Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ๓.เล่มหนังสือ ๑๐๐ ปี ภาค ๒_อนุศาสนาจารย์ทหารบก 2

๓.เล่มหนังสือ ๑๐๐ ปี ภาค ๒_อนุศาสนาจารย์ทหารบก 2

Description: ๓.เล่มหนังสือ ๑๐๐ ปี ภาค ๒_อนุศาสนาจารย์ทหารบก 2

Search

Read the Text Version

อาจริยพจน์ พนั เอก ชัยกร ธรรมชัยปราการ109 ๑๕๑ ขา้ พเจ้า....ผเู้ ปน็ ทาสพระรตั นตรยั ----------------- รบั ราชการ -เป็น อศจ.กรมการบินทหารบก ปี ๑๖ -บรรจุท่ี กอศจ.ยศ.ทบ. ปี ๑๔ -เปน็ อศจ.พล.ม. ๒ ปี ๒๘ -เปน็ อศจ.รด ปี ๒๔ -เป็น อศจ.นสศ. ปี ๓๔ -เป็น หน.ศาสนพิธี กอศจ.ยศ.ทบ. ปี ๓๑ -เปน็ ประจํา มทบ.๑๑ ปี ๔๔ -เป็น อศจ.ทภ.๑ ปี ๓๙ -เกษยี ณอายุราชการ ปี ๔๖ 109 อดีต อศจ.ทภ.๑ ปัจจุบันเป็นอาจารยส์ อนฏิบัตวิ ปิ ัสสนากรรมฐาน และเผยแผ่ธรรมะแก่นายทหารนักเรียน,นายสิบนักเรียน ของ กอศจ.ยศ.ทบ. และประชาชนทว่ั ไป

๑๕๒ ความปรารถนาหลงั เกษยี ณ ขอ หวัง เพียง ปฏบิ ัติ ขอ หวัง เพียง ปฏบิ ัติ ขอนอ้ มกราบ คณุ พระพทุ ธ สดุ วเิ ศษ ขอนอ้ มเกศ แด่พระธรรม คาํ สดใส ขอนบสงฆ์ นอบนอ้ ม พรอ้ มกายใจ หวงั แทนคุณ พุทธศาสน์ ชาตเิ ลอเลศิ หวังชูเชิด เทิดประชา พาสขุ สันต์ หวังดวงตา เหน็ ธรรม ในฉับพลนั หวังนอกน้นั ไม่มี จากนเ้ี ลย เพยี งพอแลว้ สําหรับชาติ ปจั จบุ นั เพยี งแคน่ ัน้ คงไมเ่ พลิน เกินเฉลย เพียงแค่น้ี ไม่ไร้ผล จนเฉยเมย เพยี งภเิ ปรย อยา่ งหวัง ด่ังจินตนา ปฏิบัติ เดี๋ยวน้ี อย่ารรี อ ปฏิบตั ิ มใิ ช่ขอ ลอ่ ตันหา ปฏบิ ตั ิ ในทานศีล ภาวนา ปฏิบัติ ดว้ ยปญั ญา นิพพานเอยฯ โดย...ชธ.๓๕๘ ของฝากจากคนแก่ พระพุทธศาสนา ประกอบด้วยพระสัทธรรม ๓ ประการ คือ ปริยัติสัทธรรม ปฎิปัตติสัทธรรม และ ปฏิเวธสัทธรรม หากขาดอย่างใดอย่างหน่ึง พระพุทธศาสนาก็ไม่สมบูรณ์ หรือใช้ประโยชน์ได้ไม่เต็มท่ี และไม่ เจรญิ อีกตอ่ ไป เหมอื นตน้ ไม้ท่ตี อ้ งสมบูรณ์ดว้ ยเปลือก กะพ้ี แก่น การพทิ กั ษพ์ ระพทุ ธศาสนา จงึ ตอ้ งพทิ ักษ์สว่ นประกอบท้งั สามประการนี้ไว้ใหส้ มบูรณ์ หรืออยา่ งน้อยก็ ให้อยูใ่ นขั้นทีส่ ามารถใชง้ านได้อยา่ งมั่นใจ อนุศาสนาจารย์ เป็นองค์กรหนึ่งท่ีสําคัญในการพิทักษ์พระพุทธศาสนา เพราะสามารถนําธรรมะใน พระพุทธศาสนาไปเขา้ ถงึ ประชากรไดท้ กุ ประเภท ทกุ ระดับชน้ั ทั้งเป็นบุคลากรท่ีได้รับการคัดกรองมาเป็นอย่าง ดี ท้งั ดา้ นความรู้ ความสามารถ ความประพฤติ บุคลิกภาพ วาทศิลป์ ปฏิภาณไหวพริบ ดังน้นั อนศุ าสนาจารย์ จึงควรพฒั นาตนให้มีความพรอ้ มในการใช้ส่วนประกอบทั้งสามน้ี ให้อยู่ในระดับ ท่ีจะปลกู ศรัทธาได้ในระดับที่นา่ พอใจ โดยใชห้ ลกั ตอ่ ไปนีใ้ นแตล่ ะส่วนประกอบ ด้านปริยัติ โดยเฉพาะการเผยแผ่ ต้องสมบูรณ์ด้วยหลัก ๔ ส คือ สันทัสสนา สมาทปนา สมุตเตชนา และสมั ปหังสนา ด้านปฏิบัติ ต้องตรวจสอบด้วย ทาน ศีล ภาวนา ซ่ึงเป็นบุญสิกขา หรือ ศีล สมาธิ ปัญญา ซ่ึงเป็น ไตรสิกขา ด้านปฏิเวธ ใช้อินทรีย์ ๕ เป็นเคร่ืองตรวจสอบ คือ สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ และปญั ญนิ ทรยี ์

๑๕๓ สทั ธรรมสาม (ปรยิ ตั ิ ปฏบิ ัติ ปฏเิ วธ) รหู้ ลกั ธรรม คาํ จรงิ สงิ่ ดเี ลศิ สุดประเสริฐ เกดิ กุศล ยลสขุ สนั ต์ ผลักอธรรม นําออกไป ห่างไกลพลัน อบายนั้น อยา่ ให้บกุ รุกถึงใจ ลดโลภะ โทสะ โมหะทง้ิ ราคะนิ่ง สิ่งมัวหมอง ตอ้ งผลักไส ให้รูจ้ ัก หกั หา้ มตน พ้นพาลภยั น้อมนําใจ ใฝเ่ รียนรู้ สหู่ ลักธรรม เรยี นใหร้ ู้ ดูใหจ้ ํา ทาํ ให้จริง ดูให้นง่ิ อยา่ วงิ่ ไว ใจถลํา ใชจ้ ติ เพ่ง พนิ จิ ซิ สตนิ าํ สอ่ งดธู รรม ด้วยปญั ญา หาทางพ้น เม่ือเหน็ ทาง สวา่ งใจ ไมม่ ัวหลง จติ มั่นคง เป็นกลาง หา่ งสับสน จนเมือ่ ใด ใจปล่อยวาง ท้ังสกล ดวงกมล จะผุดผอ่ ง ส่องนิพพานฯ โดย..ชธ..๓๕๘ พนั เอก...สมเปน็ ครผู สู้ ั่งส.อ...น................................. ชยั กร...กระทาํ ชัยใหโ้ ดดเดน่ ธรรมชัย...ใช้ธรรมท่านยา้ํ เน้น ปราการ...เปน็ กําแพงแหง่ ศีลธรรม สอนอยา่ งไรทาํ อยา่ งน้นั ครชู ั้นเลศิ ศษิ ย์ทนู เทิดวาทที ่คี มขาํ งามศลี าอาจาระเหน็ ประจํา ทกุ เช้าคํ่าเคร่งครดั ฝึกหดั คน ท่านอาจารยช์ ยั กรสอนด่งั พระ นาํ ธรรมะขานไขใชฝ้ ึกฝน ใชแ่ ตเ่ พยี งสอนสั่งยงั ฝึกตน ศิษยท์ ุกคนพรอ้ มหนา้ ..บชู าครู

อาจรยิ พจน์ พล.ต. บญุ นาค มูลลา110 ๑๕๔ ............................................... กระผมมีความยินดีเป็นอย่างย่ิง ท่ีได้รับเชิญให้ส่งอาจริยพจน์ มาตีพิมพ์ในหนังสืออนุสรณ์ การ อนุศาสนาจารยไ์ ทย เพื่อเป็นข้อคิดเล็กๆ น้อยๆ ในครั้งนี้ ในโอกาสอันสําคัญน้ี ทําให้เราทั้งหลายรู้สึกสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎ เกล้าเจ้าอยู่หัวเปน็ ท่สี ดุ มไิ ด้ ท้ังนี้ ด้วยทรงหยงั่ ร้กู ารณอ์ นาคตไกลโดยแท้ จึงได้ทรงโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนากอง อนุศาสนาจารย์ข้ึน เมื่อปี พ.ศ. 2462 และกิจการในระยะ 100 ปีต่อมา ได้สร้างคุณประโยชน์แก่กองทัพไทย เป็นอยา่ งยง่ิ ไมว่ า่ จะเปน็ ยามสงบหรือยามสงคราม ไม่วา่ ในสมรภูมใิ นประเทศหรือนอกประเทศ ทหารของเรามี ขวัญกําลังใจและคุณธรรม ทั้งมีสติยึดมั่น เด็ดเดี่ยว แน่วแน่ ไม่ท้อถอยท่ีจะประกอบภารกิจ เพ่ือพิทักษ์รักษา ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ใหเ้ จรญิ มัน่ คงอยู่ตลอดเวลา การทีท่ รงเลอื กนกั การศาสนาไปเป็นผู้บํารุงน้ําใจกองทัพน้ัน ก็นับได้ว่า พระองค์ทรงไว้ซึ่งพระราชปรีชา ญาณอนั หยงั่ รู้อย่างถ่องแท้ ในเรื่องชีวิตจิตใจของมนุษย์ เพราะสิ่งท่ีจะเบียดเบียนจิตใจคนเราให้ซีดเซียวผอมโซ นั้น ไม่มีอะไรเก่งไปกว่าความคิดช่ัวร้ายและขุ่นหมอง ท่ีเรียกว่า กิเลส และส่ิงท่ีจะสู้กับกิเลสได้ ก็ไม่มีอะไรดีไป กว่า การสร้างพลังแก่กล้าให้แก่จิตใจ ด้วยเหตุผลและความเป็นจริงอันมีอยู่ในพระธรรมคําสั่งสอนของ พระพทุ ธศาสนา การท่ที รงเลอื กแลว้ อยา่ งน้ี งานอนุศาสนาจารย์ในกองทพั ไทยจงึ เป็นงานที่หนัก เพราะเป็นงานยกระดับ จติ ของกําลังพลใหส้ ูงขน้ึ เพราะสภาวจิตของกําลังพลในปัจจุบันน้ีมีอยู่ 2 จําพวก พวกแรกคือพวกจิตขุ่นมัว จิต รับการกดดันจากสภาวะทางเศรษฐกิจ หรือกดดันจากงาน นายทหารประทวนผู้มีเงินเดือนน้อย รับภาระบุตร หลายคน ต้องส่งเสียค่าเทอมที่แพง พวกอาหาร เครื่องนุ่งห่มท่ีแพงข้ึนโดยตลอด บางคร้ังอาจต้องขัดสนบ้าง ต้องกู้หน้ียืมสิน กู้ธนาคาร ดอกเบยี้ ก็แพง สารพัดท่ีจะกู้เพื่อนาํ เงินมาจุนเจือครอบครวั เมื่อจติ ของเราเกิดจากความขัดข้องขุ่นมัว ก็จะเรม่ิ แสดงออกในลักษณะเป็นคนพาล คิดช่ัว พูดช่ัว ทําชั่ว เห็นกงจักรเป็นดอกบัว ให้ถือเงินก็ยักยอกเงิน ให้คุมนํ้ามันก็ยักยอกน้ํามัน ต้ังแก๊งท่ีไม่ดี ชวนกันกินเหล้าติด อบายมุข ติดยาเสพติด ทําให้ลูกหลานเห็นเป็นตัวอย่าง พลอยติดเหล้า บุหรี่ ติดยาเสพติด ไม่เรียนหนังสือ กลายเป็นอันธพาลไป อีกพวกหน่ึงมีลักษณะพาล ไม่คํานึงถึงระเบียบวินัย ผู้บังคับบัญชาตักเตือนไม่ได้ พอ 110 ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ. ลําดับที่ ๒๒ (พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๔)

๑๕๕ ตักเตือนก็โกรธหันมาคอยจับผิดผู้บังคับบัญชา เห็นผิดเป็นชอบ ชอบวุ่นงานคนอ่ืน งานตนไม่รู้อะไร ชอบ รอ้ งเรียนทําบตั รสนเทห่ ์ หาดใี สต่ ัว หาชว่ั ใส่คนอื่น จะแก้จิตพาล คือกิเลส โลภ โกรธ หลง อารมณ์ร้ายต่างๆ ก็ต้องแก้ที่จิตน่ันเอง แก้ท่ีนายเพราะจิตเป็น นาย กายเป็นบ่าว คือยกจิตเขาให้สูงขึ้น ฝึกจิตบริหารจิตด้วยพาเขาหม่ันทําบุญให้ทาน รักษาศีลเจริญเมตตา เพ่ือลดความอยาก จิตเขามีอํานาจจึงจะตอบโต้กิเลสได้ ทําจิตให้มีอํานาจก็ด้วยหม่ันเจริญจิตตภาวนา น่ังสมาธิ ฟังธรรม ให้จิตไม่ขุ่นมัว เม่ือใจไม่เป็นพาล ใจเป็นบัณฑิต ก็จะเกิดปัญญา พิจารณาเห็นสิ่งต่างๆ เป็นความจริง ของชวี ติ พวกที่สอง ตรงข้ามกับพวกแรก มีจิตผ่องใส ใจเป็นบัณฑิต ผลงานดี พลังจิตสูง เป็นท่ีไว้ใจ ผู้บังคับบัญชา มีจิตละอายบาป มีเมตตาแก้ปัญหาอย่างรอบคอบ บริหารงานท้ังครอบครัวและราชการได้เป็น อยา่ งดี เกบ็ เงนิ สง่ ลูกหลานเรยี นได้สงู ๆ กําลงั พลทัง้ สองพวกน้นั เก่ียวขอ้ งกบั งานภารกจิ ของอนศุ าสนาจารย์ด้วยกันทั้งนั้น แต่จําพวกท่ีหน่ึง น้ัน เปน็ ผู้ทจ่ี ะทา้ ทายงานอนศุ าสนาจารยเ์ ปน็ อย่างยิ่งในการท่ีจะต้องใช้วิชาความรู้เข้าไปแก้ปัญหาให้ผู้บังคับบัญชา ดงั คาํ โคลงทน่ี กั ปราชญท์ ่านประพนั ธไ์ ว้วา่ ทา่ มกลางโลกวา้ วุน่ อลเวง โฉดช่ัวชงิ โฉงเฉง ทวั่ หล้า เดก็ ผู้ใหญ่ไปเ่ กรง กลวั กฎ หมายนา เหตลุ ุ่มหลงไขวค่ วา้ ลาภยศทรัพย์สนิ ยนิ ชัดเพชรหนึง่ แลว้ พรายแสง สกาวอร่ามโรจนแ์ รง ร่งุ ฟ้า รศั มสี ่องมโนแทง ทะลจุ ิต บริสทุ ธ์ิหยุดทุกข์กลา้ ดบั ร้อนส่เู กษม อนศุ าสนาจารย์จึงต้องมีธรรมาวุธไว้แก้ปัญหาของกําลังพลที่ท่านรับผิดชอบอยู่ ต้องแก้ต้ังแต่ ผบ.หน่วย ไลล่ งไปจนถึงพลทหาร ซงึ่ มลี กั ษณะปญั หาแตกต่างกนั ไป สรรพาวธุ ใช้เพ่อื ให้ศัตรูยอมแพ้ แต่ธรรมาวุธใช้เพื่อให้ ทกุ คนได้รบั ชัยชนะจากกิเลส อนุศาสนาจารย์รบด้วยธรรมาวุธ พระพุทธเจ้าใช้ธรรมาวุธในการสู้รบแม้กับองคุลี มาลเอง ผ้สู ําเรจ็ งานจะต้องค้นใหพ้ บ พิเภก : ยอดนักข่าว ปโุ รหติ าจารย์ ขงเบง้ : นักวางแผน วเิ คราะหท์ าํ งาน หาจดุ ดอ้ ยจดุ เด่น เจงกสิ ข่าน : นักปฏบิ ัติ นักรบ อนุศาสนาจารย์นนั้ ควรระลึกอยเู่ สมอว่า ก่อนจะแกป้ ญั หาคนอ่นื ตอ้ งแกป้ ญั หาตนเองให้ได้เสียก่อน เรา เป็นหมอใจจึงไม่ควรป่วยทางใจเสียเอง ต้องมีสัจจะซื่อสัตย์สุจริต ต้องเสียสละ ควรบําเพ็ญสังคหวัตถุ 4 อย่าง สม่ําเสมอ อย่าทําตนเป็นคนมักได้ อุทิศตนให้คนอ่ืนได้ร่มเย็น แม้บางคร้ังตัวเองจะยืนในท่ีร้อน ซึ่งเป็น คณุ ลักษณะอนั วเิ ศษของสตั บุรุษ ดังคําสภุ าษิตทีว่ ่า ฉายมญญสฺส กพุ พนตฺ ิ ติกฺขนตฺ ิ สยมาตเป ผลานิปิ ปรสเฺ สว รกุ ขฺ า สปฺปรุ ิสาอิว สรา้ งร่มเงาให้ความร่มเย็นแก่ผู้อน่ื ทงั้ คนและหมสู่ ตั ว์ ส่วนตนเองยินดียืนหยัดรับความร้อนของแสงแดด อยา่ งไมพ่ ร่นั พรึง ถึงคราวมลี กู มผี ล ก็มีเพอ่ื ใหผ้ ้อู ื่น สตั ว์อน่ื ไดร้ บั ประทาน หาใชม่ ีเพ่อื ตนเองไม่ ..........................................

อาจรยิ พจน์ พ.อ. ประเสรฐิ หนหู อม111 ๑๕๖ “เล็กๆ น้อยๆ 100 ปี อศจ.ไทย” .......................................... ขอแสดงความดีใจ-ปลื้มใจ ต่อกิจการอนุศาสนาจารย์ทหารไทย ที่ยืนยงคงอยู่มาได้ด้วยดีถึง 100 ปี และอยอู่ ยา่ งมีศักดศ์ิ รี มคี ณุ ค่าต่อกองทพั ไทย ต้นไม้ที่มีอายุยืนถึง 100 ปี ต้องมีแก่นภายในแข็งแรง และมีรากหยั่งลึกลงไปในดิน ทําให้เกิดความ มน่ั คง ไมห่ ักโค่นเพราะแรงลม-ฝน-แสงแดดทีแ่ ผดกล้า ของดีมีคุณค่า ย่อมคงทนต่อการพิสูจน์ และเป็นท่ียอมรับนับถือของมหาชน จึงยืนหยัดอยู่ได้ ส่วนของ ไม่ดี ไร้คณุ คา่ ยอ่ มไม่ทนตอ่ การพิสจู น์ และไมเ่ ป็นท่ยี อมรับของมหาชน ยอ่ มเส่อื มสลายไปตามกาลเวลา อศจ.ไทยเป็นทรพั ยากรบคุ คลทีม่ ีคุณค่า-มีสมรรถนะในทางจริยธรรม-คุณธรรม-ความประพฤติดี (ซ่ึงถือ ได้ว่าเป็นแก่นภายในจิตใจ) เป็นท่ียอมรับ-นับถือของกําลังพลกองทัพไทย สมคําว่า “อนุศาสนาจารย์” ตลอด มา เย่ียงปฐมอนุศาสนาจารย์ คือ พระธรรมนิเทศทวยหาญ ผู้ได้สร้างชื่อเสียงอันดีงามให้แก่กําลังพลผู้เข้าสู่ สงครามโลกคร้ังที่ 1 ด้วยการช่วยเหลือและบํารุงขวัญทหารได้เป็นอย่างดี ช่วยขจัดวิกฤตการณ์แก้ปัญหาเร่ือง กาํ ลงั พลใหผ้ ูบ้ ังคบั บญั ชาลลุ ่วงไปได้จนเปน็ ทไ่ี วว้ างใจของผบู้ งั คบั บัญชา ผู้เขียนในฐานะอดีต อศจ. คนหนึ่ง ขอขอบคุณ และแสดงความภูมิใจในความวิริยะอุตสาหะของ อศจ. กองทัพไทยทุกท่าน ที่ได้ช่วยกันบํารุงรักษา- ประคับประคอง-บริหารกิจการ อศจ. ไทย ให้คงอยู่ และเจริญรุ่งเรืองมาตราบเทา่ ทุกวนั น้ี น้ําแข็งย่อมละลายด้วยน้ําและความร้อน แท่ง เทียนย่อมละลายและอ่อนปวกเปียกเพราะไฟและ ความร้อนตามสภาพแวดล้อม อศจ. มิใช่น้ําแข็งและ แทง่ เทยี นท่ีจะละลายและอ่อนเปยี กไปตามสภาพแวดล้อม น่ันคือ อศจ. ต้องยึดมั่นในระเบียบวินัยอันเป็นหัวใจ ของชาติ ในจริยธรรม และจรรยาบรรณของ อศจ. อย่างจริงจัง-จริงใจ และทํางานด้วยอุดมการณ์ของ อศจ. อย่างไม่เสื่อมคลาย อย่าว่าแต่ 100 ปีที่ผ่านมา ต่อให้อีก 200 ปี ข้างหน้า กิจการ อศจ. ก็คงยืนหยัดอยู่ได้ อย่างสบาย 111 อดตี หน.อบรม กอศจ.ยศ.ทบ.

อาจรยิ พจน์ พ.อ. วิสิทธิ์ วิไลวงศ1์ 12 ๑๕๗ .......................................... พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานกิจการอนุศาสนาจารย์ไทย จวบปัจจุบันครบ ๑๐๐ ปี โดยทรงเลือก รองอํามาตย์ตรี อยู่ อุดมศิลป์ (อํามาตย์ตรี พระธรรมนิเทศทวยหาญ) ซ่ึงรับราชการอยู่ ในกรมราชบัณฑิต กระทรวงธรรมการ ให้เป็นอนุศาสนาจารย์ตามกองทหารออกไปยังประเทศยุโรป โดยมีพระ ประสงค์ให้เป็นผู้สอนทหาร ช่วยรับธุระของพระองค์ในการสั่งการสอนทหารช่วยปลดเปล้ืองบรรเทาความทุกข์ รอ้ น จะได้คอยอนศุ าสน์พร่าํ สอนและปลอบโยนปลดเปลือ้ งในยามทกุ ข์ ฉะน้ันการบรรเทาความทุกข์ร้อน และการพรํ่าสอนปลอบโยนปลดเปลื้องความทุกข์ของกําลังพล และ ครอบครวั พร้อมทั้งประชาชนทว่ั ไปจึงเปน็ หน้าทหี่ ลักของอนศุ าสนาจารย์ ธุระหน้าที่ในพระพุทธศาสนามี ๒ อย่าง คือ คันถธุระ กิจหน้าที่ด้านการศึกษาเล่าเรียน และวิปัสสนา ธุระ กิจหน้าที่ด้านการเจริญวิปัสสนา ซ่ึงศตวรรษแรกอนุศาสนาจารย์ ได้ทําหน้าท่ีโดนการอบรมศีลธรรม วัฒนธรรมหาร คือได้ทําหน้าที่โดยการให้การศึกษาอบรม การบรรยายธรรมเป็นส่วนใหญ่ กล่าวโดยรวมคือได้ ทาํ หน้าท่ีด้านปรยิ ัติ เมื่อกาลมาถึงศตวรรษท่ี ๒ ซ่ึงเป็นยุคที่ชาวโลกได้หันมาสนใจพระพุทธศาสนา ด้วยการบําเพ็ญจิต ภาวนาหรอื เจรญิ กรรมฐาน อนุศาสนาจารย์จึงควรให้ความสําคัญกับการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ด้วยการนําตน เข้าสู่วถิ ีของการปฏบิ ัตวิ ปิ ัสสนาตามหลกั สตปิ ัฏฐานสอี่ นั เปน็ วิชาเอก เป็นทางสายเอก (มิใช่ทางสายโท หรือทาง ในตรอก ซอก ซอย) ที่จะทําไปสู่ความพ้นทุกข์ หรือมีทุกข์น้อยลง เพ่ือให้ตนเองได้รับรสแห่งพระธรรม ได้เห็น ผลจากการปฏิบัติธรรมท่ีเกิดข้ึนกับตนเอง จนเกิดศรัทธาอย่างมั่นคง ด้วยผลแห่งการปฏิบัติธรรม และเกิด ทกั ษะทจ่ี ะนาํ กําลังพลเข้าสวู่ ถิ ีแหง่ การปฏิบตั ิธรรม เนอื่ งจากในยคุ นี้มีเวลาให้กับพระพทุ ธศาสนาน้อย เม่ือเขามี เวลาให้น้อยก็เปรียบเสมือนพระสงฆ์ที่มาบวชในตอนแก่ชราแล้ว ซึ่งพระพุทธองค์จะทรงให้ไปทําธุระที่ ๒ คือ วปิ ัสสนาธรุ ะ ฉะน้นั การนําธรรมะมาพฒั นาคนที่มเี วลานอ้ ย จึงเป็นธรรมคือการนําปฏบิ ัติธรรม บทบาทหน้าท่ีทีจ่ ะนําองคก์ รของอนศุ าสนาจารย์ให้มีชอื่ เสียงในศตวรรษที่ ๒ น้ี จึงเป็นบทบาทหน้าที่ใน การสอนการปฏิบัตธิ รรม จึงจะนํามาให้สายวทิ ยาการอนศุ าสนาจารย์มีความเจรญิ กา้ วหนา้ อยา่ งยง่ั ยืน .......................................... 112 ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ. ลําดับที่ ๒๖ ( พ.ศ. ๒๕๕๙ – ปจั จุบัน )

๑๕๘ บทท่ี ๑๘ บทความ

๑๕๙ บทบาทอนุศาสนาจารย์กับการพฒั นาเยาวชน พ.อ. อรณุ นลิ สุวรรณ (อดตี อนุศาสนาจารย์ กองทพั ภาคท่ี ๔) .......................................... ๑. เกรน่ิ นาํ พันโท เกรียงไกร จันทะแจ่ม ได้ขอให้เขียนบทความเรื่อง “บทบาทอนุศาสนาจารย์กับการพัฒนา เยาวชน” เพอ่ื นําไปลงพมิ พ์ในหนังสอื ๑๐๐ ปี การอนุศาสนาจารย์ไทย ดว้ ยเห็นวา่ ขา้ พเจ้าทําโครงการเกี่ยวกับ เยาวชนตลอดมา ก็รู้สึกเขินนิดๆ เพราะงานท่ีทําเป็นงานเล็กๆ ของสํานักสงฆ์ คือ “โครงการของศูนย์ศึกษา พระพุทธศาสนาวันอาทติ ย์ ตําบลทา่ ขา้ ม” (ศอต.ทา่ ขา้ ม) เปน็ โครงการไมใ่ หญ่ แต่ตั้งปณิธานไว้ในใจว่าจะทําไป ตลอดชวี ติ กจ็ ะเล่าถึงวิธคี ดิ ในการทาํ งานสว่ นนี้สกู่ นั ฟงั ๒. ความเป็นมาของโครงการ ก่อนอ่ืนก็จะขอเล่าความเป็นมาก่อนจะมาเป็น “โครงการศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ ตําบล ทา่ ขา้ ม” สักเล็กน้อย กล่าวคอื ในปี พ.ศ.๒๕๐๒ ขา้ พเจ้าจบการศึกษาชั้น ป.๔ จากโรงเรียนวัดหนิ เกล้ียง ตําบล ท่าข้าม อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา แต่ไม่สามารถเรียนต่อช้ัน ป.๕ ได้ เพราะพ่อป่วยหนัก แม่ไม่อนุญาตให้ เรยี น จนถงึ ปี พ.ศ.๒๕๐๓ พ่อถงึ แก่กรรม แม่ขอให้ข้าพเจ้าบวชเณรหน้าศพพ่อ บวชแล้วก็ไปอยู่วัดท่าข้าม ท่อง บทสวดมนตก์ บั หลวงตา จนจบปาฏโิ มกข์ แตไ่ มไ่ ด้เรียนนกั ธรรมเพราะไมม่ คี รูสอน จนมาถึงปี พ.ศ.๒๕๐๖ พระอธิการเทือน ปนาโท (พระครูปนาทธรรมคุณ) เจ้าอาวาสวัดหินเกลี้ยง มา เปิดสอนนักธรรมที่สํานักสงฆ์วชิรธรรม (เกาะปลัก) ซึ่งเป็นสํานักเรียนพระปริยัติธรรมประจําตําบลท่าข้าม ได้

๑๖๐ ซักชวนข้าพเจ้ากับเพื่อนๆสามเณรวัดท่าข้ามและวัดอ่ืน ๆ อีกหลายรูปไปเรียนนักธรรม โดยท่านพระอธิการ เทอื น ปนาโท เป็นผู้สอนเอง ปรากฏว่าในปีน้ัน สามเณรอรุณ นิลสุวรรณ สอบนักธรรมช้ันตรีได้เป็นรูปแรกของ ตําบลทา่ ขา้ ม ต่อมาพระอธิการเทือน ปนาโท พจิ ารณาเหน็ ว่า ขา้ พเจ้ามีแววทางการศกึ ษา ในปี พ.ศ.๒๕๐๘ จึงจดั สง่ ไปเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนกบาลี ณ วัดคูหาสวรรค์ จังหวัดพัทลงุ และในปี พ.ศ.๒๕๑๐ สอบ ป.ธ. ๑-๒ ได้ ปี ๒๕๑๑ สอบ ป.ธ. ๓ ได้ และ ปี พ.ศ. ๒๕๑๒ สอบ ป.ธ.๔ ได้ ตามลาํ ดบั จากนน้ั เดนิ ทางเขา้ กรุงเทพมหานคร เขา้ ศึกษาต่อ ณ มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วดั มหาธาตุ ท่าพระจนั ทร์ ในปี ๒๕๑๓ จนจบปรญิ ญาตรีพทุ ธ ศาสตร์บณั ฑิต (เกยี รตินิยมอนั ดับ ๒) ในปี พ.ศ.๒๕๒๑ (พธ.บ.รนุ่ ที่ ๒๔ รุน่ เดยี วกบั พระพรหมบัณฑติ (ประยูร ธมมฺ จิตโฺ ต) อดตี อธิการบดี ม.มจร.) จากน้นั ในปี พ.ศ. ๒๕๒๒ กไ็ ปปฏิบัตศิ าสนกิจท่ีอาํ เภอยา่ นตาขาว จังหวดั ตรัง ปี พ.ศ.๒๕๒๓ เดนิ ทางไปศกึ ษาตอ่ ระดบั ปริญญาโท ณ มหาวิทยาลยั มทั ราส รฐั ทมฬิ นาฑู ประเทศอนิ เดีย ปี พ.ศ.๒๕๒๕ ลาสกิ ขา กลบั มาเป็นอาจารยส์ อน ณ มจร. วัดมหาธาตุ ท่าพระจันทร์ และในปี พ.ศ.๒๕๒๖ ก็ สอบบรรจุเป็น อศจ.ยศ.ทบ. ได้ตามลําดบั จากจุดเร่ิมต้น ที่เข้ามาศึกษานักธรรมช้ันตรี กับ พระครูปนาทธรรมคุณ (เทือน ปนาโท) น้ัน ทําให้ ข้าพเจ้าได้รับความสําเร็จในชีวิตมีความโดดเด่นที่เรียกว่า เป็นคนแรกของตําบลท่าข้ามหลายอย่าง คือ สอบ นกั ธรรมตรีไดเ้ ป็นคนแรก สอบบาลไี ดเ้ ปน็ มหาเปรยี ญคนแรก เรียนจบปริญญาตรี พทุ ธศาสตรบณั ฑิต เป็นคน แรก เรียนจบปริญญาโท จากประเทศอินเดียเป็นคนแรก และสอบบรรจุเป็นอนุศาสนาจารย์กองทัพบกได้เป็น คนแรก ของตําบลท่าข้ามอีกเช่นกัน ความสําเร็จของข้าพเจ้าในส่วนนี้เป็นแรงบันดาลใจให้รุ่นน้อง ๆ ถือเป็น แบบอย่าง ได้เดินตามมาศึกษากับพระครูปนาทธรรมคุณ จน สอบเปรียญได้ และจบ ปริญญาตรี ปริญญาโท ต่อมาอีกนบั ได้ ๒๑ คน เม่อื เปน็ อนศุ าสนาจารย์ กองทพั บกแลว้ ไดป้ ฏิบัตงิ านในหน้าที่ อศจ. หลายพ้ืนที่ เช่น กรุงเทพมหานคร จังหวัดสระแก้ว จังหวัดสระบุรี และในปีพ.ศ. ๒๕๓๑ ก็ได้ย้ายไปปฏิบัติหน้าที่ ณ กรมทหารราบที่ ๕ ค่ายเสนา ณรงค์ อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ท่ีเป็นภูมิลําเนาเดิม ได้มีโอกาสสนองงานคณะสงฆ์ และครูบาอาจารย์ อย่างใกล้ชิด และอบอุ่นย่ิง โดยเฉพาะได้สืบทอดงาน ศพอ.หาดใหญ่ ท่ีก่อต้ังโดย พ.อ.ประทัย โกศลกุล อดีต

๑๖๑ อศจ.ผส.๕ ในปี พ.ศ.๒๕๐๗ โดยดํารงตําแหน่งเลขานุการ ศพอ.หาดใหญ่ เป็นคนที่ ๕ ต่อจาก พ.อ. ประทัย โกศลกุล, พ.อ. ศรสี วัสดิ์ แสนพวง, พ.ท. สรุ นิ ทร์ พัฒนศริ ิ และ พ.อ. อรุณ ศภุ รตั นดิลก ตามลาํ ดบั ในฐานะเลขานุการ ศพอ.หาดใหญ่ ได้ร่วมกับพระเถระหลายรูป เช่น พระครูโสภณคุณาทร วัดคลอง เปล ริเริม่ จัดโครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดรู อ้ นในนามคณะสงฆ์อําเภอหาดใหญ่ ร่วมกับ ค่ายเสนาณรงค์ข้ึน เป็นครั้งแรกในปี พ.ศ.๒๕๓๒ และครั้งต่อมาอีกหลายปี จนทําให้ค่ายเสนาณรงค์กับคณะสงฆ์ มีความสัมพันธ์ กันอย่างใกล้ชิด จนต่อมา ผบ.จทบ.สข. (ผบ.มทบ.๔๒) ได้รับพระราชทานรางวัลเสมาธรรมจักร เพราะผลงาน สนับสนุนศพอ.หาดใหญ่ หลายท่านติดต่อกัน ในด้านพิธีกรรม ได้ร่วมกับพระครูอาทรวรคุณ เลขานุการเจ้า คณะจงั หวดั สงขลา ปรบั ปรุงการปฏบิ ตั ิพิธกี รรมตา่ ง ๆ ให้เรียบร้อยขึ้น และปฏิบัติพิธีเป็นแบบอย่างที่ดี จนเป็น ที่กล่าวขานกันว่า ถ้ามี พระครูอาทรวรคุณ และ ร.อ.อรุณ นิลสุวรรณ อยู่แล้ว งานพิธีนั้นต้องเรียบร้อย ซึ่งพระ ครอู าทรวรคุณ พระครูโสภณคุณาทร และ พ.อ.อรุณ นิลสุวรรณ ซึ่งเกิดปี พ.ศ.เดียวกัน กลายเป็นเพ่ือนคู่ทุกข์ คยู่ าก ด้วยกันมาจนปจั จุบนั ในส่วนท่ีเกี่ยวกับพระครูปนาทธรรมคุณ (เทือน ปนาโท) ก็ได้แวะเวียนไปเยี่ยม ไปช่วยงานอย่าง สม่ําเสมอ เห็นว่าท่านมีสุขภาพแข็งแรงดี ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๓๙ พระครูปนาทธรรมคุณ ได้เริ่มก่อสร้างศาลา การเปรียญหลังใหม่ของสํานักสงฆ์วชิรธรรม (เกาะปลัก) ทดแทนหลังเก่าท่ีชํารุดทรุดโทรม เพื่อใช้เป็นสถานที่ บาํ เพญ็ กุศล ศึกษาธรรมของพระเณรและเป็นท่ีฝกึ อบรมเยาวชนให้เปน็ หลักฐาน แต่ศาลายังไม่ทันเสร็จ พระครู ปนาทธรรมคณุ ได้มรณภาพลงดว้ ยโรคลมปจั จบุ นั ในวันท่ี ๕ ธันวาคม ๒๕๔๐ สิริรวมอายไุ ด้เพยี ง ๖๗ ปี จากการมรณภาพของพระครูปนาทธรรมคุณ ได้กลายเป็นจุดเร่ิมต้นของข้าพเจ้าที่ได้เข้าไปมีบทบาทใน การพัฒนาเยาวชนในตําบลท่าข้าม เพื่อสืบทอดเจตนารมณ์ของพระครูปนาทธรรมคุณ อย่างต่อเนื่องมาจน ปัจจุบัน การดําเนินการพัฒนาเยาวชน ตําบลท่าข้าม (ศอต.ท่าข้าม) จะมีความแตกต่าง จากการดําเนินงาน ศพอ.หาดใหญ่ เพราะว่างาน ศพอ.หาดใหญ่ เป็นงานเสวยบุญบารมีของครูอาจารย์ท่ีสะสมสร้างไว้ ให้ทั้งเงิน ท้งั คน ทงั้ ช่ือเสียงของงาน ท่คี นร้จู กั ศรทั ธาอย่แู ลว้ แตก่ ารดาํ เนินงาน ศอต.ทา่ ข้ามนั้น เป็นการเสวยวิบากกรรม ท่ีต้องสูญเสียอาจารย์ไปอย่างกะทันหัน และท้ิงภาระการสร้างศาลาไว้เบื้องหลัง จึงต้องใช้ความพยายามอย่าง สูงในการสร้างงาน สร้างคน สร้างบารมี ความดี และชื่อเสียง เพื่อสืบทอดเจตนารมณ์ของท่านอาจารย์ไว้ ซึ่ง ต้องเร่ิมต้นจากศูนย์ (ชีวติ ตดิ ลบ) เพื่อให้เกดิ ความศรัทธาเชือ่ ถือ ตรงนีเ้ ป็นงานที่ท้าทายอย่างย่ิง แต่พยายามทํา ได้สาํ เร็จแลว้ ในระดบั หนงึ่ ซึ่งจะเลา่ สกู่ ันฟงั ตอ่ ไป

๑๖๒ ๓.แนวทางการดําเนนิ งานพฒั นาเยาวชนของศอต.ท่าข้าม เมื่อพูดถึงแนวทางในการดําเนินงานของ ศอต.ท่าข้าม ถ้าพูดแบบสํานวนของนายกรัฐมนตรี พล.อ.ประ ยทุ ธ จนั ทร์โอชา กใ็ ช้หลักศาสตรพ์ ระราชา ๓ หลัก คือ ยดึ หลักมัน่ คง มง่ั คงั่ และย่ังยืน ไดด้ ังน้ี คือ แนวทางที่ ๑ หลักการสร้างความมั่นคง ๑. ในปี พ.ศ.๒๕๔๒ หลงั จากพระครูปนาทธรรมคณุ มรณภาพแล้ว ก็ไดร้ ่วมกบั พระมหามนตรี สุขขวัญ (ผู้เป็นศิษย์ของพระครูปนาทธรรมคุณ และมีศักดิ์เป็นหลานของข้าพเจ้า) ได้มาจําพรรษาท่ีสํานักสงฆ์ วชิรธรรม (เกาะปลัก) เปิดอบรมเยาวชนข้ึนเป็นครั้งแรก โดยเชิญชวนเยาวชนในพ้ืนที่ใกล้เคียง มาทําความดี ถวายหลวงพ่อ (พระครูปนาทธรรมคุณ) ในช่วงเข้าพรรษา ตอนเย็น เวลา ๑๘.๐๐-๒๐.๐๐ น. โดยฝึกการไหว้ พระสวดมนต์ นั่งสมาธิ เล่านิทานชาดกให้ฟังแล้วเลี้ยงขนม เคร่ืองดื่ม ตามสมควร ก็มีเยาวชนมาสมัครตั้งแต่ ระดับ อนุบาล จนถึง ม.๓ จํานวนถึง ๖๑ คน พอออกพรรษาก็มอบเกียรติบัตรให้ในนามเจ้าคณะอําเภอ หาดใหญ่ พร้อมด้วยทุนรางวัลการศึกษา ก็เป็นที่ฮือฮาพอใจของเยาวชนและผู้ปกครอง ทั่วไป งานช่วงนี้จะทํา พร้อมๆกบั การหาทุนเตรยี มสร้างศาลาการเปรยี ญทีค่ ้างคาอยู่ และทําตอ่ เน่ืองกันมา ๕ ปี ๒. ในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ เมื่อเห็นแนวทางการอบรมเยาวชนรุ่นเร่ิมแรกพอไปได้ ในปีนี้ก็ได้จัดทํา โครงการจัดต้ังกองทุนมูลนิธิชื่อว่า “กองทุนมูลนิธิพระครูปนาทธรรมคุณเพ่ือการศึกษา” โดยขออนุมัติ พระ ราชวีราภรณ์ เจ้าคณะจังหวัดสงขลา เป็นประธานกรรมการกองทุน พ.ท.อรุณ นิลสุวรรณ อศจ.พล.พัฒนา ๔ เป็นเลขานุการ ปรากฏว่า โครงการเร่ิมแรกได้รับเงินเข้ากองทุน ๑๐๐,๐๐๐ กว่าบาท (จากชีวิตเป็นศูนย์ ก็เร่ิม มีเงนิ เปน็ แสน) ทําให้เกิดกาํ ลงั ใจ มีพลงั ใจท่ีมง่ั คงขึ้น มุ่งม่ันทีจ่ ะพัฒนาต่อไปให้ดียง่ิ ข้ึน แนวทางที่ ๒ หลกั การสร้างความมั่งคงั่ ๑. ในปี พ.ศ.๒๕๔๖ ปีนี้การสร้างศาลาการเปรียญพอใช้ประโยชน์ได้แล้ว แต่ยังไม่เสร็จสมบูรณ์ จงึ ได้ขยายผลการฝึกอบรมเยาวชนใหก้ ว้างขึ้นในรปู แบบของศนู ยอ์ บรม (ศูนย์วันอาทิตย์) คือเปลี่ยนมาอบรมใน ทุกวันเสาร์ ตอนเช้า เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. บนศาลาการเปรียญหลังใหม่ และได้ขออนุมัติพระเทพวีรา ภรณ์ เจ้าคณะจังหวัดสงขลา ออกระเบียบจัดต้ังเป็นศูนย์อบรม ชื่อว่า “ศูนย์ฝึกอบรมศีลธรรมและวัฒนธรรม เยาวชน ตําบลท่าข้าม” โดยพระเทพวีราภรณ์ เจ้าคณะจังหวัดสงขลา ในนามประธานกองทุนมูลนิธิพระครูป นาทธรรมคุณเพื่อการศึกษา ลงนามแต่งตั้งให้ พระครูชยุตสุตคุณ เจ้าคณะตําบลท่าข้าม เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ นายสินธน อินทรัตน์ นายก อบต.ท่าข้าม เป็นประธานฝ่ายคฤหัสถ์ และ พ.ท.อรุณ นิลสุวรรณ เป็นเลขานุการ ผลปรากฏว่า ได้พัฒนายกระดับ ฐานะของศูนย์อบรมเป็นรูปแบบ มีระบบข้ึน แต่ยังไม่ได้จดทะเบียนกับ กรมการศาสนา ส่วนการเรียนการสอน ก็ใช้รูปแบบของ ศพอ.หาดใหญ่ ขอสนับสนุนพระอาจารย์ จากวัดหงส์ ประดิษฐาราม มาช่วยสอน บางทีพระอาจารย์ติดศาสนกิจ ก็ต้องสอนคนเดียว เม่ือต้องสอนคนเดียว ก็ต้องวาย แผนดังนี้ คือ ตอนเย็นวันศุกร์ เตรียมซ้ือขนม-นม-เครื่องดื่ม ใส่รถกระบะ เตรียมพร้อมไว้ทุกวัน พอเช้าวันเสาร์ ออกจากบ้านมาแต่เชา้ วธิ กี ารสอนคือ ๐๘.๐๐ น. ฝึกการไหว้พระสวดมนต์ นั่งสมาธิก่อน เวลา ๐๙.๐๐ น. พัก ทานอาหารว่าง (ขนม-นม ที่เตรียมมา) เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๐.๓๐ น. อบรมเนื้อหาวิชาการ จะสอนเร่ืองอะไร ก็ ออกเป็นแบบฝึกหัดมา ๒๐ - ๓๐ ข้อ ให้นักเรียนฝึกคิด-ทํา พอนักเรียนทําเสร็จก็จะเฉลย ช่วงท่ีเฉลย ก็ถือ

๑๖๓ โอกาสพูดอบรมไปด้วยตามเน้ือหาแบบฝึกหัดแล้วบันทึกผลคะแนนของนักเรียนทุกคนไว้ พอครบเทอม ก็รวม คะแนนเหมือนคะแนนสอบ แล้วให้ทุนรางวัลตามผลงานที่ทํา เวลา ๑๐.๓๐ น. ก็เล้ียงอาหารกลางวันอีกรอบ หนึ่ง ก่อนกลับบ้าน เวลา ๑๑.๐๐ น. สรุปผลงานประจําวัน รวมถึงความดีความชอบของทุกคนต่อเนื่อง กิจกรรมจะดําเนินไปทํานองนี้ ประเมินแล้ว นักเรียน พอใจ การอบรมเป็นไปด้วยความเรียบร้อยดี แต่ถ้าวันใด พระอาจารยม์ าสอนครบ ก็แยกยา้ ยกนั เข้าชนั้ เรียน ตามรปู แบบ ศพอ.นนั่ เอง ๒. ในปี พ.ศ. ๒๕๔๘ คณะสงฆจ์ ังหวัดสงขลา ไดเ้ ปดิ หนว่ ยวิทยบรกิ าร มจร.สงขลา ขึ้นที่วัดหงส์ ประดิษฐาราม พ.ท.อรุณ นิลสุวรรณ ได้รับเชิญให้เป็นอาจารย์สอนด้วย ก็ได้มีโอกาสพูดคุยเร่ืองการสอนอบรม เยาวชน ให้นิสิตฟัง และซักชวนให้ไปจําพรรษา และสอนเยาวชน ที่สํานักสงฆ์วชิรธรรม (เกาะปลัก) โดยตั้ง ปณิธานไว้ในใจว่า ถ้าพระนิสิตรูปใด ไปช่วยสอน ก็จะรับเป็นผู้อุปถัมภ์ค่าเทอม และค่าใช้จ่ายให้ท่าน จนจบ ปริญญาตรี ผลปรากฏว่า มีสมัคร ๒ รูป คือ พระเกียงไกร กับ พระพงษ์ศักด์ิ ได้มาเปิดสอนแบบธรรมศึกษาขึ้น เปน็ ปีแรก มีเยาวชนสมคั รเขา้ สอบ ๑๙ คน สอบได้ ๑๘ คน โดยส่งไปรว่ มสอบ ณ สนามสอบ วัดหงส์ประดิษฐา ราม เมือ่ มเี ยาวชน สอบธรรมศึกษาตรีได้ ชื่อเสียงก็ขจรขจายไป ผู้ปกครอง ก็ดีใจ โรงเรียนก็ภูมิใจ มี ผลทําให้เยาวชนมาสมัครเรียนมากขึ้น การสนับสนุนทุนดําเนินงานก็ง่ายข้ึน โดยเฉพาะ นายก อบต.ท่าข้าม ได้ จัดงบอุดหนุนให้ปีละ ๕๐,๐๐๐ บาท ทําให้ฐานะของ ศอต.ท่าข้าม หรือ พ.ท.อรุณ นิลสุวรรณ หรือ ตารุณ-ลุง รุณ เร่มิ ติดปาก ตดิ ใจ เยาวชน และชุมชนมากขึ้นเร่อื ยๆ ๓. ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ เมอื่ เยาวชน สมัครสอบธรรมศึกษามากขึ้น ก็มีอุปสรคในเรื่องสถานท่ีสอบ ธรรมศึกษา ที่เคยไปร่วมสอบกับวัดหงษ์ประดิษฐาราม สถานท่ี ก็ไม่เพียงพอ จึงได้ขออนุมัติพระเทพวีราภรณ์ เจ้าคณะจังหวัดสงขลา ลงนามหนังสือขอใช้สถานท่ีของโรงเรียนหาดใหญ่พิทยาคม ซึ่งอยู่ในตําบลทุ่งใหญ่ ติด กับตําบลท่าข้าม ให้เป็นสนามสอบธรรมศึกษาประจําปี ของคณะสงฆ์ตําบลท่าข้าม ผลการประสานงานเป็นไป ด้วยดีเพราะทางโรงเรียนหาดใหญ่พิทยาคม มีความประสงค์จะให้นักเรียนเข้าสอบธรรมศึกษาอยู่ด้วยแล้ว จึง ทําให้โรงเรียนระดับประถมศึกษาในตําบลท่าข้ามและตําบลทุ่งใหญ่ ที่เป็นเครือข่ายสมาชิกของ ศอต.ท่าข้าม ไดร้ ว่ มสอบธรรมศกึ ษา ณ โรงเรียนหาดใหญพ่ ิทยาคม ทง้ั หมดทกุ โรงเรยี น ผลดที ่เี กดิ ขึ้น คอื ๑. นักเรียนท่มี าเรียน ศอต.ท่าข้าม มีสถานท่สี อบธรรมศึกษาใกลบ้ า้ น ๒. พระอาจารย์ ศอต.ท่าข้าม ได้มีโอกาสไปสอนธรรมศึกษาในโรงเรียนหาดใหญ่พิทยาคม ได้ขยาย สมาชกิ เครือขา่ ยกวา้ งขวางมากข้ึน ๓. นกั เรียนระดบั ประถมศกึ ษาไดม้ โี อกาสเข้าเรียน ช้นั ม.๑ ทโ่ี รงเรียนหาดใหญ่พทิ ยาคม เพม่ิ มากขึ้น ๔. ลูกหลานเยาวชนในตําบลท่าข้าม ตําบลทุ่งใหญ่ ท่ีไม่ชอบเรียนธรรมะ พอไปเรียน ม.๑ ที่โรงเรียน หาดใหญ่พิทยาคม ก็ถูกบังคับให้สอบธรรมศึกษาทุกคน ก็ต้องพบตารุณท่ีนั่น เรียกว่า หนีตารุณ – ไม่พ้นเลย ทีเดียว และในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ นี้ เกียรตคิ ณุ ความดีของ ศอต.ท่าข้ามได้ขจรขจายไปอีกข้ึนหน่ึง นั้นคือ นายเอก พงษ์ อิสโร ลูกศิษย์รุ่นแรก ปี พ.ศ.๒๕๔๒ ซ่ึงกําลังเรียนอยู่ช้ัน ม.ปลายของโรงเรียนหาดใหญ่พิทยาคม ได้ริเร่ิม

๑๖๔ ขอเปิดโครงการอบรมเยาวชนภาคฤดูร้อนขึ้นท่ี ศอต.ท่าข้าม สํานักสงฆ์วชิรธรรม (เกาะปลัก) ในช่วง ๑-๓๐ เมษายน ๒๕๔๙ โดยมวี ตั ถุประสงค์ ๓ ประการ คือ ๑. เพอื่ ฝึกอบรมเยาวชนในห้วงปิดภาคเรียน ๒. เพ่ือสง่ เสริมความรกั ความสัมพนั ธ์อันดีระหว่าง พี่ๆ น้องๆ ในชุมชน ๓. เพื่อเสริมสรา้ งให้พี่ๆ เป็นผูน้ าํ ท่มี จี ติ อาสา กลา้ แสดงออก มใี จรกั และรู้จกั ทาํ งานกันเป็นทมี เมื่อพิจารณาข้อเสนอแล้ว เห็นว่า เป็นความริเริ่มท่ีดี ก็อนุมัติให้ดําเนินการและได้บรรจุโครงการน้ี เป็น โครงการของ ศอต.ทา่ ขา้ ม และดาํ เนินการพฒั นาต่อเนื่องมาจนปจั จบุ ันเป็นปีท่ี ๑๔ แลว้ นค่ี ือ แนวทางทพ่ี ฒั นาสรา้ งความมงั่ คัง่ หรือ ขยายผลงาน ศอต.ทา่ ข้ามใหก้ า้ วหน้ากว้างขวางขน้ึ ดว้ ยดี แนวทางที่ ๓ หลักการสร้างความยั่งยืน มาถึงตอนน้ี งานอบรมเยาวชนของ ศอต.ท่าข้าม มีงานหลัก ๆ อยู่ ๒ งาน (โครงการ) คอื ๑. โครงการอบรมเยาวชนภาคพรรษา อบรมในช่วงเดือน ก.ค.-ธ.ค. ของทุกปี เป็นการอบรมใน รูปแบบหลักสูตรธรรมศึกษา ตรี โท เอก รับสมัครเยาวชน ในระดับ ป.๓-ม.๓ ชั้น ป.๓-๔ อบรมปลูกฝัง คุณธรรมจริยธรรมพ้ืนฐาน และปูพ้ืนเพื่อเตรียมสอบธรรมศึกษา ส่วนในระดับชั้น ป.๕ ข้ึนไปสอนเพ่ือส่งเข้า สอบธรรมศกึ ษาประจําปขี องคณะสงฆ์ กลุ่มเยาวชนเป้าหมายในโครงการนี้ คือ นักเรียนจากโรงเรียนในตําบลท่าข้าม ๔ โรงเรียน คือ รร.วัดหินเกล้ียง รร.วัดท่าข้าม รร.วัดเขากลอย และรร.วัดแม่เตย ในตําบลทุ่งใหญ่มี ๓ โรงเรียน คือ รร.วัด พรุเตาะ รร.บ้านทุ่งใหญ่ และ รร.บ้านทุ่งงาย ถ้ารวม รร.หาดใหญ่พิทยาคม ซึ่งเป็นโรงเรียนระดับมัธยมด้วย เปน็ ๘ โรงเรยี น มนี ักเรียนเปา้ หมาย ๓๐๐ – ๔๐๐ คน วิธีการจดั การเรียนการสอน รร.วัดหินเกลี้ยง รร.วัดเขากลอย รร.วัดพรุเตาะ รร.วัดท่าข้าม และ รร.บ้านทุ่งใหญ่ ให้นักเรียนมาเรยี นในวนั เสาร์ ณ ศอต.ทา่ ข้าม เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. ส่วน รร.วัดแม่เตย รร.บ้านทุ่งงาย และ รร.หาดใหญ่พิทยาคม จะจัดครูไปสอนในโรงเรียน ไม่ต้องจัดเลี้ยง อาหาร-เคร่อื งด่มื ขอ้ ตกลงสาํ หรบั นกั เรยี น ๒ กลมุ่ น้คี ือ ๑. ถ้ามาเรียนท่ี ศอต.ท่าข้าม จะได้รับสิทธิ์ คือ เม่ืออบรมจบหลักสูตรจะได้รับ ทนุ การศึกษาตามความสามารถทกุ คน และถา้ สอบธรรมศึกษาได้ ก็จะได้รับทนุ อกี ๕๐๐ บาท (ได้ ๒) ๒. ถ้าครูไปสอนในโรงเรียน จะได้ทุนการศึกษาเมื่อสอบธรรมศึกษาได้เท่านั้น (ได้ ๑) การรบั ทนุ การศกึ ษาของนกั เรยี นผูเ้ ขา้ อบรมโครงการนี้ กาํ หนดในวันอาทติ ยท์ ่ี ๒ ของเดือน ธันวาคม ซึ่งตรงกับ วันทําบุญครบรอบวันมรณภาพของพระครูปนาทธรรมคุณ (เทือน ปนาโท) ประจําปี จะมีการเชิญทําบุญ ทอดผ้าป่าสามัคคีสมทบทนุ มูลนิธดิ ว้ ย สําหรบั ครสู อนปัจจบุ ันมคี รูจติ อาสา เปน็ หลักอยู่ ๔ ทา่ น คือ ๑. พ.อ.อรณุ นิลสวุ รรณ ๒. นายป้อน ณ มณี (ลูกศษิ ย์พระครปู นาทธรรมคุณ) ๓. นายฉลอง เพ็ชรขาว (ลกู ศิษยพ์ ระครูปนาทธรรมคุณ)

๑๖๕ ๔. นายอดิเรก แก้วมณีโชติ (ศิษย์เก่า ศอต.ท่าข้าม จบ ปริญญาตรีพุทธศาสตร บัณฑติ ) โครงการอบรมเยาวชนภาคพรรษานี้จะมีนักเรียนประมาณ ๑๐๐ – ๑๕๐ คน กลุ่มน้ี ตอ้ งบริหารจัดการเร่อื งอาหาร ขนม และเครอื่ งดมื่ บรกิ ารเปน็ ประจําทุกวัน ๒. โครงการอบรมเยาวชนภาคฤดูร้อน (โครงการพี่สอนน้อง) อบรมในช่วงวันที่ ๑ - ๓๐ เมษายน ช่วงปิดภาคเรียนของทุกปี รับสมัครเยาวชน ต้ังแต่ ป.๑ - ม.๓ (บางทีน้องอยู่ชั้นอนุบาลตามพ่ีมา ก็รับ ให้เรียนด้วย) กิจกรรมการเรียนการสอน คือ สอนวิชาสามัญศึกษา ภาษาไทย อังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา กิจกรรมไหว้พระสวดมนต์ นั่งสมาธิ มารยาทไทย รวมถึงกิจกรรมนันทนาการ และ การแข่งกฬี าสีด้วย เพ่ือใหน้ ้องๆ มคี วามรักผูกสมั พันธก์ นั กลุ่มเยาวชนเป้าหมายของโครงการน้ี นอกจากเยาวชนในโรงเรียน ๘ โรงเรียนข้างต้น แลว้ จะมเี ยาวชนทเี่ รยี นโรงเรียนในเมอื ง หรอื ตา่ งอาํ เภอ ต่างจังหวัด ด้วย เน่ืองจากเด็กบางคนปิดเทอมแล้วมา อยู่บ้านปู่ย่า ปู่ย่าก็พามาสมัครเข้าอบรมดีกว่าซนอยู่กับบ้านเฉยๆ ไม่ได้อะไร โครงการน้ี เน้นความรักผูกพันกัน ระหวา่ งพ่ๆี น้องๆ แต่มีการประเมนิ ผลทางวชิ าการและมอบทนุ การศกึ ษาแกผ่ ูเ้ ข้าอบรมทุกคนดว้ ย ผลดีของโครงการนี้ นอกจากประเด็นความรักของพ่ีน้องแล้ว ยังเป็นช่องทาง ประชาสัมพันธ์กิจกรรม ศอต.ท่าข้าม ได้กว้างไกล เพราะผู้ปกครองท่ีอยู่ไกลมาเห็นแล้วเกิดศรัทธา หรือเห็น ผลดีที่เกิดกับลูกหลาน ก็ช่วยกันแนะนําบอกล่าว แถมบางคร้ังยังชักชวนมาเป็นเจ้าภาพเล้ียงอาหารเด็กๆ อีก ดว้ ย จากโครงการที่ทําประจาํ ๒ โครงการนี้ ก็สะทอ้ นให้เห็นความมั่นคงของศอต.ท่าข้ามได้แล้วส่วน หน่ึง แตเ่ พือ่ ใหผ้ ลการพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื และต่อเน่อื ง ก็ไดก้ าํ หนดแนวนโยบายกบั เยาชนผ้ทู ี่มาเขา้ อบรมไวอ้ กี ว่า ๑. นกั เรยี นที่เขา้ อบรม ณ ศอต.ท่าข้าม ถา้ ทาํ ดีจะได้รบั รางวลั ทุกคน (ใช้สโลแกนวา่ ท่ีนี่ ....ใครทาํ ดี มรี างวลั มอบใหท้ ุกคน) ๒. ผู้ท่ีเข้าอบรมจบหลักสูตรและสอบธรรมศึกษา จะได้ทุนรางวัล ๒ ครั้ง คือ ขณะเข้า อบรม จบหลักสูตร ๑ ครง้ั และเมอ่ื สอบธรรมศกึ ษาได้ จะไดอ้ ีก ๑ ครั้ง ๓. ผูท้ ีเ่ ข้าอบรมตงั้ แต่ ป.๓ - ม.๓ รวม ๗ ปี หรืออย่างน้อย ๕ ปี จนจบ ม.๓ จะได้รบั ยก ยอ่ งเปน็ นกั เรียนดเี ด่น ไดร้ ับโลป่ ระกาศเกียรติคณุ ๑ โล่ ทกุ คน ๔. ผู้ที่เรียนตั้งแต่ ป.๓ - ม.๓ จบ ม.๓ แล้ว ถ้ายังเรียนต่อ ม.๔ หรือ ปวช. จะพิจารณา ใหเ้ ปน็ ครูสอนน้องโครงการอบรมภาคฤดูร้อนประจําปี ๕. ผู้ที่เรียนตั้งแต่ ป.๓ - ม.๓ ถ้าเป็นครูสอนน้องต่อเนื่องจนจบ ม.๖ หรือ ปวส. หรือ รบั ภาระเปน็ หัวหนา้ โครงการ จะไดร้ บั โล่ประกาศเกยี รติคุณอีก ๑ โล่ ๖. ผู้ที่เรียนตั้งแต่ ป.๓ – ม.๓ และเป็นครูสอนน้องดีเด่นหรือเป็นหัวหน้าโครงการภาค ฤดรู อ้ น เมอ่ื เข้าศึกษาตอ่ ในมหาวิทยาลยั จะได้รบั ทนุ การศกึ ษาอย่างตอ่ เนอ่ื งจนจบปรญิ ญาตรี

๑๖๖ น่ีคือหลักนโยบายการสร้างความย่ังยืนให้กับเยาวชนของ ศอต.ท่าข้าม ทําให้นักเรียนมองเห็นสิทธิ ประโยชน์ที่ตนจะได้รับเม่ือมาศึกษาและทํากิจกรรมกับศอต.ท่าข้าม ทําให้นักเรียนส่วนใหญ่ต้ังใจเรียนต้ังแต่ ป. ๓-ม.๓ ได้รับโล่นักเรียนดีเด่นไปแล้ว ไม่ตํ่ากว่า ๓๐ คน และที่มาเป็นครูสอนน้อง หรือ เป็นหัวหน้าโครงการ อบรมเยาวชนภาคฤดูร้อน และได้รับทุนการศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวน ๑๑ คน ถือเป็นผลงานการพัฒนา เยาวชนของ ศอต. ท่าขา้ ม ท่ีดําเนินการมาต้ังแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ จน ปัจจุบัน รวม ๒๒ ปี ท่ีเป็นรูปธรรม แม้จะ มจี าํ นวนน้อย แต่เหมาะสมกบั ฐานะของ ศอต.ทา่ ข้าม ท่ีเปน็ สาํ นักสงฆ์เล็กๆ ๔. บทสรุป ปัจจุบัน “ศูนย์ฝึกอบรมศีลธรรมและวัฒนธรรมเยาวชนตําบลท่าข้าม” (ศอต.ท่าข้าม) ได้จด ทะเบียนเป็น “ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์” ในนามของวัดหินเกล้ียง ซึ่งเป็นวัดท่ีพระครูปนาท ธรรมคุณ (เทอื น ปนาโท) เคยดาํ รงตําแหน่งเจ้าอาวาส เป็นหน่วยงานเผยแผ่ธรรมของกรมการศาสนา ทะเบียน เลขท่ี ๑/๒๕๕๙ แต่เปิดดําเนินการ ณ สาํ นกั สงฆ์วชริ ธรรม (เกาะปลกั ) ใช้ชอ่ื ยอ่ วา่ “ศอต.ท่าข้าม” เหมือนเดมิ นับเป็นการพัฒนามาสู่ความม่ันคง มั่งค่ัง และย่ังยืน ท่ีสมบูรณ์ ในระดับหน่ึง ซึ่งได้รับการ สนับสนุนงบประมาณจากกรมการศาสนา อบต.ท่าข้าม ดอกผลกองทุนมูลนิธิ พระครูปนาทธรรมคุณ เพื่อ การศึกษาคณะสงฆ์ และผู้มีจิตศรัทธาทั่วไป และโดยบารมีคุณความดีของท่านพระครูปนาทธรรมคุณ (เทือน ปนาโท) ถือเป็นต้นทุนหลักท่ีสําคัญที่ทําให้ภารกิจ ศอต.ท่าข้าม ดําเนินไปข้างหน้าอย่างย่ังยืนต่อไปไม่ ขาดสาย คณะศิษย์ผู้ดําเนินงานต่างสํานึกในอุปการคุณของพระครูปนาทธรรมคุณ ยึดถือคติธรรมประจําใจอยู่ เสมอว่า ยดึ ม่นั กตญั ญู เชดิ ชูครูอาจารย์ สืบทอดปณธิ าน ใหก้ ารศึกษาแกเ่ ยาวชน สง่ เสริมคนดี เพอื่ ทดแทนคุณแผน่ ดนิ . น่ีคือ เร่ืองเล่า เก่ียวกับ บทบาทของอนุศาสนาจารย์ ท่ีดําเนินการพัฒนาเยาวชนของ ศอต.ท่าข้าม นาํ มาเลา่ เพือ่ เปน็ แบบอยา่ งต่อไป ตดิ ตามชมภาพกิจกรรมไดท้ ี่ QR.code ..........................................

๑๖๗ การพัฒนาสมรรถนะอนุศาสนาจารยท์ หารบกไทยเชงิ พุทธบรู ณาการ The Competency Development of The Royal Thai Army’s Chaplains Based on Buddhist Integration พันเอก อคั รนิ ทร์ กําใจบญุ 113 .......................... บทคดั ยอ่ บทความน้ีเป็นบทความจากงานวิจัยเร่ือง “การพัฒนาสมรรถนะอนุศาสนาจารย์ทหารบกไทยเชิงพุทธบูรณาการ” ผลการวิจัยพบว่า ทฤษฎีที่เกี่ยวกับการพัฒนาสมรรถนะ คือ ทฤษฎีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ทฤษฎีการพัฒนาสมรรถนะ และทฤษฎีวงจรการบริหารคุณภาพ PDCA ซึ่งสมรรถนะที่ต้องการพัฒนามี ๓ อย่าง คือ สมรรถนะทางกาย สมรรถนะทาง จิตใจ และสมรรถนะทางปัญญา โดยมุ่งหวังผลคือการใช้สมรรถนะที่ได้รับการพัฒนาแล้วเหล่าน้ีเพ่ือขับเคล่ือนการปฏิบัติ ภารกิจซ่ึงเป็นบทบาทและหน้าท่ีของอนุศาสนาจารย์ทหารบกไทยท่ีสําคัญ๔ ด้านคือ๑) การอบรมการสอนศีลธรรม ๒)การ ปฏิบัติธรรม ๓) การปฏิบัติศาสนพิธี และ ๔) การเยี่ยมไข้การพัฒนาสมรรถนะสามารถนําหลักพุทธธรรมมาบูรณาการคือ ๑) อิทธิบาท ๔,๒)พรหมวิหาร ๔,๓) ภาวนา ๔,๔)กัลยาณมิตรธรรม ๗, ๕) ธรรมเทสกธรรม ๕, ๖) เทศนาวิธี ๔, และ ๗) อนุ ศาสนีปาฏิหารยิ ์ การนําหลักธรรมมาผสมผสานเข้าเป็นวิถีการดําเนินชีวิต แนวทางการพัฒนาสมรรถนะอนุศาสนาจารย์ทหารบกไทย เชิงพุทธบูรณาการ เรียกว่า PACKED MODEL ประกอบด้วย P = Planning การวางแผนเตรียมการเพื่อการปฏิบัติ A = Army’s Goal เป้าหมายของกองทัพบกหรือผลที่ต้องการบรรลุถึง C = Cooperation ความร่วมมือกันท้ังทางด้านกายภาพ จิตใจและสติปัญญา มีการประสานงานกันอย่างใกล้ชิด K = Kick-off คือการเริ่มต้นลงมือปฏิบัติอย่างจริงจัง E = Elation อนุศาสนาจารย์มีความภาคภูมิใจในบทบาทและหน้าท่ีของตนเอง D = Dharma คือ หลักธรรมะ อนุศาสนาจารย์นําหลักธรรม ในทางพระพทุ ธศาสนาดงั กลา่ วแล้วมาประยุกตใ์ ช้ เพ่ือนาํ ไปสู่ความมคี ณุ ภาพแห่งสมรรถนะทางกายทางจิตใจและทางปญั ญา คําสาํ คญั : การพฒั นาสมรรถนะ อนศุ าสนาจารยท์ หารบกไทย พทุ ธบรู ณาการ Abstract This article from the dissertation entitled ‘The Competency Development of The Royal Thai Army’s Chaplains Based on Buddhist Integration’. This is a qualitative research done by studying documentaries, in-depth interview and focus group discussion. In the research, it was clearly found that the theories concerning with the competencies refer to the theories of human resource development, theory of competency, and theory of PDCA wherein the desirable competencies are primarily of three aspects: physical, mental and intellectual competency; each theory is purposely assigned to utilize the developed competency to effectively drive the Royal Thai Army’s chaplains’ roles and duty into the following four categories: 1) teaching and training of morality, 2) practicing Dhamma, 3) performing religious rites, and 4) attending of sick person. In these matters, the Buddhist integrated development of competencies are actualized through: 1) four paths of accomplishment, 2) four sublime states of mind, 3) four kinds of development, 4) seven qualities of a good friend, 5) five qualities of a preacher, 6) four Buddhist styles of teaching, and 7) marvel on teaching. 113หน.อบรม กอศจ.ยศ.ทบ. ,นสิ ติ พุทธศาสตรดษุ ฎีบัณฑติ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั

๑๖๘ In the application of the integrated Buddhist teachings into ways of life, it showed that the guidelines to develop the Royal Thai Army’s chaplains’ competencies are called PACKED MODEL comprising of P meaning Planning to perform, A meaning Army’s Goal referring to the Royal Thai Army’ s goal or expected result, C meaning Cooperation where physical, mental and intellectual cooperation are closely given, K meaning Kicking-off referring to making an effort in doing what is assigned, E meaning Elation whereby all chaplains are proud of their roles an duty, D meaning Dhamma by which all chaplains put the Buddhist teachings into their practice in order to get the physical, mental and intellectual competencies respectively. Keywords:Competency Development,The Royal Thai Army’s Chaplains, Buddhist Integration. ๑. บทนาํ การทหารมีไว้ท้ังเพ่ือการสงครามและมิใช่สงครามคือทั้งการรบและมิใช่การรบ และส่วนอันสําคัญที่มิใช่การรบก็ คือการพัฒนาประเทศการปฏิบัติการทางทหารด้านการรบ ปัจจัยสําคัญท่ีจะนําไปสู่ความสําเร็จแห่งชัยชนะซ่ึงถือว่าเป็นพลัง อํานาจทางการทหาร ประกอบด้วย ๒ ส่วน คือ พลังอํานาจกําลังรบที่มีตัวตน เช่น กําลังพล ยานพาหนะ และอาวุธ ยทุ โธปกรณ์ และพลังอํานาจกําลังรบที่ไม่มีตัวตน (Intangible) เช่น ความกล้าหาญ ความเสียสละ ความอดทน เห็นได้ว่าคน เป็นได้ทั้งกําลังรบท่ีมีตัวตนและไม่มีตัวตน114ขึ้นชื่อว่าสงครามแม้จะพยายามลดโทษให้น้อยลงเท่าไหร่แล้วก็ตาม ก็ยังเป็นท่ี สยดสยองแก่มวลมนุษย์ชาติอย่างเหลือท่ีจะพรรณนาอยู่นั่นเอง ซึ่งส่ิงที่ดีท่ีสุด คือ สันติภาพ ความสงบเป็นสิ่งอันประเสริฐ หนทางที่จะบรรเทาความร้ายกาจของสงครามท่ีเช่ือกันว่าได้ผลมากก็คือการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Development : HRD) ด้วยการให้การศึกษา เพราะการศึกษาจะกระทําให้บุคคลเป็นอารยะชน และในท่ีสุดก็จะมีหิริและ โอตตัปปะ115 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ คือ การทําให้มนุษย์เจริญขึ้นมีสมรรถนะมากขึ้นจนกลายเป็นทรัพยากรที่มีค่าใน สังคมและในประเทศ กระบวนการที่ส่งเสริมให้บุคคลเพ่ิมพูนความรู้และทักษะมีพฤติกรรมการทํางานที่เหมาะสมกับงานท่ี รับผิดชอบ ซ่ึงเป็นการเพ่ิมสมรรถนะของบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพการพัฒนาสมรรถนะของมนุษย์ จึงเป็นส่ิงที่สําคัญในกระบวนการพัฒนาประเทศ ท้ังน้ี เพราะมนุษย์เป็นทรัพยากรท่ีมีค่าย่ิงกว่าทรัพยากรธรรมชาติใดๆ รัฐบาลจงึ ใหค้ วามสําคญั กบั การพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์ใหม้ ากยิง่ ขน้ึ เพราะได้เลง็ เห็นแลว้ วา่ แม้จะมีทรัพยากรธรรมชาติจํากัด แต่ถ้าพลเมืองในประเทศมีคุณภาพมีสมรรถนะดีมีการศึกษามีความสํานึกดีในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ประเทศชาติย่อมมี ความเจริญก้าวหน้า ในทํานองเดียวกัน ถ้าประเทศใดประกอบด้วยพลเมืองท่ีไร้คุณภาพ แม้จะมีทรัพยากรธรรมชาติอย่างอุดม สมบูรณเ์ พยี งใด ก็ไมส่ ามารถรักษาทรัพยากรธรรมชาติท่มี ีอย่แู ละใชท้ รัพยากรนน้ั ให้คมุ้ คา่ ได้ การจะพัฒนาบุคลากรขององค์กร จําเป็นจะต้องมีการประเมินความสามารถของบุคลากรในองค์กรให้รู้ว่า มีจุด แขง็ อะไรท่ีต้องสง่ เสรมิ สนบั สนุน และมจี ุดออ่ นอะไรที่ตอ้ งปรับปรงุ แก้ไข การพฒั นาที่สําคัญ คอื ตอ้ งใหร้ ู้เท่าทันความเปน็ ไปของ ความเปล่ียนแปลงและตอบรับความต้องการของโลกในอนาคต ทรัพยากรมนุษย์เป็นองค์ประกอบท่ีสําคัญยิ่งอย่างหน่ึงของ องคก์ ร เพราะจะเป็นผู้นาํ เอาทรพั ยากรดา้ นอ่ืนๆ ขององคก์ รในการท่มี ีอย่อู ยา่ งจํากัดมาใช้เพ่ือให้เกิดประโยชน์แก่องค์กรให้มาก ท่ีสุด ท้ังยังเป็นผู้จัดการหรือดําเนินงานให้แก่องค์กรในการท่ีจะแสวงหาทรัพยากรอ่ืนๆ ที่จําเป็นให้แก่องค์กรด้วย หาก บุคลากรเป็นผู้ขาดประสิทธิภาพ ทรัพยากรต่างๆ เหล่าน้ัน ก็จะถูกนําไปใช้สอยอย่างไร้ประสิทธิภาพ ดังนั้น การพัฒนาบุคลากร เปน็ สิง่ จําเปน็ ต่อประสทิ ธภิ าพงานเปน็ อยา่ งมาก จาํ เปน็ ต้องมีการอบรมแนะนาํ แกผ่ ู้เข้าทาํ งานใหม่ หรอื แม้ผู้ทีไ่ ด้เข้าทาํ งาน 114คงชีพ ตันตระวาณิชย์, พันตรี, “คุณภาพชีวิตการทํางานของนายทหารช้ันประทวน สังกัดกรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็กรักษา พระองค”์ , วิทยานพิ นธศ์ ลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต(รัฐศาสตร์), (บณั ฑติ วทิ ยาลัย: มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, ๒๕๔๓), หนา้ ๒. 115กองทัพบก, ตาํ รายทุ ธศาสตร์ของกรมยุทธการทหารบก, (กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พอ์ รณุ การพมิ พ์, ๒๔๗๐), หน้า ๑๔.

๑๖๙ มานานแล้วกค็ วรมีการอบรมเพอื่ พฒั นาสมรรถนะใหก้ ้าวทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงของโลกซ่งึ มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา116 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเล่ือมใสและใฝ่พระราชศรัทธาในพระบวรพุทธศาสนาเป็นอย่างยิ่ง ทั้งในทางปริยัติและทางปฏิบัติ ทรงพระราชนิพนธ์หนังสือเกี่ยวกับธรรมะไว้เป็นจํานวนมาก กับได้ทรงริเริ่มให้มี “อนศุ าสนาจารย”์ เกิดขึน้ เป็นครั้งในกองทัพบก เพ่ือเปน็ ทป่ี รึกษาและเป็นผูป้ ลุกปลอมใจแก่บรรดาทหารหาญ117ดังพระราช ปรารภเม่ือคราวท่ีได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กระทรวงกลาโหมจัดส่งกองทหารอาสาไปช่วยราชสัมพันธมิตรในงาน ราชการสงคราม โดยมีกระแสพระราชปรารภ ใจความว่า “ทหารท่ีจากบ้านเมืองไปคราวนี้ต้องไปอยู่ในถิ่นไกล ไม่ได้พบเห็น พระเหมอื นอยูใ่ นบา้ นเมืองของตน จิตใจจะเหินห่างจากธรรมะ ถึงยามคะนองก็จะฮึกเหิมเกินไป เป็นเหตุให้เส่ือมเสีย ไม่มีใครจะ คอยใหโ้ อวาทตักเตอื น ถงึ คราวทุกข์ร้อน ก็อาดูรระสํ่าระสาย ไม่มีใครจะช่วยปลดเปล้ืองบรรเทาให้ ดูเป็นการว้าเหว่น่าอนาถ ถ้า มีอนศุ าสนาจารย์ออกไป จะได้คอยอนุศาสน์พรํ่าสอนและปลอบโยนปลดเปลื้องในยามทุกข์”118 คําว่า “อนุศาสนาจารย์” จึง เปน็ พระราชมตทิ ท่ี รงเร่ิมบัญญัติข้นึ ในราชการคราวน้นั เป็นครั้งแรก การให้การศึกษาด้านการพระศาสนาในหน่วยงานทหารเพ่ือให้บรรลุผลตามที่ต้องการ ผู้ที่ถ่ายทอดต้องใช้ความรู้ ความสามรถและความพยายามเป็นอย่างมาก และถึงแม้จะมีอุปสรรคขัดขวาง ก็ควรต้องใช้ความพยายามขจัดส้ินไปให้จงได้ จึงจะได้ผลสําเร็จ น่ันคือ ทหารของชาติยึดม่ันอยู่ในความประพฤติดี มีศีลธรรมจรรยางดงาม คู่ควรแก่ศักดิ์ศรีแก่การเป็นรั้ว ของชาติ และรักษาความม่ันคงของชาตใิ ห้ย่ังยนื ตลอดไป โดยสภาพบรรยากาศของกองทพั น้ัน สายการบังคับบัญชา ทําให้คน ท่ีมีอํานาจโดยเฉพาะผู้ท่ีขึ้นสู่อํานาจโดยวิถีที่ไม่ถูกต้องตามระบบ รู้สึกโดดเด่ียว ว้าเหว่ ไม่ปลอดภัย เกิดความกลัว ไม่ม่ันใจ หวาดระแวงวา่ อํานาจจะลดลง จึงพยายามที่หาเวทย์มนต์คาถา การสะเดาะเคราะห์ การสืบชะตามาช่วย ปรากฏการณ์เช่นนี้ บ่งบอกถึงความไม่มน่ั ใจในหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา119 บทบาทหรือภารกิจของอนุศาสนาจารย์ในปัจจุบันตามท่ีได้รับมอบหมายจากกองทัพบกมีหน้าท่ีความปรากฏตาม หมายเลขชํานาญการทางทหาร (ชกท.) ๕๓๑๐ ความวา่ อนุศาสนาจารยห์ น้าท่ที ่ัวไป ปฏิบตั กิ ารหรืออํานวยการเกี่ยวกับการศาสนา และให้คําแนะนําแก่ผู้บังคับบัญชาในปัญหาท้ังปวงเกี่ยวศาสนาและขวัญ หน้าที่เฉพาะปฏิบัติการเกี่ยวการบริการทางศาสนา และวางโครงการให้ทหารมีโอกาสได้ปฏิบัติศาสนกิจ เย่ียมเยียนผู้เจ็บป่วยและนักโทษทหาร ช่วยเหลือและประสานงานในการ ดําเนินการให้ทหารมขี วัญดี มสี ว่ นในการอบรมผูค้ ัดเลือกเข้ามาเปน็ ทหารและทาํ การบรรยายอบรมทหารเกี่ยวกับศาสนา ติดต่อ ประสานงานกับองค์การสงเคราะห์ต่างๆ เช่น สภากาชาด หรือวัดในท้องถ่ินรับและแจกจ่ายเอกสารเกี่ยวกับศาสนา และรายงาน การปฏบิ ัตขิ องตน120 การปฏบิ ตั ิในภารกิจของอนุศาสนาจารย์ตามทีไ่ ด้รับมอบหมายจากกองทพั บกน้นั สามารถสรุปได้เป็น ๔ ด้าน คือ๑. การอบรมการสอนศีลธรรม ๒. การปฏิบัติธรรมเจริญจิตภาวนา ๓. การปฏิบัติศาสนพิธี และ ๔. การเยี่ยมไข้ ซ่ึงบทบาทของ อนศุ าสนาจารยน์ น้ั เป็นบทบาทของผูช้ ้นี าํ ทางด้านความคดิ และการปฏบิ ตั ิตนเปน็ ตัวอยา่ งเป็นแบบอย่างที่ดีแกก่ ําลงั พลของหน่วย การปฏิบัติภารกิจท้ัง ๔ ด้านของอนุศาสนาจารย์ตามที่กล่าวมาน้ัน พบว่า อนุศาสนาจารย์ยังมิได้ใช้สมรรถนะของตนเองใน การปฏิบัติภารกิจท้ัง ๔ ด้านอย่างเต็มที่ จึงทําให้ผู้บังคับบัญชาส่วนใหญ่ในหน่วยทหารมิได้มองอนุศาสนาจารย์ในฐานะเป็น ผู้นําทางจิตวิญญาณ ซึ่งมิได้ตรงกับเจตนารมณ์หลักของการก่อเกิดกําเนิดอนุศาสนาจารย์ตามท่ีพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชปรารภให้มีอนุศาสนาจารย์ และอนุศาสนาจารย์ยังขาดทักษะในการสอน การอบรม การนํากําลังพลเข้า ปฏิบตั ิธรรมเนอื่ งจากขาดองค์ความรแู้ ละความเข้าใจ รวมถึงขาดหลักวิธคี ดิ และอดุ มการณ์ในความเป็นอนศุ าสนาจารย์121 116สมาน รักสิโยกฤฎ์, ความรู้ท่ัวไปเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล, พิมพ์ครั้งที่ ๑๓, (กรุงเทพมหานคร:สวัสดิการสํานักงาน กพ., ๒๕๓๐), หนา้ ๘๓. 117ปธาน ทองขุนนา, พันเอก, “รัชกาลท่ี ๖ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว”, นิตยสารยุทธโกษ, อรุณการพิมพ์, ปีที่ ๑๒๕ ฉบบั ที่ ๑ (ตลุ าคม-ธนั วาคม ๒๕๕๙): หนา้ ๒. 118กองทพั บก, คู่มอื การอนศุ าสนาจารย์กองทพั บก, (กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พก์ รมยุทธศกึ ษาทหารบก, ๒๕๓๘), หน้า ๔. 119วิเชียร ปราบพาล, เรืออากาศเอก, “การวิเคราะห์บทบาทอนุศาสนาจารย์ : ศึกษาเฉพาะกรณีอนุศาสนาจารย์ทหาร อากาศไทย”, สารนิพนธส์ ังคมสงเคราะหศ์ าสตรมหาบัณฑติ , (บณั ฑิตวทิ ยาลยั : มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร,์ ๒๕๔๐), หนา้ ๒. ๘กองทัพบก, คู่มือการอนศุ าสนาจารย์กองทัพบก, หนา้ ๑๒๘. 121สมั ภาษณ์ พันโท บวรวิทย์ ไชยศลิ ป์ หัวหนา้ แผนกกาํ ลังพล กองอนุศาสนาจารย์ กรมยทุ ธศึกษาทหารบก, ๓๐ สงิ หาคม ๒๕๖๑.

๑๗๐ ดังน้ัน อนุศาสนาจารย์ซ่ึงเป็นบุคลากรของกองทัพ มีหน้าท่ีอันสําคัญ คือ การปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมในหน่วยงาน ทหารการนําพากําลังพลปฏิบัติธรรมเจริญจิตภาวนา การปฏิบัติศาสนพิธีและการเย่ียมบํารุงขวัญกําลังพลผู้เจ็บป่วย จึงควรมี การพัฒนาสมรรถนะเพื่อความสําเร็จในภารกิจและหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย ถ้าขาดสมรรถนะความรู้ความสามารถก็จะ เป็นปัญหาต่อการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม การปฏิบัติธรรมเจริญจิตภาวนา การปฏิบัติศาสนพิธี และขวัญกําลังใจของกําลังพล ในกองทัพอันจะมีผลกระทบต่อความเจริญก้าวหน้าด้านคุณธรรมจริยธรรมของกําลังพลในกองทัพได้ผู้วิจัยเห็นว่า การพัฒนา สมรรถนะอนุศาสนาจารย์ทหารบกไทย โดยนําหลักพุทธธรรมเข้ามาบูรณาการมีความสําคัญย่ิง ซ่ึงจะนําไปสู่ความมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการปฏิบัติภารกิจอย่างต่อเน่ืองและยั่งยืน ผู้วิจัยจึงมีความสนใจท่ีจะศึกษาเรื่อง “การพัฒนาสมรรถนะ อนุศาสนาจารย์ทหารบกไทยเชิงพุทธบูรณาการ” องค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัยคร้ังน้ี ผู้บริหารสายวิทยาการอนุศาสนาจารย์ ทหารบกไทยและอนุศาสนาจารย์ทหารบกไทยสามารถนําไปเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาเพื่อการปฏิบัติงานให้เกิด ประโยชน์ต่อการพัฒนาสมรรถนะอนุศาสนาจารย์ทหารบกไทย ให้มีความรู้ความชํานาญและถึงความเจริญรุ่งเรืองในสาย วิทยาการอนศุ าสนาจารย์ทหารบกไทยต่อไป ๒. วตั ถุประสงค์ของการวจิ ัย ๒.๑ เพ่ือศึกษาแนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาสมรรถนะตามศาสตร์สมัยใหม่ และหลักพุทธธรรมของ อนศุ าสนาจารย์ทหารบกไทย ๒.๒ เพอ่ื ศกึ ษาบทบาท ภารกิจ สภาพปัญหา และสมรรถนะของอนศุ าสนาจารย์ทหารบกไทย ๒.๓ เพื่อเสนอแนว ทางการพฒั นาสมรรถนะอนุศาสนาจารยท์ หารบกไทยเชิงพุทธบรู ณาการ ๓. วธิ ีดําเนนิ การวจิ ยั วิธีดําเนินการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยมีวิธีการเก็บข้อมูลเชิงเอกสาร (Doccumentary Research)การสัมภาษณ์เชิงลึก(an in-depth interview) และการสนทนากลุ่มย่อย (Focus Group Discussion) แบ่งเป็น ๔ ข้นั ตอนใหญ่ ดังน้ี ขั้นตอนที่ ๑ ศึกษาค้นคว้าจากเอกสาร (Document Study) โดยศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎี หลักการพัฒนาสมรรถนะของบุคคลตามศาสตร์สมัยใหม่ รวบรวมข้อมูลจากหนังสือ ตํารา บทความ งานวิจัย ท่ีเกี่ยวกับการ พัฒนาสมรรถนะของบุคคล ศึกษาหลักพุทธธรรมท่ีสอดคล้องเหมาะสมกับการพัฒนาสมรรถนะ การศึกษาบทบาท ภารกิจ สภาพปัญหา จากข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ เช่น พระไตรปิฎก อรรถกถา และเอกสารหนังสือที่เก่ียวข้อง และสมรรถนะของ อนุศาสนาจารย์ทหารบกไทยที่พึงประสงค์ รวบรวมข้อมูลจากการสมั ภาษณเ์ ชิงลกึ ขั้นตอนท่ี ๒ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้สร้างแบบสัมภาษณ์ เพ่ือนําไปสัมภาษณ์ประชากรกลุ่ม ตัวอย่าง โดยปรึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษา และให้ผู้เชี่ยวชาญดําเนินการตรวจสอบแก้ไข ปรับปรุงเครื่องมือท่ีใช้ในการศึกษา วิจัย เพอื่ ให้มคี วามครบถ้วนถูกต้องสมบรู ณ์ ขั้นตอนที่ ๓ ลงพื้นที่เพ่ือทําการสัมภาษณ์เชิงลึกประชากรกลุ่มตัวอย่าง โดยประชากรท่ีใช้ในการเก็บข้อมูลเป็น พระสงฆ์ท่ีมีความรู้และเข้าใจบทบาทของอนุศาสนาจารย์ โดยมีลักษณะของการได้รู้จักและการปฏิบัติภารกิจหรือการ ร่วมงานกันบ่อยๆ พร้อมด้วยผู้บังคับบัญชาท่ีมีความเกี่ยวข้องกับอนุศาสนาจารย์โดยสายการบังคับบัญชา ท้ังในอดีตและ ปัจจบุ ัน และอนุศาสนาจารยช์ ั้นผู้ใหญ่ในฐานะเป็นผู้ทรงคุณวฒุ ิ ท้งั ท่เี ปน็ อดีตและปัจจบุ นั ขน้ั ตอนท่ี ๔ เก็บรวบรวมข้อมูลในการสัมภาษณ์จากการลงพ้ืนท่ีด้วยตนเอง โดยมีการจดบันทึกและทําการ บันทึกเสียง พร้อมทั้งการบันทึกภาพการสัมภาษณ์ จัดการประชุมกลุ่มย่อย แล้วนําข้อมูลท่ีได้จากการสัมภาษณ์ และข้อมูล จากการประชุมกลุ่มย่อย มาสู่การวิเคราะห์ การสังเคราะห์เพื่อให้ได้คําตอบตามวัตถุประสงค์ท่ีกําหนดไว้ แล้วนํามาเป็นกรอบ ในการอธิบายและแสดงทัศนะของผู้วิจัย เพ่ือนําเสนอแนวทางการพัฒนาสมรรถนะอนุศาสนาจารย์ทหารบกไทยเชิงพุทธ บรู ณาการ

๑๗๑ ๔. ผลการวิจยั พระพุทธศาสนามีลักษณะสําคัญอย่างหนึ่ง คือยืนยันในความมีสมรรถนะสูงสุดของมนุษย์122ท้ังทางด้านร่างกาย จติ ใจและปญั ญา ซ่ึงเป็นความสามารถทม่ี ีอยู่ในตัวมนษุ ย์ เกดิ มีข้ึนแตก่ าํ เนิดหรือ การฝกึ ฝนอบรมพฒั นาสมรรถนะในตัวมนษุ ยแ์ บง่ ออกเปน็ ๓ ด้าน คือ สมรรถนะทางกาย สมรรถนะทางจิตใจ และสมรรถนะ ทางปญั ญาซึ่งการพฒั นาสมรรถนะหรอื ขีดความสามารถจะเร่มิ ตน้ ทีห่ ลักการของการศึกษาเพราะการพฒั นาหรือภาวนาน้ันเป็น ส่ิงเดียวกับการศึกษาหรือสิกขา ซึ่งส่ิงที่ต้องศึกษาหรือพัฒนาแยกออกไปเป็น ๓ ด้านใหญ่ๆ โดยสอดคล้องกับการดําเนินชีวิต ของมนษุ ยท์ ีม่ ี ๓ ดา้ น คือพฤติกรรมทางกายวาจา จิตใจ และปัญญา123โดยพระพุทธองค์ได้ทรงแสดงหลักการศึกษา ไว้๓ประการ เรียกวา่ ไตรสิกขา คอื อธศิ ลี สกิ ขา อธจิ ติ ตสิกขา และอธปิ ัญญาสกิ ขา มนุษย์อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ในแต่ละกลุ่มจึงต้องมีผู้นํา รวมท้ังมีการควบคุมกํากับดูแลหรือจัดระเบียบกันภายใน กลุ่ม ซ่ึงอาจเรียกว่า “การบริหาร” หรือ “การพัฒนา” เพ่ือให้เกิดความสงบเรียบร้อยและอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วย เหตผุ ลนม้ี นุษย์จึงไม่อาจหลีกเล่ยี งการพัฒนาได้ และอาจกลา่ วได้วา่ “ทใ่ี ดมีกลุ่ม ทีน่ ้ันยอ่ มมีการพฒั นา” คําว่า “การพัฒนา”ตรงกับคําในภาษาอังกฤษว่า Development มีความหมายว่า การเปลี่ยนแปลงท่ีละเล็กละ น้อยอย่างมีกระบวนการ โดยมีจุดมุ่งหมายโดยผ่านลําดับข้ันตอนต่างๆ ไปสู่ระดับท่ีสามารถขยายตัวขึ้นเติบโตขึ้นมีการ ปรบั ปรงุ ใหด้ ขี ้นึ และเหมาะสมกว่าเดมิ หรอื อาจกา้ วหน้าไปถึงขน้ั ที่อดุ มสมบูรณ์เปน็ ที่นา่ พอใจ124 สว่ นความหมายจากรูปศพั ท์ ในภาษาไทยนั้นหมายถึง การทําความเจริญการเปลี่ยนแปลงในทางที่เจริญขึ้นการคล่ีคลายไปในทางที่ดีการพัฒนาซ่ึงเข้าใจ กันโดยทว่ั ไปหมายถงึ การทาํ ใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลงจากสภาพหน่ึงไปสู่อีกสภาพหน่ึงที่ดีกว่าเดิมอย่างเป็นระบบหรือการทําให้ดี ขนึ้ กวา่ สภาพเดมิ ที่เป็นอยอู่ ยา่ งเปน็ ระบบ125 คําว่า “สมรรถนะ”(Competency)น้ี ได้มีนักวิชาการท่ีศึกษาเก่ียวกับเร่ืองน้ีให้คําแปลและคําจํากัดความไว้ แตกตา่ งกันมากมายตามความเข้าใจและความเชื่อของแต่ละบุคคล หรือแต่ละสถาบัน บางท่านอาจแปลว่า “ศักยภาพ” หรือ “ความสามารถ” หรือ “ขีดความสามารถ” หรือ “ความสามารถเชิงสมรรถนะ” หรือ “สมัตถิยะ” หรือ “สมรรถนะ”หรือ บางท่านบอกว่าไมจ่ าํ เปน็ ต้องแปล เรียกทบั ศัพท์ไปเลยคือ “คอมพ่เี ทนซ”ี่ 126 การพัฒนาสมรรถนะ หมายถึง การนําเอาคุณลักษณะพื้นฐาน (Underlying Characteristic)ของบุคคล ได้แก่ แรงจูงใจ (Motive) อุปนิสัย (Trait) ทักษะ (Skill) จินตภาพส่วนตน (Self-Image)บทบาททางสังคม (Social Role) องค์ ความรู้ (Body of Knowledge) ซึ่งเป็นความสามารถที่ซ่อนเร้นอยู่ภายในตัวบุคคล นํามาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างมี กระบวนการ นอกจากน้ี เป็นท่ีรู้กันอยู่แล้วว่าสมรรถนะ (Competency) คือความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะที่จําเป็นของ บุคคลในการทาํ งานใหป้ ระสบความสําเร็จ มีผลงานได้ตามเกณฑ์หรือมาตรฐานท่ีกําหนดหรือสูงกว่าซึ่งต้องมีการประเมินเพื่อ นาํ ใช้ต่อกบั งานทรัพยากรบคุ คลดา้ นอน่ื ๆ แนวทางหลักในการพฒั นาสมรรถนะ ประกอบด้วย ๓ แนวทาง คือ๑) Trainingการฝึกอบรมหมายถึง การเรียนรู้ ซ่ึงเน้นงานปัจจุบัน127 อย่างเป็นระบบเพ่ือสร้างหรือเพ่ิมพูนความรู้ ทักษะ ความสามารถ และพฤติกรรมในการทํางาน128 ของบุคคล สําหรับการปฏิบัติงานในเรื่องหน่ึงเร่ืองใดในทางที่ถูกที่ควรของหน่วยงาน เพ่ือช่วยให้การปฏิบัติงานและภาระ 122พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยตุ โฺ ต), ลักษณะแหง่ พระพุทธศาสนา, พมิ พค์ รง้ั ที่ ๑๑, (กรงุ เทพฯ: เคลด็ ไทย, 25๔๗), หนา้ ๕๐. 123พระธรรมปฎิ ก (ป.อ.ปยตุ ฺโต), การศึกษากับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๓๙), หน้า ๖๗. 124ปกรณ์ ปรียากร, ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาในการบริหารการพัฒนา, (กรุงเทพฯ: สามเจริญพานิช, ๒๕๓๘), หนา้ ๕. 125ยุวฒั น์ วุฒเิ มธ,ี การพัฒนาชมุ ชน : จากทฤษฎีส่กู ารปฏิบัต,ิ (กรงุ เทพฯ: บากกอกบล็อก, ๒๕๓๔.), หนา้ ๑. 126ฐิติพฒั น์ พิชญธาดาพงศ์, “ยทุ ธวธิ ีการใชร้ ะบบสมรรถนะในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ เพ่ือผลักดันองค์กรสู่ความเป็นเลิศเหนือ คู่แขง่ ”, วารสารดํารงราชานภุ าพ, หนา้ ๒๐-๒๑. 127Sims,R.R., Human ResourceManagement : Contemporary Issues,Challengrs,and Opportunities, (Charlotte, NC : Information Age, 2007), p. 7. 128Ivancevich, j.m., Human ResourceManagement, p. 399.

๑๗๒ หน้าที่ต่าง ๆในปัจจุบันและอนาคตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงข้ึน การฝึกอบรมจึงเป็นโครงการท่ีถูกจัดขึ้นมาเพ่ือช่วยให้ บุคคลมีคุณสมบัติในการทํางานสูงขึ้นการฝึกอบรมเป็นวิธีการหนึ่งท่ีจะช่วยให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้มีความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถ และเกิดทักษะ จากประสบการณ์ตลอดจนเกิดเจตคติที่ดีและถูกต้องต่อกิจกรรมต่างๆ เป็นการเพ่ิม ประสิทธิภาพของงาน๒) Education การศึกษา คือ การเรียนรู้ซ่ึงเน้นงานในอนาคตเป็นการเตรียมบุคลากรสําหรับการเลื่อน ตําแหน่งการโยกย้ายการพัฒนาสายชีพโดยการศึกษาเป็นระบบท่ีมีจุดมุ่งหมายเพ่ือพัฒนาขีดความสามารถทางปัญญาแนวคิด ความเข้าใจสังคมและผลการปฏิบัติงานผ่านกระบวนการเรียนรู้129เป็นการดําเนินการด้วยกระบวนการทุกอย่าง ท่ีทําให้ บุคคลพัฒนาความสามารถด้านต่างๆ รวมทั้งทัศนคติและพฤติกรรมอ่ืนๆ ตามค่านิยมและคุณธรรม เพื่อความเจริญงอกงาม ของบุคคลและสังคมโดยการถ่ายทอดความรู้ การสืบสานทางวัฒนธรรมการสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัดสภาพ แวดล้อมสังคม การเรียนรู้และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรียนรู้อย่างต่อเนื่องนอกจากน้ัน การศึกษาอาจหมายถึง การส่งเสริม ให้มีการดูงานหรือศึกษาต่อซ่ึงเป็นกิจกรรมท่ีช่วยเพิ่มคุณวุฒิของบุคคลให้มีความรู้ท่ีดีข้ึนหรือได้รับความรู้ใหม่ๆ130 และยัง หมายรวมถึงศิลปะในการถ่ายทอดความรู้ต่างๆ ในอดีตซ่ึงรวบรวมไว้อย่างเป็นระบบสําหรับคนรุ่นใหม่๓) Development การพัฒนาเป็นการมองระยะยาวในการเตรียมบุคลากรให้พร้อมต่อความเปล่ียนแปลงและการเจริญเติมโตขององค์การใน อนาคต เป็นกระบวนการของการเกี่ยวข้องเชื่อมโยงจากวุฒิภาวะขั้นหนึ่งไปสู่วุฒิภาวะอีกข้ันหน่ึง เช่น จากผลการปฏิบัติงาน ระดับท่ัวไปสู่ผลการปฏิบัติงานระดับดีและพัฒนาสู่ระดับดีเยี่ยม มุ่งขยายโลกทัศน์ของผู้ปฏิบัติงาน เป็นการดําเนินการด้าน วิธีการตา่ งๆ เพอื่ เพ่ิมและขยายโลกทศั น์สาํ หรบั การปฏบิ ัติงานและการปฏิบัติตน บทบาทและภารกิจของอนุศาสนาจารย์ทหารบกไทยประกอบด้วยภารกิจหลัก ๔ ด้าน คือ ๑) การอบรมและสอน ศีลธรรม เป็นการดําเนินการอบรมและการสอนศีลธรรมวัฒนธรรมแก่ทหาร และบุคคลในสังกัดกองทัพบกให้มีความประพฤติ และอัธยาศัยดีงามดําเนินการสอนวิชาการศาสนาและศีลธรรมในโรงเรียนเหล่าและสายวิทยาการต่างๆ ของโรงเรียนหน่วยงาน ทหาร๒) การปฏิบัติธรรม/การเจริญจิตภาวนา ดําเนินการนํากําลังพลปฏิบัติธรรมในโอกาสต่างๆสร้างสรรค์อุดมธรรมของ พระพุทธศาสนาแก่กําลังพลท้ังในเวลาราชการและนอกเวลาราชการท้ังในที่ต้ังปกติและในสนามรบ๓) การปฏิบัติศาสนพิธี ดาํ เนนิ การในด้านศาสนพธิ ีและใหก้ ารบรกิ ารทางศาสนาปฏบิ ัติการเก่ียวกับพธิ ีการรวมถึงการวางโครงการให้ทหารมีโอกาสได้ ปฏิบัติศาสนกิจ๔) การเย่ียมไข้ ดําเนินการในเรื่องบํารุงรักษาขวัญและกําลังใจของทหารให้ทหารมีขวัญและกําลังใจเข้มแข็ง พบปะเยี่ยมเยียนกําลังพลผู้เจ็บป่วยผู้ถูกคุมขังและผู้มีปัญหาเพ่ือปลุกปลอบขวัญและให้กําลังใจทั้งในยามปกติและยาม สงคราม การท่ีอนุศาสนาจารย์จะปฏิบัติภารกิจทั้ง ๔ ด้าน ให้ได้ผลดีเป็นท่ียอมรับ รวมถึงเป็นท่ีเชื่อถือเชื่อมือเป็นท่ี ไว้วางใจของผู้บังคับบัญชาตลอดถึงกําลังพลและครอบครัวพร้อมทั้งประชาชนโดยท่ัวไปอนุศาสนาจารย์ทหารบกไทยควร พฒั นาสมรรถนะคือขดี ความสามารถท้งั ๓ อย่าง คอื สมรรถนะทางกาย สมรรถนะทางจิตใจ และสมรรถนะทางปญั ญา ดังน้ี ๑) สมรรถนะทางกาย เป็นสิ่งที่เกิดข้ึนได้และหายไปได้การท่ีร่างกายอ่อนแอสุขภาพไม่สมบูรณ์และร่างกายไม่มี ความเข้มแข็งทนทานก็เพราะขาดสมรรถนะทางกาย การที่เราจะรักษาร่างกายให้มีสมรรถนะมีสุขภาพแข็งแรงคงสภาพอยู่ เสมอน้ันอนุศาสนาจารย์ทหารบกไทยจําเป็นต้องมีการออกกําลังกายเป็นประจําเพ่ือให้มีสมรรถนะทางกายท่ีคงสภาพและ เป็นการสร้างเสริมสมรรถนะทางกายให้ดียิ่งๆ ข้ึนไปอีกด้วยนอกจากน้ีแล้วยังเป็นประโยชน์ในการป้องกันโรคภัยเบียดเบียน อนศุ าสนาจารยต์ อ้ งมีเป้าหมายการพัฒนาสมรรถนะทางกายอย่างเป็นระบบดูแลร่างกายของตนเองให้สมบูรณ์แข็งแรงตลอดเวลา ไม่มีโรคภัยเบียดเบียน พัฒนากายภาพในทุกส่วนความสมส่วนของร่างกาย เกี่ยวกับการแต่งกายที่ยังไม่สมบูรณ์ แก้ไขด้วยให้ ความสาํ คัญในเรื่องการแต่งกายที่สะอาดเป็นระเบียบเรียบร้อย การรักษาการแต่งกายให้ถูกต้องตามระเบียบของทางราชการ ซ่ึงเกี่ยวข้องกับทางกายทั้งสิ้น เก่ียวกับการขาดทักษะหรือไม่มีความชํานาญด้านเทคโนโลยีหรือการปฏิบัติหน้าท่ีอื่นๆ แก้ไข ด้วยให้มีความใส่ใจในการฝึกฝนขีดความสามารถทางกาย สร้างความชํานาญคือการทําบ่อยๆ ทําแล้วทําอีกให้เวลาและเตรียม ตัวทําให้สมบูรณ์ที่สุดคือเตรียมตัวพร้อมซักซ้อมดีแสดงความกระฉับกระเฉง พร้อมให้สร้างสุนทรียภาพข้ึนทางเสียง น้ําเสียง 129Marchington, M., & Wilkinson, A., Human ResourceManagement at Work : PeopleManagementand Department, p. 343. 130สุจติ รา ธนานันท,์ การพัฒนาทรพั ยากรมนุษย,์ (พิมพ์ครง้ั ท่ี ๒), (กรุงเทพมหานคร: สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร์, ๒๕๕๐), หน้า ๒๖.

๑๗๓ ให้มีน้ําหนกั น่าเชอื่ ถอื ซง่ึ เปน็ ศิลปะอยา่ งหนงึ่ เช่น การอาราธนาศลี อยา่ ให้พลาด การออกเสียงชัดเจนมีการฝึกฝนการใช้เสียง เพื่อใหเ้ กดิ ความเหมาะสมและพอดี ๒) สมรรถนะทางจิตใจปัญหาแต่ละปัญหานั้นเป็นส่ิงท่ีสามารถปรับปรุงแก้ไขได้การพัฒนาสมรรถนะทางจิตใจ ประการแรก อนุศาสนาจารย์ต้องมีความต้ังใจในการท่ีจะดําเนินการแก้ไข ประการต่อมาคือการฝึกฝนอย่างจริงจังการลงมือ ปฏิบัติเพื่อให้เกิดความชํานาญสิ่งใดก็ตามแต่เมื่อทําอยู่บ่อยๆ ก็จะทําให้เกิดความชํานาญเกิดความเคยชินการฝึกฝนจึงเป็น เรอื่ งท่ีสาํ คญั มกี ารฝึกฝนทางดา้ นการคิด มเี ปา้ หมายในการปรบั ปรงุ แก้ไขพฒั นา อนุศาสนาจารย์ตอ้ งหม่นั เจริญจติ ตภาวนาที่ เรียกว่ากรรมฐานจะเป็นสมถะกรรมฐานหรือวิปัสสนากรรมฐานก็ดีทั้งน้ันเพราะจะทําให้มีจิตใจท่ีม่ันคงเกี่ยวกับความขัดแย้ง หรือความสับสนภายในจิตใจต้องแก้ไขด้วยการฝึกฝนการคิดด้วยการคิดเป็นระบบ การคิดวิเคราะห์การคิดสังเคราะห์การคิด อย่างสร้างสรรค์และการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เก่ียวกับทุกข์ทางจิตใจต้องแก้ไขด้วยหลักคุณธรรม มีความมุ่งมั่นและยึดม่ัน ในหลักคุณธรรม มหี ลกั คุณธรรมประจําใจ การปฏิบัตธิ รรมซ่ึงเปน็ ส่วนสําคญั ในการสร้างสุขภาพจิตท่ดี ีทาํ จติ ใจใหม้ ีความสขุ ๓) สมรรถนะทางปัญญา ปัญญาเป็นสิ่งสําคัญในการปฏิบัติภารกิจหรือการทําหน้าที่ท้ัง ๔ ด้านของ อนุศาสนาจารย์ การมีปัญญาจะช่วยให้สามารถทํางานได้อย่างถูกต้อง หรือเม่ือมีปัญหาเกิดขึ้นปัญญาก็จะช่วยในการแก้ไข ปัญหา นอกจากนี้ ปัญญายังช่วยในการพัฒนาองค์กรในการสร้างความเจริญก้าวหน้า ถ้าขาดปัญญาขาดความรู้ก็จะทําให้การ ทํางานติดขัด การทํางานไม่ล่ืนไหล อนุศาสนาจารย์เป็นผู้อยู่ในฐานะเป็นครูอาจารย์ ต้องเป็นผู้นําทางด้านความรู้ ต้องหมั่น แสวงหาความรู้ทั้งคดีโลกและคดีธรรมอนุศาสนาจารย์ต้องขวนขวายศึกษาแสวงหาความรู้อยู่เสมอไม่นิ่งอยู่กับที่ ต้องหม่ัน แสวงหาความรู้ท้ังคดีโลกและคดีธรรมส่ิงสําคัญก็คือความตั้งใจในการที่จะแสวงหาความรู้เพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลาไม่หยุดนิ่งอยู่ กับความรู้เดิมๆ ท่ีมีอยู่แล้ว เกี่ยวกับที่มาของความรู้หรือวิธีแสวงหาความรู้ ต้องแก้ไขด้วยการแสวงหาความรู้ด้วยวิธีการที่ หลากหลาย จากผู้เชี่ยวชาญ จากการอบรม จากการพูดคุย หรือแสวงหาความรู้ด้วยตัวเองเกี่ยวกับองค์ความรู้ที่ล้าหลัง ต้อง แกไ้ ขด้วยความรทู้ ีท่ นั สมยั ทนั โลกแล้วกท็ ันเหตุการณเ์ พราะโลกมีการเปลย่ี นแปลงอยู่ตลอดเวลาอนุศาสนาจารย์นอกจากจะมี ความรดู้ ้านศาสนาอยา่ งทอ่ งแทแ้ ล้วยังตอ้ งมีความร้แู ละความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีอนุศาสนาจารย์มีความเป็นพหูสูตคือ ต้องศกึ ษาใหม้ ากทั้งคดีโลกและคดีธรรม มีความแตกฉานในหลักธรรมคําสอนของพระพุทธศาสนาได้ดีมีความรู้ท่ีชัดเจนสามารถ อธิบายได้ว่าทําไมต้องปฏิบัตแิ บบน้ี ต้องมีความรอบรูใ้ นหลักธรรมคําส่ังสอนของพระพุทธเจ้าเป็นหลัก สามารถอธิบายธรรมะให้ เข้าใจง่ายและชวนฟัง น่านําไปปฏิบัติ มีการเพ่ิมพูนความรู้อยู่เสมอทั้งความรู้ทางศาสนาความรู้ทางโลกความรู้ทางเทคโนโลยี และการสื่อสารสามารถประยุกต์ความรู้ใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพความรอบรู้ในหัวข้อ หลักธรรมต่างๆทัง้ ในแนวลึกและแนวกวา้ ง หลักธรรมท่ีสามารถนํามาบูรณาการเพื่อส่งเสริมและพัฒนาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะอนุศาสนาจารย์ ทหารบกไทยเชิงพุทธบูรณาการเพื่อให้เกิดประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผลน้ันผูว้ จิ ัยสามารถสรปุ หลักธรรมท่สี ําคัญคือ ๑) หลักอิทธิบาท ๔ มีอยู่ ๔ ประการ คือ ๑) ฉันทะ คือความพอใจรักใคร่ในเป้าหมายในการพัฒนาสมรรถนะทาง กายทางจิตใจและทางปญั ญา ด้วยความเต็มใจไม่เบือ่ หน่ายที่จะทาํ เปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ ทส่ี ําคญั ทาํ ใหเ้ กิดคณุ ธรรมข้อต่อไปทุกข้อ๒) วิริยะ คือมีความพากเพียรมีความพยายามในการพัฒนาสมรรถนะทางกายทางจิตใจและทางปัญญา ทําด้วยความ ขยันหม่ันเพียรและมีมานะอุตสาหะไม่ทอดท้ิงจนกว่าจะประสบผลสําเร็จ๓) จิตตะ คืออนุศาสนาจารย์ก็มีความเอาใจจดจ่อ ไม่วาง ธุระ ต้องเอาใจใส่ในการพัฒนาสมรรถนะทางกายทางจิตใจและทางปัญญา ทําส่ิงท่ีเป็นเป้าหมายตามต้องการหรือวัตถุประสงค์ที่ กาํ หนดไวแ้ ล้วใหอ้ ยู่ในใจเสมอ ๔) วิมังสา คือคิดพัฒนาสมรรถนะทางกายทางจิตใจและทางปัญญา ก็ทําด้วยความรู้จักไตร่ตรอง รูจ้ ักพจิ ารณาใครค่ รวญรูจ้ กั พินิจพิเคราะหท์ ดลองทดสอบ ตรวจหาสาเหตุด้วยความรอบคอบ เมอ่ื เกิดปญั หาด้านสมรรถนะทาง กายทางใจและทางปัญญา การนาํ หลกั อิทธิบาท ๔ มาประยุกต์ใช้แกไ้ ขปัญหา เพอื่ ใหป้ ระสบความสําเร็จที่มุ่งหวงั ไว้ ๒) หลักพรหมวิหาร ๔ เป็นธรรมเครื่องอยู่อย่างประเสริฐประกอบด้วย ๑) เมตตา คือ ความรักใคร่ปรารถนาดีอยากให้ เขามคี วามสขุ ๒) กรณุ า คือ ความสงสาร คิดชว่ ยเหลอื ให้พน้ จากความยุ่งยากเดือดร้อน ๓) มุทิตา คือ ความยินดี คิดส่งเสริม ให้กําลังใจในเม่ือเขาประสบความสําเร็จ ๔) อุเบกขา คือ ความวางเฉย วางใจเป็นกลาง หลักธรรมข้อนี้นับว่าเป็นสิ่งสําคัญ สําหรับอนุศาสนาจารย์ ผู้ทําหน้าที่ให้การอบรมหรือการสอนศีลธรรมการปฏิบัติธรรมการปฏิบัติศาสนพิธีและการเยี่ยมไข้ นํา พรหมวิหาร ๔ มาปรับใช้หรือบูรณาการใช้ในการแก้ไขปัญหาสมรรถนะทางกายทางจิตใจและทางปัญญา เพื่อความประพฤติ ท่ปี ระเสรฐิ บริสทุ ธิ์และกาํ กบั ความประพฤตใิ ห้เปน็ ไปโดยชอบถูกต้องตามทาํ นองคลองธรรม

๑๗๔ ๓) หลักภาวนา ๔ หมายถึง การเจริญการพัฒนาการฝึกอบรมเป็นหลักธรรมเพื่อการพัฒนา โดยมีองค์ประกอบ ได้แก่ ๑) กายภาวนา คือ การพัฒนากายให้มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บเบียดเบียน ให้มีมีบุคลิกภาพ ทางกายสดชื่นแจ่มใสสง่างาม ร่างกายคล่องแคล่วว่องไว มีทักษะในการใช้วาจา ๒) ศีลภาวนา คือ การพัฒนาความประพฤติ โดยเฉพาะทสี่ าํ คัญอันจะต้องมสี ่วนท่ีเกยี่ วข้องกับผู้อ่ืน ไม่มีการเบียดเบียน ไม่โกหกหลอกลวงผู้อื่นท้ังทางตรงและทางอ้อมท้ัง ทางกายและทางวาจา ไม่ทําร้ายตนเองและผู้อื่น ๓) จิตตภาวนา คือ พัฒนาจิตใจให้สงบให้มีสมาธิพยายามทําจิตให้เป็นสุข ให้อ่ิมเอิบ ให้เบิกบานแจ่มใส ให้เกิดปราโมทย์ ไม่ให้จิตใจขุ่นมัว มีจิตใจหนักแน่นไม่หวั่นไหวในเพราะอิฏฐารมณ์หรือ อนิฏฐารมณ์ และ ๔) ปัญญาภาวนา คือ การพฒั นาปัญญา ใช้ปัญญาในการศึกษาหาความรู้อยู่เสมอ ท้ังทางโลกและทางธรรม และนําความรู้ไปใช้ในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติภารกิจด้านต่าง ๆ รวมถึงการพัฒนาปัญญาของผู้ปฏิบัติวิปัสสนา ตามแนวทางของมหาสตปิ ฏั ฐาน ๔ ๔) หลักกัลยาณมิตรธรรม ๗คือ ๑) ปิโย คือ อนุศาสนาจารย์เป็นบุคคลมีบุคลิกภาพน่ารัก เพียงแค่เห็นก็เกิด ศรัทธา เหน็ แล้วรสู้ ึกสบายใจ ชวนให้เขา้ ใกลป้ รกึ ษา ไต่ถาม มีความร่าเริงผ่องใส เบิกบานอยู่เป็นประจํา ๒) ครุ คือ มีความหนักแน่น หรือนา่ เคารพที่อุดมภูมิรูภ้ มู ธิ รรม เกดิ ความตระหนกั และซาบซงึ้ ได้ดวี า่ อะไรถูกอะไรผิดอะไรเป็นบุญอะไรเป็นบาป ไม่หว่ันไหวต่อส่ิง เย้ายวนต่างๆ ๓) ภาวนีโย มีบุคลิกภาพที่น่ายกย่อง ทรงความรู้มีภูมิปัญญาเป็นเลิศ มีความสามารถอันยอดเย่ียม ๔) วัตตา มี ความสามารถดา้ นการพดู รู้จกั ช้แี จงใหเ้ ขา้ ใจ สามารถพูดโนม้ น้าวใจใหท้ าํ ตามในสิ่งทดี่ ีให้เหตุให้ผล คอยให้คําแนะนําว่ากล่าว ตักเตือน เป็นท่ีปรึกษาที่ดี เป็นผู้ฉลาดในการใช้คําพูด๕) วจนักขโม คือมีสมรรถนะทางจิตใจอดทนฟังได้ในคําตําหนิว่าร้าย พร้อมท่ีจะรับฟังวิพากษ์วิจารณ์ อดทนฟังได้ไม่เบ่ือหน่ายไม่ฉุนเฉียว ไม่เสียอารมณ์แม้จุกจิก ๖) คัมภีรัญจะ กะถัง กัตตามี ทักษะทางวาจาท่ีสามารถพูดใช้ถ่อยคําได้ลึกซึ้ง แถลงชี้แจงเร่ืองที่ลึกล้ําได้ สามารถอธิบายเร่ืองยุ่งยากซับซ้อนให้เข้าใจ สามารถแถลงช้ีแจงได้จนเห็นภาพพจน์ ๗) โน จัฏฐาเน นิโยชะเย คือ มีสติปัญญาพิเคราะห์พิจารณาไม่เป็นบุคคลที่ชักนําไป ในทางเสือ่ มเสียหรือขดั ตอ่ ศีลธรรมอนั ดงี าม ประพฤตปิ ฏิบตั ติ นอยูใ่ นศีลธรรมอนั ดงี ามตลอดเวลา ๕) หลักธรรมเทสกธรรม ๕ หลักธรรมนี้ได้แก่ ๑) อนุปุพฺพิกถํ) กล่าวธรรมะไปตามลําดับเพ่ือช่วยให้ผู้ฟังสามารถ ตดิ ตามเน้อื หาและเข้าใจในธรรมะได้ดี ๒) ปริยายทสฺสาวี ใช้เหตุผลประกอบการบรรยาย จะช่วยให้มีความเข้าใจได้ชัดเจนมาก ยิ่งขึน้ เพราะเหตแุ ละผลจะมคี วามสัมพนั ธ์กัน ๓) อนุทยตํ ปฏิจฺจ มีเมตตาจติ ตอ่ ผฟู้ งั หวังใหผ้ ้ฟู ังไดร้ ับความสุขความเข้าใจจาก การฟงั เพื่อนําไปเป็นข้อปฏิบัตเิ ป็นหลกั การหรือแนวทางในการดาํ เนนิ ชวี ิต ๔) น อามิสนตฺ โร ไม่เหน็ แกอ่ ามสิ ไมอ่ บรมหรือสอน ศีลธรรมโดยตั้งจิตหวังจะได้ลาภสักการะ เพราะจะทําให้จิตใจหม่นหมองไม่ผ่องใสไม่บริสุทธิ์ ๕) อตฺตานญฺจ ปรญฺจ อนปุ หจจฺ สอนหรืออบรมศลี ธรรมโดยไมก่ ระทบตนและผู้อืน่ ไมเ่ สียดสีใครๆ ๖) หลักเทศนาวิธี ๔มีอยู่ ๔ ประการ ได้แก่ ๑) สันทัสสนา ชี้แจงให้เห็นชัด จะอบรมจะสอนอะไรก็ชี้แจงจําแนก แยกแยะอธิบายและแสดงเหตุผลให้ชัดเจน จนผู้ฟังเข้าใจแจ่มแจ้งเห็นจริง ๒) สมาทปนา ชักชวนให้อยากรับเอาไปลงมือ ทาํ หรอื นาํ ไปปฏบิ ัต๓ิ ) สมตุ เตชนาเรา้ ใจให้อาจหาญแกล้วกล้า ปลุกเร้าใจให้กระตือรือร้นเกิดความอุตสาหะ มีกําลังใจแข็งขัน มั่นใจที่จะทําให้สําเร็จจงได้ สู้งาน ไม่กลัวเหนื่อย ไม่กลัวยาก๔) สัมปหังสนา ชโลมใจให้สดช่ืนร่าเริง บํารุงจิตให้แช่มช่ืนเบิกบาน โดยชี้ให้เหน็ ผลดหี รือคุณประโยชน์ท่จี ะได้รับและทางท่จี ะก้าวหน้าบรรลุผลสาํ เรจ็ ยง่ิ ข้ึนไป ๗) หลักอนุศาสนีปาฏิหาริย์ คือ คําส่ังสอนอันอาจจูงใจคนให้นิยมเชื่อถือนําไปปฏิบัติตามจนได้ผลอย่างน่า อัศจรรย์ บทบาทภารกิจหน้าท่ีอันสําคัญยิ่งของอนุศาสนาจารย์ คือ ให้การอบรมหรือการสอนศีลธรรมการปฏิบัติธรรมการ ปฏิบัติศาสนพิธีและการเย่ียมไข้เป็นกิจหน้าท่ีอันสําคัญ เป็นภารกิจท่ีอนุศาสนาจารย์ทุกนายต้องตระหนักและใส่ใจอยู่เสมอ ดังน้ัน การท่อี นศุ าสนาจารยใ์ ส่ใจในการทาํ หนา้ ท่พี ร่าํ สอนอยูเ่ สมอจัดได้ว่าเป็นอนศุ าสนีปาฏิหารยิ ์ ๕. บทสรุป แนวทางการพัฒนาสมรรถนะอนุศาสนาจารย์ทหารบกไทยเชิงพุทธบูรณาการ สามารถสรุปออกมาเป็น MODEL เรียกวา่ PACKED MODEL โดยในการพัฒนาสมรรถนะอนศุ าสนาจารย์ทหารบกไทย คณะผู้บังคบั บญั ชาซ่ึงเปน็ ผบู้ รหิ ารหนว่ ย และผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องควรมีการนําหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาอุปสรรคและส่งเสริมการ พัฒนาสมรรถนะอนุศาสนาจารย์ทหารบกไทยเกิดประสิทธิภาพกําหนดแนวทางปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมายเพ่ือความสําเร็จอัน

๑๗๕ หมายถึงการให้ความสําคัญต่อหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาควบคู่ไปกับการนําหลักการพัฒนาสมรรถนะตามวิทยาการศาสตร์ สมัยใหม่เพื่อการพัฒนาสมรรถนะให้ได้ความทันยุคทันสมัยและเป็นสากลนอกจากนั้นต้องเล็งเห็นสาเหตุที่อาจจะนํามาซึ่ง ปัญหาในการพัฒนาสมรรถนะและทําการป้องกันคอยระมัดระวังทุกขั้นตอนในการพัฒนาสมรรถนะต้องนําหลักธรรมในทาง พระพุทธศาสนาผสมผสานเพื่อให้การพัฒนาสมรรถนะมีการตรวจตราควบคุมอํานวยการและเพิ่มพูนความรู้ท้ังจาก ประสบการณ์และความรู้รอบตัวให้ทันต่อเทคโนโลยีให้ทันต่อสภาวะจิตใจเพ่ือให้การพัฒนาสมรรถนะประสบความสําเร็จตาม เป้าหมายโดยPACKED MODEL แทนคาํ อธบิ ายดังนี้ ๑) P = Planning คือ การวางแผน ขั้นตอนของการดําเนินงานต่างๆ น้ัน ข้ันตอนแรก คือ ข้ันวางแผนข้ัน เตรยี มการมีความสาํ คัญอย่างยงิ่ ยวด ถงึ กบั มคี ํากล่าววา่ “การวางแผนดี มีความสําเร็จไปแล้วครึ่งหน่ึง” งานทุกงานภารกิจทุก ภารกจิ ท่มี ีความสําเร็จดว้ ยดี เบอ้ื งหลังท่สี ําคญั คือการวางแผนหรือการเตรียมความพรอ้ ม การเตรยี มความพรอ้ มอนั ดบั แรกคือ เตรียมความพร้อมท่ีเก่ียวกับตัวเอง อนุศาสนาจารย์ต้องมีการเตรียมความพร้อมทางด้านร่างกาย คือความมีร่างกายแข็งแรง มรี า่ งกายคลอ่ งแคลว่ ว่องไว ความพร้อมทางดา้ นจติ ใจ คอื มีหลักคุณธรรมประจาํ ใจเป็นเครื่องยดึ เหน่ยี ว มคี วามศรัทธาเชื่อมั่นใน ภารกิจที่จะทํา มีจิตใจที่เข้มแข็ง มีความมุ่งมั่นเพ่ือความสําเร็จของงานที่จะทํา และมีความรู้ความเข้าใจในข้ันตอน ความสําเร็จของภารกิจที่อนุศาสนาจารย์จะลงมือปฏิบัติในด้านการอบรมการสอนศีลธรรม การปฏิบัติธรรมเจริญจิตภาวนา การปฏิบัติศาสนพิธี และการเย่ียมไข้กําลังพลหรือครอบครัวท่ีมีการเจ็บป่วย ในการปฏิบัติภารกิจแต่ละด้านต้องมีการ เตรียมการทางด้านกายภาพท่ีมีการประสานสอดคล้องกัน และมีหลักคิดที่สําคัญในแต่ละด้านเพื่อให้เป็นไปในทิศทางท่ี เหมาะสม และต้องมคี วามร้คู วามเขา้ ใจเพือ่ ให้การปฏบิ ัตภิ ารกิจเปน็ ไปโดยไมต่ ิดขัด ๒) A = Army’s Goal คอื เป้าหมายของกองทัพบกอนุศาสนาจารย์ทหารบกไทยต้องคาํ นึงถงึ เป้าหมายซึ่งเป็นผล ที่กองทัพบกต้องการเป็นสําคัญ ผลทางด้านกายภาพ คือความเป็นผู้มีบุคลิกภาพท่ีน่าศรัทธา น่าเคารพ น่านับถือ น่าเช่ือถือ น่ายกย่อง มีความสามารถในการทํางานทางกายภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทางด้านจิตใจ คือความเป็นผู้มีจิตใจหนักแน่น ม่ันคง ไม่หว่ันไหวมีจิตใจที่มุ่งดีมุ่งเจริญต่อกําลังพล มีความรอบรู้มีความสามารถทางสติปัญญาในการช่วยแก้ไขปัญญากําลัง พลของหน่วย มีความรอบรูใ้ นภารกจิ ท่จี ะทําได้เป็นอย่างดี ๓) C = Cooperation คือ ความร่วมมือ การทํางานท่ีจะให้ประสบผลสําเร็จก็คือ ความร่วมมือ ความมีส่วนร่วม ท้ังทางด้านกายภาพ จติ ใจ และสติปัญญา มีการประสานงานกันอย่างใกล้ชิด เป็นการเดินเข้าหาหน่วยเข้าหากําลังพล สร้าง ความรู้สึกในความมีส่วนร่วมให้เกิดแก่กําลังพลและครอบครัว ในการทํางานร่วมกันจึงมีหลักการทํางานร่วมกัน 5 ร่วม คือ 1) ร่วมคิด คือการนําเอาทุกฝ่ายทเ่ี ก่ียวขอ้ งมาร่วมกนั ปรึกษาหารือ วางแผนงาน กําหนดรายละเอียดท่ีเก่ียวข้อง กําหนด กรอบเวลา รวมทัง้ แบง่ งานรบั ผิดชอบเพ่ือทุกคนจะไดไ้ ปปฏิบตั ิในสว่ นของตน 2) ร่วมทํา เมื่อตกลงในเร่ืองต่างๆท่ีได้ร่วมคิดไว้ แล้ว ต่างคนต่างฝ่ายก็ไปดําเนินการในส่วนที่ตัวเองรับมอบหมายให้บรรลุความสําเร็จตามที่วางไว้ 3) ร่วมแก้ไข เมื่อไปทํางาน แลว้ ประสบปัญหาใดก็รีบแจ้งเร่อื งตอ่ กนั และกนั เพื่อเร่งรีบแก้ไขมิให้ส่งผลกระทบต่องานทั้งหมด4) ร่วมรับผิดชอบ ทํางานไป แล้วหากได้รับผลสําเร็จของงานก็รับผลสําเร็จร่วมกัน ถ้างานที่ทําไปไม่ประสบความสําเร็จหรือเกิดความเสียหายก็รับผล แห่งความรับผิดชอบนั้นร่วมกันโดยไม่ปัดความรับผิดชอบไปยังฝ่ายใด5) ร่วมดําเนินการ ปฏิบัติงานใดๆเสร็จเรียบร้อยพึง สรุปบทเรียนท่ีเกิดขึ้นแล้วนํามาดําเนินการให้ดียิ่งข้ึนต่อไปอย่างต่อเนื่องจะเห็นได้ว่า 5 ร่วมน้ันพัฒนามาจากวงจร PDCA (Plan, Do, Check, Act)นั้นเอง ๔)K = Kick-off คือ การเริ่มต้นลงมือปฏิบัติถ้าไม่ลงมือทําอะไร คิดดีแค่ไหนก็ไม่มีประโยชน์ไม่มีใครที่ประสบ ความสําเรจ็ มาตั้งแต่ต้น ความคิดต่างๆ ไม่ไดเ้ กดิ ขึ้นมาแบบสาํ เร็จรปู แต่มันจะเป็นรูปธรรมหากคิดแล้วลงมือปฏิบัติ การลังเล ไม่กล้าทําในสิ่งที่ย่ิงใหญ่เพราะเรากลัวว่าสิ่งที่ทําลงไปจะผิดพลาด ทําให้ไม่กล้าท่ีจะลงมือทําอะไรเลย จะส่งผลร้ายไปยัง อนาคต เพราะจะหยุดยัง้ มิให้ริเร่มิ ทําอะไร เม่ือกําหนดเปา้ หมายและวางแผนเรียบร้อยแล้ว ก็เริ่มลงมือปฏิบัติได้เลย จงมุ่งม่ัน ต้ังใจ ทุ่มเททําให้เต็มท่ี หม่ันทบทวนเป้าหมายอยู่สมํ่าเสมอ อย่าไปกลัวกับอุปสรรคท่ีจะเกิดข้ึน เพราะอุปสรรคเป็นบท ทดสอบท่ีเปรียบเหมือนบนั ไดใหก้ ้าวขา้ มไปสู่ความสําเร็จ หากคดิ และแก้ไขปัญหาได้ ความสําเรจ็ อยไู่ มไ่ กลเกินเอื้อมอย่างแน่นอน การลงมือทําแสดงให้เห็นว่าจริงจังกับเจตนาในการทํา การลงมือทําในทุกๆ วัน ต้องมุ่งเน้นไปท่ีการทําในสิ่งท่ีจําเป็นต้องทํา เพ่ือให้บรรลุเป้าหมาย การมุ่งมั่นทําในงานท่ีถูกต้อง คือหัวใจสําคัญของความสําเร็จ จงตัดสินใจแน่วแน่ว่าอะไรบ้างที่ จําเป็นตอ้ งทําให้สาํ เรจ็ และรู้แนช่ ดั ว่าจะตอ้ งทาํ อยา่ งไรบ้าง ต้องมุ่งมน่ั ทาํ เฉพาะส่ิงท่จี าํ เปน็ ตอ้ งทําเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ความ มุ่งมนั่ ทําแตส่ ่งิ ทีถ่ ูกต้องคือหวั ใจของความสาํ เรจ็ การลงมอื ทํามีความสําคัญเป็นอยา่ งมาก

๑๗๖ E = Elation คือ ความภาคภูมิใจ อนุศาสนาจารย์ต้องมีความภาคภูมิใจในตนเองและภารกิจหน้าท่ีของตน สร้าง ฉันทะและความภาคภูมิใจในหน้าท่ีการงาน ตระหนักเห็นคุณค่าภารกิจหน้าท่ีของอนุศาสนาจารย์ช่วยคนให้ทําแต่ความดี บุคคลที่ทําแต่ความดีชีวิตจะมีแต่ความสุขด้วยการมีบุคลิกภาพที่ดี เป็นคนท่ีมีความเช่ือม่ันในความคิดของตนเอง สามารถให้ เหตุผลในสิ่งท่ีตนเองกระทําได้กระจ่างชัด มั่นใจในการกระทําหรือการตัดสินของตน กล้าคิดกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม มี ความคิดสรา้ งสรรค์ มุ่งมนั่ การทาํ งานให้ประสบผลสําเรจ็ มีความรบั ผิดชอบทั้งต่อตนเองและผ้อู น่ื มนั่ คงทางจิตใจ มองโลกในแง่ ดี สร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อบุคคลอื่น ทํางานอย่างเต็มที่ การท่ีลงมือทํางานอย่างสุดความสามารถ เมื่องานสําเร็จเสร็จส้ินแล้ว มองย้อนกลับไปความภูมิใจก็จะเกิดข้ึนมาได้ ย่ิงถ้าเป็นงานที่ยาก หรือการข้ามผ่านอุปสรรคต่าง ๆ ได้ก็ย่ิงภูมิใจ ให้การ ช่วยเหลือคนอื่นแน่นอนว่าเราไม่ได้ทํางานทุกอย่างสําเร็จได้ด้วยคนเดียว การที่เรารู้จักมีน้ําใจช่วยเหลือซึ่งกันและกันน้ันจะทํา ให้งานออกมาดี แถมยังได้ความภาคภูมิใจกับความสําเร็จน้ันไปด้วยกันท้ังน้ี ความภูมิใจในงานที่ทําต้องไม่เกิดจากการเอารัดเอา เปรยี บผูอ้ ่นื จึงจะเรียกได้ว่า ภาคภมู ิใจอย่างแทจ้ รงิ D = Dharma คือ หลักธรรมะ ในการพัฒนาสมรรถนะน้ัน อนุศาสนาจารย์ทหารบกไทยควรนําหลักพุทธธรรม มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาสมรรถนะ ๓ อย่าง คือ ๑) สมรรถนะทางกาย ๒) สมรรถนะทางจิตใจ และ ๓) สมรรถนะทาง ปญั ญา เพื่อความมีประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัติภารกจิ ท้ัง ๔ ด้าน คือ ๑) การอบรมการสอนศีลธรรม ๒) การปฏิบัติธรรม ๓) การปฏิบัติศาสนพิธี และ๔) การเย่ียมไข้ สําหรับหลักพุทธธรรมที่จะนํามาใช้ในการพัฒนาสมรรถนะ คือ หลักอิทธิบาท ๔ หลัก พรหมวหิ าร ๔ หลักภาวนา ๔หลักกลั ยาณมิตรธรรม ๗หลกั ธรรมเทสกธรรม ๕ หลกั เทศนาวิธี ๔ และหลกั อนุศาสนปี าฏหิ าริย์ ๖.ขอ้ เสนอแนะ จากการศึกษาวิจัยเรื่องการพัฒนาสมรรถนะอนุศาสนาจารย์ทหารบกไทยเชิงพุทธบูรณาการ ผู้วิจัยขอเสนอแนว ทางการนาํ ไปประยกุ ต์ใช้ ดงั นี้ ๑) ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย กองทัพบก โดยกรมยุทธศึกษาทหารบกควรให้การสนับสนุนส่งเสริมกองอนุศาสนาจารย์ให้จัดทําหลักสูตร การศึกษาหรือหลักสูตรการฝึกอบรมแนวทางการพัฒนาสมรรถนะอนุศาสนาจารย์ทหารบกไทย โดยนําหลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา เช่น หลักภาวนา ๔ หลักกัลยาณมิตรธรรม ๗หลักธรรมเทสกธรรม ๕ หลักเทศนาวิธี ๔ หลักพรหมวิหาร ๔ หลกั อทิ ธบิ าท ๔ และอนศุ าสนปี าฏิหารยิ ์ ไปบูรณาการเข้ากับการปฏิบัติหน้าที่ของอนุศาสนาจารย์ ในการพัฒนาประสิทธิภาพ การทํางานของอนุศาสนาจารย์อย่างเป็นรูปธรรม เพื่อเป็นการปลุกจิตสํานึกให้อนุศาสนาจารย์ได้มีความรู้ความเข้าใจใน หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนาและสามารถนาํ มาใช้เป็นหลักยึดถอื ประพฤตปิ ฏบิ ัติไดอ้ ย่างเหมาะสม ๒) ข้อเสนอแนะเชิงปฏบิ ัติ จากผลการวิจัยในครั้งนี้พบว่า แนวคิดตามหลักไตรสิกขา ได้แก่ อธิศีลสิกขา อธิจิตตสิกขา และอธิปัญญาสิกขามี ความสอดรับกับแนวคิดสมรรถนะ (Competency) คือ คุณลักษณะเฉพาะพื้นฐาน ๖ ประการ ได้แก่ แรงจูงใจ (Motive) อุปนิสัย (Trait) อัตมโนทัศน์ (Self-Image)บทบาททางสังคม (Social Role) ความรู้ (Knowledge) และทักษะ (Skill) ท่ีมี ความสัมพันธ์ซ่อนอยู่ภายในตัวของบุคคล ซ่ึงสมรรถนะเหล่านี้จะเป็นตัวผลักดันให้บุคคลสามารถสร้างผลการปฏิบัติงานใน งานที่ตนรับผิดชอบได้สูงกว่าหรือเหนือกว่าเกณฑ์และเป้าหมายท่ีกําหนดไว้ดังน้ัน อนุศาสนาจารย์ทหารบกไทย พึงเอา แนวคิดสมรรถนะตามหลักหลักไตรสิกขา และแนวคิดสมรรถนะ คือ คุณลักษณะเฉพาะพื้นฐาน ๖ ประการ มาบูรณาการ ร่วมกันกับหลักธรรมในทางพระพุทธศาสนาอ่ืนๆ ในมิติความสัมพันธ์สอดคล้องกันเชิงเหตุผลได้ยึดถือเป็นข้อปฏิบัติ เพื่อให้ การทาํ งานประสบความสาํ เรจ็ มีผลงานไดต้ ามเกณฑ์มาตรฐานทกี่ ําหนดหรอื สงู กว่า ๓) ขอ้ เสนอแนะงานวิจยั ครัง้ ตอ่ ไป จากการศึกษาเร่ือง การพัฒนาสมรรถนะอนุศาสนาจารย์ทหารบกไทยเชิงพุทธบูรณาการสามารถสรุปผลการวิจัย ไดด้ ังน้นี ้ัน ผวู้ ิจัยพบว่ายงั มปี ระเด็นท่เี ป็นสาระสําคัญทนี่ ่าสนใจศึกษาค้นควา้ ดงั นี้ ๑. ควรทาํ วจิ ัยเรอ่ื ง “ศึกษาวิเคราะห์เปรยี บเทยี บบทบาท ภารกิจ และสมรรถนะของอนศุ าสนาจารย์ทหารบกไทย กับอนศุ าสนาจารยท์ หารเรือไทย”

๑๗๗ ๒. ควรทําวิจัยเร่ือง “รปู แบบการนาํ หลักพรหมวิหาร ๔ มาบรู ณาการเพอื่ เพิ่มประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั ภิ ารกจิ การ เยี่ยมไข้ของอนศุ าสนาจารย์ทหารบกไทย” ๓. ควรทําวจิ ยั เรอ่ื ง “การปฏิบัติธรรมกับผลสมั ฤทธใ์ิ นการพัฒนาบคุ ลากรของกองทพั บก” ............................... บรรณานกุ รม มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย. พระไตรปฎิ กภาษาไทย ฉบบั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั . กรุงเทพฯ: โรงพมิ พม์ หาจฬุ าลง กรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๙. กองทพั บก.คมู่ ือการอนุศาสนาจารยก์ องทัพบก.กรุงเทพฯ: โรงพมิ พก์ รมยทุ ธศกึ ษาทหารบก, ๒๕๓๘. กองทัพบก.ตาํ รายุทธศาสตรข์ องกรมยทุ ธการทหารบก. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพอ์ รุณการพมิ พ,์ ๒๔๗๐. คงชพี ตันตระวาณชิ ย์, พนั ตรี. คณุ ภาพชีวิตการทํางานของนายทหารชัน้ ประทวน สังกดั กรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็กรกั ษา พระองค.์ วทิ ยานพิ นธศ์ ลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ (รัฐศาสตร)์ . บณั ฑติ วิทยาลยั : มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร,์ ๒๕๔๓. ฐิตพิ ฒั น์ พิชญธาดาพงศ์. ยทุ ธวิธีการใชร้ ะบบสมรรถนะในการบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย์ เพอ่ื ผลกั ดนั องค์กร สู่ความเปน็ เลศิ เหนอื ค่แู ขง่ .วารสารดาํ รงราชานุภาพ.ปที ่ี ๖ ฉบบั ท่ี ๒๐ (กรกฎาคม – กันยายน ๒๕๔๙). ปกรณ์ ปรยี ากร.ทฤษฎีและแนวคดิ เกย่ี วกบั การพฒั นาในการบรหิ ารการพัฒนา. กรงุ เทพฯ: สามเจรญิ พานิช, ๒๕๓๘. ปธาน ทองขุนนา, พันเอก. รชั กาลที่ ๖ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยหู่ วั .นติ ยสารยทุ ธโกษ. ปีท่ี ๑๒๕ ฉบบั ที่ ๑ (ตลุ าคม-ธันวาคม ๒๕๕๙). พระธรรมปฎิ ก (ป.อ.ปยุตฺโต).การศึกษากับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์.กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์การศาสนา, ๒๕๓๙. พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยุตโฺ ต).ลกั ษณะแหง่ พระพุทธศาสนา. พมิ พค์ ร้งั ท่ี ๑๑.กรงุ เทพฯ: เคล็ดไทย, 25๔๗. ยุวัฒน์ วุฒิเมธ.ี การพัฒนาชุมชน : จากทฤษฎีสกู่ ารปฏบิ ตั .ิ กรงุ เทพฯ: บางกอกบลอ็ ก, ๒๕๓๔. วิเชียร ปราบพาล, เรืออากาศเอก.การวิเคราะห์บทบาทอนุศาสนาจารย์ : ศึกษาเฉพาะกรณี อนศุ าสนาจารย์ทหารอากาศไทย.สารนิพนธส์ ังคมสงเคราะหศ์ าสตรมหาบณั ฑิต, บณั ฑิตวทิ ยาลยั : มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร,์ ๒๕๔๐. สมาน รักสโิ ยกฤฎ.์ ความรู้ทัว่ ไปเก่ยี วกบั การบริหารงานบุคคล. พิมพ์คร้งั ท่ี ๑๓. กรงุ เทพฯ:สวัสดิการสํานกั งาน กพ., ๒๕๓๐. สุจติ รา ธนานนั ท์.การพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์. พิมพค์ รง้ั ท่ี ๒. กรงุ เทพฯ: สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร,์ ๒๕๕๐. Ivancevichj.m. Human ResourceManagement.10thed. New yok :McGrawhill, 2007. Marchington M. & Wilkinson A. Human ResourceManagement at Work : People Managementand Department. 4thed, Londol : DIPD, 2008. Sims,R.R. Human ResourceManagement : Contemporary Issues, Challengrs, and Opportunities. Charlotte, NC : Information Age, 2007.

คณุ ค่าของอนศุ าสนาจารยก์ องทพั บกในจงั หวดั ชายแดนภาคใต1้ 31 ๑๗๘ The Value of Army Chaplains in Southern Border Provinces of Thailand ภทั รกฤติ รอดนยิ ม132* และศันสนีย์ จันทร์อานภุ าพ133 Phattarakrit Rodniyom2* and Sansanee Chanarnupap3 บทคัดย่อ บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณค่าเชิงบทบาทหน้าท่ีของอนุศาสนาจารย์กองทัพบกที่ ปฏิบัติงานในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วย การศึกษาเอกสาร และการศึกษาภาคสนาม เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต การสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม และการสัมภาษณ์ เจาะลึก ผู้ให้ข้อมูลหลักมีจํานวน 40 คน ผลการศึกษาพบว่า อนุศาสนาจารย์เป็นคําเรียกช่ือนายทหารผู้ปฏิบัติ หน้าที่ทางด้านศาสนาในกองทัพ ภารกิจของอนุศาสนาจารย์กองทัพบก คือ นํากําลังพลเข้าหาธรรมะ นําธรรมะ พัฒนากําลังพล ดํารงสถานภาพเป็นตัวแทนของศาสนาในการอบรมสั่งสอนด้านศีลธรรม จริยธรรม และ วัฒนธรรม เป็นผู้นําทางด้านจิตวิญญาณของกําลังพลทุกระดับ เป็นเจ้าหน้าท่ีพิธีการทางศาสนาท่ีอยู่ใน เคร่ืองแบบ อนุศาสนาจารย์กองทัพบกมีหน้าที่สร้างขวัญกําลังใจและกระตุ้นจิตสํานึกให้กําลังพลมีความ รับผิดชอบ ซ่ือสัตย์ และพร้อมที่จะเสียสละตนเองในการปฏิบัติตามภารกิจที่ได้รับมอบหมาย คุณค่าเชิงบทบาท หน้าท่ีของอนุศาสนาจารย์กองทัพบกในจังหวัดชายแดนภาคใต้ สามารถสรุปได้ 3 ข้อ ได้แก่ (1) ด้านการอบรม สั่งสอนในทางธรรม (2) ด้านศาสนพิธีและพิธีกรรมตามความเชื่อ โดยเฉพาะในกรณีท่ีกําลังพลเสียชีวิต และ (3) ด้านการให้คําปรึกษาและสร้างขวัญกําลังใจ โดยเฉพาะการเย่ียมเยียนกําลังพลที่ป่วย บาดเจ็บ ถูกคุมขัง หรือมี ปญั หา เพอ่ื ปลอบขวัญและให้กาํ ลังใจ คาํ สาํ คญั : คุณค่า อนุศาสนาจารย์กองทพั บก จังหวัดชายแดนภาคใต้ 131 บทความน้ีเป็นส่วนหนงึ่ ของวทิ ยานิพนธ์หลักสตู รศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาไทยคดีศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยทกั ษิณ ไดร้ บั ทนุ สนับสนนุ การวิจยั จากบณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั ทกั ษิณ ประจําปีการศึกษา 2560 132 ร้อยโท, นกั ศกึ ษาหลักสูตรศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต (ไทยคดศี กึ ษา) คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ทกั ษณิ จ.สงขลา 90000,ปจั จบุ นั ดาํ รงตาํ แหนง่ อศจ.ร.5 133 ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร., คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ทักษณิ จ.สงขลา 90000 2 Graduate Student in M.A. (Thai Studies), Faculty of Humanities and Social Sciences Thaksin University, Songkhla 90000 3 Assistant Professor, Dr., Faculty of Humanities and Social Sciences Thaksin University, Songkhla 90000 * Corresponding author: [email protected] Tel. 0950149333

๑๗๙ Abstract This paper aims to study the value of Thai army chaplains working in Southern border provinces of Thailand. The research methodology comprises of documentary and field research. Data are collected by general observation, participatory observation and in-depth interview. Forty key informants generate the core data for the study. The research found that an army chaplain is a soldier who is responsible for the moral teaching in the military. He is the key person who is responsible for promoting morale, responsibility, honesty so that the military will be ready to sacrifice their life for the assigned mission. Principally, Thai army chaplains in Southern border provinces of Thailand have significant acting roles in three areas: (1) teaching and training in righteousness (2) directing religious practices and ritual, especially when soldiers died (3) mentoring, visiting and raising up the soldiers who are in needs such as sick, injured, imprisoned or suffering. Keywords: Value, Thai Army Chaplain, Southern Border Provinces of Thailand

๑๘๐ บทนํา ฐานข้อมูลของศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ (Deep South Incident Database - DSID) รายงาน สรุปสถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในรอบ 13 ปี ระหว่างปี พ.ศ.2547-2559 พบว่า มี ผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บรวม 19,507 ราย เม่ือพิจารณาจากพ้ืนที่ทางภูมิศาสตร์ของการเกิดเหตุการณ์ จะเห็น ได้ว่าข้อมูลรวมตั้งแต่ปี พ.ศ.2547-2559 มีเหตุการณ์มากท่ีสุดท่ีจังหวัดนราธิวาส คือ 6,959 เหตุการณ์ (ร้อยละ 36) รองลงมาคือจังหวัดปัตตานีมี 6,279 เหตุการณ์ (ร้อยละ 33) และจังหวัดยะลามี 5,357 เหตกุ ารณ์ (ร้อยละ 28) สถานการณ์ความรุนแรงมีผลต่อประชาชนในพ้ืนที่ รวมท้ังผู้ปฏิบัติงานในด้านการดูแล ความสงบและความมั่นคงของประเทศชาติด้วย ข้อมูลการวิเคราะห์สถานการณ์ความไม่สงบท่ีเกิดขึ้นพบว่า เป้าหมายในระยะหลังของการก่อเหตุการณ์ความไม่สงบมักจะมุ่งไปที่ผู้ถืออาวุธด้วยกันมากกว่าท่ีจะโจมตี ประชาชน จํานวนของกองกําลังฝ่ายทหาร ตํารวจ ทหารพราน และอาสาสมัครป้องกันภัยที่บาดเจ็บและ เสียชีวิตมีประมาณร้อยละ 36.8 [1] นอกจากนั้น ผลการศึกษาภาวะสุขภาพจิตและทัศนคติของกําลังพล กองทัพบกท่ีปฏิบัติภารกิจในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ยังพบว่า กําลังพลส่วนใหญ่มีความรู้สึกเครียด ทางจิตใจ (ร้อยละ 61.50) และต้องการได้รับความช่วยเหลือ (ร้อยละ 45.93) โดยมีภาวะเส่ียงต่อการเกิด โรคซึมเศร้า (ร้อยละ 34.55) และมีพฤติกรรมการด่ืมแอลกอฮอล์เพิ่มข้ึน (ร้อยละ 19.67) ส่วนทัศนคติ เกีย่ วกบั สาเหตขุ องความเครยี ด ไดแ้ ก่ ปัญหาด้านการเงิน (ร้อยละ 62.20) ปัญหาความปลอดภัยในชีวิต (ร้อย ละ 57.93) และปัญหาครอบครัว (ร้อยละ 48.63) สําหรับทัศนคติต่อการเข้ารับบริการด้านสุขภาพจิตมี อปุ สรรคไดแ้ ก่ การลาหยดุ (ร้อยละ 64.35) และการเดนิ ทางไปรบั บริการ (ร้อยละ 56.03) [2] ด้วยเหตุนี้ กองทัพบกจึงให้ความสําคัญกับการดูแลสุขภาวะทางจิตใจของกําลังพลท้ังในท่ีตั้งและใน สนาม โดยได้กําหนดตําแหน่ง “อนุศาสนาจารย์” ทําหน้าที่นํากําลังพลเข้าหาธรรมะ นําธรรมะพัฒนากําลังพล ช่วยให้คําปรึกษา ปลอบขวัญ สร้างกําลังใจ และกระตุ้นจิตสํานึกให้กําลังพลพร้อมท่ีจะเสียสละตนเองในการ ปฏบิ ัตติ ามภารกิจทไ่ี ด้รบั มอบหมาย [3] บทความวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาคุณค่าเชิงบทบาทหน้าท่ีของอนุศาสนาจารย์กองทัพบกที่ ปฏิบัติงานในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส โดยใช้ ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วย การศึกษาเอกสารและการศึกษาภาคสนาม โดยอนุศาสนาจารย์ กองทัพบก ในบทความวิจัยนี้ หมายถึง บุคคลผู้ที่ดํารงตําแหน่งเป็นอนุศาสนาจารย์และผู้ช่วยอนุศาสนาจารย์ กองทัพบก ซึ่งแบ่งออกเป็นสองประเภทคือ อนุศาสนาจารย์ (คําย่อเรียกว่า อศจ.) เป็นนายทหารสัญญาบัตร อัตราบรรจุช้ันยศต้ังแต่ร้อยตรีขึ้นไป และผู้ช่วยอนุศาสนาจารย์ (คําย่อเรียกว่า ผช.อศจ.) ซ่ึงยังจําแนกได้เป็น สองประเภทย่อย คือ (1) เป็นนายทหารสัญญาบัตร มีคุณสมบัติเหมือนอนุศาสนาจารย์ ช้ันยศร้อยตรีขึ้นไป และ (2) เป็นนายทหารช้ันประทวน มีคุณสมบัติสําเร็จการศึกษาทางพระพุทธศาสนา เปรียญธรรม 6 ประโยค ขึ้นไป มชี นั้ ยศต้ังแตส่ ิบตรถี งึ จ่าสบิ เอก ข้อค้นพบที่ได้ช่วยขยายองค์ความรู้เก่ียวกับการปฏิบัติบทบาทของอนุศาสนาจารย์กองทัพบกใน สถานการณ์ความไม่สงบ และยังสามารถเป็นแหล่งความรู้สําหรับวางแผนพัฒนาการปฏิบัติงานของ อนศุ าสนาจารย์ประจํากองทพั ไทยในทุกเหลา่ ทัพต่อไป

๑๘๑ วธิ ีการวจิ ัย บทความวิจยั น้ใี ชร้ ะเบยี บวธิ ีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ประกอบด้วยการศึกษาเอกสาร และการศึกษาภาคสนาม เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต การสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม และการสัมภาษณ์ เจาะลึก ผู้ให้ข้อมูลหลักมีจํานวน 40 คน จําแนกออกเป็น (1) อนุศาสนาจารย์ท่ีปฏิบัติหน้าท่ีในพื้นท่ีจังหวัด ชายแดนภาคใต้ จํานวน 12 คน (2) ผู้บังคับบัญชาในสนามซ่ึงเป็นผู้บังคับบัญชาของหน่วยทหารท่ีดูแลการ ปฏบิ ัติบทบาทของอนุศาสนาจารยใ์ นพื้นทจ่ี งั หวัดชายแดนภาคใต้ จํานวน 12 คน (3) กําลังพลภายในขอบเขต ความรบั ผดิ ชอบของอนุศาสนาจารยท์ ่ีปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ใี นพื้นทจ่ี ังหวดั ชายแดนภาคใต้ จํานวน 12 คน นอกจากน้ัน ผู้วิจัยยังเก็บข้อมูลจากอนุศาสนาจารย์ในสังกัดกองทัพภาค 4 แต่ไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ จํานวน 4 คน เพ่ือใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาคุณค่าเชิงบทบาทหน้าที่ของอนุศาสนาจารย์ในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ สําหรับการเข้าถึงผู้ให้ข้อมูลนั้น ผู้วิจัยเป็นอนุศาสนาจารย์ประจํากองทัพภาค 4 แต่ไม่ได้ปฏิบัติหน้าท่ี ในจงั หวัดชายแดนภาคใต้ ผู้วิจัยสามารถเข้าถึงข้อมูลและผู้ให้ข้อมูลหลักได้ง่าย โดยอาศัยความสัมพันธ์ในฐานะ เพ่ือนร่วมงาน ซ่ึงต้องประสานการทํางานและแลกเปล่ียนประสบการณ์ทํางานระหว่างกัน ผู้วิจัยสามารถเข้า พ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เพื่อติดตามการทํางานของผู้ให้ข้อมูลหลักได้ตลอดช่วงเวลาการวิจัย ทั้งน้ี ผู้วิจัย ตระหนักว่า แม้ผู้วิจัยจะเป็นอนุศาสนาจารย์ แต่ข้อมูลและข้อค้นพบที่ได้จะต้องมาจากผู้ให้ข้อมูลหลักอย่าง แท้จริง ผู้วิจัยพิจารณาข้อจํากัดในการวิจัย พบว่า การวิจัยนี้มีข้อจํากัดดังน้ี (1) ข้อมูลสําคัญทางราชการทหาร บางอย่างไม่สามารถเปิดเผยได้ เช่น ข้อมูลสถิติจํานวนกําลังพลในพ้ืนท่ี เป็นต้น (2) ช่ือสกุลของผู้ให้ข้อมูลหลัก จาํ นวนหน่ึงจําเปน็ ตอ้ งใชน้ ามแฝง เพ่ือความปลอดภัยเนอ่ื งจากเป็นผู้ปฏิบตั งิ านในพ้นื ที่เกดิ สถานการณ์ความไม่ สงบ ผู้วิจัยนําข้อมูลท่ีได้รับจากการศึกษาเอกสารและการศึกษาภาคสนามมาจัดกระทําอย่างเป็นระบบ เช่ือมโยง และหาความสัมพันธ์ของข้อมูล เพ่ือทําความเข้าใจคุณค่าเชิงบทบาทหน้าที่ของอนุศาสนาจารย์ใน จังหวัดชายแดนภาคใต้ การตรวจสอบความเช่ือถือได้ของข้อมูลใช้วิธีสามเส้า (Triangulation) จากน้ันผู้วิจัย สร้างขอ้ สรปุ ดว้ ยการวเิ คราะหเ์ ชงิ เนือ้ หา (Content Analysis) แลว้ จึงเขยี นรายงานเชิงพรรณนา ผลการศกึ ษา ประวตั ิความเปน็ มาของอนุศาสนาจารย์กองทัพบก ประวัติความเป็นมาของอนุศาสนาจารย์กองทัพบก พอจะสรุปใจความสําคัญได้ดังน้ี ตําแหน่ง อนุศาสนาจารย์สําหรับกองทหารนั้นเริ่มต้นขึ้นในสมัยรัชกาลท่ี 5 ซึ่งในคร้ังนั้นนิยมใช้เรียกตัวบุคคล ไม่ได้แต่ง ตั้งข้ึนเป็นกองหรือแผนก และไม่ได้บัญญัติศัพท์เรียกว่าอนุศาสนาจารย์อย่างในปัจจุบัน คงเรียกตาม ภาษาอังกฤษว่า แช๊ปลิน (Chaplain) ตามสมัยนิยมในยุคน้ัน คําว่า “อนุศาสนาจารย์” พบครั้งแรกในสมัย รชั กาลที่ 6 เมอ่ื ครงั้ ประเทศไทยประกาศเขา้ สสู่ งครามโลกคร้งั ที่ หนึ่ง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กระทรวงกลาโหมส่งกองทหารอาสาไปช่วยฝ่ายสัมพันธมิตรในงานสงคราม และทรงมีพระราชปรารภวา่ “กองทหารท่โี ปรดเกลา้ ฯ ให้สง่ ไปแล้วนน้ั จดั ได้ดีทกุ สิง่ สรรพ์ แต่ยังขาดสิ่งสําคัญ อยู่อย่างหน่ึงคือ อนุศาสนาจารย์ ท่ีจะเป็นผู้ปลุกใจทหาร หาได้จัดส่งไปด้วยไม่ เพราะทหารท่ีจากบ้านเมือง ไปคราวนี้ต้องไปอยู่ในถิ่นไกล ไม่ได้พบเห็นพระเหมือนเมื่ออยู่ในบ้านเมืองของตน จิตใจจะห่างเหินจากทาง ธรรม ถึงยามคะนองก็จะฮึกเหิมเกินไป เป็นเหตุให้เสื่อมเสีย ไม่มีใครจะคอยให้โอวาทตักเตือน ถึงคราวทุกข์

๑๘๒ ร้อนก็จะอาดูรระสํ่าระสาย ไม่มีใครจะช่วยปลดเปล้ืองบรรเทาให้ดูเป็นการว้าเหว่น่าอนาถ ถ้ามี อนุศาสนาจารยอ์ อกไป จะได้คอยอนุสาสนพ์ ราํ่ สอนและปลอบโยนปลดเปล้อื งในยามทุกข”์ ในครั้งน้นั ไดท้ รงเลือก รองอาํ มาตยต์ รี อยู่ อดุ มศิลป์ ซึง่ รับราชการอย่ใู นกรมราชบัณฑิต กระทรวงธรรม การ ให้เป็นอนุศาสนาจารย์ตามกองทหารอาสาออกไปยังประเทศสัมพันธมิตร ณ ทวีปยุโรป ก่อนออกเดินทาง พระองคไ์ ด้มีพระราชดํารัสส่งั เสียเมื่อเขา้ เฝ้าถวายบังคมลาไปราชการสงครามตามพระราชดําริ ดังน้ี “น่ีแน่ เจ้า เป็นผู้ที่ข้าได้เลือกแล้ว เพ่ือให้ไปเป็นผู้สอนทหาร ด้วยเห็นว่าเจ้าเป็นผู้สามารถที่จะส่ังสอนทหารได้ ตามท่ี ข้าได้รู้จักชอบพอกับเจ้ามานานแล้ว เพราะฉะนั้น ขอให้เจ้าช่วยรับธุระของข้าไปสั่งสอนทหารทางโน้น ตามแบบอย่างท่ีข้าเคยสอนมาแล้ว เจ้าก็คงจะได้เห็นแล้วมิใช่หรือ เออ นั่นและ ข้าขอฝากให้เจ้าช่วยสอน อยา่ งนนั้ ด้วย เขา้ ใจละนะ” เม่ืออนุศาสนาจารย์ไปถึงนครปารีส ประเทศฝรั่งเศสแล้ว หัวหน้าทูตทหารได้ทํารายงานบอกมายังกรม เสนาธิการทหารบก โดยระบุหน้าท่ีของอนุศาสนาจารย์ที่ต้องปฏิบัติในราชการสงครามคราวนั้น จอมพลเสนาธิ การทหารบก ไดท้ รงกาํ หนดไปยงั กองทตู ทหารมใี จความ 5 ข้อดังน้ี (1) ให้ทาํ การอย่ใู นกองทูตทหาร (2) ส่งตัว ไปเย่ียมเยียนทหารในที่ต่าง ๆ ซ่ึงทหารแยกย้ายกันอยู่น้ันเนือง ๆ เพ่ือสั่งสอนตักเตือนในทางพระพุทธศาสนา และทางจรรยาความประพฤติ (3) ให้ถามสุขทุกข์กันอย่างจริงใจ ท้ังคอยให้รับธุระต่าง ๆ ของทหาร เช่น จะสั่ง มาถึงญาติของตนในกรุงสยาม หรือส่งเงินส่งของมาให้ ให้รับธุระทุกอย่าง (4) ทหารคนใดเจ็บไข้ให้ อนศุ าสนาจารย์ไปเยย่ี มปลอบโยนเอาใจ และ (5) ถ้ามีเหตุอันไม่พึงประสงค์ท่ีทหารคนใดถึงแก่ความตายลง ให้ อนศุ าสนาจารย์ทําพธิ ี โดยอ้างพระธรรมตามแบบสงฆ์ปฏิบตั ิในขณะฝังศพ ประมวลความว่า อนุศาสนาจารย์ทําหน้าท่ีตามอย่างพระ แต่พระจะเดินทางไปยุโรปมิได้ ขัดด้วยการ แต่งกายและเหตุอ่ืนๆ จึงต้องใช้คฤหัสถ์ซ่ึงเป็นเปรียญและเคยอุปสมบทอยู่ในสมณเพศแทน โดยก่อน อนศุ าสนาจารย์จะออกเดินทางในครง้ั นัน้ ได้ถวายบงั คมลาสมเด็จพระมหาสมณเจ้า และทรงพระกรุณาโปรดให้ ขึ้นเฝ้าบนตําหนักจันทร์เป็นพิเศษ ได้ประทานวัตถุเป็นมิ่งขวัญสามอย่าง คือ เหรียญพระพุทธชินสีห์ เหรียญ พระจตุราริยสัจ และเหรียญมหาสมณุตตมาภิเษก แล้วทรงสั่งไว้ว่า ถ้าถึงคราวจําเป็นก็ให้นําวัตถุเหล่านี้ออกทํา น้ํามนต์ได้ ท้ังทรงอธิบายไว้ด้วยว่า สีลพตปรามาสนั้น ถ้ามุ่งเอาเมตตากรุณาเป็นท่ีต้ังแล้ว ยังเป็นกิจท่ีควรทํา ไม่เป็นข้อที่เสียหาย อนุศาสนาจารย์จึงได้อัญเชิญวัตถุม่ิงขวัญทั้งสามไปยังโรงพยาบาลลุกเซมเบิก ประเทศ ฝร่ังเศส เมื่อนายแพทย์ให้ทหารป่วยที่เดินได้มารวมกันในห้องทหารป่วยที่เดินไม่ได้ อนุศาสนาจารย์ได้ตั้ง สัตยาธิษฐานประกาศข้อความทํานํ้ามนต์ดัง ๆ ช้า ๆ ให้ทุกคนได้ยินทุกคําอย่างกล่าวประกาศสัตยาธิษฐานที่ ท่านทํากันมา ครั้นสําเร็จเป็นนํ้ามนต์ขึ้นแล้ว จึงได้ประพรมตามเตียงคนไข้จนทั่วห้อง เพื่อขับอุปัทวะอย่างประ นํา้ มนตข์ น้ึ เรอื นใหม่ นบั เปน็ การสรา้ งขวัญกาํ ลังใจให้กับทหารไทยในโรงพยาบาลลกุ เซมเบิก [4] อนศุ าสนาจารย์ท่ไี ปคราวนัน้ ไดก้ ลบั มากับกองทตู ทหารถึงกรุงเทพมหานคร ในวันท่ี 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2462 กระทรวงกลาโหมได้มีคําสั่งต้ังกองอนุศาสนาจารย์ขึ้นทันทีตามพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ตั้ง กองอนุศาสนาจารย์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 6 โดยให้มีผลต้ังแต่วันที่ 1 มิถนุ ายน พ.ศ. 2462 เป็นตน้ มา ปัจจุบันกองอนุศาสนาจารย์ สังกัดกรมยุทธศึกษาทหารบก เป็นการจัดหน่วยกําลังพลสายวิทยาการ อนุศาสนาจารย์ข้ึนตรงกองทัพบก และหน่วยรองเป็นการจัดกําลังพลสายวิทยาการอนุศาสนาจารย์ประจํา หน่วยปฏิบัติหน้าที่เป็นฝ่ายกิจการพิเศษประจําผู้บังคับบัญชา สําหรับตําแหน่งอนุศาสนาจารย์น้ัน เป็นคํา

๑๘๓ เรียกช่ือนายทหารผู้ปฏิบัติหน้าที่ทางด้านศาสนาในกองทัพ134 ภารกิจของอนุศาสนาจารย์กองทัพบก คือ นํา กําลังพลเข้าหาธรรมะ นําธรรมะพัฒนากําลังพล ดํารงสถานภาพเป็นตัวแทนของศาสนาในการอบรมสั่งสอน ด้านศีลธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรม เป็นผู้นําทางด้านจิตวิญญาณของกําลังพลทุกระดับ เป็นเจ้าหน้าที่พิธี การทางศาสนาท่ีอยู่ในเคร่ืองแบบ อนุศาสนาจารย์กองทัพบกมีหน้าที่สร้างขวัญกําลังใจและกระตุ้นจิตสํานึกให้ กาํ ลงั พลมคี วามรบั ผิดชอบ ซอื่ สัตย์ และพรอ้ มท่จี ะเสียสละตนเองในการปฏบิ ตั ติ ามภารกจิ ท่ีได้รบั มอบหมาย คุณสมบัตแิ ละการเข้าสู่ตําแหน่งของอนศุ าสนาจารยก์ องทพั บก ผู้ที่เข้ารับตําแหน่งอนุศาสนาจารย์จะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจทางด้านศาสนาเป็นอย่างดี โดย กองทพั บกจะสง่ อนศุ าสนาจารย์ไปประจําอยู่ตามหนว่ ยต่าง ๆ ตง้ั แตร่ ะดับกรม หรือศูนยก์ ารทหารข้ึนไป ผู้สมคั รสอบคดั เลือกเป็นอนุศาสนาจารยก์ องทัพบก จะตอ้ งมีคณุ สมบัติดังนี้ 1. เปน็ ผ้เู คยอปุ สมบทเป็นพระภกิ ษุในพระพทุ ธศาสนา 2. วิทยฐานะสําหรับตําแหน่งอนุศาสนาจารย์และผู้ช่วยอนุศาสนาจารย์ชั้นสัญญาบัตรต้องเป็นเปรียญ ธรรม 9 ประโยค หรือปริญญาทางศาสนา เช่น ปริญญาพุทธศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย หรือปริญญาศาสนศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ซึ่งจะต้องได้เปรียญ ธรรม 4 ประโยคข้ึนไป สําหรับตําแหน่งผู้ช่วยอนุศาสนาจารย์ช้ันประทวนนั้น จะต้องเป็นเปรียญธรรม 6 ประโยคขน้ึ ไป 3. มสี ญั ชาตไิ ทย และบิดามารดามสี ญั ชาตไิ ทยโดยกําเนิด 4. ตําแหน่งอนุศาสนาจารย์และผู้ช่วยอนุศาสนาจารย์ชั้นสัญญาบัตร ต้องมีอายุครบ 25 ปีบริบูรณ์ และไม่ เกิน 35 ปีบริบรู ณ์ สว่ นตําแหนง่ ผู้ช่วยอนศุ าสนาจารยช์ น้ั ประทวน ตอ้ งมีอายคุ รบ 21 ปีบริบูรณ์และไม่เกิน 30 ปี บรบิ รู ณ์ 5. ไมเ่ คยมีประวัติเสียหายท้ังในระหวา่ งเป็นพระภิกษแุ ละลาสกิ ขามาแล้ว 6. มรี า่ งกายสมบรู ณ์ไมม่ โี รคซึง่ ขัดตอ่ การรบั ราชการทหาร 7. มคี ุณสมบตั ิเหมาะสมทจ่ี ะเปน็ อนุศาสนาจารยส์ อนทหาร และไมข่ ดั ต่อข้อบังคับทหาร เพ่ือให้ได้บุคคลที่มีสมรรถภาพและคุณสมบัติเหมาะสมท่ีจะเป็นอนุศาสนาจารย์และผู้ช่วย อนุศาสนาจารย์กองทัพบกจึงกําหนดการสอบคัดเลือกเป็น 2 ภาคคือ ภาควิชาการและภาคความ ประพฤติ ภาควิชาการ ทําการสอบคัดเลือก 4 สาขา คือ (1) ท่วงทีวาจา ทําการสอบเป็นรายบุคคล โดยให้ พิจารณาถึงรูปร่าง เสียง สําเนียง นิสัยใจคอ ความคิดเห็น ลักษณะท่าทาง การแต่งกาย การพูดจา โวหาร ไหว พริบ (2) ข้อเขียน ในสาขานี้กําหนดสอบ 3 วิชา คือ วิชาเรียงความ วิชาความรู้ทั่วไป และวิชา เลขานุการ (3) บรรยาย กําหนดเร่ื องบรรยายให้ทราบล่วงหน้า 1 วัน ให้เวลาบรรยายคน ละ 30 นาที ถึง 45 นาที (4) สัมภาษณ์ กําหนดสอบความรู้ 2 ทางคือ ความรู้ทางธรรมและความรู้ทาง โลก สําหรับภาคความประพฤติ กําหนดสอบคัดเลือก 3 วิธีคือ (1) ให้ผู้สมัครสอบส่งบันทึกประวัติของตนตาม แบบท่ีกรรมการกําหนดให้ (2) ให้ผู้สมัครสอบนําหนังสือรับรองความประพฤติของตนจากพระอุปัชฌาย์ อาจารย์หรือจากสํานักเรียนที่ตนเคยอยู่ในปกครองมาแสดงตามแบบท่ีกรรมการกําหนดให้ (3) กรรมการ สอบ ทาํ การสบื สวนความประพฤตแิ ละอัธยาศัยจากบุคคลที่พึงเชื่อถือได้ สําหรับการตัดสินผลการสอบคัดเลือก น้ัน ผู้มีคะแนนสอบในภาควิชาการแต่ละวิชาตั้งแต่ร้อยละ 50 ข้ึนไป และรวมทุกวิชาต้ังแต่ร้อยละ 70 ขึ้น 134 ปจั จบุ ันมีการจดั ตง้ั กองอนศุ าสนาจารยป์ ระจํากองทพั เรือและกองทพั อากาศด้วย

๑๘๔ ไป นับว่าสอบผ่านภาควิชาการ ผู้สอบผ่านท้ังภาควิชาการและภาคความประพฤติจึงนับว่าผ่านการสอบ คัดเลอื ก จรรยาบรรณของอนศุ าสนาจารย์กองทพั บก เพ่ือให้อนุศาสนาจารย์ผู้ทําหน้าที่สอนและอบรมศีลธรรมแก่ทหารวางตนเหมาะสม คู่ควรแก่กองทัพ กองอนุศาสนาจารย์จึงได้กําหนดจริยาวัตรหรือจรรยาบรรณสําหรับประพฤติปฏิบัติเป็นการภายในของหมู่คณะ ถือเป็นแบบธรรมเนียมสืบต่อกันมา เรียกว่า “วินัยอนุศาสนาจารย์” หรือจรรยาบรรณของอนุศาสนาจารย์ เพมิ่ ข้นึ อีกสว่ นหนึ่งตา่ งหากจากวนิ ยั ของทหาร เมื่อวนั ท่ี 17 เมษายน พ.ศ. 2501 รวม 13 ข้อ ดงั น้ี 1. อนศุ าสนาจารย์ต้องรักษาศลี หา้ เปน็ นิตย์ 2. อนศุ าสนาจารยต์ อ้ งตั้งอยู่ในธรรมของสัตบุรษุ และกศุ ลกรรมบถสิบ 3. อนศุ าสนาจารย์ตอ้ งมีภรรยาเพียงคนเดยี ว และตอ้ งเลี้ยงดูครอบครัวโดยชอบธรรม 4. อนศุ าสนาจารย์ตอ้ งไม่เข้าไปมัว่ สุมในสาํ นกั หญิงแพศยา บอ่ นการพนัน และโรงยาฝิน่ 5. อนุศาสนาจารย์ต้องงดเว้นการประกอบมิจฉาชีพและรับประกอบกิจอันวิญญูชนพิจารณาแล้วตําหนิติ เตยี นมไิ ด้ 6. อนุศาสนาจารย์เมื่อประสงค์จะร้องเรียนขอความเป็นธรรมจากผู้ใหญ่ต้องไม่ใช้บัตรสนเท่ห์หรือ เขียนคําขอรอ้ ง ตลอดจนขอ้ ความโจมตผี อู้ ่นื ทางหนังสอื พมิ พ์ 7. อนศุ าสนาจารยจ์ ะตอ้ งไมว่ ิ่งเตน้ หรอื ขอร้องให้บุคคลภายนอกวงการอนุศาสนาจารย์จําต้องโยกย้าย ตน หรือยับยัง้ การโยกย้ายตน ในเม่ือการกระทํานัน้ ขัดกับแผนการโยกยา้ ยของสายวิทยาการ 8. อนุศาสนาจารย์จะต้องงดเว้นเด็ดขาดจากการแสดงตัวว่าเป็นคนมักได้ ร่ําร้องขอบําเหน็จความชอบ จากผู้ใหญ่เพอ่ื ตนเอง 9. อนุศาสนาจารย์ไม่พึงพกอาวธุ 10. อนุศาสนาจารย์ไมพ่ ึงเข้าเป็นสมาชกิ ของพรรคการเมืองใด 11.อนุศาสนาจารย์ไม่พึงรําวง เต้นรําร้องเพลง โชว์ต่อยมวย แต่งแฟนซี และออกปรากฏตัวในฐานะเป็นผู้ แสดงลเิ กละคร 12. อนศุ าสนาจารย์พึงตระหนกั ในการแต่งกายใหส้ ภุ าพ 13. อนุศาสนาจารย์จะต้องไม่ประพฤติตนเป็นปฏิปักษ์ต่อคณะสงฆ์นิกายใดนิกายหน่ึง และเคารพ เชดิ ชูโดยสมา่ํ เสมอ นอกจากน้ี บุคคลผู้จะเข้าเป็นอนุศาสนาจารย์ต้องให้คําสัตย์ปฏิญาณต่อกองอนุศาสนาจารย์ โดยเขียน ชื่อ นามสกลุ ลงในใบให้คําสัตย์ปฏิญาณ ลงวันเดอื นปี พรอ้ มลงนาม ยนื ยนั ต่อคณะอนศุ าสนาจารย์ดว้ ย ภารกิจของอนุศาสนาจารยก์ องทัพบก อนุศาสนาจารย์กองทัพบกต้องสามารถปฏิบัติภารกิจในการเผยแผ่ธรรมะ การบําบัดทุกข์ บํารุงขวัญ  และสร้างสรรค์อุดมธรรมของพระพุทธศาสนาแก่กําลังพลได้ทั้งในเวลาราชการและนอกเวลาราชการ ทั้งในท่ีต้ัง ปกตแิ ละในสนาม ภารกิจของอนศุ าสนาจารยก์ องทพั บกในยามปกติ มีดังน้ี (ก) ให้คําปรึกษาและข้อเสนอแนะแก่ ผบู้ ังคบั หน่วยและฝ่ายอํานวยการอื่น ในเรื่องที่เก่ยี วขอ้ งกบั ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี (ข) ส่งเสริมกําลังพลให้มี การปฏบิ ตั ิศาสนกจิ ทง้ั โดยสว่ นตวั และเป็นหน่วย (ค) เสนอแนะและกํากับการปฏิบัติพิธีกรรมต่าง ๆ ร่วมกับฝ่าย

๑๘๕ อํานวยการอ่ืน (ง) ดําเนินการให้มีการสอนอบรมในเร่ืองของศาสนา วัฒนธรรมประเพณี และนํากําลังพลปฏิบัติ ธรรมในโอกาสต่าง ๆ (จ) หม่ันพบปะเยี่ยมเยียนกําลังพลผู้ป่วยเจ็บ ผู้ถูกคุมขัง และผู้มีปัญหา เพื่อปลุกปลอบ ขวัญและให้กําลังใจ (ฉ) ประสานให้ความร่วมมือกับองค์กรทางศาสนา สถานศึกษา และองค์กรของชุมชน ต่าง ๆ ในกิจการทหารที่เก่ียวข้องกับศาสนพิธี (ช) วางแผนให้มีการใช้ศาสนสถานของหน่วยที่มีอยู่ให้เกิด ประโยชน์ในด้านการปลูกฝังคุณธรรมแก่กําลังพลให้มากที่สุด (ซ) วางแผนให้ศาสนสถานเป็นจุดนัดพบของกําลัง พลทุกระดับ พร้อมทั้งครอบครัว โดยอาศัยกิจกรรมทางด้านศาสนาและวัฒนธรรมประเพณี (ญ) สามารถ ปฏบิ ตั ิการและอํานวยการเกย่ี วกบั ด้านศาสนา ขวัญและกําลังใจของกําลังพลในกองทัพบก รวมทั้งการอบรมด้าน คุณธรรมจริยธรรม วัฒนธรรมประเพณี และงานธุรการต่างๆ ที่เก่ียวข้อง ตามท่ีกําหนดไว้ในหมายเลขชํานาญ การทางทหาร ภารกจิ ทอี่ นุศาสนาจารยก์ องทพั บกได้รบั การผอ่ นผนั ยกเว้น เนื่องจากอนุศาสนาจารย์เป็นนายทหารซ่ึงได้รับความนับถือจากศาสนิกว่าเป็นเสมือน “พระใน เครื่องแบบ” เป็นผู้มีหน้าท่ีธํารงไว้ซึ่งศีลธรรม ความยุติธรรม จริยธรรม ตามตําแหน่งหน้าท่ีของตน มิใช่ นายทหารผู้ถืออาวธุ และมใิ ชน่ ายทหารผู้ทําการรบตามอนุสญั ญาเจนีวา ฉะน้นั ทางราชการจึงไดผ้ อ่ นผันยกเว้นมิ ให้อนุศาสนาจารย์ต้องปฏิบัติในภารกิจที่ล่อแหลม หมิ่นเหม่ท่ีจะเสียศีลธรรม จริยธรรม ความยุติธรรมและ ภาวะของอนศุ าสนาจารย์ ซง่ึ จะทําให้ผรู้ บั การอบรม ศลี ธรรม จริยธรรม ขาดความเคารพนับถือและเช่ือถือตาม ควร สิทธ์ิได้รับการผ่อนผันยกเว้นเป็นพิเศษนี้ได้มาโดยพฤตินัยจากผู้บังคับบัญชาช้ันสูงในอดีต ตั้งแต่ อนุศาสนาจารย์คนแรกแห่งกองทัพไทย แม้ผู้บังคับบัญชาชั้นสูงในสมัยต่อ ๆ มาก็ถือเป็นจารีตนิยมและแนว ปฏิบัติผอ่ นผนั ยกเวน้ สบื มา ภารกิจท่ีอนุศาสนาจารย์ ไดร้ ับการผอ่ นผันยกเว้นเป็นพเิ ศษมิตอ้ งให้ปฏิบตั มิ ดี งั ต่อไปนี้ (1) การอยู่เวรยาม (2) การทาํ สัญญาคํ้าประกัน (3) การแสดงตา่ ง ๆ เชน่ ลิเก ละคร (4) การบรรเลงดนตรี และการขับรอ้ งเพลง (5) การแสดงนาฏกรรมต่าง ๆ เช่น ราํ วง ลีลาศ (6) เป็นกรรมการตรวจอาวุธ (7) เป็นกรรมการประกวดราคา (8) เป็นกรรมการตรวจรบั ของ (9) เปน็ กรรมการเกี่ยวกับการเงิน (10) เปน็ กรรมการจัดซอื้ หรือสืบราคา (11) เปน็ กรรมการสอบสวนผกู้ ระทําผดิ (12) เป็นกรรมการประกวดเทพหี รืกรรมการจัดการมวย คณุ คา่ เชงิ บทบาทหน้าทข่ี องอนุศาสนาจารย์กองทพั บกท่ปี ฏิบัตงิ านในพนื้ ที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ สําหรับอนุศาสนาจารย์กองทัพบกท่ีปฏิบัติงานในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ซ่ึงเกิดเหตุการณ์ความไม่ สงบน้ัน ผู้วิจัยพบว่า คุณค่าเชิงบทบาทหน้าท่ีของอนุศาสนาจารย์กองทัพบกที่ปฏิบัติงานในพ้ืนที่จังหวัด ชายแดนภาคใต้ มีสามประการหลัก ได้แก่

๑๘๖ (1) คุณคา่ ดา้ นการอบรมสง่ั สอนในทางธรรม โดยปกติ อนุศาสนาจารย์จะมีการจัดอบรมศีลธรรมประจําเดือนในทุก ๆ หน่วย ซึ่งมีทั้งการจัด อบรมในสถานทแ่ี ละนอกสถานท่ี อันได้แก่สถานปฏบิ ตั ิธรรมต่างๆ เปน็ ต้น วัตถปุ ระสงคก์ เ็ พือ่ พัฒนาให้กําลังพล มีจิตใจที่เข้มแข็ง มีสติในการดํารงชีวิต การจัดอบรมยังเป็นกิจกรรมเสริมสร้างความสัมพันธ์ในค่ายทหารในแต่ ละพ้นื ท่ีดว้ ย “การอบรมศีลธรรม เพ่ือเป็นการขัดเกลาจิตใจของกําลังพล เพราะการทํางานในจังหวัดชายแดน ภาคใต้ กําลังพลแบกความเครียดและความกดดันไว้ การอบรมศีลธรรมจะทําให้กําลังพลมีสติ สามารถกา้ วผ่านความเครียดไปได้” [5] “การเป็นทหารเปรียบดั่งรั้วของชาติ ทุกคนต่างคาดหวังกับรั้วของชาติให้เป็นตัวอย่างท่ีดีแก่สังคม การอบรมศลี ธรรมกเ็ ปน็ สิง่ หนง่ึ ท่ีทําใหก้ าํ ลังพลดําเนินชวี ติ ท่ีดีงามอย่างทีค่ วรจะเปน็ ” [6] “อนุศาสนาจารย์สามารถให้คําแนะนําแก่กําลังพลทุกเช้ือชาติและศาสนา เพราะบทบาทหน้าที่ ตาม ชกท.5310 กําหนดไว้ชัด อนุศาสนาจารย์มีหน้าท่ีปฏิบัติการหรืออํานวยการในปัญหาท้ัง ปวงที่เก่ียวกับศาสนาและขวัญ ท้ังนี้ในการอบรมศีลธรรมประจําเดือนโดยทั่วไปจะแยกประเภทผู้ นับถือศาสนา เช่น กําลังพลที่นับถือพุทธไปวัด กําลังพลท่ีนับถือคริสต์ไปโบสถ์ กําลังพลที่นับ ถืออิสลามก็จัดให้มีกิจกรรมละหมาดที่มัสยิด เป็นต้น ในส่วนของพลทหาร เวลาอบรมคุณธรรม ทั่วไปก็ให้นั่งรวมกัน แต่เม่ือถึงช่วงเวลาศาสนพิธี เราก็แยกปฏิบัติ มีการเชิญครูสอนศาสนามาให้ ความรู้และแนะนําหลักปฏิบัติท่ีถูกต้อง อนุศาสนาจารย์เป็นผู้รับผิดชอบในการประสานให้เกิด การอบรมหรือให้คําแนะนําได้ระดับหนึ่ง แต่ต้องไม่กระทบต่อหลักของศาสนา และวางตนเป็น กลาง เคารพหลักความเชอื่ ทางศาสนา” [7] “การจัดกจิ กรรมอบรมในทางธรรม ควรเนน้ หลักธรรมทเ่ี ป็นสากล และตอ้ งไหวรู้ต่อความแตกต่าง ทางศาสนา อนุศาสนาจารย์ต้องชี้แจงทําความเข้าใจกําลังพลต่างศาสนาก่อนเร่ิมพิธีการให้เข้าใจ วา่ กาํ ลงั พลควรปฏบิ ัตติ นอย่างไร และในพธิ กี ารที่ไม่เนน้ การมสี ว่ นร่วมของกําลังพลในหน่วยทุกนาย ก็ไม่ควรให้กําลังพลต่างศาสนาเข้าร่วมในศาสนพิธี หรือบางกิจกรรมอาจใช้วิธีตัดตอนผสมผสาน เช่น การไหว้พระสวดมนต์ก่อนนอน ในช่วงไหว้พระนั้น กําลังพลต่างศาสนาอาจแยกไปปฏิบัติ ศาสนกิจของตน หลังจากนั้นค่อยรวมพลในช่วงการกล่าวบทปลงใจ ร้องเพลงชาติและเพลง สรรเสรญิ พระบารมี เป็นต้น” [8] (2) คณุ คา่ ด้านศาสนพิธแี ละพิธีกรรมตามความเช่อื โดยเฉพาะในกรณีที่กําลังพลเสียชีวิต เมื่อทหารถึงแก่กรรม อนุศาสนาจารย์จะต้องเป็นตัวแทนของ หน่วยดําเนินการประสานงานกับองค์กรทางศาสนา และเป็นผู้อํานวยการด้านศาสนพิธีโดยร่วมมืออย่างใกล้ชิด กับนายทหารฝ่ายการศพ ทั้งในพิธีฝังและพิธีเผา อนุศาสนาจารย์จะรับปฏิบัติหน้าที่ด้านศาสนพิธีทั้งในส่วนของ กําลังพลและครอบครัวของกําลังพลในหน่วยท่ีอนุศาสนาจารย์นั้น ๆ เป็นผู้รับผิดชอบ อีกทั้งยังมีงานบุญต่าง ๆ อาทิเช่น งานแต่งงาน งานทําบุญบ้าน ตามที่กําลังพลได้ขอความอนุเคราะห์ งานสถาปณากองทัพ งานทอดกฐิน ท่ีกองทพั เปน็ เจ้าภาพ เปน็ ต้น “เน่ืองจากอนุศาสนาจารย์ได้เรียนเรื่องศาสนพิธีมาโดยตรง ดังนั้นอนุศาสนาจารย์จะมีความรู้ที่ ถูกต้องจึงได้รับเป็นผู้ดําเนินการด้านศาสนพิธีต่างๆ วัตถุประสงค์ในการช่วยเหลือด้านงานศาสน

๑๘๗ พธิ ีแก่กาํ ลังพล และครอบครวั เพ่อื แสดงว่ากองทัพไมไ่ ดล้ ะทิง้ กําลงั พลทง้ั ในยามสุขและยามทุกข์ เพราะเมือ่ เขา้ มาแล้วนน้ั เราจะถอื วา่ เป็นครอบครวั เดียวกนั ” [9] “กรณีกําลังพลต่างศาสนาถึงแก่กรรม อนุศาสนาจารย์มีบทบาทในด้านการบํารุงขวัญและต้อง แนะนําทางครอบครัวให้จัดพิธีการอย่างสมเกียรติและถูกต้องตามบทบัญญัติทางศาสนา และ การท่ีผู้บังคับบัญชาเข้าร่วมในพิธีการ ความสง่างาม ความถูกต้องเรียบร้อยเป็นเรื่องสําคัญ” [10] (3) คุณคา่ ด้านการใหค้ าํ ปรึกษาและสรา้ งขวญั กาํ ลงั ใจ โดยเฉพาะการเย่ียมเยียนกําลังพลที่ป่วย บาดเจ็บ ถูกคุมขัง หรือมีปัญหา เพื่อปลอบขวัญและให้ กําลังใจ การให้คําปรึกษาแก่กําลังพลมีด้วยกันในหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านการปรับตัวเข้ากับเพ่ือนร่วมงาน ปัญหาความขัดแย้งและการทะเลาะเบาะแว้ง ปัญหาครอบครัว ปัญหาความรัก ความต้องการศึกษาต่อในระดับท่ี สูงขึ้น อนุศาสนาจารย์จะช่วยเป็นผู้ไกล่เกล่ียและให้คําปรึกษา โดยแทรกธรรมะให้แก่กําลังพล ในสถานการณ์ ความไม่สงบน้ัน การจัดอบรมบํารุงขวัญทหารจะทําได้น้อยครั้งกว่าในยามปกติ เพราะสถานที่และสถานการณ์ไม่ อํานวย แต่อนุศาสนาจารย์จะปฏิบัติงานมากข้ึนในด้านพบปะเยี่ยมเยียนทหารเป็นกิจประจําวัน สําหรับทหาร เจ็บป่วยและที่ได้รับบาดเจ็บ อนุศาสนาจารย์จะต้องถือเป็นหน้าท่ีท่ีจะต้องไปเย่ียมเยียนปลุกปลอบจิตใจด้วย ธรรมะเปน็ ประจํา “แม้อนุศาสนาจารย์ไม่ได้จบจิตวิทยาโดยตรง แต่ก็สามารถช่วยในการเป็นผู้รับฟังปัญหาใน เบ้ืองต้นได้ เพื่อปัญหาบางอย่างจะสามารถนําเสนอต่อผู้บังคับบัญชาเพ่ือแก้ไขต่อไป การที่เรารับ ฟังเร่ืองราวของผู้อื่นด้วยความเข้าใจน้ัน เป็นกลไกท่ีมีประสิทธิภาพมากท่ีสุด ไม่ว่ากําลังพลจะนับ ถือศาสนาใดก็ตาม” [11] นอกจากคุณค่าเชิงบทบาทหน้าที่สามประการหลักข้างต้นแล้ว อนุศาสนาจารย์กองทัพบกท่ีปฏิบัติงาน ในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ยังมีคุณค่าเชิงบทบาทหน้าที่ด้านอื่น ๆ อีกด้วย อาทิเช่น ด้านการช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยธรรมชาติ เช่นเมื่อคร้ังเข้าไปช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยในพ้ืนท่ีจังหวัดยะลา ด้านการปฏิบัติงาน วิทยุ โดยอนุศาสนาจารย์บางนายยังทําหน้าที่เป็นผู้ดําเนินรายการทางสถานีวิทยุเพื่อความม่ันคง ฉก.ทพ.49 คลน่ื ความถ่ี Fm 107.5 MHz ใช้หลักธรรมะในการเผยแผ่ใหแ้ ก่ประชาชนและกําลังพลที่อยู่ใกล้เคียง ด้านการ ส่งเสริมงานมวลชนสัมพันธ์ เช่น การนํากําลังพลไปช่วยบูรณะวัดร่วมกับประชาชนในพื้นท่ี เพ่ือปลูกฝังให้กําลัง พลเปน็ แบบอย่างทีด่ ีและปฏิบัติหนา้ ที่เพ่ือส่วนรวม เป็นตน้ นอกจากนั้นผู้วิจัยยังพบว่า กองอนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบก ได้ให้คําแนะนําแก่ อนุศาสนาจารย์ไว้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานยามสงครามหรือในสถานการณ์ความไม่สงบด้วย เช่น ในพื้นที่ สนาม หน่วยทหารที่มีอนุศาสนาจารย์ประจํา ควรมีกระโจมขนาดเล็ก ให้เป็นท่ีปฏิบัติงานของ อนุศาสนาจารย์ เพ่ือจะได้ใช้เป็นที่ปลุกปลอบและช่วยคล่ีคลายปัญหาด้านจิตใจแก่ทหารเป็นรายบุคคล และ ควรมีพระพุทธรูปและเคร่ืองบูชาขนาดเล็ก พร้อมท้ังหีบบรรจุซ่ึงสะดวกแก่การเคล่ือนที่ สําหรับตั้งประจําใน กระโจมของอนุศาสนาจารย์ และนําไปใช้ในการอบรมศีลธรรมและศาสนพิธีของหน่วยได้ ท่ีสําคัญควรมีการ เตรียมการด้านฐานข้อมูล ได้แก่ บัญชีรายชื่อทหารจําแนกตามศาสนา บัญชีรายชื่อและที่ตั้งของศาสน สถาน สุสาน ฌาปนสถานภายในพ้ืนท่ีปฏิบัติงานของหน่วย ตลอดจนบัญชีรายช่ือและประวัติย่อของผู้นํา ศาสนาในเขตปฏิบตั ิงานของหน่วย เปน็ ต้น

๑๘๘ สรปุ ผลการศกึ ษา บทความวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณค่าเชิงบทบาทหน้าที่ของอนุศาสนาจารย์กองทัพบกที่ ปฏิบัติงานในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วย การศึกษาเอกสาร และการศึกษาภาคสนาม เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต การสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม และการสัมภาษณ์ เจาะลึก ผู้ให้ข้อมูลหลักมีจํานวน 40 คน ผลการศึกษาพบว่า อนุศาสนาจารย์เป็นคําเรียกช่ือนายทหารผู้ปฏิบัติ หน้าท่ีทางด้านศาสนาในกองทัพ ภารกิจของอนุศาสนาจารย์กองทัพบก คือ นํากําลังพลเข้าหาธรรมะ นําธรรมะ พัฒนากําลังพล ดํารงสถานภาพเป็นตัวแทนของศาสนาในการอบรมสั่งสอนด้านศีลธรรม จริยธรรม และ วัฒนธรรม เป็นผู้นําทางด้านจิตวิญญาณของกําลังพลทุกระดับ เป็นเจ้าหน้าท่ีพิธีการทางศาสนาที่อยู่ใน เคร่ืองแบบ อนุศาสนาจารย์กองทัพบกมีหน้าท่ีสร้างขวัญกําลังใจและกระตุ้นจิตสํานึกให้กําลังพลมีความ รับผิดชอบ ซ่ือสัตย์ และพร้อมท่ีจะเสียสละตนเองในการปฏิบัติตามภารกิจที่ได้รับมอบหมาย คุณค่าเชิงบทบาท หน้าท่ีของอนุศาสนาจารย์กองทัพบกในจังหวัดชายแดนภาคใต้ สามารถสรุปได้ 3 ประการหลัก ได้แก่ (1) ด้าน การอบรมสั่งสอนในทางธรรม (2) ด้านศาสนพิธีและพิธีกรรมตามความเชื่อ โดยเฉพาะในกรณีท่ีกําลังพลเสียชีวิต และ (3) ดา้ นการให้คําปรกึ ษาและสรา้ งขวัญกาํ ลังใจ โดยเฉพาะการเยี่ยมเยียนกําลังพลท่ีป่วย บาดเจ็บ ถูกคุมขัง หรือมีปญั หา เพือ่ ปลอบขวัญและให้กําลังใจ อนุศาสนาจารย์กองทัพบกที่ปฏิบัติงานในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดปัตตานี ยะลา และ นราธวิ าส เป็นพื้นท่เี กิดเหตุการณ์ความไม่สงบมาต้ังแต่ปี พ.ศ. 2547 จนกระทั่งถึงปัจจุบัน สถานการณ์ความไม่ สงบทําให้ทหารจําเป็นต้องปฏิบัติหน้าท่ีภายใต้ความกดดัน และเสี่ยงต่อภัยอันตรายที่มีผลต่อสุขภาพกาย สุขภาพจิต และความอยู่รอดของชีวิต การสร้างขวัญกําลังใจและกระตุ้นจิตสํานึกให้ทหารมีความพร้อมที่จะ เสียสละตนเองในการปฏิบัติตามภารกิจที่ได้รับมอบหมาย ย่อมเป็นเร่ืองท่ีท้าทายความสามารถของ อนุศาสนาจารย์เป็นอย่างย่ิง อีกทั้งจังหวัดชายแดนภาคใต้มีลักษณะพหุลักษณ์ทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะด้าน ภาษา ศาสนา และชาติพันธ์ุ ปัจจุบันกองทัพบกได้ถอนกําลังทหารส่วนใหญ่จากกองทัพภาค 1 ถึง 3 ออกจาก พ้ืนท่ีภาคใต้กลับต้นสังกัดเดิมแล้ว โดยให้กองทัพภาค 4 เป็นผู้รับผิดชอบพ้ืนที่ภาคใต้เป็นสําคัญ กองอํานวยการ รักษาความม่ันคงภายใน ภาค 4 ส่วนหน้า เน้นการฝึกกองกําลังทหาร ตํารวจ ฝ่ายปกครอง และภาคประชาชน ในพ้ืนท่ีให้มีความพร้อมในการดูแลความปลอดภัย ด้วยเหตุน้ี การปฏิบัติบทบาทของอนุศาสนาจารย์กองทัพบก ในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ จึงจําเป็นต้องมีความไหวรู้ต่อความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมในพื้นที่ และในกองทัพด้วย นับเป็นเร่ืองท่ีท้าทายความสามารถของอนุศาสนาจารย์กองทัพบกในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เช่นกัน อนุศาสนาจารย์ตอ้ งแสดงออกตอ่ กาํ ลงั พลทุกศาสนาและความเชื่ออย่างเท่าเทียมกัน ไม่เลือกปฏิบัติ และ ตอ้ งไมม่ ีพฤติกรรมดูหมิ่นศาสนาและความเช่ือใด ๆ ตลอดจนให้เกียรติทุกศาสนา สนใจและใส่ใจศึกษาหาความรู้ ทําความเข้าใจในหลักธรรมและหลักปฏิบัติของศาสนาต่าง ๆ ในพ้ืนที่ จนกระทั่งสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่าง เหมาะสม .......................... เอกสารและบคุ คลอ้างองิ [1] ศรสี มภพ จติ รภ์ ิรมยศ์ รี. (2560). ความขดั แย้งชายแดนใต้ในรอบ 13 ปี ความซับซ้อนของสนามความ รุนแรงและพลังของบทสนทนาสันติภาพปาตานี. ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ สถานวิจัยความ ขัดแยง้ และความหลากหลายทางวฒั นธรรมภาคใต้ มหาวทิ ยาลับสงขลานครินทร์ วทิ ยาเขตปตั ตานี. เข้าถงึ ไดใ้ น https://www.deepsouthwatch.org/node/11651

๑๘๙ [2] อิศรา รักษ์กุล. (2554). “ภาวะสขุ ภาพจิตและทัศนคติของกําลังพลกองทัพบกท่ีปฏิบัติภารกิจในพ้ืนท่ีสาม จังหวดั ชายแดนภาคใต”้ , เวชสารแพทยท์ หารบก. 64(2), 67-73. เขา้ ถงึ ไดใ้ น https://www.tci-thaijo.org/index.php/rtamedj/article/view/5611 [3-4] กองอนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบก. (2538). คูม่ ือการอนศุ าสนาจารย์กองทัพบก. เข้าถึงได้ใน https://drive.google.com/file/d/0B3mdQ8Ey_GaySlM5OXc3UjM0Mm8/view [5] ร้อยโท รักษ์ อาสา (ผู้ให้สัมภาษณ์). ร้อยโท ภัทรกฤติ รอดนิยม (ผู้สัมภาษณ์). ที่ค่ายเสนาณรงค์ ตําบลคอ หงส์ อําเภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา. เมือ่ วนั ที่ 22 กุมภาพนั ธ์ 2561 [6] รอ้ ยโท ทองสกุ ใจดี (ผู้ใหส้ ัมภาษณ์). ร้อยโท ภทั รกฤติ รอดนิยม (ผู้สัมภาษณ์). ท่ีค่ายเสนาณรงค์ ตําบลคอ หงส์ อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. เมือ่ วนั ท่ี 13 กมุ ภาพันธ์ 2561 [7,9] พันโท ภูวดล คําบุดดา (ผู้ให้สัมภาษณ์). ร้อยโท ภัทรกฤติ รอดนิยม (ผู้สัมภาษณ์). ที่ค่ายเสนาณรงค์ ตําบลคอหงส์ อาํ เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. เมือ่ วนั ท่ี 3 กุมภาพันธ์ 2561 [8] พันเอก วิรัช ธัญญากร (ผู้ให้สัมภาษณ์). ร้อยโท ภัทรกฤติ รอดนิยม (ผู้สัมภาษณ์). ท่ีค่ายเสนาณรงค์ ตําบล คอหงส์ อําเภอหาดใหญ่ จงั หวัดสงขลา. เมื่อวนั ที่ 3 กมุ ภาพนั ธ์ 2561 [10] ร้อยโท สมอาจ อิ่มเอม และร้อยเอก ศักดิ์ชัย โชติพันธ์ (ผู้ให้สัมภาษณ์). ร้อยโทภัทรกฤติ รอดนิยม (ผู้ สัมภาษณ์). ท่ีค่ายเสนาณรงค์ ตําบลคอหงส์ อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2561 [11] ร้อยโท ถนอมชัย สุทธิแสน (ผู้ให้สัมภาษณ์). ร้อยโท ภัทรกฤติ รอดนิยม (ผู้สัมภาษณ์). ที่ค่ายเสนาณรงค์ ตําบลคอหงส์ อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. เมอ่ื วนั ท่ี 13 กมุ ภาพนั ธ์ 2561

๑๙๐ จิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชดําริ พ.ท. ณรงค์กรณ์ สมี งคณุ 135 ............................................. ความเป็นมา ตามที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงห่วงใย และทรงคํานึงถึงความอยู่ดีมีสุขของประชาชนเป็น สําคัญ และพระองค์ทรงมีพระราชปณิธานแน่วแน่ท่ีจะทําให้ประเทศชาติมั่นคง เป็นปึกแผ่น มีความรัก ความ สามัคคแี ละประชาชน มีชีวติ ความเปน็ อยู่ท่ีดขี ึ้น ด้วยมพี ระราชปณิธานทจ่ี ะสืบสาน รกั ษา ต่อยอด โครงการอัน เน่ืองมาจากพระราชดําริ และแนวพระราชดําริต่างๆ ในการบําบัดทุกข์ บํารุงสุขให้ประชาชน และพัฒนา ประเทศใหเ้ จริญก้าวหน้า ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้จัดทําโครงการจิตอาสาขึ้นเป็นคร้ังแรก เม่ือวันท่ี ๒๑ มิถุนายน ๒๕๖๐ ณ โรงเรียนสุโขทัย เขตดุสิต กทม. โดยมีพระราโชบายให้ริเร่ิมทําจากจุดเล็กไปหาใหญ่ ซงึ่ หมายถงึ เริม่ จากการ ดูแลรกั ษาบ้าน และบรเิ วณรอบบ้านของตนเอง ใหส้ ะอาดเรียบร้อยเสียก่อน ทรงทําให้ เหน็ เปน็ ตวั อยา่ ง กลา่ วคือ เรม่ิ ทาํ จากพน้ื ทโ่ี ดยรอบพระที่นั่งอมั พรสถาน และรอบพระราชวังดสุ ติ ในคร้ังนั้น ได้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ หน่วยทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์ หน่วยทหารรักษา พระองค์ ข้าราชบริพารในพระองค์ ร่วมกับประชาชนจิตอาสาจากชุมชนโดยรอบพ้ืนที่พระราชวังดุสิต ทํา กิจกรรมจัดระเบียบพื้นท่ีต่างๆ ภายในชุมชน และพ้ืนท่ีสาธารณะ ทําความสะอาด ปรับปรุงภูมิทัศน์ ตลอดจน การขุดลอกคูคลองในพื้นที่ เหตุการณ์น้ีนับได้ว่าเป็นจุดเร่ิมต้นของกิจกรรมบําเพ็ญประโยชน์ ท่ีต่อมาแพร่หลาย ไปทั่วประเทศ แสดงให้เห็นถึงพระราชปณิธานอันแน่วแน่ ของพระองค์ ที่ทรงมีพระราชประสงค์ท่ีจะส่งเสริม ความเป็นจิตอาสาของประชาชนชาวไทย ให้ร่วมกัน “ทําความ ดี ด้วยหัวใจ” เพ่ือความผาสุกของอาณา ประชาราษฎร์ โดยกิจกรรมจิตอาสาพระราชทาน แบ่งเป็น ๓ ประเภท คือ จิตอาสาพัฒนา จิตอาสาภัยพิบัติ และจิต อาสาเฉพาะกิจ หลักสูตรการฝึกอบรมจิตอาสา ประเภทของหลักสูตรการฝึกอบรมจิตอาสา ทรงกําหนด หลักสูตรการฝึกอบรมจิตอาสา ออกเป็น ๓ ระดบั ได้แก่ หลักสูตรทว่ั ไป มีระยะเวลาฝึกอบรม จํานวน ๗ วัน หลกั สูตรหลกั ประจํา มีระยะเวลาฝกึ อบรม จํานวน ๖ สปั ดาห์ หลกั สูตรพเิ ศษ มรี ะยะเวลาฝกึ อบรม จาํ นวน ๓ เดอื น 135 อศจ.ยศ.ทบ., วิทยากรจิตอาสาพระราชทาน ๙๐๔ รุน่ ท่ี ๓/๒๕๖๒

๑๙๑ ที่ผ่านมาได้ดําเนินการฝึกไปแล้ว คือ หลักสูตร “หลักประจํา” รุ่นท่ี ๑ - ๒ ช่ือพระราชทาน รุ่น “เป็น เบ้า เป็น แม่พิมพ์” โดยมีข้าราชการ ทหาร ตํารวจ ท้ัง ๔ เหล่า และข้าราชการบางกระทรวง เข้ารับการ ฝึกอบรม รุ่นที่ ๑ ในห้วงเดือนมีนาคม ถึง เดือนเมษายน, รุ่นที่ ๒ ในห้วงเดือน พฤศจิกายน ถึง เดือนธันวาคม ๒๕๖๑ และรุ่นท่ี ๓ (อยู่ระหว่างฝึกอบรม) ในห้วงเดือน มีนาคม ถึง เมษายน ๒๕๖๒ ทําการฝึก ณ โรงเรียน จิตอาสา พ้ืนท่ีกองพันฝึกส่วนหลัง กองบัญชาการทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์ เขตพระราชฐานใน พระองค์ “วภิ าวดี” ทง้ั ไดท้ รงพระกรุณาวนิ ิจฉยั เนอื้ หาทุกวิชาของหลักสูตร และ ทรงให้พัฒนาปรับปรุงสถานท่ี ฝกึ สนบั สนุนคา่ ใชส้ อย เคร่ืองช่วยฝึก และพระราชทานอาหาร ตลอดห้วงการฝกึ หลกั สูตรหลกั ประจาํ แนวทางการฝึกอบรม เน้นการฝกึ อบรมแบบ Two-way communication การแลกเปล่ยี น ประสบการณ์แบบศึกษาเปน็ คณะ เนน้ ฝึกปฏบิ ัติ สําหรับการบรรยายจากผมู้ ปี ระสบการณ์ จาก ๑๔ หนว่ ยงาน วทิ ยากร ๔๙ ท่าน โดยมีระยะเวลาฝึกอบรม ๖ สัปดาหต์ อ่ เน่อื ง แบ่งเป็น ๖ หมวดวชิ า รวมทง้ั ส้นิ จาํ นวน ๔๖๒ ชว่ั โมง เช่น หมวดวชิ าที่ ๑ วชิ าทหารทว่ั ไป จาํ นวน ๒๗ ชั่วโมง หมวดวิชาท่ี ๒ วิชาการอบรมความรู้ (อดุ มการณ/์ สถาบันพระมหากษัตรยิ )์ จาํ นวน ๘๕ ชว่ั โมง หมวดวิชาท่ี ๓ วิชาการอบรมความรู้ (ดา้ นจิตอาสา) จาํ นวน ๘๐ ชว่ั โมง หมวดวิชาท่ี ๔ วิชาชพี (เลือก) ๑ วชิ า จาํ นวน ๓๐ ชั่วโมง หมวดวิชาที่ ๕ วชิ าศาสตร์พระราชา จํานวน ๙๐ ช่วั โมง หมวดวชิ าท่ี ๖ การฝึกปฏบิ ัติและการศึกษาดูงานพ้ืนที่จริง จาํ นวน ๑๕๐ ช่ัวโมง ผู้รบั การฝกึ จะไดศ้ กึ ษาดงู าน ณ สถานท่ี โครงการสว่ นพระองค์สวนจิตรลดา, พระบรมมหาราชวัง, หม่บู ้าน เศรษฐกจิ พอเพียงต้นแบบบา้ นอา่ งตะแบก จ.ฉะเชงิ เทรา, โครงการช่ังหวั มนั อันเนือ่ งมาจากพระราชดาํ ริ จ. เพชรบุรี และศูนยก์ สกิ รรมธรรมชาตมิ าบเอือ้ ง อ.บา้ นบงึ จ.ชลบุรี สวสั ดิการระหว่างการฝกึ อบรม ในระหวา่ งการฝึกอบรม ผู้รบั การฝึกจะได้รบั พระมหากรณุ าธคิ ณุ พระราชทาน เครือ่ งแบบจิตอาสา ประกอบดว้ ย เสอ้ื จิตอาสา, หมวกสีฟ้า, ผา้ พันคอสีเหลอื ง ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ ของ จติ อาสา ๙๐๔ และ เอกสาร ตาํ ราประกอบการฝึกอบรม ให้กับผู้รบั การฝกึ อกี ทงั้ พระราชทานเลย้ี งอาหารประจาํ วนั และอาหารวา่ ง ให้กบั ผูร้ ับการฝกึ ในแต่ละวัน พระราชทานเล้ยี งอาหารพเิ ศษ ในวนั สําคญั และวันเยีย่ มญาติ ซ่ึงได้พระราชทานเลี้ยง ใหก้ ับญาตขิ องผรู้ ับการฝกึ ดว้ ย และหากผู้รบั การฝกึ เจบ็ ปว่ ย ในระหวา่ งรับการฝึก ทรงมีพระมหากรณุ าธคิ ุณ พระราชทานแจกันดอกไม้และของเยยี่ มใหแ้ ก่ผู้ป่วย ผลลัพธท์ ต่ี อ้ งการ หลังจบการฝึกหลกั สูตรจติ อาสา ๑. สามารถทาํ งานเป็นทมี และนาํ ไปอบรมขยายผลในหน่วยงานของตนเอง

๑๙๒ ๒. สามารถนําความรู้ทอ่ี บรมไปใช้ โดยเป็นทมี งานลงขยายผลในพื้นท่เี ป้าหมาย ไมว่ ่าจะเป็น การ อบรม/การชว่ ยเหลือประชาชน ในพื้นท่ีต่าง ๆท่ไี ด้รบั มอบ ๓. เปน็ หนว่ ย/ชดุ ลว่ งหนา้ ที่มีความพร้อมสามารถไปชว่ ยเหลอื เมอื่ เกิดภัยพิบตั ิในพนื้ ท่ี ทว่ั ประเทศ อศจ.จติ อาสา อศจ.ทบ. ไดร้ บั โควตาเข้ารับการฝกึ อบรมหลกั สูตรจติ อาสา ๙๐๔ หลกั สตู รหลักประจาํ รนุ่ ที่ ๓/๖๒ “เป็นเบา้ เป็นแมพ่ ิมพ์” จาํ นวน ๘ นาย (เปน็ รุ่นแรกที่ อศจ.ทบ. ได้เข้าฝกึ อบรม) โดยคณะกรรมการของ ยศ. ทบ. ได้คัดเลือก อศจ.ทบ. ท่ีสมัครใจเข้ารับการฝึกอบรมทั่วประเทศ มผี ลการคดั เลอื กตามคณุ สมบัตทิ ี่โรงเรยี น จิตอาสากาํ หนด ดังนี้ ๑. พ.ท. ณรงค์กรณ์ สีมงคณุ อศจ.ยศ.ทบ. ๒. พ.ต. ชัชวาลย์ ถึงแสง อศจ.กช. ๓. ร.อ. ภกั ดี ขนั ทะวัต อศจ.พธ.ทบ. ๔. ร.อ. อนาวลิ อร่าม อศจ.มทบ.๑๑ ๕. ร.อ.ธนากร สารการ อศจ.ร.๑๒ รอ. ๖. ร.ท. วินัย อรรคฮาด อศจ.ร.๑๗ ๗. ร.ต.เดน่ นคร ไชยธงรตั น์ อศจ.ร.๑๕๓ ๘. ร.ต.พงษศ์ กั ด์ิ คมแกว้ ผช.อศจ.มทบ.๑๓ ในระหว่างฝกึ อบรม ผเู้ ขา้ ฝึกอบรมทั้งที่เป็นข้าราชการทหาร ตาํ รวจ ขา้ ราชการพลเรอื น รัฐวิสาหกจิ องค์กรมหาชน และภาคประชาชน จะไมม่ กี ารแบง่ ช้นั ยศ ระดบั และตาํ แหน่ง โดยทกุ คนเสมอกัน คอื เป็นผู้ เข้าฝกึ อบรม เพื่อละลายพฤติกรรมและการทํากจิ กรรมรว่ มกันอย่างเป็นกันเอง สร้างความคนุ้ เคยความรกั

๑๙๓ ความสามคั คี มีทศั นคตทิ ีด่ ตี อ่ กัน มีความพรอ้ มด้านจิตใจ โดยการฝึกตลอดหลักสูตรจะเนน้ ความปลอดภัยเปน็ ส่ิงสําคัญ โดยจะมีทีมแพทย์จากโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา้ เตรยี มพรอ้ มตลอด ๒๔ ชว่ั โมง สงิ่ ทไ่ี ด้รับและประทับใจ พ.ต.ชชั วาลย์ ถงึ แสง อศจ.กช. “...ดูแลเขาให้ดี ๆ นะ..นค่ี ือความประทับใจแรกของผมหลงั จากทไ่ี ดก้ า้ วยา่ งเขา้ สเู่ ขตพระราชฐานเข้า มาเรยี นหลักสตู รจิตอาสา ๙๐๔ หลักสตู รหลักประจาํ รนุ่ ที่ ๓/๖๒ เปน็ เบ้า เป็นแม่พิมพ์ ซึง่ เป็นพระดํารสั ท่ีตรสั สัง่ ใหค้ รูทกุ ทา่ นใหก้ ารดูแลอย่างดดี ว้ ยนา้ํ พระทยั อนั เป่ยี มไปด้วยเมตตาและพระกรุณาทท่ี รงมตี อ่ ผู้เข้ารบั การ ฝกึ ทกุ นาย ทาํ ให้ทราบถึงน้าํ พระทัยอนั ยงิ่ ใหญท่ ่ที รงมีตอ่ พสกนกิ รชาวไทยตามพระราชปณธิ านของพระองค์ ทา่ น ทวี่ า่ สบื สาน รักษาต่อยอด สรา้ งสุขปวงประชา โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดําริ ของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร รัชกาลท่ี ๙ เพ่ือพัฒนาประเทศไทยใหม้ ี ความรรู้ กั สามคั คแี ละพัฒนาอย่างยงั่ ยนื สบื ไป” ร.อ.ภักดี ขนั ทะวัต อศจ.พธ.ทบ. “ความภูมใิ จแรก ของกระผมคือการท่ี กอศจ.ยศ.ทบ. และ ยศ.ทบ. เหน็ คุณคา่ และคัดสรร ตวั ผมเป็น ๑ ใน ๘ของ อศจ.ทบ. การได้เปน็ ตัวจรงิ ในงานสาํ คัญเชน่ นี้ นคี่ อื คณุ ค่าในฐานะ อศจ. และเม่ือไดเ้ ขา้ รบั การ อบรม กไ็ ด้มากกวา่ ที่คดิ ซึง่ คงหาจากที่อ่นื ไมไ่ ดอ้ กี แลว้ , การไดฝ้ กึ ตวั เองทั้งทางกาย และจติ ใจ, การไดเ้ รยี นรู้ ศาสตรพ์ ระราชาท่หี าไดย้ ากเพราะศกึ ษาจากบรมครยู อดปราชญช์ าวบ้านผปู้ ระสบความสําเรจ็ โดยตรง, การได้รู้ ประวตั ิศาสตร์ชาติไทย ทย่ี ง่ิ ใหญก่ ว่าทคี่ ิด , การไดฝ้ กึ การเป็นวทิ ยากรจากยอดวิทยากรระดบั ประเทศ การได้ เรียนรศู้ าสตรอ์ ืน่ ๆ อกี มากมาย, การไดเ้ พือ่ นใหม่ตั้งแต่ระดบั รองผู้ว่าราชการจังหวัด, เสธ.ทน., รอง ผบ.พล, หัวหนา้ หน่วยงาน เป็นต้น, การได้เหน็ น้าํ ใจครฝู ึกที่ต้องทน และ อยู่ในภาวะกดดันเพราะผรู้ บั การฝึกล้วนยศ ตาํ แหนง่ สงู , การได้ร้วู า่ ทจี่ ริงแล้ว อศจ. เราเปน็ ผทู้ สี่ งั คมยอมรบั และมีดกี วา่ ที่คิด แทบจะไม่มใี ครทจี่ ะไมร่ ูจ้ ัก อศจ. , การไดน้ าํ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้, การไดส้ นองพระราชปณิธาน สมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั

๑๙๔ ด้วยการเปน็ จติ อาสา เปน็ แบบอยา่ งหรอื ทหารตน้ แบบ และ แบบอยา่ งอันดแี ก่สงั คม ซึ่งเปน็ เกียรตปิ ระวัติแก่ ตนเอง และ ครอบครวั ตราบนิจนริ นั ดร”์ ร.อ.อนาวลิ อร่าม อศจ.มทบ.๑๑ “ดว้ ยสาํ นกึ ในพระมหากรณุ าธิคณุ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั สายวิทยาการอนศุ าสนาจารย์ ได้ คดั เลอื กให้กระผมเปน็ หนึง่ ในจาํ นวนอนศุ าสนาจารย์ ๘ ท่าน เขา้ รับการฝกึ อบรมในครัง้ นี้ กระผมถือว่าตลอด ทัง้ ชวี ติ ของกระผมไดร้ ับโอกาสที่ถือวา่ สงู ทส่ี ดุ ในชีวิต โชคดที ่ีสดุ ในชีวิต ทําให้ได้เขา้ รบั การฝกึ อบรมใน หลักสตู รดังกล่าว ได้รบั ความรู้ตามกระบวนการฝกึ อบรมทกุ ประการ ไมว่ ่าจะเป็นองค์ความรู้ การปฏิบตั ิ การศึกษาดงู าน รวบรวมเน้อื หาแล้วกจ็ ะเปน็ เรอ่ื งของการฝกึ ระเบียบวินัย การเข้าใจ ตระหนักอย่างถอ่ งแท้ใน ประวตั ศิ าสตร์ของชาตไิ ทย ซง่ึ ถอื ว่าเปน็ รากแกว้ ของความเป็นชาติไทย พระมหากรุณาธคิ ณุ ในความเป็น สถาบนั สถาบันพระมหากษตั รยิ ์กบั ความเปน็ ชาติไทย ความรกั ความสามัคคกี นั ของคนในชาติ และการกภู้ ยั กู้ ชพี ในเหตุการณต์ า่ งๆ ถอื เป็นคุณคา่ ทีย่ ่ิงใหญท่ ีส่ ดุ ในชวี ติ เหนอื ส่ิงอน่ื ใด ท่กี ระผมไดร้ บั จากการฝึกอบรมใน คร้ังน้ี นน่ั คอื หวั ใจของการดาํ เนนิ ชวี ติ กระผมจบหลกั สตู รการฝกึ ครัง้ นแี้ ล้ว จะขอปฏิบตั ิหน้าทีต่ ่างๆทตี่ นมี เพอ่ื ชาติ เพ่อื แผน่ ดินเกดิ ดว้ ยหวั ใจ ขอทาํ ดีดว้ ยหวั ใจ เป็นกุศล เปน็ คณุ งามความดี ที่กระทําดว้ ยหัวใจ นอ้ มถวาย ดว้ ยความสาํ นึกในพระมหากรณุ าธคิ ณุ ครับ” ร.ท.วนิ ยั อรรคฮาด อศจ.ร.๑๗ “นบั ตง้ั แตไ่ ด้เขา้ มาฝึกหลักสูตรจิตอาสา ๙๐๔ หลักสูตรหลกั ประจํา ร่นุ ที่ ๓/๖๒ เป็นเบา้ เปน็ แม่พิมพ์ กระผมรู้สกึ ภมู ิใจท่ไี ด้เรียนรสู้ ง่ิ ทีไ่ ม่เคยได้รู้มาก่อน เชน่ ได้มาเรยี นร้ถู ึงข้ันตอนการกระทาํ ตลอดจนเขา้ ใจหลกั เศรษฐกิจพอเพียงอยา่ งแทจ้ รงิ อกี ทั้งไดเ้ ขา้ ใจถึงสามเสาหลกั คอื ชาติ ศาสนาและพระมหากษัตรยิ ์ ไดช้ ดั เจน ยง่ิ ขึน้ ไดเ้ รียนรู้หลกั การ วิธกี ารตลอดถึงการได้ฝกึ หดั ปฏบิ ัตจิ ริงเก่ยี วกบั การก้ภู ยั ทีม่ ีการฝกึ แบบบรู ณาการณ์ สมบูรณพ์ ร้อมทกุ สถานี และมีครูท่ที ําการฝึกสอนอยา่ งใกล้ชิด ทาํ ใหผ้ ฝู้ ึกมคี วามเขา้ ใจการปฏิบัติไดอ้ ยา่ ง ถูกตอ้ ง กล้าทจ่ี ะปฏบิ ัตจิ ริงเม่ือถึงคราทตี่ ้องชว่ ยชีวติ คนอืน่ จรงิ ๆ ทปี่ ระชาชนจติ อาสาสามารถนําไปใช้ได้จรงิ และแนะนาํ ผู้อ่นื ให้ปฏิบตั ติ ามได้ เพอื่ ใหเ้ กิดประโยชน์สขุ แก่ประชาชนอย่างแท้จรงิ ตามพระราชปณธิ านที่ว่า สบื สาน รกั ษา ต่อยอด สร้างสขุ ปวงประชา น่นั เอง”

๑๙๕ โดยสรปุ แลว้ สง่ิ ท่ี อศจ.ทบ. ทเี่ ขา้ อบรมได้รับทเ่ี ปน็ รูปธรรมคือ การไดพ้ ฒั นาบุคลิกภาพของการเป็น วิทยากร เช่น ทกั ษะการพดู การปรากฏตวั ความมรี ะเบยี บวินัย การแสดงความเคารพบุคคลในทา่ พระราชทาน การวางแผนการทํางานเป็นทมี การสร้างเครอื ข่ายจติ อาสาตา่ งหนว่ ยงานและการฝึกทักษะการ ช่วยเหลอื ผู้ปว่ ยจากภยั พบิ ัติ – การปฐมพยาบาลเบอ้ื งต้น สว่ นทเ่ี ป็นนามธรรม คือ ความมีจิตอาสาที่จะ ชว่ ยเหลอื งานสว่ นรวม ความภมู ใิ จทเี่ กิดเป็นคนไทยจากการได้เรียนรู้ประวตั ิศาสตรช์ าตไิ ทย ความรกั ศรัทธา และเทิดทูนสถาบนั พระมหากษตั ริย์อย่างไม่มเี งือ่ นไข ความเข้าใจในศาสตรพ์ ระราชา หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจ พอเพยี ง และเข้าใจถึงหัวใจหลักสาํ คัญของจิตอาสาพระราชทาน ๙๐๔ คอื “การทํางานร่วมกันแบบบูรณา การ” ....................

๑๙๖ อนศุ าสนาจารยท์ หารบกไทยในเซาท์ซดู าน The Chaplain of Thai Royal Army in South Sudan พ.ต.สุชาติ สมมาตร (Major Suchat Sommart)136 ปฐมบท นบั เปน็ โอกาสอันยิ่งใหญ่ของชีวิตการรับราชการที่ได้ปฏิบัติภารกิจระดับนานาชาติร่วมกับ UN ในการ นาํ ความรู้ ความสามารถมาประยกุ ต์ใช้ในการปฏิบัติภารกิจภาคสนามของประเทศเซาท์ซูดาน อันเป็นประเทศ นอ้ งใหม่ท่ีเกิดขึน้ มาในลาํ ดบั ที่ ๑๙๓ ของโลก โอกาสในการปฏิบัติภารกิจร่วมกับ UN น้ันเป็นส่ิงสําคัญยิ่งของชีวิตการรับราชการทหารไทย ซ่ึงหลายคนมองว่าเป็นเร่ืองยากอย่างย่ิงกับการได้ร่วมการปฏิบัติภารกิจ ในห้วงปี ๒๕๖๑ มีการฝึกร่วมผสม ระหว่างกองทัพสหรัฐอเมริกากับกองทัพไทย ในนามการฝึกร่วม Cobra Gold 2018 คณะอนุศาสนาจารย์ไทย ไดส้ ่งกาํ ลังพลเข้าร่วมการฝกึ ฯ จาํ นวน ๘ นาย ประกอบด้วย :- ๑. พ.อ.อัครินทร์ กาํ ใจบุญ หวั หน้าแผนกอบรม กองอนศุ าสนาจารย์ กองทัพบก ๒. พ.ท.บวรวทิ ย์ ไชยศิลป์ หัวหนา้ แผนกกําลังผล กองอนุศาสนาจารย์ กองทพั บก ๓. ร.อ.สุชาติ สมมาตร อนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศกึ ษาทหารบก กองทพั บก ๔. ร.อ.วิศิษย์ศกั ดิ์ ภูก่งิ เพชร อนุศาสนาจารย์ มณฑลทหารบกท่ี ๒๗ กองทัพบก ๕. น.อ.บุญมี กาโน รองผอู้ ํานวยการกองอนศุ าสนาจารย์ กองทพั เรอื ๖. น.ท.เลศิ ชลศิ ล้มิ สคุ นธท์ ิพย์ อนุศาสนาจารย์ กองพลนาวกิ โยธิน กองทพั เรอื ๗. ร.ท.สมเดช สวาสนอก อนศุ าสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ กองทพั อากาศ ๘. ร.อ.สมพงษ์ แกว้ ใจ อนศุ าสนาจารย์ กรมเสมียนตรา ผลจากการฝึกร่วมฯ ในครั้งน้ี ทําให้มีการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง เม่ือ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๑ กองทัพบกได้จัดการประชุม โดยมี พล.อ.เฉลิมชัย สิทธิสารท ผู้บัญชาการทหารบก เป็นประธาน ได้มีมติส่ง เจ้าหน้าท่ีทหารไทย จํานวน ๑ กองร้อย ทหารช่างก่อสร้าง (ทางระดับ) ไปปฏิบัติภารกิจรักษาสันติภาพใน ประเทศสาธารณรัฐเซาท์ซูดาน โดยให้กําลังพลท่ีออกไปปฏิบัติหน้าท่ีนอกประเทศชาตินําส่ิงดีๆ ที่มีอยู่ใน 136 อนุศาสนาจารย์ กองร้อยทหารช่างเฉพาะกิจไทย/เซาท์ซูดาน ผลัดท่ี ๑ กองกําลังรักษาสันติภาพ (Thai Horizontal Military Engineer Company (Thai HMEC))

๑๙๗ เมืองไทยไปเผยแพร่ขยายผล เช่น โครงการพระราชดําริต่างๆ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นต้น ซึ่งทหารไทยมี อัธยาศัยไมตรีที่ดี อยู่แห่งใดก็มักจะได้รับการยอมรับจากประชาคมทั่วไปอย่างดีเสมอ นอกจากไปทําภารกิจ สนั ตภิ าพแล้วกย็ ังต้องช่วยเผยแพร่ชอ่ื เสียงของกองทพั บกไทยด้วย ๒๖ มีนาคม ๒๕๖๑ กรมยุทธการทหารบก มีหนังสือแจ้งว่า สหประชาชาติ (UN) ขอเพิ่มเติม อัตรากําลังพลให้ ร้อย.ช.ก่อสร้างฯ จํานวน ๕ อัตรา ในภารกิจรักษาสันติภาพของสหประชาชาติในสาธารณรัฐ เซาท์ซูดาน (United Nations Mission In South Sudan: UNMISS) จากเดิม ๒๖๘ อัตรา เป็น ๒๗๓ อัตรา โดยอัตรากําลังพลที่เพิ่มขึ้น จํานวน ๕ อัตรา จัดจาก กองบัญชาการกองทัพไทย จํานวน ๔ อัตรา และ กองทัพบก จาํ นวน ๑ อตั รา อตั ราทเ่ี พิ่มข้ึนของกองทัพบกระบตุ าํ แหนง่ อนศุ าสนาจารย์ ช้นั ยศ ร้อยตรีพนั ตรี กรมยุทธการ ทหารบกมีหนังสือประสานงานถึงกรมยุทธศึกษาทหารบกให้ส่งรายชื่อ รายละเอียด ข้อมูลกําลังพลท่ีจะเข้าร่วมปฏิบัติภารกิจ ภายใน ๒๗ มีนาคม ๒๕๖๑ ซึ่งเป็นงานที่ด่วนมากท่ีสุดในการจัด กําลังพลเขา้ ร่วมภารกจิ คร้งั น้ี กองอนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบก ได้คัดเลือกข้าพเจ้า ร้อยเอกสุชาติ สมมาตร เข้าร่วม ภารกิจครั้งนี้ ผู้อํานวยการกองอนุศาสนาจารย์ และคณะได้เรียกข้าพเจ้า เข้าไปสอบถามถึงความสมัครใจใน การไปร่วมปฏิบัติภารกิจ ณ ประเทศเซาท์ซูดาน ซึ่งต้องใช้ความอดทน อดกลั้น บากบั่น พากเพียรเป็นอย่าง มาก ระยะเวลาในการปฏบิ ัติภารกจิ ยาวนาน ๑ ปี สามารถปฏิบัติได้หรอื ไม่ ข้าพเจ้าได้ยินคําถามนั้นจากคณะกรรมการ จึงได้ตอบ ตกลง โดยยังไม่ทราบข้อมูลว่าต้องไปอย่างไร มีข้อมูลความเสี่ยงอย่างไร ไม่ได้สอบถามครอบครัวหรือใคร มีเวลาตัดสินใจในเส้ียวนาทีน้ัน นับเป็นโอกาสอัน ย่งิ ใหญข่ องชวี ติ รับราชการทหาร สาเหตุท่ีคัดเลือกข้าพเจ้าเท่าที่จับใจความได้คือ สําเร็จการศึกษารบพิเศษมาแล้ว ผ่านการฝึกฝนมา หลายหลักสูตรแล้ว มีความอดทนอดกลั้นต่อภารกิจท่ียากลําบากได้อย่างแน่นอน และมีความรู้ความสามารถท่ี พร้อมกับการปฏิบัติงานต่างแดนได้ พร้อมกันน้ันยังเพิ่งจบภารกิจการฝึก Cobra Gold กับชาวต่างชาติมา น่าจะมคี วามเข้าใจกบั การทาํ งานระดับนานาชาติ

๑๙๘ ขนั้ ตอนการเตรียมการ ๒๘ มีนาคม ๒๕๖๑ คณะกําลังพลท่ีได้อัตราเพ่ิมเติม ต้องตรวจสุขภาพร่างกายคร้ังใหญ่ ท่ี โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ต้องกรอกประวัติการเจ็บป่วยของบิดาเป็นภาษาอังกฤษทั้งหมด ต้องทําการบ้าน ในการกรอกข้อมูลพอสมควร ต้องตรวจเลือด ปัสสาวะ หู คอ จมูก ปาก ทดสอบการได้ยิน ทดสอบสายตา ทดสอบคล่ืนหัวใจ และเอ็กซเรย์ร่างกาย ผู้ท่ีจะเดินทางไปทํางานต่างประเทศ ท้ังอเมริกาใต้ และ แอฟริกา จะต้องมีหนังสือเล่มสีเหลืองที่เป็น เสมือนใบรับประกันว่า ได้ทําการฉีดวัคซีนเรียบร้อยแล้ว ทั้งนี้เพื่อป้องกันการเจ็บป่วยจากการเปลี่ยนพื้นที่ ปฏิบัติงาน และป้องกันการเสียชีวิต วัคซีนท่ีฉีดน้ันมี ๒ ชนิด คือวัคซีนไข้เหลือง ซ่ึงต้องได้รับการฉีดก่อน เดินทางอย่างน้อย ๑๐ วัน และวัคซีนท่ีทางโรงพยาบาลแนะนํา ได้แก่ วัคซีนไข้กาฬหลังแอ่น วัคซีน อหวิ าตกโรค วคั ซนี ไวรัสตับอักเสบเอ บี วคั ซนี ป้องกันโรคไทรอยด์ วัคซนี ไข้หวัดใหญ่ ข้อแนะนําสําคัญที่สุด สมุดรับรองการฉีดวัคซีนเล่มสีเหลือง เรียกง่ายๆว่า สมุดเล่มเหลืองโดยเรียก ตามสีของมัน ถือว่าเป็นเอกสารท่ีสําคัญอย่างยิ่งที่ออกให้ตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ (International Health Regulation) ขององค์กรอนามัยโลกซ่ึงถือได้ว่าใช้เป็นการยืนยันว่า บุคคลท่ีจะเดินทางนั้นได้รับการ ฉดี วัคซนี ไข้เหลอื งแล้ว ข้อมูลการฉีดวัคซนี ทงั้ หมดจะถูกบันทึกโดยเจ้าหน้าที่ไว้ท้ังหมด ต้องตรวจสอบข้อมูลให้ ตรงกบั หนงั สอื เดินทาง ซ่งึ จะตอ้ งแนบกบั หนงั สือเดินทางก่อนข้ึนเครื่องบิน ต้องเก็บรักษาไว้ให้ดีท่ีสุด หากหาย ท่านจะไม่สามารถเดินทางเข้าประเทศในแถบแอฟริกาและกลบั เขา้ ประเทศไทย สําหรับข้าพเจ้า จะเดินทางแล้วก็ต้องเตรียมพร้อมทุกอย่างให้ครอบครัวซ่ึงต้องดูแลพ่อแม่ท่ีอยู่คนละ จังหวัดด้วยเหตุผลของครอบครัวที่แม่ต้องเล้ียงหลานให้เรียนหนังสือท่ีลพบุรี พ่อต้องเฝ้าบ้านทําไร่ขายของอยู่ กับน้องที่กําแพงเพชร ส่วนภรรยาอยู่สิงห์บุรี เตรียมตัวเดินทางหลายแห่งก็ดีเหมือนกันได้ช่วยงานบ้าน ได้ดูแล พ่อแมใ่ นโอกาสทส่ี มควร ตอ้ งทําใจหลายเรื่องโดยเฉพาะกับครอบครัวที่ข้าพเจ้าเป็นหลักในการดูแล หลายคนก็ ไม่อยากให้เดินทางไปทํางานต่างประเทศหรอกเพราะมันทําให้ไกลบ้าน แต่ด้วยความเต็มใจและอยากทํางานที่ เป็นระดับนานาชาติท่ีเป็นประสบการณ์คร้ังใหญ่ของชีวิตที่จะได้มีโอกาสแบบน้ีหาได้ยากมาก ครอบครัวเป็น ห่วงกลัวลําบาก กลัวเป็นอันตราย จึงไม่อยากให้เดินทางไป บางคนคิดว่าต้องไปเมืองสงครามลําบากหรือเส่ียง อันตรายถงึ ชวี ิตได้ แตข่ ้าพเจ้าคดิ ต่างกนั ว่า เราตอ้ งกา้ วไปใหไ้ ดแ้ ละผา่ นจุดน้นั ใหไ้ ด้ ๒๐-๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๑ อบรมภาษาอังกฤษเตรียมความพร้อมก่อนเดินทาง ท่ีสถาบันภาษาบริชติช (British council) ณ ห้างเซ็นทรัล แจ้งวัฒนะ ซ่ึงขณะน้ี ภรรยาข้าพเจ้าต้ังครรภ์ได้ ๔ เดือนแล้วคาดว่าจะ คลอดช่วงเดือน กุมภาพันธ์ ก็คงไม่ได้ดูแลครอบครัวตอนลูกคลอดออกมา หรือท่ีเขาเรียกว่า ลูกไม่ได้เห็นหน้า พ่อนัน่ แหละ นกึ ถึงความรสู้ ึกของคนท่อี ยูใ่ นสถานการณ์นัน้ เลย ๑๘ กันยายน ๒๕๖๑ รวบรวมเอกสารรับรองทายาท, หนังสือแบบแสดงเจตนาระบุตัวผู้รับบําเหน็จ ตกทอด, หนงั สอื แสดงเจตนาระบุตวั ผ้รู บั เงินช่วยเหลือพิเศษกรณีข้าราชการถงึ แกค่ วามตาย, หนังสือเจตนาระบุ ตัวผู้รับเงินค้างจ่าย(เงินเดือน), หนังสือเจตนาระบุตัวผู้รับเงินค่าสินไหมทดแทนประกันชีวิต โครงการประกัน ชีวติ ทหารแบบ “พิทกั ษพ์ ลพิเศษ”

๑๙๙ การทํางานกับชาวต่างชาติมีทั้งข้อดี ข้อเสียพร้อมกัน ข้อดีอาจจะได้มีหลายอย่าง ได้ท้ังเงิน ทั้งกล่อง ได้ส่ิงดีที่มีให้เก็บเก่ียวมากมาย ข้อเสีย ไกลบ้าน อาหาร อากาศ ภูมิประเทศเราไม่คุ้นชิน ต้องระมัดระวัง อันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นได้ทกุ ขณะ ๒๐ ธนั วาคม ๒๕๖๑ พนั เอก วสิ ทิ ธ์ิ วิไลวงศ์ ผอู้ ํานวยการ กองอนศุ าสนาจารยไ์ ด้มอบพระพุทธสงิ ห์ ชัยมงคล ซ่ึงสร้างขึ้นในวาระมหามงคลครบ ๑๐๐ ปีอนุศาสนาจารย์ไทย หมายเลขพระพุทธสิงห์ชัยมงคลองค์นี้ คอื ๙๙๙ ไดจัดพิธีส่งกําลังพลไปปฏิบัติภารกิจท่ีประเทศสาธารณรัฐเซาท์ซูดาน มีข้าราชการกําลังพล พร้อมท้ัง นกั เรียนนายทหารอนุศาสนาจารย์ ช้นั ต้น รุ่นที่ ๑๑ ร่วมพธิ ีส่ง ปลาบปล้ืมใจน้ําตาซึมเหมือนกัน อย่างน้อยก่อน จากยังได้ไมตรีจิตทงี่ ดงามจากพน่ี ้องรว่ มอดุ มการณเ์ ดยี วกัน มใี จความสาํ คัญจากผอู้ าํ นวยการ ฯ ว่า “ให้ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ เป็นแบบอย่างที่ดีของกําลังพล ยึดม่ันในหลักธรรม พร้อมยกโอวาทปาติโมกข์ ให้เป็นแนวทาง ให้ถือเกียรติยศช่ือเสียงของอนุศาสนาจารย์ไทยไปในต่างแดน ภารกิจเรียบร้อยกลับมาอย่าง ปลอดภยั ” พันเอก สุรินทร์ อ้วนศรี รองผู้อํานวยการ กองอนุศาสนาจารย์ “ม่ันใจ ต้ังใจ สู้ไม่ถอย คนข้างหลังยัง คอย สู้ใหเ้ ต็มร้อย มีข้อมูลใดท่ีต้องการให้กองอนุศาสนาจารย์จัดส่งให้แจ้งมา ทางน้ีจะจัดหาส่งไปให้ ไม่ทิ้งกัน” พรอ้ มตบไหล่ กํามอื แน่นใหห้ นักแน่น สู้ พันเอก อัครินทร์ กําใจบุญ หัวหน้าแผนกอบรม “สุดยอดของเหล่าสายวิทยาการ สุดยอดของนักรบ สู้ใหส้ ดุ ๆ เป็นกาํ ลงั ใจใหเ้ สมอ แลว้ เราจะกลับมาเจอกนั รว่ มงานกันอีก” พนั โท ไชโย นามนนท์ ให้พรเปน็ บทกลอนท่ยี าวมาก กินใจ จาํ ไดไ้ มห่ มด ขอท่านมาเขยี นอีกท.ี .. ขออํานาจเทพไท้ พระไตรรัตน์ โปรดเปน็ ฉัตร คุม้ ครองปอ้ งเกศี ให้อาจารย์สุชาติและครอบครัว เจรญิ ศรี เจรญิ ทรพั ย์ เจรญิ ชนม์ ใหม้ สี ุขสดใส ไรท้ กุ ข์โศก ใหไ้ รโ้ รค ไร้ภัย ในทุกหน มอี ายุ วรรณะ ยศพล ใหผ้ ่านพน้ ห่างไกลจากภัยพาล

๒๐๐ ให้พระธรรมยดึ แนน่ ถึงแกน่ จิต ทําพูดคดิ กว้างไกลสุดไพศาล มชี ่อื เสียงโดง่ ดงั อลังการ มหาศาลสินทรัพยอ์ ัปมาณ์ คิดอะไรให้ไดด้ ่ังใจคิด ให้สมั ฤทธ์ิจิตชน่ื รืน่ หรรษา ให้มีสขุ สดใสในโลกา มปี ัญญาแทงตลอดเปน็ ยอดคน เทอญฯ (มตี อ่ อกี นิด) ขอให้มีใจหนักแน่นด่งั ภูเขา ขอให้งานเบาดง่ั ปุยนนุ่ ขอบารมธี รรมคอยคาํ้ จนุ สุดอบอุ่นตัวซดู านใจอยบู่ ้าน เอยฯ พันโท เกรียงไกร จันทะแจ่ม หัวหน้าแผนกวิชาการ “ให้ยึดถือหลักวิปัสสนากรรมฐานแล้วนําไป ปฏบิ ตั ิ สอนกาํ ลังพลใหม้ ขี วญั กาํ ลังใจในการปฏิบตั ิหน้าท”ี่ ผ้อู าํ นวยการ กองอนศุ าสนาจารย์ พรอ้ มดว้ ยหัวหน้าแผนกอบรมพาเขา้ พบ พล.ท.ณฐพนธ์ ศรีสวสั ด์ิ เจา้ กรม ยุทธศกึ ษาทหารบกเพื่อลาไปปฏบิ ตั ิหน้าที่ ได้รับโอวาทในการทาํ งานว่า “ให้ต้ังใจปฏิบัติหน้าที่ เป็นตัวแทนของกรมยุทธศึกษาทหารบก ตัวแทนของอนุศาสนาจารย์ ต้องเป็น แบบอย่างที่ดี ปรากฏกายท่ีใดให้สวมปลอกแขนสีเหลืองท่ีได้รับพระราชทานจากล้นเกล้า รัชกาลที่ ๖ เสมอ ไป อยู่ต่างบ้านต่างเมือง กําลังพลจะมีความหว้าเหว่ เหงาแน่นอน หม่ันพบปะให้กําลังใจสร้างขวัญให้เขาอย่าง ต่อเน่ือง ยึดมั่นในหลักการ หลักธรรมของพระพุทธองค์แล้วนําพากําลังพลให้กลับมาครบถ้วนหน้าทุกนาย” พรอ้ มมอบในหลวง ร.๙ ใส่กรอบใหอ้ ยา่ งดี ขน้ั ตอนการตรวจสมั ภาระ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๖๑ เดินทางไปรวมพลท่กี องพลทหารช่าง ซึ่งเป็นหน่วยจัดกาํ ลงั เพ่ือซักซ้อมทําความ เข้าใจเก่ียวกับการจัดแถว พิธีส่งกําลังพล รวมถึงการจัดกระเป๋าท่ีต้องมีการตรวจสัมภาระอย่างละเอียดมาก โดยเจ้าหน้าที่ UN เพียงคนเดียว ชื่อ Anna ต้องเตรียมกระเป๋าสัมภาระเพียง ๓๕ กก. แต่เอาเข้าจริงเพ่ิมเป็น ๔๕ กก. เพราะต้องนําผ้าเต็นท์ ผ้าใบ และเสื้อนอนใส่ในกระเป๋าด้วย ส่ิงของที่เตรียมไปน้ันจะมีของต้องห้าม ลักษณะการข้ึนเครื่องบิน เช่น ของมีคม ของเหลว วัตถุไวไฟ เป็นต้น สิ่งของที่ตรวจเข้มมากที่สุด คือ สบู่ ยาสี ฟัน ยาสระผม ครีม ต้องไม่เกิน ๕ ชุด ของที่เขาห้ามใต้เครื่อง เช่น แบตเตอร่ีสํารองไฟ ปัตตาเล่ียน ถ่ายไฟฉาย