Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือเรียน การเลี้ยงไหมป่า

หนังสือเรียน การเลี้ยงไหมป่า

Published by นายสุชิน หมอกชัย, 2022-08-24 07:12:57

Description: หนังสือเรียน การเลี้ยงไหมป่า

Search

Read the Text Version

หนังสือเรยี นรายวิชาเลอื ก เรอื่ ง การเลยี้ งไหมปา่ รหสั วชิ า อช 03297สือ่ หนงั สือเรยี นรายวชิ าเลอื ก การเผาถา่ นดว้ ยถัง ๒๐๐ ลติ ร ระดับ ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนต้น มัธยมศกึ ษาตอนปลาย หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

ส่อื หนังสอื เรียนรายวชิ าเลอื ก การเผาถา่ นด้วยถัง ๒๐๐ ลิตร อาชพี การเลี้ยงไหมปุา เปน็ สญั ลักษณข์ องบ้านหนองหญ้าปลอ้ ง ตาบลโพนเพ็ก อาเภอมัญจาคีรี จงั หวัดขอนแก่น เป็นแหล่งเรียนรูท้ ีส่ าคญั ของอาเภอมญั จาคีรี เป็นทรี่ จู้ กั กันดที ั้งชาวบ้านและผ้ทู ่ีสนใจ ท่ี สนใจศึกษาเรยี นรูเ้ กยี่ วกับอาชีพการเลี้ยงไหมปุา ชาวบา้ นหนองหญา้ ปล้องได้รวมกลมุ่ ทาผลิตภณั ฑ์จากไหม ปาุ จาหน่ายเปน็ ของฝากที่ระลกึ มีหลากหลายรูปแบบ สามารถสร้างเสริมรายไดใ้ ห้กบั คนในชุมชนได้เปน็ อยา่ งดี ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอมัญจาคีรี จึงไดด้ าเนนิ การถอดองค์ความรู้ จากภมู ิปัญญาชาวบ้าน และจัดทาสือ่ หนังสอื เรยี นรายวิชาเลอื กโดยถอดองค์ความร้จู ากภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน การ เลยี้ งไหมปาุ รหสั วชิ า อช03297 จานวน 1 หนว่ ยกติ ระดับประถมศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนตน้ มัธยมศกึ ษา ตอนปลาย โดยคาดหวงั วา่ หนงั สือฉบับนจี้ ะเป็นประโยชนต์ ่อการจัดการเรยี นรู้ กจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบ ตามโครงสรา้ งหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 กศน.อาเภอมญั จาครี ี (นายสรุ ินทร์ หวา่ งจติ ร) ผู้อานวยการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอมัญจาครี ี 1 กรกฎาคม 2555

ข สอ่ื หนังสือเรียนรายวสชิ าารเลบอื กญั การเผาถ่านดว้ ยถงั ๒๐๐ ลติ ร คานา ก สารบัญ ข-ค คาแนะนาการใชห้ นังสือเรียน ง-จ โครงสร้างรายวิชาเลอื กเร่อื ง การเล้ยี งไหมปุา ฉ คาอธบิ ายรายวชิ า อช 03297 การเลย้ี งไหมปุา จานวน 1 หนว่ ยกิต ช ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย แบบทดสอบก่อนเรยี น 1-4 บทท่ี 1 ประวัติความเปน็ มาของหมู่บ้านและภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ เกย่ี วกบั การเลี้ยงไหมปุา 5 6-20 เร่ืองท่ี 1.1 ประวัติความเปน็ มาของหมบู่ ้านหนองหญา้ ปลอ้ ง 21 กิจกรรมท่ี 1.1 22-23 เรื่องที่ 1.2 ประวตั ิภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ 24 กิจกรรมที่ 1.2 25-33 เรื่องที่ 1.3 ความร้ทู ั่วไปเกี่ยวกบั การเล้ียงไหมปุา 34 กิจกรรมที่ 1.3 35-45 เรอื่ งที่ 1.4 ขน้ั ตอนการเลย้ี งไหมปาุ 46 กิจกรรมท่ี 1.4 47 บทท่ี 2 คณุ ลักษณะและคุณประโยชนข์ องไหมปุา 47-48 เรื่องท่ี 2.1 ความเป็นมาของการเล้ียงไหมปาุ 49 กิจกรรมที่ 2.1

ค ส่อื หนังสอื เรยี นรายวชิ าเสลอืากรบญั การ(เตผอ่าถ)่านดว้ ยถงั ๒๐๐ ลติ ร 50-51 52 เรื่องท่ี 2.2 คุณประโยชนข์ องไหมปาุ 53 กิจกรรมที่ 2.2 54-57 บทท่ี 3 ข้นั ตอนและวธิ ีการผลติ ผา้ ไหมจากไหมปุา 58 เรอ่ื งที่ 3.1 วิธีการผลิตผา้ ไหมจากไหมปาุ 59-61 กิจกรรมที่ 3.1 62-69 บทท่ี 4 การตลาดและการบรหิ ารจัดการ 70 เรื่องที่ 4.1 แนวคดิ และความหมายของการบริหารและการบริหารจัดการ 71-74 กิจกรรมท่ี 4.1 75 เรือ่ งท่ี 4.2 การจดั การการตลาด 76-78 กจิ กรรมที่ 4.2 79 เรอ่ื งท่ี 4.3 การจัดทาบญั ชี 80-83 กจิ กรรมท่ี 4.3 84 แบบทดสอบหลังเรยี น 85 เฉลยแบบทดสอบ 86 บรรณานกุ รม คณะผู้จัดทา

ง สอ่ื หนังสอื คเราียนแรนายะวนชิ าาเลกอื ากรใชกาห้ รนเผงัาถส่าอืนดเรว้ ยยี ถนัง ๒๐๐ ลิตร หนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพรายวิชาการเล้ียงไหมป่า รหสั อช 03297 จานวน 1 หนว่ ยกิต ตามหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาหรบั คนไทยในประเทศ ประกอบด้วยสาระสาคัญดังน้ี ส่วนท่ี 1 คาชแี้ จงกอ่ นเรยี นรู้รายวชิ า ส่วนท่ี 2 เนื้อหาสาระกิจกรรมท้ายบท ส่วนท่ี 1 คาช้ีแจงกอ่ นเรียนร้รู ายวชิ า ผู้เรียนต้องศึกษารายละเอียดในคาแนะนาและคาแนะนาการใช้หนังสือเรียน เพื่อสร้างความเข้าใจ และเพอื่ ใหบ้ รรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ของรายวิชา ซึ่งการเรียนรู้ของเน้ือหาและการปฏิบัติกิจกรรมท้าย บท ควรปฏบิ ัติดงั น้ี 1. หารอื ครปู ระจากล่มุ /ครูผูส้ อนเพอ่ื ร่วมกนั วางแผนการเรยี น (ใชเ้ วลาเรียน 40 ชว่ั โมง ) 2. ศึกษาเนื้อหาจากหนังสือเรียน หากมีข้อสงสัยเรื่องใดสามารถศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติมได้จากสื่อต่างๆ หรือหารอื ครูประจากล่มุ /ครูผสู้ อนเพื่อขอคาอธบิ ายเพิ่มเติม 3. ทากจิ กรรมท้ายบทเรียนตามท่กี าหนด 4. เข้าสอบวดั ผลการเรยี นรู้ปลายภาคเรียน 5. สรา้ งความเขา้ ใจเกย่ี วกบั การประเมนิ รายวิชา ซ่งึ มีคะแนนเต็ม 100 คะแนน โดยแบ่งสัดส่วนคะแนน เปน็ คะแนนระหวา่ งภาคเรียน 60 คะแนน และปลายภาคเรยี น 40คะแนน 5.1คะแนนระหวา่ งภาคเรยี น 60 คะแนน แบง่ สว่ นคะแนนตามกิจกรรม ได้แก่ 1) ทากจิ กรรมท้ายบทเรยี น 20 คะแนน 2) บันทึกการเรยี นรู้ 20 คะแนน โดยสรุปย่อเน้ือหาหรือวิเคราะห์เนื้อหาจากการศึกษาแบบเรียน รายวิชานี้เพ่ือแสดงผลการเรียนรู้ ประโยชน์ และการนาความรู้ไปใช้ โดยทาตามท่ีครูกาหนด และจดั ทาเปน็ รปู เลม่ เอกสาร 3) ทารายงานหรือโครงงาน 20 คะแนน โดยจัดทาเนื้อหาเป็นรายงานหรือโครงงานตามที่ครู กาหนดรปู แบบเอกสารความรู้

จ ส่วนท่ี 2 เนอื้ หาสาระกิจกรรมทส้าื่อยหบนังทสอื เรยี นรายวิชาเลอื ก การเผาถ่านดว้ ยถัง ๒๐๐ ลิตร ผูเ้ รยี นต้องวางแผนการเรียนใหส้ อดคลอ้ งกบั ระยะเวลาของรายวชิ า และต้องศึกษาเน้อื หาสาระที่ กาหนดในรายวิชาให้ละเอยี ดครบถว้ น เพอื่ ใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานการเรยี นร้ขู องรายวิชา ซึ่งในรายวิชานี้ได้ แบง่ เน้อื หาแบง่ ออกเป็น 4 บท ดงั น้ี บทท่ี 1 ประวตั ิภมู ปิ ัญญาและความเป็นมาของการเลยี้ งไหมปุา บทที่ 2 คุณลักษณะและคุณประโยชน์ของไหมปาุ บทที่ 3 การเล้ยี งไหมปาุ จากใบมนั สาปะหลัง บทท่ี 4 การตลาดและการบรหิ ารจัดการ

ฉ สอื่ หนังสือเรยี นรายวชิ าเลอื ก การเผาถา่ นดว้ ยถัง ๒๐๐ ลิตร โครงสร้างหนงั สอื เรียนรายวชิ าเลือก เรอ่ื ง การเลยี้ งไหมปา่ จานวน 1 หนว่ ยกติ รหัสวิชา อช03297 ระดับประถมศึกษา/มัธยมศกึ ษาตอนต้น/มัธยมศกึ ษาตอนปลาย สาระสาคญั ใหผ้ เู้ รียนมคี วามร้คู วามเขา้ ใจเกี่ยวกับการเลี้ยงไหมปาุ เปน็ ไหมอกี ชนิดหน่ึงสามารถเพาะเลี้ยงเพือ่ ผลิ ตรงั ไหมไดเ้ ชน่ เดยี วกับการเลีย้ งไหมบ้าน แตก่ ารเลีย้ งและการดแู ลง่ายกว่า ข้อดีของการเลย้ี งไหมอรี ่เี พ่อื เปน็ รายไดเ้ สรมิ แกเ่ กษตรผู้เล้ียงปลกู มนั สาปะหลัง การศกึ ษารวบรวมและปรับปรงุ พนั ธไ์ุ หมปาุ อรี ่ขี องโครงการวิจยั และพฒั นาไหมปาุ อีร่ภี าคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ได้รวบรวมไวจ้ านวน 3 สายพนั ธ์ุ คือ สายพนั ธุจ์ นี สายพนั ธไ์ุ ทย และสายพนั ธเ์ุ ชียงใหม่ กาลังคดั เลอื กเพิม่ เติมเพ่อื ปรบั ปรุงพนั ธไุ์ หมลกู ผสมท่ีดี สาหรับส่งเสริมการเลี้ยงในภาค เกษตร ผลการเรียนรทู้ ่ีคาดหวงั 1. สามารถเลา่ ประวัติความเป็นมาของภูมิปัญญาได้ 2. สามารถบอกถงึ ขั้นตอนการเลี้ยงไหมปาุ 3. สามารถบอกคุณลกั ษณะและประโยชนข์ องไหมปุา ขอบข่ายเนื้อหา มี 4 บท ดังนี้ บทท่ี 1 ประวัติความเป็นมาของหมบู่ ้านและภูมิปัญญาท้องถิน่ เกย่ี วกับการเลยี้ งไหมปาุ บทท่ี 2 คุณลักษณะและคุณประโยชนข์ องไหมปาุ บทท่ี 3 การเลยี้ งไหมปุาจากใบมนั สาปะหลงั บทที่ 4 การตลาดและการบริหารจัดการ

ช สอ่ื หนังสือเรยี นรายวิชาเลอื ก การเผาถา่ นด้วยถัง ๒๐๐ ลติ ร คาอธิบายรายวชิ า อช 03297 การเลยี้ งไหมปา่ จานวน 1 หนว่ ยกิต ระดบั ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษาตอนตน้ และมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานที่ 3.2 มคี วามร้คู วามเข้าใจ ทกั ษะในอาชพี ท่ีตดั สินใจเลือก ศึกษาและฝึกทกั ษะเก่ียวกับเรื่องต่อไปนี้ ศึกษาความสาคัญของการเลี้ยงไหมป่า บอกข้ันตอนและอุปกรณ์การเล้ียงไหมปุา เพ่ือลดรายจ่ายใน ครัวเรือนและ จาหน่ายเป็นรายได้เสรมิ การจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ จดั ให้ผเู้ รยี นได้ศกึ ษา ค้นคว้า เอกสารท่ีเกย่ี วขอ้ ง แลกเปล่ียนเรียนรู้ และการฝึกปฏิบตั ิการทาการ เลยี้ งไหมปา่ จากแหล่งเรยี นรู้ การวัดและประเมนิ ผล จากการสังเกตความสนใจ การซักถาม การแลกเปลีย่ นเรยี นร้แู ละจากผลงาน/ช้ินงานทมี่ อบหมายให้ ค้นควา้ และฝึกปฏิบัตใิ นระหวา่ งเรยี นและการสอบปลายภาคเรียน

1 สอ่ื หนังสือเรียนรายวชิ าเลอื ก การเผาถา่ นดว้ ยถัง ๒๐๐ ลิตร แบบทดสอบกอ่ นเรยี น

2 สอื่ หนงั สือเรียนรายวชิ าแเลบอื บก ทดกสารอเผบากถ่อา่ นนดเ้วรยียถนงั ๒๐๐ ลติ ร 1. การเล้ยี งไหมปุาอายุการฟกั ไข่ไหมประมาณกีว่ ันคอื ข้อใด ก. 8 วนั ข. 10 วนั ค. 15 วัน ง. 20 วัน 2. การใหอ้ าหารไหมวยั อ่อนอยา่ งนอ้ ยกี่มื้อคือขอ้ ใด ก. 2 มอื้ ข. 3 มอื้ ค. 4 มอื้ ง. 1 ม้อื 3. ระยะเวลาในการเล้ียงไหมวยั อ่อนจานวนกว่ี นั คือข้อใด ก. 4 – 6 วนั ข. 2 – 5 วนั ค. 9 – 12 วัน ง. 8 – 10 วัน 4. ระยะเวลาในการเล้ียงไหมวยั แกจ่ านวนกีว่ ันคอื ข้อใด ก. 5 – 10 วนั ข. 9 – 13 วัน ค. 6 – 7 วนั ง. 8 – 10 วัน 5. ตัวไหมวยั แกม่ ลี กั ษณะขอ้ ใด ก. ออกเปน็ หนอน ข. ตวั ไหมเริ่มแก่ ค. ตวั ไหมจะสุก ง. ออกเป็นผเี สอ้ื 6. ตัวไหมวัยอ่อนมลี ักษณะขอ้ ใด ก. ตวั ไหมเร่มิ แก่ ข. ออกเป็นหนอน ค. ตวั ไหมจะสุก ง. ออกเป็นผเี สือ้

3 7. วยั ตวั ไหมเปน็ รงั ไหมมีลกั ษณสะอื่ขห้อนใดังสอื เรยี นรายวชิ าเลอื ก การเผาถ่านดว้ ยถงั ๒๐๐ ลติ ร ก. ออกเปน็ ผเี ส้ือ ข. ตัวไหมจะสุก ค. เร่มิ วางไข่ ง. ออกเป็นหนอน 8. วัยตัวไหมเปน็ ผเี ส้อื มีลกั ษณะข้อใด ก. เรมิ่ วางไข่ ข. ออกเปน็ ผีเสื้อ ข. ตัวไหมจะสุก ง. ตวั ไหมเริม่ แก่ 9. วัยตัวไหมเป็นไขม่ ีลกั ษณะขอ้ ใด ก. ออกเปน็ ตวั ข. ออกเปน็ หนอน ค. ออกเป็นผีเส้อื ง. ตัวไหมเร่มิ แก่ 10. วัยตวั ไหมเป็นผีเสอื้ ระยะเวลาในการเล้ียงกวี่ ันคอื ข้อใด ก. 2 – 3 วัน ข. 10 – 15 วัน ค. 4 – 5 วัน ง. 6 – 8 วนั 11. ระยะเวลาในการเลย้ี งไหมปาุ รวมเวลาในการเลี้ยงกี่วันคอื ขอ้ ใด ก. 30 วัน ข. 40 วัน ค. 50 วัน ง. 60 วนั 12. การเลยี้ งไหมปาุ อาหารที่ใช้เลย้ี งคือข้อใด ก. ใบหม่อน ข. ใบตะไคร้ ค. ใบมันสาปะหลงั ง. ใบกล้วย 13. อปุ กรณท์ ี่ใช้สาหรบั ใส่ตัวไหมขณะทีช่ ักใยคอื อะไร ก. กระด้ง ข. ใบไม้ ค. จ่อ ง. ผ้า

4 14. วัฎจกั รหนอนไหมปุามลี ักษณะอย่างไร ก. ผีเสื้อ สไ่ือขห่ไหนงัมสือเรียหนนราอยนวไิชหามเลอื ก รงักไาหรเมผาถ่านผดว้ีเสยื้อถัง ๒๐๐ ลติ ร ข. ผเี สือ้  หนอนไหม  ไข่ไหม  รงั ไหม ค. ไข่ไหม  หนอนไหม  ผีเสื้อ  รังไหม ง. ไข่ไหม  หนอนไหม  รงั ไหม  ผีเส้ือ 15. อปุ กรณส์ าหรบั วางตัวไหมวัยต่างๆคอื อะไร ก. กระด้ง ข. จ่อ ค. กระถาง ง. หม้อ

ส่อื หนังสอื เรยี นรายวชิ าเลอื ก การเผาถา่ นด้วยถงั ๒๐๐ ลติ ร

5 ประวัตคิ วามเปน็ มาสขือ่ อหงนหงั สมือูบ่ เรา้ ยี นนรแาลยวะิชภามู เลปิ อื ญัก ญกาาทรเ้อผงาถถ่าน่ิ นเดก้วี่ยยวถงัก๒ับ๐ก๐ารลเติลรี้ยงไหมป่า สาระสาคญั บ้านหนองหญา้ ปล้อง หมู่ 9 ต.โพนเพก็ อ.มัญจาคีรี จงั หวดั ขอนแกน่ จานวนประชากร ชาย 326 คน หญงิ 353 คน รวม 679 คน สว่ นใหญส่ บื เชอ้ื สายมาจากชาวอาเภอมญั จาคีรี และชาวอาเภอชนบท ภาษาที่ใช้ คอื ภาษาอีสานและภาษากลาง วถิ ชี ีวิตความเปน็ อยูแ่ บบพง่ึ พาอาศัยกันสังคมชนบทมีความเปน็ อยู่แบบ เศรษฐกจิ พอเพียง อาชีพหลกั ทานา อาชีพรองทาไร่ ทาสวน อาชพี เสริมในหม่บู ้าน การเลย้ี งไหม การยอ้ มผา้ ไหมผ้าฝูายมดั หมี่ย้อมสีจากธรรมชาติ ผลิตภัณฑ์จากกก กลุ่มมะมว่ งแซ่อิม่ บ๊วย เลี้ยงจ้งิ หรีดในบซ่ เี มนต์ สภาพแวดลอ้ มเป็นท่ีราบลุ่ม ดนิ เปน็ ดนิ เหนียวและดนิ รว่ มปนทราย ต้งั อยู่ในเขตภูมอิ ากาศแบบร้อนชนื้ แห้ง แลง้ ฝนตกนอ้ ย ประชากนส่วนใหญร่ กั ความสงบ มีความเช่ือเร่ืองบาปบุญคณุ โทษ มคี วามสามัคคปี รองดองกนั มีความเอื้อเฟ้อื เผอ่ื แผ่ต่อกัน มีความสามัคคีกัน ผลการเรยี นรูท้ ค่ี าดหวัง 1. บอกประวัติของหมบู่ ้านหนองหญ้าปล้องได้ 2. บอกประวัติภูมิปัญญาชาวบ้านแห่งบา้ นหนองหญา้ ปล้องได้ 3. บอกความรู้ทวั่ ไปเกย่ี วกบั การเลยี้ งไหมปาุ ได้ ขอบข่ายเน้อื หา มี 3 เรื่องดงั นี้ เร่อื งที่ 1.1 ประวัติของหม่บู า้ นหนองหญา้ ปลอ้ ง เร่ืองที่ 1.2 ประวตั ภิ มู ิปัญญาชาวบา้ นแห่งบ้านหนองหญา้ ปล้อง เรอื่ งที่ 1.3 ความรทู้ ั่วไปเก่ียวกบั การเลี้ยงไหมปาุ

6 เรอ่ื งที่ 1.1 ประวัตขิ องหมู่บ้านหนองหญ้าปล้อง สอื่ หนังสอื เรียนรายวชิ าเลอื ก การเผาถ่านด้วยถงั ๒๐๐ ลิตร วถิ ชี วี ติ ชมุ ชนบา้ นหนองหญ้าปล้อง เป็นวิถชี ีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพยี งมีอาชพี หลกั คอื ทานา อาชพี เสรมิ คือ ทาสวน ทาไร่ ปลูกหม่อนเลย้ี งไหม ทาผลิตภณั ฑจ์ ากกก กล่มุ ฝรั่ง มะมว่ งแซบ่ ๊วย เลีย้ งจ้งิ หรดี ในบอ่ ซีเมนต์ สภาพแวดล้อมเปน็ ท่ีราบลุ่ม ดนิ เป็นดนิ เหนยี วและดนิ รว่ นปนทราย ตงั้ อย่ใู นเขตภูมิอากาศแบบรอ้ น ชื้น แห้งแลง้ ฝนตกน้อย ดา้ นศาสนาและความเช่ือ ประชากร 100% นบั ถือศาสนาพุทธ สถานทสี่ าคญั ทาง ศาสนามี 2 แห่ง คอื วดั สาราญชยั ซงึ่ เปน็ วดั ประจาหม่บู ้าน และท่ีพกั สงฆว์ ิเวกธรรม ประชากรส่วนใหญ่รกั สงบมคี วามเชอ่ื เร่อื งบาป บุญ คุณ โทษ มีความสามคั คีปรองดอง และมีความเอือ้ เฟ้ือเผ่อื แผ่ต่อกนั และ เนือ่ งจากสภาพแวดลอ้ มเขตภูมอิ ากาศแหง้ แล้ง ฝนตกนอ้ ย จงึ มแี นวทางการพฒั นาสง่ เสริมทรัพยากรธรรมชาติ โดย 1. ปลูกไม้ยูคาลิปตสั 2. ปลกู พืชฝกั สวนครวั 3. ปลกู มันสาปะหลงั 4. ปลกู อ้อย 5. ปลูกพชื ทต่ี ้องการนา้ นอ้ ย ปกติในหมู่บ้านจะปลูกหมอ่ นเพ่ือเลีย้ งไหมเปน็ อาชพี รองปลกู พชื ที่ตอ้ งการนา้ น้อย ปกตใิ นหมู่บา้ นจะ ปลูกหมอ่ นเพ่ือเลย้ี งไหมเป็นอาชีพรอง ประวัติหม่บู ้านหนองหญ้าปลอ้ ง หมทู่ ี่ 9 ตาบลโพนเพก็ อาเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแกน่ 1. สภาพภูมศิ าสตรส์ ง่ิ แวดลอ้ ม สถานทตี่ งั้ บ้านเลขท่ี 36 บ้านหนองหญ้าปล้อง หมู่ 9 ตาบลโพนเพ็ก อาเภอมัญจาคีรี จงั หวัด ขอนแก่น เป็นศนู ยผ์ ลิตและจาหน่ายสนิ ค้า OTOP ของคุณทองเลิศ สอนจนั ทร์ เปน็ ประจาตาบลโพนเพก็ เป็น แหลง่ ท่องเที่ยวของตาบล และเป็นสถานทตี่ ง้ั กศน.ตาบลโพนเพก็

7 1.1 อาณาเขต เนื้อทปี่ ระมาณ 1,431 ไร่ ทิศเหนอื จด บส้าื่อนหโนนังสนอืคเณูรยี นตราายบวลิชโาพเนลอืเพก็ก กอาารเเภผอาถมา่ัญนจดาว้ คยีรถีัง จ๒ัง๐ห๐วัดลขิตอรนแกน่ ทศิ ใต้ จด บ้านหนองไฮ ตาบลโพนเพก็ อาเภอมญั จาคีรี จังหวดั ขอนแก่น ทศิ ตะวันออก จด บ้านขามปูอม ตาบลโพนเพก็ อาเภอมัญจาครี ี จงั หวดั ขอนแกน่ ทิศตะวนั ตก จด บา้ นคาแคนใต้ ตาบลโพนเพ็ก อาเภอมญั จาคีรี จงั หวัดขอนแก่น 2. สภาพภมู ปิ ระเทศ / ภมู อิ ากาศ บา้ นหนองหญ้าปล้องมสี ภาพภมู ิประเทศเปน็ ท่ีราบลมุ่ ดินเป็นดนิ เหนยี วและดนิ รว่ นปนทราย ตงั้ อยใู่ นเขตภูมอิ ากาศแบบรอ้ นช้ืน แห้งแลง ฝนตกนอ้ ย ทรพั ยากรธรรมชาติทีส่ าคัญของหมู่บ้าน ได้แก่ 1. หนองหญ้าปล้อง 2. ฝายใหญ่ สาธารณะประโยชน์ 3. ฝายใหม่ 3. แนวทางการพฒั นา ส่งเสรมิ ทรพั ยากรธรรมชาติได้แก่

8 1. ปลูกไมย้ ูคาลบิ ตัส ปลูกพชื ผักสวนครัว ปลกู มนั สาปะหลงั ออ้ ย ข้าว 2. ขุดลอกหนองบึงกกั เกส็บื่อนหน้าไงั วส้ใอื ชเ้รยี นรายวิชาเลอื ก การเผาถ่านด้วยถัง ๒๐๐ ลิตร 3. ปลูกพืชที่ต้องการนา้ น้อย 4. ประชากร 4.1 จานวนประชากร ชาย 326 คน หญิง 353 คน รวม 679 คน สว่ นใหญ่สืบเชื้อสายมาจากชาว อาเภอมัญจาคีรี และชาวอาเภอชนบท ภาษาที่ใช้คือ ภาษาอีสานและภาษากลาง 4.2 ศาสนาและความเช่ือ ประชากร 100 % นับถอื ศาสนาพทุ ธ สถานท่ีสาคัญทางศาสนามี 2 แหง่ คอื วัดสาราญชยั ซึง่ เป็นวัดประจาหม่บู า้ น และท่พี ักสงฆว์ ิเวกธรรม ประชากรสว่ นใหญร่ กั สงบมี ความเชอื่ เรื่องบาป บุญ คุณ โทษ มคี วามสามคั คีปรองดอง และมคี วามเอื้อเฟอื้ เผื่อแผ่ การประกอบอาชีพของประชากรในหมบู่ า้ น มีดังนี้ 1. เกษตรกร ทาไร่ ทานา ปลูกพืชและเลยี้ งสัตว์ ประมาณ 95 % 2. รบั ราชการ รฐั วิสาหกิจ พนกั งาน โรงงาน บรษิ ทั ประมาณ 2 % 3. รบั จา้ งท่ัวไป ว่างงาน อนื่ ๆ ประมาณ 3 % การเกดิ แหล่งการเรยี นรู้ 1. เกดิ จากการถ่ายถอดความรู้จากบรรพบุรุษ 2. เกิดจากความสนใจและรกั ในอาชีพ 3. เกิดเปน็ รายได้เสริมในครอบครวั และหมู่บ้าน 4. มีความขยนั อดทน ซื่อสัตย์ ในอาชพี จนประสบความสาเรจ็ เป็นทน่ี ่ายกยอ่ งชมเชย 3. ศาสนาและวัฒนธรรม

9 3.1 ศาสนา ประชาชนสว่ นใหญน่ บั ถือศาสนาพทุ ธ คดิ เป็นร้อยละ 99.99 ศาสนาอน่ื ๆ ประกอบด้วย ศาสนสา่อืคหรนิสังตส์ อื เรยี นรายวชิ าเลอื ก การเผาถา่ นดว้ ยถงั ๒๐๐ ลิตร 3.2 วฒั นธรรมท้องถิน่ มีวฒั นธรรมท้องถิ่น ไดแ้ ก่ - วนั ลอยกระทง วนั ที่ 21 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2553 - งานวนั ปใี หม่ขอพรกับผ้สู งู อายุ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม พ.ศ. 2555 - วปิ สั สนาประจาปี วันท่ี 15 – 25 มกราคม พ.ศ. 2555 - บญุ กุ้มข้าวใหญ่ วนั ท่ี 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 - วันวิสาฆบชู า วนั ที่ 18 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2555 - ผา้ ปุา วนั ที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2555 - วนั สงกรานต์ “รดนา้ ดาหวั ผเู้ ฒ่าผ้แู ก่” วันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2555 - บญุ บัง้ ไฟ วันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 ประเพณีวัฒนธรรม ตาบลโพนเพ็กมปี ระเพณวี ฒั นธรรมทีส่ ืบทอดกันมาตั้งแต่สมยั บรรพบรุ ุษ โดยถือ บุญประเพณขี องภาคอสี าน คอื ฮีต 12 ครอง 14 และชาวบ้านตาบลโพนเพก็ ยงั ร่วมกันปฏิบตั ิตามประเพณี อย่างเคร่งครัด แตป่ ัจจบุ นั มกี ารเปล่ียนแปลงไปบ้างให้เหมาะสมกบั ยุคสมยั งานบญุ ประเพณีฮีต 12 คลอง 14 ที่ชาวบ้านตาบลโพนเพ็กยงั ยึดถือปฏิบตั ิอยู่คือ งานบญุ ขา้ วจ่ี จัดขน้ึ ในช่วงเดอื นกุมภาพนั ธ์ ถึงมนี าคม หรือเดือน 3 ของทกุ ปี ซึ่งมกี ารร่วมกันทา กิจกรรมภายในหมบู่ ้านหลายอย่าง เชน่ การทาข้าวเกรยี บแผ่นหรือข้าวโปรง่ เพือ่ ไปตกั บาตรตอนเชา้ ทว่ี ดั อาจมี ขา้ วตม้ มดั ไปร่วมถวายดว้ ย เมอื่ เสรจ็ งานบุญในช่วงเช้าแลว้ ชาวบา้ นก็จะออกไปทาไร่ทานาตามปกติ งานประเพณีสงกรานต์ ซ่ึงจดั ข้นึ ในเดอื นเมษายน หรอื เดือน 5 ในระหว่างวนั ท่ี 13 – 15 เมษายน ของทกุ ปี จะมกี ารสรงน้าพระ ผา้ ปาุ ร่วมกันทง้ั 2 หมบู่ ้าน มีขบวนแหร่ อบหมบู่ ้านเวลาประมาณ 4 โมงเยน็ บุญเขา้ พรรษา จะจัดขึ้นในวันข้ึน 15 คา่ เดือน 8 จะมกี ารหอ่ ขนม ข้าวตม้ ทาบญุ เล้ยี งพระและฟงั เทศน์ มีการแหเ่ ทยี นพรรษาร่วมกนั ทาบญุ รกั ษาศีล มีตน้ เทียน ดอกไม้เงนิ ดอกไมท้ องร่วมในงานแห่ดว้ ย ชาวบา้ นสว่ นหนงึ่ ทตี่ ้องการจะงดเว้นจากของมึนเมาในช่วงเขา้ พรรษาก็จะปฏิญาณตนว่าจะงดเวน้ ในวันน้ี

10 บญุ ข้าวประดบั ดนิ จัดขึน้ ในวันขึ้น 15 คา่ เดือน 9 ชาวบา้ นจะนาหอ่ ข้าว ท่ีเรียกว่า หอ่ ขา้ วน้อย ภายในห่อขา้ วจะประกอบดว้ ย หสม่อื าหกนพงั สลอื ู เยรายี เนสร้นายขวอิชงาคเลาอืวกทเี่ ปก็นาขรอเผงาแถห่า้งนดจ้วะยใชถ้ใังบ๒ต๐อ๐งหลอ่ ติ เปร ็นกระทงเล็กๆ และ ตอนกลางคืน ชาวบา้ นจะนาห่อขา้ วเหลา่ นี้ไปวางไวร้ อบๆวักหรอื ตามตน้ ไม้ การประกอบพิธกี รรมนี่เพ่อื อุทิศ สว่ นกุศลใหบ้ รรพบรุ ษุ และผีไม่มญี าติ โดยมีมคั ทายกกลา่ วคาเรียกวญิ ญาณใหม้ ารับสว่ นกุศล บุญข้าวสาก จัดทาขนึ้ ในวนั ขน้ึ 15 คา่ เดอื น 10 ชาวบา้ นตาบลสวนหม่อนจะทาขา้ วห่อเช่นเดียวกบั การ ทาบุญข้าวประกบั ดิน แตเ่ รียนกวา่ หอ่ ข้าวใหญ่ การทาบุญกเ็ ชน่ เดียวกนั กบั บุญข้าวประดับดิน งานบญุ ออกพรรษา จดั ขึ้นในวนั ขึ้น 15 ค่า เดือน 11 กอ่ นวันออกพรรษา 1 วนั จะมีการเตรียม อาหารไวต้ ักบาตรในชว่ งเชา้ มกี ารแห่ดอกไม้ร่วมกนั ทั้ง 2 หมบู่ า้ นและทาบุญทว่ี ดั ยังมีการสืบสานวัฒนธรรม ประเพณีการทาดอกไม้ และร้อยมาลัยกอ่ นวันออกพรรษา 2 วนั ในตอนกลางคืนจะมกี ารเวยี นเทียนและหนุ่ม สาวกจ็ ะมีการเลน่ ประทัดดอกไมไ้ ฟ ในตอนกลางคนื ของวนั ทดั มาจะมีกนั เทศนโ์ ดยทีเ่ ราไม่ไดน้ มิ นต์พระไว้ก่อน (ภาษาพ้นื บา้ นเรียกวา่ กัณฑห์ ลอน) ชาวบ้านจะนมิ นต์พระขนึ้ เทศน์ตอนกลางคนื และหนมุ่ สาวจะเอาคาผญา มาโต้ตอบกันอย่างสนกุ สนาน พอวันรุง่ ขึน้ จะมกี ารตักบาตรเทโวโลหนะ บุญกฐนิ งานบุญนีจ้ ะจดั ขึน้ หลังจากออกพรรษาแล้ว มีระยะกาลภายใน 1 เดือน คอื นบั ตง้ั แต่วันแรม 1 คา่ เดอื น 11 ถึงวันข้ึน 15 ค่า เดอื น 12 กอ่ นวนั งานจะมีการเตรยี มอาหาร หอ่ ขนมข้าวตม้ มีการตงั้ กองกฐนิ ไวท้ ่ีบ้านเจ้าภาพ ซง่ึ เจ้าภาพจะทาการจองวดั ท่ีจะทอดกฐนิ ไวก้ ่อน เพราะวดั หนง่ึ ๆ จะสามารถรับกฐินได้ปีละ 1 กองเทา่ นน้ั หลงั จากตกั บาตรและถวายภัตตาหารเพล กจ็ ะถวายองค์กฐินซง่ึ ประกอบด้วยผ้าไตร จีวร เครื่อง อัฐบริขารสาหรับพระสงฆ์ บญุ เบกิ บา้ น จะจัดข้ึนในชว่ งเดอื นอ้าย หรอื เดือนธันวาคม ซง่ึ ถือเป็นเดอื นแรกในการนับเดอื นของ ไทย ชาวบ้านจะรว่ มกนั จัดงานบุญน้ขี ้ึนทกุ ปี เพือ่ ทาบุญให้เปน็ สริ มิ งคลแกห่ มบู่ า้ นและชาวบา้ นที่อาศยั ใน หมูบ่ ้านทกุ ครัวเรือน และถอื เปน็ การเร่ิมตน้ ปใี หม่ตามประเพณไี ทยอสี าน พิธีกรรมจะเรม่ิ โดยการนินมต์ พระสงฆ์มาสวดท่บี รเิ วณกลางหมู่บา้ น และทาบญุ เล้ยี งพระรว่ มกนั ของชาวบา้ นทัง้ หมดหมู่ 1 ถงึ หมู่ 15 หลงั จากนั้นพระสงฆก์ ็จะรดนา้ นมิ นตต์ ามบ้านเรอื น ยงุ้ ขา้ ว คอกสัตว์ เพือ่ ขับไล่สงิ่ ชว่ั รา้ ยในปีที่ผา่ นมา และ เพือ่ เปน็ สิรมิ งคลในการเร่มิ ต้นปใี หม่ ประเพณแี ห่ดอกไม้ ชาวบ้านจะจดั บญุ แห่ดอกไมห้ ลงั จากวนั สงกรานตป์ ระมาณ 2 – 3 วนั ชาวบา้ น จัดงานบญุ นเ้ี พ่อื บชู าพระยาแถน ซง่ึ เปน็ เทวดาและเป็นการขอฝน เพือ่ ที่จะใหส้ ามารถทาการเกษตรได้เปน็ อย่างดี เปน็ การนาดอกไมม้ าบชู าพระยาแถนและพระสงฆท์ ี่มาสรงน้าด้วย โดยพธิ กี ารในการแหด่ อกไม้จะจดั ให้มงี านบุญ 3 วัน เร่มิ จากการทีว่ ัดจะตรี ะฆงั เรียกชาวบ้านมารวมกนั ที่วัด ชาวบ้านกจ็ ะถือภาชนะใส่น้าและมี ดอกไม้มารว่ มขบวนแห่ ภายในขบวนจะมีพระภกิ ษสุ ามเณรรว่ มขบวนอยดู่ ้วยพธิ ีน้ีจะจดั ขน้ึ ในชว่ งเยน็

11 ประมาณ 5 โมงเยน็ แตล่ ะวนั ชาวบ้านก็จะนาภาชนะใสน่ า้ ออกมาวางหนา้ บ้าน เม่อื ขบวนแหผ่ า่ นมาพระท่ีเป็น ผู้นาในขบวนแห่จะนาดอกไม้มาจสมุ่ ่ือนหา้นทังสีช่ อืาเวรบยี ้านนราเตยวริชยี ามเไลวอื แ้ กละรกดานรเา้ ผใาหถพ้ า่ รนแดก้วชยถางัวบ๒า้ ๐น๐ผลู้ทติ ีร่ รว่ มขบวนจะเล่นสาด นา้ กนั อยา่ งสนกุ สนาน เมอ่ื เดินไปตามถนนจนรอบหมบู่ า้ นแล้วชาวบ้านกจ็ ะเดนิ ทางกลับไปท่วี ดั เพื่อนาดอกไม้ ไปเสียบตามศาลาวัด ชาวบ้านที่ไปทาไร่ทานาเมอ่ื เสรจ็ จากงานกจ็ ะนาดอกไมม้ าร่วมในพธิ ีทีหลัง เห็นได้วา่ ลกั ษณะการทาบญุ แห่ดอกไมน้ ี้ เปน็ การรวมกันทางพธิ กี รรมและความเชื่อระหว่างประเพณสี งกรานตแ์ ละเพณี บญุ บั้งไฟ โดยมีพิธกี รรมเป็นของสงกรานตแ์ ตเ่ ชอ่ื ตามความเช่ือในการทาบญุ บ้งั ไฟ ด้วยเหตุนี้ชาวบ้านจึงไม่มี การจัดงานบุญบง้ั ไฟทาพธิ ีบอกผีบ้าน นอกจากน้ชี าวบ้านยงั ยึดพธิ ีกรรมในหมู่บา้ นดังน้ี การเล้ียงผี คือการบอกกล่าวผีบ้านเก่ยี วกบั การกระทาของชาวบา้ นในหมบู่ า้ น โอกาสในการเลย้ี งผี บ้าน มาบนบานขอให้เจา้ ปุูชว่ ยเหลือแล้วดงั ทห่ี วังจาเป็นต้องมาแกบ้ นก็ต้องมาทาพิธีเลย้ี งผีท้ังนาเคร่ืองเซ่นใน การเลย้ี งผี มีดังน้ี ก.ไกฆ่ า่ ไมเ่ ชือกคอ หา้ มตัดเลบ็ ไก่ จบั ไกห่ ักหลัง นาเคร่ืองในไก่ออกให้หมดแล้วนาไก้ทัง้ ตวั ไปต้มใส่เกลอื ข. เหล้าขาว ค.ขา้ ว น้า ง. หมาก ยาสบู จ.น้าพริก ทกุ คร้งั ทมี่ กี ารเล้ียงผตี อ้ งนาไปเล้ียงตอนเชา้ วันพุธ โดยจา้ ประจาหมูบ่ า้ นคอื (จา้ คือผทู้ ่ีชาวบ้านเลือกเปน็ ผตู้ ิดต่อกบั ผีบ้าน ซงึ่ จ้าน้จี ะตอ้ งมาจากตระกลู ที่เปน็ จ้าของหมู่บา้ น โดยตลอดและ เปน็ ผทู้ ่ีชาวบา้ นนับถือดว้ ย) เรียกวา่ เป็นพธิ แี ก้บน พิธีจะเรม่ิ เวลาประมาณ 7 โมงเชา้ โดยปกติจะมชี าวบา้ นมา แก้บนทุกวนั พธุ การแก้บนอาจนาหมอลาซ่งิ มาจัดแสดงหน้าศาล สาหรบั การแกบ้ นท่ีสาคญั เชน่ ลกู สอบเข้า มหาวิทยาลัยได้ การได้งานหรอื การเล่ือนตาแหนง่ หน้าทก่ี ารงาน การเลี้ยงบ้าน จะเล้ียงในเดือน 3 และเดอื น 6 กอ่ นฤดทู าการเกษตร เครอ่ื งเซ่น หรือของทาบญุ ก็ใช้ อย่างเดยี วกบั การเลี้ยงผี แตจ่ ะมีการกระทาอยา่ งอืน่ เพิม่ เติม คอื ชาวบา้ นทุกคนทกุ ครวั เรอื นตอ้ งทาสัญลกั ษณ์ ของสมาชิกในบา้ น สมาชกิ ในบ้าน ใชข้ า้ วปน้ั เปน็ จานวนก้อนตามจานวนสมาชิก สตั วเ์ ล้ียง จะใช้ใบตองฉีกเป็นรวิ้ และมัดคล้ายหลอดดูด เทียน ดอกไม้ เทา่ กบั จานวนสมาชิกในครอบครัว ธูป จ้าจะเปน็ ผูจ้ ุดเอง

12 นาสง่ิ ของท้ังหมดใสก่ ล่องไปวางรวมกนั บริเวณทที่ าพธิ ี ซง่ึ จา้ จะเปน็ ผู้ทาพธิ ตี ่อไป การทาพธิ นี เ้ี พื่อ ต้องการใหเ้ จ้าปุูดแู ลลกู หลานและสือ่สหตั นว์เงั ลสยี้ืองเรใยีนนหรมายบู่ วา้ ชินาอเลยอื่ากให้มีคกาวราเมผทาถกุ ่าขน์ ดใหว้ ยม้ ถีแงั ต๒่ค๐วา๐มสลขุติ รการทาพิธีก่อน การเกษตร จะมีการเส่ียงทาย ไก่ 3 ตวั ทบ่ี ริเวณศาลเจ้าปุู โดยการเสย่ี งทาย 1) ชาวบา้ นในบ้านหนองหญา้ ปล้องจะอยูด่ ี มีความสขุ 2) ฟาู ฝนในปีน้ีจะดีหรือไม่ 3) พืชพรรณธัญญาหารจะอดุ รสมบรู ณ์หรอื ไม่

หมบู่ ้านหนองหญา้ ปล้อง สอ่ื หนงั สอื เรียนรายวชิ าเลอื ก การเผาถ่านดว้ ยถัง ๒๐๐ ลิตร ทอผ้าไหม มัดหม่ี ย้อมสีธรรมชาติ ได้รับรางวลั ชนะเลศิ 1 ตาบล 1 ผลติ ภณั ฑ์ รา้ นทองเลศิ ไหนไทย กลุ่มทอผา้ ไหม ภมู ปิ ญั ญาชาวบ้านอาชพี เสริมในหมูบ่ า้ น

13 สื่อหนังสือเรียนรายวชิ าเลอื ก การเผาถ่านด้วยถงั ๒๐๐ ลิตร โครงการฝกึ อบรมแหล่งทอ่ งเที่ยวและมคั คเุ ทศก์ประจาแหลง่ ทอ่ งเท่ยี ว ณ บ้านหนองหญา้ ปล้อง

15 ส่อื หนังสอื เรียนรายวิชาเลอื ก การเผาถา่ นดว้ ยถงั ๒๐๐ ลติ ร

16 ส่อื หนังสอื เรียนรายวิชาเลอื ก การเผาถา่ นดว้ ยถงั ๒๐๐ ลติ ร

17 ส่อื หนงั อสอืาเชรียีพนรเาสยรวิมชิ าใเนลอื หกมบู่ กา้ารนเผาถา่ นดว้ ยถงั ๒๐๐ ลติ ร

18 ส่อื หนังสอื เรียนรายวิชาเลอื ก การเผาถา่ นดว้ ยถงั ๒๐๐ ลติ ร

19 ส่อื หนงั สือเรียนรายวิชาเลอื ก การเผาถา่ นดว้ ยถงั ๒๐๐ ลติ ร แหลง่ เรยี นรู้ กศน.ตำบล

20 ส่อื หนังสอื เรียนรายวิชาเลอื ก การเผาถา่ นดว้ ยถงั ๒๐๐ ลติ ร

21 กจิ กรรมท่ี 1.1 ส่อื หนังสอื เรียนรายวิชาเลอื ก การเผาถา่ นด้วยถงั ๒๐๐ ลิตร 1. จงเล่าประวตั ขิ องหมบู่ ้านหนองหญ้าปล้องโดยยอ่ พอสงั เขป ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 2. ประชากรในหม่บู า้ นส่วนใหญ่เชอื้ สายมาจากท่ใี ด ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 3. จงเลา่ ประเพณีวัฒนธรรมในหมูบ่ ้านหนองหญา้ ปล้องโดยสงั เขป ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................

22 เร่ืองท่ี 1.2 ประวัติภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ สื่อหนังสอื เรยี นรายวิชาเลอื ก การเผาถ่านดว้ ยถงั ๒๐๐ ลติ ร ประวตั นิ างทองเลิศ สอนจันทร์ นางทองเลศิ สอนจนั ทร์ เกดิ วนั ที่ 5 ตลุ าคม 2509 ปัจจุบันอายุ 56 ปี เปน็ คนภาค ตะวันออกเฉียงเหนอื เกดิ ทีอ่ าเภอมญั จาครี ี จังหวัดขอนแกน่ ไดส้ มรสกับนายรศั มี สอนจันทร์ มีบตุ รดว้ ยกนั 3 คน คือ ชาย 2 คน หญิง 1 คน ปัจจบุ ันอยบู่ า้ นเลขท่ี 36 หมทู่ ่ี 9 บ้านหนองหญา้ ปลอ้ ง ตาบลโพนเพ็ก อาเภอมัญจาครี ี จังหวัดขอนแกน่ 40160 ดา้ นการศกึ ษา จบระบบช้ันมธั ยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศกึ ษาตอนปลายจากศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอมัญจาครี ี กาลงั ศกึ ษาตอ่ ระดับปรญิ ญาตรี โครงการมหาวิทยาลัยราชภฎั ชยั ภมู ิ ปจั จุบนั ดารงตาแหนง่ รองนายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลโพนเพก็ อ.มญั จาคีรี จ.ขอนแก่น เกยี รติยศที่ไดร้ ับ 1. ผูน้ าองค์กรเครอื ขา่ ยชุมชนดีเดน่ ปี 2549 2. ผนู้ าเครือขา่ ยพัฒนาชุมชนดเี ดน่ ปี 2552

23 ภาคเี ครือข่าย ส่อื หนังสือเรยี นรายวชิ าเลอื ก การเผาถา่ นด้วยถงั ๒๐๐ ลติ ร 1. ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 2. สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอมญั จาคีรี 3. สานักงานเกษตรอาเภอมญั จาครี ี 4. สานกั งานสหกรณอ์ าเภอมัญจาครี แี ละ สานักงานสหกรณ์จังหวัดขอนแกน่ 5. อตุ สาหกรรมภาค 5 จงั หวัดขอนแกน่ 6. ศูนยห์ ม่อนไหมเฉลมิ พระเกยี รตจิ ังหวัดขอนแกน่

24 กิจกรรมท่ี 1.2 สอ่ื หนงั สอื เรยี นรายวิชาเลอื ก การเผาถ่านดว้ ยถัง ๒๐๐ ลติ ร 1. จงเล่าประวัตินางทองเลิศ สอนจันทร์ มาโดยย่อ พอสังเขป ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................. 2. นางทองเลิศ สอนจนั ทร์ เปน็ ภมู ิปญั ญาสาขาใดบ้าง ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................. 3. นางทองเลศิ สอนจันทร์ ไดร้ ับโล่เกยี รติยศ โครงการใดบ้าง ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... .................................................

25 2 สื่อหนงั สอื เรยี นรายวชิ าเลอื ก การเผาถา่ นดว้ ยถัง ๒๐๐ ลติ ร เรือ่ งที่ 1.3 ความรทู้ วั่ ไปเกีย่ วกบั การเลย้ี งไหมปา่ การเลยี้ งไหมปาุ เน่อื งจากในชุมขนบา้ นหนองหญ้าปล้องมีการปลกู หม่อนเล้ยี งไหมซ่งึ เปน็ ไหมพนั ธ์ พ้ืนบ้านและกนิ ใบหมอ่ นเปน็ อาหาร ในหนา้ แห้งมักจะไมม่ ใี บหมอ่ นเล้ยี งตวั ไหม คณะผจู้ ัดทาจึงไดน้ าพนั ธุ์ไหม ปาุ มาเลย้ี งเพื่อแก้ปญั หาการขาดใบหมอ่ น ซง่ึ เล้ยี งงา่ ยในทกุ ฤดูกาลทสี่ าคัญคอื ใช้ใบมันสาปะหลัง ใบละหุ่ง เลยี้ งเป็นอาหารได้ และท่ีสาคัญคือตลาดกาลงั ต้องการรังไหม เส้นไหมและดักแด้ การปลกู หมอ่ นเลยี้ งไหมเปน็ อาชีพเสรมิ ของคนในชุมชนเพ่ือทาเครือ่ งนุ่งห่มสวมใส่ในครัวเรือน ในงาน พธิ ีตา่ งๆ คนในชมุ ชนมักจะสวมผา้ ไหมเพือ่ รักษาวฒั นธรรมประเพณีในดา้ นการแต่งกายทาให้เกิดความภูมใิ จใน เอกลักษณ์ของตนเอง การเลีย้ งไหมเปน็ การพ่งึ พาตนเองผลติ เสือ้ ผา้ สวมใส่เอง รูจ้ กั ประหยัดอดออม รจู้ ักความ พอเพียงเออ้ื เฟอื้ เผอื่ แผ่แบง่ ปันในสง่ิ ทต่ี นมีอยู่ ปัจจบุ นั การเล้ียงไหมมักจะประสบปัญหาในหน้าแล้งเพราะขาด ใบหม่อนซ่งึ แหง้ เห่ียวตายทาให้ผเู้ ลี้ยงไหมพนั ธ์ุพน้ื บา้ นขากเส้นไหมทจ่ี ะนามาทอเสือ้ ผ้าสวมใส่ จงึ ไดค้ ิดคน้ การ เล้ียงไหมปุา อาหารกค็ ือใบมันสาปะหลงั สมาชิกในกลุ่มผู้เลย้ี ง 20 คน ตอ่ มาขยายออกไปเลีย้ งตามกลมุ่ และ ขยายไปแตล่ ะหมู่บา้ นในตาบลโพนเพ็ก ศกึ ษาวิจัยเล้ยี งไหมอีรี่ เพมิ่ ทางเลือกผปู้ ลกู มนั ฯ

26 สอ่ื หนงั สอื เรียนรายวชิ าเลอื ก การเผาถ่านดว้ ยถัง ๒๐๐ ลิตร ตวั ไหมอรี ี่และเสน้ ไหมท่ีได้จากการป่นั . แมป้ ระเทศไทยจะสง่ ออกสินค้าสง่ิ ทอทต่ี ้องพึง่ วตั ถดุ บิ จากเส้นใยฝูายเปน็ หลัก แตป่ จั จบุ ันการ ปลูกฝูายในบา้ นเราประสบปัญหาเร่อื งโรคและแมลงศตั รู จงึ ไมส่ ามารถผลติ เสน้ ใยไดเ้ พียงพอกับความต้องการ เพ่ือแกป้ ญั หาดงั กล่าว อีกทงั้ เปน็ ทางเลอื กให้กบั เกษตรกรโดยเฉพาะกล่มุ ผปู้ ลูกมนั สาปะหลงั ในอนาคต รศ.ดร. ทิพย์วดี อรรถธรรม ผอู้ านวยการศนู ยค์ วามเปน็ เลิศทางวิชาการด้านไหม ภาควิชากฏี วิทยา คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม จึงทาโครงการ “วิจัยพฒั นาไหมอี ร่สี อู่ ตุ สาหกรรม” โดย สานักงานกองทนุ สนับสนุนการวจิ ัย (สกว.) สนบั สนนุ ทุน ศ.ดร.สวัสดิ์ ตนั ตระรัตน์ ผอ.สกว. บอกต่อว่า สกว.ไดเ้ ล็งเหน็ ว่าไหมอรี เี่ ปน็ แมลงท่ีมีประโยชน์ และมศี ักยภาพที่จะพฒั นาสู่อตุ สาหกรรมขนาดเล็กในครวั เรอื น หรอื อตุ สาหกรรมขนาดกลางในชุมชน เพอื่ เป็น อาชีพทางเลอื กใหก้ บั เกษตรกร รวมท้ังเปน็ การแกไ้ ขปัญหาความยากจนของเกษตรกร ซ่ึงเส้นใยไหมอีรเี่ ป็น ไหมป่นั (spun silk) เช่นเดียวกบั ฝูาย ดังนนั้ จึงอาจทดแทนกันไดใ้ นอนาคต

27 ส่อื หนงั สอื เรียนรายวิชาเลอื ก การเผาถ่านดว้ ยถงั ๒๐๐ ลติ ร ศ.ดร.สวัสดิ์ ตนั ตระรตั น์ ผอ.สกว. (ขวา) และ รศ.ดร.ทพิ ย์วดี อรรถธรรม. รศ.ดร.ทิพยว์ ดี เปิดเผยถึงแนวทางการวจิ ัยวา่ ทีผ่ ่านมาไหมทาซาร์ (tasar silk, A. mylitta และ A. proylei) ไหมมกู ้า (muga silk, A. assamensis) และไหมอีร่ี (eri silk, Philosamia ricini ) ทมี่ ีการเลี้ยงเปน็ อาชีพในประเทศต่างๆ เช่น จีน ญ่ปี ุน อินเดีย และเกาหลี โดยไหมอรี เ่ี ปน็ ไหมปุาเพยี งชนิดเดยี วทีม่ นุษยส์ ามารถ เลยี้ งได้ครบวงจรชวี ิตอยา่ งสมบูรณ์ จากขอ้ มูลดงั กลา่ ว ดงั นนั้ ทมี วิจัยจึงมงุ่ ศกึ ษาการเลยี้ งไหมชนดิ นี้ โดยเร่มิ แรก ทดลองเลย้ี งดว้ ยใบพืชชนดิ ตา่ งๆ เชน่ ละห่งุ มันสาปะหลัง มะละกอ ออ้ ยช้าง สบดู่ า มะยม ปาุ และ สนั ปลาชอ่ น ชว่ งระยะเวลาหนึง่ แลว้ พบว่าใช้ ใบละหุ่ง (castor plant) ได้ดที สี่ ุด หนอนไหมใหร้ งั ทม่ี ขี นาด ใหญแ่ ละปรมิ าณเสน้ ไหมมาก รองลงมาคอื ใบมนั สาปะหลงั (cassava plant) สว่ นพืชชนิดอืน่ อาจใช้เปน็ พืชอาหาร ทดแทนไดใ้ นชว่ งท่ใี บละหุ่งหรือใบมันสาปะหลังขาดแคลน แต่ไมส่ ามารถใช้เลย้ี งจนครบวงจรชีวติ

28 กระทั่งไดร้ งั ไหมทมี่ เี สน้ ใยประกอบดว้ ยสาร fibroin ลอ้ มรอบดว้ ยสาร sericin ซ่งึ เปน็ สารเหนียวใช้ยึด เส้นใยให้สานกนั เปน็ รังหมุ้ ดกั แด้ไสวอ่ื ภ้ หานยังใสนอื เรังียไนหรมายอวรี ิชม่ี าลี เกัลอืษกณะยกาวรเผรียาถว่าสนีขดา้ววยมถังไิ ด๒เ้ ป๐๐น็ เสล้นิตยราวเหมือนไหมหม่อน ตอ้ งดึงเส้นใยจากรงั ดว้ ยวธิ ีปนั่ (spun) แบบเดียวกับการปัน่ ฝูาย จึงไมต่ อ้ งตม้ รังตอนทีย่ ังมดี ักแด้ โดยสามารถตดั เปลือกก่อนจงึ นารงั ไปต้ม แล้วนาผา่ นขบวนการกระท่งั ได้เสน้ ไหมมคี วามเหนยี ว ยาว แวววาว สวยงาม และราคา ดกี วา่ เส้นใยฝูาย สาหรบั ประชาชนท่ีสนใจสามารถเขา้ ชมได้ ซึง่ ทาง สกว.ได้นามาจัดในงาน มหกรรมวิชาการ สกว. วจิ ยั ตามรอยพระยุคลบาท : สรา้ งสรรคป์ ญั ญา เพ่ือพฒั นาประเทศ เฉลิมพระเกียรตพิ ระบาทสมเดจ็ พระ เจา้ อยหู่ ัว...ภายใต้แนวคิดหลกั 9 บนั ดาล...สู่งานวิจยั ในวนั ที่ 20–24 มถิ นุ ายน 2555 ณ ฮอลล์ 7–8 อมิ แพค เมืองทองธาน.ี เพ็ญพิชญา เตียว วนั -เวลาการแสดง: วนั เสารท์ ่ี 23 มิถนุ ายน 2555 เวลา 15.00 - 16.30 น. เอกสาร แฟชนั่ โชว์ “อีร่ี” ไหมไทย..เฉิดฉายบนแค็ทวอล์ค ตารางกิจกรรมเวทกี ลางงานมหกรรมวิชาการ สกว. ฯ ท่มี าและความสาคญั จากการท่ไี หมอรี ีก่ ินใบมนั สาปะหลังเปน็ อาหาร สกว.ไดส้ นับสนุนการดาเนนิ งานวิจัยเพื่อสง่ เสรมิ ใหเ้ กษตรกรชาวไรม่ ันสาปะหลงั เล้ยี งไหมอีร่เี ปน็ อาชพี เสรมิ และพฒั นาไปสูอ่ ตุ สาหกรรม เพื่อเพมิ่ รายไดค้ รวั เรอื น ขจัดปญั หาความยากจน และการละถ่ินฐานไปทางานท่ีอ่นื ในชว่ งรอการเก็บเกี่ยวมันสาปะหลงั การดาเนนิ งานของ โครงการวิจัยทาให้เกษตรกรในจังหวัดต่างๆ ของประเทศ เลี้ยงไหมอรี เี่ ป็นอาชีพเสรมิ จนสามารถผลิตผลิตภัณฑ์ จากไหมอีรีห่ ลายรูปแบบ รวมทง้ั ผ้าไหมทอมอื และสามารถขับเคลื่อนไหมอีร่เี ขา้ สูอ่ ุตสาหกรรมไหมปนั่ ได้ โดยมี ภาคเอกชนที่สนใจนารงั ไหมอีร่เี ขา้ โรงงานส่ิงทอและผลิตผ้าทม่ี ีความหลากหลาย การจัดแฟช่ันโชวค์ รง้ั นจี้ งึ มีความสาคัญทเี่ ปน็ การเปดิ ตวั ผา้ ไหมอีรี่ซึ่งเปน็ ผลิตภัณฑเ์ สน้ ใย ธรรมชาติชนิดใหม่ ให้เปน็ ทีร่ ู้จักโดยท่วั กนั เปดิ โอกาสให้ภาคเอกชนด้านอุตสาหกรรมสิง่ ทอไดเ้ หน็ ศักยภาพ ของไหมอรี ี่ว่าสามารถทาผลติ ภัณฑส์ ง่ิ ทอที่หลากหลาย เพอ่ื ความร่วมมือในการนาวตั ถดุ ิบไหมอีร่เี ขา้ สู่ อตุ สาหกรรมไหมป่ันของประเทศ เพื่อการจาหนา่ ยในประเทศและส่งออกตา่ งประเทศ ซง่ึ จะส่งผลดีตอ่ ทั้ง เกษตรกรชาวไร่มนั สาปะหลงั และภาคอตุ สาหกรรมทเ่ี ก่ยี วข้องทงั้ ระบบ

29 วัตถุประสงค์ สื่อหนังสอื เรียนรายวิชาเลอื ก การเผาถ่านดว้ ยถงั ๒๐๐ ลติ ร 1. เพือ่ แนะนาและประชาสัมพันธผ์ า้ ไหมอรี ใี่ หเ้ ป็นท่ีรูจ้ กั แพรห่ ลาย 2. เพอ่ื ใหบ้ ุคคลทั่วไปสนใจในการใช้ผา้ ไหมอรี ่ี ซ่ึงจะชว่ ยเพ่มิ โอกาสการสรา้ งอุตสาหกรรมไหม ป่ันทีม่ ่นั คงของประเทศ 3. เพื่อเปน็ แรงจงู ใจใหเ้ กษตรกรเล้ียงไหมอีรม่ี ากขึน้ เพราะเห็นแนวทางการนาไหมอีรไี่ ปใช้ ประโยชน์ และเปน็ ท่ียอมรับของภาคอุตสาหกรรม ประเด็นทจี่ ะนาเสนอ ผ้าไหมอรี ี่ทอมือโดยเกษตรกร และผา้ ไหมอรี ท่ี อจากโรงงานอตุ สาหกรรม ได้รับการสร้างสรรค์ ท้ังการดีไซน์ เฉดสีและผิวสมั ผัสตากเอกลกั ษณ์พเิ ศษของไหมอรี ี่และสอดรับกับเทรนด์แฟชนั่ ฤดกู าล Spring/Summer 2012 เพือ่ นาเสนอภาพลกั ษณ์ที่ทนั สมัย สาหรบั สาวทีม่ ไี ลฟส์ ไตล์ Casual Elegance วิธีการและลกั ษณะกิจกรรม การเดินบน Stage ของนางแบบทส่ี วมชดุ ที่ตัดจากผ้าไหมอีรี่ ซง่ึ จะมีทั้งผา้ ทอมอื โดยกลุ่ม เกษตรกรเครอื ข่ายผเู้ ลย้ี งไหมอีร่ี และผ้าทอจากภาคอตุ สาหกรรมโรงงานสง่ิ ทอ รายช่ือผรู้ ว่ มกจิ กรรม 1. นางแบบ: นสิ ติ จากมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ประมาณ 12 คน 2. ผอู้ อกแบบแฟชั่น: นสิ ิตชั้นปีที่ 4 ภาควิชาวทิ ยาการส่งิ ทอ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 3. ผูค้ วบคมุ การออกแบบ: ผศ. ดร. อโนทัย ชลชาติภิญโญ 4. ผคู้ วบคุมการเดินแฟชั่นโชว์: คุณกฤตริน อิทธเิ ดชรัตน์ 5. ช่างทาผม แตง่ หนา้ : คณุ ทินกฤติ รุ่งโรจน์ 6. ผู้ช่วยทัว่ ไปในการเตรียมการแฟชัน่ โชว์: นสิ ิตชั้นปที ี่ 4 ภาควิชาวทิ ยาการสง่ิ ทอ คณะ อุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

30 ผลทีค่ าดวา่ จะไดร้ บั สื่อหนังสือเรียนรายวิชาเลอื ก การเผาถา่ นดว้ ยถัง ๒๐๐ ลิตร ทาใหภ้ าคธรุ กจิ เอกชนด้านสง่ิ ทอรู้จกั ไหมอรี ่ี และเกิดความสนใจในการนาเส้นใยไหมอรี ่ีไป ทาผลติ ภัณฑ์ผ้าไหมอีรหี่ ลากหลายสไตล์ และเกดิ ความคิดสร้างสรรคใ์ นการทาผลิตภัณฑส์ ่ิงทออน่ื ๆ ซ่ึงจะชว่ ย ให้มีความต้องการวัตถดุ ิบ คือ รงั ไหมอรี ี่มากขนึ้ ส่งผลให้เกษตรกรผู้เลีย้ งไหมอีร่ขี ายรังได้มากขึ้น และได้ราคาดี ขน้ึ และมเี กษตรกรเลือกการเลี้ยงไหมอีรเี่ ปน็ อาชีพเสรมิ เพื่อเพ่มิ รายไดม้ ากขึ้น ช่อื +เบอร์ติดตอ่ ผูป้ ระสานงาน ศ.ดร.ทิพย์วดี อรรถธรรม (ภาควชิ ากีฏวทิ ยา คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร)์ โทรศัพท์ : 034-281268 มอื ถอื : 081-821-6274

31 ส่ือหนงั สอื เรียนรายวิชาเลอื ก การเผาถ่านดว้ ยถัง ๒๐๐ ลติ ร วธิ ีดาเนนิ งานตามโครงการ ๑.ประชุมสมาชกิ เพ่ือปรึกษาหารือเกีย่ วกับขั้นตอนการทาโครงงานและแบ่งงาน ๒.ศึกษาคน้ คว้าการเลีย้ งไหมปาุ ลูกผสมจากผูช้ านาญจากเอกสารและเว็บไซด์ ๓.สอบถาม สมั ภาษณ์จากกลุ่มแม่บา้ น ๔.รวบรวมข้อมูลทไ่ี ด้จากแหล่งเรยี นรู้ตา่ งๆ ๕.นาเสนอในรูปแบบโครงงาน โรงเล้ียงไหมปาุ ศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชน กศน.ตาบลโพนเพก็

32 จ่อ สาหรับใหต้ วั หนอนไหมทารงั สื่อหนังสือเรียนรายวิชาเลอื ก การเผาถ่านดว้ ยถงั ๒๐๐ ลติ ร กระด้ง สาหรับวางตัวไหมวัยตา่ งๆ ชั้นสาหรับวางหนอนไหมเล้ียงแทนกระด้งกรณีล้ียงจานวนมา

33 ส่ือหนงั สือเรียนรายวชิ าเลอื ก การเผาถา่ นดว้ ยถัง ๒๐๐ ลิตร จากการ การเล้ยี งไหมปุาทาใหไ้ ดร้ บั ความร้แู ละวธิ กี ารเลยี้ ง การดูแลรกั ษาไหมปาุ ซง่ึ เปน็ ตัวไหมที่ สามารถเลย้ี งง่ายในทุกฤดกู าล ทนต่อโรคสามารถนาใบละหุ่งหรือใบมนั สาปะหลงั มาเลย้ี งได้ เปน็ การแกไ้ ข ปญั หาการเล้ียงไหมของเกษตรกรสามารถพฒั นาปรบั ปรุงเป็นอาชพี หลักตอ่ ไปในอนาคตได้ ระยะเวลาในการเลยี้ ง วยั ตวั ไหม จานวนวัน หมายเหตุ ไข่ ๑๐ ออกเปน็ หนอน ๙-๑๒ ตัวไหมเรม่ิ แก่ วยั ออ่ น ๙-๑๓ ตวั ไหมจะสกุ วัยแก่ ๑๐ ออกเปน็ ผเี สอื้ รังไหม ๒-๓ ผีเส้ือ ๔๐ เริม่ วางไข่ รวมเวลาเลีย้ งดปู ระมาณ คดิ คานวณต้นทุนราคาจาหน่าย คา่ ใช้จ่าย ผลกาไร -คา่ ใช้จา่ ยในการจัดซือ้ วสั ดอุ ปุ กรณ์ เช่น -ขายทัง้ รงั ไหมกโิ ลกรัมละ ๙๐ บาท กระด้ง , กระจอ่ ,มงุ้ เขยี ว ฯลฯ -ขายแยกดักแด้กโิ ลกรมั ละ ๒๘๐ บาท -คา่ แรงในการดแู ลรกั ษาประมาณ ๔๐ หมายเหตุ :กาไรจะมากน้อยข้ึนอยกู่ ับ วนั ปรมิ าณการเพาะเลย้ี ง -ขายดกั แด้กโิ ลกรมั ละ ๑๕๐ บาท วิธกี ารจาหน่าย -ไร่มันสาปะหลงั ๕ ไร่ สามารถเลย้ี งตวั ๑.ขายท้ังรัง ไหมไดผ้ ลผลิตประมาณ ๑๐๐ กิโลกรัม ๒.ตดั แยกดกั แด้ /๓๐-๔๐ วนั

34 สือ่ หนงั สอื เรยี นรายวิชาเกลอืจิ กกรรกมารทเผ่ี 1าถ.3า่ นด้วยถงั ๒๐๐ ลติ ร 1. จงอธิบายการเลี้ยงไหมป่า โดยสังเขป ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 2. จงอธิบายอุปกรณใ์ นการเลยี้ งไหมป่า โดยสงั เขป ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 3. จงอธิบายวธิ ดี าเนินงานตามโครงการเลีย้ งไหมปา่ โดยสงั เขป ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

35 ส่ือหนงั สอื เรียนรายวชิ าเลอื ก การเผาถา่ นด้วยถงั ๒๐๐ ลติ ร เรือ่ งที่ 1.4 ขน้ั ตอนการเล้ยี งไหมปา่ วธิ ีการเลย้ี งไหมปา่ การฟกั ไขไ่ หม ไข่ไหมท่มี อี ายปุ ระมาณ ๑๐ วัน จะเร่ิมเปล่ยี นจากสีขาวเปน็ สีเหลืองและดาคล้า จงึ นาเขา้ ฟัก ประมาณ ๑-๒ วัน หนอนไหมจะเร่ิมฟักออกจากไหมจงึ เรม่ิ เลย้ี งใบมันสาปะหลงั สบั ใบละหุ่ง สับละเอยี ดวาง บนกลมุ่ ไขไ่ หมใหห้ นอนไหมไตข่ ึ้นบนกองพืชอาหารนั้น แลว้ ยา้ ยหนอนไหมไปเลยี้ งในตะกร้าหรือกระด้ง เกบ็ ไข่ไหมไว้ในน้าปูองกนั แมลงลงกิน การเลี้ยงไหมวยั อ่อน ( วัย 1-3 ) การเล้ียงไหมวัยอ่อนควรเลี้ยงในตะกรา้ หรือกระดง้ เตรยี มใบมันสาปะหลงั ท่อี ่อนและสดนาหนอน ไหมแรกฟกั วางบนชน้ั เลี้ยงแล้วนาใบละหงุ่ หรอื ใบมันสาปะหลังสับละเอียดวางบนตวั ไหมหลงั จากน้ัน 2 วนั จงึ เสริมใบมนั สาปะหลังทัง้ ใบ แกห่ นอนไหม เมอ่ื หนอนไหมขึน้ วัย ๒ ค่อยถา่ ยมูลไหมและคราบหนอนไหมทง้ิ โดยวางใบละหุ่งหรือใบมันสาปะหลังบนตัวหนอนไหมให้หนอนไหมเกาะแลว้ ยกใบมันสาปะหลังท่มี หี นอนเกาะติด วางบนกระดง้ หรือช้ันเลีย้ งจนกว่าหนอนไหมจะเขา้ สูว่ ัย ๓ ลาตัวเปล่ียนเปน็ สีขาวมีหนามเห็นชดั จึงถ่ายมูลอีกครงั้ ควรใหอ้ าหารอยา่ งน้อยวันละ ๒ ม้อื ในตอนเช้าและตอนเย็น การใหอ้ าหารควรเพ่มิ ข้นึ ตามความเหมาะสมไหมวัย ออ่ นใช้เวลาเลย้ี ง ๙-๑๒ วัน

36 ส่ือหนงั สอื เรียนรายวชิ าเลอื ก การเผาถ่านดว้ ยถัง ๒๐๐ ลติ ร สบั ใบมันให้หนอนไหมข้นึ กนิ แลว้ ยกใส่กระดง้ ห่อด้วยผ้าทอ่ี ากาศถ่ายเทสะดวก การเลยี้ งไหมวัยแก(่ วยั ๔-๕) เม่ือหนอนไหมขน้ึ วัย ๔ ลาตัวจะยาวขนาดใหญม่ ากขึน้ มหี นามเหน็ ชัดลาตัวสีขาวจะกินอาหารมาก ควรใหป้ รมิ าณอาหารที่เพียงพอโดยการเพิ่มมื้ออาหารเปน็ ๓-๔ ม้ือตอ่ วัน วางใบละห่งุ หรอื ใบมันสาปะหลังบน ตัวไหมระวงั ไมใ่ หแ้ นน่ จนเกนิ ไปเพราะจะทบั ตวั ไหมตายควรถา่ ยมูลไหมอกี ครัง้ เมอื่ หนอนไหมนอน กอ่ นเขา้ สู่ วัย ๕ เม่อื หนอนไหมเข้าสวู่ ยั ๕ ควรใหอ้ าหารอยา่ งต่อเน่อื งและเพียงพอจนหนอนไหมเริม่ สุกจะกนิ น้อยลง หนอนไหมวยั แกใ่ ชเ้ วลาเลยี้ ง ๙-๑๓ วนั

37 ส่ือหนงั สือเรยี นรายวิชาเลอื ก การเผาถ่านด้วยถัง ๒๐๐ ลติ ร การเก็บไหมสุกเขา้ จ่อ การสงั เกตหนอนไหมสกุ คอื หนอนเริม่ หยดุ กนิ อาหารลาตวั หดสน้ั ผวิ เปล่ยี นเป็นสีเหลอื งใสไต่ออกจากชน้ั เลี้ยง หนอนไหมสุกเต็มที่ประมาณวันท่ี ๕-๗ ของการเล้ียงไหมวยั ๕ เมื่อหนอนไหมถา่ ยมูลอีกครั้งสดุ ท้ายแลว้ จึง เจ็บหนอนไหมเข้าจ่อกระด้งประมาณ ๓๐๐ ตัวตอ่ จอ่ สาหรับจอ่ ชนิดอนื่ ๆขึน้ อยู่กับความเหมาะสมไม่ควรใส่ หนอนไหมสกุ จนแนน่ จ่อ คมุ จอ่ ให้มดิ ชิดดว้ ยผา้ บางๆ ที่สามารถระบายอากาศไดด้ ีช่วยให้เปอร์เซ็นต์การทารัง สงู และไหมสาวไดง้ ่ายขึ้น

38 สือ่ หนงั สอื เรยี นรายวชิ าเลอื ก การเผาถา่ นดว้ ยถัง ๒๐๐ ลิตร การเกบ็ หนอนไหมเข้าจ่อ หลังจากหนอนไหมทารงั ไหมจนหมดประมาณ ๕ วัน สามารถเก็บรังไหมมาใชป้ ระโยชน์โดยการลอก รังออกจากจ่อใสใ่ นตะกร้าเพอ่ื นารงั ไหมไปตดั แยกดักแดอ้ อกจากเปลือกรงั คัดรังไหมท่ีสุกวนั แรก สภาพรงั สมบรู ณเ์ พ่อื เกบ็ ไว้ขยายพันธุต์ อ่ ไปส่วนรงั ไหมท่ีเหลือนาไปตัดแยกดกั แด้ โดยใช้กรรไกรปลายแหลมสอดเขา้ รู เปิดส่วนท้ายของรงั ไหม ตดั ตามแนวยาวเพอ่ื เปิดรงั ไหม

39 สือ่ หนงั สือเรยี นรายวชิ าเลอื ก การเผาถ่านดว้ ยถัง ๒๐๐ ลิตร การผลิตไขไ่ หม นารังไหมที่เกบ็ ไวส้ าหรับขยายพนั ธ์มุ ารอ้ ยดว้ ยเสน้ ด้ายแลว้ นาไปแขวนไว้ในต้ผู สมพนั ธปุ์ ระมาณ ๑๐ วันผีเสื้อจะออกจากดกั แด้เริ่มจบั คผู่ สมพนั ธ์ุ นาผเี ส้ือท่ีเขา้ คกู่ ันวางบนไมส้ าหรบั ใหแ้ มผ่ ีเสื้อวางไข่ประมาณ ๒-๓ วัน ตอ่ มาแมเ่ ชือ้ จะเร่มิ วางไขผ่ เู้ ลย้ี งสามารถเกบ็ ไขไ่ หมไดป้ ระมาณ ๓ คร้ัง โดยทาการเก็บไข่ไหมชว่ งเชา้ หรอื บ่ายวันละ ๑ ครง้ั ควรแยกไขไ่ หมทีเ่ กบ็ ไดใ้ นแต่ละวันเพอื่ ให้ไขไ่ หมฟกั ออกพร้อมกนั ผเู้ ลีย้ งสามารถช่วยให้ ผีเสอ้ื ตวั ผแู้ ละตวั เมยี จับคู่ผสมพันธ์กุ นั ได้เรว็ ขึน้ โดยจับผเี สอื้ วางบนไม้ท่แี ขวนไวโ้ ดยให้ผเี สือ้ ตวั ผู้ ๑ ตวั ตอ่ แม่ ผีเสอ้ื ๑ ตัว

40 สื่อหนังสือเวรียัฏนรจายกั วริชาเหลอื นก อนกาไรเหผามถ่าปนดุาว้ ยถงั ๒๐๐ ลติ ร ผเี สอื้ ไขไ่ หม รังไหม หนอนไหม

41 การดแู ลไหมวยั อ่อน สอ่ื หนงั สือเรียนรายวิชาเลอื ก การเผาถ่านด้วยถัง ๒๐๐ ลิตร วางไขไ่ ว้ในภาชนะท่มี ีนา้ กนั แมลง ประมาณ ๑๐ วนั ไขจ่ ะแตกเปน็ ตวั ไหมวยั อ่อน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook