การสรา้ งปา่ เชงิ นเิ วศ เพ่ือความมน่ั คงของราษฎรในพื้นที่ปา่ อนรุ ักษ์ สำนกั วจิ ยั การอนรุ กั ษ ปา ไมแ ละพนั ธุพืช สก�ำรมนอักุทวิจยัำยนกแำหรอ่งชนำุรตักิ ษสั์ตปว่ำ์ปไม่ำ้แแลละะพพันันธธุุ์์พพืืชช
การสรา้ งปา่ เชิงนเิ วศ เพ่ือความม่นั คงของราษฎรในพื้นทป่ี า่ อนรุ กั ษ์ S Sh MS Sh Sh P Sh LP Sh Sh Sh Sh S MS สำนกั วจิ ัยการอนรุ ักษ ปา ไมและพนั ธุพชื ส�ำนักวิจัยการอนุรกั ษป์ ่าไม้และพนั ธ์ุพืช กรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตว์ป่า และพันธ์พุ ชื 2564
การสรา้ งปา่ เชงิ นเิ วศ เพ่ือความมน่ั คงของราษฎรในพ้ืนท่ปี า่ อนุรกั ษ์ ทป่ี รึกษา อธบิ ดกี รมอุทยานแห่งชาติ สตั วป์ า่ และพันธพ์ุ ืช ธัญญา เนตธิ รรมกลุ รองอธบิ ดีกรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตวป์ า่ และพันธ์ุพชื ประกติ วงศ์ศรวี ัฒนกุล รองอธบิ ดีกรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตวป์ า่ และพันธุ์พชื สมหวงั เรอื งนวิ ัติศยั รองอธบิ ดีกรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สัตวป์ ่า และพันธพ์ุ ชื รงุ่ นภา พฒั นวบิ ลู ย ์ ผู้อำ� นวยการส�ำนักวจิ ัยการอนรุ ักษ์ป่าไม้และพนั ธุพ์ ชื จรวย อนิ ทรจ์ นั ทร ์ ผอู้ ำ� นวยการส�ำนกั อนุรกั ษแ์ ละจดั การต้นน้ำ� บำ� รุง แสงพันธ ์ุ ผอู้ �ำนวยการสำ� นักฟ้ืนฟูและพัฒนาพนื้ ที่อนรุ กั ษ์ อนันต์ ปิน่ นอ้ ย ผู้เรียบเรียง วรดลต์ แจม่ จำ� รญู จนิ ตนา บพุ บรรพต ภาณมุ าศ ลาดปาละ มานพ ผูพ้ ัฒน์ ประสพโชค พงึ่ ปรดี า สมภพ รตั นประชา พงษศ์ กั ดิ์ พลเสนา ออกแบบและจัดรปู เลม่ : ปรีชา การะเกตุ และ นทั ธธ์ นัน ศรีเกษ ภาพ : ราชันย์ ภมู่ า พงษศ์ ักด์ิ พลเสนา จินตนา บุพบรรพต ปรีชา การะเกตุ มานพ ผู้พฒั น์ ภาพวาดปก : ธญั ลกั ษณ์ สุนทรมฏั ฐ์ (ครกู ้งุ ) จัดพมิ พ์โดย สำ� นักวจิ ยั การอนุรักษ์ป่าไมแ้ ละพนั ธพ์ุ ชื กรมอุทยานแห่งชาติ สตั วป์ ่า และพันธพุ์ ชื พมิ พค์ รัง้ ท่ี 1 กรกฎาคม 2564, จำ� นวน 1,000 เลม่ (ห้ามจำ� หน่าย) พมิ พท์ ี่ : บรษิ ัทประชาชน จำ� กดั , 35 ซอยพพิ ัฒน์ ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรกั กรงุ เทพฯ 10500 การอา้ งองิ จนิ ตนา บุพบรรพต, มานพ ผู้พัฒน์, สมภพ รัตนประชา, พงษศ์ ักด์ิ พลเสนา, วรดลต์ แจ่มจำ� รญู , ภาณมุ าศ ลาดปาละ และประสพโชค พึง่ ปรีดา. 2564. การสรา้ งป่าเชิงนเิ วศ เพื่อความ ม่นั คงของราษฎรในพน้ื ทีป่ า่ อนรุ ักษ์, ส�ำนกั วิจยั การอนุรกั ษ์ป่าไมแ้ ละพันธ์ุพชื , กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั วป์ ่า และพนั ธ์พุ ืช, กรงุ เทพฯ. 150 น. ISBN : 978-616-316-638-8 ดาวโหลดหนงั สอื ไฟล์ PDF ไดฟ้ รที ่ี : https://bit.ly/3xW0xXZ
คำ� น�ำ พนื้ ทปี่ า่ อนรุ กั ษใ์ นประเทศไทยมปี ระชาชนอาศยั และทำ� กนิ มาแตอ่ ดตี ซงึ่ รฐั บาลมคี วามพยายามแกไ้ ขปญั หา ตลอดมา ปจั จุบันการครอบครองทด่ี นิ ของประชาชนในพืน้ ทป่ี า่ อนรุ ักษ์ถกู น�ำมาบรรจุไว้ในแผนการปฏิรูปประเทศ ด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม และคณะรฐั มนตรีได้มมี ติ เมื่อวนั ท่ี 26 พฤศจกิ ายน 2561 เหน็ ชอบพ้นื ที่ เปา้ หมายและกรอบมาตรการแกไ้ ขปญั หาการอยอู่ าศยั และทำ� กนิ ในพน้ื ทป่ี า่ ไมท้ กุ ประเภท ตอ่ มาไดม้ พี ระราชบญั ญตั ิ อทุ ยานแหง่ ชาติ พ.ศ. 2562 ในบทเฉพาะกาล มาตรา 64 และพระราชบญั ญตั สิ งวนและคมุ้ ครองสตั วป์ า่ พ.ศ. 2562 ในบทเฉพาะกาล มาตรา 121 ไดก้ ำ� หนดให้ กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตวป์ า่ และพันธุ์พชื ทำ� การสำ� รวจการถือครอง ทดี่ นิ ของประชาชนทอ่ี ยอู่ าศยั หรอื ทำ� กนิ ในอทุ ยานแหง่ ชาติ เขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั วป์ า่ หรอื เขตหา้ มลา่ สตั วป์ า่ แลว้ จดั ทำ� โครงการเกย่ี วกบั การอนรุ กั ษแ์ ละดแู ลทรพั ยากรธรรมชาติ เพอื่ ชว่ ยเหลอื ประชาชนทไ่ี มม่ ที ด่ี นิ ทำ� กนิ ไดอ้ ยอู่ าศยั หรอื ทำ� กนิ ในพน้ื ทป่ี า่ อนรุ กั ษด์ งั กลา่ ว โดยประชาชนกลมุ่ ดงั กลา่ วจะตอ้ งมหี นา้ ทใ่ี นการอนรุ กั ษ์ ฟน้ื ฟู ดแู ลรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาติ ระบบนเิ วศ และความหลากหลายทางชวี ภาพ ตามหลกั เกณฑ์ วธิ กี ารและเงอื่ นไขการอยอู่ าศยั หรอื ทำ� กนิ ตามระเบยี บ ที่อธิบดกี รมอุทยานแหง่ ชาติ สัตวป์ ่า และพันธ์ุพชื ก�ำหนด โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการอทุ ยานแห่งชาติ หรอื คณะกรรมการสงวนและคุ้มครองสตั ว์ปา่ กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพนั ธุพ์ ชื ไดส้ ำ� รวจการถือครองทดี่ นิ ของประชาชนทอี่ ยอู่ าศยั หรอื ท�ำกินใน พ้ืนที่ 227 ปา่ อนรุ กั ษ์ (อุทยานแห่งชาติ เขตรกั ษาพนั ธสุ์ ัตว์ปา่ และเขตห้ามล่าสัตวป์ า่ ) แล้วเสร็จมีจำ� นวน 316,560 ราย พนื้ ที่ 4.27 ล้านไร่ โดยมเี ป้าหมายในการสง่ เสริมและสนับสนุนใหป้ ระชาชนทีอ่ ยูอ่ าศยั หรอื ทำ� กนิ ในพ้ืนทีป่ า่ อนุรักษ์ดงั กล่าว ได้มีสว่ นร่วมในการปลูกปา่ ดูแลป่า และอยู่ร่วมกบั ป่าแบบพ่ึงพากัน เพม่ิ ความสมบรู ณ์ เพม่ิ พูนความ หลากหลายทางชีวภาพ และใหบ้ ริการทางนิเวศอยา่ งย่งั ยืน โดยใชแ้ นวคดิ การสรา้ งป่าเชิงนิเวศเปน็ เครือ่ งมอื เพ่ือ สรา้ งให้เปน็ แหลง่ อาหาร ไมใ้ ช้สอย ยาสมุนไพร ดว้ ยการเกบ็ เกี่ยวผลผลติ ทห่ี ลากหลายจากการสร้างปา่ เชงิ นิเวศได้ ตลอดปี ช่วยลดรายจา่ ย สรา้ งรายไดใ้ ห้แก่ประชาชนไดอ้ ยา่ งย่งั ยนื เอกสารฉบับนี้ เปน็ การนำ� เสนอแนวคิดการสรา้ งปา่ เชงิ นิเวศ โดยเร่มิ จากท�ำความเขา้ ใจแนวคดิ ของระบบ นิเวศป่าเขตร้อน โครงสรา้ งป่าเชงิ นิเวศและแนวคดิ การสรา้ งป่าเชิงนเิ วศ หรือ โมเดลปลกู ปา่ นเิ วศ 7 ชน้ั (Seven layers ecoforest model) เพอ่ื เลอื กออกแบบสภาพปา่ และผลผลติ ทค่ี าดหวงั ในอนาคต แลว้ พจิ ารณาเลอื กพรรณไม้ ให้เหมาะสมกับพ้นื ทีแ่ ละหลกั เกณฑ์การปลกู ได้จากบัญชแี นบทา้ ย จ�ำนวน 4 บัญชี ซงึ่ แบง่ บญั ชีตามภมู ิภาคและ ระบบนเิ วศเดิมของพน้ื ที่ โดยส่วนทา้ ยของเอกสารเปน็ การด�ำเนนิ งานของภาครฐั ซง่ึ มสี ว่ นสนับสนนุ การสร้างปา่ เชงิ นเิ วศ ตวั อยา่ งพชื ปา่ ทสี่ รา้ งรายได้ และตวั อยา่ งการปลกู ปา่ เชงิ นเิ วศในรปู แบบตา่ ง ๆ ของเกษตรกรทปี่ ระสบความสำ� เรจ็ มาแลว้ เพื่อเปน็ แรงบันดาลใจให้แกผ่ ู้ทีส่ นใจและมีแนวคิดจะสร้างปา่ เชงิ นิเวศในพ้ืนทีข่ องตนเอง กรมอุทยานแห่งชาติ สัตวป์ า่ และพันธพุ์ ชื ขอขอบคุณหนว่ ยงานและราษฎรท่ชี ว่ ยอนุรกั ษ์ ฟนื้ ฟู ดูแลรักษา ทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนเิ วศ และความหลากหลายทางชวี ภาพ ใหเ้ ป็นแหล่งต้นนำ้� และทอี่ ยู่อาศัยของสตั ว์ป่า ทอ่ี ุดมสมบูรณ์ และให้บริการทางนิเวศท่ยี ั่งยืนเพ่ือประชาชนคนไทยสบื ไป (นายธัญญา เนตธิ รรมกุล) อธิบดกี รมอุทยานแหง่ ชาติ สัตวป์ ่า และพนั ธุ์พืช
สารบัญ บทนำ� 9 ระบบนิเวศปา่ เขตร้อน 13 โครงสรา้ งปา่ เชงิ นเิ วศ 21 ประโยชน์ของป่าเชงิ นิเวศ 29 แนวทางการสร้างป่าเชงิ นเิ วศ 35 หลักเกณฑ์การปลูก 37 วิธคี ัดเลอื กพรรณไม้ปลูกใหเ้ หมาะสม 41 - บญั ชีแนบท้ายท่ี 1.1 (ปา่ ดบิ เขา) ประเทศไทยตอนบน 44 - บญั ชแี นบท้ายที่ 1.2 (ป่าไม่ผลดั ใบ/ปา่ ดบิ ) ประเทศไทยตอนบน 46 - บัญชแี นบท้ายที่ 1.3 (ปา่ ผลดั ใบ) ประเทศไทยตอนบน 48 - บญั ชีแนบทา้ ยที่ 2 (ปา่ ไม่ผลัดใบ/ปา่ ดบิ ) ประเทศไทยตอนล่าง 50 ข้นั ตอนการปลกู และการดูแล 54 การดำ� เนนิ งานของภาครฐั 57 ตวั อย่างพืชปา่ ทสี่ ร้างรายได ้ 61 ตัวอยา่ งการสร้างปา่ เชงิ นเิ วศทย่ี ั่งยืน 83 บรรณานกุ รม 93 ภาคผนวก ตารางภาคผนวกที่ 1 รายละเอยี ดพรรณไม้ทแ่ี นะน�ำเพอ่ื ปลกู ปา่ เชิงนเิ วศ 97 ตารางภาคผนวกที่ 2 ตัวอยา่ งพชื สมุนไพรเพ่ือสร้างรายได ้ 145 6
7 ส ้รางสม ดุลทางเศรษฐกิจ อ ุน ัรก ์ษความหลา สร้างสิง่ แวดล้อ ึ่พงพาตนเอง กหลายทาง ีชวภาพ ม
8
บทนำ� หลายทศวรรษท่ีผ่านมา บริเวณพนื้ ทอ่ี นรุ กั ษแ์ ละบริเวณโดยรอบ มรี าษฎร และภาคเอกชนได้ด�ำเนินกิจกรรมใช้ประโยชน์ที่ดินบางลักษณะท่ีไม่สอดคล้อง กบั ระบบนเิ วศตามธรรมชาติ โดยเฉพาะการปลกู พชื เชงิ เดย่ี วทเ่ี นน้ ผลกำ� ไร มกี าร ขยายพน้ื ที่เขา้ สพู่ น้ื ทปี่ า่ และการใชส้ ารเคมี สง่ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพและระบบ นเิ วศในเขตต้นน�ำ้ รวมถงึ การสญู เสยี ความหลากหลายทางชวี ภาพของพชื และ สตั ว์ นอกจากนคี้ วามจำ� เปน็ ในการลงทนุ ผลติ พชื ผลเกษตรยงั สง่ ผลตอ่ ภาวะหนสี้ นิ ภาคครวั เรือน ขณะเดยี วกนั กลไกทางกฎหมายยังไมเ่ อ้ือให้สามารถสง่ เสริมหรอื สนบั สนนุ กิจกรรมตา่ ง ๆ กับราษฎรท่ีด�ำรงชพี ในพน้ื ท่อี นรุ กั ษไ์ ด้ เมื่อพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติพ.ศ.2562และพระราชบัญญัติ สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 มีผลใช้บังคับเป็นกฎหมาย ได้ก�ำหนดให้ราษฎรสามารถอาศัยและท�ำกินในพื้นที่อนุรักษ์เพื่อการ ด�ำรงชีพอย่างเป็นปกตธิ ุระได้ โดยมีหน้าท่ใี นการอนรุ กั ษ์ ฟื้นฟู ดแู ล รกั ษาทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศ และความหลากหลายทางชวี ภาพ อธิบดกี รมอทุ ยานแห่งชาติ สัตวป์ า่ และพันธุ์พชื (นายธัญญา เนตธิ รรมกลุ ) จึงมีนโยบายเพ่ือให้เกิดความยั่งยืนของสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและความ มน่ั คงในการดำ� รงชวี ติ อยา่ งเปน็ ปกตสิ ขุ ของราษฎรในพนื้ ทอี่ นรุ กั ษ์ โดยมอบหมาย ให้หน่วยงานในสังกัดด�ำเนินการส่งเสริมและเผยแพร่แนวทางการสร้างป่า เชงิ นเิ วศ ใหร้ าษฎรไดร้ ับทราบและเปน็ แนวทางปฏบิ ัติ เพือ่ นำ� ไปสูก่ ารสร้าง ความสมดุลระหว่างการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติในพ้ืนที่ อนรุ ักษต์ อ่ ไป 9
ปา่ นเิ วศ (ecoforest) : ป่าทถี่ กู ปลกู สร้างขึ้นเพื่อให้ ประโยชน์ 4 อยา่ ง มาพฒั นาใหเ้ กดิ แนวทางท่ีชัดเจน สภาพฟื้นกลบั มาเป็นป่าธรรมชาติ โดยการปลกู ชนิดไม้ เหมาะสมกับสถานการณ์ป่าไม้ในปัจจุบัน โดยเฉพาะการ ในท้องถ่นิ ดว้ ยเทคนคิ การปลูกหลายช้นั เรือนยอดเลยี น กำ� หนดรปู แบบการปลกู และการเลือกชนดิ ไมใ้ ห้ แบบโครงสร้างป่าธรรมชาติ โดยใชร้ ะยะปลกู ถี่ ปลกู แบบ เหมาะสมต่อสภาพภมู ิอากาศและภมู ปิ ระเทศ เพื่อท�ำให้ ส่มุ เพื่อช่วยเรง่ การเจรญิ เติบโต รน่ ระยะเวลาการสืบพนั ธ์ุ ปา่ กลบั มาเป็นป่าทีม่ ีโครงสร้างและระบบนิเวศใกล้เคยี ง ตามธรรมชาติ ท�ำใหป้ า่ เกดิ การทดแทนกลบั มาเปน็ ปา่ ปา่ สมบรู ณต์ ามธรรมชาติ ขณะเดียวกนั สามารถให้ ที่สมบูรณ์ไดเ้ ร็วกวา่ การฟ้นื ตัวตามธรรมชาติ ตลอดจน ผลผลิตแก่ราษฎรได้อย่างเหมาะสมตามวฒั นธรรมของ สรา้ งความหลากหลายทางชีวภาพ ตามทฤษฎกี ารปลูกปา่ แต่ละทอ้ งถิน่ โดยประมวลองคค์ วามรู้ด้านนิเวศวิทยา นิเวศของ ศ. ดร.อากิระ มิยาวากิ (สิรนิ ทร,์ 2559) ปา่ ไม้ พฤกษศาสตร์ วนวฒั นวิทยา/2 และระบบวนเกษตร พรอ้ มทัง้ จดั ทำ� แนวทางหรอื โมเดลในการสร้างปา่ ซงึ่ เปน็ จะเหน็ วา่ ป่านเิ วศ เป็นการปลูกปา่ เลยี นแบบ แนวทางหนึ่งในการแก้ปัญหาเร่อื งคนอยู่กับปา่ ไดอ้ ยา่ ง โครงสร้างปา่ ธรรมชาติ โดยเน้นการฟนื้ ตัวของป่าใหก้ ลบั ยง่ั ยืน มาเป็นปา่ ไมท้ ่สี มบรู ณ์ตามธรรมชาตเิ พ่อื การรกั ษาสิง่ แวดลอ้ ม มิไดเ้ น้นการสร้างผลผลิตจากป่าในเชงิ เศรษฐกิจ แนวทางการปลูกปา่ ท่ีจะได้นำ� เสนอต่อไป จงึ ใช้คำ� วา่ ซ่ึงกรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั ว์ป่า และพนั ธ์พุ ชื โดยส�ำนัก “ปา่ เชงิ นิเวศ” หรอื “ปา่ นิเวศ 7 ช้นั ” (Seven layers อนรุ กั ษ์และจดั การต้นน�้ำ ได้จดั ทำ� คมู่ อื การปลูกป่าเลยี น ecoforest) (ในนยิ ามทแ่ี ตกตา่ งจากคำ� วา่ ป่านเิ วศ) ใน แบบธรรมชาติ มาก่อนแลว้ (ส�ำนักอนรุ กั ษแ์ ละจดั การ นิยามวา่ ปา่ ท่ีถกู ปลกู สร้างขึ้นมา โดยเนน้ การปลกู พชื ป่า ต้นน้�ำ, 2563) ซ่งึ แนวทางปลกู ปา่ ดงั กลา่ วเหมาะสมที่ ที่ช่วยฟนื้ ฟรู ะบบนิเวศ/3 พืชป่าเศรษฐกจิ /4 และบางสว่ น จะใชใ้ นการฟนื้ ฟูพื้นทีป่ ่าเส่ือมโทรมใหก้ ลับมาเปน็ ป่าท่ี เป็น พืชเกษตร/5 ทีเ่ ป็นมติ รต่อระบบนิเวศป่าไม้ เพื่อสรา้ ง สมบูรณด์ ้วยพรรณไมพ้ ้ืนเมืองในทอ้ งถิ่น โดยพ้นื ท่ดี ำ� เนนิ ป่าเลยี นแบบธรรมชาติใหม้ ีโครงสรา้ งปา่ หลายช้ันเรอื น การไม่มีราษฎรเขา้ ไปครอบครองซ้อนทับกบั พ้ืนทีป่ า่ ยอดและมีองคป์ ระกอบของชนดิ พรรณไม้ท่ีหลากหลาย อนุรักษใ์ นความดแู ลของกรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั วป์ ่า คล้ายคลงึ กับป่าตามธรรมชาตมิ ากท่ีสดุ ขณะเดียวกัน และพนั ธ์ุพชื สามารถให้ผลผลิตท่ีหลากหลายหมนุ เวยี นกันไปตลอดปี แกช่ มุ ชนทอ่ี าศยั อยูใ่ กลเ้ คยี งไดอ้ กี ดว้ ย ส�ำหรับการจดั การป่าไม้ในพืน้ ทีป่ ่าอนรุ ักษ์ท่ีมีราษฎร อยอู่ าศัยท�ำกิน จะต้องมองบริบทด้านสังคมและเศรษฐกิจ วัตถุประสงคข์ องการจดั ทำ� เอกสารการสร้างปา่ เชิง ควบคู่กับดา้ นสิ่งแวดล้อมไปพรอ้ ม ๆ กนั ซึง่ กรมอุทยาน นิเวศ เพ่อื ความมน่ั คงของราษฎรที่อาศยั ในพ้ืนทีอ่ นรุ กั ษ์ แห่งชาติ ฯ ได้นอ้ มน�ำแนวทางของพระบาทสมเด็จ เพ่อื สง่ เสริมให้ราษฎรท่อี าศัยอยใู่ นป่าอนรุ กั ษ์ตาม พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช พระราชบญั ญัติสงวนและคุ้มครองสัตวป์ า่ พ.ศ. 2562 (รชั กาลท่ี 9) มาดำ� เนินการจนถึงปจั จุบนั คอื การปลูก ในมาตรา 121 และพระราชบัญญตั อิ ุทยานแหง่ ชาติ พ.ศ. ปา่ 3 อย่าง ใหป้ ระโยชน์ 4 อยา่ ง /1 ทีใ่ ชต้ ่อเน่ืองมายาว 2562 ในมาตรา 64 เข้าใจถึงความส�ำคัญของป่าไม้ นานกว่า 40 ปี และเปน็ แนวทางน�ำไปปฎิบตั ใิ นการสรา้ งปา่ ให้กลบั มา สมบูรณ์ มคี วามหลากหลายทางชีวภาพ และราษฎร เพ่อื ให้สอดคล้องกบั พระราชบญั ญตั สิ งวนและ มีแหลง่ อาหารและรายได้ทมี่ ่ันคง ไม่เพยี งเฉพาะราษฎร คุม้ ครองสตั วป์ า่ พ.ศ. 2562 ในมาตรา 121 และพระ ทที่ ำ� กินในพืน้ ท่ีปา่ อนรุ ักษ์เท่านน้ั แนวทางการปลูกป่า ราชบัญญัตอิ ุทยานแหง่ ชาติ พ.ศ. 2562 ในมาตรา 64 จงึ เชิงนิเวศนย้ี ังสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ไดด้ กี บั แนวทาง น�ำหลักการ ปลกู ปา่ นิเวศ และ การปลกู ป่า 3 อย่าง ให้ เกษตรทฤษฎใี หม่ และ โคก-หนอง-นา โมเดล ในพนื้ ท่ี ท�ำกนิ ของราษฎรทัว่ ประเทศอกี ด้วย 10
เชงิ อรรถ /1 “การปลูกปา่ 3 อย่าง ใหป้ ระโยชน์ 4 อย่าง ซ่ึงได้ไม้ผล ไม้สร้าง บ้าน และไมฟ้ นื น้นั สามารถให้ประโยชน์ได้ถึง 4 อย่าง คือ นอกจาก ประโยชนใ์ นตวั เองตามชอ่ื แลว้ ยงั สามารถให้ประโยชนอ์ ันที่ 4 ซึ่งเปน็ ขอ้ สำ� คัญ คอื สามารถช่วยอนรุ ักษ์ดินและต้นนำ�้ ลำ� ธารด้วย” พระราชด�ำรสั ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 เม่ือวันท่ี 7 มกราคม พ.ศ. 2523 ณ โรงแรมรนิ ค�ำ อ.เมอื ง จ.เชยี งใหม่ /2 วนวฒั นวทิ ยา คอื ศาสตรท์ ี่นำ� การประยุกต์ศิลป์และวิทยาศาสตร์ มาใช้ควบคมุ การเกิด การเจรญิ เติบโต องค์ประกอบ สขุ ภาพ และคณุ ภาพ ของปา่ เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการ และความพงึ พอใจอันหลากหลาย ของสังคม /3 พชื ปา่ ที่ช่วยฟืน้ ฟูระบบนเิ วศ คือ พืชทีเ่ ปน็ สายพนั ธ์ุดั้งเดมิ จาก ปา่ ทุกลักษณะวิสัย ส่วนใหญเ่ ปน็ พรรณไม้พ้นื เมืองของประเทศไทย (native species) มกั จะเปน็ ไมโ้ ตเรว็ และสามารถขยายพนั ธ์อุ อกดอก ติดผลได้อย่างรวดเร็ว (คณุ สมบตั ขิ องไมเ้ บกิ น�ำ/ไมพ้ ี่เลย้ี ง) มรี ะบบรากที่ หนาแน่นช่วยยดึ โครงสร้างช้นั ดนิ หรอื ให้ผลเปน็ อาหารแกส่ ตั วป์ า่ จำ� นวน มาก ซึง่ คณุ สมบัติของพรรณไมเ้ หลา่ น้จี ะชว่ ยสร้างร่มเงา เพม่ิ ความชุ่มช้ืน ปรบั ปรงุ ดิน ปอ้ งกนั การชะลา้ งหน้าดิน/ดนิ ถลม่ หรอื เป็นแหลง่ อาหารให้ แกส่ ัตว์ป่าไดด้ ี /4 พืชป่าเศรษฐกจิ (ตามนิยามในเน้อื หาของหนงั สือเลม่ น)ี้ คือ พืชท่ี เปน็ สายพันธ์ดุ ้งั เดิมจากปา่ ทุกลักษณะวิสยั ส่วนใหญจ่ ะเปน็ พรรณไม้พนื้ เมอื งของประเทศไทย หรือบางชนิดอาจเป็นพืชป่าพ้นื เมอื งมาจากตา่ ง ประเทศทีไ่ ม่มนี สิ ยั เปน็ พืชรกุ รานต่อพรรณไม้พื้นเมือง สามารถนำ� มาปลูก ใหผ้ ลผลิตเพือ่ การใชป้ ระโยชน์ภาคครัวเรือนหรือเพือ่ การคา้ กไ็ ด้ ท้งั ในรปู แบบเน้อื ไม้ หรอื ของปา่ ชนิดตา่ ง ๆ /5 พชื เกษตร คอื พชื ทมี่ กี ารปลกู อยา่ งแพร่หลายในระบบการเกษตร เพอ่ื การใช้ประโยชนห์ รือการค้า โดยเกือบทัง้ หมดเปน็ พนั ธ์ุพืชทีม่ กี ารคดั เลอื กและปรับปรุงพนั ธุกรรมแล้ว ไม่ใชส่ ายพนั ธด์ุ ัง้ เดมิ มาจากป่า 11
12
ระบบนิเวศป่าเขตร้อน ประเทศไทยตง้ั อยใู่ นเขตภมู อิ ากาศแบบเขตรอ้ น (tropical climate) พืชพรรณตามธรรมชาติ ทีม่ ถี ่นิ ก�ำเนดิ ในบรเิ วณน้ี มีชว่ งระยะเวลาการเจรญิ เตบิ โตท่ียาวนานตลอดปี ดว้ ยมีอุณหภมู แิ ละ ปริมาณน้ำ� ฝนทเี่ หมาะสม สง่ ผลให้มีความหลากหลายด้านชนิดทง้ั พืช สตั ว์ และจุลินทรยี ์ เปน็ จ�ำนวนมาก นำ� ความอุดมสมบรู ณ์ต่อปจั จยั สใี่ ห้แก่ผู้คนที่อาศยั อยใู่ นเขตนีอ้ ยา่ งชัดเจน ป่าไมท้ ป่ี กคลมุ ในเขตรอ้ นมหี ลายประเภทป่า แบง่ ออกอยา่ งกวา้ ง ๆ คือ ปา่ ผลัดใบ (deciduous forest) และป่าไมผ่ ลัดใบหรอื ปา่ ดบิ (evergreen forest) ซง่ึ มคี วามหลากหลาย ทางชีวภาพทงั้ ด้านจำ� นวนชนิด พันธุกรรม และระบบนเิ วศที่แตกตา่ งกนั โดยปกตปิ า่ ไม่ผลัดใบจะมี ความหลายหลายทางชวี ภาพทม่ี ากกวา่ ปา่ ผลดั ใบ เพราะตงั้ อยใู่ นพนื้ ทที่ ม่ี คี วามชมุ่ ชน้ื อยา่ งเพยี งพอ เกือบตลอดทั้งปี อนั เป็นปจั จยั ส�ำคัญตอ่ การดำ� รงชวี ติ ของสงิ่ มีชีวิต ดว้ ยความหลากหลายของชนิดพชื จงึ ทำ� ใหป้ ่าไม้ใน เขตรอ้ นมคี วามหนาแน่นของจ�ำนวนตน้ ไม้ และพรรณไม้ ตา่ ง ๆ ท่ปี รบั ตัวใหส้ ามารถขนึ้ อย่รู ่วมกันในพนื้ ท่ีจำ� กดั ไดอ้ ย่างสมดลุ และให้ผลผลิตหมุนเวยี นกันไปตลอดทงั้ ปี มกี ารจดั เรยี งตวั ของเรอื นยอดไมล้ ดหลน่ั กนั ตามลักษณะวิสยั * (habit) ของพรรณไมแ้ ต่ละชนิด เชน่ ไม้ตน้ ขนาดใหญ่ ไม้ต้นขนาดเล็ก ไมพ้ ุม่ ไม้ล้มลกุ ไม้นำ้� ไม้เถา ไมอ้ งิ อาศัย * ลกั ษณะวสิ ยั (habit) ของพชื หมายถงึ รูปรา่ งลกั ษณะภายนอกตามธรรมชาติ ของพรรณพชื ทม่ี องเหน็ ได้ ซง่ึ ถกู กำ� หนด มาจากลักษณะทางพันธกุ รรม เช่น ไม้ตน้ ไมพ้ ่มุ ไม้เถา ไมล้ ม้ ลกุ โครงสรา้ งแนวตง้ั ปา่ ดบิ ในธรรมชาติ 13
นอกจากลักษณะวิสยั แลว้ ยงั มคี วามต้องการด้านปัจจยั แวดลอ้ มต่อการเจริญเติบโตที่ไม่ เหมอื นกันของพืชแตล่ ะชนดิ (นเิ วศวทิ ยาของพชื ) ปจั จัยหลกั คือปรมิ าณแสงแดดทเ่ี หมาะสม ตอ่ การเจรญิ เตบิ โต ซงึ่ พืชบางชนิดท่ตี ้องการแสงมากจะข้นึ ได้ในทีโ่ ล่งหรือมเี รือนยอดสูงอยู่ ด้านบน พืชบางชนดิ ท่ีตอ้ งการแสงน้อยจะข้นึ อยูต่ ามพื้นป่าท่ีมแี สงสอ่ งลงมาเพยี งเล็กนอ้ ย นอกจากนพี้ รรณไม้ในป่าเขตรอ้ นยงั มีการจัดเรียงตัวทางด้านราบแตกตา่ งกนั ไปในแตล่ ะชนดิ โดยมีปัจจัยหลักคือระดับความชุ่มช้ืนของชั้นดิน ท่ีเกิดจากสภาพภูมิประเทศต่�ำ-สูง ช้ันดิน ตื้น-ลึก แตกตา่ งกันหรอื มีแหลง่ น้�ำไหลผา่ นพื้นที่ จึงทำ� ให้พชื ทชี่ อบดนิ ระบายนำ้� ดแี ละทนแล้ง ได้ดีปรากฏบนพนื้ ท่ีโคก-ดอน หรือบรเิ วณที่มีชนั้ ดนิ ตืน้ /มีทราย/หินปะปนอยู่มาก ส่วนพืช บางชนิดท่ีชอบพื้นที่ชื้นแฉะน้�ำ จะพบได้ตามท่ีลุ่มหรือริมตล่ิงล�ำธาร ป่าเขตร้อนในธรรมชาติ 14
โครงสร้างเรือนยอดดา้ นต้งั ของปา่ ดิบธรรมชาติ ทส่ี มบูรณจ์ ะมโี ครงสรา้ งตามแนวตั้งของชนั้ เรือนยอด (vertical structure) ท่ซี ับซ้อน ลดหลั่นเป็นหลายชั้นเรือนยอด มีสูงสุดไดถ้ ึง 5 ชั้น ได้แก่ 1 เรอื นยอดโดด (emergent layer) ปกติสงู มากกว่า 30 เมตร 2 เรือนยอดชัน้ บน (canopy layer) สูง 20-30 เมตร 3 เรอื นยอดชั้นลา่ ง (under canopy layer) สงู 7-20 เมตร 4 เรอื นยอดชนั้ ไม้พุ่ม (shrub layer) สูง 2-7 เมตร 5 เรอื นยอดช้นั พน้ื ปา่ (forest floor layer) สงู ไมเ่ กนิ 2 เมตร 15
ป่าทม่ี หี ลายชั้นเรอื นยอดแสดงถงึ ความหลากหลาย ของชนิดท่มี จี ำ� นวนมาก สามารถสร้างความชมุ่ ชนื้ ใน บรรยากาศโดยรอบ ชว่ ยปกปอ้ งความชื้นภายใตเ้ รือน ยอดต้นไม้และผวิ หน้าดิน รวมถงึ ช่วยป้องกันการชะล้าง เพราะส่งิ มีชีวิตต่าง ๆ ได้เข้ามาใชพ้ ้ืนท่รี ว่ มกันในการดำ� รง พังทลายของหนา้ ดนิ ดินถล่ม ไปจนถงึ เหตกุ ารณน์ �้ำป่า ชวี ติ ทุกพ้นื ทวี่ า่ งในป่าถูกใชป้ ระโยชน์ไดท้ ั้งหมด ไหลหลากไดเ้ ปน็ อย่างดอี กี ดว้ ย เม่อื ระดับความชมุ่ ชื้นใน ปา่ เชงิ นิเวศทีส่ มบรู ณแ์ ละมชี นิดพืชที่หลากหลายจะมี ชั้นดนิ สะสมอยู่ยาวนาน ประกอบกบั มซี ากพชื ซากสัตว์ที่ ผลผลติ จากปา่ ออกมาได้หลากหลายตามไปดว้ ย ไม่ว่าจะ ตกลงสผู่ วิ ดินทบั ถมยอ่ ยสลายผสมไปกับเนื้อดนิ ทำ� ใหด้ นิ เปน็ ยอดอ่อนใบไม้ หนอ่ ไม้ ดอกไม้ท่ใี ชเ้ ป็นผัก ผลไม้ปา่ ที่ ในปา่ มคี วามอุดมสมบูรณ์ หมุนเวียนธาตุอาหารกลับคืน ออกหมนุ เวยี นกนั ไปตลอดทงั้ ปี พชื หวั ใตด้ นิ เปลอื กไม้ ยางไม้ สู่พรรณพืชและสัตว์ขนาดเล็กหน้าดินได้ใช้ประโยชน์ แกน่ -ทอ่ นไม้ ทสี่ ามารถใช้เป็นอาหารหรือสมนุ ไพร หรือ วนเวียนกนั ไปเป็นวัฏจกั ร แม้แตน่ ้ำ� ผง้ึ ป่าท่ไี ด้จากน�้ำหวานจากดอกไม้นานาพรรณ ป่าเขตรอ้ นท่ีสมบรู ณจ์ ะมีกระบวนการของระบบ ทีเ่ กดิ ขึน้ ตลอดท้ังปี ป่าที่สมบูรณจ์ ะดงึ ดูดใหส้ ัตว์ป่า โดย นเิ วศที่ซับซ้อนระหวา่ งพชื พรรณ สตั ว์ป่า จลุ ินทรีย์ ดนิ น้�ำ เฉพาะนก คา้ งคาว กระรอก และแมลงตา่ ง ๆ อพยพเขา้ อากาศ และแสงแดด ให้สามารถดำ� รงอยรู่ ว่ มกันได้อยา่ ง มาใชป้ ระโยชน์จากใบไม้ ดอกไม้ ผลไม้ ฯลฯ เพอื่ ใชเ้ ปน็ สมดลุ ปา่ ทีเ่ สอื่ มโทรมมีกระบวนการฟืน้ ฟตู วั เองหรือ อาหาร สรา้ งรงั สืบพันธุ์ เป็นผลดมี ากต่อการช่วยควบคุม กระบวนการทดแทนตามธรรมชาติ (natural succes- การระบาดของศัตรพู ืช การชว่ ยผสมเกสร และการชว่ ย sion) ไปเรอ่ื ย ๆ โดยวัดไดจ้ ากการเพม่ิ ขึน้ ของจำ� นวน น�ำพาเมลด็ พันธไุ์ มป้ ่าจากพนื้ ทอี่ ่นื ๆ เขา้ มาเจริญเติบโต ชนดิ /สายพนั ธ์ุของสิ่งมชี ีวติ ระดับความชุ่มชนื้ ในป่ามีมาก ในพ้ืนท่ี ชว่ ยเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ การ ข้นึ มีการสะสมเพิ่มข้ึนของธาตุอาหารและพลังงานในรปู กลับมาของสัตว์ป่าจงึ ย่ิงชว่ ยใหส้ ภาพป่าฟน้ื ฟูตัวเองได้ ของมวลชวี ภาพทัง้ ในตน้ ไม้และในดนิ ปา่ มีความสามารถ เรว็ ขน้ึ เกดิ สมดุลของระบบนเิ วศป่าไมร้ ะหว่างพรรณพืช ในการซอ่ มแซมตวั เองไดอ้ ยา่ งรวดเร็วเมือ่ ป่าถูกรบกวน สตั วป์ ่า แมลง เห็ด และจลุ นิ ทรยี ์ ที่มั่นคงมีเสถียรภาพ หรืออีกนยั หนึ่งคอื ป่ามเี สถียรภาพมัน่ คงมากข้ึน เราเรยี ก มากขึน้ น่นั หมายความวา่ ปา่ เชงิ นเิ วศจะสามารถดำ� รง ป่าทีม่ ีกระบวนการทดแทนตามธรรมชาติจนเขา้ ส่รู ะดับ อยไู่ ดด้ ว้ ยตวั เองและใหผ้ ลผลติ อยา่ งมนั่ คง โดยมนษุ ย์ ทีม่ เี สถยี รภาพสงู สุดวา่ ปา่ สมบูรณ์ขน้ั สูงสดุ (climax แทบจะไมต่ ้องเขา้ ไปจดั การใด ๆ เพยี งแตช่ ว่ ยควบคุม forest) แสงแดดด้วยการตดั แตง่ กง่ิ หรือการตัดสางขยายระยะ ตน้ ไม้ใหญเ่ ม่ือถึงอายุการเก็บเกี่ยว หรือช่วยกำ� จัดชนิดที่ ปา่ เชิงนเิ วศท่เี ขา้ สขู่ ั้นสมบูรณ์สงู สุดนี้จะสามารถ เปน็ อันตรายให้ออกไปจากพืน้ ท่ี เช่น พชื ต่างถิ่นรุกราน ช่วยรักษาสงิ่ แวดลอ้ มไดด้ ี สามารถให้ผลผลิตทสี่ ม่�ำเสมอ (invasive alien species) และมีความหลากหลาย สงู สดุ เต็มศักยภาพของปัจจยั แวดล้อมทางกายภาพของพื้นท่ี ปา่ ทมี่ ีเสถยี รภาพดา้ น ทั้งหมดทก่ี ลา่ วมานีค้ ือ ต้นแบบของการสรา้ งปา่ เชิง ผลผลิตทสี่ ม่ำ� เสมอนั้นเป็นความใฝ่ฝนั ของนักจดั การปา่ นิเวศ ซงึ่ จะกลา่ วในหวั ขอ้ ต่อไป หากแต่ผนู้ ำ� ไปใช้จ�ำเปน็ ไม้ ถกู เรียกวา่ ป่าสมบรู ณใ์ นอุดมคติ (normal forest) ต้องเรียนรู้และใช้ประสบการณ์ที่จะเก็บเก่ียวผลผลิต เหล่านั้นออกมาอยา่ งไรไมใ่ ห้เกินก�ำลังการฟืน้ ตัวเองของ ระบบนิเวศ เรากจ็ ะสามารถอยู่ร่วมกับป่าไดอ้ ยา่ งยงั่ ยืน เป็นรปู ธรรมทีแ่ ท้จริง 16
ปา่ ดบิ แล้งทส่ี มบรู ณ์ (ปา่ ไมผ่ ลัดใบ) ป่าดบิ เขาทส่ี มบูรณ์ (ป่าไมผ่ ลัดใบ) 17
ป่าเบญจพรรณทสี่ มบรู ณ์ (ปา่ ผลดั ใบ) ป่าดบิ ชื้นทส่ี มบรู ณ์ (ปา่ ไม่ผลดั ใบ) 18
สำ� หรบั ปา่ ผลดั ใบซงึ่ จะพบในพนื้ ทที่ ม่ี ขี อ้ จำ� กดั ดา้ นกายภาพ คอื ความแหง้ แลง้ อันเกดิ จากปริมาณนำ�้ ฝนทมี่ นี ้อยหรอื สภาพดินทไี่ มอ่ มุ้ นำ�้ และบางปอี าจมไี ฟป่า เข้ามารบกวนอกี ด้วย จะมคี วามหลากหลายทางชีวภาพนอ้ ยกว่าป่าไม่ผลัดใบ ท�ำให้พรรณไมข้ น้ึ เบาบางกวา่ และมจี ำ� นวนช้ันเรือนยอดน้อยกวา่ ปา่ ไม่ผลัดใบ เชน่ ป่าเบญจพรรณ (mixed deciduous forest) และ ป่าเต็งรงั (deciduous dipterocarp forest) ในขอ้ เสยี ยังมคี วามไดเ้ ปรียบของป่าผลดั ใบ เพราะไมป้ า่ มีคา่ ทางเศรษฐกิจจำ� นวนมากขึน้ ไดด้ ีและให้ผลผลติ เปน็ เนื้อไม้ท่ีมคี ณุ ภาพดี สามารถพบในป่าชนดิ น้ี เชน่ สัก ประดู่ปา่ มะค่าโมง ชงิ ชนั แดง เป็นตน้ หาก มกี ารจดั หาแหลง่ น�้ำ ปรับพนื้ ที่ ปรบั ปรุงดินทดี่ ี ตลอดจนคดั เลือกพันธุ์พชื ท่ี เหมาะสมแล้ว กจ็ ะสามารถฟนื้ ฟูพื้นทแี่ หง้ แลง้ ให้กลบั มามคี วามชมุ่ ชื้นใกลเ้ คยี ง ปา่ ดบิ หรือไม่ก็สามารถสรา้ งรายไดใ้ ห้สงู กว่าพ้นื ที่ทีม่ ีความชุ่มชน้ื มากกวา่ ได้ เช่นกนั 19
20
โครงสรา้ งป่าเชิงนเิ วศ การปลกู ป่าเชิงนเิ วศไดแ้ นวคดิ มาจากการจำ� ลองโครงสรา้ งช้ันเรือนยอดปา่ ตามธรรมชาติ ให้มีจ�ำนวนชนั้ เรอื นยอดมากทสี่ ดุ คล้ายกบั ทพี่ บในป่าธรรมชาติ โดยคดั เลอื กพรรณไมต้ ามลกั ษณะ วสิ ยั ของพืชท้ัง 7 วสิ ัย มาปลกู ใหเ้ กดิ เปน็ ปา่ ที่มชี ้นั เรอื นยอดแบง่ ออกเป็น 7 ชัน้ เรอื นยอด จงึ มีการ ใช้ประโยชน์พื้นทที่ ม่ี อี ยอู่ ยา่ งจ�ำกดั ไดส้ งู สดุ ทกุ มติ ิ ทงั้ การกระจายตวั ปกคลุมทัว่ ในแนวราบ การ กระจายตัวในแนวตง้ั ท้งั พ้นื ท่เี หนือผวิ ดนิ บนผวิ ดิน ใต้ผวิ ดนิ และในแหลง่ นำ้� ป่าเชิงนิเวศ จึงเรียก อกี ชอ่ื หนึ่งวา่ “ป่านเิ วศ 7 ชนั้ ” โดยมโี ครงสรา้ งป่า ลักษณะของพรรณพชื หน้าที่ต่อระบบนิเวศ และผลผลิตในแต่ละชนั้ เรือนยอดเป็นอย่างไรบ้างนั้น มีรายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี 1. เรอื นยอดโดด (emergent layer) : สงู มากกวา่ 20 เมตร ประกอบด้วย ไมต้ น้ ขนาดใหญ่ (large tree) โดยปกตพิ รรณไมใ้ นกลุ่มน้ี ต้องการแสงแดดมาก ลำ� ต้นเปลาตรงสงู ชะลดู แตกกงิ่ ก้านแผ่กว้างที่ดา้ นบน สุดของลำ� ต้น มรี ะบบรากขนาดใหญ่และอยูล่ กึ ตน้ ไม้มีอายุยืน สว่ นใหญ่จะ เป็นชนิดทใ่ี ห้ผลผลิตเป็นเน้ือไม้มคี า่ ทม่ี รี อบตัดฟันอย่างนอ้ ย 30 ปขี ้นึ ไป หรือ ใหผ้ ลผลิตเป็นผลไม้ปา่ ซ่งึ โดยปกติจะออกดอกติดผลเมอื่ มอี ายุ 7-10 ปขี น้ึ ไป ถงึ แมใ้ หผ้ ลผลติ ช้า แต่เราไดใ้ ช้ประโยชนท์ างอ้อมที่ช่วยรักษาระบบนิเวศ จาก เรือนยอดชั้นนี้ต้ังแตเ่ ร่มิ ปลกู เชน่ สรา้ งร่มเงาร�ำไร ก�ำบังลม ระบบรากท่ลี ึกจะ ช่วยยึดโครงสร้างดินไม่ให้เล่ือนไถล รักษาความชุ่มช้ืน และช่วยปลดปล่อย ธาตอุ าหารชว่ ยปรบั ปรงุ ดินให้สมบรู ณข์ ้ึน จงึ เป็นประโยชนต์ อ่ พรรณไม้ทอ่ี าศยั อยูช่ ้ันลา่ งลงไป หรอื ช่วยผลิตดอกไมท้ ่ใี หน้ ้�ำหวานและเกสรเพ่ือดึงดูดให้ผง้ึ มาเกาะสรา้ งรัง นอกจากนยี้ งั เปน็ ท่อี ยอู่ าศยั ของสัตวป์ า่ อกี มากมาย เช่น นก กระรอก คา้ งคาว ชะมด ซึ่งเป็นสัตว์ทส่ี ามารถช่วยก�ำจัดศตั รพู ชื และชว่ ยผสม เกสรดอกไม้ได้ดี โดยป่าท่ปี ลกู ในชว่ งประมาณ 20 ปีแรก เรอื นยอดชัน้ นี้อาจยัง ไมป่ รากฏ เน่ืองจากตน้ ไมย้ งั โตได้ไม่เต็มท่ีตามลกั ษณะวิสยั 21
1. เรือนยอดโดด 2. เรือนยอดช้ันบน 3. เรอื นยอดชน้ั ลา่ ง 22
โครงสร้างปา่ เชิงนิเวศ หรอื ป่านเิ วศ 7 ชน้ั 4. เรือนยอดช้นั ไมพ้ ุม่ 5. ชน้ั พน้ื ป่า 6. ชั้นไม้เถาและไมอ้ งิ อาศัย 7. ชั้นพืชนำ�้ 23
2. เรือนยอดชนั้ บน (canopy layer) : สูง 10-20 เมตร ประกอบด้วย ไม้ตน้ ขนาดกลาง (medium tree) พชื ในกลมุ่ ไผข่ นาดใหญ่ หรอื กลมุ่ ไมเ้ บกิ นำ� หรอื ไมพ้ เ่ี ลยี้ ง (pioneer species) โดยปกตพิ รรณไมใ้ นกลมุ่ นี้ ต้องการแสงแดดมาก และมอี ายยุ นื เช่นเดยี วกบั ชัน้ เรอื นยอดโดด แตด่ ้วย ความสูงใหญ่ของล�ำต้นถูกจ�ำกัดด้วยลักษณะทางพันธุกรรม พรรณไม้ที่อยู่ ในช้ันเรอื นยอดนจ้ี ะเป็นกลุ่มท่ีให้ผลผลิตเปน็ เนือ้ ไมม้ ีค่า ไมใ้ ช้สอย วัสดุงาน- หตั ถกรรม ยาง-ชนั ไม้ ผลไม้ปา่ สมนุ ไพร ในชนั้ เรอื นยอดนไี้ ด้รวมเอากลมุ่ ไม้เบิกนำ� เขา้ ไว้ด้วย เพื่อการส่ือความหมาย ระบบการปลูกใหช้ ัดเจน โดยมีลกั ษณะวิสยั ท่ีเปน็ ได้ท้งั ไมต้ น้ ขนาดกลางจนถึง ไมต้ น้ ขนาดใหญ่ ด้วยลักษณะเดน่ ท่ีเป็นไมโ้ ตเร็ว ปกคลุมพืน้ ท่ีและวชั พชื ได้ดี จึงเลือกปลูกไว้เป็นพเ่ี ล้ยี งแก่พชื กลุ่มอน่ื ๆ ในชว่ ง 10 ปีแรก ซึ่งจะช่วยพราง แสง ควบคุมวชั พชื ช่วยปรบั ปรุงดนิ และใหค้ วามช่มุ ชื้นแกพ่ รรณไมก้ ลุ่มอ่นื ๆ เมือ่ เรือนยอดแผ่ไปรบกวนไม้กลุ่มอืน่ ๆ ให้ใช้ วิธกี ารตัดแตง่ กิง่ หรือ วิธีตัด สางขยายระยะ * เม่ือเรือนยอดชดิ กันเกนิ ไป หรอื จะเก็บไวห้ ากยังให้ประโยชน์ ใช้สอยอื่น ๆ เช่น ไมไ้ ผ่ ไมผ้ ลหรอื ไม้ดอกท่ีดึงดูดนกและสัตวป์ ่าอื่นไดด้ ี * การตัดสางขยายระยะ (thinning) คอื การจัดการป่าไม้วธิ ีหน่ึงดว้ ยการเลือกตดั ตน้ ไมบ้ างส่วนออกเพือ่ ลดความหนาแนน่ ของตน้ ไมท้ ข่ี ้ึนเบยี ดเสียดกัน ซ่ึงจะช่วย ปรับปรงุ คุณภาพผลผลติ และเพมิ่ การเจรญิ เตบิ โตของต้นไมท้ เี่ หลอื อยู่ 3. เรือนยอดชนั้ ล่าง (under canopy layer) : สูง 4-10 เมตร ประกอบด้วย ไม้ตน้ ขนาดเล็ก (small tree) พืชในกลมุ่ ไผข่ นาดเล็ก หรือ กลุ่มไม้เบกิ น�ำ ปกตพิ รรณไมใ้ นกลุ่มนี้มที งั้ ต้องการแสงแดดมากจนถงึ กลุม่ ที่ สามารถอาศยั อยูไ่ ด้ในที่มแี สงร�ำไร ดว้ ยลักษณะพนั ธกุ รรมทจี่ ำ� กดั ความสงู ของ ต้นไม้เองหรืออาจเปน็ พรรณไมใ้ นเรือนยอดชน้ั บนทย่ี ังมอี ายุนอ้ ย หรือผดู้ แู ล อาจปฏบิ ตั ิตอ่ ต้นไมท้ ปี่ กตมิ ีเรอื นยอดสูงในชน้ั บนทำ� การตดั แต่งกิ่งควบคมุ ความ สงู เพ่ือสะดวกตอ่ การดูแลและเกบ็ เก่ยี วผลผลติ พรรณไม้ท่ีอย่ใู นชน้ั เรอื นยอดนี้ เป็นกลุม่ ท่ีให้ผลผลิตเช่นเดียวกับเรือนยอดสองช้นั ทีอ่ ยู่เหนือขึน้ ไป หรือเป็นไม้ เบกิ นำ� ทีม่ ีความสงู ไม่มาก 4. เรอื นยอดชัน้ ไม้พุ่ม (shrub layer) : สูง 2-4 เมตร ประกอบดว้ ย ไมพ้ มุ่ (shrub : พชื ทมี่ เี นอื้ ไม้ และแตกกง่ิ ตำ�่ ) ในเรอื นยอดชน้ั ไมพ้ มุ่ จะช่วยรักษาความชุ่มชืน้ ในดินได้ดี เน่อื งจากพุ่มใบและกิง่ ท่มี คี วามหนาแน่น และอยใู่ กลผ้ ิวดินมากจะลดแรงตกกระทบของน้ำ� ฝนทผี่ า่ นเรอื นยอดไม้ชนั้ บน ลงมาสูผ่ ิวดินไดด้ ี ระบบรากของไม้พุ่มสามารถหาอาหารทีร่ ะดบั ไมล่ กึ มากเทา่ ไม้ต้น แต่มีความหนาแน่นมากท่ีระดับผิวดินจึงช่วยยึดเกาะหน้าดินได้ดี ที่ เรือนยอดชัน้ นแี้ สงแดดจะถกู กรองลดปรมิ าณแสงมาระดบั หนงึ่ แล้วจากเรอื น ยอดทัง้ สามชนั้ ท่ีเหนอื ขึ้นไป หากตอ้ งการเน้นผลผลติ จากพรรณไมใ้ นชั้นไม้พ่มุ 24
ควรควบคมุ ใหม้ ีแสงส่องลงมาถึงระดบั นี้ท่ี 30-50 % ซง่ึ ขน้ึ อยูก่ ับการเลือกชนดิ ไมพ้ ุ่มท่ชี อบแดดมากหรอื นอ้ ย พรรณไมพ้ ุ่มหลายชนิดสามารถใหผ้ ลผลิต ได้อย่างรวดเร็วเมอ่ื ปลูกไปได้ตงั้ แต่ 1-3 ปีแรก และสามารถเกบ็ เกีย่ วไปได้ ยาวนานหลายปี โดยสว่ นใหญใ่ หผ้ ลผลิตเปน็ พืชอาหารจำ� พวกผักกนิ ใบ ดอก ผลไม้ หรอื กลุ่มสมุนไพร หรอื กลุ่มพืชเกษตรท่ีเปน็ มติ รตอ่ ระบบนเิ วศปา่ ไม้ 5. ชัน้ พื้นปา่ (forest floor layer) : สูงไมเ่ กนิ 3 เมตร ประกอบด้วย ไม้ล้มลุก (herb : พืชที่ไม่มีเนื้อไม้) พบทั้งที่มี/ไม่มีหัวใต้ดิน ไม้ลม้ ลุกส่วนใหญม่ ีอายุปเี ดยี ว และโตเรว็ สามารถออกดอกและตดิ ผลเมอ่ื มีอายุ 2 เดอื นขน้ึ ไป แล้วแห้งตายหรือไม่ก็พักตัวลงหัวใต้ดินเมื่อเข้าสู่ฤดูแล้ง มี บางสว่ นมีอายขุ า้ มปีซึง่ มกั จะสรา้ งเนื้อไมเ้ ล็กน้อยทีโ่ คนต้น ไมล้ ม้ ลุกมวี ิสยั ย่อย ไดห้ ลายแบบ เชน่ ไมล้ ม้ ลุกมลี ำ� ต้นเป็นพ่มุ เตยี้ ไมล้ ้มลกุ แบบมีหวั /เหง้าใต้ดิน ไม้ลม้ ลุกแบบเล้ือยหรอื ทอดคลานใกล้ผิวดิน ไม้ลม้ ลกุ แบบมีลำ� ต้นสูงตั้งตรง สามารถเลือกปลกู ให้เหมาะสมได้มากมาย นอกจากนี้ ยงั มที ้งั ชนิดทีส่ ามารถ ขึน้ กลางแจ้ง-ท่มี ีแสงร�ำไร ใน 1-5 ปีแรก ๆ ทป่ี ลูกป่าควรจะปลกู ไมล้ ม้ ลุกและ ไมพ้ มุ่ เป็นจ�ำนวนมากก่อน เพอ่ื ใหช้ ว่ ยปกคลุมพน้ื ดินจากวชั พืชและการชะล้าง ผวิ หน้าดนิ จากน�้ำฝน และที่ส�ำคัญคือสามารถให้ผลผลติ ได้ภายในอายุ 2 เดอื น ถึง 1 ปี อยา่ งไรก็ตามหลงั จากปลูกป่าเข้าสู่ปที ่ี 5 เป็นตน้ ไป ควรเปลีย่ นมาปลูก ไม้ลม้ ลุกทีส่ ามารถทนรม่ เงาได้ดีขึ้น เช่น กลมุ่ พืชสมุนไพร หรือกล่มุ ไมป้ ระดับ เพราะเรอื นยอดของไมต้ ้นท�ำหน้าท่เี สมือนสแลนกรองแสงชนั้ ดแี ละชว่ ยคาย ความชุ่มชน้ื ได้อีกดว้ ย 6. ชนั้ ไมเ้ ถาและไม้องิ อาศยั (climber and ephiphyte layer) : พรรณพืชท่ใี ชป้ ลกู ในระดบั นีจ้ ะมีความสูงไม่แน่นอน เนอ่ื งจาก ประกอบดว้ ยพชื ในกลุ่มไม้เถา (climber) และไมอ้ ิงอาศยั (ephiphyte) ตา่ ง ๆ โดยไม้เถาสว่ นใหญ่จะมีการเจรญิ เตบิ โตรวดเร็วและชอบแสงแดดมาก สามารถเลอ้ื ยขน้ึ เกาะเกยี่ วตามลำ� ตน้ หรอื กง่ิ ไมต้ า่ ง ๆ ได้ บางชนดิ อาจมคี วามยาว ได้ถงึ 40 เมตร ขณะทพ่ี ืชอิงอาศยั ใช้เพียงรากเกาะบนเปลือกไมห้ รอื คาคบไม้ บนเรือนยอดไม้เท่านั้น การปลูกพืชท้ังสองลักษณะวิสัยน้ี เป็นการใช้พื้นที่ว่าง ในปา่ สว่ นที่อยใู่ นแนวต้งั โดยพืชกลมุ่ นีจ้ ะไดร้ บั แสงแดดทเ่ี ขา้ มาจากด้านขา้ ง หรอื จากด้านบนที่ลอดผ่านกง่ิ กา้ นลงมา ไม้เถาและไม้องิ อาศัยสว่ นใหญจ่ ะให้ ผลผลิตทเ่ี ป็นสมนุ ไพรและวัสดุในงานหัตถกรรม บางสว่ นใช้เป็นอาหารหรอื ไมป้ ระดับ การปลูกไมเ้ ถาจ�ำเปน็ ตอ้ งตัดแตง่ กิ่งและเกบ็ เกี่ยวผลผลติ ออกมาใช้ อยู่เสมอ เพอ่ื ควบคมุ ไม่ใหป้ กคลุมไมต้ น้ จนเฉาตาย เพราะพ่มุ ใบของไม้เถา จะบดบังแสงและเถาของมนั จะรดั ตน้ ไม้จนเกิดรอยคอดและหักโค่นได้ ทั้งน้ี เพ่ือการดูแลรักษาและการเก็บเกี่ยวทสี่ ะดวกควรเลี้ยงพรรณไมใ้ นชัน้ น้ีทค่ี วาม สงู ไม่เกนิ 10 เมตร 25
7. ชัน้ พืชน้ำ� (aquatic plants layer) : ประกอบด้วย พชื นำ�้ (aquatic plant) ซึ่งอาศัยในแหลง่ น้ำ� และในพ้นื ท่ชี นื้ แฉะ พืชน้�ำเกือบทัง้ หมด เปน็ พืชลม้ ลกุ (ไม่มีเนอ้ื ไม)้ มนี ิสัยชอบขึ้นกลางแจง้ และเจรญิ เติบโตไดอ้ ย่าง รวดเร็ว จึงสามารถเก็บเกยี่ วผลผลิตไดเ้ กอื บตลอดทง้ั ปี บางชนดิ อาจพกั ตวั ชว่ ง ฤดหู นาว หรือเมอ่ื น�้ำแห้ง นอกจากใชเ้ ปน็ แหลง่ อาหารให้แก่ราษฎรแล้ว พชื นำ้� ยังเป็นแหล่งอาหาร ทีห่ ลบภัย และอาศัยวางไข่ใหแ้ ก่สตั วน์ �้ำได้อีกดว้ ย อีกท้ังยัง ช่วยบ�ำบัดคุณภาพนำ�้ ใหด้ ีขนึ้ สำ� หรบั ชนั้ พืชนำ�้ สามารถจดั ทำ� ไดเ้ ฉพาะในพื้นท่ี ทำ� กนิ ทม่ี ีการขุดสระน�ำ้ เพือ่ การเลย้ี งสตั วน์ ้ำ� หรือกกั เกบ็ น�้ำไว้ใช้ หรอื ในพ้ืนทท่ี ี่ มีล�ำหว้ ยไหลผ่านเท่านน้ั ป่าเชิงนเิ วศ อายุประมาณ 10 ปี ในภาคเหนอื 26
ป่าเชิงนเิ วศ (สวนสมรม) อายปุ ระมาณ 20 ปี ในภาคใต้ ปา่ เชงิ นิเวศ (สวนสมรม) อายุประมาณ 30 ปี ในภาคใต้ 27
ปา่ เชงิ นิเวศ ในพนื้ ท่ีเดมิ ทีเ่ คยเป็นปา่ เบญจพรรณเสอ่ื มโทรม เน้นผลผลิต กาแฟสายพนั ธ์ุอาราบกิ ้า ปลกู มาประมาณ 3 ปี ในจังหวดั กาญจนบุรี 28
ประโยชน์ของป่าเชงิ นเิ วศ ป่าเชงิ นเิ วศ เป็นแนวทางการปลกู สร้างป่าขึน้ มา ซึ่งกรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตวป์ า่ และพนั ธ์พุ ชื ได้ออกแบบใหเ้ หมาะสมตอ่ สภาพพื้นท่ขี องราษฎรทอ่ี าศัยอยู่ในเขตพื้นท่ปี ่าอนรุ ักษ์ จึงเน้นการคัดเลอื ก พรรณไม้จากพชื ป่าที่ชว่ ยฟื้นฟรู ะบบนิเวศ และพืชปา่ เศรษฐกิจ เปน็ หลัก น�ำมาปลกู ผสมผสานกับ พชื เกษตรบางสว่ นทส่ี ามารถปรับตวั ปลูกรวมในพ้ืนที่เดยี วกนั ได้โดยเปน็ มติ รตอ่ ระบบนิเวศป่าไม้ เพื่อ ให้เกดิ สภาพแวดลอ้ มที่คล้ายกับป่าธรรมชาติท่ีสมบูรณ์ ซง่ึ เต็มไปดว้ ยพรรณพืชนานาชนิดที่สามารถให้ ประโยชนแ์ กร่ าษฎรทงั้ ทางตรงและทางอ้อม ดังต่อไปนี้ ประโยชนท์ างตรง ประโยชน์ทางตรงท่ีได้รับจากการปลูกป่าเชิงนิเวศ คือ ผลิตผลต่าง ๆ ที่ราษฎรไดป้ ลูกลงไป แล้วทำ� การเก็บเกย่ี วผลผลติ ออกมาใช้บริโภคภายใน ครวั เรอื น ชว่ ยลดรายจา่ ย หรอื นำ� ไปขาย แปรรูปใหเ้ กดิ เป็นรายได้ ไดแ้ ก่ ดา้ นการปลูกพืช 1. พชื อาหาร : ยอดออ่ น ผลไม้ เมล็ดไม้ ดอก หัว เหงา้ หรือหน่อ 2. พืชสมุนไพรและเคร่ืองเทศ : ส่วนต่าง ๆ จากพืชทถี่ กู นำ� มาใชใ้ นการ ปรงุ ยาสมนุ ไพร หรือเครอื่ งเทศท่ีใช้ประกอบอาหารหรอื เครือ่ งดื่ม ชว่ ย สง่ เสริมสุขภาพขน้ั พืน้ ฐานท่ีดี ลดการพึ่งพายาแผนปัจจุบนั หรือขายเปน็ รายได้ 3. เนอ้ื ไม้ : เนอื้ ไมม้ ีคา่ ที่ใชใ้ นงานกอ่ สรา้ ง เครอื่ งเรือน หรือเป็นไม้ใช้สอย ทใ่ี ชท้ �ำเครือ่ งมอื เคร่อื งจกั สาน หรอื เศษไม้ปลายไม้รวมถงึ ก่ิงกา้ นไม้ท่ใี ชเ้ ป็น ไมฟ้ ืน หรอื เผาถ่าน 4. วสั ดุ (ทม่ี ิไดโ้ ดยตรงจากเน้อื ไม)้ : ยาง ชัน ส่วนตา่ ง ๆ ของพืชท่นี �ำมาท�ำ สีย้อม การฟอก-ซัก หรือส่วนที่ให้เส้นใยในการท�ำสิ่งทอ เชือก เครื่องใช้ใน ครัวเรอื น (เครอ่ื งนอน เสอ่ื กระสอบ ถุง) 5. ไม้ประดับ : ภายใต้เรอื นยอดป่าเชงิ นิเวศเปรยี บเสมือนเรอื นเพาะช�ำท่ดี ี ตอ่ การดูแล เพาะปลกู พรรณไม้ประดบั ตามท่ีตลาดต้องการ ไมว่ ่าจะเปน็ ไม้ดอก ไม้ใบประดบั กลว้ ยไม้ โฮยา่ เฟิรน์ ทสี่ ามารถปลูกด้วยการน�ำไปติดไว้ ตามเปลอื กไม้ กิ่งไม้ หรือภายใตเ้ รือนเพาะเล้ยี งช่ัวคราวใตเ้ รอื นยอดไม้ใหญ่ 29
เหด็ ไขห่ า่ นหรอื เหด็ ระโงกเหลอื งเกดิ ในปา่ ตาม ธรรมชาติทมี่ ไี มว้ งศ์ยางนา (Dipterocarpaceae) ขนึ้ อยู่ เชน่ ยางนา ยางแดง เหียง พลวง สยา เต็ง รงั เป็นตน้ การสร้างรายได้จากการเกบ็ เหด็ ป่ามาขาย 6. เมล็ดไม้ กลา้ ไมป้ ่ามคี ่า : ปัจจุบนั ในตลาดตน้ ไมม้ คี วามตอ้ งการจากกล่มุ คน ทรี่ ักการปลกู และดแู ลต้นไมป้ า่ หายาก ไมป้ ่าสวยงาม หรอื ไม้ป่าเศรษฐกจิ มคี า่ เป็นจ�ำนวนมาก เกดิ กระแสการรวมกล่มุ ซอื้ ขายแลกเปล่ียนกล้าไมห้ รือเมลด็ ไม้ หลากหลายกลุ่ม เชน่ กลุ่มคนรกั ไมว้ งศ์จำ� ปี-จ�ำปา ไมว้ งศ์กระดงั งา ไม้วงศ์ปาล์ม ไมว้ งศ์ยางนา ไม้วงศม์ ะเกลือ เป็นต้น ดงั น้ัน จงึ เกดิ อาชีพเกบ็ เมลด็ ไม้ การเพาะกล้า ไม้ ปลูกและขยายพันธ์ไุ ม้ปา่ มคี ่าเหล่านจี้ �ำหนา่ ยสร้างรายได้เสรมิ หรอื อาจเปน็ รายไดห้ ลักแกร่ าษฎร ซ่ึงสามารถเกบ็ เมลด็ ไม้ป่ามาเพาะ แยกหน่อ ตอนก่งิ เสยี บยอด ทำ� การอนบุ าลกล้าไม้โดยใชพ้ ้นื ท่ีร่มเงาใต้เรอื นยอดไม้ปา่ เป็นเรอื น เพาะช�ำธรรมชาตไิ ดด้ ี เปน็ การใชท้ รพั ยากรจากป่าเพียงเลก็ น้อยแตก่ ่อให้เกิด รายไดแ้ ก่ราษฎรที่ชว่ ยดแู ลป่า สง่ ผลใหร้ าษฎรรู้สึกหวงแหนและปลูกรกั ษาพรรณไม้ ป่ามีคา่ เหล่าน้ไี วเ้ ปน็ แม่พนั ธใ์ุ ห้ได้เกบ็ เกี่ยวผลผลติ ตลอดไป นอกจากนี้ยังเปน็ การ ส่งเสริมการปลูกตน้ ไมใ้ หก้ ระจายออกไปนอกพืน้ ทป่ี ่าอนรุ ักษ์ เป็นการช่วยอนุรกั ษ์ พนั ธุกรรมพชื นอกถน่ิ กำ� เนดิ อกี ดว้ ย ดา้ นการเลี้ยงผ้ึง : ภายใต้เรอื นยอดป่าเชงิ นิเวศในส่วนท่คี อ่ นข้างร่มมแี สงน้อย จนยากทจ่ี ะทำ� การเพาะปลกู พชื แต่ยังสามารถทำ� กจิ กรรมการเล้ียงผึง้ หรือชันโรง ได้ เปน็ การใชป้ ระโยชนท์ ีด่ ินอย่างคุม้ คา่ ซง่ึ ภายใต้ปา่ เชงิ นเิ วศจะมสี ภาพแวดล้อม ทีเ่ ปน็ ธรรมชาติ ท�ำใหผ้ ง้ึ หรอื ชันโรงรู้สกึ ปลอดภัยมีสขุ ภาพดี มีเกสรดอกไม้ป่าเป็น จำ� นวนมาก และมคี วามชมุ่ ชน้ื ทเี่ หมาะสมตอ่ การดำ� รงชวี ติ นอกจากไดผ้ ลผลติ นำ�้ ผง้ึ รงั ผง้ึ และไขผง้ึ ฯลฯ แลว้ ผงึ้ หรอื ชันโรงยงั ชว่ ยผสมเกสรพชื ป่าท�ำให้ติดผลจำ� นวน มากขึน้ 30
ประโยชน์ทางอ้อม ประโยชน์ทางออ้ มเปน็ ผลพลอยได้จากการปลกู ปา่ เชงิ นเิ วศเกิดข้นึ หลงั จากไดส้ ง่ิ แวดล้อมตามธรรมชาตทิ ่ีดีกลบั คืนมาสพู่ นื้ ทตี่ น้ นำ้� ล�ำธาร ซงึ่ เปน็ เปา้ หมายหลักของภาครัฐและภาคเอกชนดา้ นอนุรักษ์ส่ิงแวดลอ้ มที่ม่งุ หวงั เปน็ อย่างยิ่ง หากปา่ เชิงนิเวศเริม่ ฟ้นื ฟตู วั เองจนถึงขั้นใกล้เคียงปา่ สมบูรณต์ าม ธรรมชาติแลว้ ระบบนิเวศของป่าตน้ น้�ำจะแสดงปรากฏการณท์ างธรรมชาติ ต่อไปนแ้ี ก่ราษฎรท่อี าศัยอยกู่ ับป่าและคนท่ีอยู่ทา้ ยนำ�้ ดา้ นลา่ งลงไป 1. รักษาสภาพภูมอิ ากาศในระดับทอ้ งถน่ิ ให้อยใู่ นระดบั ท่สี มดลุ มคี วาม ชุม่ ชืน้ สภาพอากาศไม่รุนแรง ท�ำใหอ้ ุณหภมู ไิ ม่ร้อนจดั และไมเ่ ย็นจัด และช่วย ลดความแห้งแล้ง 2. รักษาระบบนำ้� ในลำ� ธารและน�ำ้ ใตด้ ินใหอ้ ยใู่ นระดบั ท่สี มดุล มนี ้ำ� ไหล สมำ่� เสมอยาวนาน ไม่ไหลหลากทว่ มอย่างรนุ แรงและรวดเรว็ ลำ� ธารไมแ่ ห้งขอด ยาวนาน มีน้ำ� ในล�ำธารใสหรือมีตะกอนนอ้ ย 3. ลดการชะลา้ งผวิ หน้าดนิ จากพรรณพชื และซากพืชที่ปกคลุม ซ่งึ จะ ช่วยลดการสญู เสยี ความอดุ มสมบรู ณ์ ที่สว่ นใหญ่แล้วจะมแี ร่ธาตุจำ� นวนมากถูก สะสมอยทู่ ี่ชน้ั หนา้ ดนิ และช่วยป้องกันดินถลม่ ได้ดจี ากระบบรากต้นไม้ท่เี กาะ ยึดชัน้ ดนิ ในแตล่ ะช่วงความลึก 4. ดินมกี ารฟื้นฟูตัวเองจากซากพชื ทีท่ ับถม และความช่มุ ช้ืนท่ีถกู เก็บไว้ ในดนิ ไดน้ านจะทำ� ให้หินตน้ กำ� เนิดย่อยสลายแร่ธาตใุ หมอ่ อกมาไดด้ ี เกดิ เปน็ ชั้น ดนิ ท่ลี ึกมากยงิ่ ขน้ึ สง่ ผลใหช้ ัน้ ดนิ สามารถรักษาความชื้นได้ดียง่ิ ขนึ้ เหมาะสม ต่อการเพาะปลกู หรือการพัฒนาไปเป็นป่าดบิ ทีส่ มบูรณ์ 5. พชื ป่า สัตว์ปา่ จุลนิ ทรีย์ และเหด็ ราจะกลับเข้ามาในพื้นทป่ี า่ อกี คร้งั การกลับเขา้ มาของสตั วป์ ่าน�ำมาซึง่ เมลด็ พันธ์ุ เช้ือจลุ นิ ทรีย์ และเห็ดรา ที่มา จากการถ่ายมลู ส�ำรอก หรือติดมากับดนิ ท่ีสตั วป์ ่าเหยียบย่�ำ จึงชว่ ยเพม่ิ ความ หลากหลายทางชีวภาพและสมดลุ แกป่ า่ ผลพลอยได้ คือมผี ลผลิตเป็นของป่า เพ่ิมโดยไม่ต้องปลูก/ผลิต เช่น เห็ดป่ากินได้ การเก็บรังและน้�ำผึ้งป่า มูลสัตว์ป่า ยังเป็นปุย๋ เพมิ่ ความสมบรู ณแ์ ก่ดิน ตลอดจนกล้าไม้ปา่ ชนิดใหมท่ ี่ กระจายพันธุ์เข้ามาในพ้ืนท่ี อาจจะเป็นอาหาร สมุนไพร หรือของป่า ทม่ี คี า่ ใหเ้ กบ็ เกยี่ วผลผลติ ใชใ้ นครวั เรอื นหรอื สรา้ งรายไดเ้ สรมิ ไดอ้ กี ดว้ ย สตั วป์ า่ ท่เี ขา้ มาใชป้ ระโยชนจ์ ากป่ายงั ชว่ ยผสมเกสรและช่วยก�ำจัดศัตรพู ืช เชน่ นก ค้างคาว และแมลง รวมถึงเชอื้ ราและจลุ ินทรยี อ์ กี มากมายท่ีมีกลไกสามารถ ควบคมุ การระบาดของโรคพืช และแมลงไดอ้ ีกด้วย 31
6. ราษฎรมีสขุ ภาพที่ดี เน่ืองจากอยู่ในสภาพแวดล้อมท่ดี ขี นึ้ จากการปลูก ป่าเชิงนิเวศทีช่ ่วยลดการใช้สารเคมีแตใ่ ชก้ ลไกของระบบนเิ วศช่วยดูแลรักษา สภาพแวดลอ้ มแทน 7. ลดแรงกดดันระหว่างราษฎรทอ่ี าศยั อยู่ในปา่ อนรุ ักษก์ บั เจ้าหนา้ ท่ี ซึ่ง เกิดข้นึ จากกระแสสงั คมต่อการอนุรักษ์ปา่ ไมแ้ ละสงิ่ แวดลอ้ มและการบังคับใช้ กฎหมายในพ้นื ท่ปี า่ อนรุ ักษ์ อีกนัยหนง่ึ ประโยชนท์ ี่ได้รับจากการสรา้ งป่าเชิงนิเวศ คือ การอนรุ กั ษ์ ความหลากหลายทางชวี ภาพของพรรณไมป้ ่า การสร้างสง่ิ แวดล้อมให้สมดลุ การพึง่ พาตนเองไดข้ องราษฎรในพนื้ ทป่ี ่าอนรุ ักษ์ ซงึ่ ส่งผลดตี อ่ สมดุลทาง เศรษฐกิจท้ังในระดับท้องถ่ินและระดับประเทศหากราษฎรมคี ุณภาพชีวติ ที่ดขี นึ้ 32
ประสโยรชา้ นง์ทปไี่่าดเชร้ งิับนจิเาวกศการ กหลายทางชีวภาพ สร้างสม ดุลทางเศรษฐกิจ สร้างสิง่ แวดล้อ อ ุน ัรก ์ษความหลา ึ่พงพาตนเอง ม 33
34
แนวทางการสรา้ งป่าเชิงนิเวศ การปลูกฟน้ื ฟปู ่าเชิงนิเวศของหน่วยงานต่าง ๆ ทผี่ ่านมาได้มกี ารวางรปู แบบการปลกู ไว้ หลากหลายตามวัตถปุ ระสงค์ เชน่ รปู แบบในคู่มือปฏิบัตงิ านโครงการสรา้ งปา่ สร้างรายได้ ตาม พระราชด�ำรสิ มเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (ส�ำนักพระราชวงั , 2557) ไดก้ �ำหนดจ�ำนวนตน้ ไม้ทน่ี �ำมาปลกู ต่อพ้ืนที่ 1 ไร่ แยกตามสภาพภูมิประเทศและช้ันเรือนยอด ของพรรณไม้ โดยในพืน้ ทีป่ ่าเส่ือมโทรมทเี่ ปน็ ทีร่ าบ ใช้พรรณไมเ้ รือนยอดช้นั บน 15 ตน้ พรรณไม้ เรอื นยอดชน้ั รอง 30 ตน้ พรรณไมพ้ ุ่ม 15 ตน้ และพรรณไมช้ นั้ ผิวดนิ ตามความเหมาะสม ในพน้ื ที่ ลาดชนั ปลกู พรรณไมเ้ รอื นยอดชนั้ บน 10 ตน้ พรรณไมเ้ รอื นยอดชน้ั รอง 45 ตน้ พรรณไมพ้ มุ่ 25 ตน้ และพรรณไม้ชนั้ ผิวดนิ ตามความเหมาะสม งานวิจยั การปลกู สร้างสวนปา่ (2556) ได้ก�ำหนดสดั ส่วนของไม้ป่าและพชื เกษตรในพ้ืนทีร่ าบ และพน้ื ทีล่ าดชนั มีสดั ส่วนตน้ ไม้ตอ่ ไร่ ดงั นี้ พรรณไม้เรือนยอดช้ันบนมจี ำ� นวน 25 ต้น โดยแยกเปน็ ไมป้ า่ 15 ตน้ พชื เกษตร 10 ตน้ พรรณไมเ้ รอื นยอดชน้ั รองมจี ำ� นวน 75 ตน้ โดยแยกเปน็ ไมป้ า่ 30 ตน้ พืชเกษตร 45 ตน้ สำ� หรบั พรรณไม้พ่มุ 40 ตน้ โดยแยกเป็นไม้ปา่ 15 ตน้ พชื เกษตร 25 ต้น และ พรรณไม้ชั้นผวิ ดินใชจ้ �ำนวนตามความเหมาะสม แนวทางการสรา้ งปา่ เชงิ นเิ วศในหนงั สอื เลม่ น้ี ไดน้ ำ� แนวทางทเี่ คยดำ� เนนิ การ มาแลว้ ขา้ งตน้ มาปรบั ปรงุ ให้เหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงคข์ องการปลกู ปา่ เชิงนิเวศท่ีได้กล่าวในเบอื้ งต้นแลว้ โดยค�ำนึงถงึ หลักเกณฑ์ต่อไปนีเ้ ป็นส�ำคัญ 1. ผนู้ �ำไปปฏบิ ตั ิสามารถเขา้ ใจไดง้ า่ ย ปฏบิ ตั ไิ ด้จริง และมีแนวทางทชี่ ัดเจน 2. ปา่ ทป่ี ลกู สามารถสรา้ งรายไดแ้ กร่ าษฎรในพนื้ ทอี่ ยา่ งยง่ั ยนื มคี วามหลากหลาย ของผลผลิต มีความสม�ำ่ เสมอของผลผลิตใหเ้ กบ็ เกยี่ วหมุนเวียนได้ตลอดปแี ละ ยาวนาน ประกอบดว้ ย พชื ระยะสนั้ ไดแ้ ก่ ไมล้ ม้ ลกุ ไมพ้ มุ่ ไมเ้ ถาลม้ ลกุ และไมน้ ำ้� พชื ระยะกลาง ไดแ้ ก่ ไม้ตน้ ขนาดเล็กและไม้เลื้อยเนอื้ แขง็ และ พชื ระยะยาว ไดแ้ ก่ ไมต้ น้ ขนาดกลาง-ใหญ่ 35
3. รูปแบบการปลกู ขั้นตอนการปลกู การดูแล และการเก็บเกย่ี วผลผลติ จะท�ำให้ปา่ มพี ฒั นาการกลับมาเป็นปา่ ทม่ี ีลักษณะใกล้เคียงปา่ ธรรมชาตแิ ละ สามารถช่วยฟื้นฟูระบบนิเวศตน้ น�้ำ 4. พรรณไม้ท่เี ลือกมาปลกู ตอ้ งประกอบด้วย พชื ปา่ ที่ชว่ ยฟ้ืนฟรู ะบบนเิ วศ พืชปา่ เศรษฐกจิ และ พืชเกษตรทีเ่ ปน็ มติ รตอ่ ระบบนิเวศป่าไม้ หรอื ไม่เปน็ พืชตา่ งถ่ินรกุ ราน * (invasive alien species) ทส่ี รา้ งความเสียหายตอ่ ระบบ นเิ วศปา่ ไม้ 5. พรรณไม้ทเี่ ลอื กมาปลกู ในส่วนของพืชปา่ พนื้ เมืองของประเทศไทย ต้อง เป็นพืชในท้องถ่นิ เดิมของภมู ภิ าคและเหมาะสมตอ่ สภาพแวดล้อมระดับท้องถิน่ น้นั ๆ ซึง่ สามารถขนึ้ หรอื ปรับตัวไดด้ ตี อ่ สภาพภมู อิ ากาศ ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ และลกั ษณะดนิ อนั จะทำ� ใหก้ ารปลกู ปา่ และการดแู ลปา่ ประสบผลสำ� เรจ็ ตลอดจน เปน็ การช่วยลดต้นทุนในการดูแลรกั ษา 6. พรรณไม้ทเ่ี ลอื กมาปลูกต้องมคี วามสอดคลอ้ งกับการใช้ประโยชนภ์ ายใน ครวั เรือนตามวฒั นธรรมในแตล่ ะทอ้ งถ่ิน หรือมีตลาดรองรับผลผลิต 7. สามารถน�ำมาใช้ปลูกป่าเชงิ นเิ วศในขนาดพื้นที่ตัง้ แต่ 1 ไร่ข้ึนไป หรือ ประยุกตใ์ ช้ไดก้ ับ แนวทางเกษตรทฤษฎใี หม่ หรือ โคก-หนอง-นา โมเดล ในพ้ืนทที่ �ำกินของราษฎรท่ัวประเทศ พืชต่างถิน่ รกุ ราน * (invasive alien species) คือ พืชทีม่ ถี น่ิ กำ� เนิดและอาศัยอยู่ในต่างประเทศ เมอ่ื เขา้ มาใน ประเทศไทยแล้ว สามารถแพร่ขยายพนั ธ์ุไดเ้ องตามธรรมชาติอย่างกวา้ งขวางและรวดเรว็ แลว้ เพม่ิ จำ� นวนมากจน กระทบตอ่ การด�ำรงชีวติ ของพันธ์พุ ชื หรือส่ิงมีชีวิตสายพนั ธพ์ุ นื้ เมอื ง (native species) หรอื มนี ิสยั คลา้ ยวัชพชื ตัวอย่าง ของพืชต่างถน่ิ รกุ รานท่สี รา้ งผลเสียหายตอ่ ระบบนเิ วศปา่ ไม้ในธรรมชาตขิ องประเทศไทย คือ ตน้ กระถนิ ยักษ์ (Leucaena leucocephala) กระถินณรงค์ (Acacia auriculiformis) กระถินเทพา (Acacia mangium) กระถินไต้หวัน (Acacia confusa) สีเสียด/สเี สียดแก่น (Acacia catechu) ขีเ้ หลก็ อเมรกิ า (Senna spectabilis) จามจุรี (Albizia saman) บวั ตอง (Tithonia diversifolia) สาบหมา (Ageratina adenophora) และ ไมยราบยกั ษ์ (Mimosa pigra) โดยพืชเหลา่ น้ีเมอื่ ใบหรือส่วนตา่ ง ๆ ทร่ี ่วงลงสพู่ น้ื ดนิ จะปลอ่ ยสารเคมที ีอ่ ยูใ่ นสว่ นนั้น ๆ ออกมา ซง่ึ จะส่งผลกระทบท�ำให้พรรณไม้ชนดิ อื่นไม่สามารถงอกและเจริญเติบโตได้ หรือท�ำใหผ้ ลผลิตลดลง เราเรยี กการ กระทำ� แบบนี้ว่า allelopathic effect นอกจากน้ี ยงั มี ต้นยคู าลิปตสั (Eucalyptus spp.) แม้วา่ จะไม่สามารถแพร่ พันธ์ตุ ามธรรมชาติได้ดี แต่สามารถปล่อยสารเคมีประเภท Cineole and alpha-pinene ท่สี ง่ ผลกระทบตอ่ การงอก และการเจรญิ เติบโตแก่พืชทีข่ น้ึ ข้างเคียงไดเ้ ชน่ เดียวกัน ดงั นนั้ ไมต้ า่ งถ่ินทีก่ ล่าวมาทั้งหมดน้ีจึงไมเ่ หมาะท่จี ะน�ำมาปลูก ปา่ เชงิ นเิ วศทีต่ อ้ งการใหพ้ รรณไม้ปา่ ด้งั เดมิ เจรญิ เติบโตกลับมาคล้ายป่าตามธรรมชาติ 36
หลักเกณฑก์ ารปลกู การปลูกปา่ เชิงนิเวศ เพื่อใหเ้ ข้าใจงา่ ยตอ่ หลกั การในการน�ำไปใช้ปฏิบตั ิ จงึ สรปุ ออกมาเป็นหลกั การปลกู โดยย่อ 4 ประการ คือ ปลูกพชื ปา่ ผสมพืชเกษตร ปลูกหลากหลายชนิดและลกั ษณะวสิ ัย ปลกู ไม้ใหญ่เปน็ แถวเป็นแนว และ ปลูกไมเ้ ล็กกระจายลอ้ มไมใ้ หญ่ และใชช้ ื่อของรูปแบบหรอื โมเดลว่า โมเดลปลูกป่านเิ วศ 7 ช้ัน (Seven layers ecoforest model) หลักการ 4 ประการของโมเดลปลกู ป่านเิ วศ 7 ชัน้ หลกั เกณฑ์การปลกู ของโมเดลปลกู ปา่ นิเวศ 7 ชัน้ ในพน้ื ท่ี 1 ไร่ (1,600 ตารางเมตร) ใหแ้ บง่ เปน็ แปลงยอ่ ยขนาด 10x10 ตารางเมตร ในพนื้ ท่ี 1 ไร่ สมมตวิ า่ มรี ปู แปลง เปน็ รปู สี่เหลย่ี มจตุรสั ขนาดกว้าง 40 เมตร ยาว 40 เมตร (พ้นื ทีแ่ ปลงใหญใ่ นพื้นที่ปลูกจริงอาจจะไมเ่ ปน็ รูปนีก้ ็ได้ เพียงแตใ่ ห้ผปู้ ลูกวางผงั ปลูกขนาดแปลงย่อย 10x10 ตารางเมตร ขยายออกไปจนเต็มพื้นท)่ี ในพื้นท่ี 1 ไร่เมือ่ แบ่ง แปลงยอ่ ยจะได้จ�ำนวน 16 แปลงยอ่ ย คลา้ ยรูปตารางหมากรกุ ใหพ้ ิจารณาลงไปในพื้นท่ีแปลงยอ่ ยแลว้ แบ่งระยะปลูก ของไมต้ น้ ที่ 5x5 เมตร* หนา้ 38 ซง่ึ จะปลกู ไม้ต้น (tree) ไดท้ ้งั หมด 9 ต้น/แปลง ดังนี้ • ไม้ตน้ ขนาดใหญ่ (Large tree: L) 1 ต้น • ไมต้ ้นขนาดกลาง (Medium tree: M) 2 ต้น • ไม้ต้นขนาดเล็ก (Small tree: S) 4 ตน้ • ไม้ต้นเบิกนำ� (Pioneer tree: P) 2 ตน้ หรือปลูกไมต้ ้นท้งั หมด 81 ตน้ /ไร่ และมีจ�ำนวนชนิดอยา่ งน้อย 10 ชนิด/ไร่ ส�ำหรับไมพ้ ุม่ (Shrub: Sh) ให้ปลูก กระจายตามช่องวา่ ง 37
พน้ื ทร่ี ปู ส่เี หลีย่ มจตรุ ัสขนาด 1 ไร่ และภายในมีแปลงยอ่ ยจ�ำนวน 16 แปลง ระบบการปลูกในพ้นื ที่แปลงยอ่ ยขนาด 10x10 เมตร S10 MS Sh Sh Sh Sh Sh Sh LP P Sh Sh Sh Sh Sh Sh M S Sh S L = ไม้ต้นขนาดใหญ,่ M = ไมต้ น้ ขนาดกลาง, S = ไม้ตน้ ขนาดเล็ก, P = ไมต้ ้นเบิกน�ำ, Sh = ไม้พ่มุ 38
รายละเอียดของหลักเกณฑ์ แบ่งตามลกั ษณะวิสัยหรือกลุ่มพืชในแตล่ ะชั้นเรอื นยอดป่า ดงั นี้ 1) เรอื นยอดโดด ปลูกไมต้ น้ ขนาดใหญ่ (L) ปลูกกลางแปลงย่อย จ�ำนวน 1 ตน้ /แปลงย่อย หรอื 16 ต้น/ไร่ อยา่ ง นอ้ ยไมต่ ำ่� กว่า 3 ชนิด/ไร่ 2) เรอื นยอดช้ันบน ปลูกไมต้ ้นขนาดกลาง (M) ปลกู ขอบแปลงย่อย ตรงขา้ มกัน จำ� นวน 2 ต้น/แปลงย่อย หรือ 20 ตน้ /ไร่ อยา่ งนอ้ ยไม่ต�ำ่ กวา่ 3 ชนิด/ไร่ 3) เรือนยอดชัน้ บน-ชั้นล่าง-ไม้พมุ่ ปลูกไม้ตน้ เบิกน�ำ/ไมพ้ ่เี ลยี้ ง (P) ปลกู ขอบแปลงยอ่ ย ตรงขา้ มกนั จำ� นวน 2 ตน้ / แปลงย่อย หรือ 20 ตน้ /ไร่ อยา่ งนอ้ ยไม่ตำ�่ กวา่ 1 ชนิด/ไร่ ทั้งน้ไี ม้ตน้ เบกิ น�ำอาจเป็นได้ทั้ง L หรือ M หรอื S ข้นึ อยกู่ บั ชนดิ ไม้ 4) เรือนยอดชัน้ ลา่ ง ปลกู ไม้ตน้ ขนาดเล็ก (S) ปลกู มุมแปลงยอ่ ยทง้ั 4 จ�ำนวน 4 ตน้ /แปลงย่อย หรือ 25 ตน้ /ไร่ อยา่ งน้อยไมต่ �่ำกว่า 3 ชนิด/ไร่ 5) เรอื นยอดไมพ้ มุ่ ปลูกไมพ้ มุ่ (Sh) ปลูกลอ้ มและกระจายตามช่องว่างของไม้ตน้ ขนาดต่าง ๆ ให้เตม็ พ้นื ทที่ ่ไี ดร้ ับ แสงเพยี งพอ ระยะปลูกขนึ้ อย่กู บั ชนิดไม้พุ่มที่เลือก โดยไมจ่ �ำเปน็ ตอ้ งปลูกเป็นแถวเป็นแนว หรือจะปลกู เปน็ แถวเปน็ แนวกไ็ ด้เพื่อสะดวกต่อการจัดการ อย่างน้อยไม่ตำ�่ กว่า 5 ชนดิ /ไร่ และมีจ�ำนวนต้นรวมกนั ไมต่ �่ำกว่า 100 ตน้ /ไร่ 6) ช้ันพ้ืนปา่ ปลูกไม้ล้มลกุ (Herb: H) ปลกู ลอ้ มและกระจายตามชอ่ งว่างและใต้รม่ เงาของไม้ต้นและไม้พุ่ม ระยะ ปลกู ขึ้นอยู่กับชนิดที่เลือก ไมจ่ �ำเป็นตอ้ งปลูกเป็นแถวเป็นแนว แต่ควรปลูกเป็นกล่มุ ในแต่ละชนิดเพื่อการเก็บเกี่ยว ท่สี ะดวก และปลูกให้ปกคลุมพน้ื ดินส่วนทเี่ หลือเพ่อื ช่วยปกคลมุ ผวิ หนา้ ดินตอ่ การชะลา้ งของน�ำ้ ฝน รวมถึงยงั ช่วย ควบคุมวชั พืชได้ดีอกี ทางหนง่ึ หรือไม่จ�ำเปน็ ตอ้ งปลูกไมล้ ้มลกุ ทั่วพ้นื ท่ีกไ็ ด้ เพยี งปลอ่ ยใหม้ ีหญ้า/ไม้ล้มลกุ ตามธรรมชาติ และซากพืชทับถมปกคลมุ ผวิ หน้าดิน แล้วหม่นั คอยกำ� จัดวัชพชื เฉพาะรอบโคนไม้ตน้ และไมพ้ ่มุ ทป่ี ลกู 7) ชน้ั ไมเ้ ถาและไม้อิงอาศัย ปลกู ไม้เถา/ไม้อิงอาศัย (Climber/Ephiphyte: C/E) สามารถปลกู ได้หลายแบบ เชน่ ใหเ้ ลอ้ื ยกับพืน้ ดิน ทำ� คา้ ง หรอื ปลกู ใหเ้ กาะตามเปลอื กไมต้ ้น โดยปลกู กระจายไม่เปน็ แถวเป็นแนว ตามชอ่ งวา่ งของ ไมต้ ้นและไม้พุ่ม และตามความต้องการแสงของพชื แต่ละชนิด ทง้ั นีไ้ มเ้ ถาเน้ือแขง็ ขนาดใหญแ่ ละมีเถายาวไมค่ วรปลกู ใหเ้ ลอ้ื ยพันไม้ต้นจนล�ำตน้ คดงอเสียรูปทรง ควรปลอ่ ยใหเ้ ลือ้ ยตามพ้ืนหรอื หม่ันคอยตัดแต่งเถาใหส้ ั้นอยู่เสมอเพื่อ สะดวกตอ่ การเก็บเกีย่ ว 8) ชน้ั พชื นำ�้ ปลกู พชื นำ�้ (Aquatic: A) ปลกู จำ� ลองระบบนเิ วศในหนองนำ้� โดยปลกู พรรณไมน้ ำ้� ตามระดบั ชนั้ ความลกึ ของน�ำ้ จาก ริมตลง่ิ -น้�ำตื้น-น�้ำลกึ -ลอยน้ำ� เชน่ ปลูก ผักกูด-บวั หลวง-บัวสาย–ผกั กระเฉด ส�ำหรบั บางพืน้ ที่อาจไม่มีชน้ั นี้ เนอ่ื งจากไม่มีแหลง่ น�้ำเพยี งพอ * ท้งั น้ี การคัดเลอื กชนิดต้นไม้เพือ่ จดั ลงในต�ำแหนง่ แตล่ ะลกั ษณะวิสยั /ชั้นเรือนยอด ให้ใชว้ ิธแี บบสมุ่ เพ่อื ใหแ้ ตล่ ะ ชนดิ กระจายตวั ท่วั พ้ืนทีป่ ลูกป่า ไมค่ วรกระจุกตัวเฉพาะบริเวณใดบรเิ วณหนงึ่ 39
* ค�ำอธบิ ายเพิ่มเติมหลกั เกณฑก์ ารปลกู โมเดลปา่ นเิ วศ 7 ชนั้ น้ี เลอื กทจ่ี ะปลกู ไมต้ น้ (tree) ทกุ ขนาดอยา่ งเปน็ แถวเป็นแนว ท่ีระยะ ปลูก 5x5 เมตร ดว้ ยเหตุผลเพ่อื การวางผังการปลกู ท่ีเข้าใจง่ายตอ่ ผู้ปฏบิ ัติ สามารถค�ำนวนกล้าไม้ ทจี่ ะตอ้ งเตรียมในเบ้ืองต้นได้ แต่เนน้ การเลือกลักษณะวิสัยหรือชัน้ เรือนยอดไม้ต้นจดั วางลง ตำ� แหนง่ และกำ� หนดจำ� นวนต้นให้เหมาะสม ซ่ึงจะท�ำให้พรรณไม้ลักษณะวิสัยต่าง ๆ สามารถ เจริญเติบโตไปพร้อมกันได้เตม็ ศกั ยภาพ ไมเ่ บียดเสยี ดและขม่ กนั เหมือนท่เี กิดขึน้ กรณีท่เี ลอื กปลกู พชื ทมี่ ลี ักษณะวิสยั เดียวกนั ในระยะปลูกท่ชี ิดกนั มากเกินไป อกี อยา่ งทเ่ี ราตอ้ งคำ� นงึ ถงึ คอื การปลกู ปา่ เชงิ นเิ วศเปน็ การปลกู พชื หลากชนดิ และหลายลักษณะ วิสัย เป็นเรื่องยากท่ีราษฎรท่ัวไปหรือเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติ ซ่ึงมิใช่นกั วิชาการจะเข้าใจการจัดการ และดูแลตามหลกั นเิ วศวิทยาได้ทกุ สายพันธ์ุ นกั วชิ าการปา่ ไมจ้ งึ มหี นา้ ทก่ี ำ� หนดรปู แบบการจดั วาง ไมต้ น้ ใหเ้ หมาะสมในเบอื้ งตน้ แลว้ จดั ทำ� บญั ชีพรรณไมแ้ ยกตามลักษณะวิสัยหรือช้ันเรือนยอด ให้ผู้ ปฏิบัติสามารถเลอื กน�ำไปปลกู ลงในต�ำแหน่งตา่ ง ๆ ไดเ้ อง นอกจากนี้ การปลกู ไม้ต้นอย่างเปน็ แถวเป็นแนวโดยยดึ ไมป้ ระธานในล�ำดบั แรก คอื ไม้ตน้ ขนาดใหญ่ (L) วางไว้กลางแปลงย่อยกอ่ น จะทำ� ใหผ้ ้ปู ฏิบตั มิ องเหน็ ภาพระบบการปลกู ไดง้ า่ ย ว่าจะจัดวางไมต้ น้ ที่มีขนาดเล็กลงมาลอ้ มรอบต้นไม้ประธานในต�ำแหนง่ ใดบา้ ง อีกท้ังราษฎรยัง สามารถเขา้ ไปจัดการ ดแู ล และเกบ็ เกย่ี วผลผลติ จากพชื ชนดิ ตา่ ง ๆ ไดส้ ะดวก ไม่สบั สน เมอื่ ปา่ มอี ายมุ ากขนึ้ พรรณไมท้ ม่ี หี ลากหลายชนดิ มลี กั ษณะวสิ ยั ทแ่ี ตกตา่ งกัน มีการเจรญิ เตบิ โตทไ่ี มเ่ ท่ากัน รว่ มกับการตัดสางขยายระยะหรือการตดั ฟนั ไมบ้ างสว่ นออกมาใช้ หรอื การตาย ตามธรรมชาติ จะทำ� ใหโ้ ครงสรา้ งเรอื นยอดปา่ ด้านตัง้ และการจัดวางตวั ในแนวระนาบเกิดความ ไม่สมำ�่ เสมอ ไมเ่ ป็นระเบียบเหมอื นเมอ่ื แรกปลกู ปา่ ทเี่ ราปลกู จะปรับโครงสรา้ งชั้นเรือนยอดป่า จนคลา้ ยกับป่าธรรมชาตมิ ากยง่ิ ขึ้น * ในพ้ืนทีป่ ลกู ปา่ บางแหง่ ท่ีมสี ภาพเปน็ ไรห่ มนุ เวยี นเก่าหรอื ป่าเส่อื มโทรมทีม่ ตี น้ ไม/้ กล้าไม้ ป่าดงั้ เดมิ ขึน้ อยู่แลว้ และควรทจ่ี ะเก็บรักษาไว้ ต�ำแหน่งทจ่ี ะปลกู ไมต้ น้ อาจต้องวางหลบตามระยะ ปลูกที่เหมาะสมหรอื ละเวน้ ไป จึงท�ำใหแ้ ถวแนวของไม้ต้นไม่เปน็ ระเบยี บ ไม่ใช่สิ่งทตี่ ้องกงั วล เพราะรูปแบบการปลูกปา่ นิเวศ 7 ชน้ั สามารถยดื หย่นุ และประยุกตใ์ ชใ้ ห้เหมาะสมตามสภาพ ปัญหาของแต่ละทอ้ งทไี่ ด้ เพยี งแตย่ ึดหลกั การจดั ชนดิ และวิสัยของพรรณไมใ้ ห้กระจายแบบสุ่มท่วั พื้นที่ สำ� หรับระบบการปลกู ไมพ้ มุ่ ไมล้ ้มลุก ไม้เถา ไม้อิงอาศัย และพืชนำ�้ เน่ืองจากเปน็ พืชขนาด เลก็ ระยะปลูกจึงใกล้ชดิ การจดั การจะง่ายกวา่ สามารถปลกู แบบไมเ่ ปน็ แถวเป็นแนวหรือแบบ เปน็ กลุ่มกไ็ ด้ตามสะดวก 40
วธิ คี ดั เลอื กพรรณไมป้ ลกู ใหเ้ หมาะสม 1) ตรวจสอบทต่ี ้ัง ว่าพน้ื ท่ีปลูกปา่ ต้งั อยู่ในภมู ภิ าคใด โดยบญั ชีพรรณไม้ทีเ่ สนอแนะใหป้ ลูกปา่ จะแบง่ ตามภมู ิภาค ทางภูมศิ าสตร์เป็น 6 ภาค คือ ภาคเหนือ (9 จังหวัด) ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื (20 จังหวดั ) ภาคตะวันออก (7 จังหวดั ) ภาคกลาง (22 จังหวดั ) ภาคตะวนั ตก (5 จงั หวัด) และภาคใต้ (14 จังหวดั ) 2) พจิ ารณาสภาพภมู ปิ ระเทศและสิ่งแวดล้อมเดมิ ของพนื้ ท่ีปลูกป่ากอ่ นวา่ เคยเปน็ ปา่ ไม่ผลัดใบ (ปา่ ดบิ ) หรือป่า ผลดั ใบ (ป่าเบญจพรรณ หรอื ปา่ เต็งรัง) มาก่อน โดยสังเกตไดง้ ่ายจากปา่ ทีเ่ หลอื อยู่ขา้ งเคยี งหรือพรรณไม้ที่หลงเหลอื อยู่ในพ้ืนท่ี หากเปน็ ปา่ ไมผ่ ลัดใบหมายความวา่ สภาพอากาศและความช้นื ในดนิ มมี ากเพียงพอตลอดทั้งปีทำ� ใหต้ ้นไม้ ไม่ผลัดใบ ถา้ หากเป็นป่าผลัดใบหมายความว่าพน้ื ทบ่ี รเิ วณน้นั มีสภาพอากาศและความช้นื ในดินนอ้ ย อาจมีชนั้ ดินตน้ื หรือเนอื้ ดนิ หยาบไม่อ้มุ น้ำ� หรอื มชี ่วงแหง้ แลง้ ที่ยาวนานจนท�ำให้ต้นไม้ตอ้ งผลัดใบทง้ิ ซ่ึงจะนำ� ขอ้ มลู ไปพจิ ารณาเลอื ก ชนิดพรรณไมต้ ามบัญชแี นบทา้ ยต่อไป 3) ตรวจสอบความสงู จากระดับทะเล ของพื้นทจี่ ากเครือ่ งมือวัดระดบั ความสูง เชน่ เครื่อง GPS หรือ Application ชอ่ื วา่ My Altitude ในสมาร์ทโฟน 41
4) พิจารณาเลอื กพรรณไม้ที่แนะนำ� ตามบญั ชแี นบท้ายในชือ่ พรรณไม้ทีแ่ นะนำ� เพอื่ ปลูกป่าเชิงนิเวศ ไดแ้ ยกไว้ 4 บญั ชี ตามภมู ภิ าคที่มรี ะบบนิเวศป่าไม้และสภาพภมู อิ ากาศคล้ายกัน • บัญชีแนบท้ายท่ี 1 ส�ำหรบั ประเทศไทยตอนบน ไดแ้ ก่ ภาคเหนอื ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันตก และภาคตะวันออก (ยกเวน้ จันทบุรี และตราด ด้านรบั ลมมรสุมฤดูฝน) โดยแบ่งพรรณไมท้ ี่ แนะน�ำใหป้ ลูกแยกตามสภาพปา่ หรอื พรรณไม้ด้ังเดมิ 3 บญั ชี ไดแ้ ก่ • บญั ชีแนบท้ายท่ี 1.1 ป่าดบิ เขา (ความสูงมากกวา่ 1,000 เมตรจากระดับทะเลปานกลาง) • บญั ชีแนบท้ายที่ 1.2 ปา่ ไม่ผลดั ใบ/ป่าดบิ (ความสงู น้อยกว่า 1,000 เมตรจากระดับทะเลปานกลาง) • บัญชีแนบทา้ ยที่ 1.3 ปา่ ผลดั ใบ (ความสูงนอ้ ยกว่า 1,000 เมตรจากระดบั ทะเลปานกลาง) • บญั ชีแนบทา้ ยท่ี 2 ส�ำหรบั ประเทศไทยตอนล่าง ได้แก่ ภาคใตแ้ ละภาคตะวนั ออก (เฉพาะจันทบรุ แี ละ ตราด ดา้ นรบั ลมมรสุมฤดฝู น) โดยมพี รรณไมท้ ่ีแนะนำ� ใหป้ ลูกตามสภาพป่าหรอื พรรณไม้ด้งั เดิมเพยี ง 1 บัญชี เนือ่ งจากสังคมพชื ทพ่ี บปญั หาปา่ เส่ือมโทรมในภาคใตม้ ีเพียงปา่ ไม่ผลดั ใบ/ปา่ ดบิ ทีอ่ ยูต่ ่�ำกว่า 1,000 เมตรจาก ระดบั ทะเลปานกลางลงมา ในบัญชไี ด้แบ่งรายชื่อพรรณไมต้ ามลกั ษณะวสิ ัยหรอื ช้ันเรือนยอด ให้ใชข้ อ้ มูลพ้ืนทแ่ี ปลงปลูกจากข้อ 1-3 พจิ ารณา เลอื กพรรณไมใ้ หต้ รงกบั หลกั เกณฑก์ ารปลกู ของโมเดลปลกู ปา่ นเิ วศ 7 ชนั้ ทก่ี ลา่ วไปแลว้ หากตอ้ งการทราบรายละเอยี ด เพม่ิ เตมิ สามารถนำ� ชอ่ื พชื ในบญั ชแี นบทา้ ยไปตรวจสอบรายละเอยี ดเพมิ่ เตมิ ไดจ้ าก ตารางภาคผนวกท่ี 1 รายละเอยี ด พรรณไม้ทแ่ี นะนำ� เพ่อื ปลกู ปา่ เชงิ นิเวศ ซึง่ จะแสดงประโยชน์ใช้สอย ขอ้ มูลการปลกู และการขยายพนั ธขุ์ องพืชแต่ละ ชนดิ มีจำ� นวน 420 ชนดิ (เฉพาะท่เี ปน็ พืชปา่ เทา่ นัน้ ) 42
43
บัญชีแนบท้ายที่ 1.1 พรรณไมท้ ่ีแนะน�ำเพ่ือปลูกป่าเชงิ นเิ วศส�ำหรบั ปา่ ดิบเขา (ความสงู มากกวา่ 1,000 เมตรจากระดับทะเลปานกลาง) ของประเทศไทยตอนบน ได้แก่ ภาคเหนอื ภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันตก และภาคตะวนั ออก (ยกเวน้ จนั ทบุรแี ละตราด ด้านรับลม มรสุมฤดูฝน) ไม้นำ้� (A) ไมพ้ มุ่ (Sh) ผกั กูด ตูน/คูน/อ้อดบิ เผือก/บอน ผักแพว/ผักไผ่ บัวบก สม้ แปะ/สม้ ปี้ เพ้ยี กระทิง มะกา้ ก/หม่าล่า มะข่วง ผกั แปม คาวตอง กกสานเสื่อ คลา้ /แหยง่ คลุ้ม/แหยง่ ป่า ผักแปม มะหลอด เมา่ ช้าง หัสคณุ /เพ้ยี ฟาน มนั ปลา หอมไก๋/กระดูกไก่ มะขม (500-2,500) มะไฟแรด/ ไมล้ ม้ ลกุ (H) นมววั ห้อมช้าง มะนาวควาย/มะงวั่ อัคคที วาร/ตรชี วา ผักเมก็ /เสม็ดชนุ มะเขือพวง มะแว้งตน้ มะอึก นางแลว(ช) ลงิ ลาว(ช) นางเลว(ช) มะแหลบ/เทียนตา ตา้ งหลวง หอมแขก/ใบแกง กะอวม คนทีเขมา ยห่ี ุบ ต๊ักแตน ตะไคร้หอม ดีปลากง้ั สนั พรา้ หอม (ช) ขา่ เร่ว/ พืชสกุลกุหลาบพนั ปี (ไมป้ ระดับ) กลว้ ย (ช) หมอ่ น แหนง่ (ช) เรว่ ใหญ/่ ข่าน�ำ้ (ช) กระชายด�ำ กระชาย ไพล เมีย่ ง/ชา กาแฟอาราบิกา้ (700-2,000) กาแฟโรบัส- ไพลดำ� ไพลนก เข้าพรรษา มหาหงส์ เปราะ ขมิน้ ชนั ตา้ (10-1,200) อลั มอนด์ แมคคาเดเมีย อะโวคาโด ขมนิ้ ออ้ ย ว่านชกั มดลกู ว่านนางคำ� หรือพชื สกุลกระเจยี ว บลเู บอรร์ ี่ ราสเบอรร์ ี่ แบลคเบอรร์ ี่ (ไมด้ อก/สมนุ ไพร) วา่ นสาวหลง วา่ นมหากาฬ เสลด- พังพอนตัวเมีย หนอนตายหยาก ระย่อม ผกั หวานบ้าน ไม้เถา (C) เนระพูสไี ทย มะกล้ิง/มะกิ้ง มะเขาควาย/มะเขาวัว เครืองเู หา่ / ผกั แปมป่า มะแวง้ ครือ ผักปลงั กำ� ลงั ควายถึก/เขอื ง เถาวัลย์ยั้ง/เครอื เดา ชะลดู ขา้ วเยน็ เหนือ 44
ไม้ต้นขนาดใหญ่ (L) จ�ำปีปา่ จำ� ปาป่า จำ� ปีหลวง แกว้ มหาวนั กำ� ลงั เสือโครง่ ยางปาย กฤษณาดอย เทพทาโร กะเพราตน้ ยมหอม เฉียงพรา้ นางแอ สะเดาช้าง กระท้อน สนแผง/แปกลม สนสามใบ สนสองใบ มะขามปอ้ มดง พญามะขามปอ้ ม โลงเลง/ไม้ฮิโนกลิ าว/สนฮกเกีย้ น สนไซเพรสไตห้ วัน สนไซเพรสแดงไตห้ วนั ก่อเดือย กอ่ ใบเลื่อม ก่อแปน้ ก่อพวง ไม้ต้นขนาดกลาง (M) ไผ่ยักษ์ ไผห่ ก ไผ่บงใหญ่ ไผซ่ างหมน่ พญาไม้ ขุนไม้ สนสามพนั ปี สนใบพาย ซอ้ ยางบง พชื วงศ์จ�ำป-ี จำ� ป่า บุนนาค ตนี เป็ดเขา หาดสา้ น/หาดเขา มะหาดขอ่ ย หรือพชื สกุลมะหาด-ขนนุ แกง คอแลน ค่าหด คอ้ กว่ มแดง รักเขา/แกนมอ/รกั เวียดนาม มะซกั กอ่ สร้อย สม้ สา/เอ้ียบ๊วย หมกั ข้ีหน/ู แอปเปลิ้ ปา่ มะพร้าวนกกก ลนิ้ ควาย คายา่ เซเนกลั คาย่าใบใหญ่ คายา่ ขาว ไม้ต้นขนาดเล็ก (S) มะแขวน่ /กำ� จัดตน้ ตะไครต้ น้ หรอื พืชสกลุ ตะไคร้ต้น-หมีเหมน็ มะเกีย๋ ง พืชสกุลยางบง พืชสกลุ ก�ำยาน นางพญาเสือโคร่ง สุรามะริด สมลุ แว้ง ลูกข่า หรือพชื สกุลอบเชย เมา่ ชา้ ง/มะเมา่ ดง เนียง/มะตึง่ ยาง เพย้ี ฟานต้น พชื วงศ์ จำ� ป-ี จำ� ปา่ กลว้ ยฤๅษี เสย้ี วดอกขาว (500-2,000) เดอ่ื ชงิ้ /ชงิ้ ขาว แมคคาเดเมยี พลับ เกาลัดจนี อะโวคาโด อบเชยจีน อบเชยญวน อบเชยเทศ ไม้เบกิ น�ำ (P) พังแหร สอยดาว เล่ียน ตองแตบ เต้าดง/หูช้าง ปลายสาน ทองหลางปา่ งิ้วแดง/งิ้วบ้าน ทะโล้ สะเต้า สามเต้า กางหลวง กอ่ สรอ้ ย ไผเ่ ฮยี ะ โพบาย กระทุ่มบก ล�ำพูป่า เดื่อปล้องหิน หมายเหตุ (ช) : เหมาะสมตอ่ การปลูกในพ้นื ทชี่ น้ื มีช้ันดินลกึ มากกวา่ 1 เมตร เช่น อยใู่ กลร้ ่องน�ำ้ หรือมรี ะบบให้น้�ำอย่างเพียงพอ (500-2,000) : ชว่ งความสูงทีเ่ หมาะสมต่อการปลูก หนว่ ยเปน็ เมตรจากระดบั ทะเลปานกลาง 45
บัญชีแนบทา้ ยท่ี 1.2 พรรณไมท้ ี่แนะน�ำเพ่ือปลกู ป่าเชงิ นิเวศส�ำหรบั ปา่ ไม่ผลดั ใบ/ป่าดบิ (ความสูงนอ้ ยกว่า 1,000 เมตรจากระดบั ทะเลปานกลาง) ของประเทศไทยตอนบน ไดแ้ ก่ ภาคเหนือ ภาคตะวนั ออก เฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันตก และภาคตะวนั ออก (ยกเว้นจันทบุรแี ละตราด ด้านรบั ลมมรสุมฤดูฝน) ไม้น�้ำ (A) ไมเ้ ถา (C) ผกั กดู ตนู /คนู /อ้อดิบ โสน เผือก/บอน ผักแพว/ผักไผ่ มะกลงิ้ /มะกง้ิ เครอื งเู ห่า/ผกั แปมปา่ ส้มปอ่ ย ดปี ลี พลู บัวบก ผกั แปม คาวตอง ผกั บุ้ง ผักกระเฉด กกสานเสื่อ สะค้าน/จะค้าน (ช) สะคา้ นหยวก (ช) หวายขม หวาย- คลา้ /แหยง่ คลุม้ /แหย่งปา่ ขรงิ สะแล ขจร/สลิด ผกั เชียงดา ต�ำลึง มะระขน้ี ก อญั ชนั ผกั สาบ/ผกั อีนูน กระทงุ หมาบ้า/ผกั ฮว้ นหมู ไมล้ ้มลกุ (H) ขา้ วสารดอกใหญ่/เครอื เขาหนัง ขา้ วสารดอกเล็ก ผักปลงั หนามโคง้ /ผักงวม หนามปู่ยา่ /ช้าเลือด ผกั ฮาก บกุ ไข/่ บกุ คนโท ดปี ลากงั้ สันพรา้ หอม (ช) นางแลว กำ� ลงั ควายถึก/เขือง เถาวัลยย์ ั้ง/เครอื เดา ฟักข้าว (ช) ลิงลาว (ช) นางเลว (ช) มะแหลบ/เทียนตาต๊กั แตน ผกั แสว้ ชะเอมเถา น�้ำใจใคร/่ ผักอที ก กลอย มนั นก/ หญ้าแฝก ตะไครห้ อม ขา่ กระวานจนั ทบูร (ช) เรว่ / มนั กะทาด กวาวเครือแดง กวาวเครือขาว รางจดื แหนง่ (ช) เรว่ ใหญ่/ขา่ น้ำ� (ช) กระชายดำ� กระชาย ไพล เถาเอ็นออ่ น เถาวัลย์เปรียง ขมนิ้ เครือ(ช) ประดงเลือด ไพลด�ำ ไพลนก เขา้ พรรษา มหาหงส์ เปราะ ขมิ้นชัน (ช) ม้าทลายโรง/ม้ากระทืบโรง กำ� แพงเจ็ดช้ัน/ตาไก้ ขมิ้นอ้อย วา่ นชักมดลกู วา่ นนางคำ� พืชสกลุ กระเจียว โคคลาน บอระเพด็ เถาย่านาง/ย่านาง ยา่ นางแดง/ขยัน (ไม้ดอก/สมนุ ไพร) ว่านสาวหลง ว่านมหากาฬ เสลด- สริ นิ ธรวัลล/ี สามสบิ สองประดง ข้าวเย็นเหนอื /ข้าวเยน็ ใต้ พังพอนตวั เมีย หนอนตายหยาก ฟา้ ทะลายโจร ระย่อม กรงุ เขมา/หมาน้อย เครือปลอก/พญางิ้วดำ� รางแดง ผกั หวานบา้ น เนระพสู ไี ทย บัวบกโขด สบเู่ ลอื ด บอระเพด็ พุงชา้ ง 46
ไมต้ ้นขนาดใหญ่ (L) ยางแดง ยางนา (ช) ยางปาย แดง มะค่าโมง พะยงู ชิงชัน พะยอม ประดปู่ า่ ยมหนิ ยมหอม (ช) ซ้อ พันจ�ำ/ซี ตะเคียนทอง (ช) ตะเคยี นหิน กระบาก ตะเคยี นเต็ง/ยางหยวก เคยี่ มคะนอง จนั ทนห์ อม กระบก เขลง เตมิ /ประด่สู ้ม (ช) สมอพิเภก ลกู ดิ่ง (ช) สารผักหละ (ช) สม้ ควาย (ช) เฉยี งพร้านางแอ (ช) มะค่าแต้ ตะเคียนหนู เสลาขาว อินทรชติ รกฟา้ ตะแบกเลือด ตะแบกแดง พฤกษ์ พระเจา้ ห้าพระองค์ (ช) เลยี งผง้ึ (ช) ไม้ตน้ ขนาดกลาง (M) มะกอกปา่ บนุ นาค มะรดิ (ช) ล่�ำตาควาย พืชสกลุ มะพลบั -มะเกลอื คอแลน/หมากแงว กาสามปีก ตีนนก ผ่าเสย้ี น กระพน้ี างนวล ชงิ ชนั ขาว เกด็ แดง เก็ดด�ำ ตะแบกเลอื ด พฤกษ์ ชะมวง พะวา กฤษณา ค้อ สมอไทย หว้า มะซกั พืชสกุลมหาพรหม-ล�ำดวนดอย ขีเ้ หลก็ มะฮอกกานี (ช) คาย่าเซเนกัล (ช) คาย่าใบใหญ่ (ช) คาย่าขาว (ช) งิ้วแดง หมเี หมน็ มะม่วง ป่า มะแฟน มะหาด/หาด ขนุนป่า พืชสกุลขนนุ พืชสกลุ สำ� รอง-จอง (ช) มะขวดิ มะสัง (ช) ไผ่ป่า ไผ่ซาง ไผซ่ างนวล ไผซ่ างหมน่ (ช) ไผ่ข้าวหลาม ไผห่ ก (ช) ไผ่บงใหญ่ (ช) ไม้ตน้ ขนาดเล็ก (S) มะแข่วน/กำ� จัดต้น สกั ข้ไี ก่ ผักเฮือด ตา๋ ว/ลูกชิด (ช) ยางบง มะขามปอ้ ม ไผ่เลย้ี ง/ไผ่หวาน ไผ่ตง ตะไครต้ ้น เมา่ ชา้ ง เมา่ ไขป่ ลา มะเกยี๋ ง สมอไทย ตะขบควาย/มะเกวน เสยี้ วดอกขาว ลานป่า (ช) เนียง/มะตึง่ ยาง (ช) มนั ปลา เพกา พชื สกุลสารภี ล�ำดวน ข้าวหลามดง กุ่มบก กุ่มน�้ำ (ช) ลางสาด/ลองกอง (ช) มะปริง/มะปราง/ มะยงชดิ (ช) กระทอ้ น (ช) ปลาไหลเผอื ก ไขเ่ นา่ (ช) พืชสกุลหมกั มอ่ -สะแลง่ หอมไก๋ พชื สกุลค�ำมอกหลวง กาสะ- ลองคำ� เปลา้ ใหญ่ ขนั ทองพยาบาท ทเุ รยี นพนั ธุพ์ น้ื เมือง (ช) เงาะ (ช) ขนุน มะขาม มะไฟ ลน้ิ จปี่ า่ /สีรามัน (ช) ไมเ้ บิกนำ� (P) พงั แหร ตองแตบ ขี้เหลก็ เลอื ด เลย่ี น ปออีเก้ง งิว้ แดง ทองหลางป่า กระทุ่มบก ลำ� พปู ่า สัตบรรณ มะยมปา่ ปนั แถ อะราง ทิ้งถ่อน สะเตา้ กะหนานปลงิ แคหางค่าง แคหัวหมู โพบาย เด่อื ปล้องหนิ ไผ่เฮยี ะ กางหลวง ไม้พุ่ม (Sh) ผักหวานป่า ผกั ติว้ /แตว้ ผักเม็ก/เสม็ดชุน ผักแปม ฝาง ขี้เหลก็ หวายขม ชะอม/ผกั คา เตา่ ร้าง (ช) มะหลอด มะขม เมา่ ช้าง หสั คณุ /เพ้ียฟาน ส่องฟา้ ส่องฟา้ หวาน หมากแปม/ชะมาง หมากหมก ผกั พมู /ผกั หวานป่า ผักเหมียง/ ผกั เหลียง (ช) หอมไก/๋ กระดูกไก่ มะไฟแรด/นมววั บา๊ ซาด/ผกั หวาน กะอวม มะกอกน้ำ� (ช) อัคคีทวาร/ตรีชวา มะเขือพวง มะแว้งต้น มะอึก ตา้ งหลวง สะเลียมหอม หอมแขก/ใบแกง เต่ารา้ ง (ช) คนทีเขมา กำ� ลังวัวเถลงิ เขยตาย ข่อย หม่อน กลว้ ย (ช) หมาก (ช) แคบ้าน ยอบา้ น เลม่อน มะนาวควาย/มะงว่ั (ช) หมายเหตุ (ช) : เหมาะสมตอ่ การปลกู ในพื้นท่ีช้นื มีช้นั ดนิ ลกึ มากกว่า 1 เมตร เชน่ อยใู่ กล้รอ่ งนำ้� หรือมีระบบให้น้�ำอยา่ งเพียงพอ (500-2,000) : ช่วงความสูงที่เหมาะสมตอ่ การปลกู หนว่ ยเป็นเมตรจากระดับทะเลปานกลาง 47
บัญชีแนบทา้ ยท่ี 1.3 พรรณไม้ทแี่ นะน�ำเพอื่ ปลกู ปา่ เชิงนเิ วศสำ� หรับ ปา่ ผลัดใบ (ความสูงน้อยกวา่ 1,000 เมตรจากระดบั ทะเลปานกลาง) ของประเทศไทยตอนบน ไดแ้ ก่ ภาคเหนือ ภาค ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ภาคกลาง ภาคตะวนั ตก และภาคตะวันออก (ยกเวน้ จันทบรุ ีและตราด ด้านรับลม มรสุมฤดูฝน) ไม้น�้ำ (A) ไม้เถา (C) ผักกดู ตูน/คนู /อ้อดบิ โสน เผอื ก/บอน ผกั แพว/ มะกลิง้ /มะกิง้ เครอื งเู หา่ /ผกั แปมป่า สม้ ป่อย ดปี ลี พลู ผักไผ่ บวั บก ผกั แปม คาวตอง ผักบงุ้ ผกั กระเฉด สะคา้ น/จะคา้ น (ช) สะค้านหยวก (ช) หวายขม หวายขรงิ กกสานเสอื่ คล้า/แหย่ง คลมุ้ /แหยง่ ปา่ สะแล ขจร/สลิด ผกั เชียงดา ต�ำลึง มะระขน้ี ก อัญชนั ผกั สาบ/ ผักอนี นู กระทงุ หมาบา้ /ผกั ฮว้ นหมู ขา้ วสารดอกใหญ่/ ไมล้ ม้ ลกุ (H) เครือเขาหนัง ข้าวสารดอกเล็ก ผักปลัง หนามโคง้ /ผกั งวม หนามปู่ย่า/ชา้ เลือด ผกั ฮาก ก�ำลังควายถกึ /เขือง เถาวลั ย์ย้งั / บุกไข/่ บุกคนโท ดีปลากั้ง สันพรา้ หอม (ช) เครือเดา ฟกั ข้าว ผกั แสว้ ชะเอมเถา น้ำ� ใจใคร/่ ผักอีทก กลอย นางแลว (ช) ลิงลาว (ช) นางเลว (ช) มันนก/มนั กะทาด กวาวเครือแดง กวาวเครอื ขาว รางจดื มะแหลบ/เทยี นตาตก๊ั แตน หญา้ แฝก ตะไคร-้ เถาเอ็นอ่อน เถาวลั ย์เปรยี ง ขม้นิ เครือ (ช) ประดงเลือด (ช) หอม ขา่ กระวานจันทบรู (ช) เรว่ /แหน่ง (ช) ม้าทลายโรง/ม้ากระทบื โรง ก�ำแพงเจ็ดชั้น/ตาไก้ โคคลาน เร่วใหญ่/ขา่ นำ�้ (ช) กระชายด�ำ กระชาย ไพล บอระเพ็ด เถาย่านาง/ยา่ นาง ย่านางแดง/ขยนั สิรินธรวัลล/ี ไพลด�ำ ไพลนก เข้าพรรษา มหาหงส์ เปราะ สามสบิ สองประดง ขา้ วเยน็ เหนอื /ขา้ วเย็นใต้ กรุงเขมา/หมา ขมนิ้ ชนั ขม้นิ อ้อย ว่านชกั มดลกู วา่ นนางคำ� น้อย เครอื ปลอก/พญาง้วิ ด�ำ รางแดง สบเู่ ลอื ด บอระเพด็ พงุ - พืชสกลุ กระเจยี ว (ไม้ดอก/สมุนไพร) ว่านสาว- ช้าง หลง ว่านมหากาฬ เสลดพังพอนตัวเมีย หนอนตายหยาก ฟ้าทะลายโจร ระยอ่ ม ผกั หวานบ้าน บวั บกโขด 48
ไม้ต้นขนาดใหญ่ (L) สัก ประดปู่ า่ แดง ชงิ ชัน มะคา่ โมง พะยูง กระพนี้ างนวล พะยอม ยางแดง (ช) ยางพลวง ยมหิน ซอ้ มะคา่ แต้ เขลง ตะเคียนหนู เสลาขาว อินทรชติ กระบก รกฟา้ ตะแบกเลือด ตะแบกแดง เฉียงพร้านางแอ (ช) สมอพเิ ภก พฤกษ์ กระทอ้ น (ช) มะหาด/หาด ขนุนป่า เลยี งผ้ึง (ช) ไมต้ ้นขนาดกลาง (M) มะกอกปา่ หวา้ ง้ิวแดง (ช) ผา่ เส้ียน กาสามปีก สวอง เสลาเปลือกบาง สมอร่อง/ตะแบกหนู อินทนิลบก ราชพฤกษ/์ คนู กลั ปพฤกษ์ มะฮอกกานี (ช) คาย่าเซเนกัล (ช) คาย่าใบใหญ่(ช) คายา่ ขาว (ช) ชงิ ชันขาว เก็ดดำ� เกด็ แดง ปีบ มะตูม มะขวดิ (ช) มะสัง (ช) มะปริง/มะปราง/ มะยงชิด (ช) เสยี้ วดอกขาว (500-2,000) แสมสาร ขเี้ หล็ก (ช) ไขเ่ นา่ (ช) รกั ใหญ่ น้�ำเกล้ียง/ รกั มะซัก มะเกลือ ล�ำ่ ตาควาย พืชสกุลมะพลับ-มะเกลอื สาธร/ขะเจ๊าะ ชะมวง (ช) สมอไทย คอแลน (ช) หมเี หมน็ /หม่ี ตะคร้อ/มะโจก้ ไผ่ปา่ ไผ่ซาง ไผซ่ างนวล ไผ่ซางหม่น (ช) ไผ่ขา้ วหลาม ไผห่ ก (ช) ไผ่บงใหญ่ (ช) ไผ่ยักษ์ (ช) ไม้ตน้ ขนาดเลก็ (S) สักขไี้ ก่ มะแขว่ น/กำ� จดั ตน้ (ช) มะขามป้อม มะเกีย๋ ง (ช) สะเดา ผักเฮอื ด เพกา เม่าชา้ ง เม่าไขป่ ลา ไผเ่ ลย้ี ง/ ไผห่ วาน ไผร่ วก ตา๋ ว/ลกู ชดิ (ช) ตะขบควาย/มะเกวน กระแจะ/ทานาคา ปลาไหลเผอื ก เปลา้ ใหญ่ ขนั ทอง- พยาบาท แคนา (ช) พชื สกลุ สารภี กุ่มบก กุ่มน้�ำ (ช) เนยี ง/มะตง่ึ ยาง (ช) ค�ำมอกหลวง สะแก/สะแกนา (ช) มะมว่ งปา่ /มะม่วงพันธุ์พน้ื เมอื ง ขนุน (ช) มะรมุ ไม้เบกิ น�ำ (P) พังแหร ข้เี หลก็ เลือด ตองแตบ มะยมปา่ ปันแถ อะราง เลย่ี น แคหางค่าง แคหวั หมู กระทุ่มบก ปออีเก้ง ทิ้งถอ่ น ขามควั ะ ไมพ้ ่มุ (Sh) ผกั หวานป่า ฝาง หวายขม สะเลยี มหอม หอมแขก/ใบแกง เม่าชา้ ง บา๊ ซาด/ผักหวาน ชะอม/ผักคา ปอกระสา ผักเมก็ ผกั ต้ิว/ผกั แต้ว มะไฟแรด/นมวัว มะเขือพวง มะอกึ เม่าสรอ้ ย ไผ่รวกดำ� ชิงช่ี เปลา้ ใหญ่ หัสคุณ/เพ้ียฟาน เฟี้ยฟานเลก็ ส่องฟา้ ส่องฟ้าหวาน มะไฟ จนั ทน์แดง/จนั ทน์ผา อคั คีทวาร/ตรีชวา เขยตาย แจง คนทีสอ พชื สกุล ปรง กล้วย (ช) หมอ่ น/มัลเบอร์รี่ ราสเบอร์รี่ (ช) แบลคเบอร์ร่ี (ช) มะมว่ งหมิ พานต์ เลมอ่ น มะนาวควาย/มะงัว่ (ช) พทุ รา มะม่วงหาวมะนาวโห่ แคบ้าน ถัว่ มะแฮะ/ถ่วั แระตน้ ทบั ทิม น้อยหน่า หมายเหตุ (ช) : เหมาะสมตอ่ การปลูกในพืน้ ทีช่ ้ืน มีชั้นดินลึกมากกว่า 1 เมตร เชน่ อยใู่ กลร้ ่องน้ำ� หรอื มีระบบให้นำ้� อยา่ งเพียงพอ (500-2,000) : ช่วงความสงู ท่เี หมาะสมต่อการปลูก หน่วยเป็นเมตรจากระดับทะเลปานกลาง 49
บญั ชีแนบทา้ ยที่ 2 พรรณไมท้ ่แี นะน�ำเพ่ือปลูกปา่ เชงิ นิเวศสำ� หรับ ป่าไมผ่ ลดั ใบ/ป่าดบิ (ความสงู น้อยกวา่ 1,000 เมตรจากระดบั ทะเลปานกลาง) ของประเทศไทยตอนล่าง ไดแ้ ก่ ภาคใต้ และ ภาคตะวันออก (จันทบุรแี ละตราด ดา้ นรับลมมรสุมฤดฝู น) ไมน้ �้ำ (A) ไม้เถา (C) ผักกดู โสน บอน/เผอื ก ผักแพว/ผักไผ่ บัวบก ผกั บุง้ พริกไทย พลู ดปี ลี สะค้าน/จะค้าน พลูแก หวายขม หวาย- ผักกระเฉด กกสานเสอ่ื คล้า/แหยง่ คลมุ้ /แหยง่ ปา่ ขรงิ หวายตะคา้ ทอง หวายขอ้ ดำ� หวายกำ� พวน ใบสีทอง/ยา่ น ดาโอะ๊ ขจร/สลิด ต�ำลงึ มะระข้นี ก เถาคัน อัญชนั ผกั ปลัง ไมล้ ้มลกุ (H) ฟกั ข้าว เครืองเู หา่ กลอย รางจืด เถาเอน็ ออ่ น เถาวลั ย-์ เปรยี ง ขม้นิ เครือ (ช) ม้าทลายโรง/ม้ากระทืบโรง ก�ำแพงเจ็ด- ดาหลา หรอื พชื สกลุ ดาหลา คูน/ออ้ ดิบ ชั้น โคคลาน บอระเพด็ เถาย่านาง กรุงเขมา เครอื ปลอก/ กระวานจนั ทบรู กระวานขาว เร่ว/แหนง่ พญางวิ้ ดำ� สบเู่ ลอื ด วานลิ า เรว่ ใหญ/่ ข่าน้ำ� ขา่ มนั ข้ีหนู ชะพลู บกุ ไข่/บกุ - คนโท อุตพิด กระชายด�ำ กระชาย ไพล ไม้เบกิ น�ำ (P) ไพลดำ� ขมิน้ ขาว ขมน้ิ ชนั ขมิน้ ออ้ ย ว่านชกั - มดลูก วา่ นนางคำ� พชื สกลุ กระเจยี ว ว่านสาว- พังแหร ตองแตบ เมก็ เต้าหลวง พืชสกลุ มะฮัง สอยดาว หลง วา่ นมหากาฬ หญา้ แฝก ตะไครห้ อม ข้ีเหลก็ เลอื ด ปออีเก้ง กระทุ่มบก กะทัง ลำ� พปู า่ สัตบรรณ/ ดีปลากง้ั เสลดพังพอนตวั เมีย หนอนตายหยาก ตนี เป็ดขาว ตีนเป็ดด�ำ ตีนเปด็ เขา ทงุ้ ฟา้ ปลายสาน ปอหู ฟา้ ทะลายโจร เนระพูสไี ทย วา่ นพงั พอน ล�ำป้าง กะหนานปลิง โพบาย/เหยอ่ื จง สะท้อนรอก กะทังใบใหญ่ 50
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154