Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือหลักสูตร 2562

คู่มือหลักสูตร 2562

Published by podjarin phasuk, 2020-03-16 22:06:24

Description: คู่มือหลักสูตร 2562

Search

Read the Text Version

คมู่ ือหลกั สูตร ปีการศึกษา ๒๕๖๒ หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี



สารบญั หน้า 1 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1 ประวัติหน่วยงาน 1 ปรชั ญา 1 ปณธิ าน 1 วสิ ยั ทัศน์ 1 พนั ธกิจ 2 อัตลักษณ์ 2 เอกลักษณ์ 2 ประเด็นยทุ ธศาสตร์ 3 เป้าประสงค์ 4 5 โครงสรา้ งการบรหิ ารงานของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5 ผบู้ ริหารของคณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 6 7 คณะกรรมการประจาคณะ ฯ 7 หวั หนา้ ภาควชิ า 7 หัวหน้าสาขาวิชา 7 ปฏทิ นิ การศึกษาประจาปีการศึกษา 2561 8 หลกั สูตร 8 ภาควชิ าและสาขาวชิ า 8 หอ้ งสมุด 8 ทนุ การศึกษา 8 อาจารย์ที่ปรึกษา 9 ระบบการศกึ ษา 10 ระยะเวลาการศกึ ษา 11 การลงทะเบยี นเรยี น 11 การวัดผลและการสาเร็จการศึกษา 12 คณุ สมบตั ิของผูเ้ ข้าศึกษา 64 ความหมายของเลขรหัสรายวิชาและรหสั การจัดช่วั โมงเรียน การกาหนดเลขรหสั รายวชิ า 122 การแบง่ รายวชิ าและเน้ือหา 172 การจดั ชว่ั โมงเรยี น 228 ขอ้ มูลหลักสตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต 284 สาขาวิชาคณติ ศาสตร์ 340 สาขาวิชาสถติ ปิ ระยุกต์ สาขาวิชาวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ สาขาวชิ าเคมี สาขาวิชาชวี วิทยาประยุกต์ สาขาวิชาฟิสกิ สป์ ระยุกต์



1 คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ประวัตหิ น่วยงานคณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล ได้จดั ตั้งคณะวทิ ยาศาสตร์ ณ ศนู ย์กลางสถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคลเมื่อวนั ท่ี 21 มิถุนายน 2538 โดย รองศาสตราจารยธ์ รรมนูญ ฤทธิมณี อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยรี าชมงคลในขณะน้นั ซ่ึงได้ เห็นความสาคัญของการพัฒนาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อันเป็นรากฐานความรู้ในการศึกษาทุกสาขา วชิ าชพี และเปน็ กาลังสาคัญในการพฒั นาประเทศทางดา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์ได้เปล่ียนชื่อเป็น “คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี” ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 123 ตอนที่ 118ก ลงวันที่ 27 พฤศจิกายน 2549 และนับต้ังแต่ก่อตั้งข้ึนคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้มี คณบดบี ริหารงานของคณะมาแลว้ 6 ทา่ น คอื 1. รองศาสตราจารย์ ดร. ชัยยุทธ ชา่ งสาร (16 ก.พ. 42 - 15 ก.พ. 46) 2. รองศาสตราจารย์ ดร. จไุ รรตั น์ ดวงเดือน (16 ก.พ. 46 - 8 ก.พ. 50) 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมหมาย ผวิ สอาด(9 ก.พ. 50 – 8 ก.พ. 54) 4. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. สิรแิ ข พงษส์ วัสดิ์ (9 ก.พ. 54 – 30 ก.ย. 60) 5. ดร.นงลกั ษณ์ พรมทอง (1 ต.ค. 60 – 31 ม.ค. 61) 6. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นพิ ทั ธ์ จงสวัสด์ิ (1 ก.พ. 61 – ปัจจุบัน) ปรัชญา มงุ่ เน้นการพัฒนากาลังคนดา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยใี หม้ ที ักษะและความเชย่ี วชาญดา้ นวชิ าชพี สู่สากล ปณธิ าน มงุ่ ม่นั จัดการศึกษาวิชาชีพด้านวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยที ม่ี ีคณุ ภาพดว้ ยการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง วิสยั ทศั น์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นคณะที่ผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติมืออาชีพช้ันนาทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมในระดับประเทศ และกา้ วสู่ระดบั สากล พันธกิจ 1. จดั การศึกษาวชิ าชีพระดับอุดมศกึ ษาบนพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมอย่างมีคุณภาพ 2. สร้างงานวิจัย ส่ิงประดิษฐ์ และนวัตกรรม สู่การผลิตเชิงพาณิชย์และการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพ่ือเพิ่มขดี ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 3. ให้บริการวิชาการท่ีมีแนวคิดเชิงสร้างสรรค์ เพื่อการมีอาชีพอิสระและพัฒนาอาชีพสู่การเพิ่มศักยภาพใน การแข่งขัน 4. ทานุบารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม และอนรุ ักษ์ส่งิ แวดลอ้ ม 5. จัดระบบบุคลากรจากสังคมแห่งการเปลี่ยนแปลงให้สนองต่อสิทธิประโยชน์บนพ้ืนฐานความสุขและ ความก้าวหนา้ 6. จดั ระบบบริหารจัดการเพ่อื เพ่มิ ประสิทธิภาพและเพม่ิ แนวทางการจดั หารายได้ เพ่ือเอ้ือต่อนโยบายหลัก อัตลกั ษณ์ “บณั ฑิตนักปฏิบตั มิ ืออาชีพ”

2 เอกลกั ษณ์ คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีนกั ปฏิบตั ิมืออาชพี ดา้ นวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. การพัฒนาการศึกษาด้านวิชาชีพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สร้างคนดี คนเก่งให้เป็นทุนมนุษย์ (Human capital) ในระดับสากล 2. การพฒั นางานวิจยั สิ่งประดษิ ฐ์ และนวตั กรรม ทส่ี ามารถนาไปใชป้ ระโยชน์และชว่ ยพฒั นาเศรษฐกิจและ สงั คมของประเทศ 3. การเสริมสร้างความแขง็ แกรง่ ใหก้ บั ชมุ ชนสังคม บนพนื้ ฐานองคค์ วามรู้ 4. การอนุรกั ษ์ สร้างสรรค์ศิลปวฒั นธรรมภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน และสิ่งแวดล้อม 5. การพัฒนาบคุ ลากรและผู้บริหารทกุ ระดับ เพื่อรักษาคนดี คนเกง่ และเตรยี มความพร้อมในการเป็นผ้นู า 6. การพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการโดยใชห้ ลักธรรมาภิบาลและการเพ่มิ ขีดความสามารถในการแข่งขนั เป้าประสงค์ 1. บัณฑิตมีความรู้ความสามารถ สอดคล้องกับอัตลักษณ์ “บัณฑิตนักปฏิบัติมืออาชีพ” และมีคุณภาพตาม คุณลกั ษณะบัณฑิตทพี่ ึงประสงค์ 2. มีงานวิจัย ส่ิงประดิษฐ์ นวัตกรรม และงานสร้างสรรค์ ที่ตอบโจทย์ภาคอุตสาหกรรม เป็นที่ยอมรับใน ระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ 3. ชุมชนและสังคมได้รับการเสริมสร้างศักยภาพ ยกระดับความเข้มแข็ง และสามารถพ่ึงพาตนเองได้อย่าง ยง่ั ยนื 4. มีการฟ้ืนฟู อนุรักษ์ สืบสาน ศิลปะ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และรักษาสิ่งแวดล้อมที่บูรณาการกับ การเรียนการสอน และสนับสนุนกจิ กรรมนักศกึ ษา ให้มีการเผยแพร่ต่อสาธารณชน 5. บคุ ลากรได้รับการส่งเสรมิ ความก้าวหน้าในอาชีพ มีความสุขในการทางาน บนฐานสมรรถนะของบุคลากร เพอ่ื สร้างมูลค่าเพิม่ ด้านผลงานใหเ้ กดิ ขึ้นกับองค์กร 6. มีระบบบริหารจัดการที่มีคุณภาพควบคู่กับการสรา้ งธรรมาภิบาลและมาตรฐานการทางานที่มีผลสมั ฤทธ์ิ สูง

โครงสร้างการบรหิ ารงานของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะกรรมการบริหารคณะ คณบดี คณะกรรมการประจาคณะ ผชู้ ว่ ยคณบดี ศนู ย์/สานกั งาน รองคณบดฝี ่ายวชิ าการและวิจัย รองคณบดีฝ่ายบริหารและวางแผน รองคณบดีฝา่ ยพัฒนานักศึกษา 3 - งานทะเบียนและวดั ผล สานกั งานคณบดี - งานสารบรรณ - งานกิจกรรมนกั ศกึ ษา - งานเทคโนโลยีการศึกษา - งานงบประมาณ - งานกีฬาและนนั ทนาการ - งานวเิ ทศสมั พันธ์ - งานวจิ ยั และประเมินผล - งานบุคลากร - งานวินยั และจริยธรรม - งานหอ้ งปฏบิ ัติการ - งานบริการวชิ าการ - งานพัสดุ - งานศิลปวฒั นธรรม - งานพฒั นาหลกั สูตร - งานกิจการพิเศษ - งานหอ้ งสมดุ - งานเอกสารการพมิ พ์ - งานประกนั คุณภาพ - งานประชาสัมพันธ์ - งานสารสนเทศ - งานการเงนิ และบญั ชี - งานสหกจิ ศกึ ษา - งานอาคารสถานทแี่ ละยานพาหนะ

คณะกรรมการประจาคณะ 4 ผู้บรหิ ารของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรรมการโดยตาแหน่ง ผศ.ดร.นิพัทธ์ จงสวสั ดิ์ คณบดี ดร.อษั ฎาวธุ อารีสริ สิ ขุ ผศ.ดร.เนตรนภิส แก้วชว่ ย ดร.มรกต พุทธกาล รองคณบดีฝ่ายบริหารและวางแผน รองคณบดฝี ่ายวิชาการและวิจยั รองคณบดีฝ่ายพฒั นานักศึกษา ผศ.สุพัฒน์ เผ่าพงษ์ไทย ผศ.ดร.วัชระพงศ์ วรเศรษฐพงศ์ ดร.นธิ ิวฒั น์ ชูสกุล ผชู้ ว่ ยคณบดี ผชู้ ว่ ยคณบดี ผู้ชว่ ยคณบดี

5 หัวหน้าภาควิชา ผศ.ดร.ชุติมา ประสาทแกว้ ผศ.ดร.สิงหโ์ ต สกลุ เขมฤทัย หวั หนา้ ภาควิชาคณิตศาสตร์และวิทยาการ หวั หนา้ ภาควิชาเคมี คอมพิวเตอร์ หัวหน้าสาขาวชิ า ดร.วรรณา ศรปี ราชญ์ อาจารยค์ งเทพ บญุ มี ดร.อารณี โชตโิ ก หวั หน้าสาขาวิชาคณิตศาสตร์ หัวหนา้ สาขาวิชา หวั หนา้ สาขาวิชาชวี วิทยา วทิ ยาการคอมพิวเตอร์ ดร.ธิปัตย์ โสตถิวรรณ์ อาจารย์สเุ ทพ เชาว์สนิท ผศ.ดร.วรนศุ ย์ ทองพูล หัวหน้าสาขาวิชาสถิตปิ ระยกุ ต์ หัวหนา้ สาขาวชิ า หวั หนา้ สาขาวชิ าฟสิ ิกส์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

ลงทะเบยี น 6 นกั ศึกษาใหม่ นักศึกษาเก่า ปฏทิ ินการศกึ ษา ภาคการศกึ ษาที่ 1/2562 วันเปิดเรียน นกั ศึกษาภาคพิเศษ ดจู ากประกาศมหาวทิ ยาลัย นักศกึ ษาภาคปกติ 18 – 19 ม.ิ ย. 62 วันสอบกลางภาค 22 มิ.ย. 62 วันสอบปลายภาค 24 มิ.ย. 62 วนั สดุ ท้ายของภาคการศึกษา 31 ส.ค. – 8 ก.ย. 62 28 ต.ค. – 10 พ.ย. 62 ลงทะเบยี น 10 พ.ย. 62 วนั เปดิ เรียน ภาคการศกึ ษาท่ี 2/2562 นกั ศกึ ษาภาคพิเศษ 19 - 20 พ.ย. 62 นกั ศึกษาภาคปกติ วนั สอบกลางภาค 23 พ.ย. 62 วนั สอบปลายภาค 25 พ.ย. 62 วันสุดทา้ ยของภาคการศึกษา 18 - 26 ม.ค. 63 16 – 29 มี.ค. 63 ลงทะเบยี น 29 มี.ค. 63 วนั เปิดเรียน ภาคการศึกษาฤดรู ้อน/2562 นักศกึ ษาภาคพเิ ศษ 1 – 7 เม.ย. 63 นักศกึ ษาภาคปกติ วนั สอบกลางภาค 4 เม.ย. 63 วนั สอบปลายภาค 7 เม.ย. 63 วนั สดุ ทา้ ยของภาคการศึกษา 2 - 8 พ.ค. 63 8 – 12 ม.ิ ย. 63 12 มิ.ย. 63

7 หลกั สูตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจัดการเรียนการสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต จานวน 7 สาขาวิชา ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. สาขาวิชาคณิตศาสตร์ 2. สาขาวิชาสถติ ปิ ระยุกต์ 3. สาขาวิชาวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ 4. สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ 5. สาขาวิชาเคมี 6. สาขาวชิ าชีววทิ ยาประยุกต์ 7. สาขาวิชาฟิสิกส์ประยกุ ต์ ภาควชิ าและสาขาวิชา ภาควิชาและสาขาวิชาต่าง ๆ ซ่ึงรับผิดชอบการเรียนการสอนในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตของคณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประกอบดว้ ย 2 ภาควิชา 6 สาขาวิชา ดังตอ่ ไปน้ี 1. ภาควชิ าคณิตศาสตรแ์ ละวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ ประกอบดว้ ย 4 สาขาวชิ า ดงั นี้ สาขาวชิ าคณิตศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ สาขาวชิ าสถิติประยกุ ต์ สาขาวชิ าเทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ 2. ภาควิชาเคมี 3. สาขาวชิ าชวี วิทยา 4. สาขาวชิ าฟิสิกส์ ภาควิชาและสาขาวิชาของคณะ ฯ มีห้องเรียนและห้องปฏิบัติการท่ีทันสมัย สาหรับอานวยความสะดวกใน การจัดการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตท่ีมีคุณภาพและมีความสามารถตรงกับความต้องการของ หน่วยงานตา่ ง ๆ นอกจากน้ี คณะ ฯ ยังมีสถาบนั วิจยั เคมีซ่ึงมหี ้องปฏิบตั กิ ารและเคร่อื งมือท่ีทันสมยั เพอื่ สนับสนุนดา้ น การเรยี นการสอนและพัฒนางานวจิ ยั อย่างตอ่ เนือ่ ง หอ้ งสมุด คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจัดให้มีห้องสมุดของคณะเพื่อเป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าข้อมูลของนักศึกษา โดยมีหนังสอื และทรพั ยากรสารนิเทศ เช่น หนังสือคณิตศาสตร์ หนังสือสถิติประยุกต์ หนังสือวิทยาการคอมฯ หนังสอื เทคโนโลยีคอมฯ หนังสือเคมี หนังสือชีววิทยา หนังสือฟิสิกส์ หนังสืออ้างอิง วิทยานิพนธ์ หนังสือนวนิยาย หนังสือ ทว่ั ไป เป็นต้น นอกจากห้องสมุดของคณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแลว้ นักศึกษาสามารถค้นคว้าเพิ่มเตมิ ได้จากหอ้ งสมดุ ของคณะต่าง ๆ ภายในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และสานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศของ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี ทุนการศกึ ษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ได้จัดให้มีทุนการศึกษาสาหรับนักศึกษาที่มีความประพฤติและผล การเรียนดี เพื่อนาไปใช้ประกอบการศึกษาเล่าเรียน รวมทั้งนักศึกษาท่ีขาดแคลนทุนทรัพย์ยังสามารถสมัครขอทุนใน โครงการกองทนุ ใหก้ ูย้ มื เพ่ือการศึกษาได้อีกทางหน่ึงด้วย

8 อาจารยท์ ีป่ รกึ ษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีการแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาให้กับนักศึกษาทุกกลุ่มเพ่ือทาหน้าที่ควบคุม ดูแลและให้คาปรึกษาเกี่ยวกับการเรียนของนักศึกษาในด้านต่าง ๆ ได้แก่ การลงทะเบียน การวางแผนการเรียน รวมทัง้ ปญั หาดา้ นการเรียนอนื่ ๆ ของนกั ศกึ ษา ระบบการศกึ ษา 1. การจัดการศกึ ษา ใช้ระบบทวิภาค โดยในหนึ่งปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ ซ่ึง 1 ภาคการศึกษามีระยะเวลา การศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีอาจ เปิดภาคการศึกษาฤดูร้อนซ่ึงเป็น ภาคการศึกษาที่ไม่บังคับ ใช้ระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 7 สัปดาห์ โดยให้เพิ่มชั่วโมงการศึกษาในแต่ละรายวิชาให้ เทา่ กับภาคการศึกษาปกติ 2. การคดิ หน่วยกติ 2.1 รายวิชาภาคทฤษฎี ใช้เวลาบรรยายหรืออภปิ รายปัญหาไม่น้อยกว่า 15 ชั่วโมงตอ่ ภาคการศึกษาปกติ ให้ มคี ่าเทา่ กับ 1 หน่วยกิต 2.2 รายวชิ าภาคปฏบิ ัติ ใชเ้ วลาปฏบิ ัตไิ มน่ ้อยกวา่ 30 ชว่ั โมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มคี า่ เทา่ กบั 1 หน่วยกิต 2.3 การฝึกงานสหกิจศึกษาหรือฝึกภาคสนาม ท่ีใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า 45 ช่ัวโมงต่อภาคการศึกษาปกติ คิด เปน็ การศกึ ษา 1 หน่วยกิต ระยะเวลาการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาตรี (4 ปี) จะสาเร็จการศึกษาได้ต้องศึกษาไม่น้อยกว่า 6 ภาคการศึกษาปกติ และให้ใช้ เวลาศึกษาไม่เกิน 8 ปีการศึกษาหรือตามหลักเกณฑ์ระยะเวลาการศึกษาท่ีสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กาหนด การลงทะเบียนเรียน 1. ในแตล่ ะภาคการศึกษาปกติ นกั ศกึ ษาจะต้องลงทะเบยี นเรียนไม่ต่ากว่า 9 หนว่ ยกิต ยกเว้นภาคการศึกษา ท่ีลงทะเบียนเรียนสหกิจศึกษา แต่ไม่เกิน 22 หน่วยกิต สาหรับภาคการศึกษาฤดูร้อนนักศึกษาจะ ลงทะเบยี นเรยี นไดไ้ มเ่ กนิ 9 หนว่ ยกิต 2. การลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาปกติทีม่ ีจานวนหน่วยกิตมากกว่า 22 หน่วยกิต แตไ่ มเ่ กนิ 25 หน่วย กิตหรือต่ากว่า 9 หน่วยกิต ต้องขออนุมัติคณบดีและได้เพียงหน่ึงภาคการศึกษา ยกเว้นภาคการศึกษา สุดท้ายท่ีนักศึกษาจะสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร และมีหน่วยกิตเหลืออยู่ไม่เกิน 25 หน่วยกิตหรือน้อย กวา่ 9 หนว่ ยกติ อาจขออนมุ ัติคณบดเี ป็นการเฉพาะรายไดอ้ ีก 1 ภาคการศึกษาปกติ การวัดผลและการสาเรจ็ การศกึ ษา การวัดและประเมินผลการศึกษา ให้ปฏิบัติตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าด้วย การศึกษาระดับปริญญาตรี ฉบับท่ี 1 พ.ศ. 2550 และ ฉบับที่ 2 พ.ศ.2556 และถ้ามีหน่วยกิตสะสมระหว่าง 30 -59 หน่วยกิต ได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมน้อยกว่า 1.50 จากระบบ 4.00 ระดับคะแนน หรือ หน่วยกิตสะสมต้ังแต่ 60 หน่วยกิตข้ึนไป ได้ค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสมน้อยกว่า 1.75 จากระบบ 4.00 ระดับคะแนน จะถูกบังคับให้พ้นสภาพ จากการเป็นนกั ศึกษาทนั ที ใหค้ ณะทเี่ ปดิ สอนในมหาวิทยาลยั ฯ จัดการวัดและประเมินผลการศึกษาสาหรับรายวิชาทนี่ กั ศึกษาลงทะเบยี น เรียนไว้ในภาคการศกึ ษาหนึ่ง ๆ

9 1. การประเมินผลการศึกษาในแต่ละรายวิชา ต้องกระทาเม่ือส้ินสุดภาคการศึกษาในแต่ละภาคการศึกษา โดยใหผ้ ลการประเมนิ เป็นระดบั คะแนน (Grade) ดังน้ี ระดบั คะแนน (Grade) คา่ ระดบั คะแนนต่อหน่วยกิต ผลการศึกษา ก หรือ A 4.0 ดเี ยย่ี ม (Excellent) ข+ หรอื B+ 3.5 ดีมาก (Very Good) ข หรอื B 3.0 ดี (Good) ค+ หรอื C+ 2.5 ดีพอใช้ (Fairly Good) ค หรอื C 2.0 พอใช้ (Fair) ง+ หรือ D+ 1.5 ออ่ น (Poor) ง หรือ D 1.0 ออ่ นมาก (Very Poor) ต หรอื F 0.0 ตก (Fail) ถ หรอื W - ถอนรายวชิ า (Withdrawn) ม.ส. หรอื I - ไม่สมบูรณ์ (Incomplete) พ.จ. หรอื S - พอใจ (Satisfactory) ม.จ. หรอื U - ไม่พอใจ (Unsatisfactory) ม.น. หรือ AU - ไมน่ บั หน่วยกิต (Audit) 2. การสาเร็จการศกึ ษาของนกั ศึกษา นักศึกษาจะต้องศึกษารายวิชาตา่ ง ๆ ให้ครบตามหลักสูตรตามข้อกาหนดของสาขาวิชา โดยมีหน่วยกิตสะสม รวมไมต่ า่ กวา่ ที่หลักสตู รกาหนดไว้ และได้ค่าระดับคะแนนเฉลีย่ สะสมตลอดหลักสูตรไมน่ ้อยกว่า 2.00 จากระบบ 4.00 ระดบั คะแนน คณุ สมบัตขิ องผเู้ ข้าศึกษา หลักสตู ร คุณสมบัตขิ องผ้เู ข้าศกึ ษา หลกั สตู ร 4 ปี วท.บ. (คณิตศาสตร)์ วท.บ. (สถติ ิประยกุ ต์) ม. 6 (วิทย์-คณิต) หรือเทียบเทา่ ปวช. หรือ เทียบเทา่ วท.บ. (วิทยาการคอมพวิ เตอร)์  วท.บ. (เทคโนโลยสี ารสนเทศ)  วท.บ. (เคม)ี  วท.บ. (ชวี วิทยาประยกุ ต)์  วท.บ. (ฟิสกิ สป์ ระยกุ ต์)   

10 ความหมายของเลขรหัสรายวชิ าและรหัสการจัดช่ัวโมงเรียน การกาหนดเลขรหัสรายวิชา ตามหลักสูตรระดับปริญญาตรี ประกอบด้วยตัวเลขท้ังหมด 8 ตัว รายละเอียด จาแนกดังแผนภมู ิตอ่ ไปน้ี XX - XXX- XXX 12 345 678 กาหนดรหสั 8 หลัก ตาแหน่งที่ 1-2 หมายถงึ คณะ ตาแหนง่ ท่ี 3 หมายถงึ ภาควชิ า/สาขา ตาแหน่งที่ 4 หมายถึง สาขาวิชา ตาแหนง่ ที่ 5 หมายถึง แขนงวชิ า/กลุม่ วิชา ตาแหนง่ ท่ี 6 หมายถึง ปีที่ควรศกึ ษา ตาแหน่งท่ี 7-8 หมายถึงลาดบั วชิ าในแขนงวชิ า/กลุ่มวิชา ตัวเลขท่ี 1-2 เปน็ ตวั เลขกล่มุ แรกแทนคณะวชิ าชีพตา่ ง ๆ ไดก้ าหนดไว้ ดังน้ี 01 แทน คณะศลิ ปศาสตร์ 02 แทน คณะครศุ าสตร์อุตสาหกรรม 03 แทน คณะเทคโนโลยีการเกษตร 04 แทน คณะวศิ วกรรมศาสตร์ 05 แทน คณะบริหารธรุ กิจ 06 แทน คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์ 07 แทน คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ 08 แทน คณะเทคโนโลยีส่ือสารมวลชน 09 แทน คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 10 แทน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ตวั เลขที่ 3 แทนภาควิชา/สาขา ตวั เลขท่ี 4 แทนสาขาวชิ า เน่อื งจากในโครงสร้างของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มสี าขาวิชา 7 สาขาวชิ า ตามลาดับดังน้ี 11 แทน สาขาวชิ าคณติ ศาสตร์ 12 แทน สาขาวชิ าสถิตปิ ระยุกต์ 13 แทน สาขาวชิ าวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ 14 แทน สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 21 แทน ภาควชิ าเคมี 31 แทน สาขาวิชาชีววิทยา 41 แทน สาขาวชิ าฟิสกิ ส์ ตัวเลขตาแหนง่ ที่ 5 แทนกลุ่มวิชา โดยใช้ตวั เลข 0-9 เชน่ สาขาวชิ าคณติ ศาสตรม์ ี 7 กลมุ่ วิชา จะใชต้ ัวเลขกลมุ่ วชิ า ตามลาดับ

11 ตวั เลขตาแหน่งท่ี 6 แทนปีท่ีควรศกึ ษา โดยกาหนดตัวเลข 0-4 ในตวั เลขตาแหนง่ ท่ี 6 แทนความหมายดงั ต่อไปนี้ ตวั เลข 0 แทนรายวชิ าที่ไม่กาหนดชั้นปีทค่ี วรศึกษา อาจจะศึกษาในชั้นปีใดกไ็ ด้ ตวั เลข 1 แทนรายวชิ าที่ควรจะศึกษาในชัน้ ปีท่ี 1 ตวั เลข 2 แทนรายวิชาทีค่ วรจะศึกษาในชนั้ ปีที่ 2 ตวั เลข 3 แทนรายวชิ าที่ควรจะศึกษาในชั้นปีที่ 3 ตัวเลข 4 แทนรายวชิ าที่ควรจะศึกษาในช้นั ปีท่ี 4 ตัวเลขตาแหน่งท่ี 7 และ 8 เป็นกลุ่มตัวเลขแสดงลาดับท่ีของรายวิชาในแต่ละกลุ่มวิชา ซ่ึงสามารถอธิบายได้ถึง 99 รายวิชา จาก 01-99 การแบ่งรายวชิ าและเนอ้ื หา การจดั รายวชิ าหรือเนื้อหาในหลกั สูตร ไดย้ ดึ หลักการแบบสมรรถฐาน โดยแยกสมรรถภาพทีจ่ าเปน็ และการ จดั แบ่งรายวิชา หนว่ ยเรียน และบทเรยี น โดยมุ่งคานึงใหน้ ักศกึ ษามีความสามารถบรรลผุ ลการเรียนได้ตามเกณฑ์ที่ กาหนดไว้ คือ 1. ความร้คู วามสามารถในดา้ นสตปิ ญั ญา (Cognitive Domain) 2. ทกั ษะในการปฏิบัติการ (Phychomotor Domain) 3. คุณลกั ษณะทจ่ี าเปน็ ทั้งในดา้ นเจตคตหิ รือกิจนสิ ยั (Affective Domain) การจดั ช่วั โมงเรยี น ได้พิจารณาถึงลักษณะการเรียนการสอนและกระบวนการเรียนรู้ของนักศึกษาที่สามารถเกิดขึ้นได้ท้ังใน ห้องเรียนและนอกหอ้ งเรยี น ดงั นน้ั ชั่วโมงเรยี นของนักศึกษามดี ังน้ี 1. เวลาการเรยี นร้ขู องนักศึกษามี 3 ลกั ษณะ 1.1 ช่ัวโมงทฤษฎี 1.2 ชว่ั โมงปฏิบัติ 1.3 ช่วั โมงศึกษานอกเวลา 2. เวลาศกึ ษาของนักศึกษา ประมาณสปั ดาหล์ ะ 45 - 60 ช่ัวโมง ระบไุ ดด้ ังนี้ X( X- X- X) 1234 ตาแหน่งท่ี 1 หมายถึง หน่วยกิต ตาแหน่งท่ี 2 หมายถงึ ชัว่ โมงเรียนทฤษฎี ตาแหน่งท่ี 3 หมายถงึ ชั่วโมงเรยี นปฏบิ ตั ิ ตาแหน่งที่ 4 หมายถึง ชวั่ โมงการศึกษานอกเวลา การนบั หน่วยกิต ให้ถือเกณฑ์ดงั น้ี 1. ชว่ั โมงเรยี นทฤษฎี 1 ชวั่ โมงเรียนต่อสปั ดาห์ เทา่ กับ 1 หน่วยกิต 2. ชั่วโมงเรียนปฏิบัติการในห้องเรียนหรือห้องทดลองหรือห้องปฏิบัติการ 2-3 ชั่วโมงเรียนต่อสัปดาห์ เท่ากบั 1 หนว่ ยกติ

12 สาขาวชิ าคณิตศาสตร์ หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าคณิตศาสตร์ ได้มีการปรับปรุงหลกั สูตรในปีการศกึ ษา 2553 เพ่ือให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (Thai Qualification Framework for Higher Education : TQF : HEd) พ.ศ. 2552 ในปีการศึกษา 2556 ได้มีการ ปรับปรุงหลักสูตร เพ่ือให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิทยาศาสตร์และ คณิตศาสตร์ (มคอ.1) พ.ศ. 2554 และคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา คณิตศาสตร์ ได้มีการปรับปรุงหลักสูตรอีกคร้ังเพ่ือให้สอดคล้องกับนโยบายของทางมหาวิทยาลัยที่ เน้นการผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ (Hands On) และมีการกาหนดสมรรถนะของสาขาวิชาคณิตศาสตร์ ในแต่ละชั้นปีที่สามารถวัดและประเมินผลได้ นอกจากนี้หลักสูตรฉบับน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือผลิต บณั ฑิตนกั ปฏิบตั ิสาขาวิชาคณิตศาสตร์ ที่มคี วามรู้ดา้ นคณิตศาสตร์ สามารถนาความรูไ้ ปประยกุ ตใ์ ช้ ได้ตามความเหมาะสม ปฏิบัติงานได้จริง มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อตนเองและ สงั คม และพฒั นาคุณลักษณะของบัณฑิต หลักสตู รฉบับนี้ไดน้ าแนวคิดการจดั การศึกษาแบบ STEM (Science, Technology, Engineering, and Mathematics) มาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียน การสอน อีกทั้งยังมีการกาหนดให้มกี ารเรียนรู้ในกลุ่มวชิ าเสรมิ สรา้ งประสบการณ์ในวิชาชีพไม่น้อย กวา่ 1 ภาคการศึกษาเพือ่ เพ่มิ พนู ทกั ษะในการปฏิบตั งิ าน เสริมสรา้ งประสบการณ์และร้จู ักแก้ปญั หา ในสภาพการทางานจริง ชอ่ื หลักสตู ร หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ ภาษาไทย Bachelor of Science Program in Mathematics ภาษาอังกฤษ วทิ ยาศาสตรบัณฑิต (คณิตศาสตร์) ช่ือปรญิ ญา วท.บ. (คณิตศาสตร์) ช่อื เตม็ ภาษาไทย Bachelor of Science (Mathematics) ชอ่ื ย่อภาษาไทย B.Sc. (Mathematics) ชื่อเตม็ ภาษาอังกฤษ ชื่อย่อภาษาองั กฤษ

13 โครงสร้างหลักสูตร 133 หน่วยกติ จานวนหนว่ ยกติ รวมตลอดหลกั สตู ร 33 หนว่ ยกติ หมวดวชิ าศึกษาทว่ั ไป 6 หนว่ ยกิต กลมุ่ วชิ าสงั คมศาสตร์และมนษุ ยศาสตร์ 15 หน่วยกิต กลมุ่ วชิ าภาษา 6 หน่วยกติ กลมุ่ วิชาวทิ ยาศาสตร์กับคณติ ศาสตร์ 1 หนว่ ยกิต กลุ่มวิชาพลศกึ ษาหรือนนั ทนาการ 5 หน่วยกิต กลมุ่ วิชาบูรณาการ 94 หนว่ ยกิต หมวดวชิ าเฉพาะ 24 หน่วยกิต กลุม่ วชิ าพ้ืนฐานวิชาชพี 36 หน่วยกติ กลุ่มวชิ าชพี บังคับ 27 หน่วยกติ กลมุ่ วิชาชพี เลือก 7 หน่วยกติ กลุม่ วิชาเสรมิ สร้างประสบการณ์ในวิชาชีพ 6 หนว่ ยกิต หมวดวชิ าเลือกเสรี รายวิชา หมวดวชิ าศึกษาทว่ั ไป 33 หนว่ ยกติ กลมุ่ วชิ าสงั คมศาสตรแ์ ละมนุษยศาสตร์ 6 หนว่ ยกติ รายวชิ าสังคมศาสตร์ 3 หนว่ ยกติ ให้เลือกศกึ ษาจากรายวชิ าต่อไปนี้ 01-110-003 มนุษยสัมพันธ์ 3(3-0-6) 01-110-006 01-110-009 Human Relations 01-110-011 01-110-012 ประชากรศาสตร์เบือ้ งต้น 3(3-0-6) Introduction to Demography การพฒั นาคณุ ภาพชีวติ และสังคม 3(3-0-6) Development of Social and Life Quality เศรษฐศาสตร์ทัว่ ไป 3(3-0-6) General Economics ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งเพอ่ื การพัฒนาท่ยี ั่งยืน 3(3-0-6) Sufficiency Economy for Sustainable Development

14 01-110-014 กฎหมายในชวี ิตประจาวัน 3(3-0-6) Law in Daily Life รายวชิ ามนษุ ยศาสตร์ 3 หน่วยกติ ให้เลอื กศกึ ษาจากรายวชิ าต่อไปน้ี 01-210-001 สารนเิ ทศและการเขยี นรายงานทางวิชาการ 3(3-0-6) 01-210-005 Information and Academic Report Writing 3(3-0-6) 01-210-008 3(3-0-6) 01-210-016 จติ วทิ ยาประยกุ ตเ์ พื่อการทางาน 3(3-0-6) Applied Psychology to Work การใชเ้ หตผุ ลและจรยิ ธรรม Reasoning and Ethics พหุวัฒนธรรมในอาเซยี น Cultural Pluralism of ASEAN กลุ่มวชิ าภาษา 15 หน่วยกติ รายวชิ าภาษาองั กฤษบงั คบั 9 หน่วยกิต ให้ศึกษาจากรายวชิ าต่อไปนี้ 01-320-001 ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร 1 3(2-2-5) 01-320-002 English for Communication 1 3(2-2-5) 01-320-003 3(2-2-5) ภาษาอังกฤษเพ่ือการสอ่ื สาร 2 English for Communication 2 สนทนาภาษาอังกฤษ English Conversation รายวิชาภาษาอังกฤษ 3 หน่วยกิต ใหเ้ ลือกศกึ ษาจากรายวชิ าตอ่ ไปน้ี 01-320-006 ภาษาองั กฤษเพื่อวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3(2-2-5) 01-320-007 English for Science and Technology 3(2-2-5) 01-320-008 3(2-2-5) ภาษาองั กฤษเพือ่ การนาเสนอ English for Presentations การเขยี นภาษาองั กฤษสาหรบั ชวี ิตประจาวัน English Writing for Everyday Life

15 01-320-010 ภาษาอังกฤษเพ่อื การทดสอบ 3(2-2-5) Preparation for English Standardized Tests รายวิชาภาษาไทย 3 หน่วยกิต ใหเ้ ลอื กศึกษาจากรายวิชาต่อไปนี้ 01-310-001 ภาษาไทยเพือ่ การสือ่ สาร 3(2-2-5) 01-310-004 Thai for Communication 3(3-0-6) 01-310-006 3(3-0-6) 01-310-009 ภาษาไทยเพือ่ การนาเสนอ 3(2-2-5) Thai for Presentation การอา่ นและการเขยี นทางวิชาการ Academic Reading and Writing ศลิ ปะการพูด Arts of Speaking กลมุ่ วิชาวทิ ยาศาสตรก์ บั คณิตศาสตร์ 6 หนว่ ยกติ รายวชิ าบงั คบั 3 หนว่ ยกติ ให้ศกึ ษาจากรายวชิ าต่อไปนี้ 09-000-001 ทกั ษะการใช้คอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ 3(2-2-5) Computer and Information Technology Skills รายวชิ าเลอื ก 3 หนว่ ยกิต ใหเ้ ลอื กศึกษาจากรายวชิ าตอ่ ไปนี้ 09-130-044 การใช้โปรแกรมสาหรบั สานกั งานสมยั ใหม่ 3(2-2-5) 09-311-051 Application of Software for Modern Offices 3(3-0-6) 09-410-044 3(3-0-6) ชวี ิตกับสิ่งแวดล้อม Life and Environment วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี Science and Technology กล่มุ วชิ าพลศกึ ษาหรือนนั ทนาการ 1 หนว่ ยกติ ให้เลือกศึกษาจากรายวชิ าต่อไปน้ี 01-610-001 กีฬาประเภทบุคคล 1(0-2-1) 01-610-002 Individual Sports 1(0-2-1) กฬี าประเภททมี Team Sports

16 01-610-003 นันทนาการ 1(0-2-1) Recreation กลมุ่ วชิ าบูรณาการ 5 หน่วยกติ รายวชิ าบงั คบั 3 หนว่ ยกิต ให้ศกึ ษาจากรายวชิ าต่อไปน้ี 01-000-001 ทกั ษะทางสงั คม 3(3-0-6) Social Skills รายวชิ าเลือก 2 หนว่ ยกติ ให้เลือกศกึ ษาจากรายวชิ าตอ่ ไปน้ี 01-010-006 ภูมปิ ญั ญาไทยเพอ่ื ชีวติ ท่ีพอเพียง 2(2-0-4) 01-010-009 01-010-010 Thai Wisdom for Sufficiency Life 01-010-012 01-010-014 ทกั ษะการเรียนรู้สู่ความสาเร็จ 2(2-0-4) 09-090-011 Learning Skill for Success การพัฒนาบคุ ลกิ ภาพ 3(3-0-6) Personality Development อาเซียนรว่ มสมัย 2(2-0-4) Contemporary ASEAN การควบคุมน้าหนกั และรปู ร่างเพ่ือสขุ ภาพ 2(1-2-3) Weight Control and Body Shapes for Health การสอ่ื สารวทิ ยาศาสตร์และการสร้างความตระหนกั 2(1-2-3) ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ Science Communication and Public Awareness หมวดวชิ าเฉพาะ 94 หนว่ ยกติ กลุ่มวิชาพน้ื ฐานวชิ าชีพ 24 หนว่ ยกิต ใหศ้ กึ ษาจากรายวชิ าตอ่ ไปน้ี 09-111-151 แคลคูลสั 1 3(3-0-6) 09-111-152 Calculus 1 3(3-0-6) แคลคูลัส 2 Calculus 2

17 09-114-202 โปรแกรมสาเรจ็ รปู ทางคณิตศาสตร์ 3(2-2-5) 09-210-125 Mathematical Software 3(3-0-6) 09-210-126 1(0-3-1) 09-311-148 เคมี 1 3(3-0-6) 09-311-149 Chemistry 1 1(0-3-1) 09-410-155 3(3-0-6) 09-410-156 ปฏบิ ตั ิการเคมี 1 1(0-3-1) 09-416-203 Chemistry Laboratory 1 3(3-0-6) หลกั ชวี วทิ ยา 3(3-0-6) Principles of Biology 3(3-0-6) 3(3-0-6) ปฏิบตั ิการหลักชีววิทยา 3(3-0-6) Principles of Biology Laboratory 3(3-0-6) 3(3-0-6) ฟิสิกสเ์ บอื้ งต้น Introductory Physics ปฏบิ ัตกิ ารฟิสกิ ส์เบือ้ งต้น Introductory Physics Laboratory ภัยพิบัตธิ รรมชาติ Natural Disaster กลุ่มวิชาชีพบังคับ 36 หนว่ ยกติ ใหศ้ กึ ษาจากรายวชิ าตอ่ ไปนี้ 09-111-253 แคลคูลัสขั้นสูง 09-111-337 Advanced Calculus 09-113-201 09-113-202 สมการเชิงอนุพันธ์ 09-113-203 Differential Equations 09-113-305 หลักคณิตศาสตร์ Principles of Mathematics พชี คณิตเชิงเสน้ Linear Algebra ทฤษฎจี านวนและการประยกุ ต์ Number Theory and Applications การวเิ คราะห์เชิงคณิตศาสตร์ 1 Mathematical Analysis 1

18 09-113-306 พีชคณติ นามธรรม 1 3(3-0-6) 09-113-307 Abstract Algebra 1 3(3-0-6) 09-114-201 3(3-0-6) 09-114-307 ตัวแปรเชงิ ซอ้ น 1 3(2-2-5) 09-114-311 Complex Variables 1 3(2-2-5) 09-115-305 1(0-3-1) 09-115-401 ความนา่ จะเป็นและสถิติ 1(0-3-1) 09-115-406 Probability and Statistics 1(0-3-1) ระเบยี บวธิ ีเชิงตวั เลข 3(3-0-6) Numerical Methods 3(3-0-6) 3(3-0-6) การสรา้ งตวั แบบทางคณติ ศาสตร์ 3(3-0-6) Mathematical Modelling 3(3-0-6) โครงงานดา้ นคณิตศาสตร์ 1 Project in Mathematics 1 สมั มนาทางคณิตศาสตร์ Seminar in Mathematics โครงงานดา้ นคณติ ศาสตร์ 2 Project in Mathematics 2 กล่มุ วชิ าชพี เลอื ก 27 หน่วยกิต ให้เลือกศกึ ษาจากรายวิชาตอ่ ไปนี้ รายวชิ าคณิตศาสตร์ 09-111-338 สมการเชงิ อนพุ นั ธย์ อ่ ย 09-113-212 Partial Differential Equations 09-113-304 09-113-308 ทฤษฎเี ซต 09-113-311 Set Theory ทฤษฎสี มการเบื้องตน้ Introduction to Theory of Equations การวเิ คราะหเ์ ชิงฟังก์ชันเบอ้ื งต้น Introduction to Functional Analysis การวเิ คราะหเ์ ชิงคณติ ศาสตร์ 2 Mathematical Analysis 2

19 09-113-314 ตวั แปรเชิงซ้อน 2 3(3-0-6) 09-113-409 Complex Variables 2 3(3-0-6) 09-113-410 3(3-0-6) 09-113-413 ทอพอโลยี 3(3-0-6) 09-114-203 Topology 3(2-2-5) 09-114-206 3(2-2-5) 09-114-308 การวเิ คราะหเ์ วกเตอร์ 3(2-2-5) 09-115-304 Vector Analysis 3(2-2-5) 09-115-402 3(2-2-5) พชี คณิตนามธรรม 2 Abstract Algebra 2 3(2-2-5) 3(2-2-5) วิยตุ คณติ 3(2-2-5) Discrete Mathematics 3(2-2-5) 3(2-2-5) ทฤษฎีกราฟและการประยุกต์ Graph Theory and Applications พีชคณิตเชิงเสน้ เชงิ ตัวเลข Numerical Linear Algebra ทักษะการนาเสนอผลงานทางดา้ นคณิตศาสตร์ Presentation Skills in Mathematics หวั ข้อเรอ่ื งปัจจบุ ันทางคณิตศาสตร์ Current Topics in Mathematics รายวิชาคณติ ศาสตรป์ ระยุกต์ทางธุรกจิ 09-114-204 การเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอรท์ างคณติ ศาสตร์ 09-114-205 Computer Programming in Mathematics 09-114-312 09-114-313 การโปรแกรมเชิงคณิตศาสตร์ 09-114-314 Mathematical Programming วิธกี ารหาคา่ ท่ีเหมาะสมทีส่ ุด Optimization Methods วธิ เี ชงิ ปรมิ าณสาหรบั การตัดสนิ ใจ Quantitative Mathods for Decision ความนา่ จะเปน็ และกระบวนการเฟ้นสุม่ Probability and Stochastic Process

20 09-114-315 ระเบียบวธิ ีการวจิ ยั 3(2-2-5) 09-114-316 09-114-317 Research Methodology 09-114-318 09-114-319 คณิตศาสตรป์ ระกันภัย 3(3-0-6) 09-114-320 09-114-321 Mathematics of Insurance 09-115-403 09-123-303 การแจกแจงความสญู เสียเบอ้ื งต้น 3(2-2-5) Introduction to Loss Distribution คณิตศาสตร์การเงนิ 3(2-2-5) Mathematics of Finance โครงสร้างขอ้ มูลและข้นั ตอนวธิ ที างคณติ ศาสตร์ 3(2-2-5) Data Structures and Algorithms in Mathematics ระบบฐานขอ้ มูลเบอื้ งตน้ 3(2-2-5) Introduction to Database Systems การทาเหมืองขอ้ มูลเบ้อื งตน้ 3(2-2-5) Introduction to Data Mining หัวข้อเรอื่ งพิเศษทางคณติ ศาสตร์ประยกุ ต์ 3(2-2-5) Special Topics in Applied Mathematics การใช้โปรแกรมสาเร็จรปู ทางสถิติ 3(2-2-5) Usage of Statistical Software กลมุ่ วิชาเสรมิ สรา้ งประสบการณว์ ชิ าชพี 7 หนว่ ยกิต รายวชิ าบงั คบั 1 หน่วยกิต ใหศ้ กึ ษาจากรายวชิ าตอ่ ไปน้ี 09-116-301 การเตรียมความพร้อมฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพทาง 1(0-2-1) คณติ ศาสตร์ Preparation for Professional Experience in Mathematics รายวิชาเลอื ก 6 หนว่ ยกิต ใหเ้ ลอื กศกึ ษาจากรายวชิ าตอ่ ไปน้ี 09-116-304 ฝึกงานทางคณิตศาสตร์ 3(0-40-0) 09-116-305 On-the-Job Training in Mathematics ฝกึ งานต่างประเทศทางคณติ ศาสตร์ 3(0-40-0) International on-the-Job Training in Mathematics

21 09-116-402 สหกิจศกึ ษาทางคณิตศาสตร์ 6(0-40-0) 09-116-403 09-116-406 Cooperative Education in Mathematics 09-116-407 สหกจิ ศึกษาต่างประเทศทางคณิตศาสตร์ 6(0-40-0) International Cooperative Education in Mathematics ปญั หาพเิ ศษจากสถานประกอบการทางคณติ ศาสตร์ 3(0-6-3) Workplace Special Problem in Mathematics ประสบการณ์ตา่ งประเทศทางคณติ ศาสตร์ 3(0-6-3) International Experience in Mathematics หมวดวชิ าเลือกเสรี 6 หนว่ ยกติ ให้เลือกศึกษาได้จากรายวิชาที่เปิดสอนในหลักสูตรต่างๆของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธญั บรุ ี โดยต้องไมซ่ ้ากบั รายวชิ าที่ศึกษามาแลว้ และไมเ่ ป็นรายวชิ าทกี่ าหนดให้เรยี นโดยไม่ นับหนว่ ยกติ ทัง้ น้ตี ้องไดร้ ับความเหน็ ชอบจากอาจารยท์ ่ปี รึกษาและคณะกรรมการประจาหลักสูตร

22 แผนการศกึ ษา : ปีที่ 1 / ภาคการศึกษาท่ี 1 หน่วยกติ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศึกษาดว้ ย ตนเอง 01-110-xxx เลอื กจากรายวชิ าสังคมศาสตร์ 3 30 01-310-xxx เลอื กจากรายวชิ าภาษาไทย 3 xx 6 01-320-001 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่อื สาร 1 3 22 x 09-000-001 ทักษะการใชค้ อมพวิ เตอรแ์ ละ 3 22 5 เทคโนโลยีสารสนเทศ 09-111-151 แคลคูลสั 1 5 09-210-125 เคมี 1 09-210-126 ปฏิบตั กิ ารเคมี 1 33 0 6 33 0 6 รวม 10 3 19 หนว่ ยกติ 1 ปที ี่ 1 / ภาคการศกึ ษาที่ 2 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศกึ ษาดว้ ย ตนเอง 01-210-xxx เลือกจากรายวิชามนุษยศาสตร์ 3 30 01-320-002 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การส่อื สาร 2 3 22 6 01-610-xxx เลอื กจากกล่มุ วชิ าพลศึกษาหรอื 1 02 5 1 นันทนาการ 3 30 09-111-152 แคลคูลสั 2 3 30 6 09-311-148 หลกั ชีววิทยา 1 03 6 09-311-149 ปฏบิ ัตกิ ารหลักชีววิทยา 1 3 xx x 09-xxx-xxx เลอื กจากกลุม่ วิชาวิทยาศาสตร์กับ คณติ ศาสตร์ 2x x x 19 หน่วยกติ xx-xxx-xxx เลือกจากกลุ่มวิชาบูรณาการ รวม

23 ปีที่ 2 / ภาคการศกึ ษาท่ี 1 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศกึ ษาดว้ ย ตนเอง 01-320-003 สนทนาภาษาองั กฤษ 09-111-253 แคลลลู สั ข้นั สูง 3 22 5 09-113-201 หลักคณติ ศาสตร์ 09-114-201 ความน่าจะเปน็ และสถติ ิ 3 30 6 09-410-155 ฟิสกิ สเ์ บ้ืองตน้ 09-410-156 ปฏิบตั กิ ารฟสิ กิ ส์เบ้ืองตน้ 3 30 6 09-xxx-xxx เลือกจากกล่มุ วชิ าชีพเลือก 3 30 6 รวม 3 30 6 1 03 1 3 xx x 19 หนว่ ยกติ ปที ี่ 2 / ภาคการศกึ ษาท่ี 2 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศึกษาด้วย ตนเอง 01-320-xxx เลอื กจากรายวชิ าภาษาอังกฤษ 3 22 5 09-111-337 สมการเชิงอนพุ ันธ์ 3 30 6 09-113-202 พีชคณิตเชิงเสน้ 3 30 6 09-113-203 ทฤษฎีจานวนและการประยุกต์ 3 30 6 09-114-202 โปรแกรมสาเรจ็ รปู ทางคณติ ศาสตร์ 3 22 5 09-416-203 ภยั พบิ ัตธิ รรมชาติ 3 30 6 09-xxx-xxx เลือกจากกลมุ่ วชิ าชพี เลือก 3 xx x รวม 21 หนว่ ยกติ

24 แผนการศกึ ษาสาหรบั นกั ศกึ ษาที่เลือกรายวิชาสหกจิ ศกึ ษา ปีท่ี 3 / ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกติ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศึกษาด้วย ตนเอง 01-000-001 ทกั ษะทางสงั คม 3 30 6 09-113-305 การวเิ คราะหเ์ ชงิ คณิตศาสตร์ 1 3 30 6 09-113-307 ตัวแปรเชงิ ซอ้ น 1 3 30 6 09-114-307 ระเบยี บวธิ เี ชงิ ตัวเลข 3 22 5 09-xxx-xxx เลือกจากกลมุ่ วิชาชีพเลอื ก 3 xx x 09-xxx-xxx เลือกจากกลุ่มวิชาชีพเลอื ก 3 xx x 09-xxx-xxx เลือกจากกลุม่ วชิ าชีพเลอื ก 3 xx x รวม 21 หน่วยกิต ปที ี่ 3 / ภาคการศกึ ษาที่ 2 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศกึ ษาดว้ ย ตนเอง 09-113-306 พีชคณิตนามธรรม 1 3 30 6 09-114-311 การสร้างตัวแบบทางคณติ ศาสตร์ 3 2 2 5 09-115-305 โครงงานดา้ นคณิตศาสตร์ 1 1 03 1 09-116-301 การเตรียมความพรอ้ มฝกึ 1 02 1 ประสบการณว์ ชิ าชีพทางคณิตศาสตร์ 09-xxx-xxx เลอื กจากกล่มุ วชิ าชีพเลือก 3 xx x 09-xxx-xxx เลือกจากกลมุ่ วชิ าชพี เลอื ก 3 xx x 09-xxx-xxx เลอื กจากกลุ่มวชิ าชพี เลอื ก 3 xx x xx-xxx-xxx เลือกจากกลุม่ วิชาเลอื กเสรี 3 xx x รวม 20 หนว่ ยกิต

25 ปีที่ 4 / ภาคการศกึ ษาที่ 1 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศกึ ษาด้วย ตนเอง 09-116-402 สหกิจศึกษาทางคณิตศาสตร์ หรือ 6 0 40 0 09-116-403 สหกิจศกึ ษาต่างประเทศทาง 6 หนว่ ยกติ คณิตศาสตร์ รวม ปที ่ี 4 / ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศึกษาด้วย ตนเอง 09-115-401 สมั มนาทางคณติ ศาสตร์ 09-115-406 โครงงานด้านคณิตศาสตร์ 2 1 03 1 09-xxx-xxx เลือกจากกลุ่มวชิ าชพี เลือก xx-xxx-xxx เลอื กจากกลมุ่ วชิ าเลอื กเสรี 1 03 1 รวม 3 xx x 3 xx x 8 หน่วยกิต

26 แผนการศกึ ษาสาหรบั นกั ศกึ ษาทีเ่ ลอื กรายวิชาฝึกงาน ปที ี่ 3 / ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกติ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศกึ ษาด้วย ตนเอง 01-000-001 ทกั ษะทางสงั คม 09-113-305 การวเิ คราะหเ์ ชิงคณติ ศาสตร์ 1 3 30 6 09-113-307 ตัวแปรเชิงซอ้ น 1 09-114-307 ระเบยี บวธิ ีเชงิ ตวั เลข 3 30 6 09-xxx-xxx เลือกจากกลุ่มวชิ าชีพเลอื ก 3 30 6 รวม 3 22 5 3 xx x 15 หนว่ ยกติ ปีที่ 3 / ภาคการศกึ ษาที่ 2 หน่วยกติ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศกึ ษาดว้ ย ตนเอง 09-113-306 พชี คณติ นามธรรม 1 3 30 6 09-114-311 การสรา้ งตัวแบบทางคณิตศาสตร์ 3 2 2 5 09-115-305 โครงงานดา้ นคณิตศาสตร์ 1 1 03 1 09-116-301 การเตรยี มความพร้อมฝกึ 1 02 1 ประสบการณ์วชิ าชีพทางคณิตศาสตร์ 09-xxx-xxx เลอื กจากกลุ่มวชิ าชีพเลอื ก 3 xx x 09-xxx-xxx เลอื กจากกลมุ่ วชิ าชีพเลือก 3 xx x xx-xxx-xxx เลอื กจากกลุ่มวชิ าเลอื กเสรี 3 xx x รวม 17 หนว่ ยกติ ปีที่ 3 / ภาคการศกึ ษาฤดรู ้อน หนว่ ยกติ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศึกษาด้วย ตนเอง 09-116-304 ฝกึ งานทางคณติ ศาสตร์ หรือ 3 0 40 0 09-116-305 ฝึกงานต่างประเทศทางคณิตศาสตร์ รวม 3 หน่วยกิต

27 ปีท่ี 4 / ภาคการศกึ ษาท่ี 1 หนว่ ยกติ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศึกษาดว้ ย ตนเอง 09-116-406 ปัญหาพิเศษจากสถานประกอบการ 3 06 3 ทางคณติ ศาสตร์ 09-xxx-xxx เลอื กจากกลมุ่ วิชาชีพเลือก 3 xx x 09-xxx-xxx เลือกจากกลุม่ วชิ าชพี เลอื ก 3 xx x 09-xxx-xxx เลือกจากกลมุ่ วชิ าชีพเลอื ก 3 xx x รวม 12 หนว่ ยกิต ปที ่ี 4 / ภาคการศกึ ษาที่ 2 หน่วยกติ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศกึ ษาด้วย ตนเอง 09-115-401 สมั มนาทางคณิตศาสตร์ 09-115-406 โครงงานด้านคณติ ศาสตร์ 2 1 03 1 09-xxx-xxx เลือกจากกลมุ่ วิชาชีพเลือก xx-xxx-xxx เลือกจากกลุม่ วชิ าเลือกเสรี 1 03 1 รวม 3 xx x 3 xx x 8 หนว่ ยกติ

28 คาอธิบายรายวชิ า 01-110-003 มนุษยสัมพันธ์ 3(3-0-6) Human Relations ความสาคัญและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับวิชามนุษยสัมพันธ์ พฤติกรรมของมนุษย์ มนุษยสมั พนั ธ์ในครอบครัว มนษุ ยสัมพันธ์ตามพ้ืนฐานวฒั นธรรมไทย หลักธรรม ของศาสนากับมนุษยสัมพันธ์ มนุษยสัมพันธ์ในหน่วยงานกับการปฏิบัติงาน แรงจูงใจในการทางาน ผู้นากับมนุษยสัมพันธ์ การติดต่อสื่อสารกับมนุษย สมั พนั ธ์ และการฝึกอบรมเพ่ือมนษุ ยสมั พนั ธ์ที่ดี Importance and theories related to human relations, human behavior, human relations in families, human relations based on Thai culture, religious doctrine in human relations, corporate human relations in work, work motivation, leadership and human relations, communication and training for good human relations 01-110-006 ประชากรศาสตร์เบือ้ งต้น 3(3-0-6) Introduction to Demography ลักษณะของวิชาประชากรศาสตร์ โครงสร้างทางประชากรทางด้านเพศและ องค์ประกอบทางประชากร ได้แก่ การเกิด การตาย การย้ายถ่ิน ชาติพันธุ์ การศึกษา ศาสนา การคานวณหาอัตราและสัดส่วนของโครงสร้างและ องค์ประกอบของประชากรอย่างง่าย อิทธิพลของการเพ่ิมของประชากร ทฤษฎี พน้ื ฐานในการอธิบายปรากฏการณ์ทางประชากรท่มี อี ทิ ธพิ ลตอ่ สังคม ความสาคัญ ของการกาหนดนโยบายและการวางแผนทางประชากรในการพัฒนาประเทศ Characteristics of demography, structure of population in terms of genders and population factors birth, death, emigration, ethnics, education, religion etc., simple calculation of ratio and proportion of structure and factors of population, influences of population increases, fundamental theories in explaining population phenomena influencing society, importance of population policy and planning in country development

29 01-110-009 การพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ และสงั คม 3(3-0-6) Development of Social and Life Quality ปรัชญาและหลกั ธรรมในการดารงชีวิตของบุคคลการสรา้ งแนวคิดและเจตคตขิ อง ตนเอง หลักธรรมในการสร้างคุณภาพชวี ติ บทบาทหน้าท่ีและความรบั ผดิ ชอบของ บคุ คล หลักการบริหารและการพฒั นาตนเอง การมีสว่ นร่วมในกิจกรรมทางสังคม เทคนิคการครองใจคน หลกั การพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพ คุณธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาวชิ าชีพ Philosophy and Dharma principles in daily life, creating their own ideas and attitudes, Dharma principles of creating life quality, individual roles and responsibilities, management principles and self- development, participation in social activities, technique of winning the one’s hearts, principles for effective job development, ethics and code of conduct 01-110-011 เศรษฐศาสตรท์ ว่ั ไป 3(3-0-6) General Economics ความหมาย ขอบเขตของวิชาเศรษฐศาสตร์ การผลิต พฤติกรรมของผู้บริโภค อุปสงค์ อุปทาน และดุลยภาพของตลาด การตลาดและการแข่งขัน รายได้ ประชาชาติ การเงนิ การธนาคาร และการคลงั การคา้ ระหวา่ งประเทศ การพฒั นา เศรษฐกจิ และสังคมตลอดจนปญั หาเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศไทย Concepts and scope of economics, production, consumer behavior demand, supply and market equilibrium, marketing and competition, principles of national income, finance and banking, public finance, international economic, economic and social development, and socio-economic problems in Thailand 01-110-012 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งเพ่ือการพฒั นาท่ียง่ั ยืน 3(3-0-6) Sufficiency Economy for Sustainable Development ความหมาย ความเป็นมาความสาคญั ของปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงและการพฒั นา เศรษฐกิจแบบยั่งยืน แนวคิดและแนวปฏิบัติของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือ นาไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจแบบย่ังยืน การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

30 กบั การแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและสังคมของไทย กรณีตวั อย่างเศรษฐกิจพอเพียงท่ี ประสบความสาเร็จ Concepts of sufficiency economy philosophy and sustainable development, application of the philosophy in dealing with social and economic problems in Thailand, case study on successful sufficiency-economy activities in Thailand 01-110-014 กฎหมายในชวี ติ ประจาวัน 3(3-0-6) Law in Daily Life ความสาคัญของกฎหมายกับการดารงชีวิต บุคคล นิติบุคคล นิติกรมสัญญา หน้ี ทรัพยส์ ิน ครอบครวั และมรดก The importance of law usage in daily life, juristic person, juristic act and contract, obligation, property, family and succession law 01-210-001 สารนเิ ทศและการเขียนรายงานทางวิชาการ 3(3-0-6) Information and Academic Report Writing สารสนเทศ รายงานทางวิชาการ แหล่งสารสนเทศ ทรัพยากรสารสนเทศและ บริการสารสนเทศ การสืบค้นและรวบรวมบรรณานุกรม การประเมิน การ วเิ คราะห์ การสงั เคราะหแ์ ละการอา้ งองิ การจัดทารปู เลม่ รายงานทางวิชาการ Information, academic report writing, information source, information service and resource, information and bibliography retrieval, evaluating, analyzing, synthesizing and citation, compilation of papers with academic report writing standards 01-210-005 จิตวทิ ยาประยกุ ตเ์ พอ่ื การทางาน 3(3-0-6) Applied Psychology to Work พฤติกรรมการทางาน การทางานเป็นทีม การสื่อสารในการทางาน แรงจูงใจใน การทางาน ภาวะผู้นา วัฒนธรรมองค์การ สภาพแวดล้อมและสุขภาพในการ ทางาน การบริหารความขัดแยง้

31 Behavior of working, team work, communication in work, motivation, leadership, corporate culture, environment and health in work and conflict management 01-210-008 การใช้เหตุผลและจรยิ ธรรม 3(3-0-6) Reasoning and Ethics การคิด การอ้างเหตุผล การใช้เหตุผลท่ีใช้ในชีวิตประจาวัน จริยศาสตร์และ จริยธรรมทางศาสนา การเรียนรู้จริยธรรมและการพัฒนาจริยธรรม ค่านิยมทาง จริยธรรมของสงั คมไทยและจรรยาบรรณทางวชิ าชพี Thinking, argumentation, everyday life reasoning, ethics and morals, learning and development of ethics, ethical virtue in Thai society, and professional code of ethics 01-210-016 พหวุ ฒั นธรรมในอาเซยี น 3(3-0-6) Cultural Pluralism of ASEAN แนวคิดเกี่ยวกับพหุวัฒนธรรม ท่ีมาของอาเซียน วัฒนธรรมของประเทศสมาชิก อาเซียน ผลกระทบของความหลากหลายทางวัฒนธรรมและการแพร่กระจาย วัฒนธรรมอาเซยี นสูส่ งั คมโลก Multicultural concepts, the basic of ASEAN, cultures of ASEAN countries, multicultural impacts and cultural dissemination of ASEAN in global society 01-320-001 ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่อื สาร 1 3(2-2-5) English for Communication 1 คาศัพท์ สานวน ภาษาท่ีใช้ในการบอกข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง กิจวัตรประจาวัน ความสนใจ การสนทนาสั้นๆ ในสถานการณ์ต่างๆ การเขยี นขอ้ ความสัน้ ๆ การ ฟงั และอา่ นข้อความส้ันๆ จากส่อื ตา่ ง ๆ Vocabulary, expressions and language patterns for giving personal information, routines and interests; short conversations in various situations; writing short statements; and listening to and reading short and simple texts

32 01-320-002 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การส่ือสาร 2 3(2-2-5) English for Communication 2 คาศัพท์ สานวน ภาษาท่ีใช้ในการเล่าเรื่อง อธิบาย และให้เหตุผล การสนทนา อย่างต่อเนอื่ งในสถานการณ์ต่างๆ ในชีวติ ประจาวนั การเขยี นบรรยายสน้ั ๆ การ ฟงั และการอา่ นเน้ือหาในเรอื่ งทีเ่ กีย่ วขอ้ งจากส่ือ Vocabulary, expressions and language patterns used in daily life for telling stories, giving explanations and reasons, exchanging information continuously, writing short and connected descriptions, listening to and reading longer texts 01-320-003 สนทนาภาษาองั กฤษ 3(2-2-5) English Conversation คาศัพท์ สานวน และโครงสร้างภาษาในการสนทนาตามสถานการณ์ต่างๆท่ี เหมาะสมกับวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา Vocabulary, expressions and language structures appropriately used in various situations according to native speaker’s culture 01-320-006 ภาษาอังกฤษเพ่อื วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 3(2-2-5) English for Science and Technology คาศัพท์ สานวน และโครงสร้างภาษาในการฟัง พูด อ่านและเขียน เพื่อการ สื่อสารในสถานการณ์ต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี Vocabulary, expressions and language structures, used in listening, speaking, reading and writing based on environment, science and technology topics 01-320-007 ภาษาอังกฤษเพ่อื การนาเสนอ 3(2-2-5) English for Presentations คาศพั ท์ สานวน โครงสรา้ งภาษาในการนาเสนองานในแต่ละขั้นตอน การใชว้ จน ภาษาและอวจนภาษา การใชส้ ่ือประกอบการนาเสนองาน การใช้เลขภาพ การ ต้งั คาถามและการตอบคาถามระหวา่ งนาเสนองาน

33 Language use for presentation stages, verbal and non-verbal languages in presentations, use of visual aids, describing facts and figures, and asking and answering questions 01-320-008 การเขยี นภาษาองั กฤษสาหรับชีวิตประจาวนั 3(2-2-5) English Writing for Everyday Life ชนิดของประโยค ความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับย่อหน้า การเขียนย่อหน้าสัน้ ๆเก่ียวกับ ตนเอง เพื่อน หรือสมาชิกในครอบครัว การเขียนบรรยายกิจวัตรประจาวัน การ กรอกแบบฟอร์ม การเขียนจดหมายและจดหมายอิเล็กทรอนิกส์เก่ียวกับ การ แนะนาตัวเอง การไปเที่ยวในวันหยุด การเชิญชวน การตอบรับหรือปฏิเสธการ เชญิ ชวน และการจองหอ้ งพกั โรงแรม Types of sentences, basic knowledge of a paragraph, writing short paragraphs of personal information of oneself, friends, or family members, writing about daily activities, filling in form, letters and electronic mails about self introduction, holidays, invitations, accepting and refusing invitations and hotel reservations 01-320-010 ภาษาองั กฤษเพ่อื การทดสอบ 3(2-2-5) Preparation for English Standardized Tests โครงสร้างของข้อทดสอบภาษาอังกฤษมาตรฐานแบบต่างๆ ความรู้และทักษะท่ี จาเป็นทางด้านภาษาอังกฤษที่ใช้ในการทาแบบทดสอบ กลวิธีต่างๆ ในการทา แบบทดสอบ Formats and structures of standardized tests, linguistic knowledge and skills needed for taking the tests, important strategies and techniques used to cope with standardized tests 01-310-001 ภาษาไทยเพือ่ การสื่อสาร 3(2-2-5) Thai for Communication หลกั การสื่อสาร ความรู้พื้นฐานการใช้ภาษาไทย การฟังอย่างมีวิจารณญาณ การ อ่านจับใจความและวิเคราะห์ความ การเขียนเพ่ือการสื่อสารในชีวิตประจาวัน และการพูดในโอกาสต่างๆ

34 Principles of communication, Thai language usage, critical listening, reading for main ideas and analysis, writing for communication in daily life and speaking on different occasions 01-310-004 ภาษาไทยเพอ่ื การนาเสนอ 3(3-0-6) Thai for Presentation ลักษณะ ความสาคัญ องคป์ ระกอบ และรปู แบบของการนาเสนอ การเตรียมความ พร้อม การใชส้ ่อื และศลิ ปะการใช้ภาษาไทยในการนาเสนอ Characteristics, importance, elements, and styles of presentation preparation and use of media, stylistic use of Thai in presentation 01-310-006 การอา่ นและการเขียนทางวิชาการ 3(3-0-6) Academic Reading and Writing หลักการอ่านเอกสารทางวิชาการ หลักการเขียนทางวิชาการ การอ่านและเขียน สรุปสาระสาคญั การศกึ ษาค้นควา้ และการนาเสนอผลงานในรปู แบบวิชาการ Principles of academic reading and writing, Reading and note taking, information research and academic presentations 01-310-009 ศิลปะการพูด 3(2-2-5) Arts of Speaking หลักและศิลปะในการพดู การสนทนา การเจรจาต่อรอง การพูดเพ่ือนาเสนองาน การพูดในท่ปี ระชุมชน การพดู ในสถานการณแ์ ละโอกาสตา่ งๆ Principles and arts of speaking, conversation, negotiation and oral, presentation public speaking in various situation and on various occasions 09-000-001 ทกั ษะการใช้คอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ 3(2-2-5) Computer and Information Technology Skills ความรู้พื้นฐานการใช้คอมพิวเตอร์ การใช้โปรแกรมสานักงาน ได้แก่ โปรแกรม ประมวลผลคา การใช้โปรแกรมตารางคานวณ การใช้โปรแกรมนาเสนอ การใช้ อินเทอร์เน็ตและการส่ือสารสังคมออนไลน์ ได้แก่ เครือข่ายคอมพิวเตอร์

35 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล จดหมายอิเล็กทรอนิกส์แบบภายในและภายนอก องคก์ ร การทอ่ งเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต และความร้ทู ่วั ไปเกีย่ วกับโลกออนไลน์ Computing fundamentals, key application such as word processor (Microsoft Word), Spreadsheets (Microsoft Excel), presentation (Microsoft PowerPoint) living online such as computer network, communication technology, electronic mails for inside and outside organization, internet explorer and general knowledge about online living 09-130-044 การใชโ้ ปรแกรมสาหรบั สานกั งานสมยั ใหม่ 3(2-2-5) Application of Software for Modern Offices ประเภทของโปรแกรมสาหรับสานักงานสมัยใหม่ การใช้โปรแกรมสาหรับ สานักงานแต่ละประเภท การนาโปรแกรมสาหรับสานักงานไปประยุกต์ใช้ให้ เหมาะสมกบั งานอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพและทันสมยั การนาเสนอขอ้ มลู ขา่ วสาร การ จดั เกบ็ สารสนเทศ การจัดทารายงานและเอกสารในรปู แบบต่างๆ Types of software for modern offices, software for individual types of offices, effective and update application of software for individual offices, information presentation and storage, preparation of reports and documents in various forms 09-311-051 ชีวติ กับสง่ิ แวดลอ้ ม 3(3-0-6) Life and Environment ความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับส่ิงมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม นิเวศวิทยา ทรัพยากรธรรมชาติ และการอนรุ ักษ์ มลพิษสิ่งแวดล้อม และการจัดการสง่ิ แวดลอ้ ม Fundamental knowledge of organisms and environment, ecology, natural resources and conservation, environmental pollutants and environmental management 09-410-044 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3(3-0-6) Science and Technology ความหมายของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ การผลิตไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้า วัสดุ

36 ศาสตร์เบ้ืองต้น ส่ิงแวดล้อมและมลพิษทางสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีด้านพลังงาน ทดแทน ดาราศาสตร์และความกา้ วหนา้ ทางอวกาศ Definition of science and technology, acquisition of science knowledge , computer and information technology, production of electricity and electrical appliances, introduction to material science, environment and environmental pollution, renewable energy technology, astronomy and advanced space technology 01-610-001 กฬี าประเภทบคุ คล 1(0-2-1) Individual Sports กฬี าประเภทบุคคล เช่น กรีฑา ลลี าศ กิจกรรมเข้าจังหวะ ยูโด แบดมนิ ตัน เปตอง ว่ายน้า และเทเบิลเทนนิส เป็นต้น ความรู้ทั่วไปของกีฬาวิธีการเล่นและการ แข่งขนั กฎ กตกิ า พัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสงั คม Individual sports e.g. athletics, social dance, judo, badminton, petanque, swimming, table tennis; general knowledge of sports; how to play them in competitions; rules; and physical, mental, emotional and social development 01-610-002 กฬี าประเภททีม 1(0-2-1) Team Sports กฬี าประเภททีม เชน่ ฟตุ บอล ฟุตซอล บาสเกตบอล วอลเลย่ บ์ อล ซอฟท์บอล เป็นต้น ความรู้ท่วั ไปของกฬี า วิธีการเลน่ และการแข่งขัน กฎ กติกา พัฒนาการ ด้านรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม Team Sports e.g., soccer, indoor soccer, basketball, volleyball, softball; general knowledge of sports, how to play them in competitions; rules; and physical, mental, emotional and social development 01-610-003 นันทนาการ 1(0-2-1) Recreation ความรู้ทั่วไปเก่ียวกับนันทนาการ กิจกรรมนันทนาการแบบต่าง ๆ และเลือก กจิ กรรมนนั ทนาการที่เหมาะสม

37 General knowledge of recreation, types of recreational activities and selecting appropriate recreational activities 01-000-001 ทกั ษะทางสังคม 3(3-0-6) Social Skills ความสาคัญของทักษะทางสังคม การพัฒนาสุขภาพจติ และการปรับตัว การพัฒนา บุคลิกภาพ การเสริมสร้างมนุษยสัมพันธ์ การเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี มารยาททาง สงั คม องค์กร และการทางานเป็นทีม การคิดและการแก้ปัญหา ความรับผิดชอบ ต่อตนเองและการมจี ิตสาธารณะ ตลอดจนการสร้างนสิ ัยในสถานประกอบการ Importance of social skills, mental hygiene development and adjustment, development of personality, how to create human relations, being good leadership and followership, social manners, organization and teamwork, thinking and problem solving, self- responsibility and having public consciousness (public mind), including creating habits in workplaces 01-010-006 ภูมปิ ญั ญาไทยเพ่ือชีวติ ที่พอเพียง 2(2-0-4) Thai Wisdom for Sufficiency Life ความหมายขอบเขต ความสาคัญ และพฒั นาการของภูมิปัญญาไทย กระบวนการ เรียนรู้ของภูมิปัญญาไทยและภูมิปัญญาท้องถ่ิน ความหมายของชีวิตท่ีพอเพียง การใช้ภูมิปัญญาไทยเพ่ือพัฒนาชีวิตท่ีพอเพียง กรณีตัวอย่างชีวิตที่พอเพียงของ บุคคลในสงั คมไทย Meanings, scopes, importance and development of Thai wisdom, Learning process of Thai and local wisdoms, meanings of sufficient life, application of Thai wisdom for sufficient life development, sample cases of sufficient life of individuals in Thai society 01-010-009 ทักษะการเรยี นรูส้ ู่ความสาเร็จ 2(2-0-4) Learning Skill for Success การรับรู้เกี่ยวกับตนเองและสมรรถนะแห่งตน การกากับตนเอง การพัฒนา ทักษะสคู่ วามสาเร็จ การเรียนและชีวิตการพฒั นาทักษะด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสอ่ื สาร

38 Self-perception and self-efficacy, self-control, skill development for success, and development of information technology and communication skills 01-010-010 การพฒั นาบคุ ลกิ ภาพ 3(3-0-6) Personality Development ความหมายและความสาคัญของการพัฒนาบุคลิกภาพ ทฤษฎีทางจิตวิทยา เก่ียวกับการพัฒนาและการประเมินบุคลิกภาพ สุขภาพจิตและการปรับตัว การ พฒั นาบคุ ลิกภาพด้านการแต่งกาย การใช้ภาษาเพ่ือการสือ่ สาร การคดิ สร้างสรรค์ มารยาททางสังคม ความฉลาดทางอารมณ์ การเสริมสร้างมนุษยสัมพันธ์ ความ เป็นผู้นาและผู้ตามทีด่ ี Concepts and importance of personality development, psychological theories of personality development and personality assessment, mental health and adjustment, personality development in clothing, language for communication, creativity, social etiquette, emotional quotient, human relations, Leadership and followership 01-010-012 อาเซียนรว่ มสมัย 2(2-0-4) Contemporary ASEAN แนวคิดการรวมกลุม่ ของประเทศในประชาคมอาเซยี น ความรว่ มมือของประชาคม อาเซียนทางสังคมและวฒั นธรรม การทอ่ งเท่ยี ว การคา้ และการลงทุน สิ่งแวดล้อม รวมถึงด้านการเมืองและความมั่นคง โดยเน้นกระแสการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน และแนวโนม้ สู่อนาคต Concept of country unity in ASEAN communities , collaboration of ASEAN communities in social, cultural, tourism, trade and investment, environment, politics and security emphasizing flow of present changes and future trend

39 01-010-014 การควบคุมน้าหนักและรปู รา่ งเพ่อื สุขภาพ 2(1-2-3) Weight Control and Body Shapes for Health ดัชนีมวลกาย สมรรถภาพทางกาย ลักษณะรูปร่างประเภทต่าง ๆ อาหารเพื่อ สุขภาพและการควบคมุ น้าหนกั การออกกาลงั กายเพ่อื สุขภาพ Body mass index, physical fitness, types of body shapes, healthy food and weight control, exercise for health 09-090-011 การสอ่ื สารวทิ ยาศาสตร์และการสร้างความตระหนักดา้ น 2(1-2-3) วิทยาศาสตร์ Science Communication and Public Awareness ความรู้เกี่ยวกับการสื่อสารวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีใน ชีวิตประจาวัน ความจาเปน็ ของการส่ือสารวิทยาศาสตร์กับประชาชน ส่ือมวลชน และหน่วยงานภาครัฐที่เก่ียวข้อง ปัจจัยที่มีผลต่อทัศนคติด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีของประชาชน ประวตั ิความเปน็ มาของการส่ือสารวทิ ยาศาสตร์ ปรัชญา และแนวคิดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารวิทยาศาสตร์ ปัญหาสาคัญในการ ส่ือสารวิทยาศาสตร์กับผู้ฟังทั่วไป ความสาคัญของการสร้างความตระหนักด้าน วิทยาศาสตร์และจริยธรรมในการสอ่ื สารวิทยาศาสตร์ อิทธิพลของส่ือ ศูนย์เรียนรู้ การเมือง ประวัติศาสตร์ และค่านิยมทางวัฒนธรรมท่ีมีต่อความสนใจด้าน วิทยาศาสตร์ของประชาชน รูปแบบของการส่ือสารในบริบทตา่ ง ๆ การให้ขอ้ มูล ข่าวสารและความรู้ทางวิทยาศาสตร์ต่อสาธารณะ ความถูกต้องและความ น่าเชอ่ื ถือของขอ้ มลู ทางวิทยาศาสตร์ Knowledge of science communication, contemporary science and technology related to daily life, necessity of communicating science with the public, media as well as the government, factors affecting public opinion and attitudes towards science and technology, history and the development of science communication, philosophy and models of science communication in different contexts, problems in communicating science with non-expert audiences, the importance of public awareness of science and ethical issue in communicating science, the influence of media, learning centers, politics, history

40 and cultural values on public’s interest in science, science communication in different context, publicizing scientific information, correctness and reliability of scientific information 09-111-151 แคลคลู ัส 1 3(3-0-6) Calculus 1 ลิมิตและความต่อเน่ืองของฟังก์ชัน การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันค่าจริงของหนึ่ง ตัวแปรจรงิ และการประยุกต์ ปรพิ นั ธข์ องฟังกช์ นั และการประยุกต์ Limits and continuity of functions, differentiation of real-valued functions of a real variable and applications, integration of functions and applications 09-111-152 แคลคลู ัส 2 3(3-0-6) Calculus 2 วชิ าบงั คบั กอ่ น : 09-111-151 แคลคูลสั 1 Pre-requisite : 09-111-151 Calculus 1 ฟังก์ชันหลายตัวแปร ลิมิตและความต่อเน่ืองของฟังก์ชันหลายตัวแปร อนุพันธ์ ย่อยและการประยุกต์ อนุกรมอนนั ต์ Functions of several variables, limits and continuity of functions of several variables, partial derivatives and applications, infinites series 09-114-202 โปรแกรมสาเรจ็ รปู ทางคณติ ศาสตร์ 3(2-2-5) Mathematical Software การใช้งานโปรแกรมสาเร็จรูปทางคณิตศาสตร์ การใช้โปรแกรมสาเร็จรูปในการ คานวณเชิงเรขาคณติ และการคานวณเชิงพีชคณิต รวมทั้งแคลคูลสั และสมการเชิง อนุพันธ์ การเขียนกราฟ การประยุกต์ใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทางคณิตศาสตร์กับ งานด้านต่าง ๆ Mathematical package programs, using program tools in geometry and algebra including calculus and differential equation, implementation for graph drawing, applications of mathematical package programs in relates fields

41 09-210-125 เคมี 1 3(3-0-6) Chemistry 1 ทฤษฎีอะตอมและปริมาณสัมพันธ์ โครงสร้างอิเล็กตรอนของอะตอม สมบัติของ ธาตุตามตารางธาตุและแนวโน้ม พันธะเคมี สารละลาย อัตราการเกิดปฏิกิริยา เคมีและสมดลุ เคมี สมดุลไอออนในน้า และเคมีไฟฟา้ Atomic theory and stoichiometry, electronic structure of atom, properties of elements and trends within the periodic table, chemical bonding, solutions, rates of chemical reaction and chemical equilibrium, ionic equilibrium in aqueous solution and electrochemistry 09-210-126 ปฏบิ ตั ิการเคมี 1 1(0-3-1) Chemistry Laboratory 1 วิชาบงั คบั ก่อน : 09-210-125 เคมี1 หรอื เรยี นควบคู่กนั Pre-requisite : 09-210-125 Chemistry 1 or concurrent enrollment ปฏิบัติการเก่ียวกับการชั่ง ตวง วัดทางวิทยาศาสตร์ ปริมาณสัมพันธ์ สมบัติตาม ตารางธาตุ พนั ธะเคมี สารละลาย อัตราปฏิกิริยาเคมแี ละสมดุลเคมี สมดุลไอออน ในน้า เคมีไฟฟ้า Experiments on the scientific measurements, stoichiometry, properties and trends within the periodic table, chemical bonding, solutions, rate of chemical and chemical equilibrium, ionic equilibrium in aqueous solution and electrochemistry 09-311-148 หลกั ชวี วทิ ยา 3(3-0-6) Principles of Biology พื้นฐานของส่ิงมีชีวิต เซลล์ องค์ประกอบของเซลล์ การแบ่งเซลล์ กลไกของ สิ่งมีชีวิต เนื้อเยื่อพืช โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืช เน้ือเยื่อสัตว์ โครงสร้างและการเจริญเติบโตของสัตว์ วิวัฒนาการและความหลากหลายทาง ชีวภาพของสงิ่ มีชวี ิต นิเวศวิทยาเบื้องต้น พันธุศาสตรเ์ บื้องต้น และพฤติกรรมของ สิ่งมชี ีวิต

42 Basic principles of organisms, cells, composition of cells, cell division, mechanism of organisms, plant tissues, structures and growth of plants, animal tissues, structures and growth of animals, evolution and biodiversity of organisms, fundamental of ecology, fundamental of genetics and behavior of organisms 09-311-149 ปฏิบตั กิ ารหลักชวี วทิ ยา 1(0-3-1) Principles of Biology Laboratory วิชาบงั คบั กอ่ น : 09-311-148 หลกั ชวี วิทยา หรือเรยี นควบคกู่ ัน Pre-requisite : 09-311-148 Principles of Biology or concurrent enrollment ปฏิบัติการเกี่ยวกับการใช้กล้องจุลทรรศน์ เซลล์พืชและเซลล์สัตว์ การแบ่งเซลล์ การลาเลียงสารผ่านเซลล์ กระบวนการเมแทบอลิซึม เน้ือเยื่อและโครงสร้างพืช เน้ือเยื่อและโครงสร้างสัตว์ การจัดจาแนกสิ่งมีชีวิต นิเวศวิทยาเบ้ืองต้น พนั ธุศาสตร์เบ้อื งต้นและพฤตกิ รรมของส่งิ มชี ีวิต Experiments on using of microscope, plant and animal cells, cell division, cell transportation, process of metabolism, tissues and structures of plant, tissues and structures of animals, classification of organisms, fundamental of ecology, fundamental of genetics and behavior 09-410-155 ฟิสกิ ส์เบอื้ งตน้ 3(3-0-6) Introductory Physics เวกเตอร์ แรงและการเคลื่อนที่ โมเมนตัมและพลังงาน การเคลื่อนที่แบบ ออสซิลเลต กลศาสตร์ของไหล อุณหพลศาสตร์ คล่ืนและคล่ืนเสียง สนามไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก ไฟฟ้ากระแสตรง คล่ืนแม่เหล็กไฟฟา้ แสงและทัศนศาสตร์ ฟิสิกส์ ยคุ ใหม่ Vector, force and motion, momentum and energy, oscillatory motion, fluid mechanics, thermodynamics, waves and sound waves, electric fields, magnetic fields, direct current, electromagnetic wave, light and optics, modern physics

43 09-410-156 ปฏิบตั กิ ารฟิสิกสเ์ บอื้ งต้น 1(0-3-1) Introductory Physics Laboratory วชิ าบังคับกอ่ น : 09-410-155 ฟิสกิ สเ์ บื้องตน้ หรอื เรียนควบคูก่ ัน Pre-requisite : 09-410-155 Introductory Physics or concurrent enrollment ปฏิบตั ิการเกี่ยวกับแรงและการเคล่อื นท่ี โมเมนตัมและพลังงาน การเคลอื่ นทแ่ี บบ ออสซิลเลต กลศาสตร์ของไหล อุณหพลศาสตร์ คล่ืนและคลื่นเสียง สนามไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก ไฟฟา้ กระแสตรง แสงและทศั นศาสตร์ ฟสิ กิ สย์ คุ ใหม่ Experiments on force and motion, momentum and energy, oscillatory motion, fluid mechanics, thermodynamics, waves and sound waves, electric fields, magnetic fields, direct current, light and optics, modern physics 09-416-203 ภัยพิบตั ิธรรมชาติ 3(3-0-6) Natural Disaster วชิ าบงั คับกอ่ น : 09-410-131 ฟิสิกส์ 1 หรอื 09-410-155 ฟิสกิ ส์เบื้องตน้ หรอื 09-410-040 ฟสิ ิกส์ทว่ั ไป Pre-requisite : 09-410-131 Physics 1 or 09-410-155 Introductory Physics or 09-410-040 General Physics คาจากัดความของภัยพิบัติธรรมชาติ แผ่นดินไหว ดินถล่ม พายุ อุทกภัย เทคโนโลยีการเฝ้าระวังภยั พิบัติธรรมชาติ ระบบเตือนภัย การเข้าถึงและคัดเลือก ขอ้ มูลทางภยั พิบตั ิธรรมชาติ Definition of natural disaster, earthquakes, landslide, thunderstorms, flood, technology of the surveillance of natural disaster, warning systems, data access and data selection for natural disaster

44 09-111-253 แคลคูลัสขัน้ สงู 3(3-0-6) Advanced Calculus วิชาบงั คบั ก่อน : 09-111-152 แคลคลู สั 2 Pre-requisite : 09-111-152 Calculus 2 ปรภิ มู แิ บบยูคลิด อนุพนั ธย์ อ่ ยของฟงั กช์ ันหลายตัวแปร อนุพนั ธ์ระบทุ ศิ ทาง การ ประยุกต์ของอนุพันธ์ของฟังกช์ นั หลายตัวแปร ปริพนั ธห์ ลายชั้น ระบบพิกดั และ การหาปริพันธ์ในระบบต่างๆ ปริพันธ์ตามเส้น ปริพันธ์ตามผิว ทฤษฏีบท ปริพนั ธ์ Euclidean space, partial derivatives of functions of several variables, directional derivatives, applications of derivatives of functions of several variables, multiple integrals, coordinates systems and integration in various systems, line integrals, surface integrals, integral theorems 09-111-337 สมการเชงิ อนพุ ันธ์ 3(3-0-6) Differential Equations วชิ าบงั คบั กอ่ น : 09-111-152 แคลคูลสั 2 หรือ 09-111-142 แคลคลู ัสสาหรบั วศิ วกร 2 Pre-requisite : 09-111-152 Calculus 2 or 09-111-142 Calculus for Engineers 2 สมการเชิงอนุพันธ์อันดับหน่ึง สมการเชิงอนุพันธ์อันดับสอง สมการเชิงอนุพันธ์ อันดับสูงและการประยุกต์ สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นที่มีสัมประสิทธิ์เป็นตัวแปร ระบบสมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้น ผลการแปลงลาปลาซและการประยุกต์ อนุกรม ฟูเรียร์ การแปลงฟูเรียร์ ปัญหาค่าขอบ สมการเชิงอนุพันธ์ย่อยเบ้ืองต้น ระเบียบ วธิ เี ชิงตัวเลขสาหรับสมการเชิงอนพุ ันธ์ การประยกุ ต์ใชใ้ นงานวิศวกรรมโยธา และ ดา้ นวิทยาศาสตร์ First order differential equations, second order differential equations, higher order differential equations and applications, linear differential equations with variable coefficients, system of linear differential equations, Laplace transforms and applications, Fourier

45 series, Fourier transforms, boundary value problems, introduction to partial differential equations, numerical method for differential equations, some applications to civil engineering systems and science 09-113-201 หลกั คณติ ศาสตร์ 3(3-0-6) Principles of Mathematics ตรรกศาสตร์เชิงสัญลักษณ์และระเบียบวิธีการพิสูจน์โดยใช้ตัวแบบจากหัวข้อ : เซต ความสัมพันธ์ ฟงั กช์ ัน และทฤษฏีจานวนเบ้อื งต้น Symbolic logic and methods of proof using the models from the following topics : sets, relations, functions, and elementary number theory 09-113-202 พีชคณิตเชิงเสน้ 3(3-0-6) Linear Algebra เมทริกซ์ และดีเทอร์มิแนนท์ ระบบสมการเชิงเส้นและการดาเนินการข้ันมูลฐาน ปรภิ ูมิเวกเตอร์ การแปลงเชิงเสน้ คา่ เฉพาะและเวกเตอรเ์ ฉพาะ และการประยุกต์ Matrices and determinants, systems of linear equations and elementary operations, vector spaces, linear transformations, eigenvalues and eigenvectors, and applications 09-113-203 ทฤษฎีจานวนและการประยกุ ต์ 3(3-0-6) Number Theory and Applications วิชาบงั คับกอ่ น : 09-113-201 หลักคณติ ศาสตร์ Pre-requisite : 09-113-201 Principle of Mathematics การหารลงตวั จานวนเฉพาะและจานวนประกอบ สมภาค ระบบสว่ นตกค้างและ ทฤษฎีบทเศษเหลือของชาวจีน ฟังก์ชันจานวนนับ สมการไดโอแฟนไทน์ การ ประยกุ ตท์ ฤษฎจี านวน Divisibility, prime and composite numbers, congruence, residue system and Chinese remainder theorem, number-theoretic functions, Diophantine equations, application of number theory

46 09-113-305 การวิเคราะห์เชงิ คณติ ศาสตร์ 1 3(3-0-6) Mathematical Analysis 1 วิชาบงั คบั ก่อน : 09-113-201 หลักคณติ ศาสตร์ Pre-requisite : 09-113-201 Principles of Mathematics ระบบจานวนจริง ทอพอโลยีบนเส้นจานวนจริง ลาดับของจานวนจริง ลิมิตและ ความต่อเน่ือง การหาอนพุ ันธ์และปรพิ นั ธร์ มี นั น์ อนุกรมของจานวนจรงิ Real number system, topology on real line, sequences of real numbers, limits and continuity, differentiation and Riemann integrals, series of real numbers 09-113-306 พชี คณติ นามธรรม 1 3(3-0-6) Abstract Algebra 1 วชิ าบงั คบั กอ่ น : 09-113-201 หลกั คณติ ศาสตร์ Pre-requisite : 09-113-201 Principles of Mathematics ความสมั พนั ธ์สมมลู การดาเนินการทวภิ าค กรปุ๊ กรปุ๊ ย่อย กรปุ๊ วัฎจักร กรปุ๊ ยอ่ ย ปรกติและกรุ๊ปผลหาร สาทิสสัณฐานของกรุ๊ปและทฤษฎีบทกรุ๊ปสมสัณฐาน ริง อินทิกรลั โดเมน ฟลี ด์ Equivalence relation, binary operations, groups, subgroups, cyclic groups, normal subgroups and quotient groups, group homomorphism and group isomorphism theorems, rings, integral domains, fields 09-113-307 ตวั แปรเชงิ ซ้อน 1 3(3-0-6) Complex Variables 1 วิชาบงั คบั กอ่ น : 09-111-253 แคลคลู สั ขนั้ สูง Pre-requisite : 09-111-253 Advanced Calculus จานวนเชิงซ้อนและระนาบเชิงซ้อน การหาอนุพันธ์ในระนาบเชิงซ้อน ฟังก์ชัน วิเคราะห์ ฟังก์ชันมูลฐาน การหาปริพันธ์ในระนาบเชิงซ้อน อนุกรมลอเรนต์ ทฤษฏีบทสว่ นตกคา้ งและการประยกุ ต์ การสง่ คงรปู Complex number and complex plane, differentiation in complex plane, analytic functions, elementary functions, integration in the


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook