย์เริ่มแรกในกองทัพ ยังไม่คุ้นเคยกับระบบ ราชการและการเป็นข้าราชการ ไม่ได้ฝึกอบรมวิชาทหารโดยตรงมาตามข้ันตอน หากแต่เป็นนายทหารสัญญา บัตรในทันที เม่ือได้รับการแต่งตั้งให้เป็นอนุศาสนาจารย์ จึงย่อมสมควรที่จะอ่านศึกษาหนังสือ/เอกสาร 5 ประการต่อไปน้ตี ั้งแตต่ อนเรม่ิ ต้นเข้ารบั ราชการ คือ 1. คมู่ ือการอนศุ าสนาจารยก์ องทพั บก 2.หลักนิยมอนศุ าสนาจารยท์ หารบก 3. หลักปฏบิ ตั ริ าชการของพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฏเกล้าเจา้ อยู่หวั 106 4. \"มรรยาททหาร\"107 5. ระเบยี บงานสารบรรณของสาํ นักนายกรฐั มนตรี และระเบียบงานสารบรรณของกองทัพบก ซ่ึงตามข้อ 3,4 น้ี แม้นายทหารช้ันประทวน ที่สอบได้จะได้รับยศเป็นนายทหารสัญญาบัตร ยังได้รับ การอบรมจาก ยศ.ทบ.เป็นส่วนรวม ฉะนั้น อนศุ าสนาจารยซ์ งึ่ ได้รบั การแต่งต้ังยศเป็นนายทหารสัญญาบัตรเป็น ครั้งแรก จึงควรจะได้อ่าน ศึกษา ปฏิบัติตามที่เก่ียวข้อง และนําไปประยุกต์ใช้ในหน้าท่ีการบรรยายอบรมทาง ศีลธรรมวฒั นธรรมต่อไป .......................................... 106พระราชนิพนธ์เร่ืองหลักราชการ 10 ประการเมื่อ 20 ก.พ. 2457 ณ พระราชวังสนามจันทร์ : ผู้เขียนได้มอบให้ กอศจ. ยศ.ทบ. เมือ่ ๑ พ.ค. ๖๒ 107 พระนิพนธข์ อง จอมพล สมเด็จเจา้ ฟา้ จักรพงษ์ ภูวนารถ : ผเู้ ขียนได้มอบให้ กอศจ.ยศ.ทบ. เม่อื ๑ พ.ค. ๖๒
๑๔๘ อาจริยพจน์ พล.ต.ชอบ อินทฤทธ1ิ์ 08 “ชีวติ ท่ีเหมือนฝนั ” .......................................... เม่อื ปี พ.ศ.๒๔๙๘ ประมาณเดอื นพฤษภาคม เด็กนอ้ ยคนหนงึ่ อายุได้ ๑๒ ปี เดนิ ตามแม่ นางเงนิ อนิ ทฤทธิ์ และ ลุง นายปัน้ หมื่นเดช ไปตามทางรถไฟสาย กรุงเทพฯ – อรัญประเทศ มงุ่ สู่วดั โยธาราษฎร์ ศรทั ธาธรรม ตําบลดงพระราม อําเภอเมือง จงั หวดั ปราจีนบุรี ห่างจากบา้ นประมาณ ๕ กโิ ลเมตร เม่อื ถึงวัด แล้ว ท่านทงั้ สองได้พาไปพบกับท่านสมภารคอื ทา่ นพระครใู บฎกี าสถติ ย์ วณณฺ รํสิโย (ตอ่ มาไดเ้ ลอ่ื นสมณศกั ดิ์ เปน็ พระครสู ญั ญาบัตร เจา้ อาวาสวัดราษฎรช์ นั้ โท ในราชทินนามที่พระครวู าทีวรคุณ) และได้มอบเดก็ ชายคน ดังกลา่ ว คือ เดก็ ชายชอบ อินทฤทธ์ิ ให้กบั ท่านสมภารแลว้ ทา่ นท้ังสองก็ลากลับบา้ น กอ่ นเข้าพรรษาในปนี ้นั เดก็ ชายชอบ อินทฤทธ์ิ กไ็ ดบ้ รรพชาเป็นสามเณร จาํ ได้ว่าที่บวชพร้อมกนั ในวนั นน้ั มีบวชพระ ๒ รูป สามเณร ๓ รปู หลวงพ่อพระครูดาํ (ชื่อเดิมของท่านสมภาร) เปน็ คนเขม้ งวดเอาใจใส่ดูแล พระเณรในปกครองอย่างจริงจงั ทัง้ ในด้านจริยาวตั ร และการศกึ ษา พระเณรรูปใดไมเ่ รียบรอ้ ยท่านจะตาํ หนิ อยา่ งรนุ แรง สว่ นการศึกษาท่านก็สง่ เสริมเตม็ ที่ โดยตัง้ กฎเพ่อื เป็นแรงจงู ใจว่าใครสอบไดน้ ักธรรมโท จะสง่ ไป เรยี นต่อในกรงุ เทพฯ แล้วทา่ นก็ทาํ ตามสัญญา ในปี พ.ศ.๒๕๐๐ โดยส่งสามเณรชอบ อินทฤทธ์ิ และ สามเณร สมพงษ์ ใจอุ่น ไปอยูท่ ่วี ดั บวรมงคล สามเณรวโิ รจน์ อาํ นรรฆ ไปอยู่วดั บรมนวิ าส ณ วัดบวรมงคล (ชาวบ้านมักเรียกว่าวดั ลงิ ขบ) น่ีเอง คอื เป็นจดุ เริ่มตน้ สาํ คัญจุดทีส่ อง ทําให้ข้าพเจา้ ได้ พัฒนาตวั เองขน้ึ อยา่ งมากมาย ดา้ นความรู้ ไดน้ ักธรรมเอก เปรียญธรรม ๗ ประโยค ปริญญาศาสนศาสตร์ บณั ฑติ ดา้ นประสบการณช์ วี ติ มีมากมายสามารถนาํ ไปใชไ้ ด้อยา่ งดี เมือ่ ลาสิกขาออกมาเป็นผูค้ รองเรือน ในปี พ.ศ. ๒๕๑๔ กศุ ลกรรมส่งใหไ้ ดเ้ ขา้ รับราชการทหารในตาํ แหน่งอนุศาสนาจารย์ สังกดั กอง อนศุ าสนาจารย์ กรมยุทธศกึ ษาทหารทหาร ซึ่งมที ่านอาจารย์ พ.อ.ปาน จันทรานุตร เปน็ หัวหนา้ กองฯ ต่อมาได้ 108 ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ. ลําดับท่ี ๑๘ ( พ.ศ.๒๕๔๓ – ๒๕๔๕ )
๑๔๙ ย้ายไปรบั ราชการในหนว่ ยตา่ งๆ ดงั นี้ พ.ศ.๒๕๑๕ จงั หวดั ทหารบกลพบรุ ี พ.ศ.๒๕๒๔ ศูนย์สงครามพิเศษ พ.ศ. ๒๕๒๖ โรงเรยี นนายรอ้ ยพระจลุ จอมเกลา้ พ.ศ.๒๕๓๘ กองทัพภาคท่ี ๑ พ.ศ.๒๕๔๐ กลบั คนื สู่กอง อนศุ าสนาจารย์ กรมยุทธศกึ ษาทหารบก ในตําแหนง่ หัวหนา้ แผนกอบรม รองผอู้ าํ นวยการกองฯ และ ผู้อาํ นวยการกองฯ ในที่สดุ กอ่ นจะเกษียณอายรุ บั ราชการใน พ.ศ.๒๕๔๕ (เกษียณกอ่ นกาํ หนด ๑ ป)ี นบั เป็น บุญอย่างยิ่งของขา้ พเจา้ ท่ีไดม้ ีโอกาสปฏบิ ัติงานในหน่วยตา่ งๆ ดงั กล่าวทม่ี ิใชห่ นว่ ยกําลงั รบซง่ึ มันตรงกบั อุปนิสัย ของข้าพเจา้ ทีช่ อบความเรียบง่าย ไม่ชอบความโลดโผน ทําให้การปฏบิ ตั งิ านเกดิ ผลดแี กต่ นเองและหน่วยตาม สมควร สาํ หรบั ผลงานท่เี ป็นรปู ธรรมควรแก่การจารึกจดจาํ ของอนศุ าสนาจารย์รุ่นหลังๆ ได้บ้างคือ ๑. มสี ว่ นผลกั ดันใหม้ ีการสร้างศาสนสถานประจาํ โรงเรียนนายรอ้ ยพระจลุ จอมเกล้า อาํ เภอเมือง จังหวัดนครนายก และยังไดร้ ับพระเมตตาจากเจา้ พระคณุ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหา สังฆปริณายก ประทานพระพทุ ธชนิ สหี ์ ภปร. ประดษิ ฐานเป็นพระพุทธปฎมิ าประธานประจําศาสนสถานนีด้ ้วย และเป็นพระมหากรณุ าธคิ ณุ หาท่ีสดุ มิได้ ที่พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร ที่ไดเ้ สด็จพระราชดาํ เนินทรงประกอบพิธีเททองพระพทุ ธปฏิมาดงั กลา่ ว ด้วยพระองคเ์ อง ณ วดั บวรนเิ วศวิหาร เขตพระนคร กรงุ เทพมหานคร ๒. จัดโครงการอปุ สมบทหมนู่ ักเรยี นนายรอ้ ยในเวลาปดิ ภาคการศึกษาเดือนเมษายน ต้งั แต่ พ.ศ.๒๕๒๕ จนเปน็ ประเพณปี ฏิบตั ิมาถงึ ทุกวันนี้ ซ่งึ เปน็ วิธีการอีกอย่างหนง่ึ ทีจ่ ะแทรกคณุ ธรรมเขา้ ในจิตใจของนักเรยี นนาย รอ้ ยทจี่ ะเปน็ ผู้นําสงั คมตอ่ ไป ๓. ปรบั ปรงุ หอ้ งทํางาน ๑ หอ้ ง ท่กี องอนศุ าสนาจารยใ์ หเ้ ป็นหอ้ งพระบารมี เป็นที่ประดิษฐษนพระบรม รูปพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอย่หู วั พระผพู้ ระราชทานกําเนิดกจิ การอนุศาสนาจารย์ และนบั เป็นบุญ ของคณะอนุศาสนาจารยเ์ ปน็ อย่างยง่ิ ท่เี จ้าประคุณสมเดจ็ พระพฒุ าจารย์ (เกยี่ ว อปุ เสโณ) วัดสระเกศราช วรมหาวหิ าร ไดเ้ มตตามอบพระบรมรปู ดังกลา่ วใหก้ บั กองอนุศาสนาจารย์ ๔. เสนอเพิ่มกิจกรรมในการแสดงความจงรักภักดแี ละสาํ นึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว ทท่ี รงมตี อ่ กิจการอนศุ าสนาจารย์ ดว้ ยการจดั คณะอนศุ าสนาจารยน์ าํ พวงมาลาไปวาง ณ พระบรมราชานสุ าวรยี พ์ ระองค์ท่าน ณ สวนลมุ พีนี เขตปทมุ วนั กรุงเทพมหานคร ในภาคเชา้ ของวนั ท่ี ๒๕ พฤจิกายน จากเดมิ ที่มีแตก่ ารบําเพญ็ กศุ ลน้อมอุทศิ ถวายในภาคกลางวนั เพีย่ งอย่างเดียว กิจการอนศุ าสนาจาย์ได้ดําเนนิ มาจนครบ ๑๐๐ ปี ในวนั นแ้ี ลว้ ดว้ ยอาศยั การสบื ต่อเจตนารมณข์ อง พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยู่หวั ของครบู าอาจารยร์ ่นุ แลว้ รุ่นเลา่ และขา้ พเจ้าม่นั ใจเปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ กิจการอนั เปน็ มหากุศลนี้จะยนื ยงมั่นคงตลอดไป แตท่ ัง้ น้ันทง้ั นี้ขน้ึ อยู่กับปจั จยั สาํ คัญ ๒ ประการคอื ๑. การ สนับสนนุ ของผ้บู ังคับบญั ชา ๒. การปฏบิ ัติตนและจิตวญิ ญาณของอนศุ าสนาจารย์ ในปัจจัย ๒ อย่างน้ี ปัจจยั ท่ี ๑ จะไมก่ ล่าวถึง ปจั จยั ท่ี ๒ เรอ่ื งการปฏิบตั งิ าน เช่อื ในความสามารถของ อนุศาสนาจารย์ทกุ ท่านอยแู่ ล้ว แตเ่ รอื่ งจติ วญิ ญาณในการเป็นอนศุ าสนาจารยส์ าํ คัญมาก ถ้าจติ ใจไม่มน่ั คงใน วชิ าชพี นี้แลว้ กําลงั พลในกองทพั กจ็ ะพากันเส่ือมศรทั ธา คณุ ความดที บี่ รุ พาจารย์ท่านสรา้ งสมมาน้นั ก็จะเสอ่ื ม สลายไปในทสี่ ุด เพราะฉะนน้ั เมอ่ื รกั ทจ่ี ะเป็นอนศุ าสนาจารย์ ตอ้ งเป็นใหไ้ ด้ท้ังกายและใจ เป็นแล้วเปน็ เลย
๑๕๐ การทํางานของคนเรา บางคนประสบความสําเร็จ บางคนกไ็ ม่ประสบความสาํ เรจ็ ซ่งึ ก็เป็นเรอื่ งปกติ ธรรมดา จากประสบการณ์ทีไ่ ด้ทาํ งานมา ๓๐ ปเี ศษ และคําชี้แนะของครอู าจารย์ พอจะประมวลไดว้ า่ คน ประสบความสาํ เร็จในการทาํ งานตอ้ งมคี ณุ ๓ ประการ ๑. คุณวุฒิ ความรู้ ๒. คุณภาพ ความสามารถ ๓. คณุ ธรรม ความดี คณุ วุฒิ ความรแู้ บง่ เปน็ ๒ คือ รอบรู้ กับ รรู้ อบ รอบรู้ หมายรแู้ จ้ง รจู้ รงิ งานในหน้าท่ขี องตน เช่น เปน็ อนุศาสนาจารยต์ ้องแมน่ ยาํ ในหลกั ธรรมเรื่องราวของคณะสงฆ์ เม่อื เกิดวิกฤตทางศาสนา ต้องใหข้ อ้ เสนอแนะท่ี ถูกตอ้ งกับผู้บงั คบั บัญชาได้ ส่วนร้รู อบนน้ั เป็นการแสวงหาความรูอ้ ื่นๆ เพม่ิ เตมิ เพ่อื ใชใ้ นการประสานในการ ปฏิบตั ิงาน หรอื ชว่ ยเหลอื สงั คมในด้านทีเ่ ป็นประโยชนต์ า่ งๆ เรื่องน้คี รบู าอาจารยท์ ่านสรา้ งเครดิตไวส้ งู มาก เชน่ พระธรรมนเิ ทศทวยหาญ (อยู่ อดุ มศลิ ป์) ปฐมอนศุ าสนาจารย์ ทา่ นไดร้ ับความไวว้ างใจจากคณะกรรมการรา่ ง รัฐธรรมนูญฉบับแรกใหเ้ ปน็ ผู้ตรวจสอบคาํ ภาษาทใ่ี ชใ้ หถ้ ูกต้องเหมาะสม พนั เอก (พิเศษ) ปาน จันทรานุตร ไดร้ ับตําแหน่งเปน็ ลูกขนุ ตัดสนิ คดพี ระพิมลธรรม (อาจ อาสโภ) พ.อ.ป่นิ มุทกุ นั ต์ เขยี นหนังสือตอบบาทหลวง เม่ือมกี ารจาบจว้ งคาํ สอนในพระพุทธศาสนา เปน็ ต้น คณุ ภาพ หมายถงึ ความสามารถในการทํางาน โดยเฉพาะงานในหน้าที่ของตนเอง ทาํ ใหส้ ดุ ความสามารถ ใหม้ ผี ลประจักษแ์ กผ่ ้บู ังคบั บัญชาและกําลังพล อนศุ าสนาจารยบ์ างทา่ นอาจจะพูดเก่ง พดู จนคน ติดใจ มีงานท่ไี หนตอ้ งเห็นหน้าและได้ยนิ เสียงท่าน บางท่านปฏบิ ตั ิพิธเี กง่ งานพธิ ีทุกอย่างมที า่ นแลว้ เรยี บรอ้ ย ถ้าขาดทา่ นไปก็จะมเี สียงตามมาวา่ ทา่ นอนศุ าสน์หายไปไหน เกง่ อย่างใดอย่างหนึ่งถอื วา่ ใชไ้ ด้ ถา้ เก่งทุกอย่าง ถือว่าสุดยอด คุณธรรม หมายถงึ ความประพฤติที่ดีงามตามกรอบของหน่วยงานต่างๆ ท่ีได้กาํ หนดไว้ สําหรับ อนศุ าสนาจารย์นอกจากจะตอ้ งประพฤติตามกฎหมายบ้านเมือง ระเบยี บวินยั ของทหารแล้ว จะตอ้ งปฏิบตั ิตน ในกรอบจรรยาบรรณของอนุศาสนาจารย์ ๑๓ ขอ้ อกี ด้วย และเพราะจรรยาบรรณ ๑๓ ขอ้ นีแ้ หละ ทาํ ใหก้ ําลัง พลในกองทัพเชอ่ื ถอื ศรทั ธาในตวั อนศุ าสนาจารยถ์ งึ แม้จะมียศตํา่ กวา่ เขากต็ าม การทาํ งานทกุ อย่างมีทัง้ ศาสตร์และศิลป์ บางครง้ั ใชศ้ าสตร์ บางคร้งั ใช้ศลิ ป์ บางครงั้ ใช้ทงั้ ศาสตร์และ ศลิ ป์ ข้ึนอยูก่ บั สถานการณใ์ นขณะน้นั ขา้ พเจ้าเองไมไ่ ด้เก่งอะไรมากมายนัก แต่เปน็ คนโชคดี คือมี ผ้บู ังคับบัญชาดี มผี ใู้ ตบ้ ังคับบญั ชาดี มผี ูร้ ่วมงานดี เขา้ ทํานองที่ว่า ผู้ใหญ่ดงึ ผู้น้อยดนั จึงทาํ ให้ประสบ ความสาํ เรจ็ ทั้งในหน้าทก่ี ารงาน และยศตําแหน่ง ทส่ี ุดของที่สดุ ๑ ตลุ าคม ๒๕๔๕ พระบาทสมเดจ็ พระปริมนิ ท รมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร มพี ระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ พนั เอกชอบ อนิ ทฤทธิ์ เปน็ พล ตรี นับเปน็ พระมหากรณุ าธคิ ณุ ลน้ เกล้าลน้ กระหม่อม หาที่สดุ มิได้ ข้าพระพทุ ธเจ้า ขอเทดิ ทนู พระมหา กรณุ าธคิ ุณนไี้ ว้ ตราบจนวนั ตาย นี่คือชีวิต จาก.....ดนิ สู.่ ....ดาว ช่างเหมือนฝนั จรงิ ๆ ..........................................
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204