Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประมุขศิลป์

ประมุขศิลป์

Description: ประมุขศิลป์

Search

Read the Text Version

^^ 1 -— —

ป ร ะ ม ุย ป ลิ ป ็ (.ย!า&?ๆร!,ผย!,!,พร'ยรรมะ จ*?เทำโดอ กองอน!ทศนาจารย่ํ กรมยทซศกษาทหารบก

คานา ผูบ้ ังคับบญั ชาหน่วยทหาร นับต1งแต่หนว่ ยระดับ หมู่ ตอน หมวด จนถึงหนว่ ยระดบั สูงสุด ยอ่ มมีภารกจหลักอยู่ ที่ “ การพ*ฒนา” ( ) และ “ การดำรงไว้” ( 1^811116081106 ) ซ่งี ชวี ิตของหน่วย ๔ ประการ ใหด้ ำรงอยู่ ในระดบั สงู สดุ คอื ๑. ขว*ญและกำลังใจ ( 1^01316 ) ๒. วนย ( 1)13011)11116 ) ๓. สามคคธรรม ( 281)1:11; ฟ้6 0011)8 ) ๔. ประสิทธภาพของกำลังพลและหน่วย (?10เ10161107) ผบู้ งั ดบั บญั ชาเพียบพร‘อมดัวย “ คณุ ลกั ษณะประมุขศลึ !] สรรคส์ ร่าง” (01631^6 163(361-81111)) เท่านน จึงจะสามารถ สรา่ งหนว่ ยไห้มีสภาพดงั กล่าวบาั งดันนํอ้ ยา่ งต่อเน่ืองได้ หนังสือเลม่ น่ื พ*นเอกนวม สงวนทรัพย อดตี หวั หนาั กอง อนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบก เบนผ!ู้ รยบเรียง กรมยทุ ธศกึ ษาทหารบก พิจารณาเห็นวา่ เบนเอกสารทมคี ุณค่า จงึ พมิ พเิ ผยแพรแ่ ละแจกจา่ ยหน่วยเบนคร1งแรกเมีอบ ๒๕๒๖

สารบญ หนำ เรอง ๑ บทนำ ๒ กำ1นดิ ของการเบนผนู้ ำ ©๒ ผู้ใตบ้ ังคับบญั ชา ©๖ ประเภทของผ้นู ำ ๑๙ องคป์ ระกอบประมขุ ศลํ !) ๒๑ มาตรการสรา่ งขวํญและกำบังใจ ๒๙ บทท ๑ คณุ ธรรมประมุขศิล!) ๖๙ บทท ใ* ผู้นำกับการพัฒนาตน ๘๑ บทท ๓ ภาวะสรา่ งสรรค ๔๖ กำแพงขวางก,นภาวะสร่างสรรค ๙๑ กลมุ่ ชนสรา่ งสรรค์ ๙๒ เครอ่ื งกดี ขวางภาวะสร่างสรรค์ ๙๗ หน่วยงานสร่างสรรค์ ๑00 การผกื ฝนเพอสรา่ งภาวะสร่างสรรค์

บทนา ปร8?มฃุ ค๊ล!] ป ร ะ ม ุบ ศ ิล ป “ . เมือ่ ฝูงโคทํ้งหมดข่ามฟาก โคผู้นำฝูงเดนิ ทางไปคด โคนอกนนทง้ั หมดยอ่ มเดนิ ท'*งไปคดตาม ในหมมู่ นษุ ยท์ ั้งหลายก็ฉ*'นน,นเหมือนกัน ผใู้ ดไดร้ บิ ร!มมติให้เบนใหญ่ เขาผทู้ ้นั ประพฤติ ‘'อ ธ รรม ” จะบว่ ย กล่าวไปใยวา่ คนอืน้ จะไม่ประพฤติตามบ่าง เมื่อฝงู โคทั้งหลายข่ามฟาก โคผู้นำฝงู เดนิ ทางไปตรง โคนอกน1นทงั้ หมดก็ย่อมเดนิ ทางตรงตามก*'นไปเบ่นแถว ในหม่มู นุษย์ทง้ั หลายก็ฉ*'นนํ้นเหมอื นกัน ผ้ใู ดไดร้ 'ิ บ สมมติให้เบ่นใหญ่ เขาผู้น1นประพฤติ ''ธรรม ” จะบวยกล่าวไป ใยวา่ ปวงชนจะไมป่ ระพฤดติ ามบ*'าง. . . ” (พระพุทธเจ*'า) \" . . . ผนู้ ำคือบคุ คลท่ีมค็ วามสามารถในการจงู ใจผูอ้ นให้ กระทำสีงที่เขาไม่ต้องการกระทำ และทำใหเ้ ขาชอบการกระทำ อ*'นนน 1. . ” ( ประธานาธบิ ดที รแู มน )

๑. ผูนาโดยการฬรางตนเอง (71*6 ร6น 0อ115ฝ4งเ0(1 1.6๗67- ) ผนู้ ำทีเ่ ดินทางสายนํ้ ต้องเบนผทู้ เี่ ขม่ แขง มีความ สามารถ มคี วามทะเยอทะยานและอดุ มการสงู ต้องพนผา อปุ สรรคมากมาย ไ■ - ผูน้ ำโดยการเลอกของกลมุ่ ชน ( 7116 อเ-อน?- 8616016(1 1.6๗67- ) การท่กี ลุ่มชนจะเลือกใครเบนผนู้ ำ กลมุ่ ชน ต้องเลงื เหน็ สมรรถนะและความดิของผนู้ ้ํน 0 . ผู้นำโดยการแตง่ ตงจากผมู้ อำนาจ (71)6 1.6๗67- 3171)071116(1 { 31)076 ) การท่ีผู้มอี ำนาจจะแตง่ ตง้ ใคร กยอ่ ม 1 :0 0 1 ใครค่ รวญรอบคอบวา่ ผนู้ นํ มคี วามเหมาะสมดแี ลว้ กลา่ วโดยเฉพาะในวงการทหารน้ํน บุคคลใดก็ตามได้ริบ การแต่งต้งให้เบนผ้บู งํ คบั บ*ญชาหนว่ ย บคุ คลน1นเรากล่าวได้วา่ เขาเบนสมาชกคนสำคญั คนหน่ึงของกองท*พ ผ้อู ยู่ในฐานะทนา่ สนใจและตา้ ทายมากทส่ี ดุ เรียกรอ,ิ งความดดี รเี รีมนานาประการ คบั จำตอ้ งใช้สมรรถภาพและความสามารถอยา่ งสูงเด่นในการ เข่าใจธรรมชาติของมนษุ ย์—ทหาร ในบ*งค์ *บบญํ ชา

“ . จนตอ้ งมาราใ11ทรทพ้ ครงนก็เปีนทสุดแหง่ ขาต่ แล้ว จะไค้กล้บห่รอไม่ไค้กลบั ก็ยังไมแ่ ม่ ด้วยความตาย มาอยู่รอบขา้ ง ลงดง้ นนผ'ั วเรากย็ งั ตงอยู่ในความลุจรต หาไค้มจ่ ตผันแปรแต่อยา่ งหนงอย่างใดเลย ผวั เราไค้ ม่ความอดทนรักบาความดมามาก ตํง้ แต่ไคเ้ ข้ามารับ ราขการผลประโยขนทไมข่ อบธรรม เราก็ไคผ้ ดั เลย ทงั้ สน ไคร้ บั เบยหวดั และเง้นเดอนเทา่ นน เงนเดอนทไค้รบั กใ็ มพ่ อจะกนและนุงห่มผัวเรากส็ เู อานาลูบทอ้ ง ผวั เรา มาไคท้ ่าการใหญ่ใชเ้ งนแผ่นคน้ จนลงวันนกว่า ๘'๐,๐00 ชงแลว้ ล้าเรามค่ วามโลภเหมอ่ นอยา่ งผู้อน คงจะเปีน คนทบรบิ รู ณก์ บั เขาบา้ ง ขนที่สุดบา้ น ก็ไม่ม่จะอย.ู . ผ ’ั ขอํ ความขำงต*นนเบนบ*นทกึ ส่วนตัวตอนหน่ง็ ของ จอมพล เจ่าพระยาสุรศักดมึ้ นตรี (เจมิ แลงชูโต) ผูเ้ บน ‘‘ขุนพลแตัว” คู่พระท*ยของพระบยมหาราช บันทกึ นท่านเขยี นไว้เม่อื ไป ปฏํบิตราชการท*พปราบฮ่อ ไนจดหมายเหตุเรีองปราบฮอ่ และจดหมายเหตเุ รีอง .เจ่าพระยาภธราตยั ยกท*พไปปราบฮ่อ สมเด็จ ๆ กรมพระยา

ยุคบจจุบันนอยา่ งไม่มคำกล่าวใด ๆ มาเปรยบเทย่ บไค้ แก่ว่าขวัญและคำลงั ใจ ความองอาจ กลา้ หาญ ความเสย สละ ความอดทน ความพร้อมสรรพทพลเ่ ลอ่ ดเนอและ ชวดล้นสดรกั สดุ หวงแหนเพอแผ่นตนไทยของนกั รบ ไทย ทุกคนนับจากทา่ นขุนพลแลว้ จนลง่ พลทหาร มอยูอยา่ งลน้ เหล่อสุดจะพรรกเนา วรกรรมของนักรบไทยยุคปราบย่อ เบึนวรกรรมคอนหนงลน้ มคา่ สูงยงในประวตั การทหาร ของชาดไทย กองท^ของชาติท๋ทึ ฒั นาแลว่ ผู้รไ.'ผิดชอบในชะตากรรม ของชาตยิ ่อมจะถอื เบนสูตรวา่ “ การได้ตำแหนง่ ” ทบั “ การ บงั ทับบ*,ญชาหน่วย” น*นไม่เหมอื นทนั ประว่ตศาสตร่ได้ให้ ขอ้ พิสจู น์มาคร้งแล,วครงเลา่ วา่ อาทัยค'วามเสนห่ า ความอคติ ในบุคคลทนั เบนท่ีข้กใคร่ของตน แล่วแตง่ ต้งบคุ คล'ใหเ้ ขว้ ร*บ ตำแหนง่ ได้นำกองทพั และประเทศชาตเิ ข้าสู่ภาวะวกิ ฤตมา ครงแล่วครงเล่า พระบยมหาราช ทรงแต่งตงให้ พ.อ. จม่ืนไวยวรนาถ เบนแมท่ ัพปราบฮ่อมิใช่เบนเพราะว่าทรงโปรดปรานแล่วมพี ระ-

6 ไปราชการครงน่ึ แม่ทัพคดิ ว่าตา้ รอดชีวติ กล*บถ่ ึงกรุงเทพ ๆ ได้ กต็ ามนึกวา่ เกดิ ใหม่. 1. . แม่ทพั มคี วามเศรา้ สลดใจทีไ่ ดย้ นิ เลยี ง คนบีวยอาเจยี นและครางไม่หยุด เบนทีน่ า่ สังเวชใจเหลอื กำล*ง ตอ้ งช่วยกนพยาบาลทงี่ กลางวนและกลางคืน.........” ทา่ นขุนพลแต้วแบง่ กำสงั ทหารไทยทจ่ี ะเต้าโจมตคี า่ ยพวก ฮ่อในดินแดนเมือง หวั พันทังหัาทงั หกออกเบนี ๒ สว่ น สว่ น หนงึ มีกำสังพล ๓๐๐ คน มี ร.อ. หลวงด*'สกรปลาศก*บเ่ ตา้ - ราชภาคนิ ย่ เ์ บีนผู้บไคับบญั ชา เคลือ่ นพลไปทางทศิ ตะว*นออก เฉยี งเหนอื เต้าตคี า่ ยฮ่อทที่ ัาน'ใดและบ่'านนาปา สว่ นกำลังพล ๔๐๐ คน อีกส่วนหน่งึ ในทงั คับบ*'ญชาของ ร.อ. หลวงจำนง- ยทุ ธกจิ (อ ีม ) กับเต้าราชวงศ์ เคลื่อนที่ไปทางตะวนออก เฉยี งใด้ เต้าตีฮ่อท่ีเมืองพูน ร.อ. หลวงด*'สกรปลาศและเตา้ ราชภาคินยํ เต้าตคี า่ ยฮ่อ ทาั นไดแตกเม่อื วนั ท่ี ๑๒ เมษายน ๒๔๒๙ เตา้ ยึดค่ายฮ่อทาั น นาปาไว้ได้ ยดิ อาวธุ ยุทธภ*'ณฑและเสบียงอาหารจากคา่ ยทงั สอง เบนี จำนวนมาก ส่วนกำลไเพลอีกส่วนหนึง่ ๔๐๐ คน ภายใตท้ ังคับบ*ญชา ของ ร.อ. หลวงจำนงยุทธกิจและเตา้ ราชวงศ์ ได้เต้าตคี ่ายฮ่อ

©6) กาลตอ่ มาพวกฮอ่ และพวกขา่ คงจะทราบว่ากองทัพหลวง ทต่ี ,งอยู่ ณ เมืองช่อนมที หารเจบึ บวยเกือบหมดกองท*,พ จงถอื โอกาสก่อการรำยเข*,าตีปลนั บ*,านเมีองเล็ก ๆ แล*วพาก‘นยกกำลัง เข*,าตีค่ายใหญ่ทเ่ี มอื งช่อน สภาพวิกฤตของกองทพั ไทยเกดิ ขน ทันที เวลานนไมม่ กี ำลังพลทจ่ี ะตอ่ สู้ ท่านแมท่ ัพขนุ พลแก*,ว จงึ เกณฑ์พวกควาญชา่ งและคนในกองโคเอามาแตง่ กายเบน ทหารและให้นำอาวธุ ของทหารบวยมาใหค้ นกองชา่ งและกองโค ต่อสู้แทน ทหารบวยทกุ คนพาลนั คดั คัานไมย่ อม ทหารทุกคน ร่องขอท่านแม่ทัพขุนพลแก*,วจะขอต่อส้ลู บั ขำศึกจนกว่าชีวิตจะ หาไม่ ทา่ นแม่ทพั ขนุ พลแก*,วจึงประกาศเจตจำนงเดด็ เดย่ี ว ร่วมตายลบั ทหารทุกคนวา่ “ ชนฅ้*ใจหจ็ ะยอมตละขวดเบืนคร*ท 0 กอ่ ใ!คน น*หลาย เมอฉันตายแลว้ คนในกอ*ทพั จ*ตายเบึนคร*ท ๒ ทำอย่า*ไร ๆ เสย ฉันจะไมท่ *กันเลย..!, ประกาศตขอ*ทา่ นแมท่ พั ขนพลแกว้ ข้า*ตน้ น ช่วย สข้า*ให้ขวญั และทำกั*ใจการตอ่ สขอ*กักรบไทยอยูใน ระดับยู*สดุ หมดความเกร*กลัวตอ่ มัจจุราชทแลเหน็ อยู่ เบอ*หนา้ ทา่ นขนพลแต้วรวบรวมกำล*ั พลไดป้ ระมาณ

ทงน้ํ ก็เพือ่ จะเคนั เอาประสึทธผิ ลสงู สดุ จากผู้ใตบั งั คบั บัญชาใน. หน่วยนนเอง ผ้ใู ตบ้ ังคับบัญชา คือ บคุ คลผมู้ ืล*กษณะเฉพาะควั ต่อไปน ไม่เหมือนคัน ลไาษณะที่วา่ น้ํได้แก่ ๑. ลไาษณะทางกายภาพ ( ?^31081 ) ลกษณะทางอารมณ์ ( ธ1ฑ๐เ10ฑฟ่ ) ๓. พนฐานภาวะทางเศรษฐกิจของครอบค:'ว ( 20011011110 ) ๔. ฐานะทางสิงคม ( ร001ฝ ) ๙. ระดิบสติบญญไ (1ฬ611131) ในลายตาของผใู้ ต้บงั คับบญั ชาน,น ผู้บงั คับบัญชา คอื ร่มโพธท้ื องและรม่ ไทรคันร่มรนของพวกเขา ฉะนนในบวั งลกึ แหง่ หัวใจของพวกเขา ยอ่ มเรยี กร้องและปรารถนาให้ผู้บังคบั บญั ชาหลงลายธารนาใจคงั ต่อใปน้ํ ๑. ความซอ่ื ล',ตย์ (ผ01168เ7) จงอย่าเหน็ วา่ “ ผใู้ ต้ บังคบั บญั ชาคือปูท่ีมเื ลอื ด ” แล*,วขูดรดี เบยี ดบังผลประโยชน่ คันชอบธรรมของเขาเบีนของตน

๖. จงร*,กภไาคี ( 1.0731*? ) ยนิ หย*ดเคยี งตา้ งผใู้ ตับงั คับ บญั ชาทุกสถานการณ์ รว่ มสขุ ร่วมทกุ ข์ ไมป่ ลกี คัวหนีเม่อื ต้อง ร่บผิด เบนโล่บองก*นอ‘'นตรายจากการกดคนั ของหน่วยเหนอื ให้แกพ่ วกเขา ๗. ความปรารถนาของพวกเขาไดร้ บความตอบสนอง (.111611 116๗ 1)6 1X16*) ผู้ใตับไ)คับบญั ชาทกุ คนมีความต้องการ ท,งกายภาพ และจิตภาพ เช่น อาหาร ท่ีอย่อาตย้ การสนั ทนา การ ฯลฯ ผบู้ งั คบั บัญชาตอ้ งดำเนนิ การในเร่ืองนี ใหอ้ ยา่ ง สมบรู ณ์ท่ีสุด ๔. ให้ผูใ้ ต้บงั ค*บบญั ชาได้ทราบขอ่ เทจ็ จริงในเรอ่ื งอนั ควรทราบอย่างตอเน่ือง (7๐1x6 x )* ) - ( ) ไมม่ ีอันตราย 1 61 11 1 0 1 11 1 6 1 ร่ายแรงใด ๆ จะทำลายภาพพจน์ของผูบ้ งั คับบญั ชาเท่าก*บข่าวลือ อนั ไรม้ งคลเก่ียวก*บการกระทำของผูบ้ ังคับบัญชา การใหผ้ ใู้ ตั บังค*บบญั ชาทราบเหตุผล ต้อเทจ็ จรงิ ในเรอ่ื งท่ีควรทราบ คอื เกราะแก'วก*,นภ*,ย ” ของตว้ ผบู้ ังคับบัญชาอยา่ งดที ่สี ุด ๙. โครงการการผิกการปฏิบตั งานและการสนั ทนาการ ตองวางแผนไวอยางรอบคอบ ( ^ ผ611 *11011211* 011* {110213111

ไ®!). ผนู าเสรนยม (1.318862—{311*6 1.63(361*) ประเภทน ปลอ่ ยผู้น้อยทำอะไรโดยเสรี มอบหมายใหผ้ ู้น้อยกำหนดนโยบาย และวางมาตรฐานการปฎปิ ตํงาน ปลอ่ ยผูโ้ ต้บงั คบั บญั ชาทำงาน โดยไม่ควบคมุ ๓. ผูนาประชาธป เตย (1)601001*3110 1.63(361*) ตองการ ความรว่ มมอื จากทกุ ผาย ถือผลประโยชนข์ องหนว่ ยงานเหนอื ประโยชนต์ น ประชมุ หารือกอ่ นการปฎิ!เตการคัดสนิ 'ใจ ให้ ผไู้ ต้บงั คบั บญั ชาแสดงความคดิ เหน็ โดยเสรี อะมืไต เอทไชโอน่ี (^๐1แ01 2121001) แบง่ ผนู้ ำออกเบน ๑. ผนู้ ำใช้อำนาจพระเดช (0060^6 50^61: 1.63(161) ยดึ คัวบทกฎหมายระเรยี บข,อบงั คบั ธรรมเนยื มการปกครอง เบนหลักในการปกครองโดยเครง่ ครํด ไ®9. ผูนาใชอานาจอตอประโยชน (131111131*13111)0^161* 1.03(361 ) ใช้ ผลประโยชน์ทผี่ ู้,ใตบ้ ังคับ บัญชา จะ'ใต้ จากความ สำเรีจ'ในการงาน เชน่ บำเหนืจ ๒ ขน รางวัลพเิ ศษการเลื่อน ตำแหนง่ เบนกโลบายในการปกครอง ผนู้ ำใช้อำน าจป ระเพ ณ (^00031^6 {)0\\?61ไ ๓. 1.63(161*) ถือขนบประเพณที างลังคม และทางกฎหมายเบนหลัก ในทางปกครอง

องล์ประกอบประมใุ เคืล!} ประมขุ คืล!]เก่ยี วเนอื งอย่างสำคัญยงี ก*บองค์ประกอบพนี - ฐาน ช่ีงม็อยู่ควั ยกัน ๓ ประการคอื ๑. ตวผูนำ ('1116 1630เ6]โ ) ๒. หนว่ ยงานหรือกลุ่มบุคคล (7116 01๐111)) ทเี่ ขา เบนผ้นู ำหรอื ผกู้ งั คบั บัญชา ๓. ลถานการณ ( 7116 8แง3แ011 ) คันได้แกภ่ ารกิจ ของหนว่ ยและองคป์ ระกอบอืน่ ๆ อกี อนั นอกเหนือจากข,อ ๑—๒ คังกลา่ วแลวั ชํฮช[นะนอรกอ*ทท่ ชไ]ชนะ ! คือ “ เบาหมาย” ของกองท*พ.......... การที่กองท*'พจะประสบชัยชนะ กเิ พราะกำล*ง์พลของ 'หน่วย เพียบพรอมคัวยคุณลกั ษณะตอ่ ไปนื ในระดับสูงสดุ คือ ๑. ษวญกำลง่ 1ใจ คำวา่ “ ขว'ญกำลงั ใจ” (1^01:316) ไดแ้ ก่ “ ภาวะ ทางจิตของกำลงั พลทแี่ สดงออกในรปู ของทรรศนคตทิ เฃามีต่อ เพอนกำกงั พลในหนว่ ยผกู้ งั กับกญั ชาและรปู แบบวิถชวต

ไ®0๑ ๙. อ*'ตราอุบตเหตุ และเรือ่ งราวท่ีเกิดจากการกระทำ \"ของทหาร (1001(16018 811(1 ^001(16013 ) ๑๐. การวอั งเริยนไปย*'งจเรทหารบก ( อ01ฑ1)1ส111เ8 1๐ ) )1 1 1 6 1 1 1 8 1 6 0 1 : 0 1 0 6 0 6 1 3 1 มาตรการการสร*างษวัญและกำล*งใ.จ โนหน้งสอ 0111(1611068 101* 1116 1^63(16]โ 80(1 1116 00010130(161- พลเอก บรูซ ชี. คลา๊ ก ( ธ1:1106 0. 0131*6 ) อธิบายว่า ขวัญและกำลงั ใจกำลงั พลย่อมเกิดจากองค์ประกอบ ดังตอ่ ไปน ๑. การบริหารงานด ( 000(1 103038601601 ) ๒. กำลังพลได้วบั รลู้ อั เทํจจรงิ อย่างถกู ดอั ง (^.(16(50316 101010131100 ) ในเรอื่ งทีเ่ ขาจำดัองรู้ ๓. การผกื อยู่ในระดบั สูง ( ผ18!) 81316 0* 11310108 ) ๔ . กำลงั พลมโี อกาสก้าวหน้าในอาชพี ( 01130068 {01 )3 ( ^ 3 0 0 6 0 1 6 0 1 ๕. กำลังพลมีภาวะทางกายภาพและทางจํตภาพดี (000(1 1)11^81081 30(1 0160131 000(111100 )

ไ2ช๓ ๒. วนอ วนิ *'ย คืออะไร 1 วินไ] (015ผ่?11116) คอื \"ทรรศนคต ของกำลงั พลหรอื ของหนว่ ยซ่งึ แสดงออกโดยการปฏบํ ตตามคำสัง ของผลู้ ังลับบญั ชาอยา่ งฉ*,บพลัน หรือการกระทำลนั เหมาะสม ก*บสถานการณแม้จะไม่ใดร้ บ่ คำสงจากผูล้ งั ลบั บญั ชา ” การวิเคราะหวินย่ ทหาร วิเคราะ หได้จาก ๑) ความส*,มพนั ธร์ ะหว่างหน่วยกบั ทกุ คนในหนว่ ย ๒) ความแน่นอนต่อการปฏบิ ่ตภารกจิ ( ความร*บ ผดิ ชอบ ) ๓) ความสัมพันธ์ลนั ถูกตอ้ งระหวา่ งผู้นอ้ ยกบั ผูใ้ หญ่ ( การทำความเคารพ ) ๔) ความสะอาดทางกายภาพ (ผม เครอ่ื งแบบ มารยาท) ๕) ความสามารถและเจตจำนงท่ีจะปฎิบตํภารกจิ อยา่ งมปี ระสทิ ธ์ผลทส่ี ดุ ไม่วา่ จะอยตู่ ่อหน้าหรือ ลบั หลังผลู้ ังลบั บญั ชา ๖) การตอบสนองคำสังผ้ลู งั ลับบัญชาอย่างฉบํ พลนั

๔) กำลงิ พลมเี จตจำนงแนว่ แน่ในการเข่ารว่ มภารกิจ ของหน่วย ๕) กำลง่ พลแนใ่ จว่าหน่วยของตนดกวา่ หนว่ ยอน ๖) กำลไพลภาคภมู ใิ จในประวต่ อันดเี ด่นของหน่วย สว่ นมาตรการในการพฒํ นา เกิดจากกระบวนการ * ๑) ปลกู ผงใหก้ ำลงิ พลเข่าใจในประวตอัแดเดน่ ของหน่วย ๒) พ*ฒนาความสำนกึ ใหเ้ กิดขนในใจกำล'ิ งพลว่า หน่วยของเราต่องด่เยย่ี ม ๓) จ*'ดศาสนพิธใี หบ้ อ่ ยคร้งํ เพอ่ื เผยแพร่กจิ กรรม และเกยี รติคณุ ของหนว่ ย ๔) ย'วยุให้กำลงิ พลแขง่ ขน่ ก่ นั ในการทำงานเบน ทมี เวิค ๕) ใชร้ ะบบประกาศเกียรติคุณและโลเ่ กยี รติคณุ ใหเ้ บนประโยชน์ โดยมอบให้แก่กำลงิ พลท่ี ทาความด

ใ®)ฟ่ ๖) ความฉับพลนั และความถกู ตอ่ ง,1นการสง่ กำลัง' ขา่ วลารและคำแนะนำอนื่ ๆ ๗) ประสทิ ธผิ ลทางเทคนิคและทางยทุ ธวิธขี อง กำลังพลและของหนว่ ย ส่วนมาตรการในการพฒํ นาประส่ทธภาพ เกดิ จาก กระบวนการ ๑) ผืกกำลังพลในหนว่ ยใหเ้ กิดทักษะในภารกจิ ๒) เน้นหน*'กการทำงานเบนชดุ ตามลายการบงั คบั บัญชา ๓) พ*'ฒนาโครงการทางการกีฬาอยา่ งต่อเนอ่ื ง ๔) ผกื การปฏิน่ตงานลบั เปล่ยี นหนา้ ทเี่ บนคร1งคราว ๕) สร่างระบบการผกื ใหเ้ หมือนการปฏํนต่ งานจวงิ ๖) ใช้ระบบการตรวจหน่วยเบนเคร่อื งมอื หลัก ๗) ผืกใหก้ ำลงั พ ลมโี อกาสทำงานในตำแหน่งสูง บอ่ ยคร,ง ๘) วางมาตรฐานการผ1็ กไว้ในระคบั สงู “ ตายในสงครามประเสรฐกวา่ แพ้แด*วฌนอย่จู ะประเสรฐ อะไร ? ”

บทท่ี ๑ คณุ ธรรมประมฃุ ศล!! “.........นรขาฅแมเ้ กดแต่อกุลใค [มอมคุณธรรม โอกจงบูชา\".............................” การทีห่ น่วยทกุ ระลับจะกลายเบน \" หน่วยมปี ระสทิ ธิผล ทางการรบ ( 001ฑ1วสเ ^77601^6 17:111 ) ไดกเพราะหนวยม “ ขนุ พลแกว ” เบนผูป้ กครอง ความเบน “ ขนุ พลแกว่ มใํ ชเ่ กํคขนมาเองโดยอ*ตโ่ นมด'1นนาพีที่เข่าปกครองห'น่วย หาก แต่เกํดจากขบวนการสรา่ งสรรคพลังต่อไปน้ํทลี่ งั ไมมีไหเ้ กดิ ขน ทีม่ ีแลวั กพ็ *ฒนาไห้มีพลังมากยงี ขน

๓® ๑. ห : ละอายแก่ใจ เกลย็ ดชไเค'วามทุจรตื แมจ้ ะ ลกู บังค*บให้ทำหรือวา่ ข้างใหท้ ำดว้ ยเงนมหาศาลกใิ ม่ทำ ไ®). โอตคปั ปะ เกรงกลวั ผลของการกระทำความชว •ทุกประเภท หรห*เวิหาร พลังมหศั จรรยท์ ีท่ ำใหท้ หารกลาั เลย่ี งชีวิตในการปฎบํ ต ภารกิจทไ่ี ด้ร,บมอบหมาย กิเพราะทหารเข้าใจซาบช้ํงวา่ ผลการ ปฎํบัตของเขาจะต*อง'ได้ ร*บการ ประเมินคา่ อย่าง 1 ยตุ ธิ รรม ” จากผู้บงั คับบัญชา การทท่ี หารจะเชอี มนเชน่ น เพราะผ้บู ังคบั บญั ชามคี ุณธรรม ๔ ประการ ๑. เมตตา ความปรารถนาให้มคี วามสุข ไ®). กรุณา ความสงลารเมีอคนอ่ืนมคี วามทกุ ขและ พยายามชว่ ยใหเ้ ขาพนิ ทุกข ๓. มทุ ตา ยนิ ตเิ มอี เขาทำความติ และไดต้ ิ ๔. อุเบกขา วางตนเบนคนเท่ียงธรรมในการพิจารณา ไห้คณุ และโทษ โดยการเข้นจาก อคติ — ความลำเอียง ๔ ประการ

๓๓ คณุ ธรรมทส่ี รไงใหผ้ ู้ประพฤติเบนี ทร่ี *กทีเ่ คารพของผ้อู น เบนี ไปเพ่อื ความสงเคราะห์ซง่ึ กนั และกนั เบนไปเพ่ือความไม่ ววิ าทกนั และกนั เบนไปเพอ่ื ความพรไ]มเพรียงเบนอ*นหน่ีง อ*,นเดียวกนั เบึนทต่ี *งแห่งความให้ระลึกถึงซงึ่ กนั และกนั เรยี กวา “ สาราณ ยธรรม” คอ ๑. ช่วยเหลือผใู้ ต้บไค*'บบ*ญชาตัวยเมตตากายกรรม ๒. ต1งใจอบรมสง่ สอนหรือว่ากลา่ วตกั เดอี นด้วยเมตดา- วจกรรม ๓. ตดิ แตส่ ีงอ*นเบนประ!โยชช่แก่ผใู้ ตบ้ ังคับบ*'ญชาด้วย เมตตามโนกรรม ๔. แบง่ บีนผลประโยชน่ท่หี นว่ ยไดร้ *'บใหท้ ไหนไกนั โดย ยุตธิ รรม ไม่เบยี ดบไเอาเบนสว่ นตัวเสยี คนเดียว ๕. ประพฤติตนอยใู่ นระเบียบวนิ *ยอย่างเครง่ คร*'ดเพือ่ เบนี แบบฉบ*บท่ีติแกห่ น่วย ๖. มีฑิเความเห์นอนั ถกู ต*'องรว่ มกับคนอน่ื ๆ ไม่ถึอความ เห์นของตนเบีนหล'ก

0 )4 ? ๕. ไม่ลุอำนาจแกค่ วามโลภหรอื เบนคนเหน็ แก่ได้ ๖. ยํนตดี ำรงชีวติ อย่ใู นหนว่ ยทไ่ี ปปฏิบตงานคัวยความ สบายใจ ๗. ตงปณธํ านขอให้ทุกคนในหนว่ ยอยู่กันดว้ ยความ พาลุก และขอให้คนทีจ่ ะกาั ยมาใหมจ่ งเบนคนมีความรู้ ความ สามารถและความประพฤตติ ิ ส ่ไ ฅ ห ว ฅ่ ถ ุ ความ จงรไากักตคิ วรเกิต จากหว่ งลกึ แห่งดวง'ใจของผใู้ ต้- กังคับบ‘ญชา “ ตำแหน่งยศ” กบั “ อำนาจการลงทัณฑ์” ของผทู้ งั คับกญั ชา ไม่สามารถทคั บั หัวใจทหารใหเ้ กิดความรก่ ความจงรกกกั ตไิ ด้เลย พระพทุ ธเจ่าทรงสอนวา่ ความรไา ความจงรกกกั ติ เกดิ จากกระบวนการสร่างสรรคคังตอ่ ไปน ๑. ทาน ความเออเพอเผื่อแผ่ คำว่า “ ทานะ” ในทาง คาสนามีความหมาย ๒ ประการ ก. ทานการให้ มุ่งฟอกกิเลสในใจของผ้ใู ห้ ข. ทานการให้ มงุ่ การสงเคราะคแํ กผ่ ู้ร่บ

๓ *) ๓. อัตถจริยา บา่ เพญ็ ประโยชน์แกผ่ ู้ใต้บงั ค*บบญั ชา โดยการเอาใจใส่ดแู ลเกย่ี วคบั สภาพบํจจ่ย ๔ ของผูใ้ ต้บงั คบั - บัญชาไมป่ ล่อยปละละเลยตามยถากรรม กบั ทงไมเ่ บียดบัง ประโยชน์ของผู้ใต้บงั คับบัญชา ๔. สมานตั ตตา การวางควั เหมาะสม คอื การประพฤติ ตนเอง'ให ้สมบทบาท ( & 0168) ในฐานะ (ร*3*ข ร ) ท ต่ี นเบนี เช่นเบีนบดี า เบีนสามี เบีนมติ ร เบีนลูก เบนผบู้ งั คบั บัญชา เบนี ผใู้ ต้บงั คัชบญั ชาของคนอน่ื ทงนเ์ พราะสรางตนเองใหเ้ บีน คนควรแก่การเคารพนับถอื และเบีนกระจกเงาทด่ี ขิ องผใู้ ต้ บงั คบั บญั ชาอกด้วย....... ทศพธิ รา1ษธรรม ทาน —การ'ให้บนกํบคนอน กัาเราจะแยกประเภทคนออกโดยยึดถืออธ ยาคยั พนฐาน ของใจ เบนี มาตรการ1ในการแบง่ ประเภท เรากึจะ สามารถ แบ่งคนออกเบน ๒ ประเภท ๑. คนทเห็นแกค่ ัว อธยาคัยคบั แคบมีความโลภเบนี บสั ไ)มุ่งหนัาแตจ่ ะเอาทา่ เดียว มุ่งกอบโกยท1ง้ทํ างตรงและทางอ่อม

อน่งี ทานวตํ ถุ — ของท่จี ะให้เบนทานนน ในทางพระ- พุทธศาสนาได้จำแนกออกไป ๑๐ ประการ อินนง ข• /้าว ๑. ไ*. ปาน0ง น็า ต). วตลง เส&อผา• / ๔. ยานง่ ยานพาหนะ ๕. มาลา ตอกไม้ ๖. คํนธง่ ของหอม ฟ.่ วิเลปน*ง เครองยํอมทา ๘. เสยยา ที่นอน ทิพ๑ ก' อาศ9*ย 6. อาวสถ•ง/ ปทเ่ี ปยยํง้ แสงสวา่ ง ๑ ๐. นอกจาก ๑๐ ชน็ดดงกล่าวขา่ งตน้ น่แี ล1่ว ถา้ พจิ ารณา จากหถ้กประมุขศลิ !] สีงทผี่ ู้บไ)ค*'บบ’ญชาจะต,องใหแ้ ก่ผใู้ ตบ้ ํงคํบ บญ'ชา กค์ อื ๑. ไ ห ล้ าภ คอื การให้บำเหน็จตามสมควรแก่ผลการ ทำงาน ๒. ใ ห ย้ ?! ไดแ้ ก่เลอนยส เลอนตำแหนง่ ให้สงขน

ก. ความปลอดภย่ ( ร60111-แ? ) ในทร่พย์สํน ใน ชีวติ ตนIอ3และคนอ่ืนทตี่ นปกครองเลยงดู ข. การ ยอมร'บของสไคม (8๐0131 301)1^81) มนุษย์อยู่ ณ ทใ่ี ดย่อมจะปรารถนาทจี่ ะเหน็ คนอนื่ ๆ ณ ท่ีน้น ยอมรบิ วา่ ตนเบนสมาชกิ ของกลมุ่ น,น ๆ ค. ประสบการณใ์ หม่ ๆ ( ?ง6™6X1361-10๐06 ) ทกุ คน อยากพบเห็นและเรยี นรสู้ ง็ ใหม่ ๆ ตลอดเวลาเพื่อเสรมิ สรา่ ง กำไรชวี ิต ง. ความยกย่อง ( 1?6008๐11;1011 ) ต้องการเหน็ คนอื่น สนใจใหเ้ กียรตติ น ความปรารถนาฑง้ํ ทางกายและทางจตนเอง เบน็ พลง ผลไาต้นให้มนษุ ย์ประกอบพฤตกิ รรมนานาประการ เพ่อื บรรลุ ถึงซง่ึ ความปรารถนาของตน แต่ว่าสไคมมนษุ ย์เบนสไคมอ*นม็ โครงสร่าง ส่วนของโครงสร่างสงคมประกอบตว้ ย กฎหมาอ ขนบประเพณี รฒ่ ฬธรรม คลธรรม ค่านิยมทารสไลม และกฎบอรสถาบน่ ค่าร ๆ โครงสรา่ งเหลา่ นรวมเรียกก*น ง่าย ๆ วา่ “ สายใ,อชรื ติ ” ( \\\\^6๖ ๐1 1ส6) ใครกตํ ามถำ เกีดความปรารถนาขนแต้ว กระทำในทุกวถิ ีทางเพื่อใหไ้ ตม้ า

๑. สมาทานวรี *ต งดเสนั ด้วยการสมาทานศีลไว้ลว่ งหนำ เชน่ ในสันพระตอนเซ*าสบั เบญจศีลตอนเยนไปงานทานเลํย้ ง แม้เพอน ๆ จะคะยนํ คะยอใหด้ ื่มสุรา ก็ไม่ยอมดมื่ ๒. สมบตตวรี ํต งดเสัน,ในเมอ่ื เผชญิ ก้บเหตกุ ารณอัน จะทำให้ผดิ ศลี เช่น พบสตั ว์ควรฆ่ากไ็ มฆ่ ่า พบทสัพยส์ ิน มหาศาลจะสกั ไดัก็ไม่ยอมสัก สตรสี าวสวยเบดช่องทางให้ล่วง ละเม้ดก็ไมย่ อมละเมด้ ๓. สมจุ เฉทวรี *ต งดเวนไดเ้ ดดขาด เพราะ'ใจบรสี ุทธ หมดกเํ ลสเครื่องเศสัเหมอง พระพทุ ธเจ*าทรงบไญญตื การสกั ษาศีล’ไวเ้ บนช*นของบคุ คล ด้งน — ฆราวาส สักษาศลี ๕ หรอื ศลี ๘ — สามเณร สักษาศลี ๑๐ — พระภกํ ษุ สักษาศีล (วน*ย) ๒๒๗ ทำบุญบญุ แต่งให้ เห้นผล คือดง้ เงาตามตน ตดแท้ ผทู้ ำสีงอกศุ ล กรรมตด ตามนา ดุจสกั รเกวยี นเวย้ นแล้ ไล่ด้อนตีนโค (โลกนติ ี)

ในพระไตรบฎก เลม่ ๒๘ หนำ ๑๔๗ ไดก้ ลา่ วถงึ หล*ก- เกณฑ์การบวจิ าคไวด้ ังนํ้ “ ...พึงสละทรัพยเ์ พ่ือรกั ษาอวยั วะ พงึ สละอรยั วะเพอื่ รักษาชวี ติ พงึ สละชวี ิตเพือ่ รกั ษาธรรม. 1. ” ทรพั ย์ อวัยวะ ชีวิต ธรรม มคี ณุ ค่าแตกตา่ งก*,นมาก ขอให้พิจารณาจากแผนภมู ีรัางล่ เงนํ้ ภาษาไทย คำว่า “ ซอตรง ” กด็ ี “ ความ'ซอ่ื ส*ตย์ ” กดึ ี มคี วามหมายอยา่ งเดยี วก*น คุณธรรมรอั นรดั วา่ เบนมงกุฎเพชร ของผบู้ ังคับบ*,ญชาโดยแท้ กลา่ วในทางปฎบิ ต่ , ความซอตร^ แสดงคัวออกในเรอ่ื ง

๔. ตรงตอ่ บุคคล ไม่คดื รำยใคร ไม่ประพฤติหนำไหว้ หลงั หลอก ไม่ทรยศต่อผูใ้ หญแ่ ละผนู้ ํอย ๔. ตรงตอ่ ความด รไาษาความยตุ ิธรรม ยึดความ ถกู ตอ่ งเบนหลัก ใจซ4 อส?ตย4์หมะน ค ว า ม ส ัต ย ์ช ่ว ย อ ุด ห น นุ ซอสตั ยย์ อ่ มเบนบญุ ภายภาค หนำเอย ภ,ยพ็บตํ ต่างได คลบฑยปลายด (นรศิ รานุวัดตวิ งศ) กล่าวโดยสรปุ การบำเพ็ญคุณธรรมขอ่ อาชวะ กค็ ือการ ๑. บำเพ็ญตนเบนคนตรง ๒. สนํบสนนุ บชู าคนตรง'ในหนว่ ยอันตนมีอำนาจบงั คับ ฃญั ชา มทํ วะ —ความสภุ าพอ่อนโอน บคุ ลกิ ภาพของคนเรามอี ยู่ ๒ ประเภทด้วยลัน คือ ๑. บุคลกภาพนเสธ (^©821176?0ผ 0081117) เบน บุคลกิ ภาพท่เี กดิ ผลในทางลบ คนท่ีมบี ุคลกิ ภาพแบบน้ั เกดิ

เหลวไหลกมืไดต้ *งอยู่ในตำแหนง่ ราชการอนใดเบนหล*กฐาน ผายญาตขิ ำงพ่อ คอื เจ้านายทง่ี ปวง ก์ตกอยู่ในอำนาจสมเดจ็ เจา้ พระยา และต้องร'กษาตัว ร*กษํ าชวี ิตอยดู่ ว้ ยกน่ ทุกองค์ ทไี่ มเ่ อ้ํอเพ1อตอ่ การอน้ ,ใดเสยี กมโิ ดยมาก ผายขำราชการถึงวา่ มิ ผู้ทใ่ี ดร้ ํกใครส่ นทิ สนมอยษู่ าั งกเ็ บนแต่ผ้นู อ่ ยโดยมาก ที่เบน ผ้ใู หญ่ก็ใม่มอี ำล*งสามารถอาจ'จะอุดหนนุ อ*นใด . 1.. ในขณะน*น เปรียบเหมือนคนท่ีศีรษะขาดแล*ว จบเอาร่างกายขนต*งไว้ ในที่ สมมตกิ ษัตรยี เหลือท่จี ะพรรณนาถึงความทกุ ขอ*นตอ้ งเบนกำพรำ ในอายเุ พยี งเทา่ น*5น และความหน*,กมงกฎุ อ*นเหลอื ทคี่ อจะทาน ไว้ได้ ท,งมีส้ตรซู งึ่ หมายอยโู่ ดยเบีดเผยรอบขำง ท,งภายใน ภายนอก หมายเอาทีง่ ในกรุงเองและตา่ งประเทศ. 1. สว่ นพระ- บรมวงศานุวงศ์ผใู้ หญ่ ซ่งึ ท่านเชอเบนแน่วา่ พอ่ เบน แต่เจวด็ คร,งหน่งึ คราวหนง่ึ อยา่ งเรีองจนี แตถ่ ึงตง้ นึน่ พ่อไดแ้ สดงความ เคารพน*บถอออ่ นน*อมตอ่ ท่านอยู่เสมอ เหมือนอยา่ งเมอยงมืได้ เลอื กขนเบนสมมตกิ ษัตรยี เ์ ชน่ น้น จนท่านกมคิ 'วามเมตตา ปรานขนทุกว*นๆ...” และได้ทรงประทานพระบรมราโชวาท ต่อไปว่า “ ...ออ่ นน*อมตอ่ ผู้ใหญ่ไมว่ า่ เจ้านายหรอื ขุนนางพงคำ แนะนา่ ตกั เตือนในท่คี วรพง . . 1”

ฑระทบใจเรา ถา้ หากเราไมช่ อบ ความไม่พอใจ (อ ร ต )ิ ยอ่ ม เกิดขํ้น ถ้าความไมพ่ อใจนไมส่ งบ กลบั มพี ลไแรงมากขน อาการไมพ่ อใจจะกลายเบน ปฏฆิ ะ (ความลัดใจ) เม่อื ถึงขนน ไจยไ)ไมส่ งบอกี แตก่ ลบั รนุ แรงขนไปอีก เราเรยกอาการของจิต ระด*บนํว้ ่า โกธะ ( ความเตอิ ดดาล) ความโกรธเมอ่ื เกิดขนแล,ว นำความเสียหายมาส่คู น หลายประการ เชน่ ๑. เสยสุขภาพของร่างกาย เวลาโกรธจ'ดหวั ใจทำงาน สูบฉีดโลหต้ เรวกว่าปกติ หนำจึงแดง รมิ ผปากสนี นํา้ ย่อย ออกนอ่ ย อาการเหลา่ นทำให้รา่ งกายทรดุ โทรมท,งสีน ๒. เสยคุณ ภาพของจติ ยามคนอยใู่ นอาการปกติ จำอะไรไดด้ ี คิดอะไรไดป้ ลอดโปร่ง รอู้ ะไรละเอียดลกึ ซงํ้ แต่ พอความโกรธเลัาครอบงำ คณุ สมบดเหลา่ นหายไปหมด ๓. เสยสมรรถภาพทางสตบญญา สมรรถภาพของ คนแสดงออกในลัานระบบความคิด การตดั สินใจ เวลาคนโกรธ ดวงบญญาจะมืด กำลังกายและประสาทถูกความโกรธเผาผลาญ หมดสน

๔๓ ๒ . เบ ือ ดเบือนทรทอ์ ได้แกล่ ไา ฉํอโกง ทำลาย ทร่พยให้เสียหาย เบือดเบือนครอษคร่ว ได้แก่การล่วงละเมดี ไน ๓. บตุ รภรรยาของคนอน ๔ . เบือคเบอื นทางใจ โกหกหลอกลวงคนอนไห้ หลงเชือ่ ๔ . เบอื คเบอื นความสงบสมุ ดา่ วา่ ด้วยวาจาหยาบ- คาย กลา่ วกระทบกระแทกแดกดน้ ไว. เบือคเบือนความ(งาสกุ สอ่ เสียดยยุ งใหเ้ ขา แตกก่นไนระหว่างญาตพิ น่ื อ้ ง ผ้ใู หญผ่ ูน้ อ้ ย เพ่ือนฝูง ๗ . เบอื คเบือนความเจรญิ ทำลายความก้าวหนา้ ดว้ ยการนนิ ทา ไล่รา่ ย ๙ . เบ อื ดเบอื นผลประโอชน์ กลนแกล้งเอาผลประ­ โยชน์ของเขามาเบนของตนเอง ๔ . เบือคเบืยนความปลฝคิ ภปํ ี แสดงความอาฆาต พยาบาท ๑ ๐ . เบ อื คเบือนสร'ทธา แสดงความคดิ เห้นหไาลา้ ง ความเชอ่ื ของคนอน่ื โดยไม่เกรงใจ กล่าวโดยสรปุ ลก้ ษณะของวํห้งสา มอี ยู่ ๓ ชน

๓. อดทนตอ่ ความเจึบใจ เมอถกู คนอน่ื ทำใหเ้ จึบแค่น เชน่ ถูกเยาะเยย้ ลูกเสยี ดสี ไม่ได้รบ่ ความยตุ ิธรรม ๔. อดทนตอ่ อำนาจกิเลส กลา่ วอกี น*ยหน่ึง ผบู้ งั คบบัญชา จำตอ้ ง ๑. อดทนต่อสงิ ทฅนไมช่ อบ เช่นความยากลำบาก คำด่าวา่ ฯลฯ ๖ . อดทน ตอ่ สิงทตน ชอบ เชน่ อำนาจยศศ*,กด ทร*พยลมบัด อย่ามงุ่ ทำเพอให้ ได้มาในทางผิด อาโรธน ะ — ความไมผ่ ดิ ผลทเี่ กดิ จากการทำงานของคนมอ่ ยู่ ๓ ประการ ๑. ทำถูก คือ ทำดี ถกู ตอ้ ง เรียบรอ่ ย ไม่มขี ่อ บกพรอ่ ง งานกำวหนำ ๖ . ทำไมผ่ ดิ ทำเพยงงานเลรีจ แตไ่ ม่ถงึ ก*บดี ๓. ทำ ผิด เบนการทำเสียหาย การทำงานเพียงขน ทำไมผด ย่อมไมอ่ าจสรา่ งความ กำวหนำให้แก่หนว่ ยงาน เหตนุ ่บึ คุ คลผูท้ ำงานจึงจำเบนอย่าง ที่สดุ ท่จี ะต้องปฎบิ ตงานในฃน่ ทำถกู งานจึงจะพัฒนา

๒. ขา่ ราชการติองอย่าเบนคนมไาง่าย อย่าเลินเล่อ จง ระมิ,ดระว*,งดวั อยู่เสมอ ถ้าห*วหนำIความประพฤติสตบิ ญญา และความช่ือสไอย่สจุ ริตแล*,ว ก็จะวางใจและเผยเคก็ดล*,บของงาน ให้ทราบ ๓ . เม่ือหวั หนำเรยี กใช้งานราชการ อยา่ เอนเอยี งไป ด*,วยอำนาจอคติ ควรปฏบิ ่ตงานราชการใหส้ ำเรจ็ ไป โดยสจุ ริต และเที่ยงธรรม ดุจตราชูทีอ่ ยู่ ในระดบั เที่ยงตรง ๔. เมื่อมีงานราชการเกิดขน ไมว่ า่ กลางว*,แหรีอ กลางคืน ข*,'เราชการหากถูกเรียก'ใชแ้ ล*วก่ จ็ งปฏิบดงานราชการ น,น ๆ ให้สำเรจ็ สมประสงติ อย่าบิดพรวหรอื หวนเกรงไปตาม อารมณร์ *,าย ๕. ทางเดินท่ีเขาตกแตง่ เบนราชวถิ ี แมิ,นจะมีพระบรม ราชานญุ าตใหเ้ ดนิ ได้ ข่าราชการก็ไม่ควรเดิน ๖. ข่าราชการไม่ควรใช้ของเสมอพระราชาหรือหัวหน*,า ไม่ควรบรโิ ภคให้ทัดเทียมท่านควรปฎิบตใหต้ ากวา่ ทกุ อย่าง ๗. ขา่ ราชการไม่ควรใชท้ ่วงทกี ริ ิยาวาจา ขโอ่โอหังทับ พระราชาหรอื หัวหน*,า ควรแสดงใหต้ า่ งช,นลงมา จึงจะชอบ ดัวยประเพณนี ยิ ม และเบนื การร*,กษาตนให้พ*,นราคื โทษ

๙ฟ ๑๗. ขำราชการอยา่ ชะล่าใจ ในเมอื พระราชาทรง กระทำ.พระองคเ์ สมือนหน่ึงเบนเพอนหรือหัวหนำทอดตนลง เสมือนหน่ึงเบนเพอื่ น ๑๘. จา้ ราชการเมอื ได้รับการยกย่องเชํดชูไม่ควรหยีง ทะนงอวดตวั ว่า เบืนหักปราชญร์ าชบ*,ณฑิตและไมค่ วรจ้วงจาบ เพด็ ทูลพระราชา ๑๙. จ้าราชการแหนั ได้รบั พระราชทานพระบรมราชา นุญาด ให้เจ้านอกออกในได้ก็ไม่ควรวางไจทอดสนทิ เมือ จำเบนจะเจ้าออกนอกใน ควรขอพระบรมราชานญุ าตกอ่ น ทุกคร้ง ให้มสื ตคิ รองจนเบนคนรอบคอบเสมอ ๒๐. เมอื พระมหากหัดริยจ์ ะทรงยกยอ่ งพระราชโอรส หรอื พระราชวงคโ์ ดยพระราชทานหัานนิคม ร*ฐ หรอื ชนบท ใหค้ รอบครองก็ควรนงี ดุกอ่ น ไม่ควรด่วนเพด็ ทลู คณุ หรอื โทษ ๒๑. เมือพระราชาหรอื หัวหหาั จะบำเหน็จความชอบ แก่ผู้ใด ไมค่ วรทลู หรอื เรยี นจ้ดตัดลาภผลของผนู้ ํน ควร สอบสวนให้รอบคอบตวั นถี่ มืจํตใจอ่อนโยนไปในทางทเ่ี หมาะ ทีค่ วร

๖® ๒๙. ขา่ ราชการ ควรเบนคนมคี วามสัตย์ จร็ง ต่อคำพตู ของตน พดู จาให้นีมนวลและสภุ าพอย่าพูดสอ่ เสยี ดยุงยงให๓้ ด ความบาดหมางและแตกสาม‘คดี อย่ากลา่ วถอ่ ยคำเพ,อเจอ่ เหลวไหลใร้ประโยชน์ ๓๐. ข่าราชการติองบำรุงเลยงดพู อ่ แม่ใหผ้ าสุก เคารพ นบนอบและเออเพอต่อผู้หล*กผู้ใหญ่1ในตระกูล ๓๑. ขา่ ราชการติองละอายตอ่ ความช'ว เกรงกล*ว์ตอ่ ความผดิ อยา่ ประพฤตลิ ะเมิด.ดลี ธรรมและเบนมิตรที่ดีใน ครอบครํว ๓๒. ข่าราชการต้องมีระเบยี บวนิ ัย และมีมรรยาท สภุ าพงดงามเสมอ ๓๓. ขา่ ราชการตอ้ งมีดลี !)ในการปฏิปตราชการใหด้ ำเนนํ . ไปโดยรวดเรว์ และสำเรจ็ เบีนผลดีเสมอ ๓๔. ขา่ ราชการต้องผกิ ใจให้มนในความดี มือ*ธยาตย้ อ่อนโยน ไม่ถอื ต้วอวดดี ไมห่ วนไหวไปลามโลกธรรม ๓๕. ข่าราชการต้องขยน่ ขนั แขง็ 'ในหนาั ท่รี าชการ

๔๒. ขาราชการตองมความรดู มบญญาเฉยบแหลม เขไใจในวธิ ีการทวไป และรจู้ กั กาลสมยั ท่คี วรหรือมคื วร ๔๓. ขำราชการตอ้ งขย*นหมันเพยี รในการปฎํบตหน้าท่ี ราชการ ไม่เลินเล่อหละหลวม ตอ้ งตรวจตราดแู ลใหร้ อบคอบ ทำงานใหส้ ำเร็จเสรจ็ สนไปโดยครบถ*วนตว้ ยดเี สมอ ๔๔. ล้าราชการควรตรวจตราดแู ลไรน่ าและปศสุ ัตว ขำวในยงุ้ ฉาง อยเู่ บนประจำตลอดจนแมก้ ารใชจ้ า่ ยในครอบคร*ว กค็ วรรจู้ กั จำกดั ประมาณ ๔๕. ลา้ ราชการไม่ควรยกยอ่ งลกู ชายหญงิ หรือพน่ี อ้ งท่ี ประพฤตไิ มด่ ี มแี ต่คอยจะลา้ งผลาญซงึ่ ทำตนเหมอื นคนตาย แล้ว แต่ควรยกย่องคนท่ีประพฤตดิ ี มคื วามขยนหมันเพียร ในหน้าทก่ี ารงานสมืาเสมอ และควรชบุ เลยงเขาอยา่ งดี ๔๖. ลา้ ราชการต*องเบนคนมืศลี ประจำตว้ มคื วามซึอ่ สตั ย์ ไม่เหน็ แก่ได้ ไม่เลา้ ขำงคนผิดเบนคนซ่อึ ตรง จงร*กกกั ดี ท่’ีงตอ่ หน้าและลบั หล*ง ๔๗. ลา้ ราชการต้องรจู้ กั พระราชนิยมหรือความนยิ ม ของหวั หน้า ปฏิบตให้ตอ้ งตามพระราชประสงค์ ไมผ่ าผนื •ล้ดพระราชอ*ธยาต้ย หรอื อ*ธยาต้ยของหัวหน้า

า0. ความเพียร คำวา่ เพยี ร แปลว่า “ กล่าหาญไม่ ยอ่ ทอ้ ต่อความยากและบากบน เพีอจะขำมความขํดขํองให้จงไค้ โดยใช้ความอดุ สาหวิรยิ ภาพ มิไดล้ ดหย่อน” อนง่ี ผทู้ ่ี แสดงตนเบนคนเพยี รก็เหมอื นแสดงใหป้ รากฏวา่ ท้าแม้ได้ร*บ มอบหมายใหก้ ระทำการในหท้าทใี่ ด ก็คงจะ'ใชอ้ ุดสาหวิรียภาพ โดยสมา่ เสมอเพอี ทำกิจการน*น ๆ ใหบ้ รรลถุ ึงซี่งความสำเร็จ ด้วยดจี ง'ใค้ ด้งนเมือผใู้ หญจ่ ะเลือกหาคนใชใ้ นตำแหน่งผทู้ ้งด้บ บ้'ญชาคน จงึ เพง่ เลืงหาคนเพยี รมากกว่าคนที่มแื ต่วิชา แต่ เกียจครำนหาความบากทน้ อดทนมใิ ค้ ๓. ความไหวพริบ ความไหวพริบ แปลว่า “ รจู้ ก ดง้ เกตเหน็ โดยไมด่ อ้ งมืใครเตือนวา่ มเื หตเชน่ น,น ๆ จะดอ้ ง ปฏิบตการอยา่ งท้น ๆ เพอี ใหบ้ งั เกดิ ผลดีท่สี ุด แกก่ ิจการทว้ ไป และรีบทำการด้นเห็นควรน*นโดยทบ้ พดน้ ทน้ พ่วงพี ” ๔. ความรู้เท่ากงการณ์ คำน้ํ แปลวา่ “ รจู้ ักปฎนิ ต่ กจิ การใหเ้ หมาะด้วยประการท*งปวง ’ การท่ีจะเบนเช่นนใค้ ก็ดอ้ งเบนผทู้ ร่ี ู้จกั เลือกวา่ จะปฎิบต่ กาวอยา่ งไร จึงจะเหมาะสม แกเ่ วลาและที่ ใหส้ มเหตผุ ลจึงจะเบนประโยชน่ที่ดที ่สี ดุ ด้น

คำพูดไปเพอความสะดวกเฉพาะครไ)คราว ไมค่ ดิ เอาเปรยี บใคร โดยอาการอนั เขาจะขนแข่งไมไ่ ด้ ไม่ยกตนขม่ ทา่ น ไม่หาดี ใสอ่ ัว หาชวใสเ่ ขา เม่ือผ้ใู ดมไี มตรีตอบกตึ อบแทนดว่ ยไมตรี โดยสมาื่ เสมอ ไมใ่ ชค้ วามร*กใคร่ไมตรซี ึ่งผู้อืน่ มีแก่เราน*นเบน เครีองประหารเขาเองหรอื ใคร ๆ ๗. ความรู้จ่ฑนสิ ยคน ถไเบนผู้น้อยเบนหน้าทีจ่ ะต*อง ศึกษาและส*งเกตใหัรู้นิสไยของผใู้ หญ่ซึ่งเบนผู้บง้คบั บ้ญ่ชา ของตน ต*องรูว้ า่ ความคิดความเห็นเบนอย่างไร ชอบท่า การงานอย่างไร ชอบหรอื ชังอะไร เมื่อทราบแล*วก็อาจทจ่ี ะวาง ความประพฤตแิ ละทางการงานของตนเองให้ต*องตามอธั ยาอัย ของผู้ใหญน่ น้ ได้ ถ*าตนเบนผูใ้ หญ่ มหี น้าทเี่ บนผู้บงั อับบ*ญช่ า คนมาก ๆ การเจ*ก, นสิ *,ยคนกย็ ีงเบนการจำเบนยีงขน้ํ เพราะ คนเราไมใ่ ชฝ่ งู แพะฝงู แกะซึง่ จะต*,อนไปไดโ้ ดยใช้ร*,อง ฮยุ ๆ หรอื เอาไม้ไลต่ ี ๘. ความรูจ้ 'กผอ่ นผนั อย่าเบนคนเถรตรงหรือ ผอ่ นผนั ไปเสยี ทกุ อยา่ งจนเสยี ทงี่ วนิ *,ยท้งั แบบแผน

บทที่ ๒ ผนำกบการพฒํ นาตน ~ขำพเจไสามารถเรยนรู้เพอความเบนผ้นู ำทดไดห้ รอไม่ ขำพเจไจะคนพบพลไศไายะความเบน็ ผู้นำของขำพเจา้ ได้ โดยวธิ ใด ขำพเจา้ ตองรอู้ ะไรบ้างจงจะกลายเบนผู้นำทด้ ขำพเจา้ จ้องปฎบํตอย่างไรจงจะเบนผูน้ ำทด้ ขำพเจา้ จะรู้ได้อย่างไรเลา่ ว่า ขำพเจา้ เบนผู้นำทด้ แ ล ้ว ห ร อ ย งั ข ำพ เจา้ จะส าม ารถ ต ดิ ต าม แน วค ด แล ะห ยัก น ยํ ม ใหม่ ๆ เกยวยับการเบนผนู้ ำได้โดยวิธใด......1.. บญหาขำงต'นนคือบญหาหล*กมลู ท่ีบคุ คลผูท้ ำหนำทเ่ี บน ผู้นำ หรือห*วหนไหน่วยงานทกุ ระจ้บจำเบนจอ้ งหาคำตอบท่ถี กู จ้องให้พบ ในอดตี กาลเมื่อขงํ คมอย่ใู นยุคอำนาจปกครองของระบบ อภชิ นาธปิ ใตย คนม*กเขำใจกันว่าอภชิ นเทา่ น,นที่เกดิ มาเพอ เบน “ ผูน้ ำ” คน สว่ นคนอนเภิดมาเพอเบน “ ผู้ตาม” พอลง

จึงถอวา่ ความเบนผู้นำ คือ ประมวลแหง่ การหนำทมี่ ิใช่ บทบาทของบจเจกชน และไดใ้ หค้ ่านิยามวา่ “ ความเบนผนู้ ำ คอื การปฎบํ ตหนำทีท่ ํงหลายซึง่ ชว่ ยให้กลุ่มบรรลุวัตถุประสงค่ ” ลา่ 'หากสงั เกตบทนยิ ามยุคบจจบุ ันแลว่ จะพบค่าวา่ “ ผูน้ ำของ กลุ่ม” หายไป กลบมี ' ‘ การหนำท่คี วามเบนผูน้ ำ” ในกล่มุ เช่ามาแทนท่ี จากหล*กปวัชญาว่าด้วยความเบนผ้นู ำยุคใหม่นิ เราจะ เห้นได้วา่ มิใช่วา่ “ ผนู้ ำท่ไี ด้ร*บการแตง่ ตง” ให้ดำรงตำแหน่ง ห*วหนำงานเทา่ นน้ ทส่ี ามารถปฏํบตการหนำท่คี วามเบนผนู้ ำได้ เพยี งคนเดียว แตท่ ุกคนในหน่วยงานน้น ๆ กส็ ามารถปฎบิ ต ได้เช่นกัน และบางที่ก็สามารถปปบ็ ไ'!ได้ดกี วา่ ผู้นำทไ่ี ดร้ *,บการ แตง่ ต,งเสยี คัวยซ้าํ ไป ชอ่ เทีจ่ จริงในเรือ่ งนยิ ่อมเบนท่ีประจไาษ ช*ดในหน่วยงานท่ีงหลาย โดยเหตุนนิ เ่ี องบทบาทของผนู้ ำจงึ อยู่ ทกี่ ารชว่ ยใหก้ ลุ่มชนในบ*,งคบั บ*ญชา แสดงพลไ)สมรรถนะของ ตนออกมาเต็มท่ี และพฒั นาคนในบ*งคบั บ*ญชามิใชค่ อยควบคุม พล*งสมรรถนะของกล่มุ ชนในบ*,งคับบ*ญชาดุจคงั แต่ก่อน กลา่ ว อกน*ยหนง่ึ ผ้นู ำทไี่ ดร้ บการแตง่ ตงใหค้ วบคมุ หนว่ ยยอ่ มมีจรยิ - พันธพเี ศษอยูท่ ก่ี ารพฒั นาความสามารถของตนเองเพอ่ื ช่วยคน

ขาว-ดำ เพราะว่าแบบผ้นู ำทุกแบบนนยอ่ มมงุ่ เบาหมายหตัก ท่ดี อํ งการบรรลุตรงกันอยู่ ๒ ประการคอื “ การบรรลุความ สำเรจ็ ภารกํจตามวตั ลปุ ระสงค์” กับ “การพฒั นามนษุ ยต์ มั พนั ธ ในหน่วยงาน” เหตนุ การเบนผนู้ ำจงึ ตอั งเทย่ี วขอ่ งกบมํติฑงสอง ตังกล่าวของชีวิตกลุ่มชนในหน่วยงานนน ๆ ส่วนการทีจ่ ะบรรลุ ผลในระตับใด ยอ่ มขนอยู่กบั บุคอกภาพของผู้นำกับสถาน- การณใ์ นหน่วยประกอบอีกตวั ย 1®. กำหนดระด0บคณุ ลไาษณะความเบนผนู้ ำ (^53683 1.63(161:81111) 0๐1ฑ{)61611(ะ16ร ) เมอื่ ไดก้ ำหนดรปู แบบการเบนผ้นู ำท่,ี ตัองการเสร็จเรียบ- ร*,อยแตวั ขนต่อไปกํคอื การใช้กระบวนการวิเคราะหต้ นเองโดย เทยี่ งธรรมปราศจากอคติใด ๆ วเิ คราะห์ตรวจสอบตนเองว่า ขณะนคุณตักษณะความเบนผ้นู ำของท่านอยูใ่ นระตับใด กลา่ ว คอื ขน่ เรมี ตัน ข1นปานกลาง หรือข่นสงู แตัวพัฒนาตนเอง ใหบ้ รรลคุ ุณตกั ษณะระดบั สูงสดุ ของรปู แบบความเบนผนู้ ำท่ี ท่านพึงประสงค์ กระบวนการวเิ คราะห์ตนเองช่งื จะมีประสทํ ธิผลอยา่ งสงู ต่อการพฒั นาตนน,นไดแ้ ก่

๓. ผนู้ ำจำเบน ต*อง'รู้สก ๓.๑ การมีความปรารถนาอยา่ งจริงใจท่ีเข่าใจควาน ต,องการ ความรสู้ ึกเบาหมาย บญหาของคนอน ๆ ในหน่วย ๓.๒ เขา่ ใจถงึ ความสำค*ญของบทบาทความเบนผ้นู า่ ในระบอบประชาธปิ ไตยที่ตนกำลังดำรงอยู่ ๔ . ผู้นำควรมความสามารถทีจ่ ะกระทำ ๔.๑ วเิ คราะหว์ ่าอะไรคอื ความผดิ พลาดเมอึ๋ หน่วย ปฏินต่ งานล*มเหลว ๔.๒ การวางแผนแนวปฏบิ ตและพฌํ นาระเบียบวิธี โครงการขนในรปู ทจ่ี ะเกดิ ประสิทธีผลสงู สุดในสถานการณ์ ทุกเรอง ๔.๓ ปฏิบตการหน'าที่ผูน้ ่า’ใตอ้ ย่างเหมาะสม ๔.๔ ประมาณคา่ และเรียนร้จู ากประสบการณข์ อง ตนเอง ๔.๕ ชว่ ยคนอนในหน่วยให้ปรบํ ปรุงคณุ ลกั ษณะ ทค่ี ใื นฐานะเบนี สมาชกั ของหนว่ ย ๓. ปฎบฅํ โครงการพฒํ นาดนเอง ( ?1น:ธ116 6 ?*0- 0เ ร6น 1)676101)1X16111 )

ชีง่ สถาบนั ตา่ งๆในตา่ งประเทศนิยมปฏบํ ตก*'นมากกคึ ือ “ระเบยบ วิธีการแก้บญหารายกรณี’การผืกการแกบ้ ญหาแบบนึจะเรีมต*'น ด*'วยการบรรยายสถานการณบ์ ญหาทก่ี ำหนดไว้ ต่อจากน,นกลมุ่ ผกื ฝนจะดำเนินการแกบ้ ญหาโดยอาศ*ยกระบวนการตอ่ ไปนิ ก. วเิ คราะห์ว่าอะไรคอื บญหาท่แี ท้จรงิ ข. วเิ คราะหข์ อ่ มูลตา่ งๆเพอกำหนดลกั ษณะและสาเหด ของบญหา ค. พ*ฒนาหลักการเพ่อื หาข*อแก้ไข ง. แสวงหาการแกไ้ ขในแนวทางต่าง ๆ หลายวิธี จ. ทดสอบผลท่จี ะเบนไปไดข้ องข*'อแกไ้ ขทกุ แบบ แล*'ว เลือกแบบทีด่ ีทีส่ ุดเอาไว้ ฉ. กำหนดวา่ ประสิทธผิ ลของการแก้ไขทีเ่ ลือกไวเ้ บน แนว-ทางปฏิบดั ้น*นจ่ ะประมาณค่าโดย,วธิ ี,ใด (๓) ท*'ศนคต คณุ สมบดขํอนนิ บวา่ เบนคุณสมบต่ ที่ ยากที่จะพ*ฒนาใหเ้ กิดขน เพราะวา่ คนส่วนมากมอี ตั สำนึกผง แน่นอยแู่ ล*'วก*'บท*ศนคดิค,งเดิม ยีงดำรงตำแหนง่ ในฐานะเบน ผนู้ ่าหนว่ ยด*'วยแล*'ว บัวโขนทส่ี วมไวย้ ีงพอกพูนอ*'ตสำนกึ ใน ท*'คนคดิเดิมให้หนาแนน่ เบนกำแพงมหึมามากยงี ขน แตล่ ัาหาก

เสนอแนะวา่ ท่านควรสร่างแผนแนวทางปฎิปตตามต*'วอย่าง ต่อไปนเสยี ตว่ ย เพอปลุกพลงํ เ์ จตจำนงใหแ้ ข่งกลำไมเ่ สอี ม 'คลาย แผนการพํฒนาตน ๑. ขา่ พเจำตอ่ งพฒํ นาความรูเ้ รอง 4 4 4 1 4 4 * 4 * 4 4 4 1 4 |* 4 4 4 * 4 1 4 4 4 * 1 4 * 4 (* 1 * * * 4 4 4 4 * 4 1 4 * 4 4 * * * * 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 * 4^ *444 4 4 4 * 4 4 4 4 4 4 4 1 4 4 4 * 4 4 4 4 4 4 4 4 * 4 4 4 4 4 4 44 4 4 * 4 4 * ๒. ข่าพเจ่าตอ่ งพฒํ นาความเข่าไจเรอง ******441444*44 4*41*1*44 4*4*****44*1*4**4*1*14**144444 444444**4*4*44 4 4 * 4 * 4 1 * 4 * 4 * * * * * * * * * * 4 4 4 4 * * 4 * 4 4*1 * 4 * 4 4 * 4 * I 4 4 4 * 4 4 4 4 4 * 4 * * 4 4 * * * 4 * 4 4 4 4 * * 4 * * * 4 * 4 4 * 4 4 4 (* * * * * * 4 * | 4 * 4 4 4 * 4 * 1 * 1 * 4 4 * * 4 4 * 4 * 4 * 4 4 4 * * * * 4 4 •* 4 * 4 4 * 4 * * 4 4 * * 01 ข่าพเจำต่องพํฒนาท*'ศนคติเกย่ี วก*บ ••4 4 * 4 * 4 4 4 4 4 4 # 4 * 4 4 * 4 1 4 4 4 4 4 4 4 4 * 4 4 4 4 4 * 4 4 * 14' * 4 4 ••* * •* ••* * 4 * 4 4 4 4 * 4 4 * 4 * 4 * 4 4 * 4 4 4 -4 4 4 4 * 4 * 4 * 4 4 • * * • • 4 * 4 4 4 4 4 * 4 * 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 44 4 4 4444444 444 444444444 444 4 4 44 4 44 4 4 44 4 ' 4 4 4 * 4* 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 * 4 4 4

บทที่ ๓ ภ า ว ? ? ส ร ้า ง ส ร ร ค ํ่ ...ทำไมบคุ คลบางคน'จงเบนึ คนสร่างสร•รคมากกว่าคนอ่นื ทำไมกลุ่มชนบางกลุ่ม หนว่ ยงานบางหน่วย จงึ มีภาวะ สร้างสรรค์มากกวา่ กลุม่ อื่นและหน่วยงานหนว่ ยอนื่ อะไรเบนกำแพงขวางก้นภาวะสร้างสรรคใ์ นต*วบคุ คล กลุ่มชน หนว่ ยงาน เพราะเหตุใดคนบางคนทำงานคนเดียวหรือทำงานรว่ ม กํบคนอื่นจงึ มีผลนอ้ ยอย่างเดน่ ช*,ด ภาวะสร้างสรรคใ์ นบคุ คล กล่มุ ชน หน่วยงาน จะสรา้ ง ขนได้!ดยวธิ ใี ด ตวั เราเองเบนคนสร้างสรรค์แล*วหรือยงํ . 1. บจจุบ*นนความต*องการบุคคลผ้สู รา้ งสรรค์ การปฏบิ ต่ งานของกลุม่ ชนทม่ี ปี ระสิทธิภาพ หนว่ ยงานท่พี ํฒนาเบนที่ ปรารถนาและเรียกร้องกน้ ท'วทกุ หนทุกแห่ง ความกา้ วหนา้ ทาง วทิ ยาศาสตร์ ความกา้ วหน*!ทางประยุกต,์วิทยา (160111101087)

องค์ประกอบต่าง ๆ อันมีผลเบนภาวะสร่างสรรคข์ องบคุ คล กลมุ่ ชน หน่วยงาน ขไ)ทนี่ ่าสังเกตก๊คอว่า ภาวะสรา่ งสรรค์ น้ํมอี ยแู่ ลัวในบุคคลทกุ คน แด่นไ)ยคนนไ)ทจ่ี ะรจู้ ไาวธิ ีนำเอา พลังหลบเรน่ เหลา่ น1นมาใช้พัฒนาชวตํ ของตนเอง คนสรา่ งสรรค “ อะไรทำใหค้ น ๆ หน๋งึ เบนคนสร่างสรรคม์ ากกวา่ คน อืน่ 1” ผลการวิจยํ ของมหาวทิ ยาลัยตา่ ง ๆ ไดข้ อ่ ยตุ ติ รงลนั วา่ อนั วา่ ภาวะสร่างสรรคม์ ใิ ด้ขนอยู่ กบั ระดับสตบิ ญญาของบุคคล หากแตว่ า่ ขนอยกู่ บั “ อดั ลกั ษณ์” ของคนนนํ ๆเอง บคุ คลใดได้ ชอ้ ว่าเบนคนสร่างสรรค์ บุคคลนน้ ย่อมจะมีอตั ลักษณด์ งั ตอ่ ไป น้มํ ากกวา่ หรือเด่นกว่าคนท่งี หลาย อตั ลกั ษณท์ ีว่ ่าน้ํใดแ้ ก่ ๑. ความฉบ่ ไวต่อสงิ แวดลอ้ ม (ร6ซ81ผแเ7 10 รน1- — ความสามารถทจี่ ะเสัาใจสิงต่าง ๆ ไดด้ ี ในขณะ ท่ีคนอนื่ ๆ อังไมเ่ ขา่ ใจ — มสี มรรถนะสงู ในการดดู วั ยฆาั ษุ พงเสยิ ง สัมผสั

๔. ความอดทน ( ว'016181106 ) — มีคุณสมปตของต,นหญ,้''กลา่ วคอื สามารถอดทน ต่อคืนพาอากาศได้อยา่ งดีเย่ียม อดทนตอ่ ความยากลา่ บาก ตรากตรำ อดทนตอ่ ความเจบํ ไข้ อดทนต่อความเจบใจ และ อดทนต่อความนา่ เย่ายวนใจตา่ ง ๆ ทจี ะทำไหห้ นํ เหไปจากเบไ- หมายอ*นสูงสุด — มีความเชอมนอย่างตอ่ เนอื่ งว่า ความยุ่งยากของ บญหา ความสับสนทปี รากฏขนน้ํน ยอ่ มเบนประสบการณใหม่ ซ่งึ อาจก่อใหเ้ กิดแบบใหม่ทีดีกว่าเกา่ ๔. ความสามารถทางการสไเคราะห์ ( ^ แ แ 7 * 0 5^111116818 ) — มีทไาษะเบนเยย่ี มไนการรวมเอาบจจยํ มากมาย ■ หลายอย่างมาสงั เคราะหส์ รา้ งใหเ้ บนการสร้างสรรค์ใหม่ ๆ ๖. ความสามารถทางนามธรรม (^๖แแ7 เ0 ^๖8เ1-30เ) — มีสมรรถนะเบนเย่ียมในการวิเคราะห์บญหา ตา่ ง ๆ โดยแยกออกเบนสว่ นย่อยสว่ นตา่ ง ๆ — เสาั ไจเบนอยา่ งดีถงึ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างองค์ ประกอบท1งหลาย

เซ่น เสยี งปราม เสยี งหำม ของบดิ ามารดาเด็กที่กล่าวชาซาก เบนิ ประจำวันวา่ “ อย่ามารบกวนน่ะ” หรือคำพดู ของครทู ดี่ ัก จะกลา่ วตำหนวิ า่ “ เธอช่างเบนิ เด็กโงเ่ ง่าอะไรเซน่ น” หรือ เสยี งหัวเราะเยาะของเพอี นรว่ มชนที่หวั เราะเยาะเย*ย ในเวลา ที่ไดก้ ระทำอะไรผิด ๆ ประลบการณทางการกดดนั เซ่นกลา่ วน็ เมื่อบคุ คลเจรญิ วัยเตบิ โตขนมา จะกลาย เบินละเกด แผลทาง จติ วทิ ยาผงแนน่ อยู่ ในจิตใต้ลำนึก ส่งผลทำให้คนกลายเบนิ คนขาดความเช่ือมนในตนเอง เม่อื ขาดความเชือ่ มนใน สมรรถนะของตนเองเสยี แล*ว เขากย็ ่อมจะไมก่ ล*าทำอะไรลงไป ทีง่ สน ไ®. ไม่กลไท่ีจะเปลยนแปลง (^681รเ3ฑ06 เ0 บุคคลสว่ นมากมแิ นวโน*มชอบท่จี ะทำภารกจิ บนพํน้ ฐ''น “ การ ประหดดั ความพยายาม ” ( 200110111^ 0* 2^01* ) กลา่ วคอ กระทำไปตามแนวทางปฎํบต์ ทม่ี ีอยู่แล*ว มากกว่าท่ีจะชอบเลือก แนว'ทางปฎิบต'ใหม่ ทง้ นเึ พราะเหตุว่าการ ปฏบิ ตในแนวทาง ที่เคยทำดนั มา ย่อมใช้ความพากเพียรพยายามเพยี งเลืกน*อย นอกจากนึดงั เบินการสบายใจทจี่ ะไม่ต*องเสย่ี งภยั ดบั การดมั เหลว อีกดวั ย เขาจงึ ไม่กดัาเปลย่ี นแปลง

นอกไปจากน สงิ คมบจจุบนั เบนสงิ คมอตุ สาหกรรม สรรพสินค่านานาชนดิ บรกิ ารมากหลาย กจิ กรรมสินทนาการ อันดกดนื่ สงิ เหล่านิได้เบนตวั ช่วยลดความจำเบนทคี่ น จะตอั งลงมอื “ สร้างสรรค”่ ตวั ยตนเองลงไป ความสะดวก สบายในการใช้ผลการสร้างสรรคท่ ่ีคนอื่นได้ท,าไวใ้ ห้ ยอ่ ม สะดวกกว่าการลงมือสรา้ งตวั ยตนเอง คนจง็ นยิ มใชผ้ ลตผล ทีส่ รา้ งขนแลว้ มากกวา่ การ “ สรา้ งสรรค่ ” ขน'ซึง่ จะตอั ง'ใช้ พลไ)มากกวา่ ๔. ระบบ “ ขอรบ กระผม” (00๗01-๓11;^) ระบบ การทำงานในหนว่ ยงานรัฐบาล องค่การ ธุรกิจ ไดส้ รัางความ เชอ๋ึ มน่ อย่างงมงายขนแกบ่ คุ คลในหน่วยงาน ให้มคี วามเชอ้ ม'น ในอำนาจการบไ)คบั บัญชา โดยถือกัน'ว่าผูบ้ งั คบั บัญชาน้นย่อม เบนผูฉ้ ลาดรอบรู้ มีสตบิ ญญารอบคอบ จงื ควรแกก่ ารทำตาม ทุกประการ ยีงในวงการทหารตัวยแลว้ ระบบขอรบั กระผม กลายเบน “ กระดูกสิน่หสงิ ” ของหนว่ ยทหารทเี ดยี ว สิงที่ ผ้บงั ตบั บญั ชาสงิ ทหารตอั งทำท*,นที ทำโดยไมต่ อั งชักถามสิง เห..ตผุ ลไทิส!ง\"การ, เชน่ น^น ระบ.บ1.ขอรบ-กระผมเชนว่านแหละ

กลมุ่ ปนสร์ า่ 1สร์ รด “ ไมม่ ีสีงใดท่เี คยปฏํบตสำเรืจไดโ้ ดยคณะกรรมการ เรนั ไว้แต่วา่ กรรมการคณะนนประกอบดว้ ยบคุ คลสามคน คนหน่งึ บวย สว่ นอีกคนหนึ่งขาดการประชุม ” เฮนดริก แวน ลนู นกั ประว่ตศาสตรผ์ มู้ ีช่ือเสยิ ง เคยกลา่ วแสดงความคิดเห้นด้าน ทุนนิยมเก่ียวกับความไม่เชอํ่ ในประสิทธิผลของกลมุ่ ชน อยา่ งไรก่ีดี ยอ่ มเบนทย่ี อมรับกนั ว่า ถา้ หาก'รัดสถาน- การณ์^ไดอ้ ย่างถูกดอ้ งแลว่ ประชาชน กลมุ่ ชน กี่สามารถแก้ บญหาอนยากแสนยากได้อย่างดีเสศิ หน่วยงานทกุ หนว่ ยจึง เหนว่างานของคณะกรรมการน้นย่อมเบนงานสราั งสรรค มี ใช่ มแี ตเ่ พยี งความลม่ เหลวอย่างเดียว ขณะท่กี ลุม่ ชนดำเนนิ งานมุ่งส่คู วามสำเรจิ หรอื เบาหมาย น1น กลุ่มชนจำเบนอยา่ งยีงทดี่ อ้ งสนใจอย่างต่อเน่ึองกับการ หนัาทพ่ี เศษ ๒ ประการดว้ ยกัน ๑. มุ่งให้ภารกิจสำเร็จ กระบวนการดำเนินงาน กฎข่อบง้ ด้ชการแบ่งมอบความรับผํดชอบ จะดอ้ งสราั งขนให้มี เขมมุ่งตรงตอ่ ความสำเรืจแหง่ ภารกจ้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook