Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิเคราะห์ปัญหา

วิเคราะห์ปัญหา

Published by naruedee2513, 2019-07-31 01:22:58

Description: วิเคราะห์ปัญหา

Search

Read the Text Version

ครูกบั การวจิ ยั   เพ่อื   พัฒนาการเรยี นการสอน  กลุม นิเทศตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา  สาํ นกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษากรุงเทพมหานคร  เขต 3  สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน  มถิ ุนายน  2550 ครูกบั การวิจยั เพื่อ พัฒนาการเรยี นการสอน 

ครูกบั การวิจัยเพ่อื พฒั นาการเรียนการสอน  พมิ พคร้งั ที่ 1  พ.ศ.2550  จํานวน  500  เลม  เอกสารสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษากรุงเทพมหานคร  เขต 3  อนั ดับท ี่ 2/2550  กลมุ นเิ ทศติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา ครกู บั การวิจัยเพ่ือ พฒั นาการเรียนการสอน 

คาํ นํา  การสงเสริมใหครูใชการวิจัยชวยในการพัฒนาการเรียน  การสอน เปนงานสําคัญงานหนึ่งที่สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา  กรุงเทพมหานคร  เขต 3 ไดดําเนินการมาโดยตลอด โดยมอบใหคณะ  ศึกษานิเทศกดําเนินการไมวาจะเปนในดานการจัดอบรม  การให  คําปรึกษา โดยมีจุดประสงคที่สําคัญคือพัฒนาคุณภาพการเรียน  การสอน  อยางไรก็ตาม  หากครูมีการทําวิจัยพัฒนาการเรียนการสอน  ใหม ีคุณภาพ สอดคลอ งกบั หลักวิชาและสภาพของผูเรียนได นอกจาก  จะทําใหจุดประสงคด ังกลาวขางตนประสบผลสําเร็จแลว ยังหมายถึง  ความสําเร็จในสวนตัวของครูเองในการพัฒนาความรู ความสามารถ  ทางวิชาชีพครู ตลอดจนมีความกาวหนาในตําแหนงทางวิชาการ  อกี ดวย  ด วย เ ห ตุ ผล ดั ง กล า ว   สํ า นัก ง า น เ ข ต พื้น ที่ก า ร ศึ กษ า  กรุงเทพมหานคร  เขต 3  จึงไดมอบให นางสาวมณนิภา  ชุติบุตร  ศึกษานิเทศก  วิทยฐานะศึกษานิเทศกเช่ียวชาญ เรียบเรียงเอกสาร  ครูกับการวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน ฉบับนี้ขึ้น และจัดพิมพ ครูกบั การวจิ ัยเพอื่ พัฒนาการเรยี นการสอน

เผยแพรแ กครแู ละบุคลากรที่เก่ียวของกับการพัฒนาครู ดวยความหวัง  วา เอกสารฉบับนี้จะมีสวนชวยช้ีนําแนวทางใหครูไดใชการวิจัย  ชวยพัฒนาการเรียนการสอน และสามารถนําผลงานที่เกิดข้ึนไป  เรยี บเรยี งจัดทําเปนเอกสารทางวิชาการ เพ่ือใชในการเล่ือนวิทยฐานะ  ใหส ูงข้ึน  (นายสายัณห   รุงปาสัก)  ผูอาํ นวยการสาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษา  กรุงเทพมหานคร  เขต 3 ครูกบั การวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาการเรียนการสอน 

สารบัญ  เร่อื ง  หนา  คํานาํ   1  นําเร่ือง  3  1. การพฒั นาการเรียนการสอนโดยวธิ ีวจิ ยั   6  2. การวิเคราะหและสํารวจปญหาการเรียนการสอน  18  3. การพัฒนานวัตกรรม  32  4. การพสิ จู นประสทิ ธภิ าพของนวัตกรรม  42  5. การทดลองใชน วัตกรรม  59  6. การเขียนรายงาน  74  7. บทสรุป  77 เอกสารอางองิ   ครูกบั การวจิ ยั เพอื่ พฒั นาการเรยี นการสอน

นาํ เร่ือง เอกสารนีจ้ ัดทําข้ึนเพ่ืออะไร  เอกสารฉบับนี้จัดทําขึ้นเพื่อเปนเอกสารสําหรับครูท่ีสนใจจะ  พัฒนาการเรียนการสอน โดยใชการวิจัยที่เรียกวาวิจัยและพัฒนา โดย  เนนการพัฒนาท่ีอาศัยการวิจัย ไมวาจะเปนการพัฒนาวิธีสอน พัฒนา  สื่อ พัฒนาการจัดกิจกรรม ผลของการพัฒนาจะนําไปสูการเรียบเรียง  เปน ผลงานทางวิชาการตอ ไป  เอกสารนี้กลา วถึงอะไร  เอกสารนกี้ ลา วถึง  1.  การพัฒนาการเรยี นการสอนโดยใชการวิจัย  2.  การวเิ คราะหแ ละสาํ รวจปญ หาการเรยี นการสอน  3.  การพัฒนานวัตกรรม  4.  การพสิ จู นประสทิ ธิภาพของนวัตกรรม  5.  การทดลองใชน วตั กรรม  6.  การเขยี นรายงาน  ครกู บั การวิจยั เพ1ื่อ พฒั นาการเรยี นการสอน

จะใชเ อกสารน้ีอยา งไร F  ครูและผูที่สนใจ ควรศึกษาและทําความเขาใจเนื้อหา  สาระทีน่ าํ เสนอในแตละหัวขอ ตั้งแตหวั ขอ แรกถงึ หัวขอสุดทา ย  F  นาํ ความรแู ละความเขา ใจที่ไดรบั ไปทดลองปฏบิ ัติ  F  เก็บรวบรวมขอมูลจากการปฏิบัติใหเปนระบบ  แลวเสนอเปนรายงาน เพื่อใชเปนผลงานทางวิชาการในการเล่ือน  วิทยฐานะ  ครูกับการวจิ ัยเพ2อ่ื พฒั นาการเรยี นการสอน

1. การพฒั นาการเรียนการสอนดวยการวจิ ัย  ก า ร วิ จั ย ร ะ ดั บ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น   ป ร ะ เ ด็ น สํ า คั ญ อ ยู ท ่ี การพัฒนา  ไมไดอยูที่การวิจัย แตควรจะทําการพัฒนาโดยอิง  การวิจัยมากกวาทจ่ี ะทําการวจิ ัยแลว ไมไดพ ัฒนา  การปรับปรุงวิธีสอนหรือปรับปรุงส่ือการเรียนการสอน เม่ือ  เริ่มตนคิดแลวก็ลงมือทําตามท่ีคิด แลวนําไปใชสอนโดยมีการเก็บ  ขอมูลวาสอนครั้งแรกมีผลเปนอยางไร นักเรียนผานมาตรฐาน  การเรียนรูเทาใด มีปญหาอุปสรรคอะไรบาง แลวก็นํามาปรับปรุง  พอปรับปรุงเสร็จก็นําไปสอน ขอมูลครั้งท่ีสองแสดงวาสอนคราวน ้ี ประสบผลสําเร็จมากขึ้นเทาใด มีปญหาอุปสรรคอะไรบาง แลวนํามา  ปรับปรงุ   สอนแลว ปรบั ปรงุ อยางนเี้ รอื่ ยไป ทําแลว กป็ รับแตในการทํา  ใชวิธีการวิจัย หมายถึง การเก็บขอมูลผลการใช มีการเปรียบเทียบ  มีการติดตามอยางนี้ก็จะนําไปสูการปรับคอย ๆ ดีขึ้น ดีขึ้น สุดทาย  เราก็จะไดสิ่งทีต่ องการ ไดส ่อื การเรียนการสอน หรือไดวิธีสอน พรอม  กับอุปกรณท่ีสมบูรณเทาที่เราสามารถทําไดในชวงเวลาที่กําหนด  อ ย า ง น้ี เ ป น ก า ร พั ฒ น า วิ ธี ก า ร ส อ น   มี ก า ร ส อ บ ก อ น   ส อ บ ห ลั ง  ครกู ับการวิจยั เพ3ื่อ พฒั นาการเรยี นการสอน

ดูความกาวหนาเรื่อย ๆ ไป ซ่ึงคือการนําเอาระเบียบวิธีการวิจัยมาใช  น่ันเอง  อนึ่ง การวิจัยประเภทสํารวจ  คําตอบท่ีไดเราสามารถนํามาใช  เปนสวนหน่ึงของงานพัฒนา แตไมใชเอามาเปนงานหลักท่ีจะทํา  รายงาน การทําวิจัยในระดับการเรียนการสอนของครู ครูจะไดเปรียบ  นักวิจัยตรงที่ครูรูปญหา ใกลชิดปญหา มีประสบการณตรงกับงาน  ทที่ าํ  ดงั นนั้ ครูจึงควรนําความไดเ ปรียบมาวจิ ยั ในเรือ่ งทเ่ี ราใกลชิด เพื่อ  ลดขอเสียเปรียบ ในเรอ่ื งการรูวธิ ีวิจัย การวิจยั การเรยี นการสอนจะเนน  การวิจัยท่ีเปนประโยชนใชงาน เริ่มตนที่ปญหาและความตองการ  ในการจะพัฒนานกั เรยี นโดยเฉพาะ ซง่ึ ถอื วาเปนการทํางานโดยครูท่ีมี  ประสบการณตรง เปนการวิจัยเพ่ือแกปญหาเฉพาะจุด  ไมตองใช  รูปแบบซบั ซอนหรอื ใชสถติ ิสูงอะไร ลกั ษณะอยางน้นี า จะเปนการวิจัย  ในระดับการเรียนการสอนของครู  ซ่ึงถาเปนเชนนี้ครูก็จะมีโอกาส  ทาํ วจิ ัยไดม าก  การวจิ ัยเชงิ ทดลองและพฒั นา  การวิจัยวิธีนี้สามารถใชกับนักเรียนกลุมเดียว ซ่ึงกลุมเดียวน้ ี อาจจะกี่หองก็ได แตไมมีการเปรียบเทียบระหวางกลุม แตใ ชวิธีเดียว  ที่เราจะพัฒนา โดยใชคร้ังท่ี 1  แลวปรับ นําไปใชคร้ังท่ี 2  แลวปรับ  ครกู บั การวจิ ยั เพ4ื่อ พฒั นาการเรียนการสอน 

ใชครั้งที่ 3  แลวปรับ แตถาจะนําวิธีการดังกลาวนี้ไปปรับใชรวมกับ  วิธกี ารเชิงระบบ เร่ิมตนใหระบุปญหาใหไดวา ปญ หาคืออะไรเสยี กอน  ซงึ่ ปญหาคอื วิธีสอนเดมิ ของเราไมเหมาะสมกับการเรียนรูของ  นักเรียนตอ งปรบั ปรุงใหม  ดังน้ัน ก็ระบุจุดประสงควาตองการปรับปรุงวิธีสอน หรือ  ปรับปรุงสื่อ แลวแสวงหาวิธีการแกไข ศึกษาวามีวิธีไหนแกไข  ไดบ า ง ลงมือพัฒนาและสรางแนวปฏิบัติ เชน สรางบทเรียน สรางส่ือ  นําไปทดลองสอน แลวปรับปรุง สุดทายก็สรุปวาปรับปรุงมาถึง  ขั้นนี้แลวผลเปนอยางไรบาง นักเรียนดีข้ึนกวาเดิมหรือไม นักเรียน  มีความรูดีเพียงใด นักเรียนชอบหรือสนใจการเรียนดีขึ้นหรือไม  ผปู กครองชอบใจหรือไม ดูทุก ๆ ดาน ทั้งดานความรู ความคิด ทักษะ  คุณธรรมจริยธรรม แลวเขียนรายงานแสดงกระบวนการทําต้ังแตตน  จนไดผล สุดทายก็จะไดรายงานการวิจัยและพัฒนา 1 เลม ซ่ึงรายงาน  น้ีสามารถจะนําไปใชเปนผลงานทางวิชาการเพื่อขอเล่ือนวิทยฐานะ  ใหสูงขน้ึ ได  สวนรายละเอียดในการดําเนินงาน  ศึกษาไดจากหัวขอที่ 2  ถึง  หัวขอที่ 6  ครูกับการวจิ ยั เพ5อื่ พัฒนาการเรียนการสอน 

2. การวิเคราะหแ ละการสาํ รวจปญ หา การเรียนการสอน  การแกไขปรับปรุงหรือการพัฒนางานใด ๆ ก็ตาม จะตอง  เริม่ ตนดว ยการมองเหน็ ปญ หาของงานอยา งชดั เจน เพราะการมองเห็น  ปญหานําไปสูการทราบถึงความตองการในการแกไข ปรับปรุง หรือ  การพัฒนาได โดยความตองการจะเขียนออกมาในรูปของจุดหมาย  หรือวตั ถุประสงคข องงานที่จะทาํ ใหมตอ ไป  2.1 ปญ หาคืออะไร  ปญหาคือความแตกตางระหวางส่ิงที่คาดหวังกับส่ิงที่เปนจริง  ห รื อ ถ า จ ะ ก ล า ว ใ ห ง า ย ก็ คื อ   ส ภ า พ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จ ริ ง ไ ม ต ร ง กั บ ส่ิ ง ท่ ี คาดหวงั ไว  ï  สง่ิ ทคี่ าดหวัง  ï  ส่งิ ท่เี ปนจรงิ หรือสิ่งท่เี กิดขนึ้ จริง  ส่ิงท่ีคาดหวัง  ไดแกสิ่งที่เราต้ังเปนความหวัง หรือส่ิงท ่ี สอดคลองกับกฎเกณฑ หรือหลักการทางทฤษฎีที่ยอมรับกันวาเปน  สง่ิ ท่ีด ี ครกู ับการวจิ ยั เพ6อ่ื พัฒนาการเรยี นการสอน

สิ่งที่เปนจริงหรือส่ิงที่เกิดขึ้นจริง  ไดแก สภาพท่ีปรากฏจาก  การปฏบิ ตั งิ านและผลของงานที่เกิดขึ้น  จากความหมายของคําวาปญหา  เราสามารถแบงไดเปน  3  ประเภท คือปญหาเชิงแกไขปรับปรุง ปญหาเชิงปองกันและปญ หา  เชิงพัฒนา  แ ต ใ น เ อ ก ส า ร ฉ บั บ นี้   จ ะ ก ล า ว ถึ ง เ ฉ พ า ะ ป ญ ห า เ ชิ ง แ ก ไ ข  ปรบั ปรุง  เพือ่ นาํ ไปสกู ารวิจยั เพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนของคร ู ปญหาเชิงแกไขปรับปรุง  เปนปญหาท่ีเกิดขึ้นในปจจุบัน  เกดิ จากสง่ิ ทีเ่ ปน จริงในปจ จบุ นั  ต่ํากวาสง่ิ ท่คี าดหวงั ในปจจุบนั  เชน   เปา หมาย  สงิ่ ท่ีเกดิ ข้นึ จรงิ   ปญหา  s นกั เรยี นตอ งมีทกั ษะ  s นกั เรยี นมคี ะแนน  s นักเรยี นมีทกั ษะ  กระบวนกานทางวิทยาศาสตร  เฉลยี่ ดานทกั ษะ  กระบวนการทาง  โดยมีคะแนนเฉลยี่ รอยละ 55  กระบวนการทาง  วิทยาศาสตรต า่ํ กวา   ของคะแนนเต็ม  วทิ ยาศาสตร รอยละ 40  เกณฑทีก่ าํ หนด  ของคะแนนเต็ม  s นักเรยี นรอยละ 80 ของทง้ั   s นกั เรียนรอ ยละ 60  s นกั เรียนทผี่ าน  หองตองผา นจดุ ประสงคก าร  ของท้ังหอ งผา น  จุดประสงคการเรยี นรู  เรียนรูดานการอา น (อา น  จดุ ประสงคก ารเรยี นร ู ดา นการอานตาํ่ กวา   ถกู ตอ งตามหลกั การอา น อาน  ดา นการอา น  เกณฑทีก่ าํ หนด  คลองและเรว็  เขา ใจความหมาย  ของคาํ หรอื ขอความท่อี า น)  ครกู บั การวจิ ยั เพ7ื่อ พฒั นาการเรียนการสอน 

จากตัวอยางเปนการเปรียบเทียบส่ิงท่ีเกิดขึ้นจริง  (ไดแก  ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน และการปฏบิ ตั ิของนักเรยี น) กับสิ่งที่คาดหวัง  หรือสิง่ ท่นี า พงึ ประสงค ซึ่งไดจ ากการวดั หรอื การประเมินในชวงเวลา  ปจ จุบัน ปญ หาเหลา นน้ี าํ ไปสูความตอ งการในการแกไขหรือปรับปรุง  หรอื เปน จดุ มุงหมายและเปา หมายของงานทีจ่ ะทําตอไป  อนึ่ง  การจะทําใหจุดมุงหมายและเปาหมาย เปนจริงได คร ู จะตองคิดคนวิธีการท่ีดีกวาวิธีการท่ีใชอยูเดิม เพราะถาใชวิธีการเดิม  กอ็ าจไดผลเทาเดมิ   2.2 การวิเคราะหปญหาโดยวิธีการเชิงระบบ  งานตาง ๆ เมื่อพิจารณาในเชงิ ระบบ ประกอบดว ย องคป ระกอบ  ทส่ี ําคญั 4 สว นคอื  ผลกระทบ ผลผลติ  กระบวนการ และปจจยั   ปจจยั   กระบวนการ  ผลผลิต  ผลกระทบ  ระบบ  ครูกบั การวจิ ัยเพ8อ่ื พฒั นาการเรยี นการสอน 

ท้ัง 4  องคประกอบ มีความสัมพันธเชิงเหตุและผลซึ่งกันและ  กัน เม่ือนําความคิดเชิงระบบไปใชในการวิเคราะหปญหา จะทําให  ม อ ง เ ห็ น ไ ด ชั ด ว า   ป ญ ห า ท่ี เ กิ ด ขึ้ น ท้ั ง ใ น ร ะ ดั บ ผ ล ผ ลิ ต   ร ะ ดั บ  กระบวนการ  และระดับปจ จยั  เก่ียวเน่ืองกนั   ดงั น้ ี ปจ จัย  ปญ หาระดบั ปจจัยเปนสาเหตขุ อง  กระบวนการ  ปญ หาระดับกระบวนการ  ผลผลิต  ผลกระทบ  ปญ หาระดับกระบวนการเปนสาเหตุ  ของปญ หาระดบั ผลผลิต  ปญหาระดบั ผลผลิตเปน สาเหตุของ  ปญ หาระดับผลกระทบ  ดังนั้น  ในการวิเคราะหปญหา โดยวิธีการวิเคราะหเชิงระบบ  เปนการพิจารณาปญหา และความสัมพันธระหวางปญหาในแตละ  องคประกอบ โดยในขั้นแรกจะเริ่มจากการวิเคราะหปญหาในระดับ  ผลผลิตกอน  ครูกบั การวิจยั เพ9อื่ พัฒนาการเรียนการสอน 

1)  การวเิ คราะหป ญหาระดับผลผลติ ของการเรียนการสอน  ปญหาในระดับผลผลิตของการเรียนการสอน  หมายถึง  การทค่ี วามสามารถและคณุ ลักษณะของนักเรียนท่ีเกิดขึ้นตํ่ากวาระดับ  ที่คาดหวงั ไว  ความสามารถและคุณลักษณะของนักเรียนตามจุดมุงหมาย  ของหลักสูตร มี 3 ดา นคือ  1. ดานความคิด  เปนพฤติกรรมที่เก่ียวกับสติปญญาของ  นกั เรยี น (ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน) เชน ความจํา ความเขาใจ ความคิด  หาเหตผุ ล เปนตน  2. ดานความรูสึก  เปนพฤติกรรมที่เก่ียวกับจิตใจของ  นักเรียน (คุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค) เชน ความสนใจ เจตคติ คานิยมที่  ดงี าม ลักษณะนิสยั ตา ง ๆ (ความรบั ผิดชอบ ความมรี ะเบียบวนิ ยั  ฯลฯ)  3. ดานการปฏิบัติ  เปนพฤติกรรมท่ีเกี่ยวกับการใชมือและ  อวยั วะอน่ื  ๆ ในการปฏิบตั ิ เชน  การปฏิบัตใิ นสาระการเรียนรูสุขศึกษา  และพลศึกษา สาระการเรยี นรูศลิ ปะและการงานอาชีพและเทคโนโลยี  อนึ่ง  การท่ีครูจะรูปญหาระดับผลผลิตไดอยางชัดเจน  จําเปนตองรูและเขาใจกอนวาแตละกลุมสาระการเรียนรูและแตละ  หนวยการเรียนรูมีจุดมุงหมายใหนักเรียน มีความสามารถ หรือมี  ครกู ับการวิจยั เพ10่ือ พัฒนาการเรยี นการสอน 

คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อ ะ ไ ร บ า ง   เ พ่ื อ เ ป น แ น ว ท า ง ใ น ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร จั ด  ก า ร เ รี ย น รู ใ ห บ ร ร ลุ ผ ล ท่ี ต อ ง ก า ร   แ ล ะ เ ป น แ น ว ท า ง ใ น ก า ร วั ด  ประเมนิ ผลนักเรยี น  ตวั อยา งปญหาระดับผลผลิต  เชน   s  นักเรียนสวนใหญย งั ไมสามารถจบั ใจความจากการ  อานได  s  นกั เรยี นสวนใหญย ังขาดวนิ ัยในตนเอง  s  นักเรียนมีความสามารถในการทําโจทยปญหาตํา่ กวา  เกณฑท ่ีกาํ หนด  s  นกั เรียนสวนใหญมีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวิชา  คณติ ศาสตรต ํา่ กวา เกณฑท่ีกาํ หนด  2)  การวเิ คราะหป ญ หาระดับกระบวนการของการเรยี น  การสอน  ปญ หาในระดับกระบวนการของการเรียนการสอน หมายถึง  การท่ีกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเกิดขึ้นจริงมีระดับคุณภาพต่ํากวาท่ ี ควรจะเปน   ครกู ับการวิจยั เ1พ1่ือ พฒั นาการเรียนการสอน 

ระดับท่ีควรจะเปนหรือระดับท่ีคาดหวัง  คือ กิจกรรม  การเรียนการสอนท่ีใชหลักการท่ีถูกตอง เหมาะสมตามแนวคิด  ทางจิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยาการเรียนรู หลักการสอนวิธีตาง ๆ  ฯลฯ  การวิเคราะหปญหาระดบั กระบวนการ ตอ งเอา  ปญ หาระดบั ผลผลิตมาเปน หลัก  J  การวิเคราะหปญหาระดับกระบวนการ ครูตองเอาหลักการ  ของทฤษฎีตาง ๆ มาเปนกระบวนการท่ีคาดหวัง สําหรับเปรียบเทียบ  กับกระบวนการท่ีตนปฏิบัติจริง  เพื่อพิจารณาวาแงมุมใดของ  กระบวนการทนี่ าจะเปน ปญหา  ตัวอยา งการวิเคราะหป ญ หาระดับกระบวนการ  ปญ หาระดบั ผลผลิต  ปญ หาระดบั กระบวนการ  s นกั เรยี นไมช อบเรียน  s ครใู หก ารบานนกั เรียนมาก และ  ภาษาองั กฤษ  เปน ประจาํ สง ผลใหน กั เรยี นเบอ่ื   s ครคู อ นขา งเครียด เอาจริงเอาจัง  สอนไมส นกุ   s ครไู มไ ดจดั กจิ กรรมตามลาํ ดับขัน้   การเรยี นรขู องเดก็   ครูกบั การวจิ ัยเ1พ2อ่ื พัฒนาการเรียนการสอน 

ปญหาระดบั ผลผลติ   ปญ หาระดบั กระบวนการ  s ครเู นน การสอนตามหนังสือ  มากกวา มงุ เนนใหนกั เรยี นเกดิ   การเรยี นรู  3)  การวิเคราะหป ญหาระดบั ปจ จยั ของการเรยี นการสอน  ปญหาในระดบั ปจ จัยของการเรียนการสอน  หมายถงึ  การท่ี  อุปกรณ  สอื่  วัสดุ สภาพแวดลอ ม คุณลักษณะของบคุ ลากร ฯลฯ ม ี ปริมาณและคณุ ภาพต่าํ กวา ระดับทคี่ าดหวงั   ระดบั ที่คาดหวงั หมายถงึ   การมปี ริมาณทเ่ี พยี งพอตอ  การใชสอยทั้งดานสื่อ บคุ ลากร งบประมาณ ฯลฯ และการมีคณุ ภาพ  ทสี่ อดคลอ งกับมาตรฐาน หลักเกณฑ  เชน ครทู ี่ดคี วรมีลกั ษณะอยางไร  การวิเคราะหป ญหาระดบั ปจจยั  ตอ งเอาปญ หาระดับ  กระบวนการเปนหลัก เชน การท่ีครูไมใชข องจริงประกอบการสอน  มากเทา ท่ีควร (กระบวนการ) อาจเปน เพราะ  F  ครูไมไ ดร วบรวมอปุ กรณประเภทของจริงไว  (ปริมาณส่ือ)  F  ครไู มต ระหนักและเห็นความสาํ คัญของส่อื ประเภท  นี้ (คุณลักษณะของบคุ ลากร)  ครูกับการวิจัยเ1พ3่ือ พฒั นาการเรียนการสอน 

การวเิ คราะหปญหาระดับปจจัย ควรวิเคราะหใหครอบคลุม  ท้ังดานส่ือ เวลา สภาพแวดลอม ความรู ความเขาใจ เจตคติ ท่ีเปน  พน้ื ฐานเดิมของเดก็   ครู  ผปู กครอง และผบู รหิ าร  ปญ หาระดบั กระบวนการและปจ จยั เปนสาเหตใุ หเ กดิ ปญ หาระดบั ผลผลติ การพัฒนาคณุ ภาพนักเรียน (ผลผลติ ) จึงมงุ แกปญ หาท่รี ะดับกระบวนการและปจ จยั เพ่ือใหปญ หา ระดบั ผลผลิต หมดไป  อน่ึง  ในการแกปญหาระดับกระบวนการและปจจัยตอง  อาศัยความรูทางทฤษฎเี ปนมาตรฐานในการวิเคราะหวา ปญหาน้ันคือ  อะไร  เพราะจะทําใหการวิเคราะหปญหานั้นรวดเร็วและถูกตองกวา  นั่งคิดเอาเอง และเปนวิธีการท่ียอมรับในเชิงวิชาการ แตถาตองการ  จะวิเคราะหปญหาโดยอาศัยประสบการณก็ควรทําควบคูประกอบ  การคดิ ทอ่ี าศัยความรูเ ชิงทฤษฎี ครกู บั การวิจัยเพ14อื่ พฒั นาการเรยี นการสอน 

การแกป ญ หาระดบั ปจ จัย โดยการเพ่ิมส่ือหรือปรับปรงุ ส่ือ  มใิ ชจ ุดเนนท่สี ําคัญ ส่ิงท่คี วรแกไขมากทส่ี ุด คอื ปญ หาระดับ กระบวนการ เพราะส่ือก็เปนสวนประกอบของกระบวนการ  ถาไมแ กไขปรบั ปรุงในดา นกระบวนการ สอื่ ก็จะไมมีประโยชน  เทา ทค่ี วร  แตอยางไรก็ตาม ในบางคร้ังการวิเคราะหปญหาเชิงระบบ  เ ป น ป ญ ห า ร ะ ดั บ ผ ล ผ ลิ ต   ก ร ะ บ ว น ก า ร   แ ล ะ ป จ จั ย   อ า จ ไ ด ผ ล  การวิเคราะหที่ไมชัดเจน ทําใหไมทราบถึงธรรมชาตขิ องปญหาอยาง  แทจริง การคิดแกปญหาก็กระทําไดไมตรงจุด ในกรณีเชนนี้ควรทํา  การสํารวจปญหาเพิ่มเติม  ซึ่งเปนการแสวงหาขอมูลที่เก่ียวของกับ  ปญหาที่วิเคราะหไว ขอมูลจากการสํารวจจะทําใหทราบถึงประเภท  ปรมิ าณ โครงสรา งและคุณลักษณะของปญหาแตละระดับ ซึ่งเปนการ  เขา ใจธรรมชาตขิ องปญหาไดช ดั เจนข้นึ   การสาํ รวจปญ หา  เปนขนั้ ตอนทดี่ าํ เนินการตอเนื่องจากการ  วิเคราะหปญหา เพื่อทําใหปญหามีความชัดเจนยิ่งข้ึน เพราะในการ  วิเคราะหปญหา เราวิเคราะหจากขอ มูลที่มีอยู  วิเคราะหตามหลักการ  ครูกับการวิจัยเพ15อื่ พฒั นาการเรยี นการสอน 

ทฤษฎี และมักจะไดตัวปญหาท่ีมีลักษณะกวาง ๆ  ไมลงลึก  ในรายละเอียดของปญหา เชน จากผลการประเมนิ คุณลักษณะนักเรียน  ชั้นประถมศึกษาปที่ 6  พบวา นักเรียนทําโจทยปญหาคณิตศาสตร  ไมไดดี แตไมทราบวาท่ีนักเรียนทําโจทยปญหาไมไดน้ัน เปนโจทย  ปญหาประเภทใด มากนอยเทาใด หรือเพราะเด็กขาดพ้ืนฐานในเรื่อง  ใดอยบู า ง  กา ร สํ า ร ว จ ป ญ ห า เ พ่ิ ม เ ติ ม   ก ร ะ ทํ า ไ ด ทั้ ง ร ะ ดั บ ผ ล ผ ลิ ต  กระบวนการและปจจยั  และอาจกระทาํ ไดห ลายวธิ ี เชน   F  ทบทวนสงิ่ ท่ไี ดปฏบิ ัติ  F  ทดสอบนกั เรียนเกี่ยวกับความร ู ความสามารถ (ขยาย  ประเภทและโครงสรา งของผลผลิตจากการเรียนการสอน)  F  ทดสอบนักเรียนเก่ียวกับพ้ืนฐานเดิมกอน ท่ีจะเริ่ม  เรียนบทเรยี นตา ง ๆ  F  วิเคราะหค ุณภาพของสอ่ื และอปุ กรณ  F  พิจารณาเวลาท่ีใชในการเรียนรูของนักเรียน เวลาใน  การฝกปฏบิ ัต ิ F  พจิ ารณารายละเอียดของข้นั ตอนการสอน  F  พจิ ารณากจิ กรรม  ครกู ับการวจิ ยั เ1พ6อื่ พฒั นาการเรยี นการสอน 

อน่ึง  ในการสํารวจวามีปญหาหรือขอบกพรองที่จุดใด ตอง  อาศยั หลักการแนวคิดทางทฤษฎีตางๆ ซ่ึงการวิเคราะหและการสํารวจ  ปญหา เปนกระบวนการท่ีทําใหปญหาการเรียนการสอนมีรูปธรรม  ท่ีชัดเจน อันจะเปนผลทําใหการคิดคน วิธีการ หรือสื่อตาง ๆ ที่จะ  นํามาใชแกปญหาไดผ ลดยี ่งิ ขนึ้   ครูกับการวจิ ยั เพ17ื่อ พฒั นาการเรียนการสอน 

3. กระบวนการพัฒนานวัตกรรม  นวัตกรรม  (Innovation)  เนนท่ีการสรางความเปลี่ยนแปลง  อยา งมีระเบียบ ระบบ การคดิ คน  แสวงหาและปรบั ปรงุ   หรือนวัตกรรม  หมายถึง  วัสดุอุปกรณ หรือวิธีการใหม ๆ ที่  นํามาใชในการสอนและพัฒนาการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพ  ยิ่งขึ้น ซ่ึงอาจจะคิดริเร่ิมข้ึนเองหรือปรับปรุงพัฒนาสิ่งที่มีอยูแลว  ใหดขี น้ึ   3.1 ขอบขายของงานการจัดการศึกษาที่ควรใช นวัตกรรม  ผูท่ีเร่ิมตนคิดคนการใชนวัตกรรม มักจะตองเผชิญกับคําถาม  ขอ แรกคือ เราจะเร่มิ ตน ตรงไหนด ี คําตอบ  คือ เร่ิมตรงปญหาที่เกิดข้ึนในระบบงานท่ีเรา  รับผิดชอบ ตัวอยา ง  ปญหา  ผลการเรียนรูวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนยังไมเปนท่ี  นาพอใจ  ครูกบั การวจิ ัยเ1พ8่อื พัฒนาการเรียนการสอน

เปาหมาย คือ  Æ  ดา นคุณภาพ  1.  นักเรียนท่ีจบช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3  มีผลการเรียนรู  วิชาคณิตศาสตรเพ่ิมขึ้นจากคาเฉล่ียรอยละ 50  เปนรอยละ 60  เปน  อยางนอ ย  2.  ครูมีความสามารถในการจดั การเรยี นร ู Æ  ดา นปริมาณ  1.  ปรับปรุ งการ เรียนคณิตศ าสตร ของนั กเรีย น  ชั้นมธั ยมศึกษาปท ี่ 1 – 3  จํานวน 300 คน  2.  ผลิตบทเรยี นสาํ เร็จรูปสาํ หรับนกั เรียน 400 ชุด  3.  อบรมครูคณิตศาสตร 10  คน ใหมีทักษะการสอน  ท่ีเนนกระบวนการคดิ   เปา หมายเชิงปริมาณ  กลาวถึงแนวดําเนินการเพ่ือ  ไปใหถ งึ เปาหมายเชิงคณุ ภาพ  นวตั กรรม จะเขามาเกี่ยวของตรงแนวดําเนินงาน  เพราะนวัตกรรมคือ แนวคดิ ใหม ๆ หรือวิธกี ารใหม  ครกู บั การวิจยั เ1พ9่ือ พฒั นาการเรียนการสอน 

จากตัวอยางขางตน แนวทางในการพัฒนาระบบการเรียน  การสอนทีใ่ ชแ นวทางใหม  ๆ อาจเปนดังน้ี  นกั เรียนมีผลการเรียนรคู ณติ ศาสตรเพ่ิมขึ้น  ครใู ชเทคนิคการสอนที่หลากหลาย และเนน  กระบวนการคิด  กระบวนการพัฒนา  s  พฒั นาชุดบทเรียนสาํ เร็จรูปสาํ หรบั นักเรยี น  ศกึ ษาดวยตนเอง โดยใชเ ทคนิคใหม ๆ สอดแทรก  อยใู นชดุ ตาง ๆ  s  รวบรวมเทคนิคการสอนจากทฤษฎีและ  ผลการวิจัยใหม ๆ สําหรบั ครูนําไปใชจัดการเรียนร ู ครกู ับการวิจยั เ2พ0อ่ื พฒั นาการเรยี นการสอน 

3.2 ลักษณะทีส่ าํ คญั บางประการของนวัตกรรม  ก า ร จ ะ นํ า น วั ต ก ร ร ม ม า ใ ช ใ น ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร จั ด  การศกึ ษา คาํ ถามที่มกั จะเกิดขึน้ อยูเสมอคอื  จะคิดคนนวัตกรรมไดจาก  ท่ไี หน  จึงขอแนะนาํ แนวทางที่งา ย ๆ ดงั นี้  F  ศึกษาทฤษฎที เี่ ก่ียวของ  F  ศึกษาผลการวิจัย ผลผลิตใหม ๆ ที่เก่ียวกับเทคโนโลย ี และนวตั กรรมการศกึ ษา  F  ใชความคิดริเร่ิมสรางสรรคของเราเอง  ที่ไดจาก  การสังเกต หรือจากการปฏิบัติ หรือแบบอยางที่ผูอื่นเคยทํา นํามา  ประมวลรวมกับทฤษฎีหรือผลการวิจัยท่ีไดศึกษาคนควา ริเร่ิมเปน  ส่ิงใหมของตนเอง หรือนําสิ่งท่ีมีผูคิดคนไวแลวมาปรับปรุงในแงมุม  ใหมก ็ได ลักษณะของนวตั กรรมที่ดี  มดี ังน ้ี 1)  ตรงกับความจําเปนของสถานการณท่ีเกิดข้ึนคือมุงตรงตอ  การแกปญหาอยางใดอยางหนึ่ง หรือหลายอยางที่เกิดขึ้นในการ  จัดการศกึ ษา  Æแสดงความมีประโยชนข องนวัตกรรม  ครกู ับการวิจัยเ2พ1อ่ื พัฒนาการเรียนการสอน 

2)  มีความนาเชื่อถือและเปนไปไดสูงท่ีจะสามารถแกปญหา  ในการจัดการศึกษาได (Creditability)  ซ่ึงหมายถึง มีทฤษฎีหรือ  ผลการวจิ ัยรองรับ  3)  สามารถนําไปใชไดในสถานการณจริง (Practicality)  คือ  มี แ น ว ท า ง ใ ช ห รื อ แ น ว ป ฏิ บั ติ ท่ี ป ฏิ บั ติ ต า ม ไ ด ง า ย   แ ล ะ ส ะ ด ว ก  ไมจําเปน ตอ งจัดปจ จัย  ทรพั ยากร สง่ิ แวดลอมเปนพิเศษ  4)  มผี ลการพิสูจนเชิงประจักษ (Empirical  Validation)  วาได  ทดลองใชในสถานการณจริงแลว สามารถแกปญหาหรือปรับปรุง  เพม่ิ คณุ ภาพของการจัดการศึกษาไดผลเปนที่นาพอใจ โดยมหี ลักฐาน  ที่ไดจากการเก็บรวบรวมขอมูลอยางมีระบบ และเสนอรายงานผล  ไดอยา งชัดเจน  3.3 ประเภทของนวัตกรรม  นวัตกรรมท่ีใชในการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน  แบง ออกเปน 2 ประเภทดังน ้ี 1)  นวัตกรรมที่เนนผลผลิต  (Innovative  Product)  เปน  นวัตกรรมที่จัดทําเปนวัสดุ เครื่องมือหรืออุปกรณท่ีพัฒนาอยาง  เปนระบบ หรือเรียกวาส่ือเทคโนโลยีการสอน เชน คูมือครู บทเรียน  ครูกบั การวิจยั เพ22ื่อ พฒั นาการเรียนการสอน 

สําเร็จรปู  ชดุ การสอน แบบฝก ทักษะ ใบงาน ใบความรู หนังสอื ตาง ๆ  นิทาน ฯลฯ  2)  นวัตกรรมที่เนนเทคนิคกระบวนการ  (Innovative Process)  เปนนวัตกรรมท่ีเสนอแนวคิด เทคนิค วิธีการ กระบวนการและ  แนวปฏิบัติ เชน วิธีการสอนแบบตาง ๆ สถานการณจําลอง เทคนิค  การนิเทศ ฯลฯ  3)  นวัตกรรมท่ีเนนทัง้ ขอ 1 และขอ 2  สวนประกอบของนวตั กรรม  การออกแบบนวัตกรรมใหมีคุณประโยชนอยางจริงจัง จะตอง  คํานงึ ถงึ สว นประกอบ 3 สว นคือ  สว นที่ 1  ลักษณะปรากฏเชิงวัตถุที่อาจเรียกวา Hardware หรือ  Form  สวนท่ี 2  ลักษณะเทคนิควิธีการที่อาจเรียกวา Software  หรือ  Function  สวนท่ี 3  ลั กษ ณ ะ คุ ณ ส ม บั ติ ข อ ง ผู ที่ จ ะ ใ ช น วั ต ก ร ร ม  อาจเรียกวา Peopleware  ครูกับการวิจยั เพ23ือ่ พฒั นาการเรียนการสอน 

ตวั อยา งนวัตกรรม  s  ตวั รูปเลม :­ เอกสารชดุ การเรยี น คูมือครู  บทเรียนสําเร็จรูป  ð  Hardware  s  เทคนิควิธีการที่อยูใ นรูปเลมของเอกสาร  ชุดการเรียน  คมู ือครู  ð  Software  บทเรียนสาํ เร็จรูป  3.4 กระบวนการพฒั นานวัตกรรม  ในการคิดจะพัฒนานวัตกรรม คําถามที่จะตองตอบทุกคร้ัง  มดี ังน้ ี F  นวัตกรรมที่จะพัฒนามุงแกปญหาอะไร และมุงนําไปสู  ผลลพั ธร ะยะสัน้  และระยะยาวอยา งไร  F  ใครจะเปนผูใชนวัตกรรม  F  นวัตกรรมท่ีจะสรางอาศัยทฤษฎีอะไร หรือผลการวิจัย  อะไร  และผนวกความคดิ ริเรม่ิ ของตนเองดวยหรอื ไม  เทา ใด  F  โครงสรา งเชงิ กายภาพ เชิงเทคนคิ วธิ ีเปนอยางไร  F  นวตั กรรมท่จี ะสรางมีข้ันตอนการพฒั นาอยางไร  F  มวี ิธีการใชนวตั กรรมในสถานการณจ ริงอยางไร  ครูกบั การวิจยั เพ24อื่ พฒั นาการเรยี นการสอน 

F  มีการติดตาม ชวยเหลือ แนะนําแกปญหาระหวางการใช  ดวยหรือไม  การจะพัฒนานวตั กรรมอะไร ขอใหลองตอบ คาํ ถามทกุ ขอกอน  ขั้นตอนของการพฒั นานวัตกรรม  มดี งั น้ ี ขัน้ ที่ 1  ศึกษาหลักการ  แนวคิด ผลงานวิจัย หรือทฤษฎ ี ทีเ่ กี่ยวขอ งกบั นวัตกรรมทเ่ี ลอื ก  ขั้นท่ี 2  การออกแบบนวตั กรรม  ในการออกแบบนวัตกรรม ควรกําหนดส่ิงตอไปนี้  ใหช ดั เจน  1)  วัตถุประสงคของนวัตกรรม  เปนการระบุเฉพาะ  วัตถุประสงค หรือผลท่ีตองการใหเกิดข้ึนโดยตรงจากนวัตกรรม  ทส่ี รา งขึ้น และตองมุงแกปญหาหรือขอบกพรองของนักเรียนในเรื่อง  น้ัน ๆ อยา งแทจรงิ   2)  ขอบขายของผใู ชน วตั กรรม ควรระบุใหชัดเจนวา  ใครเปน ผใู ช นักเรยี นหรือครู ครูกบั การวิจัยเพ25่อื พัฒนาการเรียนการสอน

3)  โครงสรางและลักษณะทางเทคนิคของนวัตกรรม  เปนการคดิ ถงึ ลกั ษณะท่ีปรากฏของนวัตกรรม วาควรจะประกอบดวย  สวนตาง ๆ อะไรบาง รวมท้ังนําเสนอแนวคิด หรือเทคนิควิธีการ  ใหม ๆ เพอื่ นาํ ไปสูความสําเรจ็ ท่ีกาํ หนดไวในวตั ถปุ ระสงค  เชน เอกสารประกอบการสอน  ประกอบดวย  F  คาํ นาํ   F  วัตถุประสงค  F  จาํ นวนบท/ตอน/หนวย  ในแตล ะบท/ตอน/หนวย กลาวถงึ   ð  จาํ นวนช่วั โมง  ð  จุดประสงคการเรียนร ู ð  กิจกรรมสอื่ การเรียนรู  ð  แบบฝก หัด เอกสารประกอบการเรียน F  คาํ นํา  F  หนวยการเรียนรู โดยในแตล ะหนวยการ  เรยี นรูจะกลาวถึง  ð  จดุ ประสงคการเรียนร ู ð  สาระการเรยี นร ู ครกู ับการวิจัยเ2พ6่ือ พฒั นาการเรยี นการสอน 

ð  กิจกรรมสําหรบั ฝกปฏิบัต ิ ð  สรุปทายหนว ย  ð  แบบฝก หดั บทเรยี นสําเรจ็ รปู (แบบเปน เลม) F  คาํ นํา  F  คาํ ช้แี จง/คาํ แนะนาํ ในการศกึ ษาดวยบทเรียน  F  แนวคิด/จุดประสงคการเรียนร ู F  ทบทวน/นิยามศัพท  F  สถานการณ/สาระการเรียนรู (โดยในแตล ะ  สถานการณหรอื สาระการเรียนรูจะมีคําถามใหตอบ พรอมเฉลย)  F บทสรุป  F  แบบทดสอบทา ยบท ชดุ การสอน (สําหรับคร)ู F  กลอง/กระเปา/ซองบรรจุชดุ การสอน  F  คูมือการใชช ุดการสอน  ð  คาํ ชี้แจง  ð  จุดประสงค/ เนื้อหา  ð  กิจกรรมการเรียนการสอน  ครูกับการวจิ ัยเ2พ7่ือ พฒั นาการเรียนการสอน

ð  รายช่อื ส่อื   ð  แบบ/วิธีการวัดและประเมนิ ผล  F  สอ่ื การเรยี นการสอน  F  แบบประเมนิ ผล ชุดแบบฝก  เปน สื่อใชฝ กทักษะการคดิ  การวิเคราะห  การแกปญหา และการปฏบิ ตั ิของนักเรียน  F  จดุ ประสงค  F  ทบทวนกฎเกณฑ  F  เสนอตัวอยาง  F  แบบฝก   F  เฉลย/อธบิ ายเพิม่ เติม  4)  ลกั ษณะการนําไปใชและเง่อื นไข  การนําเสนอนวัตกรรม เพื่อนําไปสูการใชจริง  อยางเหมาะสม ควรจะมีคูมือหรือเอกสารแนะนําการใชไวดวย เชน  กลาวถึงการจัดนักเรียนใหเรียนแบบรายบุคคล รายกลุมยอย หรือ  ทงั้ ชน้ั  เปน ตน  ครกู ับการวจิ ัยเ2พ8ื่อ พัฒนาการเรยี นการสอน

ขน้ั ที่ 3  การสรา งหรือพัฒนานวัตกรรม  การสรางนวัตกรรม เปนการลงมือทํานวัตกรรมตาม  รูปแบบและโครงสรางที่กําหนด นอกจากน้ันควรศึกษาหลักการ  แ น ว คิ ด   ห รื อ ท ฤ ษ ฎี ที่ เ กี่ ย ว ข อ ง กั บ น วั ต ก ร ร ม ช นิ ด น้ั น     เ พื่ อ ใ ห  นวตั กรรมมีคุณภาพ  เชน   1)  หลักจิตวิทยาการเรียนรู  ซึ่งจะชวยใหเขาใจถึง  ธรรมชาติการเรียนรูของนักเรียน สามารถจะเลือกเทคนิควิธี กิจกรรม  หรือสื่อตาง ๆ มาใชจัดการเรียนการสอนไดเหมาะสมกับวัยของ  นักเรยี น  2)  ทฤษฎีการเรียนรู  จะชวยใหครูทราบวาใน  เงื่อนไขหรอื สภาวการณแบบใด นกั เรยี นจึงจะเกดิ การเรียนรูไดด ที ี่สุด  3)  หลักการสอน  เปนหลักในการจัดการเรียน  การสอนตามทฤษฎีการเรียนรู ซึ่งจะชวยใหครูเลือกเทคนิควิธี หรือ  กิจกรรม หรือสื่อตาง ๆ ไดอยางถูกตองสอดคลองกับธรรมชาติวิชา  และปรัชญาของหลักสูตร ซ่ึงหลักการสอนประกอบดวย หลักการ  สอนทั่วไป เชน การสอนโดยยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง และหลักการ  สอนเฉพาะวิชา เชน การสอนแกป ญ หาคณิตศาสตรดวยวิธขี องวรรณี  ครกู ับการวิจยั เ2พ9ือ่ พัฒนาการเรียนการสอน 

4)  หลักจิตวิทยาของนวัตกรรมประเภทตาง ๆ  กอนจะเลือกนวตั กรรมใดมาใชจดั การเรียนการสอน ควรจะตองศึกษา  หลักจิตวทิ ยาที่จะนํามาใชในการสรางนวัตกรรมน้ัน ๆ เชน การสราง  บทเรียนสําเร็จรูป อาจยึดหลักทฤษฎีการเรียนรูของบลูม และทฤษฎี  การเสรมิ แรงของสกนิ เนอร  เปน ตน   ข้ันที่ 4  การตรวจสอบคณุ ภาพของนวตั กรรม  การตรวจสอบคณุ ภาพของนวัตกรรม มรี ายละเอียด  ดังน ี้ 1)  ตรวจสอบตัวคุณภาพของนวัตกรรม อาจมีการ  ทดลองกับกลุมเล็ก ๆ เพื่อปรับปรุงคุณภาพของสวนตาง ๆ เชน ภาษา  ท่ีใช  การจดั ลําดับเนอื้ เรอื่ ง การเรยี บเรียงเนอ้ื หา ฯลฯ  2)  ทดลองหาประสิทธิภาพของการทํางานในแตละ  สวนของนวตั กรรม  3)  ทดลอ งหาประ สิทธิ ผลของนวั ตกร รมใ น  สถานการณจ ริง โดยนาํ ไปจดั กิจกรรมการเรียนร ู ครูกับการวจิ ยั เ3พ0ื่อ พฒั นาการเรียนการสอน 

ขั้นที่ 5  ประเมนิ ผลการใชน วตั กรรม  การประเมินผลการใชนวัตกรรม เปนการเก็บและ  บันทึกขอมูลเพ่ือจะแสดงใหเห็นถึงผลของการใชนวัตกรรมในการ  ลดสภาพปญหา หรือแกป ญ หาโดยขอ มูลทจี่ ดั เกบ็ มีดังน้ ี ð  บันทึกขอมูลกอนการใชนวัตกรรม  ð  บนั ทึกขอ มูลระหวางทม่ี ีการใชนวัตกรรม  ð  บนั ทึกขอมูลภายหลงั จากทม่ี ีการใชนวตั กรรม  ครบถว นแลว  ครกู ับการวิจยั เ3พ1ื่อ พฒั นาการเรยี นการสอน 

4. การพิสูจนป ระสิทธิภาพของนวตั กรรม  นวัตกรรมที่พัฒนา กอนนําไปใชเพ่ือใหผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น  หรือผลการวิจัยมีความเช่ือถือได จําเปนที่จะตองหาคุณภาพและ  ประสิทธิภาพของนวัตกรรมนน้ั  ๆ กอ น ดงั นี ้ 1)  การตรวจสอบเบื้องตน เปนการนํานวัตกรรมที่สรางขึ้นไป  ใหผูเชี่ยวชาญอยางนอย 3  คน ตรวจสอบ โดยผูเช่ียวชาญท้ัง 3  คน  ควรจะเปนผูท่ีมีความรูในเรื่องการวัดผลและประเมินผล 1  คน เรื่อง  ของการจัดการเรียนรู 1  คน และเร่ืองของนวัตกรรมท่ีจัดทํา 1  คน  สวนประเด็นในการตรวจสอบขึ้นอยูกับประเภทของนวัตกรรม เชน  บทเรียนสําเร็จรูป ประเด็นในการตรวจสอบอาจจะประกอบดวย  ความตรงตามเนื้อหา การจัดแบงหัวขอหรือข้ันตอนการเรียนรูใน  แตละหนว ย ความเหมาะสมขององคประกอบแตล ะหนว ย ฯลฯ  อนึ่ง  การตรวจสอบของผูเช่ียวชาญ ใชการใหคานํ้าหนัก  แลวนํามาวิเคราะหคา IOC (Index of Item Object Congurence) โดยมี  สตู รในการคํานวณ ดังน้ี  ครูกบั การวจิ ยั เ3พ2่ือ พฒั นาการเรียนการสอน

IOC  =  ∑  R  N  IOC  หมายถึง  คา ดชั นคี วามสอดคลอง  R  หมายถึง  คา นา้ํ หนักคะแนนของผเู ชีย่ วชาญ  ∑ R  หมายถึง  ผลรวมคะแนนของผเู ชีย่ วชาญทุกคน  N  หมายถงึ   จาํ นวนผูเชี่ยวชาญทั้งหมด  การกาํ หนดคานา้ํ หนักคะแนนของผเู ชย่ี วชาญ  มดี งั น้ี  +1  หมายถงึ   ประเด็นคําถามเหมาะสม หรอื ใชไ ด  0  หมายถึง  ไมแนใจวา ประเดน็ คาํ ถามเหมาะสม  หรือใชไ ดหรือไม  -1  หมายถึง  ประเด็นคําถามไมเ หมาะสม หรอื ใช  ไมได  คา IOC ท่ใี ชไ ดคือ คา IOC ที่มคี า ต้งั แต 0.5 ขน้ึ ไป ครกู ับการวิจัยเพ33อ่ื   พฒั นาการเรยี นการสอน

ตัวอยางที่ 1  การวเิ คราะหคา IOC จากการประเมินชุดแบบฝก   โดยผเู ช่ยี วชาญ  รายการ  1  ผเู ช่ยี วชาญคนที่  5  คา   แปลผล  2  3  4  1. จุดประสงค  +1  +1  +1  +1  +1  1.0  ใชไ ด  2. การทบทวนกฎเกณฑ  +1  0  +1  +1  +1  0.8  ใชได  3. การนาํ เสนอตัวอยา ง  -1  +1  +1  +1  +1  0.6  ใชไ ด  4. แบบฝก  +1  +1  +1  0  -1  0.4  ปรบั ปรงุ   5. การเฉลยในแบบฝก  +1  +1  +1  +1  +1  1.0  ใชไ ด  ฯลฯ  รวม  0.76  ใชไ ด  2)  การทดลองและพัฒนา  เปนการตรวจสอบคุณภาพของ  นวัตกรรม โดยวิธีการทดสอบประสิทธิภาพ แบงออกเปน 3 ข้ันตอน  ดังน ้ี ขัน้ ที่ 1 แบบ 1 : 1 เปน การนาํ นวัตกรรมท่ีสรางขน้ึ ไปทดลอง  กับนักเรยี น 3 คน ท่ีมีความสามารถแตกตา งกันคือ เกง  ปานกลาง  และ  ออน อยางละ 1 คน แลวคํานวณหา E1  /E2   (ตามนัยท่ี 1 หรือ 2)  แลว นํามาปรบั ปรุง  ครกู บั การวิจัยเพ34ื่อ พัฒนาการเรยี นการสอน 

ขั้นท่ี 2 แบบกลุมเล็ก เปนการนํานวัตกรรมที่สรางข้ึนไป  ทดลองกับนักเรียนต้ังแต 6 – 9 – 12 – 15 คน ที่มีความสามารถ  แตกตางกันทั้งเกง  ปานกลาง และออน อยางละ 2 – 3 – 4 และ 5 คน  เพอ่ื คํานวณหา E1  /E2  (ตามนัยท่ี 1 หรอื 2) แลวนาํ มาปรบั ปรงุ   ขั้นท่ี 3 แบบกลุมใหญ  หรอื ภาคสนาม เปนการนํานวัตกรรม  ทีส่ รางข้นึ ไปทดลองกับนกั เรียน ต้งั แต 30 คนขึ้นไป หรือทั้งหอง เพื่อ  หาประสิทธิผลของนวัตกรรม โดยคํานวณหา E1  /E2   (ตามนัยท่ี 1  หรือ 2) แลวนําผลการวิเคราะหเทียบกับเกณฑ ถาต่ํากวาเกณฑไมเกิน  รอยละ 2.5 ก็ยอมรบั ได  ครกู ับการวจิ ัยเพ35่ือ พฒั นาการเรียนการสอน 

วธิ ใี นการคํานวณหาคา E1 / E2   การคาํ นวณหาคา E1 / E2  มี 2 นยั คอื   นยั ที่ 1  E1   =  ∑  X  x 100  E2   =  ∑  Y  x 100  A  B  E1  หมายถึง รอ ยละของนักเรยี น  E2  หมายถึง รอยละของนักเรยี น  ที่ผา นเกณฑทีก่ าํ หนดระหวาง  ท่ีผานเกณฑท ก่ี าํ หนด  กระบวนการ  หลังกระบวนการ  ∑ X  หมายถงึ  จํานวนนกั เรียน  ∑ Y หมายถงึ  จํานวนนักเรยี น  ทีผ่ านเกณฑเ ฉลี่ย  ท่ผี านเกณฑห ลงั เรียน  ทกุ กจิ กรรม  A  หมายถงึ  จาํ นวนนกั เรียน  B  หมายถงึ  จาํ นวนนักเรียน  ทัง้ หมด  ทัง้ หมด  ครกู ับการวจิ ยั เ3พ6่อื พัฒนาการเรยี นการสอน 

นัยท่ี 2  E1   =  ∑  X/N x 100  E2   =  ∑  Y/N x 100  A  B  E1  หมายถึง คะแนนเฉลย่ี รอยละ  E2  หมายถงึ  คะแนนเฉลย่ี รอ ยละ  ของนักเรียนทกุ คนระหวา ง  ของนักเรียนทุกคน  กระบวนการ  หลงั กระบวนการ  ∑ X หมายถึง ผลรวมคะแนนของ  ∑ Y  หมายถงึ  ผลรวมคะแนน  นักเรียนทกุ คนระหวาง  ของนกั เรยี นทกุ คน  กจิ กรรม  หลงั เรยี น  N  หมายถงึ  จาํ นวนนกั เรียน  N  หมายถึง  จาํ นวนนักเรียน  ทัง้ หมด  ท้งั หมด  A  หมายถงึ  ผลรวมของคะแนน  B  หมายถึง คะแนนเต็มหลงั เรียน  เต็มทกุ กิจกรรม  ครกู บั การวจิ ยั เ3พ7่ือ พัฒนาการเรียนการสอน 

วิธีหาประสิทธิภาพของนวตั กรรม  นวตั กรรมประเภทสอื่  คูมือ บทเรียนสําเร็จรูป ชุดฝก ฯลฯ กอน  จะนาํ ไปใชตองมีการหาประสิทธิภาพ ซึ่งจะแสดงเปนคาตัวเลข 2 ตัว  เชน  80/80  ซึ่งตัวเลข  80  ตัวแรก หมายถึง ประสิทธิภาพของ  กระบวนการ  และตัวเลข 80 ตัวหลัง หมายถึง ประสิทธิภาพของ  ผลลพั ธ  เกณฑการกาํ หนดประสิทธิภาพ E1  /E 2 สําหรบั เน้ือหา ความรู ความจํา  80/80  หรือ  90/90 สําหรบั เน้ือหา ทกั ษะ เจตคต ิ 75/75  หรอื   70/70  โดยทีค่ า E1  /E2  ตองไมแตกตา งกันเกนิ รอยละ 5  ครกู บั การวจิ ยั เพ38่ือ พฒั นาการเรียนการสอน 

ตัวอยา งที่ 2  การวิเคราะหห าประสิทธิภาพของสอ่ื บทเรียนคอมพวิ เตอร  ชว ยสอน  ครูสมจิ ตผ ลิตส่ื อบทเรีย นคอ มพิ วเตอรชวยสอนวิช า  คณิตศาสตร (CAI)  ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 มี 5 เรื่อง และไดนําไป  ทดลองใชกับนักเรียน สมมติวา 5 คน  การทดสอบในแตละเรื่อง  คะแนนเต็ม  10  คะแนน  และเม่ือการเรียนเสร็จส้ินแลวไดทํา  การทดสอบอกี ครง้ั หนึ่งดว ยแบบทดสอบ คะแนนเตม็ 50 คะแนน  ในการหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน  ครสู มจติ  กาํ หนดเกณฑ  ดังน ้ี 1.  จาํ นวนนกั เรียนทผ่ี า นเกณฑ รอยละ 70 (E1 / E 2 = 70/70)  2.  คะแนนเฉลีย่ รอยละ 70 (E1  /E2  = 70/70)  ครกู บั การวิจัยเพ39ือ่ พฒั นาการเรียนการสอน 

ขอ มูลทีไ่ ดร ับจากการทดสอบและคา E1  /E 2  จํานวนท่ีผานเกณฑรอยละ 70  คะแนนเฉลยี่ รอ ยละ 70  คะแนนทดสอบ/กจิ กรรมระหวา งเรยี น  คะแนนทดสอบ  นกั เรียน  1  2  3  4  5  รวม  หลงั เรยี น  10  10  10  10  10  50  E1   50  E2   1  7  7  8  5  7  34  39  2  7  7  7  7  7  35  37  3  8  7  7  7  7  36  38  4  7  9  6  7  7  36  40  5  7  7  8  7  7  36  42  รวม  177  70.8  196  78.4  ผา น(คน)  5  5  4  4  5  4  80  5  100  ครูกบั การวิจัยเพ40ื่อ พฒั นาการเรยี นการสอน 

การวิเคราะห  วธิ ีที่ 1  (จาํ นวนทผี่ านเกณฑร อยละ 70)  E1   =  ∑  X  x 100  E2   =  ∑  Y  x 100  A  B  =  4  xx11000    =  5  x 100 5  5  =   80  =  100  ดังนั้น บทเรียนคอมพวิ เตอรช วยสอนมีประสิทธิภาพ 80/100  วิธที ี่ 2  (คะแนนเฉล่ียรอยละ  70)  E1   =  ∑  X/N x 100  E2   =  ∑  Y/N x 100  A  B  =  177/5  x 100  = 196/5 x 100 50  50  =   70.8  =   78.4  ดงั นน้ั บทเรยี นคอมพิวเตอรชวยสอนมปี ระสิทธิภาพ 70.8/78.4  ครกู ับการวจิ ยั เ4พ1อ่ื   พัฒนาการเรียนการสอน 

5. การทดลองใชนวตั กรรม  หลังจากการวิเคราะหและสํารวจปญหาจนทราบวาจุดใดเปน  ปญหาที่จะตองแกไข และมีการพัฒนานวัตกรรมขึ้นเพ่ือแกปญหา  นนั้  ๆ ซ่ึงในกระบวนการพัฒนานวตั กรรมกม็ ีการทดลองใชนวัตกรรม  เพือ่ หาขอ มลู มาปรบั ปรงุ แกไ ขนวัตกรรมใหส มบูรณ  เมื่อพัฒนาจนสมบูรณแลว จึงนํานวัตกรรมมาทดลองใช  ในสภาพการเรียนการสอนจริง ๆ มีการเปรียบเทียบผลการใช  นวัตกรรมเพ่ือพิสูจนคุณภาพของนวัตกรรม ในหัวขอนี้จะกลาวถึง  ตัวแปรในการทดลอง การออกแบบการทดลอง  และการสราง  เครอ่ื งมือเก็บรวบรวมขอ มูล  5.1 ตวั แปรในการทดลอง  ตัวแปร  หมายถึง คุณลักษณะของคน  สิ่งของ  วิธีการ  สถานการณ สภาพการณท่ีแปร (เปล่ียน) ไดตั้งแตสองระดับ หรือ  สองคาขึน้ ไป  ครูกบั การวิจัยเพ42ือ่ พัฒนาการเรยี นการสอน

ตัวแปรในการทดลอง ประกอบดวย ตวั แปร 3 ประเภท ไดแก  1.  ตัวแปรอิสระหรือตัวแปรทดลอง  (Independent  variable  หรือ Experimental  variable)  หมายถึง ส่ิงที่ทดลอง ไดแก นวัตกรรม  ท่ีสรางข้ึน เชน การใชแบบฝกความเขาใจในการอาน การใชชุดฝก  ทักษะการทํางานกลมุ  ฯลฯ  ในการทดลองจะตองอธิบายคุณลักษณะของนวัตกรรมท ี่ สรางขึ้นใหชัดเจน หรือเรียกวาการนิยามตัวแปรอิสระ  ซ่ึงจะมี  ประโยชนในการเตรียมการทดลองใหมีความสมบูรณ เชน การใช  แบบฝกความเขาใจในการอาน เปนการใชแบบฝกที่ประกอบดวย  บทความตาง ๆ ท่ีมีความยาวไมเกิน 25 บรรทัด ท้ังรอยแกวและ  รอยกรอง แตละบทความมีคําถามเกี่ยวกับเรื่องท่ีอาน ใชประกอบ  การสอนปกติของครู  โดยใหนักเรียนไปฝกเพิ่มเติมดวยตนเอง  ครทู ําหนา ทช่ี ีแ้ จงขอบกพรอ งและแกไ ขขอ บกพรองเปนรายบคุ คล  2.  ตัวแปรตาม (Dependent  variable)  หมายถึง ลักษณะของ  นักเรียนท่ีเกิดขึ้นภายหลังการใชนวัตกรรม เชน ความสามารถใน  การอา นของนักเรยี น ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนเร่ืองเศษสว น ฯลฯ  ครูกบั การวิจัยเ4พ3่อื พฒั นาการเรยี นการสอน 

ในการทดลองตองกําหนดนิยามของตัวแปรตามใหชัดเจน  เพื่อประโยชนในการสรางเคร่ืองมือวัด หรือกําหนดวิธีการวัดตัวแปร  ตาม เชน ความสามารถในการอานของนักเรียน หมายถึง คะแนนท่ีได  จากการสอบวัดความเขาใจในการอาน ซ่ึงมีบทความกําหนดใหอาน  และมคี าํ ถามเก่ยี วกบั เร่ืองที่อา น  3.  ตัวแปรแทรกซอน  (Extraneous  variable)  เปนตัวแปรท ่ี นอกเหนือจากนวตั กรรม ทมี่ ีอิทธพิ ลตอตวั แปรตาม หากตัวแปรแทรก  ซอนมอี ยูในการทดลอง จะทําใหตัวแปรตามที่ไดไมใชผลอันเกิดจาก  ตัวแปรอิสระ (นวัตกรรม) อยางเดียว จึงทําใหไมอาจสรุปวาตัวแปร  อสิ ระสงผลตอ ตวั แปรตามจริงหรือไม  ดังนั้น  ในการทดลองตองจัดกระทํากับตัวแปรอิสระให  เปนไปตามขอบเขตของนวัตกรรมท่ีสราง ควบคุมตัวแปรแทรกซอน  หรือควบคุมใหการทดลองอยูในสภาพแวดลอมท่ีเปนปกติ มิไดมีการ  ปรุงแตงที่นอกเหนือจากตัวแปรอิสระ และมีการวัดตัวแปรตาม ซึ่ง  อาจใชแบบทดสอบหรือเคร่ืองมือชนิดอ่ืน เชน การสังเกต การตรวจ  ผลงาน เพื่อนําผลการวัดไปวิเคราะหและพิสูจนผลวานวัตกรรมน้ัน  สามารถแกป ญ หาไดจรงิ   ครกู ับการวิจัยเ4พ4ือ่ พฒั นาการเรยี นการสอน 

5.2 การออกแบบการทดลอง  การทดลองใชนวัตกรรมทําไดหลายแบบ ข้ึนอยูกับความ  ตอ งการในการทดลองวาจะทดลองกับคนเพียงกลุมเดียว เชน นักเรียน  หองเดียว หรือทดลองกับคนหลายกลุม และจํานวนคร้ังของการวัด  ตัวแปรตาม แตละแบบมีวิธีดําเนินการ และการวิเคราะหผลการ  ทดลองแตกตางกัน  ในเอกสารน้ีจะเสนอเพียง 2 ตัวแบบที่สามารถ  เลือกใชไ ดต ามความสนใจและสภาพการณข องแตล ะคน  1)  การทดลองแบบทห่ี นงึ่   กา ร ท ด ล อ ง แ บ บ น้ี เ ป น ก า ร ท ด ล อ ง ก ลุ ม เ ดี ย ว   ก อ น ก า ร  ทดลองมกี ารวัดตัวแปรตามหน่ึงครั้ง เพื่อดูสภาพเดิมที่เปนอยู จากนั้น  จึงเริ่มใชนวัตกรรม  หลังจากใชนวัตกรรมแลว ก็จะทําการวัดตัวแปร  ตามซาํ้ อกี หนึ่งครงั้ ดวยเคร่ืองมือชุดเดิม เพื่อดูสภาพหลังใชนวัตกรรม  แลวนาํ ผลการวัดตัวแปรตามทงั้ สองครง้ั มาเปรยี บเทยี บกัน  การทดลองแบบนมี้ ชี ื่อวา One Group Pretest-Postest Design  เขียนเปน แผนภมู ไิ ดด ังน้ ี O1  x     O2  ครูกบั การวิจยั เ4พ5ือ่ พัฒนาการเรยี นการสอน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook