Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่1เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

หน่วยที่1เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

Published by janniijane, 2020-06-10 23:51:07

Description: หน่วยที่1เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

Search

Read the Text Version

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เศรษฐศาสตร์เบอื้ งต้น วิชาสังคมศึกษา ส31101 ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 นางสาวประภสั สร แสงกล้า ตาแหน่ง ครู กล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม โรงเรียนสุรพนิ ท์พทิ ยา อาเภอลาดวน จงั หวดั สุรินทร์ สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษาเขต 33

เศรษฐศาสตร์เบอื้ งต้น Prapatsorn Sankla

ทรัพยากรท่มี ีอยู่ < ความต้องการของมนุษย์ ความขาดแคลน การตดั สินใจเลือก ค่าเสียโอกาส ปัญหาพนื้ ฐานทางเศรษฐกิจ

ปัจจัยพนื้ ฐาน(จาเป็ น NEED) • อาหาร • เครื่องน่งุ ห่ม (Want ต้องการ) • ที่อย่อู าศยั • โทรศพั ท์ • ยารักษาโรค • รถ • นอกเหนือจากปัจจยั 4



ปั ญหาความขาดแคลน • การทีท่ รัพยากรไม่เพียงพอต่อความต้องการของมนษุ ย์ • เช่น หมูบ่ ้าน A ผลติ ขา้ วได้ 700 ตัน แต่ประชากรตอ้ งการบริโภค 800 ตนั จึงขาดแคลน • หมู่บา้ น B ผลิตข้าวได้ 400 ตนั แตป่ ระชากรต้องการบรโิ ภค 350 ตัน จึงไม่ขาดแคลน

ปัญหาการตัดสนิ ใจเลือก • การตดั สนิ ใจจดั สรรทรพั ยากรทม่ี ใี หต้ อบสนองความต้องการของ มนุษยใ์ ห้ ได้มากที่สดุ • ความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภค > ความพงึ พอใจสงู สุด • ความต้องการของผู้ผลิต > กาไรสงู สุด

ต้นทนุ ค่าเสยี โอกาส • มูลคา่ สูงสุดของเหตุการณ์ทไ่ี มไ่ ดเ้ ลอื ก • ตัวอย่าง 1 มเี งิน 100,000 บาท ถ้านาไปฝากธนาคารได้ดอกเบีย้ 3,000 บาท ถ้านาไปปล่อยกไู้ ดด้ อกเบย้ี 8,000 บาท ถา้ นาไปลงทุนไดก้ าไร 10,000 บาท จะได้วา่ • ถา้ เลือกฝากธนาคาร > ตน้ ทนุ คา่ เสียโอกาส 10,000 บาท • ถ้าเลอื กปลอ่ ยกู้> ต้นทุนคา่ เสยี โอกาส 10,000 บาท • ถ้าเลอื กลงทนุ > ต้นทนุ คา่ เสยี โอกาส 8,000 บาท ค่าเสียโอกาสต่าสุด

ต้นทนุ ค่าเสียโอกาส • ตัวอย่าง 2 ทางานราชการเงินเดอื น 15,000 บาท ทางานเอกชนเงนิ เดือน 30,000 บาท ทาธุรกิจส่วนตวั รายได้ 80,000 บาท จะไดว้ ่า • ถ้าเลือกทางานราชการ > ตน้ ทนุ ค่าเสียโอกาส 80,000 บาท • ถ้าเลอื กทางานเอกชน > ต้นทุนคา่ เสียโอกาส 80,000 บาท • ถ้าเลือกทาธรุ กิจสว่ นตวั > ต้นทนุ ค่าเสียโอกาส 30,000 บาท คา่ เสยี โอกาส ตา่ สุด • เพมิ่ เติม คา่ เสียโอกาสไมจ่ าเปน็ ตองอยใู่ นรูปของเงิน อาจรวมถึงคุณคา่ ตา่ งๆ เชน่ เกียรตยิ ศ อานาจ หนา้ ท่ี หรือหลักประกนั ทางสงั คม ในความเปน็ จริงคา่ เสียโอกาสเปน็ สิง่ ท่ีวัดได้ยาก

ปัญหาพนื้ ฐานทางเศรษฐกจิ (ปัญหาการผลิต) • ทาอย่างไรจึงจะใชท้ รพั ยากรในการผลติ สินคา้ และบรกิ ารเพ่ือตอบสนองความ ต้องการของมนษุ ยใ์ ห้ไดม้ ากทีส่ ดุ และเกดิ ประโยชนส์ ูงสุด นามาซึง่ คาถามว่า • ผลติ อะไร (What) ควรผลติ สนิ คา้ และบรกิ ารอะไร ในปริมาณเท่าใด • ผลิตอย่างไร (How) ควรใช้วธิ ีการผลติ แบบไหน ปจั จยั การผลติ ใด เพ่อื ประสทิ ธภิ าพมากทสี่ ดุ • ผลติ เพื่อใคร (For Whom) ควรกระจายสนิ คา้ และบริการให้ใคร ในสัดสว่ น เทา่ ใด เพื่อเกดิ ความเป็นธรรม









หน่วยเศรษฐกจิ ความหมาย : ผู้มีบทบาทในการดาเนนิ กิจกรรมทางเศรษฐกจิ ประเภทของหน่วยเศรษฐกจิ แบ่งเป็ น 3 หน่วย หน่วย หน้าท่ี เป้ าหมาย ครัวเรือน • เป็ นเจ้าของปัจจยั การผลติ (ท่ดี นิ แรงงาน ทุน ผู้ประกอบการ) ความพึงพอใจสูงสุด • เป็ นผ้บู ริโภค ธุรกจิ • เป็ นผู้ผลติ โดยนาปัจจยั การผลติ มาผลติ สนิ ค้าและบริการ กาไรสงู สุด (กล่มุ บคุ คล) • จาหน่ายสินค้าและบริการให้ผ้บู ริโภค รัฐบาล • เป็ นทัง้ ผ้ผู ลิต ผู้บริโภค และเจ้าของปัจจยั การผลติ ความเป็ นธรรมของ • ควบคุมทรัพยากรของระบบเศรษฐกจิ รายได้ • ดแู ลกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ให้เป็ นไปตามนโยบายของรัฐ

สินค้าและบริการ หน่วยรัฐบาล ค่าตอบแทนปัจจยั การผลติ บริการของรัฐ ภาษี ภาษี บริการของรัฐ หน่วยธุรกจิ ปัจจยั การผลิต หน่วยครัวเรือน ค่าตอบแทนปัจจยั การผลิต สินค้าและบริการ ค่าใช้จ่ายในการซือ้ สินค้าและบริการ แผนภาพแสดงวงจรการไหลเวียนในระบบเศรษฐกิจในกรณที ี่มีรัฐบาล











ประเภทสนิ คา้ ในทางเศรษฐศาสตร์ 1. ทรพั ยเ์ สร/ี สนิ คา้ ไรร้ าคา : สินค้าทไี่ มต่ อ้ งจา่ ยเงนิ ซอื้ เพราะมีในธรรมชาติ เช่น อากาศ แสงแดด นา้ ฝน 2. เศรษฐทรพั ย์ : สินค้าทตี่ อ้ งจา่ ยเงนิ ซอื้ เพราะมตี น้ ทนุ การผลติ เชน่ อาหาร เส้อื ผา้ ยา รถ สนิ ค้าสว่ นใหญผ่ บู้ รโิ ภคเปน็ ผจู้ า่ ยเงนิ เพอ่ื ใชป้ ระโยชนโ์ ดยตรง เชน่ การซอ้ื อาหาร แต่บางสนิ คา้ ผจู้ า่ ยเงนิ ไม่ใชผ่ บู้ รโิ ภค เช่น การบรจิ าคทรพั ย์, ทรพั ยท์ รี่ ฐั แจกจา่ ย ซง่ึ เรยี กวา่ ทรัพยใ์ ห้ เปล่า เศรษฐทรพั ย์ยงั แบง่ ออกปน็ สนิ ค้าเอกชน : สินค้าทมี่ ีเจา้ ของชดั เจน และสามารถกดี กนั ไม่ใหผ้ อู้ นื่ ใชง้ านได้ เช่น บา้ น มือถอื รถ สินคา้ สาธารณะ : สินค้าทใ่ี ชง้ านรว่ มกนั กีดกนั การบรโิ ภคไมไ่ ด้ เช่น สัญญาณทวี ี คล่ืนวิทยุ ไฟถนน

เพ่มิ เตมิ สนิ คา้ ท่ีเกี่ยวกบั การผลติ แบง่ ออกเปน็ สนิ ค้าทนุ : ส่ิงทนี่ ้ามาใช้ในกระบวนการผลิต เช่น เคร่อื งมอื , เคร่อื งจักร, โรงงานผลติ , อปุ กรณ์ สินค้าชนั้ กลาง : สินค้าทรี่ อการแปรรูปในขั้นการผลิต หรอื เรยี กว่า วัตถุดบิ สินคา้ ทเ่ี ป็นปจั จัย ในการผลิต สนิ คา้ ขนั้ สดุ ทา้ ย : สนิ ค้าที่พร้อมจ้าหน่ายให้กับผูบ้ รโิ ภค

ระยะเวลาในการผลติ : สง่ ผลตอ่ ตน้ ทุนการผลติ ดงั น้ี 1) การผลติ ระยะสน้ั (Short run) : 1 • ปจั จัยคงท่ี : ระยะเวลาผลิตท่ีสนั้ ท้าให้ตน้ ทนุ ของปจั จยั การผลติ บางอย่างไม่เปลี่ยนแปลง และไม่ผนั แปร ตามปรมิ าณผลผลติ เชน่ ค่าเครอ่ื งจักร, คา่ ทีด่ นิ , คา่ อปุ กรณส์ า้ นักงาน • ปจั จยั ผนั แปร : ปัจจยั ทตี่ ้นทนุ เปลีย่ นไปตามผลผลติ เช่น วัตถุดบิ ในการผลิต, แรงงาน, ค่าขนส่ง, คา่ ไฟฟา้ เปน็ ตน้ ผู้ผลติ ตอ้ งป้อนปัจจัยผันแปรให้เต็มกา้ ลังของปัจจัยคงท่ีท่ีมอี ยู่ เพื่อลดตน้ ทุนการผลติ และเพม่ิ กา้ ไร 2) การผลติ ระยะยาว (Long run) : ไม่มีปจั จัยคงท่ี เพราะระยะเวลาการผลติ ที่ยาวนานท้าให้ปจั จยั การผลติ ทกุ ประเภทเปล่ียนแปลงไปได้ จึงมีแต่ปจั จัยผันแปรเท่าน้นั เชน่ จากเดมิ เคร่อื งจักรเป็นตน้ ทุนคงทใ่ี นระยะสัน้ แตเ่ มอื่ การ ผลติ ยาวนานขึ้น มกี ารซ่อมบา้ รงุ และเปลีย่ นเครอ่ื งจกั รใหม่ ซงึ่ เปน็ ตน้ ทุนผนั แปรตามปรมิ าณผลผลิตได้ • สรปุ การผลิตระยะส้นั จะมีท้งั ปัจจัยการผลิตคงที่และผนั แปร, การผลิตระยะยาวจะมเี ฉพาะปัจจัยการ ผลิตผนั แปร เท่าน้ัน ส่วนระยะเวลาว่าเท่าใดถือเปน็ ระยะสน้ั หรอื ระยะยาว ไม่มีการก้าหนดตายตัว

• การบรโิ ภค (Consumption) • ความหมาย : การใชป้ ระโยชนจ์ ากสนิ ค้าและบริการขัน้ สดุ ท้าย (สนิ ค้าทุนสินค้าข้นั กลางไม่ใชก่ าร บรโิ ภค) 1) การบรโิ ภคสนิ้ เปลอื ง คือ สินคา้ ทบี่ ริโภคไดค้ รั้งเดียวหมดไป เช่น อาหาร, เช้อื เพลิง, ยารักษาโรค 2) การบริโภคไมส่ นิ้ เปลอื ง คอื สินคา้ ทีบ่ รโิ ภคไดม้ ากกว่า 1 คร้ัง เช่น บ้าน, รถ, เส้ือผ้า, มือถอื , โทรทัศน์ • ปัจจยั การบรโิ ภค : รายได,้ ราคาสินคา้ ปริมาณสินค้า, ฤดกู าล, การโฆษณา, วธิ กี ารชา้ ระเงนิ , รสนิยม

กฎหมายคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค : ไดแ้ ก่ พ.ร.บ.คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 แก้ไขเพ่ิมเติม 2556 ได้บัญญัติสิทธิของผู้บรโิ ภคไว้ 5 ประการ ดังนี้ 1) สทิ ธิท่ีจะได้รบั ขา่ วสาร รวมทัง้ ค้าพรรณนาที่ถูกตอ้ งและเพยี งพอ 2) สทิ ธิท่ีจะมีอิสระในการเลือกซื้อสนิ ค้าและบรกิ ารดว้ ยความสมัครใจ 3) สทิ ธิที่จะไดร้ บั ความปลอดภัยจากการใชส้ นิ คา้ และบรกิ ารท่ีมคี ุณภาพได้มาตรฐาน 4) สิทธิท่ีจะไดร้ บั ความเป็นธรรมในการทา้ สญั ญา โดยไม่ถูกเอารดั เอาเปรยี บจากผู้ประกอบ ธรุ กิจ 5) สทิ ธิท่ีจะไดร้ ับการชดเชยค่าเสยี หาย เมื่อมีการละเมดิ สทิ ธิของผู้บริโภค

หนว่ ยงานทม่ี หี นา้ ทคี่ มุ้ ครองผบู้ รโิ ภค หนว่ ยงาน บทบาทหนา้ ท่ี สา้ นกั งานคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค (สคบ.) ดูแลควบคมุ ดา้ นการโฆษณา, ป้ายฉลาก และขอ้ สญั ญา สา้ นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา ดูแลควบคมุ คณุ ภาพ ผลิตภัณฑอ์ าหาร, ยา, เครอื่ งสา้ อาง (อย.) สา้ นกั งานมาตรฐานผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม ดูแลควบคมุ มาตรฐานผลติ ภัณฑอ์ ตุ สาหกรรม (สมอ.) • ฉลากเขยี ว : ผลติ ภัณฑท์ มี่ คี ณุ ภาพและสง่ ผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ มนอ้ ยกว่า เทียบกบั ผลติ ภัณฑท์ ที่ า้ หนา้ ทเ่ี ดยี วกนั • มอก. : เคร่ืองหมายรบั รองมาตรฐานอตุ สาหกรรม กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณชิ ย์ ดูแลควบคมุ ดา้ น ราคา-คณุ ภาพ-ปรมิ าณ สนิ คา้

การกระจาย (Distribution) • ความหมาย : การจา้ หนา่ ยสนิ ค้าและบรกิ ารไปยังผบู้ รโิ ภค และการแบง่ สรรผลตอบแทนของผผู้ ลติ • ประเภทของการกระจาย : แบง่ เปน็ 2 ประเภท ดังน้ี 1) การกระจายสนิ คา้ และบรกิ าร : การซอื้ ขายแลกเปลยี่ นเพอื่ ให้สนิ คา้ ไปถงึ มอื ผบู้ ริโภค ได้แก่ การขายปลกี (สนิ ค้าทลี ะนอ้ ยชนิ้ แตก่ า้ ไรตอ่ ชนิ มาก) และการขายสง่ (ขายสนิ คา้ ทลี ะมากๆ ก้าไรตอ่ ชน้ิ นอ้ ย) 2) กระจายรายได้ : การกระจายผลตอบแทนจากปจั จยั การผลติ (คา่ เชา่ , ดอกเบ้ีย, ค่าจา้ ง, ก้าไร) และ กระจายผลตอบแทนจากการขายผลผลิต (ก้าไรจากการขายสนิ คา้ และบรกิ าร) • เพมิ่ เตมิ การกระจายรายไดท้ เ่ี ปน็ ธรรม : การทรี่ ฐั พยายามทา้ ให้รายไดข้ องประชากรใกลเ้ คยี งกนั เพ่อื ไม่ให้เกดิ ความเหล่ือมลา้ ทางสงั คม และปอ้ งกนั ปญั หาสงั คมอนั เกดิ จากคนทม่ี รี ายไดเ้ ฉลย่ี ต่้า

การแลกเปลยี่ น (Exchange) ความหมาย : การนา้ สนิ คา้ และบรกิ ารมาแลกเปล่ียนกนั โดยวธิ ตี า่ งๆ ที่เกดิ จากความเชย่ี วชาญเฉพาะดา้ น วิวฒั นาการของการแลกเปลยี่ น : แบง่ เปน็ 3 ระยะ ดังน้ี 1) การแลกเปล่ียนสนิ คา้ โดยตรง : ข้อเสีย คือ สินค้าบางชนดิ แบง่ เปน็ หนว่ ยยอ่ ยไม่ได้ หรืออกี ฝา่ ยไมต่ ้องการ จงึ แลกเปล่ยี นกันไม่ได้ ทา้ ให้ตลาดไมม่ ีสภาพคล่องเท่าทคี่ วร 2) การแลกเปลีย่ นโดยใชเ้ งนิ เปน็ สอื่ กลาง : ทา้ ให้การแลกเปลย่ี นสะดวกและรวดเรว็ ขึ้น กอ่ ใหเ้ กดิ การวดั มูลคา่ ของสิ่งของ เรยี กวา่ “ราคา” ตลาดมสี ภาพคล่องมากขึน้ 3) การแลกเปล่ียนโดยใชส้ นิ เชอ่ื : คอื การน้าเงินในอนาคตมาใชก้ ่อน เกดิ จากเงินในปจั จบุ นั ไมพ่ อซื้อสนิ คา้ ซงึ่ การแลกเปลย่ี น วิธีน้ตี อ้ งอาศัยความเช่อื ใจวา่ ผ้ซู ้ือสินค้าจะสามารถชา้ ระหนี้ได้ในอนาคต เช่น การใช้บตั รเครดิต, การใช้เชค็ , การใช้บัตรแทนเงนิ สด, สินเชอ่ื ต่างๆ, ต๋ัวแลกเงิน เพ่ิมเตมิ การผลติ การบรโิ ภค-การกระจาย-การแลกเปลยี่ น รวมเรยี กวา่ “กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ \" หมายถงึ การกระทา้ ตา่ งๆ ทกี่ ่อใหเ้ กดิ ประโยชนท์ างเศรษฐกจิ ตอบสนองความตอ้ งการของมนษุ ยไ์ ด้



กลไกตลาด หรือ กลไกราคา อปุ สงค์& กลไกราคา • เป็นสง่ิ ทเี่ กดิ ขน้ึ เอง (มือทมี่ องไม่เหน็ ) เมอ่ื อปุ สงค์หรอื อุปทาน อุปทานมกี ารเปลยี่ นแปลงไปจากภาวะสมดลุ (ดุลยภาพ) ่สงผลกระทบ ่ตอ ราคาไม่ ราคา • อุปสงคม์ ากกว่าอปุ ทาน > ของขาด > สินค้าราคาสงู ขน้ึ เหมาะสม เหมาะสม • อปุ สงคน์ อ้ ยกวา่ อปุ ทาน > ของลน้ > สนิ ค้าราคาตา่้ ลง การแทรกแซง ดุลยภาพ ของรัฐ • กลไกราคาจะทา้ งานไดด้ ี เมือ่ เปน็ ตลาดการคา้ เสรสี มบูรณ์ แบบ กาหนดราคา ขนั้ สูง/ต่า • เมอื่ รัฐเห็นวา่ ราคาดลุ ยภาพทเี่ กดิ ขน้ึ ไมเ่ หมาะสมตอ่ ภาพรวม เศรษฐกจิ รฐั จะเขา้ แทรกแซง โดยกา้ หนดราคาขนั้ สงู - ราคาขนั้ ต่้าของสนิ ค้า เพ่ือใหเ้ กดิ อปุ สงค์ และอปุ ทานใหม่























ข้อเปรยี บเทยี บ อุปสงค์ อปุ ทาน ความหมาย ปรมิ าณความตอ้ งการซอื้ สนิ ค้าและบรกิ ารของ ปรมิ าณความตอ้ งการขายสนิ คา้ และบริการของ ผู้บริโภค ผู้ผลิต ปจั จัยทม่ี ผี ล • รายได้ • ต้นทนุ การผลติ • ราคาสนิ คา้ และบรกิ าร • เทคโนโลยกี ารผลติ • ความตอ้ งการซื้อสนิ คา้ • ราคาสนิ คา้ และบรกิ าร • นโยบายรฐั เชน่ โครงการรถคนั แรก • นโยบายเพม่ิ /ลด ภาษขี องรฐั ความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง ราคาสินคา้ แปรผกผนั กบั อุปสงค์ ราคาสนิ คา้ แปรผนั ตรง กบั อปุ ทาน ราคาและปรมิ าณ ราคาสินคา้ อปุ สงค์ ราคาสนิ คา้ อปุ ทาน กราฟ














Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook