Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการศึกษาแหล่งสะสมคาร์บอนในพื้นที่ป่าธรรมชาติ

คู่มือการศึกษาแหล่งสะสมคาร์บอนในพื้นที่ป่าธรรมชาติ

Description: คู่มือเล่มนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นแนวทางในการศึกษาแหล่งสะสมคาร์บอน (Carbon Pools) ประเภทต่าง ๆ ในพื้นที่ป่าธรรมชาติ โดยเน้นการศึกษาในพื้นที่ป่าบกเป็นหลัก แต่สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับพื้นที่ ป่าชายหาด ป่าพรุ และป่าชายเลน เป็นต้น และยังรวบรวมองค์ความรู้ เทคนิค และวิธีการ ในการศึกษาการสะสมคาร์บอนจากแหล่งสะสมคาร์บอนประเภทต่าง ๆ ที่ได้ดำเนินงานในภาคสนามตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน รวมถึงการปรับปรุงและพัฒนาเทคนิคด้านต่าง ๆ ให้มีความสอดคล้องและเหมาะสมกับข้อกำหนดในโครงการ REDD+ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาเพื่อจัดทำเส้นฐานอ้างอิง (Reference Level, RL) และ/หรือ เส้นฐานการปล่อยอ้างอิง Reference Emission Level, REL) ของภาคป่าไม้ ต่อไป

Keywords: แหล่งสะสมคาร์บอน,เทคนิคและวิธีการ,REDD+,ป่าธรรมชาติ,Carbon Pools

Search

Read the Text Version

กิตกิ รรมประกาศ จากการท่ีผู้เขียนได้ทาการศึกษาวิจัยเร่ืองความเจริญเติบโตและผลผลิต (Growth and Yield) ของต้นไม้ รวมถงึ การสะสมคาร์บอน (Carbon Stock) ทง้ั ในพื้นที่ป่าปลูกและป่าธรรมชาติ อย่างต่อเน่ืองมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 เร่ือยมาจนถึงปัจจุบัน นับเป็นระยะเวลายาวนานกว่า 33 ปี และได้มีโอกาสปฏิบัติงานวิจัยร่วมกับผู้เช่ียวชาญท้ังชาวไทย ญี่ปุ่น และออสเตรเลีย อย่างต่อเน่ือง รวมถึงมีโอกาสได้รับการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการทั้งในประเทศญ่ีปุ่นและออสเตรเลียหลายครั้ง โดยเฉพาะอย่างย่ิงได้รับการปลูกฝัง และถ่ายทอดงานวิจัยทางด้านนี้จากนักวิจัยอาวุโสหลายท่าน ตง้ั แต่แรกเรม่ิ ในการรบั ราชการ เชน่ คุณบวั เรศ ประไชโย คุณเกียรติก้อง พิตรปรีชา คุณพิณ เกื้อกูล คุณคงศักดิ์ ภญิ โญภษู าฤกษ์ คุณพทิ ยา เพชรมาก คุณบญุ ฤทธิ์ ภรู ิยากร คุณสรายทุ ธ บุณยะเวชชีวิน คุณทศพร วัชรางกูร คุณธิติ วิสารัตน์ คุณบพิตร เกียรติวุฒินนท์ คุณวิฑูรย์ เหลืองวิริยะแสง คุณรัตนะ ไทยงาม และคุณสมบูรณ์ กีรติประยูร รวมถึงผู้เชี่ยวชาญชาวญ่ีปุ่น Dr. Moriyoshi Ishizuka และ Dr. Koichi Kamo ที่ถือได้ว่าท่านเหล่าน้ันเป็นครูบาอาจารย์ ท่ีผู้เขียนได้เก็บเกี่ยวความรู้ แนวคิด ประสบการณ์ เพ่ือนามาประยุกต์ใช้กับการศกึ ษาวิจัยทางด้านนี้ และถือได้ว่าผู้เขียนโชคดีที่ ได้รบั ทง้ั โอกาส และแบบอยา่ งท่ีดีในการปฏบิ ัตงิ านจากทกุ ท่านดงั กลา่ ว ขอขอบคณุ หัวหนา้ กลุ่มงานวิจัยระบบนิเวศป่าไม้และสิ่งแวดล้อม (คุณภาณุมาศ ลาดปาละ) และผู้อานวยการสานักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธ์ุพืช (คุณธัญนรินทร์ ณ นคร) ท่ีสนับสนุนและ มอบโอกาสให้ผู้เขียนได้จัดทา “คู่มือการศึกษาแหล่งสะสมคาร์บอนในพ้ืนที่ป่าธรรมชาติ” ขอขอบคุณ คุณขวัญชนก ทองจาด ที่ช่วยตรวจทานต้นฉบับ คุณกฤติณ สุดโต ที่ช่วยจัดทาแผนที่ดาวเทียม คุณสุวรรณา เขื่อนคา ท่ีช่วยในการออกแบบและจัดทารูปเล่ม และขอขอบคุณเจ้าหน้าที่และ พนักงานทกุ ทา่ นทอี่ านวยความสะดวกในด้านต่างๆ ไว้ ณ โอกาสน้ี ประโยชน์ที่ได้รับจากคู่มือเล่มนี้ ขอมอบไว้แด่คณะบุคคลท่ีได้กล่าวนามมาแล้วข้างต้น และข้อบกพรอ่ งประการใดจากคู่มือเล่มนี้ ผเู้ ขยี นขอน้อมรับไว้แต่เพียงผ้เู ดียว (นายชงิ ชยั วริ ยิ ะบญั ชา) นักวิชาการปา่ ไม้ชานาญการพิเศษ 18 กนั ยายน 2563



สารบญั หน้า สารบัญ (1) สารบญั ตาราง (3) สารบัญภาพ (5) คานา 1 แหลง่ สะสมคารบ์ อน (Carbon Pool) ระบบนิเวศป่าไม้ 3 การสะสมคารบ์ อนในกลุม่ ของมวลชวี ภาพที่มชี วี ติ (Living Biomass) 5 มวลชวี ภาพ (Biomass) 5 สมการแอลโลเมตริก (Allometric equations) 6 เทคนคิ การศกึ ษามวลชวี ภาพตน้ ไม้ในปา่ ปลกู 7 การจดั เตรยี มเครื่องมือและอุปกรณ์ในการศกึ ษามวลชีวภาพ 9 ตารางบันทึกข้อมลู มวลชีวภาพ 11 การเลอื กไมต้ วั อย่างเพื่อใชใ้ นการศกึ ษามวลชีวภาพ 15 การลม้ ตน้ ไม้ 17 มิตกิ ารวดั ขอ้ มลู ตน้ ไมภ้ ายหลังการลม้ ตน้ ไม้ 18 การทอนไม้เพ่อื เก็บข้อมลู นา้ หนกั สด 19 การชง่ั น้าหนกั สด 21 การสมุ่ เก็บตวั อย่างเพอ่ื ไปหาน้าหนกั แห้ง 23 การศกึ ษามวลชีวภาพของราก 25 การอบตวั อยา่ ง 27 การแปลงคา่ ข้อมูลน้าหนักสดภาคสนาม 28 สมการแอลโลเมตริกของมวลชีวภาพเหนือพนื้ ดิน 29 สมการแอลโลเมตริกของมวลชีวภาพใตพ้ ืน้ ดนิ 34 การศึกษามวลชีวภาพของต้นไมใ้ นป่าธรรมชาติ 38 การคานวณมวลชีวภาพจากแปลงตวั อยา่ งถาวร 48 ขนาดแปลงตัวอยา่ งเพอื่ ศึกษาการสะสมคาร์บอน 51 การเก็บขอ้ มลู ไม้หนุ่ม 52 การเกบ็ ขอ้ มูลกลา้ ไม้ 54 คา่ ความหลากชนิด และค่าความสาคญั 56 การเก็บข้อมลู ภูมิอากาศ 61 (1)

สารบัญ (ต่อ) หนา้ การสะสมคาร์บอนในกลุม่ ของเศษซากพชื ทีต่ าย (Dead Organic Matter) 68 หลักการของอารค์ ิมิดสี 70 การศึกษาไม้ล้มขอนนอนไพร 72 การจดั เตรียมเครอ่ื งมือและอปุ กรณ์ในการศกึ ษาไมล้ ม้ ขอนนอนไพร 73 การเกบ็ ข้อมูลไมล้ ม้ ขอนนอนไพร 74 การเกบ็ ชน้ิ ไม้ตัวอย่างของไมล้ ้มขอนนอนไพร 76 การหาความหนาแน่นของเนื้อไม้จากชิ้นไม้ตวั อยา่ ง 78 การศึกษาไมย้ ืนต้นตาย 81 การคานวณมวลชวี ภาพของไมย้ ืนตน้ ตาย 82 การศึกษาซากพชื ทร่ี ว่ งหล่น 84 ตะแกรงรองรับซากพืชท่ีรว่ งหลน่ 87 เทคนิคการทาตะแกรงรองรับซากพชื 88 การตดิ ต้ังตะแกรงท่ีใช้ในการเกบ็ ซากพืช 90 อปุ กรณใ์ นการเกบ็ รวบรวมซากพืชจากตะแกรง 91 การคัดแยกซากพชื 93 การสะสมคาร์บอนในกลุ่มของคารบ์ อนในดนิ (Soil Organic Matter) 97 อปุ กรณใ์ นการเก็บตัวอยา่ งดนิ 97 การเกบ็ ตัวอย่างดนิ ในแปลงตวั อยา่ งถาวร 99 ตาแหนง่ การเก็บตัวอย่างดนิ 100 การเก็บข้อมูลความหนาแนน่ ของดนิ 104 การเตรยี มตัวอยา่ งดนิ ในห้องปฏิบัตกิ าร 109 การคานวณปรมิ าณคาร์บอนต่อหน่วยพนื้ ท่ี 113 เอกสารอา้ งอิง 115 ภาคผนวก 123 เอกสารท่คี วรศกึ ษาเพม่ิ เติม 133 (2)

สารบัญตาราง หนา้ ตารางท่ี 1 การจาแนกแหล่งสะสมคาร์บอน (Carbon Pools) ในพื้นที่ป่าธรรมชาติ 3 ตามหลกั เกณฑข์ อง IPCC (2003) ตารางท่ี 2 กระดาษบนั ทึกขอ้ มลู ภาคสนาม แสดงถึงรายละเอยี ดของข้อมูลท่ัวๆ ไป ท่ีควรมี 9 การบันทึกไว้เพือ่ นาไปใชท้ าฐานขอ้ มลู ในอนาคต (ทมี่ า : ชิงชัย และคณะ, 2541) ตารางท่ี 3 รายการเครอื่ งมอื และอุปกรณท์ ี่มคี วามจาเปน็ ต้องใชใ้ นการปฏิบัตงิ านเก็บข้อมลู 10 มวลชีวภาพ ตารางท่ี 4 ตัวอย่างตารางบันทึกข้อมูลมวลชีวภาพเหนือพ้ืนดินของไม้สัก อายุ 21 ปี 13 ระยะปลูก 2X8 m2 ณ สวนป่านาด้วง อาเภอนาด้วง จังหวัดเลย (ท่ีมา : Viriyabuncha et al., 2005) ตารางที่ 5 การกาหนดขนาดไมต้ วั อยา่ งก่อนตัดทามวลชีวภาพ และขนาดไมต้ ัวอย่างจรงิ ท่ไี ด้ 16 ภายหลงั การศกึ ษามวลชวี ภาพของสวนปา่ ไม้สกั ทร่ี ะยะปลูก 2X8 m2 อายุ 21 ปี ณ สวนป่านาดว้ ง อาเภอนาด้วง จังหวัดเลย (ที่มา : Viriyabuncha et al., 2005) ตารางท่ี 6 ขอ้ มูลมวลชวี ภาพรายต้นของไม้สกั อายุ 21 ปี ระยะปลูก 2X8 m2 ณ สวนป่านาด้วง 29 อาเภอนาดว้ ง จงั หวดั เลย (ท่มี า : Viriyabuncha et al., 2005) ตารางท่ี 7 ข้อมูลขนาดจากัดของลาต้น และปริมาตรของลาต้นของไม้สัก อายุ 21 ปี 33 ระยะปลกู 2X8 m2 ณ สวนปา่ นาดว้ ง อาเภอนาด้วง จังหวัดเลย ตารางท่ี 8 ข้อมูลขนาดความโต และความสูง กับมวลชีวภาพของลาต้น กิ่ง ใบ ส่วนท่ีอยู่ 35 เหนือพ้ืนดิน และราก รายต้น และสัดส่วนของมวลชีวภาพของรากต่อมวล ชีวภาพเหนือพ้ืนดนิ ของไม้สกั ไมก้ ระถินเทพา และไม้ยูคาลิปตัส คามาลดูเลนซิส ท่อี ายุและระยะปลกู ต่างๆ ตารางท่ี 9 ค่า Default ของ IPCC (2006) ท่ีกาหนดสัดส่วนของ มวลชีวภาพของราก 37 ตอ่ มวลชีวภาพเหนือพนื้ ดนิ ในระบบนิเวศป่าไม้แบบต่างๆ ตารางทื่ 10 สมการแอลโลเมตริกประเภทต่างๆ ท่ีใชใ้ นการคานวณมวลชีวภาพของปา่ ธรรมชาติ 45 และพันธ์ไุ ม้ชนดิ ต่างๆ ของประเทศไทย ตารางทื่ 11 รายการเครื่องมือและอุปกรณ์ท่ีมีความจาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน 73 เกบ็ ขอ้ มูลไมต้ าย (3)

สารบัญตาราง (ต่อ) หนา้ ตารางทื่ 12 ตัวอย่างตารางเก็บข้อมูลไม้ล้มขอนนอนไพรและตอไม้ ในแปลงตัวอย่าง 79 ถาวรของพื้นที่ป่าเต็งรัง บ้านนาหว้า อาเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี แสดงการบันทึกข้อมูลการช่ังชิ้นไม้ตัวอย่างในน้า การช่ังน้าหนักแห้ง ขนาด ของเส้นผ่านศูนย์กลาง และความยาวของท่อนไม้ล้มขอนนอนไพร เพื่อ คานวณหามวลชีวภาพ ตารางทื่ 13 รายการอุปกรณ์ในการเก็บรวบรวมซากพืชจากตะแกรง และทาการคัดแยก 91 ซากพชื เป็นส่วนตา่ งๆ ตารางทื่ 14 รายการอุปกรณ์ในการเก็บตัวอย่างดินภาคสนาม เพื่อศึกษาการสะสม 98 คาร์บอนในดนิ ตารางท่ื 15 ตัวอย่างของข้อมูลจานวน 1 จุด แสดงมิติต่างๆ ท่ีได้จากการเก็บตัวอย่าง 113 ภาคสนาม และคา่ ท่ีได้จากการวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ เพื่อการคานวณ ปริมาณคารบ์ อนตอ่ หนว่ ยพืน้ ที่ (4)

สารบัญภาพ หนา้ ภาพท่ี 1 การประเมินค่าคาร์บอนในป่าธรรมชาติ จากแหล่งสะสมคาร์บอนแหล่งต่างๆ 4 ภาพท่ี 2 1) มวลชีวภาพเหนอื พ้นื ดนิ 2) มวลชีวภาพใตพ้ ืน้ ดนิ 3) ตน้ ไมต้ าย รวมถึงไม้ ล้มขอนนอนไพร 4) ซากพืชที่ร่วงหลน่ และ 5) คารบ์ อนในดิน ภาพที่ 3 ภาพท่ี 4 ขบวนการสังเคราะห์แสง เกิดจากใบไม้ที่มีสารคลอโรฟิลล์ทาหน้าท่ีเป็น 6 ภาพท่ี 5 โมเลกุลรับพลังงานจากแสงอาทิตย์ แล้วนามาสร้างเป็นพลังงานเคมี โดยใช้ ภาพท่ี 6 ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ และน้าเป็นวัตถุดิบ ผลผลิตที่ได้จะเป็น คาร์โบไฮเดรต (แป้งและน้าตาล) และก๊าซออกซิเจน ต้นไม้จะนา ภาพที่ 7 คาร์โบไฮเดรตท่ีได้ไปสร้างเนื้อเย่ือประเภทต่างๆ รวมเรียกว่ามวลชีวภาพ ภาพท่ี 8 ส่วนก๊าซออกซิเจนจะออกสู่อากาศตอ่ ไป สมการแอลโลเมตริก ในรุ่นแรกๆ จะเน้นการศึกษาไปทางด้านสัตว์ เช่น 7 เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างขนาดตัวช้างเทียบกับกระดูกขาหน้า เป็นต้น (ท่ีมา : https://en.wikipedia.org/wiki/Allometry) การแจกแจงความถ่ีตามขนาดช้ัน DBH ของสวนป่าไม้สกั ที่ระยะปลูก 2X8 m2 อายุ 16 21 ปี ณ สวนปา่ นาด้วง อาเภอนาดว้ ง จงั หวัดเลย (ที่มา : Viriyabuncha et al., 2005) ไม้หว้าหิน (Eugenia kunstleri) เป็นไม้ในป่าพรุน้าจืด ท้องท่ีจังหวัดนราธิวาส 17 จะมีลาต้นหลายลาตน้ การตัดตน้ ไมต้ ัวอย่างเพอ่ื ศึกษามวลชีวภาพ ทาการตัดต้นไม้ให้ชิดดินมากที่สุด 18 1) การใช้จอบปรับพนื้ ท่รี อบๆ โคนตน้ ก่อนทาการตัดไม้พฤกษ์ ท้องที่จังหวัด พะเยา 2) การตัดไม้พฤกษ์โดยใช้เลื่อยคันธนู 3) การตัดไม้พฤกษ์โดยใช้เล่ือย แบบ 2 คนชัก และ 4) การตัดไม้สักโดยใช้เล่ือยยนต์ ของสวนป่านาด้วง จงั หวดั เลย ตาแหน่งท่ีใช้ในการเก็บข้อมูลทางด้านความสูง และเส้นผ่านศูนย์กลางของ 18 ต้นไม้ตัวอย่างโดยแบ่งเป็นช้ันๆ โดยมีระยะห่างระหว่างชั้น 1 m จากพ้ืนดิน ถึงปลายยอด การเก็บข้อมูลมิติต่างๆ ในภาคสนามของต้นไม้ ภายหลังจากทาการล้มแล้ว 19 ของสวนป่าไมส้ กั อายุ 21 ปี ระยะปลูก 2X8 m2 สวนป่านาด้วง จังหวัดเลย 1) ทาการดงึ เทปวดั ระยะจากโคนตน้ ไปยงั ปลายยอดโดยให้เทปวัดระยะแนบ กับลาต้นให้มากท่ีสุด 2) ใช้ปากกาเคมีทาเคร่ืองหมายตาแหน่งต่างๆ ที่ต้อง ทาการวดั ขอ้ มลู 3 ) การวดั ขนาด Ø ท่ีโคนต้น และ 4) การวัดขนาด Ø ท่ีระดับ D30 และทกุ ระดบั จนถึงปลายยอด (5)

สารบญั ภาพ (ต่อ) หนา้ ภาพที่ 9 การทอนไมส้ ักออกเป็นชั้นๆ ละ 2 m เพ่ือแยกส่วนท่ีเป็น ลาต้น ก่ิง ใบ และ 20 ดอก-ผล ของแต่ละชั้นออกจากกัน เพื่อเตรียมนามาช่ังหาน้าหนักสดของ ภาพท่ี 10 ส่วนต่างๆ ตอ่ ไป 1) ส่วนของลาตน้ ท่ถี ูกทอนออกเปน็ ทอ่ นๆ ละ 2 m 2) การแยก ภาพที่ 11 กิง่ ออกจากลาตน้ และการแยกใบออกจากกิ่ง 3) การคัดแยกขนาดของก่ิงท่ีมี ภาพท่ี 12 Ø < 2 cm, 2-5 cm, 5-10 cm และ > 10 cm และ 4) การจัดเรียงท่อนไม้ แตล่ ะชน้ั เพ่ือเตรียมการชั่งนา้ หนกั สดของส่วนต่างๆ ที่ไดท้ าการแยกเรยี บรอ้ ยแลว้ ภาพท่ี 13 ไมพ้ ฤกษ์ เป็นตน้ ไม้ทีม่ ีลกั ษณะเป็นใบประกอบ การศึกษามวลชีวภาพของใบ 21 จะรวมในสว่ นของใบย่อยและก้านใบเข้าด้วยกัน การช่ังน้าหนักสดส่วนต่างๆ ที่ได้จากการทอนลาต้นไม้สักท่อนละ 2 m 22 1) การจัดวางตาแหน่งเคร่ืองช่ังน้าหนักท้ัง 3 ขนาด เพ่ือเตรียมการอ่านค่า 2) การชั่งน้าหนักของลาต้นไม้สักด้วยเคร่ืองช่ังสปริงแบบแขวนที่ช่ังน้าหนัก ได้สูงสุด 100 kg 3) การชั่งกิ่งไม้สักด้วยเคร่ืองช่ัง Digital ขนาด 20 kg และ 4) การช่งั ใบสกั ดว้ ยเครือ่ งชั่ง Digital ขนาด 2 kg การสุ่มและจัดเตรียมตัวอย่างของลาต้น และกิ่งใหญ่ขนาด Ø 5-10 cm ของไม้สัก 24 1) การเลื่อยตัดลาต้นท่ีมีขนาดใหญ่บริเวณปลายท่อน ให้มีความหนาของแว่น ประมาณ 2-3 cm 2) การเกบ็ ตวั อย่างลาตน้ เพอ่ื นามาชั่งน้าหนักสด โดยการ ผา่ แว่นไม้ใหผ้ ่านใจกลางแบบแบ่ง ¼ เลือกส่วนที่ดีท่ีสุด 1 ช้ิน จากแต่ละท่อน ต้ังแต่โคนตน้ ถึงปลายยอดนามาชั่งน้าหนักรวมกัน 3) การช่ังน้าหนักสดของ กง่ิ ใหญ่ ขนาด Ø 5-10 cm และ 4) เน่ืองจากจานวนและน้าหนักของก่ิงใหญ่ มีจานวนมากจงึ ใชก้ ระดาษหนังสือพิมพ์ห่อตัวอยา่ ง การศกึ ษามวลชีวภาพของรากไม้กระถินเทพา อายุ 5 ปี ระยะปลูก 3X3 m2 26 ณ สวนป่าคลองตะเกรา อาเภอท่าตะเกียบ จังหวัดฉะเชิงเทรา 1) การตาม รากแขนงที่มีขนาดใหญ่ เพ่ือดูขอบเขตการกระจายของราก 2) เมื่อนาดิน ออกไปถงึ ความลกึ หนงึ่ จะทางานได้ยากลาบากจาเปน็ ต้องตัดรากและยกส่วน ทีเ่ ป็นตอ (Stump) ออกมากอ่ น รากท่ยี ังอยใู่ นดินจะใช้เชือกฟางผูกไว้เพื่อใช้ ตดิ ตามรากต่อไป 3) ทาการขุดตามรากท่ีมีเชือกฟางผูกอยู่ทุกราก 4) นาราก ขนาดเล็กมาล้างทาความสะอาดเพื่อนาเศษดินออกจากราก 5) การล้างราก ส่วนที่เป็นตอจะรองด้วยตาข่ายไนลอนเพ่ือปอ้ งกนั เศษของรากที่อาจจะสูญหาย 6) นารากท่ีล้างทาความสะอาดแล้วมาผึ่งในท่ีร่ม 7) ทาการคัดแยกขนาดต่างๆ ของราก แล้วนาไปชง่ั น้าหนกั สด 8) การเลอ่ื ยตอเพือ่ เตรียมตัวอย่างราก และ 9) การเตรียมตัวอย่างรากขนาดต่างๆ เพื่อช่ังหาน้าหนักสดแล้วใส่ถุงเพ่ือรอ การเคลือ่ นยา้ ย (6)

สารบัญภาพ (ต่อ) หน้า ภาพท่ี 14 สมการแอลโลเมตริกของไม้สัก สวนป่านาด้วง จังหวัดเลย ท่ีใช้ประมาณ 30 ภาพท่ี 15 มวลชีวภาพส่วนต่างๆ ของไม้สักโดยใช้ค่า DBH2. Ht เป็นตัวแปรอิสระ และมี ภาพท่ี 16 ตัวแปรตามคือ 1) มวลชีวภาพของลาต้น 2) มวลชีวภาพของก่ิง 3) มวล ชีวภาพของใบ 4) มวลชีวภาพส่วนของเน้ือไม้ 5) มวลชีวภาพเหนือพื้นดิน ภาพท่ี 17 และ 6) มวลชีวภาพสว่ นของดอก-ผล ภาพที่ 18 ภาพที่ 19 สมการแอลโลเมตริกปริมาตรลาต้นของไม้สัก สวนป่านาด้วง จังหวัดเลย 31 ภาพที่ 20 โดยใช้ค่า DBH2. Ht เป็นตัวแปรอิสระ และมปี รมิ าตรของลาต้นเป็นตัวแปรตาม 1) สมการท่ีใช้ข้อมูลภาคสนามทั้งหมดจานวน 10 ต้น และ 2) สมการที่ตัด ข้อมลู ต้นท่ี 10 ออกไป ข้อมูลมวลชีวภาพภาคสนามของไม้สักจากสวนป่าแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ 32 สวนป่าสบพลึง จังหวัดลาปาง สวนป่าศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย สวนป่า ทองผาภูมิ จงั หวดั กาญจนบุรี สวนป่าแม่จาง จังหวัดลาปาง และสวนป่านาด้วง จังหวัดเลย รวมจานวนทั้งสิ้น 83 ต้น นามาหาสมการแอลโลเมตริกของไม้สัก 1) มวลชีวภาพของลาต้น 2) มวลชีวภาพของกิ่ง 3) มวลชีวภาพของใบ และ 4) มวลชวี ภาพเหนือพื้นดิน สมการในรูปแบบ Richards Function ที่นามาประยุกต์ใช้กับความสัมพันธ์ 34 ระหว่างขนาด DBH กับค่าสัดส่วนของ 1) มวลชีวภาพของลาต้นท้ังหมดกับ มวลชีวภาพลาต้นที่มีขนาด Ø มากกว่า 10 cm และ 2) ปริมาตรลาต้น ทงั้ หมดกับปริมาตรลาต้นทมี่ ขี นาด Ø มากกวา่ 10 cm สมการแอลโลเมตรกิ เพื่อใชป้ ระมาณมวลชีวภาพของราก จากขอ้ มลู รวมของไม้สกั 36 ไม้กระถินเทพา และไม้ยูคาลิปตัส คามาลดูเลนซิส ทุกชั้นอายุ 1) การใช้ค่า DBH2. Ht เป็นตัวแปรอิสระ และ 2) การใช้มวลชีวภาพเหนือพื้นดินทั้งหมด (AGB) เปน็ ตัวแปรอสิ ระ ลักษณะสภาพพ้ืนที่และตาแหน่งของต้นไม้ในแปลงตัวอย่างถาวรขนาด 48 100X100 m2 ในพ้ืนที่ป่าดิบเขา ณ อุทยานแห่งชาติ ดอยอินทนนท์ จังหวัด เชียงใหม่ พบว่ามวลชีวภาพเหนือพ้ืนดิน มีค่า 515.484 t/ha โดยแยกเป็น มวลชีวภาพของต้นไม้ เถาวัลย์ และกล้วยป่า มีค่า 512.005 3.461 และ 0.018 t/ha ตามลาดับ การคานวณมวลชวี ภาพเหนือพืน้ ดนิ ของต้นไม้ เถาวัลย์ และกล้วยป่า โดยจัดแบ่ง 49 เป็นแปลงตัวอย่างขนาด 40X40 m2 จานวน 4 แปลง 1) รูปแบบการแบ่ง แปลงย่อยจานวน 4 แปลง และ 2) การเปรียบเทียบข้อมูลมวลชีวภาพ เหนอื พื้นดนิ ตอ่ หนว่ ยพืน้ ท่ี ที่มีขนาดและตาแหนง่ ของแปลงท่ีแตกต่างกนั (7)

สารบัญภาพ (ต่อ) หนา้ ภาพที่ 21 การคานวณมวลชีวภาพเหนือพื้นดนิ ของต้นไม้ เถาวลั ย์ และกล้วยปา่ โดยจัดแบ่ง 49 เป็นแปลงตัวอย่างขนาด 50X50 m2 จานวน 4 แปลง 1) รูปแบบการแบ่ง ภาพที่ 22 แปลงย่อยจานวน 4 แปลง และ 2) การเปรียบเทียบข้อมูลมวลชีวภาพ 50 ภาพที่ 23 เหนือพืน้ ดินตอ่ หน่วยพ้ืนที่ ทีม่ ีขนาดและตาแหน่งของแปลงทีแ่ ตกตา่ งกนั 50 รูปภาพท่ีเป็นโมเสคจะประกอบด้วยรูปขนาดเล็กๆ จานวนมาก เมื่อนามา ภาพที่ 24 รวมกลุ่มและจัดลงในตาแหน่งต่างๆ ของภาพ เมื่อมองไกลออกมาก็จะเห็น 52 ภาพที่ 25 ภาพนัน้ ๆ ไดแ้ จ่มชัดขนึ้ 53 ภาพที่ 26 เปรียบเทียบขนาดของแปลงตัวอย่างที่ซ้อนทับกับข้อมูลดาวเทียม Landsat 55 ภาพที่ 27 วันท่ี 19 มีนาคม 2559 โดยใช้ค่า NDMI (Normalized Difference 56 ภาพที่ 28 Moisture Index) ในการเปรียบเทียบ 1) แปลงขนาด 40X40 m2 และ 62 ภาพที่ 29 2) แปลงขนาด 50X50 m2 62 ภาพที่ 30 ลักษณะการวางผังแปลงย่อยเพ่ือเก็บข้อมูลมวลชีวภาพของไม้หนุ่ม พลวัต 63 ของกล้าไม้ และปริมาณซากพืชท่ีร่วงหล่น 1) ในพ้ืนที่แปลงตัวอย่างถาวร (8) ขนาด 40X40 m2 และ 2) ในพื้นท่ีแปลงตวั อย่างถาวรขนาด 50X50 m2 การเก็บข้อมูลไม้หนุ่มภาคสนาม 1) ให้เลขด้วยเคร่ืองปั๊มตัวอักษร DYMO 2) การตัดเทปท่ีพิมพ์เลข 3) การหมายตาแหน่งท่ีวัด DBH 4) การวัด DBH 5) การวดั ความสูง และ 6) ต้นไมห้ ลงั เก็บขอ้ มลู การตดิ ตามขอ้ มลู ของกลา้ ไมใ้ นแปลงตวั อย่างขนาด 1X1 m2 1) กลา้ เคีย่ มคะนอง ในพ้ืนท่ีป่าดิบแล้ง อุทยานแห่งชาติปางสีดา จังหวัดสระแก้ว และ 2) กล้า กอ่ ปลายจัก ในพน้ื ท่ีปา่ ดบิ เขา อทุ ยานแหง่ ชาติดอยอินทนนท์ จังหวัดเชยี งใหม่ การเก็บข้อมูลกล้าไม้ภาคสนาม 1) ให้เลขด้วยเคร่ืองปั๊มตัวอักษร DYMO 2) ทาการติดหมายเลขกลา้ ไม้ 3) หมายเลขท่ีติดต้องไม่รัดแน่น และ 4) ทาการ วดั ความสูงของกล้าไม้ การติดตงั้ สถานเี ก็บขอ้ มูลภมู อิ ากาศแบบช่ัวคราว แสดงตาแหน่งท่ีตั้งตู้สกรีน และถังตรวจวัดนา้ ฝน การติดต้ังตู้สกรีนเพื่อใช้ในการเก็บเครื่องมือวัดอุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์ Data Logger รวมถงึ อุปกรณต์ วงวัดนา้ ฝน ถงั วดั นา้ ฝนที่ใช้ในการเก็บข้อมลู 1) ถงั วัดน้าฝนรูปแบบฐานบานออก 2) ถังวัด น้าฝนรูปแบบฐานตรง และ 3) ถงั วัดน้าฝนจะประกอบด้วย 3 ส่วนสาคัญ คือ (A) สว่ นของฐานรอง (B) สว่ นของปากรองรบั นา้ ฝน (C) ส่วนของถงั รองรับนา้ ฝนภายใน

สารบัญภาพ (ต่อ) หนา้ ภาพที่ 31 แผนที่แสดงการกระจายของปริมาณน้าฝนเฉล่ียต่อปี เปรียบเทียบกับสภาพ 64 ภาพท่ี 32 ภูมิประเทศ ในพื้นท่ีกลุ่มป่าภูเขียว-น้าหนาว ท้องที่จังหวัดชัยภูมิ และ เพชรบรู ณ์ (ทม่ี า : ของชงิ ชยั และวิโรจน์, 2561) ภาพที่ 33 ภาพที่ 34 ตัวอย่างของเคร่ืองบันทึกข้อมูลอัตโนมัติ (Data Logger) ของอุณหภูมิและ 65 ภาพที่ 35 ความช้ืนสัมพัทธ์ที่รวมอยู่ในเครื่องเดียวกัน 1) OAKTON RH/TempLog ภาพท่ี 36 2) MicroLog RH/Temp EC650 3) T.RH% LOGGER 8835 และ 4) i Button DS1923 # F5 พร้อมอุปกรณ์สายดาวน์โหลด Data Logger ตัวแปลงสัญญาณ ภาพที่ 37 USB และพลาสติกรองรบั เครื่องกระดมุ ภาพท่ี 38 ภาพที่ 39 กราฟเส้นการทดสอบ Data Logger ของ MicroLog RH/Temp EC650 65 จานวน 2 เครื่อง ท่ีบันทึกข้อมูลทุก 30 นาที ระหว่างวันที่ 18 ธันวาคม 2549 เวลา 14.30 น. ถึงวันท่ี 20 ธันวาคม 2549 เวลา 12.30 น. 1) ข้อมูล อณุ หภูมอิ ากาศ และ 2) ข้อมลู ความชน้ื สัมพทั ธ์ของอากาศ การสอบเทียบ Data Logger รุ่น i Button DS1923 # F5 ระหว่างวันท่ี 66 6 พฤศจิกายน 2557 เวลา 18.00 น. ถึงวันท่ี 10 พฤศจิกายน 2557 เวลา 13.00 น. กราฟเส้นการทดสอบ Data Logger ของ I Button DS1923 # F5 จานวน 66 60 เคร่ือง ท่ีบันทึกข้อมูลทุก 30 นาที ระหว่างวันที่ 6 พฤศจิกายน 2557 เวลา 18.00 น. ถึงวันที่ 10 พฤศจิกายน 2557 เวลา 13.00 น. 1) ข้อมูลอุณหภูมิ อากาศ และ 2) ข้อมูลความช้นื สมั พัทธ์ของอากาศ การตดิ ตงั้ และการดาวน์โหลดข้อมูล ของ Data Logger รุ่น i Button DS1923 # F5 67 1) การติตตั้ง Data Logger ในพ้ืนท่ีป่าเต็งรัง บ้านนาหว้า จังหวัดอุบลราชธานี 2) การติดต้ัง Data Logger ในประเทศอนิ โดนีเซีย 3) การนา Data Logger มาติดต้ังกับอุปกรณ์ดาวน์โหลดข้อมูล และ 4) การใช้ Notebook Computer ทาการดาวน์โหลดข้อมลู ในภาคสนาม แปลงตัวอย่างแบบ Nested Plot Design ในการวัดต้นไม้เพ่ือการคานวณ 68 การสะสมธาตุคารบ์ อนในปา่ ธรรมชาติ (ทมี่ า: Hairiah et al., 2001) แปลงขนาด 1X1 m2 ท่ีแบ่งเป็น 4 แปลงย่อย เพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลไม้ 69 พ้ืนล่างและซากพืชท่รี ว่ งหล่นบนพ้นื ดนิ (ทมี่ า: Hairiah et al., 2001) การวัดต้นไม้ใหญ่ท่ีโค่นล้มลงตามธรรมชาติ หรือถูกไฟไหม้แล้วล้มลงท่ีพบใน 70 แปลงขนาด 5X40 m2 (ที่มา: Hairiah et al., 2001) (9)

สารบญั ภาพ (ต่อ) หนา้ ภาพท่ี 40 แสดงการใช้หลักการของอาร์คิมิดีส เพื่อเปรียบเทียบความหนาแน่นของ 71 ภาพที่ 41 มงกุฎทองคากับทองคาแท่ง โดยการถ่วงมงกุฎทองคากับทองคาที่ใช้อ้างอิง จากน้นั จุ่มอปุ กรณท์ ้งั หมดลงในนา้ ถา้ มงกุฎมคี วามหนาแน่นน้อยกว่าทองคาแท่ง ภาพท่ี 42 มงกฎุ จะแทนทน่ี ้าดว้ ยปรมิ าตรทีม่ ากกว่า ทาใหม้ ีแรงลอยตัวมากกว่าทองคาอา้ งอิง ภาพที่ 43 ภาพท่ี 44 ภาพจาลองการเก็บข้อมูลไม้ล้มขอนนอนไพรและตอไม้ขนาดใหญ่ 1) ท่อนไม้ 74 ภาพที่ 45 ขนาดใหญท่ ีอ่ ยู่ในแปลงทาการวัด Ø หัว-ท้าย และความยาว 2) เศษไม้กิ่งไม้ท่ีมี ภาพที่ 46 ขนาด Ø < 10 cm ไมเ่ ก็บขอ้ มูล 3) เศษไมข้ นาดใหญแ่ ตม่ ีความยาว < 1 m ไมเ่ ก็บข้อมูล 4) ต้นไม้ล้มออกนอกแปลง ทาการวัด Ø ที่โคนต้นและส่วนปลายที่ พาดกับแนวขอบแปลง พร้อมวัดความยาว ส่วนท่ีอยู่นอกแปลงไม่เก็บข้อมูล 5) ต้นไม้นอกแปลงล้มเข้ามาในแปลง เก็บข้อมูลเฉพาะส่วนท่ี Ø > 10 cm พร้อมวัดความยาว 6) ต้นไม้ล้มอยู่ในแปลงประกอบด้วยลาต้นขนาดใหญ่ และแตกกงิ่ ขนาดท่ีเล็กกว่า ต้องแบ่งการวัดออกเป็น 2 แบบ คือ แบบ A คือ ส่วนของลาต้นขนาดใหญ่และตรงวัดแบบเดียวกับ (1) และแบบ B ส่วนของ กิ่งท่ีมีขนาดเล็กและโค้งงอ จะวัด Ø > 10 cm และความยาววัดโค้งไปตาม แนวลาต้นหรือกิ่งขนาดใหญ่ 7) ตอไม้ขนาดใหญ่มีความสูงของตอไม่มากจะ ทาการวดั Ø ตรง ½ ของความสูงของตอ และ 8) ตอไม้ใหญ่ท่ีมีความสูงมาก ให้ทาการวัดที่ตาแหน่ง DBH พรอ้ มความสูง การวัดขนาด Ø และความยาวของไม้ล้มขอนนอนไพร เพื่อใช้คานวณการ 75 สะสมคารบ์ อนในกลมุ่ ไม้ตาย 1) การวดั ลาตน้ ด้วยเทปวัด 2) ไม้ล้มขนาดใหญ่ท่ี จมดนิ การใช้เทปวดั จะไมส่ ะดวก 3) การวดั ลาตน้ ดว้ ย Caliper และ 4) การวัด ความยาวไปตามลาต้นทโ่ี ค้งงอ ไม้ล้มขอนนอนไพรของไม้ยางนา ณ วนอุทยานนครไชยบวร ตาบลท่าเสา 76 อาเภอโพทะเล จงั หวดั พจิ ิตร 1) ลกั ษณะของไม้ยางนาท่ีมีลักษณะผุพัง และ เปอ่ื ยยยุ่ มาก และ 2) ลักษณะของไม้ยางนาที่เป็นโพรง การเก็บชิ้นไม้ตัวอย่างจากต้นไม้ตาย ในพ้ืนที่ป่าเต็งรัง อุทยานแห่งชาติ 77 ดอยอนิ ทนนท์ อาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ การปรับแต่งช้ินไม้ตัวอย่างของไม้ล้มขอนนอนไพรให้มีขนาดที่เหมาะสม 77 เพื่อนาไปหาค่าความหนาแน่นของเนอื้ ไม้ การทาช้ินไม้ตัวอย่างให้เปียก แล้วซับน้าส่วนเกินออกไป ก่อนนาชิ้นไม้ไปหา 78 ปรมิ าตร ด้วยวิธกี ารแทนทีน่ า้ (10)

สารบัญภาพ (ตอ่ ) ภาพที่ 47 หนา้ ภาพที่ 48 การหาปริมาตรของช้ินไม้ตัวอย่าง ด้วยวิธีการแทนท่ีน้า โดยอ่านค่าน้าหนัก 80 ภาพท่ี 49 ทเ่ี พิม่ ขึน้ ภายหลงั การกดช้ินไม้ตวั อยา่ งใหจ้ มน้ามดิ ภาพท่ี 50 การชั่งน้าหนักชนิ้ ไมต้ ัวอย่างที่ผ่านการอบแห้งเป็นท่ีเรียบร้อยแล้ว เพ่ือนาไป 80 ภาพที่ 51 คานวณหาความหนาแนน่ ของเนอื้ ไม้จากปริมาตรที่ชั่งได้จากวธิ ีการแทนที่นา้ 82 ภาพท่ี 52 การแบ่งกลุ่มของต้นไม้ยืนต้นตาย เพ่ือคานวณมวลชีวภาพจากสมการ 83 ภาพท่ี 53 แอลโลเมตรกิ โดยอาศยั มิตทิ างดา้ น DBH และความสูงในการประเมิน โดยไม่ต้อง 87 ภาพที่ 54 ทาการเกบ็ ชิ้นไมไ้ ปวิเคราะห์ความหนาแน่นของเนือ้ ไม้ 1) กลุ่มของต้นไม้ท่ีมี กิ่งก้านขนาดเล็กใหญ่อยู่ครบเป็นจานวนมาก 2) กลุ่มของต้นไม้ที่กิ่งขนาด ภาพท่ี 55 เลก็ ได้หักหลดุ ร่วงมาเป็นจานวนมากจะเหลือกิ่งขนาดใหญ่จานวนน้อยติดกับ ภาพที่ 56 ลาต้น 3) กลุ่มของต้นไม้ท่ีเหลือเฉพาะส่วนของลาต้นแต่มีขนาดของความสูง ของลาตน้ มากกวา่ 15-20 m และ 4) กลมุ่ ของตน้ ไม้ท่ีมีตอสูงกว่า 10 m แบบจาลองวิธีคานวณมวลชีวภาพของต้นไม้ที่มีชีวิต และต้นไม้ยืนต้นตาย ในรูปแบบต่างๆ ดว้ ยสมการแอลโลเมตรกิ ของ Tsutsumi et al. (1983) ตะแกรงรองรับซากพชื ทีร่ ว่ งหลน่ ในรูปแบบของวงกลมและส่เี หลย่ี มจตั ุรัส ตะแกรงรองรับซากพืชส่ีเหลี่ยมจัตุรัส 1) ตะแกรงควรมีส่วนท่ีหย่อนลึก 88 ประมาณ 50-60 cm จะสามารถตลบตาข่ายเพื่อความสะดวกในการเก็บซากพืช 2) ในพ้ืนที่ที่มีน้าท่วมขังในฤดูฝน ขาของตะแกรงจะยาวกว่า 1 m หรือยก 88 ตะแกรงข้นึ ให้อยู่เหนือน้า และ 3) ตะแกรงที่มีตาข่ายหย่อนน้อยเกินไปจะไม่ 89 เหมาะสมกบั การเกบ็ ข้อมูลซากพชื เพราะซากพชื จะปลิวออกจากตะแกรงไดง้ า่ ย ตะแกรงรองรับซากพืช ท่ีมีขาอ๊อกเชื่อมติดกับตัวตะแกรง จะทาให้การ 90 ลาเลยี งตะแกรงไปติดต้ังในพ้ืนทย่ี ากลาบาก และเสียเวลามาก 92 ตะแกรงรองรับซากพืช เม่ือมีการแยกส่วนของขาออกมาจากตัวตะแกรง โดยสว่ นของขาทาเป็นปลอกเหล็ก ส่วนของมุมตะแกรงเป็นเดือยเหล็กที่สวม กันได้พอดี จะทาให้การลาเลียงตะแกรงเข้าไปติดตั้งในพ้ืนท่ีทาได้ง่ายและ สะดวกรวดเรว็ ขนึ้ การตดิ ต้งั ตะแกรงรองรับซากพชื ในพน้ื ที่แปลงตวั อย่างถาวร ตัวตะแกรงต้อง อยูใ่ นแนวระดบั โดยใช้ระดบั นา้ และคอ้ นช่วยในการปรบั แต่ง การเกบ็ ซากพืชจากตะแกรงรองรับ ไมค่ วรใช้ถุงพลาสติกในการเก็บ จะทาให้ เกิดความเสยี หายตอ่ ซากพชื ได้เมื่อไม่ได้เปิดปากถุงเป็นเวลาหลายวัน ควรใช้ ถงุ ตาขา่ ยในการเก็บซากพชื (11)

สารบญั ภาพ (ต่อ) ภาพท่ี 57 หน้า กรณีที่มีซากก่ิงไม้บางส่วนอยู่นอกตะแกรง จะใช้กรรไกรตัดกิ่งไม้ที่อยู่นอก 92 ภาพท่ี 58 ตะแกรงออกทิ้งไป และหากซากกิ่งไม้ท่ีอยู่ในตะแกรงมีความยาวมากกว่าถุง ตาข่ายท่ีใช้เก็บซากพืช ให้ทาการตัดทอนก่ิงไม้เหล่านั้นเพ่ือใส่ในถุงตาข่าย ภาพที่ 59 แลว้ นาออกจากพนื้ ที่เพ่อื ทาการคัดแยกในข้นั ตอนต่อไป ภาพท่ี 60 ภาพท่ี 61 ตะแกรงรองรับซากพืชที่ชารุดด้วยสาเหตุต่างๆ 1) ไม้ใหญ่ล้มทับตะแกรง 93 ภาพท่ี 62 ที่อุทยานแห่งชาติปางสดี า 2) ไฟไหมต้ ะแกรง ท่ีอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ ภาพท่ี 63 3) ตาข่ายถูกตัดเพ่ือนาไปเก็บเห็ด ที่อุทยานแห่งชาติเอราวัณ และ 4) ตะแกรง ทถี่ ูกชา้ งปา่ เหยยี บทาลาย ทีเ่ ขตรกั ษาพนั ธส์ุ ัตวป์ า่ เขาสอยดาว ภาพท่ี 64 ภาพที่ 65 การคัดแยกซากพืชที่อยู่ในตะแกรงรองรับซากพืช ออกเป็น 5 ส่วน คือ 94 ภาพท่ี 66 สว่ นของใบไม้ สว่ นของก่ิงไม้ สว่ นของเปลือกไม้ สว่ นของดอก-ผล และสว่ นอน่ื ๆ การเตรียมถุงกระดาษหนังสือพิมพ์ แสดงการพับ การเย็บ และขนาดของถุง 95 ทีเ่ ยบ็ เสรจ็ แลว้ 4 ขนาด ขั้นตอนการคัดแยกซากพืชเป็นส่วนต่างๆ นาใส่ถุงกระดาษ เพื่อเตรียม 95 เคลอื่ นย้ายไปยังหอ้ งปฏิบตั ิการ อุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บตัวอย่างดินภาคสนาม หมายเลขในภาพคืออุปกรณ์ที่ 97 แสดงในตารางที่ 14 การเก็บตัวอย่างดินตามช้ันหน้าตัดดิน จะดาเนินการพร้อมกับการศึกษา 99 ชั้นหน้าตัดดิน (Soil Profile) 1) เมื่อได้พ้ืนท่ีท่ีเหมาะสมจะทาการขุดหลุม ท่ีมี ขนาด 1X1X1 m3 2) ทาการกาหนดขอบเขตของชั้นหน้าตัดดิน ด้านท่ีทา การศึกษาให้หันหน้าขน้ึ บนท่ลี าดชนั เน่อื งจากทางานได้ง่ายกว่า 3) การเก็บ ตัวอยา่ งดนิ ตามชน้ั หน้าตัดดิน และ 4) การเก็บความหนาแน่นของดิน (Bulk Density) ด้วยภาชนะเก็บดนิ (Soil Can) ขนาด 500 cc จุดเก็บดิน 3 จุด บริเวณมุมของสามเหลี่ยมด้านเท่าท่ีมีความยาวด้านละ 100 ประมาณ 25 m 1) แปลงตัวอย่างถาวรขนาด 40X40 m2 และ 2) แปลง ตวั อยา่ งถาวรขนาด 50X50 m2 จุดเก็บดินในพื้นที่มีความลาดชั้นแตกต่างกัน 1) พ้ืนที่ท่ีมีความลาดชันน้อย 101 และ 2) พืน้ ที่ท่มี คี วามลาดชนั สงู การเก็บตัวอย่างดินตามระดับความลึกด้วย Soil Auger 1) การหมายตาแหน่ง 101 ระดับความลึกบน Soil Auger 2) การหมุน Soil Auger เพ่ือเก็บตัวอย่างดิน และ 3) การนาดินออกจาก Soil Auger (12)

สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ 67 การเก็บตัวอย่างดินตามระดับความลึกโดยใช้จอบขุดหลุม ซึ่งเป็นหลุม 105 เดยี วกันกบั การศึกษา Bulk Density 1) เม่ือได้พ้ืนที่ท่ีเหมาะสมให้ทาการขุด 106 ภาพที่ 68 หลุมโดยการใช้จอบหรอื เสียม 2) ทาการแต่งหน้าตัดให้ได้ขนาดความลึกและ ภาพท่ี 69 ความกว้างประมาณด้านละ 50 cm 3) การกาหนดระดับชั้นความลึกจากผิวดิน ภาพที่ 70 4) การเก็บตัวอย่างดินจากชั้นหน้าตัดดิน 5) การเตรียมตัวอย่างดินจาก ภาพท่ี 71 จานวน 3 จุด ที่ระดับความลึกเดียวกันก่อนนามาผสมคลุกเคล้าเข้าด้วยกัน ภาพที่ 72 และ 6) การสุ่มตัวอย่างดินน้าหนักประมาณ 500 g เพื่อนาไปวิเคราะห์ใน ภาพท่ี 73 หอ้ งปฏิบตั ิการ ภาพท่ี 74 ขั้นตอนการเกบ็ ขอ้ มลู Bulk Density ของดินท่ีระดับความลกึ 0-15 cm ขั้นตอนการจัดเก็บตัวอย่างดิน โดยทาการปรับแต่งตัวอย่างดินและนา 107 ตวั อยา่ งดนิ ที่ไดใ้ สถ่ งุ พลาสตกิ 108 การเกบ็ ขอ้ มลู Bulk Density ภาคสนาม ท่ีระดับความลกึ 15-30 cm (สามภาพ 109 ดา้ นซา้ ยมือ) และ 30-50 cm (สามภาพดา้ นขวามอื ) 110 การผ่ึงดินในที่ร่ม เพื่อเตรียมส่งตัวอย่างไปวิเคราะห์หาปริมาณของธาตุ อาหารในห้องปฏิบตั กิ าร การอบตัวอย่างดินเพ่ือศึกษา Bulk Density และการช่ังน้าหนักดินภาย หลงั จากการอบแหง้ แล้ว การใช้เทคนิคแบบเปียก เพื่อแยกก้อนกรวดและรากไม้ออกจากตัวอย่างดิน 111 ในการศึกษา Bulk Density หลังจากนาตาข่ายที่บรรจุดินแกว่งในน้า จนเนื้อดินหลุดรอดออกไปหมด 112 จะพบว่ามีราก และก้อนกรวด ติดอยู่ภายในตาข่าย ทาการคัดแยกส่วนของ ราก และก้อนกรวดแลว้ นาเขา้ ตูอ้ บหาน้าหนักแห้งต่อไป (ดินที่อยู่ในถุงเป็นดิน ที่ผ่านการร่อนด้วยมอื ไม่ตอ้ งนาเข้าตูอ้ บ ให้ท้งิ ไป) (13)



คานา “คู่มือการศกึ ษาแหลง่ สะสมคาร์บอนในพ้นื ทีป่ ่าธรรมชาติ” เลม่ น้ี เป็นเอกสารท่ีได้รวบรวมและ ปรับปรุงมาจากเอกสารประกอบการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการท่ีผู้เขียนได้รับเกียรติเป็นวิทยากรให้กับ หนว่ ยงาน ในสงั กัดกรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพนั ธุ์พืช ดงั น้ี 1. “วธิ ปี ระเมนิ ปริมาณคารบ์ อนในระบบนเิ วศป่าไม้จากแหล่งสะสมประเภทตา่ ง ๆ” ใช้เป็น เอกสารประกอบการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เร่ือง “การวิเคราะห์ข้อมูลจากตัวแปรในแปลง ตัวอยา่ งถาวร” ระหว่างวันที่ 18-22 สิงหาคม 2557 ณ ศูนยฝ์ ึกอบรมท่ี 2 (เขาใหญ่) อาเภอเมือง จงั หวัดนครนายก 2. “การศึกษามวลชีวภาพเพ่ือการประเมินการสะสมคาร์บอนของหมู่ไม้” ใช้เป็นเอกสาร ประกอบการฝึกอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการ เรอื่ ง “การหาผลผลิตมวลชีวภาพเหนือพ้นื ดินของไมป้ ่าบางชนิด” ระหวา่ งวันที่ 12-17 มีนาคม 2560 ณ โครงการศูนยภ์ ูฟา้ พฒั นา อาเภอบ่อเกลอื จงั หวดั นา่ น 3. “การสารวจและประเมินการกักเก็บคาร์บอนในดินป่าไม้” ใช้เป็นเอกสาร ประกอบการฝกึ อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร เร่ือง “การสารวจและประเมินการกักเก็บคาร์บอนในพื้นท่ีป่า” ระหว่างวันท่ี 17-22 สิงหาคม 2560 ณ อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ ตาบลบ้านหลวง อาเภอ จอมทอง จังหวัดเชยี งใหม่ โดยเอกสารประกอบการบรรยายท้ัง 3 ฉบับ ดังกล่าว ได้ใช้เป็นแนวทางการดาเนินงานภายใต้ โครงการ “กิจกรรมสารวจ ศกึ ษา และประเมินการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศและการกักเก็บคาร์บอน ในพ้ืนที่ป่าไม้” ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ปีงบประมาณ 2557-2561 และใช้เป็น คู่มือในการเก็บข้อมูลภาคสนามดังกล่าว และพบว่าได้ผลเป็นที่น่าพอใจ แต่อย่างไรก็ตามเพื่อเพิ่มเติม องคค์ วามรใู้ นการศึกษาวิจัยทางด้านนี้ จึงได้ปรับปรุงเอกสารข้ึนมาใหม่ โดยเพ่ิมเติมเน้ือหาที่เก่ียวข้อง กับการปฏิบัติงานภาคสนาม ร่วมกบั ประสบการณท์ ีไ่ ด้รับจากการศึกษาวิจัยโครงการฯ ดังกล่าว เพ่ือให้ คู่มอื ฉบบั นี้มคี วามสมบรู ณ์เพิ่มขึ้น “คู่มือการศึกษาแหล่งสะสมคาร์บอนในพ้ืนท่ีป่าธรรมชาติ” เล่มนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็น แนวทางในการศึกษาแหล่งสะสมคาร์บอน (Carbon Pools) ประเภทต่าง ๆ ในพ้ืนที่ป่าธรรมชาติ โดย เน้นการศึกษาในพ้ืนที่ป่าบกเป็นหลัก แต่สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับพื้นที่ ป่าชายหาด ป่าพรุ และ ป่าชายเลน เป็นต้น ตอ่ 1

ในคู่มือเล่มนี้ เป็นการรวบรวมองค์ความรู้ เทคนิค และวิธีการ ในการศึกษาการสะสม คาร์บอนจากแหล่งสะสมคาร์บอนประเภทต่างๆ ท่ีได้ดาเนินงานในภาคสนามตั้งแต่อดีตจนถึง ปัจจบุ นั รวมถงึ การปรับปรุงและพัฒนาเทคนิคด้านต่างๆ ให้มีความสอดคล้องและเหมาะสมกับ ข้อกาหนดในโครงการ “การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการทาลายป่าและการทาให้ป่า เสือ่ มโทรม, กิจกรรมในการอนุรักษ์ป่าไม้ และการจัดการป่าไม้อย่างย่ังยืนในการเพิ่มคาร์บอนสต๊อก ของพ้ืนท่ีป่าในประเทศกาลังพัฒนา” (Reducing Emissions from Deforestation and Forest Degradation, and the Role of Conservation, Sustainable Management of Forests and Enhancement of Forest Carbon Stocks in Developing Countries, REDD+) ภายใต้อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change, UNFCCC) เพื่อนาไปสู่การพัฒนาเพ่ือจัดทา เส้นฐานอ้างอิง (Reference Level, RL) และ/หรือ เส้นฐานการปล่อยอ้างอิง Reference Emission Level, REL) ของภาคป่าไม้ ต่อไป 2

แหล่งสะสมคารบ์ อน (Carbon Pool) ระบบนเิ วศปา่ ไม้ การประเมินค่าคาร์บอนในป่าธรรมชาติ ของ IPCC (2003) ได้กาหนดให้แหล่งสะสม คาร์บอนในระบบนิเวศป่าไม้แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม 5 แหล่ง ได้แก่ กลุ่มของมวลชีวภาพท่ีมีชีวิต (Living Biomass) ซ่ึงประกอบด้วย (1) มวลชีวภาพเหนือพ้ืนดิน (Above-ground Biomass) และ (2) มวลชีวภาพใต้พื้นดิน (Below-ground Biomass) กลุ่มของเศษซากพืชท่ีตาย (Dead Organic Matter) ประกอบด้วย (3) ต้นไม้ตาย รวมถึงไม้ล้มขอนนอนไพร (Dead wood) และ (4) ซากพืชที่ร่วงหล่น (Litter) และกลุ่มของดิน (Soils) ประกอบด้วย (5) คาร์บอนในดิน (Soil organic matter) ซง่ึ ได้กาหนดเงือ่ นไขในแต่ละแหลง่ แสดงในตารางที่ 1 ตารางท่ี 1 การจาแนกแหล่งสะสมคาร์บอน (Carbon Pools) ในพื้นท่ีป่าธรรมชาติ ตามหลักเกณฑ์ ของ IPCC (2003) 3

เพ่ือความเข้าใจง่ายจึงแสดงภาพแหล่งสะสมคาร์บอนในพ้ืนที่ป่าธรรมชาติ ดังแสดงใน ภาพท่ี 1 การให้ได้มาของข้อมูลการสะสมคาร์บอนทั้ง 5 แหล่ง เหล่าน้ี จาเป็นต้องทาการเก็บ ขอ้ มลู จากแปลงตัวอยา่ งถาวร ทีไ่ ด้ปฏิบตั งิ านตามข้นั ตอนในเอกสาร “คู่มือการวางแปลงตัวอย่าง ถาวร และการเก็บข้อมูลภาคสนาม” และ “คู่มือการใช้ Google Earth Pro สาหรับการวาง แปลงตัวอย่างถาวร” เพอื่ ให้ได้ข้อมูลจากภาคสนามทมี่ ีความถกู ตอ้ งและมีความคลาดเคลื่อนน้อย สามารถนาข้อมูลท่ีได้มาพัฒนาเพื่อการประเมินการสะสมคาร์บอนในพ้ืนท่ีป่าไม้ และสามารถ ยกระดับของข้อมูลเข้าสู่ระดับ Tier 3 ซึ่งสะดวกต่อการตรวจวัด (Measurement) การรายงาน (Reporting) และการตรวจสอบ (Verification) หรอื MRV ในคร้งั ต่อไป ภาพท่ี 1 การประเมินค่าคาร์บอนในป่าธรรมชาติ จากแหล่งสะสมคาร์บอนแหล่งต่างๆ 1) มวลชวี ภาพเหนือพน้ื ดิน 2) มวลชีวภาพใต้พ้ืนดิน 3) ต้นไม้ตาย รวมถึงไม้ล้มขอนนอนไพร 4) ซากพืช ท่ีรว่ งหล่น และ 5) คาร์บอนในดนิ 4

การสะสมคารบ์ อนในกลุม่ ของมวลชีวภาพ ท่ีมีชวี ิต (Living Biomass) มวลชีวภาพ (Biomass) มวลชีวภาพ (Biomass) หมายถึง โดยมวลนา้ หนักแห้งน้ี ได้มาจากการอบในตู้อบ มวลของสิ่งมีชวี ิตทั้งหมด ท่ีปรากฏอยู่ในระบบ (oven-dry stage) ท่ีส่วนใหญ่จะอยู่ที่ 70 OC นิเวศตอ่ หน่วยพนื้ ท่ี มวลของส่ิงมีชีวิตดังกล่าวน้ี (IPCC, 2006) ขณะที่ Reuter et al. (1997) ประกอบด้วยมวลของพืชสีเขียวท่ีสร้างจาก กล่าวว่า การอบตัวอย่างไม้ที่อุณหภูมิสูงกว่า กระบวนการสังเคราะห์แสง รวมกับมวลชีวภาพ 80 OC อาจทาให้เกิดการสูญเสียธาตุอาหารบางตัว ของส่ิงมีชีวิตอ่ืนๆ ที่อยู่ในระบบนิเวศน้ัน ท่ีเป็นองค์ประกอบของอินทรีย์สารหรือน้ามัน มวลชีวภาพอาจหาได้ในรูปของน้าหนักสด หอมระเหยบางตัวของพืช (Organic compounds นา้ หนักแห้ง หรือน้าหนักเฉพาะของอินทรีย์สาร and Volatilization oil) ที่ระเหิดจากตัวอย่างไม้ได้ ที่ไม่รวมนา้ หนักขเ้ี ถา้ มีหนว่ ยเป็นกรมั /ตารางเมตร และ Snowdon et al. (2002) กล่าวว่าการอบ (g/m2) กิโลกรัม/เฮกแตร์ (kg/ha) หรือ ตัน/เฮกแตร์ ตัวอย่างพืชระหว่าง 101-105 OC ทาให้น้าหนัก (t/ha) นอกจากนยี้ งั หาได้ในรปู ของพลังงานซ่ึง ของมวลลดลงประมาณ 2-4 % ในขณะท่ีทีม มีหน่วยเป็น แคลอร่ี/หน่วยพื้นที่ (Odum, 1963) นักวิจยั ชาวญ่ีปุ่นนิยมอบตัวอย่างพืชในอุณหภูมิ ส่วน Chapman (1976) กลา่ วถงึ มวลชีวภาพว่า 105 OC ดว้ ยเหตผุ ลที่วา่ ตวั อย่างพืชทเ่ี ปน็ เนื้อไม้ เปน็ สว่ นของเนือ้ เยอื่ ที่เกดิ จากการสังเคราะห์แสง เมอ่ื อบที่อุณหภูมิที่ต่ากว่า 100 OC จะสามารถ ซ่ึงมีหน้าท่ีต่อการเจริญเติบโตของพืชหรือหมู่ไม้ นาน้าท่ีอยู่ในเซลล์พืชออกมาได้ แต่ไม่สามารถ ในขณะใดขณะหนึ่ง (ภาพท่ี 2) และนิยมวัดออกมา นาน้าที่อยู่ระหว่างผนังเซลล์ออกมา ในขณะท่ี ในรูปน้าหนักแห้ง หรือน้าหนักแห้งปราศจากขี้เถ้า จุดเดือดที่น้าระเหยกลายเป็นไออยู่ที่ 100 OC โดยมีค่าเป็นน้าหนักต่อหน่วยของพืช เช่น ต่อต้น ดังน้ันเพ่ือให้ได้มวลน้าหนักแห้งที่ถูกต้องควรใช้ โดยมีหน่วยเป็น กิโลกรัม/ต้น (kg/tree) หรือต่อ อุณหภูมทิ ่ี 105 OC และสอดคล้องกับการศึกษา หน่วยพน้ื ท่ี จะมีหน่วยเป็น kg/ha หรือ t/ha ขณะที่ เพ่ือหาความหนาแน่นของเน้ือไม้ (Basic wood IPCC (2006) ได้กาหนดหน่วยของมวลชีวภาพของ density) ของ Snowdon et al. (2002) ที่ใช้ ต้นไม้ ซากพืช และไม้ล้มขอนนอนไพร มีค่าเป็น อุณหภูมิระหว่าง 101-105 OC ในการอบไล่ ตันน้าหนักแห้งต่อเฮกแตร์ (tonnes d.m. ha-1) ความช้ืนของเน้ือไม้ก่อนการคานวณหาความ โดยที่ : มวลนา้ หนักแหง้ = dry matter = d.m. หนาแนน่ ของเนอื้ ไม้ (Wood density) 5

ขอ้ ควรระวัง คือ เมื่อกล่าวถงึ มวลชวี ภาพ ตอ้ งทาความเข้าใจวา่ เปน็ นา้ หนกั แห้งเทา่ นัน้ ไมใ่ ช่ในรปู ของน้าหนกั สด เพราะนา้ หนักสดของพชื จะไม่คงท่ีขนึ้ อย่กู ับปรมิ าณความชื้นของเนื้อเย่ือ ในสว่ นต่าง ๆ ภาพที่ 2 ขบวนการสังเคราะห์แสง เกิดจากใบไม้ท่ีมีสารคลอโรฟิลล์ทาหน้าที่เป็น โมเลกุลรับพลังงานจากแสงอาทิตย์ แล้วนามาสร้างเป็นพลังงานเคมี โดยใช้ก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ และน้าเป็นวัตถุดิบ ผลผลิตท่ีได้จะเป็นคาร์โบไฮเดรต (แป้งและ น้าตาล) และก๊าซออกซิเจน ต้นไม้จะนาคาร์โบไฮเดรตท่ีได้ไปสร้างเนื้อเยื่อประเภทต่างๆ รวม เรยี กว่ามวลชีวภาพ สว่ นกา๊ ซออกซเิ จนจะออกส่อู ากาศต่อไป สมการแอลโลเมตรกิ (Allometric equations) Allometry ซ่งึ การศึกษาของความสัมพันธ์ระหว่าง ขนาดตัว กับ รูปร่าง กายวิภาคศาสตร์ สรรี ศาสตร์ และรวมถึงพฤติกรรมศาสตร์ ได้ถูกระบุเป็นคนแรกคือ Otto Snell ในปี ค.ศ. 1892 จากการอ้างอิงของ D'Arcy Wentworth Thompson นักชีววิทยา ชาวสก็อต เมื่อปี ค.ศ. 1917 ในหนังสือ On Growth and Form และ Julian Huxley นักชีววิทยาวิวัฒนาการ ชาวอังกฤษ ในปี ค.ศ. 1932 (ภาพที่ 3) 6

ภาพท่ี 3 สมการแอลโลเมตริก ในรุ่นแรกๆ จะเน้นการศึกษาไปทางด้านสัตว์ เช่น เพ่ือหา ความสัมพนั ธร์ ะหว่างขนาดตัวช้างเทยี บกับกระดูกขาหน้า เปน็ ตน้ (ท่ีมา : https://en.wikipedia.org/wiki/Allometry) รูปแบบของสมการแอลโลเมตริกน้ันมี และความสูงของต้นไม้ (Height, Ht) ซึ่งเป็น ด้วยกันหลายรูปแบบ เช่น รูปสมการเส้นตรง รูป มิติของต้นไม้ที่สามารถตรวจวัดได้ง่ายใน ยกกาลัง และ รูป Parabolic Reciprocal เป็นต้น ภาคสนาม โดยจัดรูปแบบเป็น DBH, DBH2, แต่ส่วนมากจะมีความสัมพันธ์ในรูปแบบของ DBH2.Ht และ Ht ส่วนตัวแปรตามคือ มวล สมการยกกาลัง (Power equation) ในการศึกษา ชีวภาพของลาต้น (Stem Biomass, Ws), ก่ิง แหล่งสะสมคาร์บอนในกลุ่มของมวลชีวภาพท่ี (Branch Biomass, Wb), ใบ (Leaf Biomass, Wl), มีชวี ติ ซ่ึงประกอบด้วย มวลชีวภาพเหนือพ้ืนดิน ราก (Root Biomass, Wr) ส่วนที่อยู่เหนือพ้ืนดิน และมวลชีวภาพใต้พ้ืนดิน ในการประเมินมวล ท้ังหมด (Above-ground Biomass, AGB, คือ ชีวภาพของต้นไม้ จะใช้สมการแอลโลเมตริก ผลรวมของ Ws + Wb + Wl) มวลชีวภาพทั้งหมด ในการคานวณต้นไม้ทุกต้น ส่วนมากจะใช้ตัว (Total Biomass, Wt, คือผลรวมของ AGB + Wr) แปรอิสระที่เป็น ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ และส่วนที่เป็นเน้ือไม้ (Above-ground Woody ระดับอก (Diameter at Barest Height, DBH) Organs, Wtc, คอื ผลรวมของ Ws + Wb) เปน็ ตน้ เทคนคิ การศกึ ษามวลชวี ภาพต้นไมใ้ นป่าปลูก การศึกษามวลชีวภาพในป่าปลูกสามารถทาได้ง่ายกว่าในป่าธรรมชาติ เพราะว่า กฎระเบยี บเออ้ื อานวยกวา่ การศึกษาในปา่ ธรรมชาติ อกี ทั้งขนาดและชนดิ ของต้นไม้มีไม่หลากหลาย เหมือนในป่าธรรมชาติ จึงใช้ไม้ตัวอย่างจานวนไม่มาก สามารถศึกษาสมการแอลโลเมตริกของไม้ แตล่ ะชนิดและแต่ละชน้ั อายุได้ โดยข้ันตอนแรกจะทาการกาหนดแปลงตัวอย่างขนาด 1 ไร่ หรือ 40X40 m2 เพื่อใช้เป็นแปลงตัวแทนของหมู่ไม้ท่ีปลูกในปีเดียวกัน ระยะปลูกเดียวกัน และมีชุดดิน (Soil Series) เดียวกัน โดยหลกี เลี่ยงพื้นท่ีท่ีมตี น้ ไมต้ ายเป็นจานวนมากที่ไม่ไดเ้ กิดข้ึนตามธรรมชาติ 7

เช่น ไฟไหม้ น้าท่วม เป็นต้น ถ้าพ้ืนท่ีท่ีมีการปลูกหลายช้ันอายุ หลายระยะปลูก และมีหลายชุดดิน จาเป็นต้องพิจารณาวางแปลงตัวอย่างให้ครอบคลุมในปัจจัยต่างๆ ที่อาจจะส่งผลต่อความเจริญเติบโต ของตน้ ไม้ได้ แปลงตวั อย่างท่ีวางต้องอยู่ห่างจากขอบแปลงปลูกท่ีลึกเข้าไปไม่น้อยกว่า 2-3 แถว เพ่ือใช้ เป็นแนวกันชน (buffer zone) เน่ืองจากต้นไม้ท่ีอยู่ริมขอบนอกสุดจะมีขนาดโตกว่าปกติเพราะได้รับ ปจั จัยจากสิง่ แวดลอ้ มตา่ ง ๆ มากกวา่ จงึ ไม่ควรนามาเปน็ ตัวแทนในการวดั ความเจรญิ เติบโตของตน้ ไม้ ในไม้ที่มีรอบตัดฟันสั้น เช่น ไม้ยูคาลิปตัส คามาลดูเลนซิส หรือกระถินเทพา จะนิยมปลูกที่ ระยะปลูก 2X2, 2X4 และ 3X3 m2 ดังนั้นการวางแปลงขนาด 1 ไร่ ในระยะปลูก 2X2 และ 2X4 m2 จงึ ไม่ค่อยมปี ญั หาในการวางแปลง เพราะจะมีต้นไม้จานวน 400 และ 200 ต้น/ไร่ ตามลาดับ แต่ในระยะปลูก 3X3 m2 จะกาหนดขนาดของแปลงตัวอย่างเป็น 39X39 m2 ซ่ึงจะได้จานวนต้นไม้เป็น 13X13 แถว หรอื 169 ตน้ เมือ่ นามาถ่วงน้าหนักจานวนต้นต่อหน่วยพื้นท่ีจะคิดเป็น 177.8 ต้น/ไร่ ซ่ึงในทางปฏิบัติ จะดาเนินการไม่ได้ในพ้ืนท่ีจริง จึงจะเก็บข้อมูลเพียง 13X13 แถว หรือขนาดพ้ืนที่ 39X39 m2 แล้ว นามาถ่วงน้าหนักผลผลิตให้เป็นต่อไร่ในภายหลัง ส่วนไม้ที่มีรอบตัดฟันยาว เช่น ไม้สัก และประดู่ มกั นยิ มปลูกในระยะ 4X4 m2 การวางแปลงขนาด 1 ไร่ จะได้ 10X10 แถว หรอื 100 ตน้ /ไร่ เม่ือทาการวางแปลงตัวอย่างขนาด 1 ไร่ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว จะทาการวัดขนาด DBH ของต้นไม้ทกุ ตน้ ในแปลง ในกรณีทตี่ น้ ไมม้ ี 2 นาง ที่แตกนางต่ากว่า 1.30 m มากๆ ให้วัดเป็น 2 ต้น หรอื ถ้าแตกนางใกล้เคียงกับตาแหน่ง 1.30 m ก็ให้วัดเป็นลาต้นเดียวที่ตาแหน่ง 1.10 หรือ 1.20 m โดยพจิ ารณาตามความเหมาะสม กรณีดังกล่าว ถ้าเป็นไม้ 2 นาง จะวัดขนาด DBH และความสูง ของทุกนาง แต่ถ้าวัดข้อมูลแบบต่าลงมาจะได้ค่า DBH จานวน 1 ค่า พร้อมกับวัดความสูงของ นางที่สูงที่สุดเพียงนางเดียว กล่าวโดยสรุปถ้าต้นใดมี DBH มากกว่า 1 ค่า จะต้องมีค่าความสูง ควบคู่ไปด้วย ซึ่งรวมไปถึงต้นไม้ท่ีแตกนางเป็น 3 หรือ 4 นาง ก็ใช้หลักเกณฑ์เดียวกัน ซ่ึงจะพบ ไดจ้ ากการแตกหน่อของต้นยูคาลปิ ตสั คามาลดเู ลนซิส เน่ืองจากไม้ในสวนป่าท่ีปลูกในปีเดียวกันจะมีความสูงใกล้เคียงกัน ในการเก็บข้อมูล ความสูงของตน้ ไม้มักนิยมเก็บความสูงของต้นไมจ้ านวน 30 เปอร์เซ็นต์ จากจานวนต้นไม้ท้ังหมด เพ่ือเอาไปคานวณหาค่า D-H Relation แล้วนาไปประมาณค่าความสูงของต้นท่ีไม่ได้วัดความสูง กล่าวคือในระยะปลูก 4X4 และ 2X4 m2 จะวัดความสูงทุกต้นใน 3 แถวกลาง คือ แถวที่ 4, 5 และ 6 หรือจะเป็น 5, 6 และ 7 ก็ได้ ส่วนระยะปลูก 2X2 m2 จะวัดความสูงทุกต้นใน 6 แถว กลาง คือ แถวที่ 8, 9, 10, 11, 12 และ 13 ส่วนระยะปลูก 3X3 m2 จะวัดความสูงจานวน 4 แถว คือ แถวที่ 4, 5, 6 และ 7 จากนั้นควรมีบันทึกข้อมูลรายละเอียดต่าง ของตาแหน่งท่ีตั้งแปลง ตัวอย่าง ดงั แสดงในตารางท่ี 2 8

ตารางที่ 2 กระดาษบันทึกข้อมูลภาคสนาม แสดงถึงรายละเอียดของข้อมูลทั่วๆ ไป ที่ควรมีการ บันทึกไวเ้ พือ่ นาไปใช้ทาฐานขอ้ มลู ในอนาคต (ทมี่ า : ชงิ ชัย และคณะ, 2541) จากประสบการณ์ในการตรวจวัดข้อมูลแบบน้ี โดยไม่มีการเก็บไม้พื้นล่าง และแต่ละ แปลงไม่อยู่ห่างกันมากนัก เจ้าหน้าที่ 2 คน กับคนงาน 7 คน รวมเป็น 9 คน จะวางแปลงขนาด 1 ไร่ ได้ 4 แปลงต่อวัน โดยแปลงท่ีวางจะเป็นแปลงตัวอย่างถาวรที่มีการติดเบอร์ต้นไม้ท่ีระดับ DBH ทุกต้น พร้อมวัดความสูงจานวน 30 % และคาดสีรอบต้นเพ่ือการเก็บข้อมูลในคร้ังต่อไป จานวน 9 คนน้ี แบ่งหน้าท่ีกัน คือ ถางพ้ืนที่ 2 คน แต่งลาต้นติดหมายเลขต้น 2 คน วัดความโต 1 คน วัดความสงู 2 คน จดขอ้ มูล 1 คน และคาดสีต้นไม้ 1 คน การจดั เตรยี มเครอื่ งมอื และอุปกรณใ์ นการศึกษามวลชีวภาพ การศึกษามวลชีวภาพจาเป็นต้องใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ จานวนมาก จึงต้องมี การเตรยี มอุปกรณเ์ ครื่องมือตา่ งๆ ไว้ให้พร้อม (ตารางที่ 3) โดยจัดทารายชื่อและจานวนส่ิงของที่ นาไปใชใ้ นภาคสนาม และเม่อื เสรจ็ งานควรมีการตรวจเชค็ เครอื่ งมือกอ่ นเดินทางกลับ เนื่องจาก ส่ิงของมีจานวนมากอาจทาให้หลงลืมได้ นอกจากนี้ยังมีสิ่งของต่างๆ เพ่ิมเติม เช่น ถุงมือผ้า ยากันยุง เครื่องมือปฐมพยาบาล หรือยาสามัญประจาบ้าน กระติกใส่น้าแข็ง เส้ือกันฝน เป็นต้น ซึ่งอุปกรณ์ต่างๆ เหล่านี้ มคี วามจาเป็นในบางครง้ั 9

ตารางท่ี 3 รายการเคร่ืองมือและอุปกรณ์ท่ีมีความจาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงานเก็บข้อมูล มวลชวี ภาพ อันดับ รายการ จานวน 1 เครอื่ งชั่งแบบละเอียด (1-2 kg), ปานกลาง (7-10 kg) และมาก (> 60 kg ) 3 เครอ่ื ง 2 เล่ือยคนั ธนู 3 อัน 3 เลื่อยสองเกลอ ขนาด 4 ฟุต (เลื่อยแบบสองคนชกั ) 1 ปื้น 4 เล่ือยยนต์ (ในกรณตี ้นไม้มีขนาดใหญ่) 1 เครอ่ื ง 5 กรรไกรตัดก่ิงขนาดใหญ่ 3 อัน 6 กรรไกรตดั ก่งิ ขนาดเลก็ 6 อัน 7 ผา้ ใบปูพืน้ ขนาด 3X4 เมตร 5 ผนื 8 ลงั พลาสตกิ ขนาดใหญส่ าหรับใสถ่ ุงตวั อยา่ ง 8 ลัง 9 ถาดพลาสตกิ ขนาด 10X20 น้วิ สาหรบั รองใส่ก่งิ ตัวอยา่ งก่อนชัง่ นา้ หนกั 4 อัน 10 ถุงกระดาษสาหรบั บรรจุตัวอย่างขนาด A4 หรอื กระดาษหนังสือพิมพ์ จานวนมาก 11 ถุงพลาสตกิ ขนาดใหญส่ าหรับใสต่ ัวอย่างใบในการช่ังนา้ หนักสด จานวนมาก 12 กระดาษบันทกึ ขอ้ มูล 1 ชดุ 13 กระดานรองเขยี น 2 อัน 14 ท่เี ย็บกระดาษพรอ้ มลูก 3 ชดุ 15 ปากกาเคมี 8 ดา้ ม 16 เชือกฟางมว้ นใหญ่ ใช้สาหรบั หมายต้นไม้ และมัดเศษก่ิงไม้ปลายไม้ 1 มว้ น 17 เชอื กใยยักษ์สาหรบั รงั้ ต้นไมเ้ พอ่ื บังคับทิศทางต้นไม้ทตี่ ัด 2 เส้น 18 Diameter Tape 2 เส้น 19 Vernier Caliper 4 อนั 20 Measuring Tape 2 เส้น 21 ชดุ เครื่องเขียน 1 ชดุ 10

ตารางบันทกึ ข้อมลู มวลชีวภาพ การจัดเตรียมตารางจดบันทึกข้อมูล แบ่งชั้นของต้นไม้ ที่เรียกว่า “Stratified clip นับว่ามีความสาคัญท่ีขาดเสียไม่ได้ เพราะจะเป็น technique” เป็นวิธีท่ีนักวิจัยชาวญ่ีปุ่นนิยมทากัน ตัวควบคุมการเก็บข้อมูลในมิติต่างๆ ท่ีเรา โดยทาการแบง่ ตน้ ไม้ตัวอยา่ งออกเป็นท่อนๆ คือ ต้องการโดยไม่ขาดตกบกพร่อง เพราะการ ท่อนแรกจากโคนต้นถึงระดับความสูง 0.30 m จดบันทึกในกระดาษเปล่าจะทาให้เกิดความ ส่วนท่อนต่อไปจาก 0.30-1.30 m และแบ่ง บกพร่องในการเก็บข้อมูลได้ โดยตารางที่ใช้จด แบบนท้ี ุก 1 m ไปถงึ ปลายยอด จึงใช้กับไม้สัก บันทึกข้อมูลน้ีย่อมขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ท่ี ไม่ได้เพราะทาให้สูญเสียมูลค่าของไม้ท่อนเป็น ตอ้ งการศกึ ษาในแต่ละคร้ัง การปรับเปล่ียนตาราง อันมาก ดังน้ันการออกแบบตารางการเก็บ ให้เหมาะสมต่อการบันทึกข้อมูลจึงเป็นสิ่งท่ีควร ข้อมูลภาคสนามจึงกาหนดให้ช่อง “Log” คือ ปรับปรุงอยู่เสมอ เช่น ตัวอย่างตารางบันทึก จานวนท่อนของต้นไม้ท่ีทอนออก กาหนดให้ ข้อมูลมวลชวี ภาพของไม้สักอายุ 21 ปี ณ สวนป่า แต่ละ Log จะมคี วามยาว 2 m และถ้าต้นไม้มี นาด้วง อาเภอนาด้วง จังหวัดเลย ท่ีแสดงใน ความสงู (Ht) 20.10 m ก็ไม่ควรตัดทอนต้นไม้ ตารางที่ 4 ซงึ่ เป็นไม้สักปลูกในระยะปลูก 2X8 m2 ออกเปน็ 11 ท่อน เพราะจะก่อความยุ่งยากใน โดยเมือ่ เร่ิมตน้ ปลกู จะมีจานวนต้นสกั 100 ต้น/ไร่ การเก็บข้อมูลและท่อนที่เหลือ 10 cm นี้ ผ่านการตัดสางขยายระยะเมื่อต้นไม้มีอายุ 17 ปี อาจจะสูญหายได้ จึงควรทอนออกเป็นแค่ 10 ท่อน คงเหลือจานวนต้นสัก 50 ต้น/ไร่ หลังการศึกษา โดยให้ส่วนปลาย 10 cm อยู่รวมกับปลาย มวลชวี ภาพของไม้สัก ทางสวนป่าต้องการไม้ท่อน ทอ่ นที่ 10 แต่ถา้ ส่วนปลายยอดยาวกว่า 30 cm มีความยาว 2 m เพ่ือนาไปใช้ประโยชน์ ดังนั้น อาจจาเป็นต้องทอนออกเป็น 1 ท่อนต่างหาก การศึกษามวลชีวภาพที่ใช้เทคนิคการตัดแบบ ทง้ั นีใ้ หข้ ึน้ อยกู่ บั ความเหมาะสมในการเกบ็ ข้อมลู ในชอ่ ง “Layer” จะเป็นมติ ทิ ต่ี อ้ งทาการวัดขนาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง (Ø) เช่น ที่ตาแหน่ง โคนต้น (D0), ที่ระดับ 0.30 m (D30) ที่ระดับ 1 m (D1), ระดับ 2 m (D2) .... เมื่อวัดขนาด Ø แล้วจะบันทึกในช่อง “Diameter” ส่วนในช่อง “Vst” คือปริมาตรของลาต้นรวมเปลือกท้ังหมด ถึงปลายยอด สว่ น “Vs > 2”, “Vs > 5” และ “Vs > 10” ปริมาตรลาต้นรวมเปลือกที่มีขนาด Ø > 2, Ø > 5 และ Ø > 10 cm ตามลาดับ การคานวณหาปริมาตรจะใช้ Samalian's formula โดย คานวณปริมาตรของไม้แตล่ ะทอ่ นจากสตู ร 11

Vs =  (D21+ D22) (L) 8 (106) ปรมิ าตรท่อนบนสุดคานวณจากสูตรกรวยกลม Vs =  (D12) (L) 12 (106) โดยท่ี Vs = ปรมิ าตรของท่อนไม้ (m3) D1 = เส้นผ่านศูนย์กลางทโ่ี คนท่อน (cm2) D2 = เส้นผา่ นศูนยก์ ลางทป่ี ลายทอ่ น (cm2) L = ความยาวของทอ่ น (cm) เมื่อนาปริมาตรท่ีคานวณได้ของแต่ท่อนรวมกับปริมาตรส่วนของปลายยอด จึงเป็น ปริมาตรลาตน้ ทงั้ หมด (Total Volume, Vt) 12

ตารางท่ี 4 ตัวอย่างตารางบนั ทกึ ขอ้ มูลมวลชีวภาพเหนือพื้นดนิ ของไม้สัก อายุ 21 ปี ระยะปลูก 2X8 m2 ณ สวนป่านาด้วง อาเภอนาด้วง จังหวดั เลย (ทมี่ า : Viriyabuncha et al., 2005) 13

เน่ืองจากต้นไม้จะมีความเรียวมากโดยเฉพาะบริเวณโคนต้นถึงระยะความสูง 1 m การคานวณปริมาตร จะแยกคานวณออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนท่ีหน่ึงเป็นปริมาตรลาต้นที่มีขนาด Ø ส่วนโคนคือ D0 และส่วนปลายคือ D30 จะมีความยาว 30 cm และส่วนที่สองเป็นปริมาตร ลาต้นที่มีขนาด Ø ส่วนโคนคือ D30 และส่วนปลายคือ D1 จะมีความยาว 70 cm ส่วนปริมาตรท่ี ระดับต่างๆ ก็ใช้ขนาด Ø ของโคนและปลายท่ีมีความยาว 100 cm คานวณเป็นปริมาตรจนถึง ปลายยอดที่จะใช้สมการกรวยกลมในการคานวณ จากตารางที่ 4 ค่าปริมาตรปลายยอดจะมี ขนาด Ø ของ D20 อยู่ที่ 0.42 cm และความยาว 10 cm ผลรวมของปริมาตรทั้งหมด คือค่า “Vst” ส่วนการคานวณปริมาตรลาต้นถงึ ขนาดจากัดที่ “Vs > 2”, “Vs > 5” และ “Vs > 10” หมายถึงปริมาตร ลาต้นจากโคนต้นจนถึงขนาด Ø 2, Ø 5, และ Ø 10 cm ตามลาดับ ว่าคิดเป็นปริมาตรปรับลด เป็นสดั ส่วนเท่าไร โดยอาศยั คา่ ของ “H2”, “H5” และ “H10” ท่ีระบุระดับความสูงจากโคนต้นถึง ขนาด Ø นัน้ ๆ จากตารางที่ 4 แสดงใหเ้ ห็นว่าปริมาตรปลายท่อนของ Ø 2, Ø 5, และ Ø 10 cm จะมคี วามยาว 88, 37 และ 89 cm ตามลาดบั เม่ือวัดค่า Ø ทุกมิติแล้ว จึงทาการตัดแบ่งชั้นของลาต้น (Ws) กิ่ง (Wb) และใบ (Wl) ออกทกุ ๆ ระยะ 2 m จากโคนตน้ ไปถงึ ปลายยอด แต่ส่วนของก่ิงไม้สักมักมีขนาดทั้งเล็กและใหญ่ ซึ่งก่ิงแต่ละขนาดจะมีปริมาณความชื้นไม่เท่ากัน โดยที่ก่ิงขนาด Ø เล็กโดยมากจะมีปริมาณ ความช้ืนมากกว่าก่ิงที่มีขนาด Ø ใหญ่กว่า จึงต้องทาการคัดแยกขนาดกิ่งออกเป็น 4 ประเภทคือ 1) Wb < 2 cm 2) Wb 2-5 cm 3) Wb 5-10 cm และ 4) Wb > 10 cm แล้วนามาชั่ง น้าหนักสดทุกส่วนท่ีทาการแยกแล้วว่าเป็น ลาต้น ก่ิงขนาดต่างๆ ใบ และดอก-ผล (Wf) ของ ท่อนน้ัน แล้วบันทึกข้อมูลน้าหนักสด ในส่วนของลาต้นจะตัดชั่งน้าหนักที่ขนาดจากัดท่ี Ø 2, Ø 5, และ Ø 10 cm ซ่ึงมคี วามยาว 88, 37 และ 89 cm ตามลาดับ ลงในช่อง “Ws > 2”, “Ws > 5” และ “Ws > 10” ในการแบ่งช้ันขนาดจากัดที่มี Ø 2, Ø 5, และ Ø 10 cm ว่ามีปริมาตรและมวลชีวภาพ ของลาต้นของแต่ละต้นมีปริมาณเท่าไร เนื่องจากการใช้ประโยชน์ของไม้มีลักษณะท่ีแตกต่างกัน โดยที่ไม้ท่ีมีขนาด Ø มากกว่า 10 cm สามารถนาไปแปรรูปเป็นไม้แผ่น หรือขนาด 5-10 cm สามารถนาไปแปรรูปเป็นไม้ปาร์เก้ หรือไม้เข้าล้ิน เป็นต้น ส่วนขนาด 2-5 cm นาไปทาไม้ฟืน เผาถ่าน ชิน้ ไม้สบั ส่วนขนาดน้อยกวา่ 2 cm อาจนาไปทาเป็นไม้ฟนื ตะเกียบสาหรับอุตสาหกรรม เคร่ืองปั้นดินเผา หรือแยกทิ้งลงไปในแปลงเพื่อเป็นการคนื ธาตุอาหารลงสู่ดนิ เปน็ ตน้ 14

การเลือกไมต้ วั อย่างเพ่ือใช้ในการศกึ ษามวลชวี ภาพ การเลือกไม้ตัวอย่างน้ันจะนาข้อมูล เมื่อนามาคานวณแจกแจงความถ่ี ดังแสดงใน DBH ที่ได้จากแปลงตัวอย่าง นามาคานวณค่า ภาพที่ 4 จากนั้นทาการเลือกต้นไม้ที่จะใช้ แจกแจงความถี่แล้วกาหนดจานวนต้นไม้ตัวอย่าง ศึกษามวลชีวภาพ ดังแสดงในตารางที่ 5 ท่จี ะตัดเพ่อื ศกึ ษาหามวลชีวภาพ โดยให้มีการ เนื่องจากในแปลงมีต้นไม้ขนาดเล็กที่มี DBH กระจายเป็นสัดส่วนกันกับการกระจายของ น้อยกว่า 10 cm อยู่จานวน 6 ต้น ซ่ึงเป็นไม้ ความถี่ตามชั้นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางนั้นๆ สักที่ผิดปกติ หรือเกิดจากการแตกหน่อซึ่ง ในท่ีน้ีจะขอใช้ข้อมูลจากแปลงปลูกไม้สักระยะ ขนาด DBH ไม่สอดคล้องกับอายุ 21 ปี จึงไม่ ปลูก 2X8 m2 อายุ 21 ปี จานวนพ้ืนท่ีปลูก ทาการเลอื กไมต้ วั อยา่ งในขนาดช้ันนี้ การเลือก 300 ไร่ ของสวนป่านาด้วง อาเภอนาด้วง ต้นไม้ตามขนาด DBH ท่ีต้องการตัดศึกษาจะทา จังหวัดเลย ในสังกัดองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ การคัดเลือกจากต้นไม้ท่ีอยู่นอกแปลงตัวอย่าง (อ.อ.ป.) ท่ีผ่านการตัดสางขยายระยะเม่ืออายุ ที่ทาการวัดความเจริญเติบโต ต้นไม้ท่ีเลือก ต้นไม้ 17 ปี ในแปลงตัวอย่างขนาด 1 ไร่ ควรมีลักษณะดี ลาต้นไม่คดงอหรือยอดหัก พบว่ามีจานวนต้นไม้ 50 ต้น/ไร่ โดยมีขนาด ให้มีขนาด DBH ที่ตรงหรือใกล้เคียงกับขนาด DBH ระหว่าง 4.9 - 36.0 cm มีพื้นที่หน้าตัด DBH ท่ีต้องการ แล้วทาการหมายต้นด้วย รวม 2.33 m2/ไร่ (Viriyabuncha et al., 2005) เชอื กฟางผูกลาต้นเอาไว้ ในการเลือกต้นไม้ตัวอย่างถ้าต้นไม้ (Quadratic) มีวิธีการคานวณใน “คู่มือการ ส่วนใหญ่เป็นต้นไม้ลาต้นเด่ียว (single stem) วางแปลงตัวอย่างถาวร และการเก็บข้อมูล เกิน 80-90 % การเลือกต้นไม้ตัวอย่างก็ควร ภาคสนาม” แล้วดาเนินการหามวลชีวภาพ เลือกต้นไม้ที่เป็นลาต้นเดี่ยว เช่น ไม้สัก ยูคา ทุกนางของต้นนั้นๆ เสมือนเป็น 1 ต้น ซึ่งเป็น ลิปตัส คามาลดูเลนซิส และไม้กระถินเทพา เรื่องที่ค่อนข้างยากข้ึนอีกระดับหนึ่ง เนื่องจาก เป็นต้น ส่วนต้นท่ีมี 2 นาง ในแปลงตัวอย่าง การที่ต้นไม้ขึ้นมาเป็นพุ่มโดยมีหลายลาต้น ก็ให้ถือว่าเป็น 2 ต้น แล้วนาไปคานวณมวล อยใู่ กลช้ ดิ ติดกนั มิตทิ างด้านความเจริญเติบโต ชีวภาพเสมือนมี 2 ต้น ส่วนต้นไม้ที่มีลักษณะ บางดา้ นอาจไดร้ ับผลกระทบ เช่น ปริมาณของใบ เป็นหลายนางหรือหลายลาต้น (multiple และกงิ่ ของนางเหล่าน้นั ยอ่ มมปี รมิ าณน้อยกว่า stems) เชน่ กระถนิ ณรงค์ หรอื ไมใ้ นป่าพรุ เช่น ต้นไม้ท่ีมีลาต้นเดี่ยว เน่ืองจากมีการบดบังกัน หว้าหิน เปน็ ต้น (ภาพที่ 5) การเลือกไม้ตัวอย่าง ของเรือนยอด การคานวณมวลชีวภาพแบบ อาจจะต้องเปล่ียนจากการจาแนกชั้นตามขนาด แยกต้นน่าจะมีความคลาดเคล่ือนได้ จึงต้องมี DBH มาเป็นการจาแนกชั้นตามขนาด DBHQ การศึกษาเพิ่มเตมิ ในโอกาส ต่อไป 15

ภาพที่ 4 การแจกแจงความถี่ตามขนาดชั้น DBH ของสวนป่าไม้สัก ที่ระยะปลูก 2X8 m2 อายุ 21 ปี ณ สวนป่านาด้วง อาเภอนาด้วง จงั หวัดเลย (ท่มี า : Viriyabuncha et al., 2005) ตารางท่ี 5 การกาหนดขนาดไม้ตัวอย่างก่อนตัดทามวลชีวภาพ และขนาดไม้ตัวอย่างจริงท่ีได้ ภายหลังการศกึ ษามวลชีวภาพของสวนป่าไม้สัก ท่ีระยะปลูก 2X8 m2 อายุ 21 ปี ณ สวนป่านาด้วง อาเภอนาด้วง จังหวดั เลย (ทีม่ า : Viriyabuncha et al., 2005) ขนาดช้ัน DBH จานวนตน้ DBH ของไม้ตัวอย่างที่ DBH ของไม้ตัวอยา่ งหลงั ต้องการ การศึกษา 4-10 6 - - 10-16 4 11.0, 15.0 12.0, 15.5 16-22 9 17.0, 20.0 18.2, 20.5 22-28 16 28-34 11 22.0, 25.5, 27.0 22.1, 25.5, 26.8 34-40 4 28.5, 32.0 28.6, 32.1 36.0 38.0 16

ภาพท่ี 5 ไม้หว้าหิน (Eugenia kunstleri) เป็นไม้ในป่าพรุน้าจืด ท้องท่ี จงั หวัดนราธิวาส จะมลี าต้นหลายลาตน้ การลม้ ต้นไม้ เม่ือคัดเลือกต้นไม้ได้ตามขนาดท่ีต้องการแล้ว จะใช้จอบปรับแต่งพื้นที่และนาเอาวัชพืช บริเวณโคนต้นออกไป เพื่อความสะดวกต่อการตัดต้นไม้ ทาการตัดต้นไม้ให้ชิดพื้นดินมากที่สุด เพื่อให้มีการสูญเสียเน้ือไม้ไว้กับตอน้อยที่สุด ดังแสดงในภาพท่ี 6 อุปกรณ์ที่ใช้ตัดต้นไม้ ถ้าเป็น ต้นไม้ทีม่ ีขนาดเลก็ จะใชเ้ ลอื่ ยคนั ธนู ถา้ ตน้ ไม้มขี นาดใหญจ่ ะใช้เล่ือยสองเกลอ (เล่ือยแบบสองคนชัก) หรือเล่ือยยนต์ ตามความเหมาะสมกับขนาดของต้นไม้ท่ีศึกษา แต่การใช้เลื่อยยนต์ในการตัด จะไม่สามารถตัดให้ชดิ ดินได้ ทาให้มเี น้อื ไม้อย่กู ับตอเป็นจานวนมาก การล้มต้นไม้ต้องใช้ความระมัดระวังสูงโดยเฉพาะต้นไม้ที่มีขนาดใหญ่ การกาหนดทิศทาง ของต้นไมท้ ่ีจะลม้ ตอ้ งเหมาะสม ตอ้ งพยายามบงั คบั ใหต้ น้ ไม้ล้มลงในบริเวณช่องว่างระหว่างต้นไม้ โดยไม่ให้พาดค้างกับต้นไม้ต้นอื่น ในบางกรณีอาจต้องใช้เชือกใยยักษ์เส้นใหญ่ผูกติดกับต้นไม้ท่ี ระดับความสงู 3-4 m เพอ่ื บงั คับทิศทางการล้มร่วมกับแรงคนดนั ให้ต้นไม้ล้มไปทางทก่ี าหนด ในกรณี ตน้ ไมท้ ต่ี ัดลม้ ไปพาดคากับต้นไม้ต้นอื่น จะทาใหก้ ารปฏิบตั งิ านมคี วามยากลาบากมาก เพราะต้อง เสยี เวลาเอาต้นไมต้ วั อยา่ งลงมา ตอ้ งแยกส่วนของกง่ิ และใบที่ไม่ใชข่ องไม้ตัวอย่างออกไป แต่เม่ือ ต้นไม้ล้มถูกทาง การทางานเพื่อทาการเก็บข้อมูลในส่วนต่างๆ จะง่ายและรวดเร็วมาก ภายหลัง จากต้นไม้ล้มแล้ว ควรใช้ถุงพลาสติกขนาดใหญ่เพื่อเก็บรวบรวมใบไม้และก่ิงขนาดเล็กท่ีแตกหัก กระจายออกไป โดยใหเ้ กบ็ เฉพาะส่วนท่ีออกมาจากไมต้ ัวอยา่ งเท่าน้นั 17

ภาพท่ี 6 การตัดต้นไม้ ตั ว อ ย่ า ง เ พ่ื อ ศึ ก ษ า ม ว ล ชี ว ภ า พ ทาการตัดต้นไม้ให้ชิดดินมากท่ีสุด 1) การใช้จอบปรับพ้ืนท่ีรอบๆ โคนต้น ก่อนทาการตัดไม้พฤกษ์ ท้องท่ี จังหวัดพะเยา 2) การตัดไม้พฤกษ์ โดยใช้เล่ือยคันธนู 3) การตัดไม้ พฤกษ์โดยใช้เล่ือยแบบ 2 คนชัก และ 4) การตัดไม้สักโดยใช้เลื่อยยนต์ ของสวนปา่ นาดว้ ง จงั หวัดเลย มิติการวัดขอ้ มลู ต้นไม้ภายหลังการล้มตน้ ไม้ ภายหลังจากการล้มต้นไม้ การวัดมิติต่างๆ ของต้นไม้ท่ีจาเป็นต่อการวิเคราะห์ข้อมูล ดงั แสดงในภาพท่ี 7 ซึง่ มิตติ า่ งๆ ของต้นไม้ดงั กลา่ ว จะทาการวดั ข้อมูลเมื่อล้มต้นไม้แล้วซ่ึงจะทาการ ตรวจวัดได้ง่าย พร้อมบันทึกข้อมูลใน แบบตารางบันทึกข้อมูลมวลชีวภาพ เหนือพ้ืนดินที่แสดงในตารางที่ 4 ส่วนการเก็บข้อมูลขนาด Ø มิติต่างๆ ในภาคสนาม ได้แสดงในภาพที่ 8 ภาพที่ 7 ตาแหน่งท่ีใช้ใน การเกบ็ ขอ้ มลู ทางด้านความสูง และ เส้นผ่านศูนย์กลางของต้นไม้ตัวอย่าง โดยแบ่งเป็นช้ันๆ โดยมีระยะห่าง ระหว่างช้ัน 1 m จากพื้นดินถึง ปลายยอด Ht = ความสงู ของต้นไมจ้ ากโคนตน้ ถึงปลายยอด H2 = ความสงู จากโคนตน้ ไปยงั ลาตน้ ทม่ี ี Ø 2 cm H5 = ความสูงจากโคนต้นไปยงั ลาต้นทม่ี ี Ø 5 cm H10 = ความสงู จากโคนต้นไปยังลาต้นทีม่ ี Ø 10 cm Hb = ความสูงจากโคนตน้ ถงึ กิ่งสดก่งิ แรก D0 = ขนาด Ø ทโ่ี คนต้น D30 = ขนาด Ø ท่รี ะดับ 30 cm เหนือพน้ื ดนิ DBH = ขนาด Ø ทร่ี ะดบั อก หรอื 1.30 m D1 = ขนาด Ø ทรี่ ะดับ 1 m เหนือพน้ื ดิน D2 = ขนาด Ø ท่รี ะดับ 2 m เหนอื พ้ืนดิน D3…= ขนาด Ø ท่รี ะดบั 3 m…. Db = ขนาด Ø ของก่ิงสดกงิ่ แรก 18

ภาพที่ 8 การเก็บข้อมูลมิติต่างๆ ในภาคสนามของต้นไม้ ภายหลังจากทาการล้มแล้ว ของสวนป่าไม้สกั อายุ 21 ปี ระยะปลูก 2X8 m2 สวนป่านาด้วง จงั หวัดเลย 1) ทาการดึงเทปวัด ระยะจากโคนตน้ ไปยังปลายยอดโดยให้เทปวัดระยะแนบกับลาต้นให้มากท่ีสุด 2) ใช้ปากกาเคมี ทาเครื่องหมายตาแหน่งต่างๆ ท่ีต้องทาการวัดข้อมูล 3 ) การวัดขนาด Ø ท่ีโคนต้น และ 4) การวัด ขนาด Ø ที่ระดับ D30 และทุกระดับจนถงึ ปลายยอด การทอนไม้เพอ่ื เกบ็ ขอ้ มูลนา้ หนกั สด หลังจากทาการวัดข้อมูลในมิติต่างๆ ภาพท่ี 7 ปกติกิ่งของต้นไม้ท่ัวๆ ไป จะแยก เป็นที่เรียบร้อยแล้ว จะทาการทอนลาต้น ออกเป็นกิ่งเล็กท่ีมีขนาด Ø < 2 cm กิ่งกลางมี ออกเป็นท่อนๆ ท่อนละ 1 m ต้ังแต่โคนต้น ขนาด 2-5 cm และกงิ่ ใหญ่จะมีขนาด Ø > 5 cm ไปสูป่ ลายยอด ยกเว้นไม้สักท่ีอาจต้องทอนลาต้น การทจ่ี าแนกส่วนที่เป็นก่ิงออกเป็นหลายๆ ขนาด ออกเป็นทุกๆ 2 m เพราะภายหลังจากศึกษา เนื่องจากปริมาณความช้ืนจะไม่เท่ากัน ส่วนของ ทางสวนป่าจะได้นาท่อนไม้ไปใช้ประโยชน์ได้ กงิ่ เล็กจะมปี รมิ าณความชื้นมากกว่ากิ่งใหญ่ และ เพิ่มมากขึ้น การทอนลาต้นจะทอนจากโคน การจาแนกขนาดของกิ่งจะสามารถคานวณหา ต้นไปยังปลายยอด ทุกๆ ระยะ 1 หรือ 2 m ปริมาณของไม้ฟืนได้ด้วยโดยนาไปรวมกับส่วน พร้อมเขียนหมายเลขเรียงประจาท่อนจาก ของลาต้น ซึ่งการพิจารณาแยกประเภทของก่ิงน้ัน ท่อนท่ี 1 ไปถึงปลายยอด ดังแสดงในภาพที่ 9 ให้พิจารณาจากลักษณะรูปทรง ความแก่อ่อน ในกรณีท่ีลาต้นเริ่มมีการแตกก่ิงและใบซึ่งข้าม และขนาดของก่ิง เนื่องจากบางคร้ังก่ิงเล็กขนาด ท่อนไปอย่ทู อ่ นอน่ื ๆ ก็ทาการแยกก่ิงและใบให้อยู่ < 2 cm อาจต้องแยกเป็นส่วนของกิ่งเขียวและกิ่ง ประจาท่อนนนั้ ๆ โดยทาการตดั ขวางดังแสดงใน น้าตาล เชน่ ไมย้ ูคาลิปตัส คามาลดเู ลนซิส เป็นต้น 19

ภาพท่ี 9 การทอนไม้สกั ออกเป็นช้นั ๆ ละ 2 m เพ่ือแยกส่วนที่เป็น ลาต้น ก่ิง ใบ และดอก-ผล ของแตล่ ะช้ันออกจากกัน เพ่ือเตรียมนามาช่งั หาน้าหนักสดของส่วนต่างๆ ต่อไป 1) ส่วนของลาต้นท่ี ถูกทอนออกเป็นท่อนๆ ละ 2 m 2) การแยกก่ิงออกจากลาต้น และการแยกใบออกจากกิ่ง 3) การคัดแยก ขนาดของก่ิงทม่ี ี Ø < 2 cm, 2-5 cm, 5-10 cm และ > 10 cm และ 4) การจัดเรียงทอ่ นไม้แต่ละช้ัน เพอื่ เตรยี มการชัง่ นา้ หนกั สดของสว่ นต่างๆ ทีไ่ ด้ทาการแยกเรยี บร้อยแล้ว การเก็บข้อมูลในมิติของลาต้นจะไม่พบ รวมกับกิ่ง แต่ถ้ามีเวลาและมีความชานาญ ปญั หาเม่อื มลี าต้นเด่ียวชัดเจนจนถึงปลายยอด เพียงพออาจจะเก็บข้อมูลเป็นแบบสองลาต้นได้ เช่น ไม้สัก และไม้สนเขา เป็นต้น แต่จะพบ สว่ นของใบในกรณีทเ่ี ป็นใบประกอบ เช่น ไม้พฤกษ์ ปญั หามากในตน้ ไม้ท่ีมีกิ่งขนาดใหญ่หรือต้นไม้ท่ี ยมหิน และสะเดา เป็นต้น การแยกใบจะเก็บ มีทรงพุ่มกลมแผ่กว้าง เน่ืองจากเรากาหนดให้ รวมทัง้ ก้านใบดว้ ย ดงั แสดงในภาพท่ี 10 แต่ถ้า ลาต้นมีเพียง 1 ลาต้น ส่วนอ่ืนจะปัดไปเป็นก่ิงหมด เป็นใบแบบใบเดี่ยว เช่น ไม้สัก ไม้ยูคาลิปตัส ดงั นน้ั ตาแหน่งทตี่ ้นไม้มกี ารแตกง่ามอาจมีขนาด คามาลดูเลนซิส การแยกใบก็ให้เด็ดออกจาก Ø เทา่ กนั สว่ นหนงึ่ จะเปน็ ลาตน้ และอีกส่วนจะ กงิ่ ไดเ้ ลย ภายหลงั การแยกลาต้น กง่ิ ใหญ่ กงิ่ เล็ก เป็นกิ่งใหญ่ ท่ีทาเช่นน้ีเพื่อความสะดวกรวดเร็ว และใบ ในแต่ละกองเรียบร้อยแล้ว ให้ใช้เชือก ในการเก็บข้อมูลเท่าน้ัน แต่สมการแอลโลเมตริก ฟางเส้นเล็กๆ มัดรวมก่ิงให้เรียบร้อย ส่วนใบไม้ ท่ีได้ในส่วนของลาต้น และกิ่ง อาจมีความสัมพันธ์ รวบรวมใส่ถุงพลาสติกขนาดใหญ่ เพ่ือไม่ให้ ไมด่ เี ทา่ กับสว่ นทเ่ี ป็นเนือ้ ไม้ คอื ส่วนของลาตน้ ตัวอย่างตกหล่นในขณะทีล่ าเลยี งมาชง่ั น้าหนัก 20

ภาพท่ี 10 ไม้พฤกษ์ เปน็ ตน้ ไมท้ ีม่ ลี ักษณะเป็นใบประกอบ การศึกษามวลชีวภาพของใบ จะรวมในสว่ นของใบย่อยและก้านใบเขา้ ดว้ ยกัน การช่งั น้าหนักสด ใ น ก า ร ชั่ ง น้ า ห นั ก ส ด ข อ ง ต้ น ไ ม้ ท่ี ชั่งตัวอย่างต้องมีการทดสอบว่าเครื่องช่ังทั้ง 3 ทาการศึกษามวลชีวภาพ จะต้องใช้เครื่องชั่ง ขนาด สามารถอ่านน้าหนักจานวน 1 kg ได้เท่ากัน น้าหนักอย่างน้อย 3 ขนาด คือ 1) เคร่ืองชั่งที่ ท้ัง 3 ขนาดหรือไม่ ถ้าไม่ได้จาเป็นต้องปรับแต่ง ช่ังน้าหนักได้เป็นจานวนมากขนาด 60 หรือ พนื้ ท่ีทใี่ ชต้ ้ังเครอ่ื งชัง่ หรือปรบั ศนู ย์ของเครื่องช่ัง 100 kg 2) เคร่ืองช่ังน้าหนักขนาดกลางที่ชั่ง หรือเปลีย่ นเครื่องช่ังใหม่ เพ่ือใหก้ ารชั่งนา้ หนักมี น้าหนักได้ 7 หรือ 20 kg และ 3) เครื่องชั่ง ความสอดคล้องกนั ทงั้ 3 ขนาด ในการชั่งน้าหนัก นา้ หนักแบบละเอยี ดทีช่ ง่ั นา้ หนกั ได้ 1 หรือ 2 kg สดของใบไม้ต้องหักน้าหนักถุงพลาสติกที่ใส่ การเลือกใช้เคร่ืองชั่งน้าหนักท่ีเหมาะสมจะช่วย ใบไม้ออก หรือหักน้าหนักของถาดท่ีใส่ออกด้วย ให้เก็บข้อมูลได้รวดเร็วและมีความถูกต้องสูง ส่วนเชือกฟางที่ใช้มัดก่ิงถ้าเป็นเส้นเล็กๆ ไม่ เพราะไม่ต้องแบ่งส่วนของต้นไม้ออกมาชั่งหลาย จาเป็นต้องหักน้าหนักของเชือกฟางออก เนื่องจาก ครงั้ เน่ืองจากมนี ้าหนักเกินเคร่ืองช่ัง การจัดวาง น้าหนักเชือกฟางมีน้อยมาก ยกเว้นกรณีที่ใช้ เครื่องชั่งน้าหนักต้องหาท่ีวางท่ีเหมาะสม เชือกขนาดใหญ่ที่ใช้ยกลาต้นเพ่ือชั่งกับตาช่ัง สะดวกต่อการยกตัวอย่างข้ึนลง และสามารถ สปรงิ ส์ จาเป็นต้องหกั นา้ หนกั ของเชอื กออกด้วย อ่านน้าหนักจากเคร่ืองชั่งทั้ง 3 ขนาด ได้ง่าย ภายหลังจากอ่านน้าหนักสดของส่วนต่างๆ แล้ว และรวดเร็ว ดงั แสดงในภาพท่ี 11 ก่อนทาการ ให้จดบนั ทกึ ข้อมูลลงใน ตารางท่ี 4 21

ในการชั่งน้าหนักของลาต้น ที่มีขนาดจากัดที่ Ws > 2 , Ws > 5 และ Ws > 10 cm จากตัวอย่างตารางที่ 4 พบว่า ค่า H2 วัดได้ 18.88 m แสดงว่าท่อนที่ 10 จะมีลาต้นท่ีมีขนาด Ø 2 cm ที่วัดจากโคนท่อนขึ้นมา 88 cm เม่ือนาท่อนที่ 10 มาชั่งน้าหนักท้ังหมดจะได้ 0.864 kg จะบันทึกค่าลงในช่อง Ws แล้วนาท่อนท่ี 10 มาเล่ือยตัดที่ตาแหน่ง 88 cm นาส่วนที่เป็นโคนท่อน มาช่ังใหม่จะได้ 0.698 kg จะบันทึกค่าลงในช่อง Ws > 2 เม่ือทาการรวมน้าหนักทุกท่อนของ สดมภน์ ้จี ะเปน็ ค่าของ Ws > 2 หรอื ค่า H5 วดั ได้ 16.37 m แสดงวา่ ทอ่ นท่ี 9 จะมีลาต้นท่ีมีขนาด Ø 5 cm ท่ีวัดจากโคนท่อนขึ้นมา 37 cm เม่ือนาท่อนที่ 9 มาชั่งน้าหนักท้ังหมดจะได้ 3.440 kg จะบันทึกค่าลงในช่อง Ws และ Ws > 2 แล้วนาท่อนท่ี 9 มาเลื่อยตัดท่ีตาแหน่ง 37 cm นาส่วน ท่ีเป็นโคนท่อนมาช่ังใหม่จะได้ 0.962 kg จะบันทึกค่าลงในช่อง Ws > 5 เม่ือทาการรวมน้าหนัก ทุกท่อนของสดมภน์ ีจ้ ะเป็นคา่ ของ Ws > 5 ในกรณีของค่า H10 ก็ใช้วธิ ีเดยี วกนั กบั H5 และ H2 ภาพท่ี 11 การชั่งน้าหนักสดส่วนต่างๆ ท่ีได้จากการทอนลาต้นไม้สักท่อนละ 2 m 1) การจัดวางตาแหน่งเคร่ืองชงั่ น้าหนักทง้ั 3 ขนาด เพื่อเตรยี มการอ่านค่า 2) การช่ังน้าหนักของ ลาต้นไม้สักด้วยเคร่ืองช่ังสปริงแบบแขวนท่ีชั่งน้าหนักได้สูงสุด 100 kg 3) การช่ังก่ิงไม้สักด้วย เครือ่ งชงั่ Digital ขนาด 20 kg และ 4) การชงั่ ใบสักด้วยเครื่องช่งั Digital ขนาด 2 kg 22

การสมุ่ เกบ็ ตัวอยา่ งเพอ่ื ไปหาน้าหนกั แห้ง เม่ือช่ังน้าหนักสดของแต่ละส่วนใน น้อยอาจเก็บตัวอย่างแบบ 100 % ได้ เช่น แต่ละท่อนเรียบร้อยแล้ว จะทาการเก็บตัวอย่าง น้าหนักสดของใบ 800 g ก็นามาเป็นน้าหนัก ของลาต้น กิ่งใหญ่ ก่ิงเล็ก ใบ และดอก-ผล ตัวอย่างท้ังหมดได้ ในส่วนของก่ิง เม่ือทาการ โดยการสุ่มเลือกตัวอย่างให้มีการกระจายและ บันทึกน้าหนักสดของก่ิงใหญ่ กลาง และเล็ก ครอบคลุมทุกชั้นมากท่ีสุด โดยปกติน้าหนัก แยกตามรายท่อนเรียบร้อยแล้ว จะทาการสุ่ม ของตัวอย่างแต่ละส่วนไม่ควรน้อยกว่า 500 g เก็บตัวอย่างของกิ่งเหล่าน้ันแยกออกตามกลุ่ม แต่ในบางกรณี ต้นไมท้ ่มี ขี นาดใหญ่มากการเก็บ ให้ครอบคลุมทุกขนาดของความโตของกิ่งใน ตัวอย่างอาจมีน้าหนักมากกว่า 1,000 g การ กลุ่มน้ันๆ ให้มีการกระจายครบทุกท่อนที่ทอน เก็บตัวอย่างของต้นไม้ถ้ามีน้าหนักมากเกินไป ส่วนปริมาณน้าหนักของตัวอย่าง ให้มีสัดส่วน จะเป็นภาระในการนากลับมายังห้องปฏิบัติการ สอดคล้องกับน้าหนักสดภาคสนาม ในกลุ่มของ และเสียพื้นที่ในตู้อบตัวอย่าง แต่ถ้าตัวอย่างมี กิ่งขนาด Ø 5-10 cm จะใช้เลื่อยคันธนูตัดเป็น นา้ หนกั น้อยเกินไป อาจจะทาให้การสุ่มตวั อยา่ ง แวน่ มีความหนาประมาณ 2-5 cm ส่วนกงิ่ ขนาด เกิดความคลาดเคล่ือนได้ แต่อย่างไรก็ตามถ้า Ø 2-5 cm จะใช้กรรไกรตัดก่ิงขนาดใหญ่ตัด การเก็บตัวอย่างน้าหนักมาก แต่ไม่กระจาย แบง่ เปน็ ทอ่ นมีความยาวประมาณ 3-5 cm และ และครอบคลุมก็ได้ผลเช่นเดียวกันกับการเก็บ กิ่ง Ø < 2 cm ให้ใช้กรรไกรตัดก่ิงขนาดเล็กตัด ตวั อยา่ งน้อย บางคร้ังส่วนของต้นไม้ท่มี ีน้าหนัก เป็นท่อนมคี วามยาวประมาณ 10-15 cm ในการเก็บตัวอย่างของลาต้น ในกรณี ตัวอย่างหนักเกินไป ให้ใช้มีดโต้แบ่งคร่ึงแว่น ที่เป็นต้นไม้ท่ีมีขนาดเล็ก (ขนาด DBH < 10 cm) ตัวอยา่ งนัน้ ทกุ แว่น โดยเลือกครึ่งแว่นที่สมบูรณ์ ให้ใช้เลอ่ื ยคนั ธนูตัดเปน็ แว่นขนาดหนาประมาณ ไปเป็นตัวอยา่ ง ถา้ นา้ หนกั ยังคงมากอยู่ ก็ใหแ้ บ่ง 2-5 cm ทต่ี าแหนง่ โคนท่อนของลาต้นทุกท่อน ออกเป็น ¼ หรือ ⅛ ในกรณีท่ีต้นไม้ที่มีขนาด จนถึงท่อนที่มีขนาด Ø ประมาณ 3-5 cm ใหญแ่ ละสูงมาก ให้เกบ็ ตวั อย่างโคนทอ่ นโดยเก็บ นอกนั้นไม่ใช้เป็นตัวอย่างของลาต้น แว่นที่ใช้ ท่อนเวน้ ทอ่ น เป็นต้น ในกรณีที่ใช้เวลาดาเนินการ เป็นตัวอย่างต้องมีเปลือกครบทั้งวง ในกรณีท่ี ค่อนข้างนานและพบวา่ ปลายทอ่ นทีเ่ ก็บตัวอย่าง เป็นต้นไม้ที่มีขนาดใหญ่ ให้ตัดเป็นแว่นขนาด ค่อนขา้ งแหง้ เกินไปอาจจาเป็นต้องตัดแว่นท้ิงไป หนาประมาณ 2-3 cm ท่ีตาแหน่งโคนท่อนทุกท่อน ก่อนหนง่ึ แวน่ แล้วใชแ้ วน่ ด้านในเปน็ แวน่ ตัวอย่าง ถา้ นาแวน่ ท่ีได้ทง้ั หมดไปชั่งนา้ หนักเมอื่ พบวา่ การสุม่ เก็บตวั อยา่ งแสดงในภาพที่ 12 23

ภาพที่ 12 การสมุ่ และจดั เตรยี มตัวอย่างของลาต้น และก่ิงใหญ่ขนาด Ø 5-10 cm ของไม้สัก 1) การเล่ือยตัดลาต้นที่มีขนาดใหญ่บริเวณปลายท่อน ให้มีความหนาของแว่นประมาณ 2-3 cm 2) การเก็บตัวอย่างลาต้นเพื่อนามาชั่งน้าหนักสด โดยการผ่าแว่นไม้ให้ผ่านใจกลางแบบแบ่ง ¼ เลือกส่วนที่ดีท่ีสุด 1 ช้ิน จากแต่ละท่อนต้ังแต่โคนต้นถึงปลายยอดนามาช่ังน้าหนักรวมกัน 3) การช่ังน้าหนักสดของกิ่งใหญ่ ขนาด Ø 5-10 cm และ 4) เนื่องจากจานวนและน้าหนักของ กิง่ ใหญม่ ีจานวนมากจงึ ใช้กระดาษหนงั สือพิมพ์ห่อตัวอยา่ ง จ า ก น้ั น น า ตั ว อ ย่ า ง ท่ี ไ ด้ ม า ช่ั ง ห า ใ ห้ ใ ช้ ก ร ะ ด า ษ ห นั ง สื อ พิ ม พ์ เ ย็ บ เ ป็ น ถุ ง ใ ส่ น้าหนักสดด้วยเคร่ืองชั่งละเอียด บันทึก ตัวอย่าง จากน้ันนาตัวอย่างท่ีใส่ถุงกระดาษ น้าหนักสดหน่วยเป็น g โดยบันทึกข้อมูลลงใน แล้วจัดเรียงลงในลังพลาสติกเพื่อรอการขนย้าย ตารางท่ี 4 นาตัวอย่างท่ีช่ังเสร็จใส่ถุงกระดาษ เมื่อจัดเรียงถุงตัวอย่างลงในลังแล้วไม่ควรไป ใช้ท่ีเย็บกระดาษเย็บปิดปากถุงไม่ให้ตัวอย่าง รบกวนกับถุงตัวอย่างอีก เพราะความช้ืนจาก ร่วงหล่นได้ จากนั้นใช่ปากกาเคมีเขียนท่ีถุง ตัวอย่างจะทาให้ถุงกระดาษเปียกและขาดได้ กระดาษว่าเป็นส่วนของอะไร ต้นท่ีเท่าไร ง่ายมาก จะนาออกจากลังได้ต่อเม่ืออยู่ใน น้าหนักสดท่ีไม่รวมน้าหนักถุงเท่าไร โดยเขียน ห้องปฏิบัติการแล้ว เพื่อพร้อมท่ีจะทาการอบ ให้ชัดเจนเพ่ือไม่ให้สับสนกับต้นอื่น ในบาง โดยค่อยๆ นาออกมาทีละถุง เมื่อถุงใดขาด กรณีมีน้าหนักและจานวนของตัวอย่างมาก ชารุดมากก็ให้เปล่ียนถงุ กระดาษชดุ ใหม่ใส่แทน 24

การศึกษามวลชวี ภาพของราก การศึกษามวลชีวภาพของรากมักจะ จนถึงปลายรากแก้วจึงงัดส่วนที่เป็นตอ คัดเลือกจากต้นที่ได้ทาการศึกษามวลชีวภาพ (stump) ข้ึนมาจากพ้นื ดิน ดงั แสดงในภาพท่ี 13 เหนือพื้นดินแล้ว แต่การศึกษาทาได้ค่อนข้างยาก หลงั จากขุดรวบรวมรากได้ทง้ั หมดแลว้ จงึ นาราก และใช้เวลานาน เน่ืองจากจาเป็นต้องขุดดินลงไป มาล้างทาความสะอาดด้วยน้า โดยรากขนาด เพอื่ นารากทงั้ หมดขน้ึ มาช่ังน้าหนัก ในการเก็บ เล็กลา้ งดว้ ยน้าแล้วรินผ่านตาข่ายไนลอน ส่วน ข้อมลู จาเป็นต้องใช้ไขควงปากแบน หรือเหล็ก ของตอไม้ให้ใช้นา้ ฉีดและใช้แปรงสีฟันทาความ 3 หุน ยาว 20-25 cm ตีปลายด้วยค้อนให้แบน สะอาด จากน้ันนารากผ่ึงในท่ีร่มให้แห้ง แบ่งขนาด หรือเสยี ม และพลัว่ มือขนาดเล็ก เพ่ือใช้ในการ ของรากเป็นรากขนาด 0.2-1.0, 1.0-2.0, 2.0-5.0, ขดุ ดนิ ตามรากของต้นไม้ส่วนท่ีเป็นรากแขนงท่ี 5.0-10.0 และ > 10.0 cm แล้วชั่งน้าหนักสด มีขนาดใหญ่ก่อนจนหมดจากน้ันจึงตามราก และสุ่มตัวอย่างเพ่ือหาน้าหนักแห้งของท้ัง 5 แขนงที่มีขนาดเล็กต่อไปจนรากมี Ø ประมาณ ขนาดดังกล่าว ในการปฏิบัติงานเพื่อขุดราก 2 mm จึงยุติ ส่วนของรากที่มีขนาดเล็กท่ีขาด ต้นไม้จานวน 1 ต้น จะใช้คนงาน 5 คน และ จากรากแขนงที่ขุดได้ ให้แยกเอาเศษดินออก เวลาขุดประมาณ 2-3 วัน โดยมากจะทาการศึกษา ให้หมดแล้วนาใส่ถุงพลาสติก โดยระมัดระวัง ช่วงหลังฝนเพราะว่าดินจะค่อนข้างอ่อนนุ่มไม่ ไมใ่ ห้มรี ากของต้นไม้อืน่ ปะปนเขา้ มา เม่ือขุดราก แข็งเกนิ ไปเหมอื นในฤดรู ้อน 25

ภาพที่ 13 การศกึ ษามวลชีวภาพของรากไม้กระถินเทพา อายุ 5 ปี ระยะปลูก 3X3 m2 ณ สวนป่าคลองตะเกรา อาเภอท่าตะเกียบ จังหวัดฉะเชิงเทรา 1) การตามรากแขนงท่ีมีขนาดใหญ่ เพ่ือดูขอบเขตการกระจายของราก 2) เม่ือนาดินออกไปถึงความลึกหน่ึงจะทางานได้ยากลาบาก จาเป็นต้องตัดรากและยกส่วนท่ีเป็นตอ (Stump) ออกมาก่อน รากที่ยังอยู่ในดินจะใช้เชือกฟาง ผูกไว้เพ่ือใช้ติดตามรากต่อไป 3) ทาการขุดตามรากท่ีมีเชือกฟางผูกอยู่ทุกราก 4) นารากขนาดเล็ก มาล้างทาความสะอาดเพ่อื นาเศษดนิ ออกจากราก 5) การลา้ งรากส่วนที่เป็นตอจะรองด้วยตาข่าย ไนลอนเพ่ือป้องกันเศษของรากท่ีอาจจะสูญหาย 6) นารากท่ีล้างทาความสะอาดแล้วมาผ่ึงในที่ร่ม 7) ทาการคัดแยกขนาดต่างๆ ของราก แล้วนาไปช่ังน้าหนักสด 8) การเลื่อยตอเพื่อเตรียม ตัวอย่างราก และ 9) การเตรียมตัวอย่างรากขนาดต่างๆ เพื่อชั่งหาน้าหนักสดแล้วใส่ถุงเพื่อรอ การเคลื่อนย้าย 26

การอบตัวอย่าง ตัวอย่างท่ีได้จากภาคสนาม จะนามา อบในตู้อบเพื่อหาน้าหนักแห้งของตัวอย่าง โดยใช้อบที่อุณหภูมิ 105 OC ภายหลังการอบ ในตู้อบผ่านไป 48 ชั่วโมง ให้ลองสุ่มถุงตัวอย่าง ในสว่ นของลาต้น ก่ิงใหญ่ กิง่ เล็ก และใบ มาบันทึก น้าหนกั อบแหง้ แลว้ นาไปอบต่ออีก และลองช่ัง ถุงตัวอย่างต่อในวันต่อๆ ไป จนน้าหนักของ ตัวอย่างท่ีเลือกไว้มีค่าคงที่ แล้วให้ทาการปิด ต้อู บทิ้งไวจ้ นตัวอย่างหายร้อนแล้ว จึงนาตัวอย่าง ทั้งหมดไปช่ังน้าหนักอบแห้งกับเคร่ืองช่ังใน ห้องปฏิบัติการ ที่มีค่าละเอียดจุดทศนิยม 1 ตาแหน่ง ของหน่วยกรัม โดยนาตัวอย่างออก จากถุงกระดาษเทลงในถาดชั่งตัวอย่างแล้ว บันทึกข้อมูลที่ได้ลงในตารางบันทึกข้อมูลตาม ตารางท่ี 4 ตามปกติถ้าช้ินส่วนตัวอย่างมี จานวนไม่มากนักโดยเฉพาะส่วนของกงิ่ ขนาดเลก็ และใบ จะใช้เวลาการอบประมาณ 48 ช่ัวโมง ติดต่อกนั แตถ่ ้าตัวอย่างประเภทลาต้นและกิ่ง ขนาดใหญจ่ ะตอ้ งใช้เวลาอบทน่ี านขึ้น แต่ถ้าไม่ สามารถอบติดต่อกันได้ เช่น เปิดตู้อบได้เฉพาะ เวลาปฏบิ ตั ิงานตามเวลาราชการ ก็อาจใช้เวลา ในการอบตัวอย่างไม่น้อยกว่า 10 วัน จึงจะได้ น้าหนักแห้งของตัวอย่าง อีกทั้งการจัดเรียงถุง ตัวอย่างในตู้อบก็มีความสาคัญเพราะการ จัดเรียงตัวอย่างแน่นทึบเกินไปจะทาให้ถุง ตัวอย่างที่อยู่ด้านล่างแห้งช้ากว่าส่วนที่อยู่ด้าน นอก ถ้าจัดเรียงถุงตัวอย่างให้โปร่งจะช่วยให้ น้าจากตัวอย่างระเหยได้สะดวกขึ้นและทาให้ ตวั อยา่ งแหง้ ไดเ้ รว็ ขนึ้ 27

การอบตัวอย่างทีอ่ ุณหภมู ิ 80 OC น้ัน น้าที่อยู่ในเซลล์พืช (water in bound) จะระเหย ออกมาหมด แตน่ า้ ที่อยรู่ ะหว่างผนงั เซลยงั ไมร่ ะเหยออกมาจาเป็นต้องให้อุณหภูมิสูงกว่า 100 OC น้าในระหว่างผนังเซลล์ถึงจะระเหยออกมาหมด แต่ถ้าต้องการนาตัวอย่างที่อบไปวิเคราะห์ธาตุ อาหารต่อเนื่อง ก็จาเป็นท่ีจะต้องอบที่อุณหภูมิ 80 OC เพราะถ้าอุณหภูมิสูงกว่านี้จะทาให้ธาตุ อาหารบางตัวในซากพชื ระเหดิ ออกมาโดยเฉพาะธาตไุ นโตรเจน การแปลงค่าขอ้ มูลน้าหนักสดภาคสนาม หลังจากได้ข้อมูลน้าหนักอบแห้งของตัวอย่างแล้วนามาคานวณหาเปอร์เซ็นต์ความช้ืน ในแต่ละสว่ นของแตล่ ะต้น (เกยี รตกิ อ้ ง และคณะ, 2530) จากสตู ร ดงั น้ี เปอรเ์ ซ็นตค์ วามชน้ื = น้าหนกั สด - นา้ หนักอบแห้ง X 100 (เทียบกบั น้าหนักอบแหง้ ) น้าหนักอบแห้ง โดยที่ น้าหนักสดของตัวอย่างและน้าหนักอบแห้งของตัวอย่าง (ลาต้น, กิ่งใหญ่, ก่ิงเล็ก และใบ) มีหน่วยเป็น กรัม จากนั้นนาค่าเปอร์เซ็นต์ความชื้นท่ีได้ไปคานวณเพ่ือเปลี่ยนน้าหนักสด ของตน้ ไม้ตวั อยา่ งแตล่ ะต้น ใหเ้ ป็นนา้ หนกั อบแห้งจากสตู ร นา้ หนักอบแห้ง = 100 X นา้ หนกั สด 100 + เปอร์เซ็นตค์ วามชน้ื โดยที่ น้าหนักสดและน้าหนักอบแห้ง (ลาต้น, ก่ิงใหญ่, ก่ิงเล็ก, ใบ และราก) มีหน่วยเป็น กิโลกรมั 28

สมการแอลโลเมตริกของมวลชวี ภาพเหนือพ้ืนดนิ เม่อื ทาการคานวณค่าข้อมูลภาคสนามเปน็ น้าหนักแห้งของตน้ ไมต้ ัวอย่างทุกต้นแลว้ จะนาค่า ขอ้ มลู ทีไ่ ดม้ าจดั เรยี งข้อมูลโดยจับคมู่ ติ ขิ องคา่ ตัวแปรอิสระ เช่น DBH, DBH2, DBH2. Ht หรือ Ht กับตัวแปรตาม คือ มวลชีวภาพของลาต้น (Ws), กิ่งใหญ่ (Wbb), กิ่งเล็ก (Wbs), ก่ิงทั้งหมด (Wb = Wbb+Wbs), ใบ (Wl), ราก (Wr), ส่วนท่ีอยู่เหนือพื้นดิน (AGB = Ws+Wb+Wl), มวล ชีวภาพทั้งหมด (Wt = AGB+Wr), ส่วนที่เป็นเนื้อไม้ (Wtc = Ws+Wb) และปริมาตรของลาต้น (Vs) เปน็ ต้น โดยใชค้ วามสมั พนั ธ์ในรูปแบบสมการแอลโลเมตริก (Ogawa et al., 1961) ดงั น้ี Y = a (D2 H) b โดยท่ี Y = Ws, Wb, Wl, Wt, Wr (kg) และ Vs (m3) รายต้น D = DBH (cm) H = Height (m) a , b = Constant ตวั อย่างของการคานวณสมการแอลโลเมตริก ได้ใชข้ ้อมูลภาคสนามของไมส้ กั อายุ 21 ปี ระยะปลูก 2X8 m2 ณ สวนป่านาด้วง อาเภอนาด้วง จังหวัดเลย ดังแสดงในตารางท่ี 6 รายละเอียดของข้อมูลภาคสนามของไม้สัก ดังกล่าวแสดงใน ภาคผนวกที่ 1 ในการคานวณ สมการแอลโลเมตริก สามารถใช้โปรแกรม Excel โดยใช้ Function ของ Power Equation ใน การคานวณ ดงั แสดงในภาพท่ี 14 ตารางท่ี 6 ขอ้ มลู มวลชวี ภาพรายต้นของไม้สัก อายุ 21 ปี ระยะปลูก 2X8 m2 ณ สวนป่านาด้วง อาเภอนาด้วง จงั หวดั เลย (ที่มา : Viriyabuncha et al., 2005) ตน้ ท่ี DBH Ht DBH2. Ht Ws มวลชวี ภาพ (kg) ปรมิ าตร (cm) (m) (cm2. m) Wb Wl Wtc AGB Wf Vt (m3) 0.074 1 12.00 13.50 1,944.00 33.458 8.178 4.905 41.636 46.541 - 0.118 0.164 2 15.50 14.82 3,560.51 53.195 10.029 5.347 63.223 68.571 0.086 0.210 0.259 3 18.20 14.53 4,812.92 74.756 18.068 5.953 92.823 98.777 - 0.378 0.515 4 20.50 13.97 5,870.89 98.751 28.719 8.933 127.470 136.404 0.101 0.505 0.806 5 22.10 15.62 7,628.96 127.332 33.819 9.417 161.150 170.568 - 0.742 6 25.50 16.90 10,989.23 192.430 61.251 7.539 253.681 261.220 0.330 7 26.80 20.45 14,688.01 237.807 45.599 10.973 283.406 294.380 0.577 8 28.60 19.20 15,704.83 243.234 81.260 10.619 324.494 335.113 0.322 9 32.10 22.50 23,184.23 414.445 94.221 17.053 508.665 525.718 0.573 10 38.00 20.10 29,024.40 376.767 235.497 26.392 612.264 638.656 0.804 29

ภาพที่ 14 สมการแอลโลเมตริกของไม้สัก สวนป่านาด้วง จังหวัดเลย ท่ีใช้ประมาณมวล ชีวภาพส่วนต่างๆ ของไม้สักโดยใช้ค่า DBH2. Ht เป็นตัวแปรอิสระ และมีตัวแปรตามคือ 1) มวลชีวภาพ ของลาตน้ 2) มวลชวี ภาพของก่งิ 3) มวลชวี ภาพของใบ 4) มวลชวี ภาพส่วนของเนื้อไม้ 5) มวลชีวภาพ เหนือพื้นดนิ และ 6) มวลชีวภาพส่วนของดอก-ผล จากสมการในภาพท่ี 14 จะพบว่า ค่าความสัมพันธ์ที่ดีกว่า เพราะเป็นการลดค่า มวลชีวภาพในส่วนของเน้ือไม้ (Ws+Wb) จะมี ความคลาดเคล่ือนของรูปทรงของต้นไม้ ในการ ความสัมพันธ์สูงกว่ามวลชีวภาพของลาต้น คานวณมวลชีวภาพเหนือพื้นดินจะรวมเฉพาะ เนื่องจากข้อมูลของไม้สักต้นที่ 10 มีการแตกง่าม ส่วนของลาต้น กิ่ง และใบ จะไม่รวมส่วนของ ที่มีลักษณะใหญ่ที่เราแยกเป็นส่วนของลาต้น ดอก-ผล เน่ืองจากส่วนของดอก-ผล อาจจะไม่พบ และส่วนของกิ่ง ที่มีขนาดใกล้เคียงกัน ทาให้ ในทุกต้นและมีเป็นบางช่วงเวลาเท่านั้น และ มวลชวี ภาพในสว่ นของกิ่งของต้นนี้มีมากกว่าปกติ ในช่วงฤดูแล้งต้นไม้บางชนิดจะมีการผลัดใบ และส่วนของลาต้นมีค่าน้อยกว่าปกติ แต่เมื่อนา จึงไมค่ วรทาการศึกษาในช่วงนี้เพราะจะทาให้ได้ ส่วนของลาต้นรวมกับก่ิงเป็นส่วนของเน้ือไม้จะมี ขอ้ มูลมวลชีวภาพของใบน้อยกว่าความเป็นจริง 30

ในมิตขิ องปรมิ าตรของลาต้นรวมเปลอื ก สามารถหาสมการแอลโลเมตริกเช่นเดียวกันกับ มวลชีวภาพ ดังแสดงในภาพที่ 15-1 ซึ่งพบว่าปริมาตรลาต้นเม่ือใช้ข้อมูลไม้สักท้ัง 10 ต้น จะมี ความสัมพันธ์น้อยกว่าเมื่อเทียบกับการคานวณที่ตัดข้อมูลของต้นที่ 10 ออกไป เน่ืองจากต้นที่ 10 มกี ารแตกงา่ มขนาดใหญแ่ ละไมไ่ ดบ้ นั ทึกขอ้ มูลปริมาตรของกิ่งใหญจ่ ึงทาให้ต้นที่ 10 มีปรมิ าตรลาตน้ น้อยกว่าปกติ เม่ือตดั ตน้ ที่ 10 ออกไป (ภาพที่ 15-2) จะพบว่ามคี า่ ความสัมพันธ์ทสี่ ูงขึน้ ภาพที่ 15 สมการแอลโลเมตริกปริมาตรลาต้นของไม้สัก สวนป่านาด้วง จังหวัดเลย โดยใช้ค่า DBH2. Ht เป็นตวั แปรอสิ ระ และมีปรมิ าตรของลาต้นเป็นตัวแปรตาม 1) สมการท่ีใช้ข้อมูล ภาคสนามทง้ั หมดจานวน 10 ตน้ และ 2) สมการทต่ี ดั ขอ้ มูลต้นที่ 10 ออกไป การศึกษามวลชีวภาพไม้สักดังกล่าว จังหวัดลาปาง ช้ันอายุ 17 และ 22 ปี ชนั้ อายลุ ะ เมื่อมีการศึกษาในหลายๆ พื้นที่ ช้ันอายุ และ 5 ตน้ และสวนป่านาดว้ ง อาเภอนาดว้ ง จงั หวัดเลย ระยะปลูก จะสามารถนามารวมเป็นสมการ ช้ันอายุ 21 ปี จานวน 10 ต้น รวมจานวนไม้สัก เดียวกัน เพือ่ ใชป้ ระมาณมวลชีวภาพของไม้สัก ท้ังหมด 83 ต้น [ ชิงชัย และคณะ (2541), ในพ้ืนที่อ่ืนๆ ได้ จากการรวบรวมข้อมูลภาคสนาม บรรณศาสตร์ และชิงชยั (2545), พทิ ยา (2540), ของไมส้ กั สวนป่าแม่แจ่ม อาเภอแมแ่ จม่ จงั หวัด ชิงชัย และกันตินันท์ (2546), ชิงชัย และคณะ เชียงใหม่ อายุ 8 และ 21 ปี จานวนชั้นอายุละ (2548) ] เม่ือนาข้อมูลดังกล่าวมาหาสมการ 10 ตน้ สวนป่าสบพลงึ อาเภองาว จังหวดั ลาปาง แอลโลเมตริก ดังแสดงในภาพที่ 16 จะพบว่า อายุ 14 ปี จานวน 10 ต้น สวนป่าศรีสัชนาลัย ข้อมูลไม้สักในพื้นที่และช้ันอายุต่างๆ มีความ อาเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ชั้นอายุ 9 สมั พันธ์ระหวา่ งขนาด DBH2. Ht กับมวลชีวภาพ 13 และ 21 ปี จานวน 8 5 และ 5 ต้น ลาต้น ก่ิง ใบ และส่วนท่ีอยู่เหนือพ้ืนดินทั้งหมด ตามลาดับ ส่วนป่าทองผาภูมิ อาเภอทองผาภูมิ คอ่ นขา้ งสงู จงึ สามารถนาสมการแอลโลเมตริก จังหวัดกาญจนบุรี ชั้นอายุ 6 14 และ 21 ปี ท่ีได้ไปใช้ประเมินมวลชีวภาพของไม้สักใน ชนั้ อายุละ 5 ตน้ สวนป่าแมจ่ าง อาเภอแม่เมาะ ท้องที่ตา่ งๆ ตอ่ ไป 31

ภาพที่ 16 ข้อมูลมวลชีวภาพภาคสนามของไม้สักจากสวนป่าแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ สวนป่าสบพลึง จังหวัดลาปาง สวนป่าศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย สวนป่าทองผาภูมิ จังหวัด กาญจนบุรี สวนปา่ แม่จาง จงั หวัดลาปาง และสวนป่านาดว้ ง จังหวัดเลย รวมจานวนทั้งสิ้น 83 ต้น นามาหาสมการแอลโลเมตริกของไม้สัก 1) มวลชีวภาพของลาต้น 2) มวลชีวภาพของกิ่ง 3) มวลชีวภาพของใบ และ 4) มวลชวี ภาพเหนอื พ้ืนดนิ การคานวณมวลชีวภาพของลาต้นและปริมาตรของลาต้นถึงขนาดจากัด (สมบูรณ์ และ สมหมาย, 2535) จะเป็นเทคนิคท่ีช่วยให้ทราบถึงปริมาณของลาต้นและปริมาตรที่น้อยหรือ มากกวา่ ขนาดทีต่ ้องการเพ่อื ใชใ้ นการวางแผนการใชป้ ระโยชน์ เม่อื ใชข้ ้อมูลของไม้สัก สวนป่านาด้วง ทม่ี ีขนาด Ø จากดั ที่ 10 cm ดงั แสดงในตารางท่ี 7 ในการคานวณจะนาค่าของ Ws>10 cm และ Vt>10 cm มาหารกับ ค่า Ws และ Vt ตามลาดับ จากนั้นนาข้อมูลที่ได้มาหาความสัมพันธ์ระหว่าง ขนาดของ DBH กับสัดส่วนที่ได้จาก Ws/Ws>10 และ Vt/Vt>10 ในรูปแบบของ Richards Function จากโปรแกรม SILVICS ของ Ishizuka (1991) โดยมีรูปสมการ ดังน้ี Ratio = A*(1-EXP(-h*DBH))^(1/(1-p)) Ratio = สัดส่วนของ Ws/Ws>10 และ Vt/Vt>10 DBH = ขนาดของเส้นผา่ นศนู ย์กลางที่ระดบั อก (cm) A, h และ p = คา่ คงท่ี 32