Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore nutrinote

nutrinote

Published by กันยรัตน์ เมืองสุข, 2019-11-29 03:35:43

Description: nutrinote

Search

Read the Text Version

Nutri note

2 สารบัญ 7 Drug and food interaction 7 Effect of drug on food intake 10 ความรุนแรงของภาวะน้าตาลตา้ ในเลือดแบง่ ไดเ้ ป็น 3 ระดบั 10 10 ภาวะนา้ ตาลตา้ ในเลือดระดับไม่รุนแรง ให้กนิ อาหารทมี ีคาร์โบไฮเดรต 15 กรมั ภาวะน้าตาลต้าในเลอื ดระดบั ปานกลาง ให้กินอาหารทีมคี ารโ์ บไฮเดรต 30 กรัม 11 ขอ้ ควรปฏบิ ัติเพอื ปอ้ งกันกระดูกหกั เนืองจากกระดูกพรุน (Fracture liaison service : FLS) 11 ตวั อย่างอาหารทีมแี คลเซยี ม 12 12 การค้านวณพลงั งานจากน้ายาล้างไตผา่ นช่องทอ้ ง CAPD 12 ธาลัสซเี มีย (Thalassemia) 15 ปริมาณโฟเลทในอาหาร 15 Classifications of nutritional status 17 Overweight and obesity 20 DASH diet Screening and assessment tool 20 23 Screening tool 29 Assessment tool การแปลผลเครอื งมือคดั กรองและประเมนิ ภาวะโภชนาการ 30 ค่าในการวินจิ ฉยั และเปา้ หมายในการติดตามโรคเบาหวาน 30 32 ตารางการแปลผลระดับพลาสมากลโู คสและ A1C เพือการวินจิ ฉยั เปา้ หมายในการตดิ ตามโรคเบาหวาน 32 เป้ าหมายการควบคุมเบาหวานสาหรับผใู้ หญ่

เป้ าหมายในการควบคุมระดบั น้าตาลในเลือดสาหรบั ผปู้ ่ วยเบาหวานสูงอายุ และผปู้ ่ วยระยะสุดทา้ ย 3 เป้ าหมายการควบคุมปัจจยั เส่ียงของภาวะแทรกซอ้ นที่หลอดเลือด 32 การตรวจวนิ จิ ฉยั โรคและตรวจคัดกรองเบาหวานขณะตงั ครรภ์ 33 เกณฑ์ของ Carpenter และ Coustan 34 เปา้ หมายของระดบั น้าตาลในเลือดของผู้ปว่ ยเบาหวานขณะตังครรภ์ 34 คา่ ในการวินิจฉัยความดนั โลหติ สูง 34 Classification of Blood Cholesterol Levels 35 คา่ ทใี ช้ในการติดตาม 36 การแบ่งระยะของCKD 36 พยากรณโรคไตเรือรังตามความสมั พนั ธของ GFR และระดับอลั บูมินในปสสาวะ 37 การตรวจระดับน้าตาลในเลอื ดด้วยตนเอง 37 ขอ้ บ่งชกี ารทา้ SMBG 38 ความถขี องการท้า SMBG ความถีของการทา้ SMBG 38 กา้ หนดคาร์บในแต่ละมือสา้ หรบั หญิงตังครรภ์ (GDM) 38 BMI ผูส้ ูงอายุ คา้ นวณIBWอย่างง่าย 41 นา้ หนกั ทลี ดลงโดยไมไ่ ด้ตังใจ (%weight loss) 42 ศัพท์ทางการแพทย์ 42 สมุนไพรกบั ผ้ปู ว่ ยโรคไต 42 43 สมุนไพรทมี ีโพแทสเซียม 47 สมุนไพรทมี ฟี อสฟอรัส สมนุ ไพรทีควรหลีกเลียงในผปู้ ่วยโรคไต 47 49 50

อาหารคีโตเจนิค (Ketogenic diets) 4 การค้านวณพลังงานอาหารทางหลอดเลอื ดดา้ 52 ข้อบ่งชีในการใชอ้ าหารทางหลอดเลอื ดดา้ 53 การให้สารอาหารผ่านทางหลอดเลือดด้าใหญ่ (TPN) การให้สารอาหารทางหลอดด้าส่วนปลาย (PPN) 53 53 ความต้องการโปรตนี และพลังงานในผู้ใหญ่ 55 ชนดิ /สูตรนมผงเด็กตามวัย 56 Percent of free water in enteral formulas 57 การค้านวณพลังงานอยา่ งง่ายจากดัชนมี วลกายเทยี บกบั ระดบั กิจกรรม 58 ชนิดของ Insulin แบง่ เป็น 4 ชนดิ ตามระยะเวลาออกฤทธ์ิ ได้แก่ ไตอกั เสบเฉยี บพลนั (Nephrotic Syndrome) 58 ภาวะนา้ ตาลในเลือดสงู ชนดิ Diabetic ketoacidosis 58 เกณฑก์ ารวินจิ ฉยั ภาวะนา้ ตาลในเลือดสูงชนดิ diabetic ketoacidosis 61 63 การดแู ลรกั ษาเมือผา่ นพ้นภาวะ DKA 64 กระบวนการให้โภชนบา้ บัด (Nutrition Care Process) 64 66

5

categories company Name Caloric distribution (%) Com CHO PRO FAT CHO 11.25 fresenius kabi Fresubin 45 20 35 14 15.68 abbott Ensure 56 15 29 11.7 12.5 abbott Jevity 62.72 16.32 31.68 12.5 13.72 polymeric formula Nestle Boost optimum 46.8 16.8 36 11.25 10.75 Nestle Nutren-fibre 50 16 34 11.25 8.25 Nestle Isocal 50 13 37 11.85 13.14 Thai-otsuka Blendera-MF 54.88 16.28 29.79 15.4 12.43 Nestle Nutren-balance 45 15 40 12.43 13.25 abbott GlucernaSR triple care 43 20 37 15.25 8.75 diabetic abbott GlucernaSR triple care 45 20 35 10.68 abbott Glucerna liquid 33 18 49 12.5 Thai-otsuka ONCE PRO 47.4 19.52 40.05 Thai-otsuka Gen-DM 52.56 16.92 30.51 disease- hepatic Thai-otsuka Aminoleban-oral 61.6 25.6 15.3 specific Thai-otsuka Neo-mune 49.72 24.6 25.65 immuno- Thai-otsuka Neo-mune 49.72 24.64 25.74 modulatin oral-impact 53 22 25 g Nestle Prosure 61 21 18 abbott renal abbott Nepro 35 18 47 semi- Thai-otsuka Pan-Enteral 42.72 12 45.27 elemental Nestle Peptamen 50 16 34

6 mposition (g/100kcal) Electrolyte and Remark micronutrients (mg or O PRO FAT 2kcal fiber drink 5 5 3.89 mEq/100 kcal) fiber and FOS Na K P mixed fiber and FOS 3.75 3.22 30 80 60 synbiotic added 8 4.08 3.52 84.35 156.52 54.78 7 4.2 4 94.56 159.52 60.96 prebiotic 5 4 3.78 37 120.6 47 only for tube feeding | fiber free 5 3.25 4.2 74.40 107.60 49.20 2 4.07 3.31 50 125 50 FOS 5 3.75 4.44 78.35 108.76 55.72 fructose free | high soluble fiber 5 5 4.11 87.00 126.00 68.00 5 5 3.89 93.78 164.44 74.67 oral/ feeding (powder) 5 4.5 5.44 98.21 154.71 61.88 only for oral (liquid in box) 5 4.88 4.45 93.20 156.00 72.00 oral/ feeding (liquid in can) 4 4.23 3.39 97.4 162.5 66.5 whey PRO | omega-3,6,9 4 6.4 1.7 70.11 130.46 50.14 3 6.15 2.85 22.6 77.1 39.9 FOS | plant-based 3 6.16 2.86 78.49 99.32 22.43 BCAA 5 5.5 2.78 78.61 99.46 22.46 5 5.25 2 105.94 132.67 71.29 Vanilla flavor 5 4.5 5.22 119.05 158.73 83.49 melon flavor 8 3 5.03 58.82 58.82 40 100% whey | tropical fruit 5 4 3.78 44 110.46 43 energy dense 67.97 89.45 55.86 for dialysis | high protein | low Na, K, P whey pro 100% | MCT:LCT = 70:30

7 Drug and food interaction Effect of drug on food intake • Nutrition Absorption : ยาบางชนิดอาจเพม่ิ ลดลง หรอื ป้องกนั การดดู ซมึ อาหารในลาไส้ • Nutrition Excretion : ยาสามารถเพม่ิ หรอื ลดการขบั ปสั สาวะของสารอาหาร ยา amphetamine ซง่ึ เป็นยากระตุน้ ประสาทส่วนกลางโดยหลงั่ สารโดพามนี ในสมอง ทาใหร้ สู้ กึ กระตอื รอื รน้ ผลขา้ งเคยี ง ทาใหเ้ บ่อื อาหาร ยา Carboplatin เป็นยารกั ษาโรคมะเรง็ หลายชนิด ยาจะยบั ยงั้ การสงั เคราะหส์ ารพนั ธุกรรมของเซลลม์ ะเรง็ เชน่ DNA อาการขา้ งเคยี ง คลน่ื ไส้ อาเจยี น Drug that may increase apatite • Anticonvulsant : เป็นยารกั ษาอาการชกั ต่างๆอาจเกดิ การเสยี สมดุลของเกลอื แร่ • Antipsychotic : ยารกั ษาโรคจติ , ไบโพลาร์ • Antidepresant : ยารกั ษาอาการซมึ เศรา้ Drug can decrease nutrition absorption • Laxatives : เป็นยาบรรเทาอาการทอ้ งผกู ทาใหอ้ ุจจาระอ่อนตวั ลง หรอื กระตุน้ การบบี ตวั ของลาไส้ • Aluminum hydroxide : เป็นยาลดกรดในกระเพาะอาหาร • Statin : เป็นยาลดคลอเลสเตอรอลในเลอื ด Drug can increase a loss of a nutrition • Diuratics : เป็นยาขบั ปสั สาวะ ใชใ้ นการรกั ษาความดนั โลหติ สงู • Aspirin : ยาลดการอกั เสบ เชน่ ปวดประจาเดอื น • Clobazam : ยาลดอาการวติ กกงั วล

8 Absorption : การเคล่อื นทข่ี องยาภายในกระแสเลอื ดขน้ึ อยกู่ บั ปจั จยั ต่อไปน้ี • โครงสรา้ งของยาทส่ี ามารถผ่านเยอ่ื บลุ าไส้ • ระยะเวลาทท่ี าใหก้ ระเพาะอาหารวา่ ง • ชอ่ งทางการใหย้ า • คุณภาพของยา Distribution (การกระจายตวั ของยา) ยาเขา้ ส่กู ระแสเลอื ด กระจา่ ยไปยงั เน้อื เยอ่ื ต่างๆ • จบั กบั Plasma protein ยาไมอ่ อกฤทธิ ์ • Albumin ต่า ทาใหเ้ กดิ Toxic ได้ Metabolism (การเปลย่ี นแปลงของยา) • เป็นกระบวนการท่ยี าถูกเปลย่ี นแปลงทางเคมใี นร่างกาย ซง่ึ มผี ลมาจากปฏกิ ริ ยิ าของยาระหว่างยา กบั เอนไซม์ เกดิ ขน้ึ ทต่ี บั Excretion (การขบั ยาออกจากรา่ งกาย) • ยาจะถกู ขบั ออกไดท้ างไต ตบั ปอด • อาจจะขบั ออกทางน้านมและเหงอ่ื ไดใ้ นปรมิ าณเลก็ น้อย • อวยั วะในการขบั ยาออก คอื ไต Benefits of minimizing food drug interactions • ยามปี ระสทิ ธภิ าพในการทางานสงู • ไมเ่ กดิ พษิ จากยา • ชว่ ยลดค่าใชจ้ า่ ย • แกไ้ ขปญั หาภาวะโภชนาการผดิ ปกติ • ผปู้ ว่ ยไดร้ บั การรกั ษาจากยาสงู สดุ • การใหบ้ รกิ ารดา้ นการดแู ลสุขภาพลดลง • ความรบั ผดิ ชอบทางดา้ นวชิ าชพี น้อยลง

9 Effect of food or drug intake • Drug absorption : อาหารหรอื สารอาหารในกระเพาะและลาไส้อาจทาใหล้ ดการดูดซมึ ของยา โดย การชะลอการยอ่ ยอาหารหรอื จบั กบั อนุภาคของอาหาร อาหารอาจทาหน้าทเ่ี พมิ่ หรอื ยบั ยัง้ การเผา ผลาญของยาบางชนดิ ในรา่ งกาย • Drug excretion : ยาจะถูกขบั ถ่ายออกทางไต • Dietary calcium : สามารถจบั กับยาปฏิชีวนะ “tetracycline” ซ่ึงเป็นยารกั ษาการติดเช้ือ ได้แก่ มาลาเรยี ซฟิ ิลสิ • กรดอะมโิ นในธรรมชาติ สามารถดดู ซมึ กบั “levodopa” ซงึ เป็นยารกั ษาโรคพารก์ นิ สนั ซง่ึ จะไปเพมิ่ สารสอ่ื ประสาทโดพามนิ ในสมอง Absorption Distribution • การรบั ปะทานไฟเบอร์ในปริมาณมากจะรบกวนการดูดซึมของ “Digoxin” ซ่ึงเป็นยากลุ่มของ (Cardiac glycoside) ทม่ี ฤี ทธเิ ์พม่ิ การบบี ตวั ของกลา้ มเน้อื หวั ใจ ใชร้ กั ษาหวั ใจวาย หวั ใจหอ้ งบน • Metabolism : อาหารทม่ี กี ารบ่มหรอื หมกั เชน่ โยเกริ ต์ โดยจะทาปฏกิ ริ ยิ ากบั ยา “Tyramine” ซง่ึ เป็น การยบั ยงั้ เอนไซม์ monoamine oxidase ใชร้ กั ษารควติ กกงั วล โรคพารก์ นิ สนั • Food hight Vit.K (ผกั ตระกูลกะหล่า) ลดประสทิ ธภิ าพของยา “Anticoagulant” ซ่งึ เป็นยาต้านการ แขง็ ตวั ของเลอื ด • ห้ามรบั ประทาน Grapefruit juice พรอ้ มกบั ยาต่อไปน้ี “Cyclosporin” ซง่ึ เป็นยากดภูมคิ ุม้ กนั ใชก้ บั ผู้ป่วยท่ีมีการปลูกถ่ายอวยั วะ เช่น หัวใจ ไต และตับ “Certain statins” ซ่ึงเป็นกลุ่มยาลดคลอ เลสเตอรอล

10 ความรนุ แรงของภาวะนา้ ตาลต้าในเลือดแบง่ ไดเ้ ปน็ 3 ระดบั ระดับ 1 (level 1) glucose alert value หมายถึง ระดบั นา้ ตาลในเลอื ดที ≤ 70 มก./ดล. ระดับ 2 (level 2) clinically significant hypoglycemia หมายถึง ระดับน้าตาลในเลอื ด ที <54 มก./ดล. ระดับ 3 (level 3 ) ภาวะน้าตาลต้าในเลือดระดับรุนแรง หมายถึง การทีผู้ป่วยมีอาการสมองขาด กลูโคสทีรุนแรง (severe cognitive impairment) ซึงตอ้ งอาศัยผ้อู ืนชว่ ยเหลือ ภาวะน้าตาลต้าในเลือดระดบั ไมร่ ุนแรง ให้กินอาหารทีมีคาร์โบไฮเดรต 15 กรัม • กลโู คสเมด็ 3 เมด็ • น้าส้มคนั 180 มล. • นา้ อัดลม 180 มล. • น้าผึง 3 ชอ้ นชา้ • ขนมปงั 1 แผ่นสไลด์ • นมสด 240 มล. • ไอศกรมี 2 สคปู • ขา้ วต้มหรือ โจ๊ก ½ ถ้วยชาม • กล้วย 1 ผล ภาวะน้าตาลต้าในเลือดระดับปานกลาง ใหก้ ินอาหารทีมีคารโ์ บไฮเดรต 30 กรมั • ผู้ป่วยเบาหวานทีมีสายกระเพาะอาหาร หรือสาย PEG สามารถให้น้าหวาน น้าผลไม้ สารละลาย กลููโคส หรืออาหารเหลวทีมีคาร์โบไฮเดรต 15-30 กรมั ทางสายกระเพาะอาหาร หรอื สาย PEG ได้ • ตดิ ตามระดบั กลโู คสในเลือดโดยใช้เครืองตรวจน้าตาลในเลือดชนิดพกพา หรอื point-of-care device (ถ้าสามารถท้าได้) ที 15 นาที หลังกินคาร์โบไฮเดรตครังแรก กินอาหารทีมีคาร์โบไฮเดรต 15 กรัมซ้า ถ้าระดับ กลโู คสในเลือดที 15 นาที หลังกนิ คาร์โบไฮเดรตครงั แรกยังคง <70 มก. /ดล. ทมี า : แนวทางเวชปฏิบตั ิส้าหรบั โรคเบาหวาน 2560 Clinical Practice Guideline for Diabetes 2017

11 ขอ้ ควรปฏบิ ตั เิ พอื ป้องกันกระดกู หักเนอื งจากกระดกู พรุน (Fracture liaison service : FLS) - ควรรับประทานอาหารทีมีแคลเซียมใหเ้ หมาะสม คือ ผู้ทีมอี ายุนอ้ ยกว่าหรอื เทา่ กบั 50 ปี ควรได้รบั แคลเซียม 800 มลิ ลิกรมั ต่อวัน ผู้ทีมีอายุ 51 ปขี ึนไป ควรไดร้ ับแคลเซยี ม 1000 มลิ ลิกรัมต่อวัน - รบั แสงแดดอยา่ งเพียงพอ เพอื ให้ผิวหนงั สรา้ งวิตามินดี จะช่วยใหล้ า้ ไสด้ ดู ซมึ แคลเซียมได้ ตวั อย่างอาหารทมี ีแคลเซียม อ้างอิงจาก รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.บุษบา จินดาวิจักษณ์ ภาควิชาเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหดิ ล เรอื งแคลเซยี มกบั โรคกระดูกพรนุ ตอนที2 ชนิดอาหาร ปริมาณทบี ริโภค ปรมิ าณแคลเซียม (มลิ ลิกรมั ) นมสดยูเอชที 200 ซซี ี (1กลอ่ ง) 240 นมสดเสรมิ แคลเซยี ม 200 ซซี ี (1กลอ่ ง) 280 นมถวั เหลอื ง 250 ซซี ี (1กล่อง) 64 นมเปรยี ว 160 ซซี ี (1ขวด) 160 โยเกรริ ต์ 150 กรมั (1ถว้ ย) 280 กะปิ 136.64 กุ้งแห้งตัวเลก็ 2 ช้อนโตะ๊ 138.30 ปลาสลิด ตม้ 1 ช้อนโต๊ะ 153.42 ปลาฉงิ ฉา้ ง ทอด 2 ชอ้ นโตะ๊ 186.75 ไข่ไก่ ตม้ 2 ช้อนโตะ๊ 205.56 ไข่เป็ด ตม้ 225.76 เต้าหขู้ าว ออ่ น ตม้ 1 ฟอง 243.63 เตา้ หขู้ าว แขง็ ตม้ 1 ฟอง 258.75 ผกั คะน้า ผัด 3 ช้อนโตะ๊ 319.26 ผักกาดเขยี ว ตม้ 3 ช้อนโตะ๊ 411.86 ผกั กวางตงุ้ ตม้ 5 ช้อนโตะ๊ 450.06 ใบยอ ตม้ 5 ช้อนโตะ๊ 198.20 5 ช้อนโตะ๊ ½ ทัพพี

12 ใบชะพลู 70 กรมั 390.70 มะเขอื พวง 2 ชอ้ นโต๊ะ 243.62 อา้ งอิงจาก : โปรแกรมINMUCAL-N การค้านวณพลงั งานจากนา้ ยาลา้ งไตผา่ นช่องทอ้ ง CAPD ความเขม้ ขน้ ของนา้ ยาลา้ งไต Glucose/2 L (g) absorption rate calories/2 L (%w/v) (~60%) (Kcal) 67 1.5% 30 18 110 190 2.5% 50 30 4.25% 85 51 *Kcal คิดจาก Glucose 1 g = 3.7 kcal ธาลัสซีเมีย (Thalassemia) ธาลัสซีเมีย (Thalassemia) เป็นโรคโลหิตจางทีมีสาเหตุจากความผิดปกติทางพันธุกรรมระดับยีน ท้าให้ การสร้างฮีโมโกบิล (Hemoglobin; Hb) ซึงเป็นโปรตีนทีเป็นส่วนประกอบส้าคัญของเม็ดเลือดแดงผิดปกติ ส่งผล ให้เม็ดเลือดแดงมีอายุสัน แตกง่าย ถูกท้าลายง่าย จัดเป็นโรคโลหิตจางทางพันธุกรรมทีพบบ่อยทีสุดในโลก Vichinsky EP. Changing patterns of thalassemia worldwide. Annals of the New York Academy of Sciences. 2005;1054:18-24. อาหารทีเหมาะสมส้าหรับผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมีย คืออาหารทีมีโปรตีน และกรดโฟลิก (Folic acid) สูง เพือช่วยในการสรา้ งเมด็ เลอื ดแดง ปรมิ าณโฟเลทในอาหาร อาหาร ปรมิ าณโฟเลท (ไมโครกรมั ต่อ 35 กรัม หรือ ½ ส่วน) ต้าลึง 42.70 ใบกุ๋ยชา่ ย 50.75 ผักกาดหอม 36.75

13 คนื ชา่ ย 39.90 ดอกกะหลา้ 32.90 มะเขือเทศ 8.61 ถวั เขียว 53.55 ถวั แดง 49.70 ถวั เหลอื ง 62.65 อา้ งองิ จาก : ผศ.ภญ.ดร.กุลวรา เมฆสวรรค์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรอื ง โภชนาการผปู้ ่วยธาลสั ซีเมยี อาหารทีควรหลกี เลยี งส้าหรบั ผ้ปู ่วยโรคธาลสั ซเี มีย คืออาหารทีมธี าตุเหลก็ สงู ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ทมี ีปริมาณธาตุเหลก็ สงู เนือสัตว์ ปริมาณธาตเุ หลก็ (มิลลิกรัม สัตว์นา้ ปริมาณธาตุเหลก็ (มลิ ลกิ รัม ต่อ 40 กรัมหรือ 1 ส่วน) ต่อ 40 กรมั หรอื 1 สว่ น) ปอดหมู 47.6 ก้งุ ฝอยสด 28.0 เลือดหมู 25.9 หอยโขม 25.2 หมหู ยอง 17.8 หอยแมลงภู่ 15.6 ตับหมู 10.5 หอยแครง 6.4 น่องไกบ่ ้าน 7.8 ปลาดุก 8.1 เนอื วัวเคม็ ทอด 7.5 ปลาชอ่ น 5.8 กบแหง้ 3.8 ปลาตะเพียน 5.6

14 ผลิตภัณฑ์จากธัญพืชและเห็ดทีมปี ริมาณธาตุเหล็กสงู ธญั พชื และ ปรมิ าณธาตุเหล็ก ผักและเหด็ ปริมาณธาตุเหลก็ ของวา่ ง (มิลลิกรมั ต่อ 100 กรัม) (มลิ ลิกรมั ต่อ 100 กรัม) ดาร์กชอ็ กโกแลต 17.0 ผกั กูด 36.3 ถวั ดา้ 16.5 ใบแมงลัก 17.2 เต้าเจยี ว 15.2 ใบกระเพาแดง 15.1 เมล็ดฟักทอง 15.0 ยอดมะกอก 9.9 ถวั ลสิ ง 13.8 ดอกโสน 8.2 งาขาว 13.0 ใบชะพลู 7.6 ถวั แดง 10.5 ต้นหอม 7.3 ลูกเดือย 10.0 มะเขือพวง 7.1 งาด้า 9.9 เห็ดหหู นู 6.1 จมูกขา้ วสาลี 6.8 ยอดอ่อนขีเหล็ก 5.8 ขา้ วโอ๊ต 6.5 ผักกระเฉด 5.3 อา้ งอิงจาก : ผศ. ดร. ภญ. ปยิ นุช โรจน์สงา่ ภาควชิ าเภสชั เคมี คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหิดล เรอื ง บทความเผยแพร่ความรู้สปู่ ระชาชน ธาลัสซีเมยี (Thalassemia)...กินอย่างไรให้เหมาะสม หมายเหตุ : ควรหลีกเลียงการรับประทานอาหารรว่ มกับอาหารทีมีวิตามินสูง เช่น ส้ม มะเขือเทศ เพราะ วิตามินซีจะช่วยในการดูดซึมธาตุเหล็ก และควรรับประทานร่วมกับอาหารทีลดการดูดซึกธาตุเหล็ก เช่น ชา และ นมถัวเหลอื ง การค้านวณพลังงาน Resting Energy Expenditure (joint FAO/WHO/UNU) อายุ(ป)ี เพศชาย เพศหญิง 0-3 (60.9xkg)-54 (61.0xkg)-51 3-10 (22.7xkg)+495 (22.5xkg)+499 10-18 (17.5xkg)+651 (12.2xkg)+746 18-30 (15.3xkg)+679 (14.7xkg)+496

15 30-60 (11.6xkg)+879 (8.7xkg)+829 >60 (13.5xkg)+487 (10.5xkg)+596 -World Health organization. Energy and protein requirements. Geneva: World Health organization, 1985. Technical report Series No. 724. BMR ค้านวณจาก Schofield Equations อายุ (ป)ี เพศชาย เพศหญงิ 0-3 0.167W+15.174H-617.6 16.252W+10.232H-413.5 3-10 19.59W+1.303H+414.9 16.969W+1.618H+371.2 10-18 16.25W+1.372H+515.5 8.365W+4.65H+200 W=weight(kg), H=height(cm) -Schofield WN. Predicting basal metabolic rate, new standard and review of previous work. Hum Nutr Clin Nutr 1985; 39 (Suppl 1): 5-41. Classifications of nutritional status ดชั นี Normal Mild Moderate Severe Nutrition status %W/A >90 75-90 60-75 <50 Underweight %W/H >90 80-90 70-80 <70 Wasting %H/A >95 90-95 85-90 <85 Stunting -Gomez F, Galvan RR, Cravioto J, Frenk S. Malnutrition in infancy and childhood, with special reference to kwashiorkor. Adv Prediatr. 1955;7:131-169 -Warelow JC. Classification and definition of protein-calorie malnutrition. Br Med J. 1972;3(5826):566-9. Overweight and obesity วินจิ ฉยั โดยใชเ้ กณฑอ์ า้ งองิ ได้ 2 แบบ 1. ใชก้ ราฟหรือตารางคา่ อ้างองิ BMI ตามอายุ และเพศขององค์การอนามยั โลก เนอื งจากขณะนยี งั ไม่มีเกณฑ์ อ้างอิง BMI ส้าหรบั เดก็ ไทย 2. ใช้คา่ น้าหนกั ตามเกณฑ์สว่ นสูง

16 %W/H* >110-120 >120-140 >140-160 >160-200 >200 Nutritional Overweight Mild obesity Moderate Severe Morbid status* นา้ หนักเกนิ อ้วนเลก็ น้อย obesity obesity obesity อ้วนปานกลาง อว้ นมาก อว้ นรุนแรง เปรียบเทยี บกับกราฟ** Overweight Obesity Morbid กรมอนามยั พ.ศ. 2542 เรมิ อ้วน โรคอ้วน obesity โรคอ้วนรนุ แรง * ค่า%W/H เปน็ การประเมินความรนุ แรงของโรคอว้ นในเด็ก ในทางเวชปฏบิ ัติ **จากการเปรียบเทยี บกับกราฟเกณฑอ์ ้างองิ การเจริญเติบโตของเดก็ ไทย กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2542 พบวา่ เดก็ ทไี ด้รับการวนิ ิจฉัยว่าเป็น “โรคอ้วน” คอื น้าหนักตามเกณฑส์ ่วนสูงมากกว่าค่ามัธย ฐาน +3SD จะมีน้าหนักคิดเป็น 135-153 % ของค่า ideal weight for height (W/H) และ +2SD จะมีนา้ หนกั คดิ เปน็ 122-135 %W/H ดังนนั ถ้าใช้เกณฑ์เดิมตามตาราง จะท้าให้การวินจิ ฉยั โรคอ้วนในเดก็ ไทยมากเกิน กว่าทีควรจะเป็น อ้างอิงจากแนวทางการดแู ลรกั ษาและป้องกันภาวะโภชนาการเกนิ ในเดก็ ชมรมโภชนาการเด็กแห่ง ประเทศไทย

17 DASH diet DASH Diet (Dietary Approaches to Stop Hypertension Diet) โ ด ย ชื อ DASH Diet ห ม า ย ถึ ง แนวทางโภชนาการเพอื หยุดความดันโลหติ สูง หลักการ : ลดการบริโภคอาหารทีมีเกลือโซเดียม ไขมันอิมตัว ไขมันรวมและคอเรสเตอรอลลง และเพิม การรบั ประทานใยอาหาร โปรตนี แคลเซยี ม แร่ธาตตุ า่ งๆอยา่ ง โปแตสเซียมและแมกนีเซียม รวมถงึ ปรมิ าณสารไน เตรททมี ีผลการศึกษาถงึ การลดความดันโลหติ สูงได้ สัดสว่ นการรับประทานอาหารตามหลกั DASH ใน 1 วัน : ชนิดอาหาร สัดสว่ น ธัญพืชชนดิ ตา่ งๆ โดยเนน้ เปน็ ธัญพืชไม่ขัดสี 7-8 ส่วนบรโิ ภค (หรอื ประมาณ 7-8 ทพั พี) ผกั และผลไม้ อย่างละ 4-5 สว่ นบรโิ ภค (หรือประมาณ 4-5 ทัพพี และผลไม้ 3-4 ส่วน) เนือสัตวไ์ ขมนั ตา้ อย่างเนอื ปลา 2-3 ส่วนบรโิ ภค (หรือประมาณ 4-6 ช้อนกินข้าว) ลดการรบั ประทานสตั ว์เนือแดง การตัดส่วนไขมนั หรือ หนงั ของเนือสตั ว์และเลือกรับประทานเนือสตั ว์ไขมนั ตา้ นา้ มันหรอื ไขมนั 2-3 ส่วนบริโภค (หรือไมเ่ กนิ 6 ช้อนชา) ถวั ชนดิ ต่างๆ เช่น อลั มอนด์ ถัวเลนทิล 4-5 ส่วนบรโิ ภค(หรอื ประมาณ 4-5 ฝ่ามือ)ต่อสัปดาห์ ของหวานชนดิ ตา่ งๆ ไมเ่ กิน 5 ส่วนบริโภคตอ่ สัปดาห์* แนะน้าให้ รบั ประทานนานๆครัง แนะนา้ ใหใ้ ชเ้ ครอื งเทศหรือสมนุ ไพรต่างๆในการเสริม รสชาตอิ าหาร และลดการใช้เกลือหรือเครอื งปรุงทมี ี โซเดียมสงู ในการปรงุ แต่งอาหาร -Mayo Clinic Staff. DASH diet: Healthy eating to lower your blood pressure [online document]. http://www.mayoclinic.org/healthy-lifestyle/nutrition-and-healthy-eating/in-depth/dash-diet/art-20048456. October 3, 2017. -Siervo, M., Lara, J., Chowdhury, S., Ashor, A., Oggioni, C., & Mathers, J. (2015). Effects of the Dietary Approach to Stop Hypertension (DASH) diet on cardiovascular risk factors: A systematic review and meta-analysis. British Journal of Nutrition, 113(1), 1-15. doi:10.1017/S0007114514003341.

18 (นิพาวรรณ, มปป)

19 ทมี า : national cholesterol Education Program Adult Treatment Panel III, 2001 TLC ยอ่ มาจาก Therapeutic Lifestyle Change Diet เปน็ วิธีการดแู ลทางโภชนบา้ บัดทางการแพทย์วธิ หี นงึ ทมี ี ประสิทธภิ าพในการดูแลผู้ปว่ ยทมี ภี าวะไขมันในเลือดผดิ ปกตไิ ด้เปน็ อยา่ งดี

20 Screening and assessment tool Screening tool เครืองมือ อ้างองิ Malnutrition Screening Tool (MST) Ferguson et al. (1999) Mini Nutritional Assessment Short-Form (MNA-SF) Rubenstein et al. (2001) Nutritional Risk Screening (NRS 2002) Kondrup et al. (2003) Malnutrition Universal Screening Tool (MUST) Short Nutritional Assessment Questionnaire (SNAQ) Stratton et al. (2004) Bhumibol Nutrition Triage (BNT/NT) Kruizenga et al. (2005) Chittawatanarat et al. (2016) MST

21 NRS If the answer is ‘Yes’ to any question, the screening in Table 2 is performed

22 MUST BMI Score >20 0 1 18.5-20 2 <18.5 0 Unplanned weight loss in past 3-6 months 1 <5% 2 2 5-10% >10% If patient is acutely ill and there has been or is likely to be no nutritional intake for >5 days total SNAQ

Assessment tool 23 เครอื งมอื อา้ งองิ Subjective Global Assessment (SGA) Detsky et al. (1999) Mini Nutritional Assessment (MNA) Guigoz et al. (2001) Patient generated subjective global assessment (PG-SGA) Ottery et al. (2004) Nutrition Alert Form (NAF) Komindrg et al. (2005) Bhumibol Nutrition Triage (BNT/NT) Chittawatanarat et al. (2016)

24

25

26

27

28

29 การแปลผลเครอื งมือคัดกรองและประเมนิ ภาวะโภชนาการ Screening Tools คะแนน เกณฑ์ No risk of malnutrition Malnutrition Screening Tool (MST) 0-1 Risk of malnutrition ≥2 Normal Mini Nutritional Assessment Short-Form 12-14 At risk of malnutrition (MNA-SF) 8-11 0-7 Malnourished Normal Nutritional Risk Screening (NRS 2002) 0-2 3 Nutritionally at-risk Low risk 0

30 Malnutrition Universal Screening Tool 1 Medium risk (MUST) ≥2 High risk Short Nutritional Assessment Questionnaire 0-1 (SNAQ) 2 Well nourished Bhumibol Nutrition Triage (BNT/NT) ≥3 Moderately malnourished Assessment Tools 0 Severely malnourished Subjective Global Assessment (SGA) ≥1 คะแนน Normal Mini Nutritional Assessment (MNA) A Nutritionally at-risk B Patient generated subjective global C เกณฑ์ assessment (PG-SGA) 24-30 Normal 17-23.5 Mild-Moderate Malnutrition Nutrition Alert Form (NAF) 0-16 Severe Malnutrition A Normal Bhumibol Nutrition Triage (BNT/NT) B Risk of malnutrition C Malnutrition 0-5 Normal 6-10 Moderate Malnutrition ≥11 Severe Malnutrition 0-4 Normal-Mild Malnutrition 5-7 Moderate Malnutrition 8-10 Severe Malnutrition ≥11 Normal Mild Malnutrition Moderate Malnutrition Severe Malnutrition ค่าในการวนิ ิจฉยั และเปา้ หมายในการติดตามโรคเบาหวาน โรคเบาหวาน ตารางการแปลผลระดับพลาสมากลูโคสและ A1C เพอื การวนิ จิ ฉยั ปกติ ระดบั นา้ ตาลในเลอื ดทเี พมิ ความเสยี งการ เปน็ เบาหวาน

31 พลาสมากลโู คสขณะอด <100 มก./ดล. impaired impaired glucose ≥126 มก./ดล. อาหาร (FPG) <140 มก./ดล. fasting glucose tolerance (IGT) พลาสมากลูโคสที 2 - (IFG) - ชัวโมงหลัง ดืมน้าตาล < 5.7 % 100-125 มก./ดล. กลโู คส 75 กรัม 2 h-PG (OGTT) - 140-199 มก./ดล. ≥200 มก./ดล. พลาสมากลูโคสทเี วลาใดๆ ในผทู้ ีมอี าการชัดเจน -- ≥200 มก./ดล. ฮโี มโกลบินเอวนั ซี (A1C) 5.7-6.4% ≥6.5% *IFG เปน็ ภาวะระดบั น้าตาลในเลอื ดขณะอดอาหารผดิ ปกติ *IGT เปน็ ภาวะระดบั นา้ ตาลในเลือดสูงหลงั ไดร้ บั กลูโคส

32 เปา้ หมายในการตดิ ตามโรคเบาหวาน เปา้ หมายการควบคุมเบาหวานส้าหรับผู้ใหญ่ การควบคมุ เบาหวาน เป้าหมาย ควบคมุ ไม่เข้มงวด ควบคุมเข้มงวดมาก ควบคมุ เข้มงวด ระดับน้าตาลในเลือดขณะอดอาหาร >70-110 มก./ดล. 80-130 มก./ดล 140-170 มก./ดล ระดบั นา้ ตาลในเลือดหลงั อาหาร 2 ชวั โมง <140 มก./ดล - - ระดบั น้าตาลในเลือดสงู สดุ หลังอาหาร - <180 มก./ดล - A1C (% of total hemoglobin) <6.5% <7.0% 7.0-8.0% เป้าหมายในการควบคมุ ระดบั นา้ ตาลในเลือดสา้ หรับผปู้ ่วยเบาหวานสูงอายุ และผู้ป่วยระยะสุดทา้ ย สภาวะผูป้ ่วยเบาหวานสงู อายุ เปา้ หมายระดับ A1C ผู้มีสขุ ภาพดี ไมม่ ีโรคร่วม <7% ผมู้ ีโรครว่ ม ชว่ ยเหลือตัวเองได้ 7.0-7.5% ผู้ปว่ ยทตี ้องได้รับการชว่ ยเหลอื มีภาวะเปราะบาง ไมเ่ กนิ 8.5% มภี าวะสมองเสือม ไม่เกนิ 8.5% ผู้ปว่ ยทคี าดว่าจะมชี ีวติ อยู่ได้ไมน่ าน หลกี เลียงภาวะน้าตาลในเลอื ดสูงจนท้าให้เกดิ อาการ

33 เป้าหมายการควบคมุ ปัจจยั เสียงของภาวะแทรกซอ้ นทีหลอดเลือด การควบคมุ /การปฏิบตั ติ ัว เป้าหมาย ระดับไขมนั ในเลือด* <100 มก./ดล ระดับไขมนั ในเลือด ระดบั แอล ดี แอลคเลสเตอรอล* <150 มก./ดล. ระดับไตรกลเี ซอไรด์ ≥40 มก./ดล ระดับ เอช ดี แอล คอเลสเตอรอล: ผูช้ าย ≥ 50 มก./ดล ผ้หู ญิง <140 มม.ปรอท <90 มม.ปรอท ความดันโลหิต** ความดันโลหิตซสิ โตลิค (systolic BP) 18.5-22.9 กก./ม.² หรือใกล้เคียง ความดันโลหติ ไดแอสโตลิค (diastolic BP) ไม่เกนิ สว่ นสงู หารด้วย 2 น้าหนักตัว <90 ซม. ดัชนีมวลกาย <80 ซม. รอบเอวจา้ เพาะบุคคล (ทังสองเพศ)*** ไมส่ ูบบหุ รแี ละหลกี เลียงการรบั ควนั บหุ รี รอบเอว : ผชู้ าย ตามคา้ แนะน้าของแพทย์ ผหู้ ญิง การสบู บุหรี การออกกา้ ลังกาย * ถ้ามีโรคหลอดเลือดหัวใจหรือมีปัจจัยเสยี งของโรคหลอดเลือดหัวใจหลายอย่างร่วมดว้ ยควรควบคมุ ให้ LDL-C ตา้ กว่า 70 มก./ดล. ** ผู้ป่วยทีมีความเสียงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ความดันโลหิตซิสโตลิคไม่ควรต้ากว่า 110 มม. ปรอท ผู้ป่วย ทีอายุน้อยกว่า 40 ปีหรือมีภาวะแทรกซ้อนทางไตร่วมด้วยควรควบคุมความดันโลหิตให้น้อยกว่า 130/80 มม.ปรอท ถ้าไมท่ ้าให้เกดิ ภาวะแทรกซอ้ นของการรกั ษา

34 การตรวจวินิจฉยั โรคและตรวจคดั กรองเบาหวานขณะตงั ครรภ์ เกณฑ์ของ Carpenter และ Coustan หญิงตังครรภ์ดมื น้าทลี ะลายนา้ ตาลกลโู คส 100 กรัม (100 gm OGTT) เวลา ระดบั นา้ ตาลในเลือด (มก./ดล.) กอ่ นดืมนา้ ตาล 100 กรมั 95 หลงั ดืมนา้ ตาล 1 ชวั โมง 180 หลังดืมน้าตาล 2 ชัวโมง 155 หลังดมื นา้ ตาล 3 ชัวโมง 140 *ตังแต่ 2 คา่ ขนึ ไปจะถอื ว่าเป็นโรคเบาหวาน ขณะตงั ครรภ์ - เกณฑ์ของ International Diabetes Federation (IDF) หญิงตงั ครรภด์ มื นา้ ทลี ะลายน้าตาลกลโู คส 75 กรมั (75 gm OGTT) เวลา ระดับน้าตาลในเลือด (มก./ดล.) กอ่ นดืมนา้ ตาล 100 กรมั 92 หลงั ดืมนา้ ตาล 1 ชัวโมง 180 หลงั ดมื นา้ ตาล 2 ชวั โมง 153 *ตังแต่ 1 ค่าขนึ ไปจะถอื ว่าเป็นโรคเบาหวานขณะตังครรภ์ เปา้ หมายของระดับน้าตาลในเลอื ดของผ้ปู ่วยเบาหวานขณะตังครรภ์ เวลา ระดับน้าตาลในเลือด (มก./ดล.) ก่อนอาหารเชา้ อาหารมืออืน และก่อนนอน 60-95 หลงั อาหาร 1 ชวั โมง <140 หลังอาหาร 2 ชวั โมง <120 เวลา 02.00 – 04.00 น. >60 ทมี า: แนวทางเวชปฏบิ ตั ิส้าหรบั โรคเบาหวาน 2559

35 คา่ ในการวนิ ิจฉัยความดันโลหิตสงู ตารางการจ้าแนกโรคความดันโลหติ สูงตามความรุนแรงในผใู้ หญ่อายุ18 ปี ขึนไป Category SBP DBP (มม.ปรอท) (มม.ปรอท) Optimal < 120 และ < 80 Normal 120-129 และ/หรือ 80/84 High normal 130-139 และ/หรอื 85-89 Grade 1 hypertension (mild) 140-159 และ/หรือ 90-99 Grade 2 hypertension (moderate) 160-179 และ/หรือ 100-109 Grate 3 hypertension (severe) >180 และ/หรือ >110 Isolated systolic hypertension (ISH) >140 และ < 90 หมายเหตุ:SBP = systolic blood pressure; DBP = diastolic blood pressure. เมือความรุนแรงของ SBP และ DBP อยู่ต่างระดับกัน ให้ ถือระดับทีรุนแรงกว่าเป็นเกณฑ์ ส้าหรับ ISH ก็แบ่งระดับ ความรุนแรงเหมือนกัน โดยใชแ้ ต่SBP ทีมา:แนวทางการรกั ษาโรคความดันโลหิตสงู ในเวชปฏบิ ตั ทิ วั ไป พ.ศ.2558

36 Classification of Blood Cholesterol Levels คา่ ทีใชใ้ นการติดตาม

37 Source: American Association Of Clinical Endocrinologists Medical Guidelines for Clinical Practice, 2012 การแบง่ ระยะของCKD พยากรณโรคไตเรอื รงั ตามความสมั พนั ธของ GFR และระดบั อลั บูมินในปสสาวะ ทีมา:คา้ แนะน้าส้าหรับการดูแลผ้ปู ว่ ยโรคไตเรอื รังก่อนการบ้าบัดทดแทนไต พ.ศ.2558

38 การตรวจระดับน้าตาลในเลอื ดด้วยตนเอง ขอ้ บ่งชกี ารทา้ SMBG 1. ผู้ปว่ ยเบาหวานทีมีความจา้ เป็นในการท้า SMBG 1.1 ผู้ทีต้องการคุมเบาหวานอย่างเข้มงวด ได้แก่ ผู้ป่วยเบาหวานทีมีครรภ์ (pre-gestational DM) และ ผู้ปว่ ยเบาหวานขณะตังครรภ์ (gestational DM) 1.2 ผูป้ ่วยเบาหวานชนดิ ที 1 1.3 ผปู้ ่วยเบาหวานทีมีภาวะน้าตาลต้าในเลือดบ่อยๆ หรอื รุนแรง หรือมภี าวะน้าตาลต้าในเลือด โดยไม่มี อาการเตือน 2. ผปู้ ่วยเบาหวานทคี วรทา้ SMBG 2.1 ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที 2 ซึงไดร้ ับการรกั ษาดว้ ยการฉดี อินซูลิน 3. ผู้ปว่ ยเบาหวานทีอาจพจิ ารณาใหท้ า้ SMBG 3.1 ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที 2 ซึงไม่ได้ฉีดอินซูลินแต่เบาหวานควบคุมไม่ได้ พิจารณาให้ท้า SMBG เมือ ผู้ป่วย และ/หรือผู้ดูแลพร้อมทีจะเรยี นรู้ ฝึกทักษะ และน้าผลจาก SMBG มาใช้ปรับเปลียน พฤติกรรมเพือควบคุม ระดบั น้าตาลในเลอื ดให้ได้ตามเป้าหมาย 3.2 ผู้ทีเพิงได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวาน เพือเรียนรู้ในการดูแลตนเองทังเรืองอาหาร การออกก้าลัง กาย หรือได้ยาลดระดับน้าตาลในเลือดให้เหมาะสมกับกจิ วตั รประจ้าวนั ความถขี องการท้า SMBG ความถขี องการทา้ SMBG 1. ผู้ป่วยเบาหวานระหวา่ งการตังครรภ์ควรท้า SMBG ก่อนอาหารและหลังอาหาร 1 หรือ 2 ชัวโมง ทัง 3 มอื และก่อนนอน (วันละ 7 ครัง) อาจลดจ้านวนครังลงเมือควบคุมระดบั นา้ ตาลในเลอื ดไดด้ ี 2. ผปู้ ่วยเบาหวานชนิดที 1 ทีได้รับการรกั ษาดว้ ย insulin pump ควรท้า SMBG วันละ 4-6 ครงั 3. ผปู้ ่วยเบาหวานทฉี ีดอนิ ซลู ินตังแต่ 3 ครังขึนไป ควรทา้ SMBG ก่อนอาหาร 3 มือทกุ วัน ควรทา้ SMBG ก่อนนอน และหลังอาหาร 2 ชม.เป็นครังคราว หากสงสัยว่ามีภาวะน้าตาลต้าในเลือดกลางดึกหรือมี ความเสียงที จะเกดิ ควรตรวจระดับนา้ ตาลในเลอื ดชว่ งเวลา 02.00-04.00 น.

39 4. ผปู้ ว่ ยเบาหวานทฉี ดี อนิ ซลู ินวนั ละ 2 ครัง ควรท้า SMBG อยา่ งนอ้ ยวันละ 2 ครงั โดยตรวจก่อน อาหาร เช้าและเย็น อาจมีการตรวจก่อนอาหารและหลังอาหารมืออืนๆ เพือดูแนวโน้มการเปลียนแปลงของ ระดับน้าตาล ในเลือด และใช้เป็นข้อมลู ในการปรับยา 5. ควรท้า SMBG เมือสงสัยว่ามีภาวะน้าตาลต้าในเลือดและหลังจากให้การรักษาจนกว่าระดับน้าตาล ใน เลอื ดจะกลับมาปกตหิ รือใกล้เคียงปกติ 6. ควรท้า SMBG ก่อนและหลังการออกก้าลังกาย หรือกิจกรรมทีมีความเสียง เช่น การขับรถ ในผู้ป่วย เบาหวานทีได้รับยาซงึ มคี วามเสียงทีจะเกดิ ภาวะนา้ ตาลต้าในเลอื ด 7. ในภาวะเจ็บป่วยควรท้า SMBG อย่างน้อยวันละ 4 ครัง ทุก 4 ถึง 6 ชัวโมง หรือก่อนมืออาหาร เพือ คน้ หาแนวโน้มทจี ะเกิดภาวะน้าตาลต้าในเลือดหรอื ระดับน้าตาลในเลือดสูงเกนิ ควร 8. ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที 2 ซึงฉีดอินซูลินก่อนนอน ควรท้า SMBG ก่อนอาหารเช้าทุกวันหรืออย่าง น้อย 3 ครัง/สัปดาห์ในช่วงทีมีการปรับขนาดอินซูลิน อาจมีการท้า SMBG ก่อนและหลังอาหารมืออืนๆ สลับกัน เพือดแู นวโนม้ การเปลยี นแปลงของระดบั น้าตาลในเลือด ถ้ายังไม่ได้คา่ A1C ตามเป้าหมาย ทีมา: แนวทางเวชปฏิบตั ิสา้ หรบั โรคเบาหวาน 2559

Nutrient or food type recommendation Meal planning tips Energy Intake should be sufficient to Include 3 small- to moder4at0e promote adequate , but not excessive , weight gain to support sized meals and 2-4 snacks. Space fetal development and to avoid snacks and meals least 2 hours ketonuria . Daily minimum of 1700- apart. A bedtime snack ( or even 1800 kcal is an appropriate starting a snack in the middle of the goal night) is recommended to diminish of hours fasting. Carbohydrate A minimum of 175 g CHO daily , Common carbohydrate guidelines Protein allowing for the approximately 33 : 2 carbohydrate choices (15-30 g) needed for fetal brain development. at breakfast , 3-4 choices (45-60g) Recommendations are based on for lunch and evening meal, 1-2 effect of intake on blood glucose choices (15 to 30 g) for snacks. levels. Intake should be distributed Recommendations should be throughout the day. Frequent modified based on individual feedings, smaller portions, with assessment and blood glucose intake sufficient to avoid ketonuria. self-monitoring test results. Protein foods do not raise post- 1.1 g/kg meal blood glucose levels. Add protein to meals and snacks to help provide enough calories and to satisfy appetite.

41 กา้ หนดคาร์บในแต่ละมือส้าหรบั หญงิ ตงั ครรภ์ (GDM) Fat Limit saturated fat. Fat intake may be increased because of increased protein take; focus on leanerprotein choices. Sodium Not routinely restricted Fiber For relief of constipation , gradually Use whole grains and raw fruits increase intake and increase fluids. and vegetables.Activity and fluids help relieve constipation. Non-nutritive sweeteners Use only FDA-approved sweeteners. Saccharin crosses the placenta but has not been shown to be harmful Vitamins and mineral Preconception folate . Assess for Take prenatal vitamin, if it causes specific individual need : nausea,try taking at bedtime. multivitamin throughout pregnancy ,iron at12 weeks, and calcium, especially in the last trimester and while lactating Alcohol Avoid all alcohol even in cooking

42 BMI ผสู้ ูงอายุ BMI (kg/m2 ) ภาวะโภชนาการ 18.5-19.9 ผอม 17.0-18.4 16.0-16.9 ระดบั 1 ระดบั 2 <16 ระดับ 3 18.5-24.9 ระดับ 4 ปกติ 25.0-29.9 อว้ น 30.0-39.9 ระดับ 1 ระดับ 2 >40.0 ระดบั 3 ค้านวณIBWอยา่ งง่าย - ชาย: IBW (kg) = ส่วนสูง (cm) –105 - หญงิ : IBW(kg) = ส่วนสงู (cm) - 110 นา้ หนกั ทีลดลงโดยไมไ่ ดต้ งั ใจ (%weight loss) ระยะเวลา 1 สปั ดาห์ ลดลง 1-2% 1 เดอื น ลดลง 5% 3 เดือน ลดลง 7.5% 6 เดือน ลดลง 10%

43 ศพั ท์ทางการแพทย์ A Atrial Fibrillation (AF) โรคหัวใจเต้นผิดจงั หวะ ไมส่ มา้ เสมอ Asthma โรคหอบหืด Ante natal care (ANC) การดแู ลกอ่ นคลอด(การฝากครรภ)์ Allergy โรคภมู ิแพ้,แพ้ Acute Gastroenteritis (AGE) ล้าไส้อกั เสบฉับพลัน Acidosis ภาวะเลอื ดเป็นกรด Acute Renal Failure (ARF) ไตวายฉับพลนั Atherosclerotic heart disease โรค หลอดเลือดแดงหัวใจแข็ง B Burns แผลไหม้ Blunt chest ไดร้ บั การกระแทกที หน้าอก Blood pressure (BP) ความดนั โลหติ Benign Prostatic Hyperplasia (BPH) โรคตอ่ มลกู หมากโต Basal ganglia ปมประสาท ทีมหี นา้ ทีเกียวข้องกบั การสงั การการเคลือนไหวของรา่ งกาย การเรียนรู้ การตัดสินใจ และกจิ เกียวกบั อารมณ์ความรู้สกึ C C-Spine injury การบาดเจบ็ ทกี ระดกู ตน้ คอ Crushing การบดทับ Concussion สมองกระทบกระเทอื น Coma ภาวะหมดสติ ไมร่ ู้สกึ ตวั Complication โรคแทรกซ้อน Cesarian Section (C/S) การผ่าคลอด Chief Complaint (CC)ประวัติสา้ คญั ทมี าโรงพยาบาล Computed Tomography (CT) การ ตรวจเอ็กซเ์ รยค์ อมพวิ เตอร์ Cerebrovascular Accident (CVA) โรคทางหลอดเลอื ดสมอง Constipation ท้องผูก Coronary Care Unit (CCU) หออภิบาลผู้ปว่ ยหนักเฉพาะโรคหวั ใจ Colonic polyp ตงิ เนือทลี า้ ไสใ้ หญ่ Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis (CAPD) การลา้ งไตทางช่องท้องชนิดต่อเนืองด้วยตนเอง CTF (Capture the fracture) เป็นโครงการดูและผู้ป่วยโรคกระดกู หกั จากโรคกระดูกพรนุ โดยทมี สหวิชาชพี ปัจจบุ ันใช้ค้าวา่ FLS (Fracture Liaison service) D Dyslipidemia (DLD) โรคไขมนั ในเลือดสูง Diagnosis (Dx) การวนิ จิ ฉัยโรค Dyspnea หอบเหนอื ย Discharge ผปู้ ว่ ยออกจาก โรงพยาบาลแล้ว

44 E Emergency room (E.R) หอ้ งฉกุ เฉนิ F Fracture การแตกหักของกระดูก Fracture Femur กระดูกต้นขา หกั Follow up (F/U) นดั ตรวจติดตามอาการ Family history (FH) ประวตั ิการเจบ็ ป่วย ของคนในครอบครวั G General Appearance (GA) ลกั ษณะภายนอกทวั ไป Global aphasia เปน็ ความผดิ ปกติของภาษาพดู เกดิ จากพยาธสิ ภาพทสี มอง ผู้ป่วยจะพดู ไมค่ ล่อง ไม่ชดั และมี ปัญหาเรอื งความเข้าใจ H Head injury การไดร้ ับบาดเจบ็ ทีศรี ษะ Hemodialysis ห้องลา้ งไต HT (Hypertension) ความดันโลหติ สูง I In patient Department (IPD) แผนกรกั ษาผปู้ ว่ ยใน Infection การติดเชือ Intake/Outtake (I/O) ปรมิ าณน้าเขา้ ออกในแตล่ ะวัน Intensive care unit (I.C.U) หออภิบาล ผู้ปว่ ยหนกั รวม Ischemic stroke โรคหลอดเลอื ดสมองตบี หรืออุดตัน Intracerebal hemorrhage โรคหลอดเลอื ดสมองแตกจากการฉีกขาดของหลอดเลือดในสมอง J Jaundice ดซี า่ น K L Labour room (L.R) ห้องคลอด LN (Lupus Nephritis) โรคไตทีเป็น ผลกระทบจากโรค SLE M Medication (MED) อายุรกรรม Morbid obesity ภาวะอว้ นอยา่ งรนุ แรง

45 N Nervous System (N/S) สัญญาณชพี ทางระบบประสาท Not applicable (N/A) ไม่มีข้อมูล Nephrotic syndrome (NS) ไตอักเสบ Nasogastric Tube (NG Tube) การใสส่ าย ยางทางจมูกถงึ กระเพาะ NASH (Nonalcoholic steatohepatitis) เปน็ ภาวะทีมไี ขมันสะสมในตบั รวมกบั การอักเสบ Non-ST Elevated Myocardial Infarction (NSTEMI) ภาวะหวั ใจขาดเลือดเฉยี บพลัน O สงั เกตอาการ Orthopedic (ORTHO) กระดูกและข้อ Observe Out Patient Department (OPD) แผนกผปู้ ่วยนอก Operating room (O.R) ผา่ ตัด ORIF (Open Reduction Internal Fixation) การผ่าตดั กระดกู ใหเ้ ข้าที โดยการตรึงกระดกู ทีหกั ดว้ ยโลหะซงึ จะ ใส่อย่ภู ายนอกรา่ งกายของผปู้ ่วย P Pneumothorax ภาวะลมในชอ่ งปอด Pulse ชพี จร Pale ซดี Pain ความปวด Pharmacy หอ้ งจ่ายยา Past History (PH) ประวตั ิอดตี Physical therapy แผนกกายภาพบ้าบัด Physical therapy (PT) Physical Examination (PE) การตรวจรา่ งกาย Surgical (SUR) ศัลยกรรม (รักษาดว้ ย Present Illness (PI) ประวัติปจั จุบัน กายภาพบา้ บัด Past medical history (PMH) ประวัติอดีตของการรักษา Q R R/O สงสัยวา่ จะเป็น S Swelling อาการบวม การผา่ ตดั )

46 Side effect ผลข้างเคียง Sputum เสมหะ Stress เครียด Surgery ศลั ยกรรม Septicemia ตดิ เชือในกระแสเลอื ด SLE (Systemic lupus erythematosus) โรคแพภ้ มู ติ วั เอง Septic shock ภาวะชอ็ กเหตุพิษติดเชือ เกิดขนึ หลังจากการติดเชอื ในกระแสเลอื ด Surgical Intensive Care Unit (SICU) หออภบิ าลผปู้ ่วยวกิ ฤตศลั ยกรรม ST Elevated Myocardial Infarction (STEMI) ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลนั SGOT (Serum Glutamic-Oxaloacetic Transaminase) หรอื AST (Aspartate Transaminase) เป็นเอนไซม์ ทใี ช้ชว่ ยตรวจภาวะโรคตบั SGPT (Serum glutamate pyruvate transaminase) หรอื ALT (Alanine transaminase) เปน็ เอนไซม์ทใี ช้ ชว่ ยตรวจภาวะโรคตับ T Treatment การรักษา Transfer การย้ายผปู้ ่วย Therapy การรกั ษา Traumatic Brain Injury (TBI) การ บาดเจ็บทีสมอง Tuberculosis วณั โรค U Unconscious ไมร่ ู้สึกตวั Urine analysis การเก็บปสั สาวะส่ง ตรวจ Urticaria ลมพิษ Underlying disease (U/D) โรค ประจา้ ตัว Upper Respiratory Infection (URI) การติดเชือทางเดินหายใจส่วนบน Urinary Tract Infection (UTI) การตดิ เชือทางเดินปัสสาวะ V Vital sign (V/S) สญั ญาณชพี Vomit อาเจียน Viral myocarditis กล้ามเนอื หวั ใจอกั เสบจากไวรัส W Wound แผล Weak อ่อนเพลยี

47 Ward ตกึ ผูป้ ่วย X Y Z สมุนไพรทีมโี พแทสเซียม สมุนไพรกับผูป้ ว่ ยโรคไต รปู ภาพ อลั ฟลั ฟา Alfalfa ผักชี (ใบ) Coriander (leaf)

48 อฟี นงื พรมิ โรส )Evening Primrose( มะระ ผล), ใบ( Bitter Melon (fruit, leaf) ขมนิ เหง้า)) Turmeric (rhizome) ดอกค้าฝอย ดอก)) Safflower (flower) ลกู ยอ Noni โสมอเมรกิ ัน American Ginseng ใบบวั บก Gotu Kola แดนดไิ ลออน) ราก, ใบ( Dandelion (root, leaf)

กระเทยี ม ใบ)) 49 Garlic (leaf) รูปภาพ ตะไคร้ Lemongrass มะละกอ) ใบ, ผล( Papaya (leaf, fruit) ชโิ ครรี) ใบ) Chicory (leaf) สมนุ ไพรทมี ีฟอสฟอรสั เมล็ดแฟลกซ์ หรอื เมล็ดลินิน Flaxseed (seed) มลิ ค์ ทิสเซิล Milk Thistle ตน้ หอม (ใบ) Onion (leaf) โพสเลน Purslane


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook