Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2563

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2563

Published by Tanapat Issarangkul Na Ayutthaya, 2021-06-11 08:06:17

Description: รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2563

Search

Read the Text Version

39 แผนภูมิที่ 2.1 เปรยี บเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของผเู้ รียนที่ไดร้ ะดบั ดขี ้ึนไป (เกรดเฉลีย่ 3 ขึ้นไป) ปกี ารศกึ ษา 2561 – 2563 (3 ปีย้อนหลงั ) 100 คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคมศกึ ษา ฯ ภาษาตา่ ง สุขศึกษา ฯ ศิลปะ การงานอาชีพ รวมเฉลย่ี ทัง้ 90 ฯ ประเทศ โรงเรียน 80 41.28 66.63 70 94.16 60 60.82 86.92 50 40 87.19 30 20 10 0 ภาษาไทย ปกี ารศึกษา 2561 59.44 32.88 61.45 59.64 77.76 70.61 58.71 ปกี ารศึกษา 2562 64.75 ปกี ารศึกษา 2563 62.33 46.18 78.27 81.61 85.68 84.18 74.46 57.79 74.67 79.81 83.24 72.77 75.97 จากตารางที่ 2.2 และแผนภมู ิที่ 2.1 เปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของผู้เรียนทไ่ี ด้ระดับดีขึ้นไป (เกรดเฉลยี่ 3 ขึน้ ไป) ปีการศึกษา 2561 – 2563 (3 ปยี ้อนหลัง) พบวา่ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของผเู้ รียนโดย ภาพรวมทั้งโรงเรียนมีค่าสูงขึน้ ตามลำดับ แสดงว่าผู้เรียนมีพัฒนาการทางการเรียนรู้สูงข้ึน ตั้งแต่ปีการศึกษา 2561 ถึงปีการศึกษา 2563 เมื่อพิจารณาแยกตามรายวิชา พบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการทางการเรียนรู้สงู ขึ้นใน รายวชิ าภาษาตา่ งประเทศ และคณิตศาสตร์ สว่ นรายวิชาอ่ืน ๆ ผเู้ รียนมีพัฒนาการทางการเรียนรู้ท่ีดี แสดงดัง แผนภมู ิท่ี 2.1 แผนภูมิแสดงผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 1 ประจาปีการศกึ ษา 2563 76.00 74.00 72.00 70.00 68.00 66.00 64.00 62.00 การอ่านร้เู ร่อื ง รวม 2 ด้าน การอา่ นออกเสยี ง ระดับโรงเรียน ระดบั เขตพ้ืนท่ี ระดับจังหวัด ระดับศกึ ษาธกิ ารภาค ระดบั สงั กดั ระดับประเทศ

40 แผนภมู แิ สดงผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานผู้เรยี นระดบั ชาติ (National Test : NT) ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 3 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563 60.00 50.00 40.00 30.00 20.00 10.00 0.00 ความสามารถดา้ นคณิตศาสตร์ รวม 2 ดา้ น ความสามารถดา้ นภาษาไทย ระดับโรงเรยี น ระดบั เขตพ้ืนท่ี ระดับจังหวดั ระดบั ศกึ ษาธกิ ารภาค ระดับสงั กดั ระดบั ประเทศ แผนภมู ิคะแนนเฉลีย่ ร้อยละผลการประเมินการทดสอบระดับชาติขัน้ พนื้ ฐาน (O- NET) ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 ประจาปีการศกึ ษา 2563 70.00 60.00 50.00 40.00 30.00 20.00 10.00 0.00 คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ ภาษาไทย ระดบั โรงเรียน ระดบั จังหวัด ระดบั สงั กดั ระดบั ประเทศ

41 แผนภูมคิ ะแนนเฉลีย่ ร้อยละผลการประเมนิ การทดสอบระดบั ชาติขั้นพนื้ ฐาน (O- NET) ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ประจาปกี ารศึกษา 2563 60.00 50.00 40.00 30.00 20.00 10.00 0.00 คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ ภาษาไทย ระดบั โรงเรยี น ระดับจงั หวดั ระดบั สังกดั ระดบั ประเทศ แผนภมู คิ ะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละผลการประเมินการทดสอบระดับชาติขน้ั พน้ื ฐาน (O- NET) ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ประจาปกี ารศึกษา 2563 50.00 45.00 40.00 35.00 30.00 25.00 20.00 15.00 10.00 5.00 0.00 คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ สงั คม ภาษาไทย ระดับโรงเรียน ระดบั จงั หวดั ระดบั สงั กดั ระดบั ประเทศ

42 ตัวชีว้ ดั ท่ี 6 มีความรู้ ทักษะพน้ื ฐานและเจตคตทิ ่ดี ีต่องานอาชีพ การพัฒนาความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ เป็นไปตามเป้าหมายที่ สถานศกึ ษากำหนด คอื ระดับ “ดีเลิศ” ผู้เรียนรอ้ ยละ 80.00 – 89.99 มีความรู้ ทักษะพน้ื ฐานและเจตคติท่ีดี ตอ่ งานอาชีพ โดยโรงเรยี นได้เล็งเห็นถงึ ความสำคัญในการฝกึ ทกั ษะอาชพี ใหแ้ ก่ผู้เรียน การนอ้ มนำแนวทางตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ซึ่งสอดคลอ้ งกับบริบทของสถานศึกษาท่ีมีเป้าหมายในการพัฒนาเด็กด้อย โอกาสใหม้ กี ารเรยี นร้ทู ่ีดี มคี ุณภาพชีวิตที่ดขี ้ึน และการฝึกอาชีพให้นักเรียน เพือ่ เปน็ แนวทางในการประกอบ อาชพี ในอนาคตได้ จงึ ได้จัดทำโครงการสง่ เสริมอาชพี อสิ ระในระหว่างเรียน โดยนักเรียนแต่ละหอนอน หรือแต่ ละหอ้ งเรียน จะมกี ารเปดิ ธรุ กจิ คา้ ขายที่ตนเองถนัดและสนใจ โดยมีคณุ ครูเป็นพีเ่ ลยี้ งในการบริหารจัดการและ การทำงาน ใช้ช่วงเวลาหลังเลิกเรียนในการขายออก และช่วงเวลาเที่ยงของวันเสาร์-อาทิตย์ เพื่อหารายได้ ระหวา่ งเรียนและเป็นการฝึกใหผ้ ู้เรยี นไดล้ งมอื ปฏิบตั ิด้วยตนเอง ฝกึ การบริหารจัดการในทกุ ส่วน และฝึกความ สามัคคี และโรงเรียนไดด้ ำเนินการจดั การเรยี นรตู้ ามหลกั สูตรอาชีพ วชิ าเลอื กเพม่ิ เตมิ ในระดับช้นั มัธยมศึกษา ตอนตน้ และหลักสตู รทวิศกึ ษา ประกอบดว้ ย แผนการเรียนอุตสาหกรรมการท่องเทยี่ ว สาขาการโรงแรมและ ท่องเที่ยว (ปวช.) แผนการเรียนคอมพิวเตอร์ธุรกิจ (ปวช.) แผนการเรียนอุตสาหกรรม สาขาช่างเชื่อมโลหะ (ปวช.) และแผนการเรียนพาณิชยกรรม สาขาการบัญชี (ปวช.) หลักสูตร Block Course (หลักสูตรฝึกอาชีพ ระยะสั้น) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยได้ทำ MOU ร่วมกับวิทยาลัยการอาชีพจอมทอง และ หน่วยงาน สถานประกอบการ เช่น สาขาช่างเชื่อม : ร้านแจ่มการช่าง ร้านแม้วการช่าง สาขาคอมพิวเตอร์ ธุรกจิ : ที่วา่ การอำเภอแม่แจ่ม องค์บรหิ ารสว่ นตำบล (อบต.) ช่างเคง่ิ ธนาคารสหกรณ์และการเกษตร (ธกส.) สาขาแม่แจ่ม และธนาคารกรงุ ไทย สาขาจอมทอง สาขาบัญชี : ท่ีว่าการอำเภอแม่แจม่ องคบ์ ริหารส่วนตำบล (อบต.) ช่างเคิ่ง และธนาคารสหกรณแ์ ละการเกษตร (ธกส.) สาขาแมแ่ จม่ ธนาคารกรงุ ไทย สาขาจอมทอง และ บรษิ ัท ทโี อที จำกัด มหาชน สาขาจอมทอง 1.2 ด้านคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ตัวช้วี ัดที่ 1 การมีคุณลักษณะ ค่านยิ ม และอตั ลกั ษณ์ของนักเรยี นทีด่ ี การพฒั นาคุณลักษณะ ค่านยิ ม และอตั ลกั ษณ์ของนกั เรียนที่ดี เป็นไปตามเป้าหมายท่ีสถานศึกษา กำหนด คอื ระดบั “ดเี ลิศ” ผ้เู รยี นรอ้ ยละ 80.00 – 89.99 มีคุณลักษณะ ค่านยิ ม และอัตลกั ษณข์ องนกั เรียนที่ ดี โดยโรงเรยี นได้จดั กิจกรรมสง่ เสรมิ การจดั การเรยี นรูใ้ นชั้นเรยี น และการดูแลนักเรียนในหอนอน ส่งเสริมให้ ครูปลูกฝังและปลูกจิตสำนึกด้านคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตร คือ รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซ่อื สัตย์สุจริต มวี ินยั ใฝ่เรียนรู้ อยอู่ ย่างพอเพียง มุ่งมนั่ ในการทำงาน รกั ความเปน็ ไทย มีจิตสาธารณะ และคุณลักษณะตามอัตลักษณ์ของนักเรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ คือ สุขภาพดี คุณธรรมเด่น เป็นจิตอาสา โดยมีกิจกรรมส่งเสริมคุณลักษณะ ค่านิยม และอัตลักษณ์ของนักเรียนที่ดี ยกตัวอย่างเช่น กิจกรรมกายบริหารตอนเช้า กิจกรรมหลักไตรรงค์ กิจกรรมช่วยกันทำอาหาร กิจกรรมปลูก ข้าว กจิ กรรมพฒั นาหอนอน กิจกรรมพฒั นาโรงเรียน เปน็ ต้น

43 ตัวชว้ี ดั ที่ 2 การมที กั ษะดำรงชวี ิตในโรงเรียนประจำ การพัฒนาทักษะดำรงชีวติ ในโรงเรยี นประจำ เปน็ ไปตามเป้าหมายทส่ี ถานศกึ ษากำหนด คือ ระดับ “ดีเลิศ” ผู้เรียนร้อยละ 80.00 – 89.99 มีทักษะดำรงชีวิตในโรงเรียนประจำ โดยโรงเรียนได้เนินการจัด กิจกรรมส่งเสริมทักษะการดำรงชีวิตในโรงเรียนประจำ ตามที่สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษได้กำหนดไว้ ตามหลักสูตรทักษะการดำรงชีวิตเนรมิตนิสัย 8 ทักษะ คือ กิจกรรมส่งเสริมสุขนิสัย กิจกรรมส่งเสริม สมรรถภาพทางกาย กิจกรรมหลักโภชนาการ กิจกรรมหลักไตรรงค์ กิจกรรมสร้างเสริมภาวะผู้นำ กิจกรรม อนรุ ักษ์พลงั งานและส่งิ แวดล้อม กิจกรรมส่งเสรมิ อาชีพทอ้ งถน่ิ และกิจกรรมพฒั นาสุนทรยี ภาพ ตัวชี้วดั ท่ี 3 ความภมู ิใจในทอ้ งถน่ิ และความเป็นไทย การพฒั นาความภูมใิ จในท้องถนิ่ และความเป็นไทย เปน็ ไปตามเป้าหมายท่ีสถานศกึ ษากำหนด คือ ระดับ “ดีเลิศ” ผู้เรียนร้อยละ 80.00 – 89.99 มีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย โดยโรงเรยี นไดเ้ นนิ การจัดโครงการและกิจกรรมสง่ เสริมความภาคภูมิใจในท้องถนิ่ และความเปน็ ไทย โดยสง่ เสริมใหผ้ ้เู รียนมีความ ภาคภูมิใจในวัฒนธรรมท้องถิน่ และชนเผ่าของตนเอง การส่งเสริมให้ผู้เรียนน้อมนำแนวทางตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง ไดเ้ ขา้ รว่ มกิจกรรมหลกั ไตรรงค์ในทกุ ตอนเช้าเป็นประจำทุกวนั การเข้ารว่ มกจิ กรรมวัน สำคัญของ ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และเข้าร่วมอนุรักษ์ วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น ร่วมกับทาง อำเภอแม่แจ่มอยู่อย่างตอ่ เนอ่ื ง ยกตวั อยา่ งเช่น ประเพณีผา้ ซิน่ ตีนจก ประเพณีลอยกระทง เป็นตน้ ตวั ชว้ี ดั ท่ี 4 การยอมรบั ท่จี ะอยรู่ ว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย การพัฒนาการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย เป็นไปตามเป้าหมายที่ สถานศึกษากำหนด คือ ระดับ “ดีเลิศ” ผู้เรียนร้อยละ 80.00 – 89.99 มีการยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกันบนความ แตกต่างและหลากหลาย โดยโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ เป็นโรงเรียนประเภทอยู่ ประจำ สำหรบั ผ้เู รียนด้อยโอกาสทางการศึกษา และผ้เู รียนรอ้ ยละ 90 เป็นกลุ่มชนชาตพิ นั ธ์ ประกอบไปด้วย ชนเผ่าปากะญอ(กระเหรี่ยง) ชนเผ่าลัวะ ชนเผ่าม้ง และพื้นเมือง ทำให้มีความหลากหลายทางด้านภาษา ศาสนา ความเชอ่ื และวัฒนธรรม โรงเรยี นจึงจำเป็นต้องมีการสง่ เสรมิ ให้ผ้เู รยี นยอมรบั ที่จะอยรู่ ว่ มกันบนความ แตกตา่ งที่หลากหลาย โดยอาศัยอยใู่ นโรงเรียนประจำอยา่ งไมส่ ร้างปญั หา ไมท่ ะเลาะววิ าทจนเกดิ ความขัดแย้ง เข้ารว่ มกจิ กรรมประเพณี และวฒั นธรรมทางชาตพิ นั ธ์ุ รวมถึงการปฏบิ ัติตนอย่างเหมาะสมตามจารีตประเพณี ทดี่ ีงาม เนน้ การพัฒนาดา้ นคุณธรรมจริยธรรมที่เหมาะสมกบั วัยของผูเ้ รียน ตวั ชว้ี ัดที่ 5 สุขภาวะทางร่างกายและจิตสงั คม การพฒั นาสขุ ภาวะทางร่างกายและจติ สังคม เป็นไปตามเปา้ หมายที่สถานศกึ ษากำหนด คอื ระดับ “ดีเลิศ” ผู้เรียนร้อยละ 80.00 – 89.99 มีสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม โดยโรงเรียนได้จัดกิจกรรมการ พัฒนาสุขภาวะทุกด้านให้กับผู้เรียนทุกระดับชั้น ส่งเสริมการออกกำลังกายทุกเช้าและเย็น จัดกิจกรรมการ พัฒนาใหเ้ หมาะสมกับวัย กจิ กรรมพฒั นาดา้ นสขุ ภาพโดยเน้นว่าคุณภาพผ้เู รียนต้องดขี ้นึ ทกุ ปี พฒั นาคุณธรรม ผูเ้ รียนตามหลักสูตร ให้ผู้เรยี นมีวินัยซอื่ สตั ยร์ บั ผิดชอบและมีจิตสาธารณะ สถานศกึ ษาจดั กิจกรรมสถานศึกษา “กาดนัดเด็กดอย” เป็นการฝกึ ให้ผู้เรียนมีความรู้เรื่องการประกอบอาชีพด้วยตนเอง โดยนำอาหาร เครื่องด่มื

44 สนิ ค้าตา่ ง ๆ มาวางขายทุกตอนเที่ยงวันเสาร์และวนั อาทิตย์ เพอ่ื ฝึกให้ผเู้ รยี นบรหิ ารจัดการด้วยตนเองเป็นทั้ง ผทู้ ำ ผู้ซื้อ และผู้ขาย มกี ารส่งเสรมิ การออกกำลงั กายตามระบบโรงเรียนประจำ มรี ะบบการแนะแนวและการ ดูแลสขุ ภาวะจิต นำภมู ิปัญญาท้องถ่ินมาร่วมกันวางแผนการจัดการเรียนการสอนและมีการเรียนรู้ในโลกกว้าง การเขา้ ไปศกึ ษากับภมู ิปญั ญาในชุมชนใกล้เคยี ง 3. ผลการดำเนนิ งาน จากการประเมินคณุ ภาพภายในของคณะกรรมการประเมนิ คุณภาพการศึกษาโรงเรียนราชประชา นุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ได้วิเคราะห์แผนพัฒนาการศึกษา แผนปฏิบัติงานประจำปี รายงานการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา รายงานการดำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการ ประจำปีการศึกษา 2563 รายงานผลการปฏิบัติงาน รายงานการประเมินตนเองของครูทุกคน และจากการ ตรวจสอบตรวจเอกสาร รางวัล และเกียรติบัตรที่ได้รับทั้งของสถานศึกษา ครู และผู้เรียน สรุปผลการ ดำเนนิ งานตามตารางท่ี 2.4 ดงั น้ี ตารางท่ี 2.4 ผลการประเมนิ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรียน มาตรฐาน/ประเด็นพจิ ารณา ผลท่ีได้ คา่ เป้าหมาย ผลการประเมิน ปีการศกึ ษา 2563 ทีต่ งั้ ไว้ สูงกว่าเป้าหมาย มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู้ รยี น สูงกวา่ เป้าหมาย 1.1 ผลสัมฤทธท์ิ างวชิ าการของผ้เู รียน สงู กวา่ เป้าหมาย สงู กวา่ เปา้ หมาย 1) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน ยอดเยย่ี ม (94.04) ดเี ลิศ (80.00) ต่ำกวา่ เป้าหมาย สงู กว่าเป้าหมาย การสือ่ สารและการคดิ คำนวณ สูงกว่าเป้าหมาย สูงกว่าเปา้ หมาย 2) มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิด ยอดเยีย่ ม (92.79) ดเี ลิศ (80.00) สงู กวา่ เป้าหมาย สูงกวา่ เปา้ หมาย อย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และแกป้ ัญหา 3) มคี วามสามารในการสรา้ งนวตั กรรม ยอดเย่ียม (92.11) ดเี ลิศ (80.00) 4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ยอดเยี่ยม (98.00) ดเี ลศิ (80.00) สารสนเทศ และการส่ือสาร 5) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตร ดี (76.42) ดเี ลิศ (80.00) สถานศึกษา 6) มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดี ยอดเยย่ี ม (99.42) ดเี ลศิ (80.00) ต่องานอาชีพ ค่าเฉล่ยี รวม 1.1 ยอดเยยี่ ม (92.13) ดเี ลิศ (80.00) 1.2 คณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ของผูเ้ รยี น 1) การมีคุณลักษณะ ค่านยิ ม และ ยอดเยี่ยม (93.85) ดเี ลิศ (80.00) อัตลักษณ์ของนักเรยี นที่ดี 2) การมีทักษะดำรงชวี ติ ในโรงเรียนประจำ ยอดเยย่ี ม (98.40) ดเี ลศิ (80.00) 3) ความภูมใิ จในท้องถิน่ และความเปน็ ไทย ยอดเยยี่ ม (97.37) ดเี ลศิ (80.00)

45 มาตรฐาน/ประเดน็ พจิ ารณา ผลทไี่ ด้ ค่าเปา้ หมาย ผลการประเมนิ ปีการศกึ ษา 2563 ที่ต้งั ไว้ สงู กวา่ เป้าหมาย 4) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความ ยอดเยี่ยม (96.05) ดเี ลศิ (80.00) สงู กวา่ เปา้ หมาย สงู กว่าเป้าหมาย แตกต่างและหลากหลาย สูงกวา่ เปา้ หมาย 5) สุขภาวะทางรา่ งกายและจติ สงั คม ยอดเย่ยี ม (96.06) ดเี ลศิ (80.00) ค่าเฉลย่ี รวม 1.2 ยอดเย่ยี ม (96.35) ดีเลิศ (80.00) ค่าเฉลย่ี รวม มาตรฐานท่ี 1 ยอดเยย่ี ม (94.24) ดีเลศิ (80.00) จากตารางที่ 2.3 ผลการดำเนินงาน พบว่า มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน มีผลการประเมินอย่ใู น ระดบั “ยอดเย่ยี ม” (94.24) เมื่อแปลผลการพิจารณาแต่ละตัวชี้วัด ปรากฏวา่ 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการของผู้เรยี น ผลสมั ฤทธ์ทิ างวชิ าการของผูเ้ รยี นโดยภาพรวม พบว่า ผูเ้ รยี นร้อยละ 92.13 มีผลสัมฤทธ์ิทาง วชิ าการตามทส่ี ถานศกึ ษากำหนด สง่ ผลใหก้ ารประเมินอย่ใู นระดับ “ยอดเยี่ยม” ซ่ึงสงู กว่าคา่ เป้าหมายที่ตั้งไว้ และไดผ้ ลตามประเด็นพิจารณา ดังนี้ 1) ผู้เรียนรอ้ ยละ 94.04 มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอ่ื สารและการคดิ คำนวณ ส่งผลใหก้ ารประเมนิ อยใู่ นระดับ “ยอดเย่ยี ม” ซง่ึ สูงกวา่ คา่ เป้าหมายท่ีต้ังไว้ 2) ผู้เรียนร้อยละ 92.79 มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลย่ี นความคิดเห็น และแก้ปญั หา สง่ ผลให้การประเมินอยู่ในระดบั “ยอดเยี่ยม” ซง่ึ สูงกว่าค่า เปา้ หมายท่ีตงั้ ไว้ 3) ผู้เรียนร้อยละ 92.11 มีความสามารในการสร้างนวัตกรรม ส่งผลให้การประเมินอยู่ใน ระดบั “ยอดเย่ียม” ซง่ึ สูงกว่าคา่ เปา้ หมายทีต่ ั้งไว้ 4) ผู้เรียนร้อยละ 98.00 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ส่งผลให้การประเมนิ อย่ใู นระดับ “ยอดเยี่ยม” ซ่งึ สงู กวา่ คา่ เปา้ หมายทต่ี ้งั ไว้ 5) ผ้เู รียนร้อยละ 76.42 มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลักสูตรสถานศกึ ษากำหนด ส่งผลให้ การประเมนิ อยใู่ นระดบั “ดี” ซึ่งตำ่ กว่าคา่ เป้าหมายที่ต้งั ไว้ 6) ผู้เรียนร้อยละ 99.42 มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ส่งผลให้การ ประเมินอยใู่ นระดับ “ยอดเยีย่ ม” ซงึ่ สูงกวา่ คา่ เป้าหมายท่ีต้ังไว้ 1.2 คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงคข์ องผูเ้ รียน คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงคข์ องผู้เรียนโดยภาพรวม พบวา่ ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 96.35 มีคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ของผ้เู รียนตามท่ีสถานศกึ ษากำหนด สง่ ผลให้การประเมินอยู่ในระดับ “ยอดเย่ยี ม” ซง่ึ สูงกว่าค่า เปา้ หมายทีต่ ้งั ไว้ และไดผ้ ลตามประเดน็ พิจารณา ดงั นี้ 1) ผู้เรียนร้อยละ 93.85 มีคุณลักษณะ ค่านิยม และอัตลักษณข์ องนักเรียนท่ีดี ส่งผลให้การ ประเมินอยใู่ นระดับ “ยอดเย่ยี ม” ซง่ึ สงู กว่าค่าเป้าหมายท่ีต้ังไว้

46 2) ผู้เรียนร้อยละ 98.40 มีทักษะดำรงชีวิตในโรงเรียนประจำ ส่งผลให้การประเมินอยู่ใน ระดบั “ยอดเยีย่ ม” ซ่งึ สงู กวา่ ค่าเป้าหมายท่ีตง้ั ไว้ 3) ผู้เรียนร้อยละ 97.37 มีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ส่งผลให้การประเมินอยู่ ในระดับ “ยอดเยย่ี ม” ซึง่ สูงกวา่ ค่าเป้าหมายท่ีตงั้ ไว้ 4) ผู้เรยี นรอ้ ยละ 96.05 ขึน้ ไปมีการยอมรบั ทจ่ี ะอยรู่ ว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย สง่ ผลให้การประเมินอยู่ในระดับ “ยอดเยย่ี ม” ซ่ึงสูงกวา่ ค่าเป้าหมายท่ีตงั้ ไว้ 5) ผู้เรยี นร้อยละ 96.06 มีสขุ ภาวะทางรา่ งกายและจิตสงั คม ส่งผลให้การประเมินอย่ใู นระดบั “ยอดเยย่ี ม” ซ่งึ สูงกวา่ ค่าเปา้ หมายทต่ี งั้ ไว้ 4. การนำผลการดำเนนิ งานไปใช้ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ โดยงานประกันคุณภาพสถานศึกษาได้มีการ ชี้แจงในการประชุมการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ช่วงปิดภาคเรียนที่ 2 ของทุกปีการศึกษา เพ่ือ นำเสนอผลการประเมนิ ต่อผู้บริหาร คณะครู และผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้อง และสามารถนำผลการประเมนิ คุณภาพ ผู้เรียนในรูปแบบตัวเลข ค่าร้อยละ ตาราง กราฟ แผนภูมิ เพื่อเปรียบเทียบผลการดำเนินงานว่ามพี ัฒนาการ สูงขึ้นในรอบ 3 ปี ไปใช้ปรับปรุงพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนให้สูงขึ้น โดยได้กำหนดวิธีการพัฒนา โครงการ/ กิจกรรมต่าง ๆ ในการพัฒนาด้านผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน และด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของ ผเู้ รยี น 5. การเผยแพรผ่ ลการดำเนินงาน โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ ได้มีการเผยแพร่ผลการดำเนินงานเป็นประจำ ทุกปีการศึกษา โดยดำเนินการนำเสนอผลการประเมินคุณภาพของผู้เรียนต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น ผู้ปกครอง ชุมชน คณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด โดยมีการจัดส่ง SAR ให้หน่วยงานต้นสังกัดทุกปี การศึกษา ทั้งในรูปแบบออนไลน์และเอกสาร และการชี้แจงในการประชุมต่าง ๆ รวมทั้งมีช่องทางให้ผู้อ่าน หรือผู้ทสี่ นใจสามารถเข้าถึงข้อมูลรายงานการประเมินตนเอง และหลักฐานอ่นื ๆ ทั้งหมดผ่านทางเว็บไซน์เก็บ เอกสารของโรงเรียน http://www.checkin.rpk31school.ac.th/ebook/?p=BookCase&BookCID=586 สามารถเชือ่ มโยงกบั ฐานข้อมูลของการสรุปการปฏิบตั ิงานแต่ละโครงการทนี่ ำมาอ้างอิงในแตล่ ะมาตรฐานได้ 6. จดุ เดน่ 6.1 ดา้ นผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นของผ้เู รียน 1. นกั เรียนเรียนรู้แบบเรียนมือกนั ภายในโรงเรยี น มกี จิ กรรมการเรียนรู้วิธีการท่ีหลากหลาย ยอมรับฟงั ความคิดเหน็ ของกนั และกัน

47 2. นักเรียนได้รับการฝึกให้อ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขเป็น เน้นให้นักเรียนทุกคนได้คิด วเิ คราะห์ สังเคราะห์ ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง การแสดงความคิดเห็น และให้นกั เรยี นเรียนมีการกล้าแสดงออก ไดถ้ าม ได้ตอบ มีการเสริมแรง โดยดงึ ศกั ยภาพของนักเรยี นแตล่ ะคนออกมา 3. นักเรียนได้รับพัฒนาตามความสามารถเฉพาะด้าน ในการฝึกปฏิบัติเพื่อนำไปประกอบ อาชพี ทีห่ ลากหลาย เน้นฝึกกระบวนการคิดอย่างสร้างสรรคแ์ ละการตัดสินใจอย่างมีเหตุผล มีการใชเ้ ทคโนโลยี ช่วยในการจดั การเรียนรู้ 4. นักเรียนสามารถเตบิ โตเป็นบุคคลท่มี ีคณุ ภาพ โตต้ อบคำถามในสื่อการเรียนท่ีสอนได้ดีและ เขา้ ในเนื้อหา การลงมือปฏบิ ตั จิ รงิ ทำใหผ้ ูเ้ รียนเกิดความสนใจ จิตสาธารณะ และมีความมุ่งม่ันตั้งใจ 5. นักเรียนมีความกล้าคดิ กล้าแสดงออก และการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 6. นกั เรียนมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศึกษาและมกี ารพัฒนาอย่างตอ่ เนื่อง 7. นักเรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้น เพือ่ เป็นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคตได้ 6.2 ด้านคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผูเ้ รียน 1. นกั เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค่านยิ ม และอตั ลกั ษณข์ องนกั เรยี นท่ดี ี 2. นักเรียนมีการยอมรบั ที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย รุ่นพี่ปฏิบัติตนให้ เป็นตัวอย่างที่ดีให้กับนักเรียนรุ่นน้อง อยู่ด้วยกันอย่างมีความสุข บนพื้นฐานวัฒนธรรมชนชาติพันธุ์ท่ี หลากหลาย 3. นกั เรยี นมีความภมู ิใจในทอ้ งถ่ินและชนเผ่าของตนเอง เหน็ คุณค่าของความเปน็ ไทย มีส่วน รว่ มในการอนรุ ักษว์ ัฒนธรรม ประเพณี และภมู ิปญั ญาไทย 4. นักเรียนไดร้ บั การฝกึ ทักษะดำรงชีวิตในโรงเรียนประจำ เป็นวฒั นธรรมของโรงเรียนประจำ ได้แก่กิจกรรมส่งเสริมสุขนิสัย กิจกรรมส่งเสริมสมรรถภาพทางกาย กิจกรรมหลักโภชนาการ กิจกรรมหลัก ไตรรงค์ กจิ กรรมสรา้ งเสรมิ ภาวะผู้นำ กิจกรรมอนรุ กั ษพ์ ลังงานและสง่ิ แวดลอ้ ม กิจกรรมส่งเสริมอาชีพท้องถิ่น และกิจกรรมพัฒนาสนุ ทรยี ภาพ 5. นกั เรียนมีสุขภาวะทางรา่ งกายและจิตสงั คมที่ดี 7. จดุ ทีค่ วรพฒั นา 7.1 ดา้ นผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของผเู้ รยี น 1. ควรมีการพัฒนาพื้นฐานทางดา้ นภาษาการสื่อสารของนักเรียน เนื่องจากผู้เรียนเป็นกลมุ่ ชนชาติพันธุ์ ทำให้ติดปัญหาเรื่องการสื่อสารไม่ชัดเจน และชอบเขียนตามคำพูดของตนเอง จึงทำให้ผิดหลัก ของภาษา 2. ควรมีการพัฒนาพื้นฐานการคิดคำนวณของผู้เรียน มีการปรับพื้นฐานของนักเรียนก่อน วเิ คราะห์นักเรียน แยกกลุ่มเก่ง ปานกลาง อ่อน เพ่อื พฒั นานกั เรียนไดต้ รงตามจุด

48 3. ควรมีการกระตุ้นให้นักเรียนชอบการเรียนรู้ในชั้นเรียน เพิ่มกลยุทธ์ เทคนิค วิธีการท่ี หลากหลายการควบคุมชั้นเรียน 4. ควรฝึกกระบวนการคิดขั้นสูง คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดอย่างสร้างสรรค์ให้นักเรียน สามารถนำไปสรา้ งนวตั กรรมใหม่ ๆ ในรายวชิ าเรียน 5. ควรเสริมสร้างความกล้าแสดงออก สรา้ งสถานการณก์ ารเรยี นรู้ให้กับนกั เรียนได้เรียนรู้ได้ ดว้ ยตนเอง 6. ควรเน้นการคน้ พบความถนดั และความสามารถของตนเอง ทักษะและกระบวนการ 7. ควรมีการใช้จติ วิทยาในการสอนใหก้ มากว่าน้เี พอ่ื ให้เกิดความสนุกสนานในชนั้ เรยี น 8. ควรเสริมสร้างประสบการณ์นอกห้องเรียน เสริมสร้างทักษะการดำรงชีวิตของนักเรียน ประจำ เสริมสรา้ งทกั ษะอาชีพต่าง ๆ ใหแ้ ก่ผ้เู รียน 7.2 ด้านคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ของผเู้ รยี น 1. ควรมกี ารเสริมสร้างใหน้ กั เรียนตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของการศึกษา การนอ้ มนำแนวทาง พระราชดำริมาปรบั ใช้ในชวี ติ ประจำวนั 2. ควรเสรมิ สรา้ งทกั ษะการใชช้ ีวติ ทางสังคม บนความแตกต่างและความหลากหลายทางชาติ พันธ์ุ 8. ข้อเสนอแนะ โรงเรียนควรพฒั นาคุณภาพผู้เรียนใหส้ อดคลอ้ งกบั วิสยั ทัศน์ พนั ธกจิ เปา้ หมายทมี่ ุ่งพัฒนาคุณภาพ ของผเู้ รียนเปน็ สำคัญที่เปน็ ปัจจบุ ัน มีโครงการหรือกิจกรรมใหม่ ๆ ตามจดุ เนน้ ของสถานศึกษา และเกบ็ ข้อมูล สรุปการมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องอยา่ งนอ้ ย ๓ ปี การพัฒนาแบบอย่างที่ดี (Best Practice) หรือ นวัตกรรม (Innovation) ในทุกมาตรฐาน ควรมีการแยกประเมินตนเองในแต่ละช่วงชั้น เช่น ระดับพื้นฐานอาจจะแยก ประเมนิ เปน็ ชว่ งชน้ั ท่ี 1 (ป.๑1 - ป.3) ชว่ งช้ันที่ 2 (ป.4 - ป.6) ซึ่งจะทำใหม้ กี ารสรปุ ข้อมูลในเชงิ ลึกของแต่ละ ชว่ งชัน้ ได้ชดั เจนยง่ิ ขึน้ 9. แหลง่ ข้อมูลหลักฐานอา้ งองิ 9.1 แบบประเมินคณุ ภาพผูเ้ รียนด้านผลสมั ฤทธ์ทิ างวิชาการ 9.2 แบบประเมินคุณภาพผเู้ รียนด้านคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 9.3 แบบประเมนิ ทกั ษะดำรงชีวติ 9.4 แบบรายงานสรุปผลสัมฤทธ์ขิ องผู้เรยี น 9.5 แบบรายงานสรปุ ผลการทดสอบ RT NT และ O-net 9.6. โครงการ/กจิ กรรมยกผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นทกุ กล่มุ สาระการเรียนรู้ 9.7 โครงงานคุณธรรมทุกระดับชั้น โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โครงงานบรหิ ารจัดการขยะภายในโรงเรยี น และโครงงานผลติ ภณั ฑต์ ่าง ๆ ของผู้เรียน 9.8 แบบรายงานการจัดสอบวัดผลแบบออนไลน์

49 9.9 แบบรายงานการใช้ E-Market ของนักกเรียนที่นำไปบริหารจัดการอาชีพระหว่างเรียนของ ตนเอง สอร. 9.10 แบบรายงานการเลือกรายวชิ าเพิ่มเตมิ 9.11 แบบรายงานจำนวนผู้เรยี นศกึ ษาต่อหลกั สตู รทวิศึกษา 4 สาชาวิชา ไดแ้ ก่ สาขาคอมพิวเตอร์ ธรุ กจิ สาขาการโรงแรม สาขาการบัญชี และสาขาอตุ สาหกรรมชา่ งเชื่อม 9.12 แบบรายงานผลการประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ของผู้เรียน 9.13 แบบรายงานการประพฤตขิ องนกั เรยี น 9.14 แบบบนั ทกึ การมสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมต่าง ๆ 9.15 แบบรายงานสุขภาวะทางรา่ งกายและจิตสงั คม 10. แบบอยา่ งท่ีดี (Best Practice) หรอื นวัตกรรม (Innovation) 10.1 นวัตกรรมโรงเรียนเล็กในโรงเรียนใหญ่ มีการจัดการเรียนการสอนเน้นให้ผู้เรียนชั้น ประถมศึกษา ได้เรียนปนเล่นเพิ่มพูนทักษะการอ่าน การเขียน สื่อสาร คิดคำนวณด้วยกิจกรรมพัฒนาการ เรียนรู้อาทิเช่น ภาษาไทยวันละคำ อาขยานพาเพลนิ เร่อื งเลา่ เช้าน้ี มมุ กล้องเล่าเร่ือง 10.2 ศูนย์บริหารจัดการขยะแบบครบวงจร” จนได้รับรางวัลนวัตกรรมการจัดการขยะมูลฝอย ชุมชน จากกรมสง่ เสรมิ คุณภาพสงิ่ แวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม 10.3 การฝึกทักษะอาชีพให้ผู้เรียน โดยมีการจัดวิชาเลือกเสรีในระดับชั้น ม.ต้น และการจัดการ เรยี นการสอนทวศิ ึกษาในระดับช้ัน ม.ปลาย เน้นฝกึ ใหผ้ ้เู รียนมคี วามรู้และทักษะในงานอาชพี 10.4 โครงการส่งเสรมิ อาชีพระหว่างเรียน (สอร.) เนน้ ให้ผเู้ รียนสร้างอาชีพภายในโรงเรยี น 10.5 การฝึกทกั ษะดำรงชวี ิตในโรงเรยี นประจำ จำนวน 8 ทกั ษะ 10.6 เปน็ ผนู้ ำด้านการจัดกจิ กรรมจติ อาสาของอำเภอแม่แจม่ จงั หวดั เชยี งใหม่ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ระดับคณุ ภาพ ดีเลิศ 1. แผนการดำเนนิ การและการตงั้ เป้าหมาย ผู้บริหาร และคณะครูโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ ได้รว่ มกนั ประชุมวาง แผนการดำเนินการและการต้งั เป้าหมายมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ไว้ท่ีระดบั ดเี ลศิ รายละเอยี ดดังน้ี 1. มเี ปา้ หมาย วิสัยทัศน์ พันธกจิ ทีส่ ถานศกึ ษากำหนดชัดเจน สอดคล้องกบั บรบิ ทของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน นโยบาลของรฐั บาลแผนการศึกษาแห่งชาติ เปน็ ไปได้ในการปฏบิ ตั ิ 2. มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษาทีช่ ัดเจน ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐาน การศกึ ษาของสถานศึกษา โดยความรว่ มมอื ของผู้ทม่ี ีส่วนเกี่ยวข้องทกุ ฝา่ ย และผูท้ มี่ ีสว่ นเก่ยี วขอ้ งร้อยละ 80 ข้นึ ไป มีความพงึ พอใจในการบรหิ ารและการจดั การ

50 3. ดำเนินงานพัฒนาวชิ าการทเ่ี นน้ คุณภาพผูเ้ รียนรอบดา้ นตามหลกั สูตรสถานศึกษา และทกุ กล่มุ เป้าหมาย เชื่อมโยงกับชีวิตจริง 4. พฒั นาครแู ละบคุ ลากรให้มีความเชยี่ วชาญทางวชิ าชพี ตรงตามความต้องการของครู และ สถานศกึ ษา 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมท่ีเอ้อื ต่อการจัดการเรียนรู้อยา่ งมคี ณุ ภาพ และมีความ ปลอดภยั 6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ สนบั สนุนการบริหารจัดการและการจดั การเรียนรู้ที่ เหมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา 7. มีการสง่ เสริมสนบั สนุนให้หน่วยงาน องค์กร ชุมชนภายนอกเขา้ นอกมามสี ่วนร่วมในการพฒั นา คุณภาพการจัดการศึกษา 2. กระบวนการดำเนนิ งาน โรงเรยี นได้มกี ระบวนการดำเนินงานเริม่ ต้งั แตก่ ารจัดประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารทำแผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษา โดยผูม้ ีส่วนเกีย่ วขอ้ งได้รว่ มกนั กำหนดวิสยั ทัศน์ พนั ธกจิ ใหส้ อดคล้องกบั ผลการวิเคราะห์สถานภาพ ของโรงเรียน ข้อกฎหมายตามระเบียบราชการ ขนบธรรมเนียมประเพณี การวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมู ล สารสนเทศตามนโยบายของรัฐ จุดเน้นของต้นสังกัด การเปลี่ยนแปลงด้านสังคม เศรษฐกิจการเมือง ระดับ นานาชาติ ระดับภมู ภิ าคอาเซียน ระดับประเทศ และระดบั ทอ้ งถน่ิ รวมถงึ แผนพัฒนาการจัดการศึกษาสำหรับ เด็กด้อยโอกาส และแผนพฒั นาคณุ ภาพชีวิตเดก็ ดอ้ ยโอกาส และคูม่ อื การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา เป็นกรอบทิศทางการพฒั นาหรอื ปรับปรุงคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน นำเสนอคณะกรรมการสถานศึกษา เพ่อื ใชเ้ ป็นแนวทางการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา มรี ายละเอียดดงั นี้ ตัวช้ีวัดท่ี 1 มเี ปา้ หมายวสิ ยั ทัศนแ์ ละพนั ธกจิ ที่สถานศกึ ษากำหนดชัดเจน การพัฒนาสถานศึกษาได้กำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจไว้อย่างชัดเจน สอดคล้องกับ บรบิ ทของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถนิ่ วตั ถปุ ระสงค์ของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ นโยบายของ รฐั บาลและของต้นสังกดั รวมทงั้ ทนั ต่อการเปลย่ี นแปลงของสังคม ดังน้ี วสิ ยั ทัศน์ (ปีการศึกษา 2560-2564) ภายในปี พ.ศ.2564 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ มีระบบ การจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ มีครูมืออาชีพ ผู้เรียนมีคุณลักษณะตามหลักสูตร และเป็นศูนย์การเรียนรู้ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง พนั ธกจิ (ปกี ารศกึ ษา 2560-2564) 1. พัฒนาระบบการจดั การศึกษาใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ 2. พฒั นาและสง่ เสริมให้ครเู ป็นครมู ืออาชพี 3. พัฒนาและสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นมคี ุณลักษณะตามหลักสตู ร 4. พัฒนาสถานศกึ ษาใหเ้ ป็นศูนย์การเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยโรงเรียนไดด้ ำเนินการพัฒนางานตามกรอบแนวทางของวิสัยทัศน์ (ปีการศึกษา 2560-2564) จนสามารถมีระบบเทคโนโลยีมาช่วยในการบรหิ ารงานในโรงเรยี นเป็นของตนเอง มีกิจกรรมการกำกับ นิเทศ ติดตาม การจัดการเรียนการสอนและการจัดเก็บเอกสารของครูตาม ว.21 และชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ

51 เพื่อพัฒนาให้ครูเป็นครูมืออาชีพ จัดกิจกรรมและโครงการที่พัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน โรงเรียนประจำ และพัฒนาตามอัตลักษณ์ของผู้เรียน คือ สุขภาพดี คุณธรรมเด่น เป็นจิตอาสา พร้อง ท้ัง โรงเรียนได้รับการคัดเลือกให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตั้งแต่ปีการศึกษา 2562 ตามเอกลักษณข์ องสถานศึกษา คอื อุทยานการเรยี นรู้ แล้วยงั พัฒนางานอย่างตอ่ เน่อื งทุกปี ตวั ชี้วดั ท่ี 2 มีระบบบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษา โรงเรียนกำหนดการดำเนินงานตามพันธกิจโดยจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี ที่สอดคล้องกับ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพื่อให้บรรลุเป้าหมายการจัดการศึกษา โดยสร้างความเข้าใจกับทุกกลุ่มงาน ในการนำพันธกิจสูก่ ารปฏิบตั ิในรูปของโครงการและกิจกรรมที่สนองมาตรฐานการศึกษา โดยนำวงจรคุณภาพ PDCA , หลักการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School Based Management : SBM ) และได้คิด นวตั กรรมการบรหิ ารงานภายในโรงเรียนเพือ่ ให้การบริหารงานประสบความสำเร็จอย่างมีประสิทธภิ าพ โดยใช้ รูปแบบ TEAM+ Model ในการขับเคล่อื นระบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศกึ ษา โดยมรี ายละเอยี ดดังนี้ (1) T : Trainer หมายถึง หัวหน้ากลุม่ งาน เป็นการกระจายอำนาจการบริหารงานในสถานศกึ ษา โดยการนำครแู ละบุคลากรท่ีมีความรู้และประสบการณข์ ้นึ มาเป็นหัวหนา้ คณะทำงาน ซึง่ ได้จดั ทำโครงสร้างการ บริหารงานภายในสถานศึกษาแบ่งออกเป็น 10 กลุ่มงาน คือ 1) กลุ่มงานบริหารประถมศึกษา 2) กลุ่มงาน บริหารงานวิชาการ 3) กลุม่ งานสง่ เสริมวชิ าการ 4) กล่มุ งานตามนโยบาย 5) กลมุ่ งานวินยั นกั เรียน 6) กล่มุ งาน ส่งเสริมกิจการนกั เรียน 7) กลุ่มงานแผนงานและงบประมาณ 8) กลุ่มงานบุคคล 9) กลุ่มงานอำนวยการ และ 10) กลุ่มงานอาคารสถานที่ โดยมีการวางแผนร่วมกนั อย่างเปน็ ระบบเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติที่มีเป้าหมายตรง ตามวัตถุประสงคข์ องงาน เพ่ือใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลมากท่สี ดุ (2) E : Environment หมายถึง แหล่งเรียนรู้/สิ่งแวดล้อม เป็นการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ใน สถานศึกษา เพื่อให้เป็นอุทยานการเรียนรู้ และทำให้เกิดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้วิถีพอเพียง โดย สามารถใชเ้ ป็นสถานที่สำหรบั ผู้เรียน บคุ ลากร ชมุ ชน สถานศกึ ษา และหน่วยงานต่าง ๆ ไดม้ าศึกษาหาความรู้ ไดท้ กุ ที่ภายในสถานศกึ ษา ซงึ่ เป็นไปตามเอกลกั ษณข์ องโรงเรยี นคอื “อุทยานการเรียนร”ู้ และยงั มแี หลง่ เรียนรู้ ภายในสถานศึกษาอีกมาก เช่น ศูนย์การเรียนรู้โรงแรม โรงฝึกงานอาชีพแผนกช่าง แผนกคหกรรม แผนก คอมพวิ เตอร์ ฐานกิจกรรมศนู ย์การเรยี นรูต้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษกจิ พอเพยี ง ด้านการศกึ ษา เป็นต้น (3) A : Active Learning หมายถงึ การเรยี นรู้แบบลงมอื ปฏบิ ตั ิจริง เป็นการจดั การเรียนการสอน แบบบรู ณาการหลกั เศรษฐกจิ พอเพียงเขา้ กับทุกรายวิชาที่จดั การเรยี นการสอน ทำใหผ้ ู้เรียนไดม้ ีบทบาทในการ แสวงหาความรูจ้ ากอทุ ยาการเรียนรู้ และเรียนรอู้ ยา่ งมปี ฏิสมั พันธ์ จนเกดิ ความร้คู วามเข้าใจนำไปประยุกต์ใช้

52 ไดส้ ามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า หรือสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ สามารถพัฒนาตนเองเต็มความสามารถ และยงั ช่วยในการปลกู ฝงั ให้ครแู ละผเู้ รียนใชช้ วี ติ ในรปู แบบวถิ ีพอเพียง (4) M1 : Man หมายถึง การบรหิ ารบุคลากร ครูและบุคลากรภายในสถานศกึ ษาซง่ึ ถอื วา่ เป็นปัจจัย หลกั ท่ีสำคัญที่สุด เพราะการพฒั นาหรือการดำเนินงานต่าง ๆ ต้องอาศัยครูและบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา ท้งั ในด้านความคดิ การวางแผน การดำเนนิ การ โดยมีการจดั หน้าท่ีปฏบิ ัติงานของครูและบคุ ลากรให้เหมาะสม กับงานตรงตามความสามารถของแต่ละบุคคล พร้อมทั้งยังได้รับความร่วมมอื ทีด่ ีจากภาคีเครือข่ายผู้ปกครอง และชุมชนในรูปแบบต่าง ๆ เช่น จากคณะกรรมการสถานศึกษา ฯลฯ จนทำให้เกิดการผลการพัฒนาองค์กร อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด จากความร่วมมือในการทำงานของครูและบุคลากรภายในสถานศึกษา ส่งผลให้ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ ได้การคดั เลือกใหเ้ ป็นศนู ยก์ ารเรียนร้ตู ามหลักปรัชญาของ เศรษกจิ พอเพียง ด้านการศึกษา จากกระทรวงศกึ ษาธิการ (5) M2 : Money หมายถึง การบริหารงบประมาณ การบริหารจัดการงบประมาณมีการวางแผน ปฏิบัติการเกี่ยวกับการใช้งบประมาณ จัดทำมาตรฐานภาระงานงบประมาณ มีการชี้แจงให้ครูและบุคลากร ทางการศึกษาทราบ การมอบหมายงานให้รับผดิ ชอบโดยคำนึงถึงความรู้ความสามารถและความตอ้ งการของ สถานศึกษา ใช้งบประมาณตรงตามกรอบและวัตถุประสงค์ ถูกต้องตามระเบียบ มีระบบควบคุม ตรวจสอบ ภายใน รายงานการใช้งบประมาณเปน็ ปจั จุบนั และมีการประเมินผลและนำผลไปปรบั ปรุง และในการจัดตั้งคำ ของบประมาณของแต่ละปี สถานศึกษาไดร้ บั การจดั สรรงบประมาณในทกุ ด้านอย่างเพยี งพอ สามารถวางแผน บริหารงบประมาณไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ (6) M3 : Materials หมายถึง การบริหารทรัพยากร มีการบริหารทรพั ยากรอย่างคุ้มค่า โดยมีการ วางแผนการทรัพยากรที่เปน็ วสั ดุ อุปกรณต์ ามความจำเปน็ และความเหมาะสม สถานศกึ ษาไดจ้ ัดสรรทรพั ยากร ในทุก ๆ ด้านอย่างเพียงพอ ลดจำนวนทใ่ี ช้เกนิ ความความจำเป็นออกใหม้ ากท่สี ุด เพ่อื ทจ่ี ะมาช่วยในการพฒั นา องค์กรหรือสถานศึกษาให้มีความกา้ วหน้าในทุกดา้ น (7) M4 : Management หมายถึง กระบวนการจัดการ เป็นกระบวนการจัดการบริหารงาน ในสถานศึกษาโดยยึดหลักรูปแบบของ TEAM+ Model เพื่อให้การดำเนินงานทั้งหมดเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลอย่างเต็มที่ โดยมีระบบการนิเทศ กำกับติดตามที่เป็นระบบอย่างต่อเน่อื ง ซึ่งเป็นปัจจัยที่สำคัญช่วยให้สถานศึกษาพัฒนาไปในทิศทางที่ต้องการ ทั้งนี้โดยที่ผู้ปกครอง ชุมชน และ หน่วยงานทีเ่ ก่ียวข้อง มบี ทบาทสำคญั เป็นอย่างยงิ่ ต่อการดำเนนิ งานเพอ่ื บรรลผุ ลตามเป้าหมาย (8) Plus (+) : ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information and communications technology : ICT) ในการพัฒนาสถานศึกษา นอกจากการดำเนินงานทั้ง 4 องค์ประกอบ (TEAM) แล้ว กระบวนการดำเนินงานเป็นปัจจัยสำคัญที่นำไปสู่การประสบความสำเรจ็ ในการพัฒนาสถานศึกษาสู่ศูนยก์ าร เรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษกิจพอเพียง ด้านการศึกษา ซึ่งในกระบวนการดำเนินงานในสถานศึกษา ทั้งหมดได้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มาขับเคลื่อนสถานศึกษา คือ Information and communications technology (ICT) หมายถึง การบริหารงานโดยการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาอำนวยความสะดวกในการ ทำงานเพื่อให้ เกิดความรวดเร็วและมีข้อมูลสารสนเทศที่เที่ยงตรง น่าเชื่อถือ และตรวจสอบได้ทันที โดยใช้ ระบบ checkin.rpk31 school ของสถานศกึ ษาคิดค้นข้ึนมาในการจัดการขอ้ มลู สารสนเทศทั้งหมด โดยผู้ที่เกี่ยวข้องวางแผนร่วมกันอย่างเป็นระบบ ทั้งการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการจัด การศึกษา การนำแผนไปปฏิบัติเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและ

53 ปรับปรุงพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง มีการบริหารอัตรากำลัง ทรัพยากรทางการศึกษาและระบบการดูแล ชว่ ยเหลอื นกั เรียน มีระบบการนิเทศภายใน การนำข้อมลู มาใช้ในการพฒั นาบุคลากรและผู้ท่ีเก่ียวข้องทุกฝ่าย อย่างมีส่วนร่วม ในการวางแผน ปรับปรุง พัฒนาและร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา จากการบริหาร อยา่ งเป็นระบบส่งผลใหโ้ รงเรยี นไดร้ ับการยอมรบั จากหน่วยต่าง ๆ ได้แก่ ตารางที่ 2.4 รางวลั /ผลงานดเี ด่นในรอบปกี ารศึกษา 2563 ท่ี รางวัลทไ่ี ด้รับ วนั ทไ่ี ด้รับ หน่วยงานท่มี อบให้ 1. ได้ตรวจคดั เลือกสถานศึกษาเพอ่ื รบั รางวลั ระบบการ 26 ส.ค. 2563 กระทรวงศกึ ษาธิการ ดูแลช่วยเหลือนกั เรยี น ประจำปี 2563 16 ก.ย. 2563 กระทรวง 2. ได้รบั เกียรตคิ ณุ โครงการสนบั สนนุ กิจกรรมลดกา๊ ซ ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ้ ม เรือนกระจก (low emission support scheme : less) จากองคก์ ารบรหิ ารจัดการกา๊ ซเรอื นกระจก 28 ก.ย. 2563 สำนักงาน (องคก์ ารมหาชน) ปลดั กระทรวง 3. ได้รบั รางวลั การจดั นิทศี การในการประชมุ แลกเปลี่ยน ศึกษาธกิ าร เรียนรู้ ถอดบทเรยี นการดำเนนิ งานโครงการพฒั นา ระบบการศึกษาโดยใชร้ ูปแบบพน้ื ทนี่ วัตกรรม 3 พ.ย. 2563 กระทรวงสาธารณสขุ การศกึ ษา ณ โรงแรมค้มุ ภูคำ อำเภอเมือง จังหวัด เชยี งใหม่ 4. รับโล่รางวลั โรงเรยี นต้นแบบสุขบญั ญตั แิ หง่ ชาติ ประจำปี 2562 ระดบั ดเี ยยี่ ม ณ ทว่ี า่ การอำเภอแม่ แจม่ จังหวัดเชียงใหม่ ตัวช้ีวดั ที่ 3 ดำเนนิ งานพัฒนาวชิ าการที่เนน้ คณุ ภาพผู้เรยี นรอบดา้ นตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา และทุกกลมุ่ เป้าหมาย โรงเรียนได้จัดทำและพัฒนาหลักสูตรที่เน้นคุณภาพนักเรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา เช่อื มโยงวิถีชีวิตจรงิ และครอบคลุมทกุ กล่มุ เป้าหมายของนักเรียนด้อยโอกาสทางการศึกษา ประกอบด้วย 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ฉบับปรับปรุง 2560 2. หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ 2.1 หลักสูตร ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษา 2.2 หลักสตู ร ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนตน้ 2.3 หลักสูตร ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย แบง่ แผนการเรยี นเปน็ ดังนี้ 2.3.1 แผนการเรยี นวิทยาศาสตร์ - คณติ ศาสตร์ 2.3.2 แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-จีน 2.3.3 แผนการเรียนเกษตรกรรม 2.3.4 แผนการเรียนศลิ ปศกึ ษา (ดนตรี-นาฏศิลป์)

54 2.3.5 แผนการเรยี นศลิ ปศกึ ษา (ศลิ ปะ) 2.3.6 แผนการเรียนพลศกึ ษา (กีฬา-กรีฑา) 2.3.7 แผนการเรียนคหกรรม 2.4 หลกั สตู รทวศิ กึ ษา จำนวน 4 หลกั สตู ร ไดแ้ ก่ 2.3.8 แผนการเรียนอุตสาหกรรมการทอ่ งเท่ียว สาขาการโรงแรมและทอ่ งเท่ียว 2.3.9 แผนการเรียนคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ 2.3.10 แผนการเรียนอตุ สาหกรรม สาขาช่างเช่ือมโลหะ 2.3.11 แผนการเรยี นพาณชิ ยกรรม สาขาการบญั ชี 2.5 หลกั สตู รรายวิชาเพิม่ เตมิ ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาตอนต้นในรปู แบบ Shopping list จำนวน 45 รายวิชา ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลายในรปู แบบ Block Course จำนวน 7 รายวิชา ตัวชี้วดั ท่ี 4 พฒั นาครูและบคุ ลกรใหม้ ีความเช่ียวชาญทางวชิ าชพี โรงเรียนส่งเสริม สนับสนุน ให้ครูมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง โดยมีการประเมินตนเอง ทางดา้ นสมรรถนะหลักและสมรรถนะสายงานของครูทงั้ 11 ประเด็น เพอ่ื ค้นหาจุดเดน่ และจดุ ควรพัฒนาของ ตนเอง นำมาจดั ทำแผนพัฒนาตนเองรายบคุ คล (ID PLAN) ในชว่ งกอ่ นปดิ ภาคเรียนทางโรงเรยี นไดจ้ ัดอบรมให้ ความรู้ดา้ นวชิ าการและวิชาชีพตามโครงการพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาของโรงเรยี น นอกจากนี้คณะ ครมู ีการพัฒนาตามจดุ อ่อนของตนเองดว้ ยวธิ กี ารทีห่ ลากหลาย เช่น การศึกษาผ่านสื่อออนไลน์ แหล่งเรียนร้อู ื่น ๆ หรอื จากผู้รู้ ผู้เชย่ี วชาญ เป็นตน้ เพอ่ื ใหค้ รูมีความเชย่ี วชาญทางวิชาชพี โรงเรียนจึงไดก้ ำหนดเป็นนโยบายจัด ให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้กระบวนชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC : Professional Learning Community) ในช่วงส้ินปีการศกึ ษาคณะครูมีการจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานของตนเองให้สอดคลอ้ งกับ แผนพฒั นาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ที่ได้จัดทำไว้ ประกอบการประเมินสมรรถนะครูที่สอดคล้องกับเกณฑ์ การประเมินวิทยฐานะตาม ว.21 ปกี ารศกึ ษาละ 2 ครงั้ ตัวชี้วัดที่ 5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมี คณุ ภาพ โรงเรยี นได้จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพทั้งภายในและภายนอกหอ้ งเรียน และสภาพแวดล้อม ทางสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ มีความปลอดภัยตามบริบทของโรงเรียนประจำอย่างมีความสุข โดยมี กระบวนการบรหิ ารงานอาคารสถานท่ี ดังน้ี โรงเรียน 1) กำหนดแนวทาง วางแผนการบริหารจัดการห้องเรียนและอาคาร สถานที่ต่างๆ ภายใน 2) ดูแลและพัฒนาอาคารอาคารประกอบของโรงเรียนให้อยู่ในสภาพที่มั่นคง ปลอดภัย เหมาะสมพร้อมทจ่ี ะใช้ประโยชน์ 3) ติดตามและตรวจสอบการใช้อาคารเรียนอาคารประกอบของสถานศกึ ษาเพ่ือให้เกิดความ ค้มุ คา่ และเออื้ ประโยชนต์ ่อการเรียนรู้ของนกั เรยี น 4) ปรับปรุงห้องเรียนและอาคาร สถานท่ีตา่ งๆ ทช่ี ำรดุ และเปน็ อนั ตรายตอ่ นักเรยี น จากการดำเนินงานส่งผลให้โรงเรยี นไดร้ ับรางวัลสถานศกึ ษาปลอดภยั ระดับดีเดน่ ประจำปี 2563 โดยกระทรวงแรงงาน และรางวลั อนุรักษณ์สงิ่ แวดลอ้ ม โรงเรียน ECO Carbon ปี 2563

55 ตัวชี้วัดที่ 6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการ เรยี นรู้ โรงเรียนไดส้ นับสนนุ และให้ความสำคญั ในเร่ืองการเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การบริหารจัดการ เอกสารสารและข้อมลู สนเทศ โดยคณะครูและบุคลากรของโรงเรียนได้รบั การอบรมการเรื่องจดั ทำ E-Book ใน รปู แบบออนไลน์ เพ่ือนำเอกสารจดั เก็บไว้บนชนั้ หนังสือของตนเองทไ่ี ด้กำหนดไว้ใน Website ของโรงเรียนซ่ึง มีจำนวน 10 ชั้น ตามโครงสร้างการบรหิ ารงานของโรงเรียน ส่งผลให้ผู้บริหารสามารถการตรวจสอบเอกสาร ประกอบการพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ผ่านชั้นหนังสือของครูผู้สอนในรูปแบบออนไลน์ได้ การปรับปรุงระบบ สารสนเทศโรงเรียนให้ครอบคลุมทุกฝ่ายเปน็ ปจั จุบันและง่ายต่อการเข้าถึงและนำไปใช้ในการบริหารและจัด การศึกษา นอกจากนี้ยังไดน้ ำเทคโนโลยมี าบริหารจัดการด้านพฤติกรรมของนกั เรียน เพ่ือชว่ ยการบริหารงาน ของกลุ่มงานกิจการนักเรียน ด้วยระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนประจำ คือ แอพพลิเคชั่นที่ใช้ สำหรับโรงเรียนประจำ “checkin.rpk31” เป็นนวัตกรรมใหม่ที่ทางโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ได้พัฒนาขึ้นมาเอง ได้รับการยอมรับและเป็นต้นแบบให้โรงเรียนในเครือข่ายเดียวกันทั่วประเทศ (http://checkin.rpk31school.ac.th/) เทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ประกอบด้วย การตดิ ต้งั สมาร์ททีวีสำหรบั การเรียนการสอนทุกห้องเรียน การสอบกลางภาคและปลายภาคด้วย ระบบออนไลน์ จัดทำ QR Code : Quick Response ข้อมูลในฐานการเรียนรู้ของศูนย์การเรียนต่าง ๆ ใน โรงเรยี น เช่น การบรหิ ารจัดการขยะแบบครบวงจร กิจกรรมการฝกึ ทกั ษะอาชพี กิจกรรมสวนพฤกษศาสตร์ อนั เนอื่ งมาจากพระราชดำริฯ ฐานการเรยี นรู้ในโรงเรยี น เป็นต้น จากการดำเนินส่งผลให้โรงเรียนเป็นที่ยอมรับจากหน่วยงานต่าง ๆ โดยได้รับเชิญเป็นวิทยากร เพอ่ื ถ่ายทอดความรเู้ รื่องระบบการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการบรหิ ารจัดการของโรงเรยี น ตัวชี้วัดที่ 7 หน่วยงาน องค์กร ชุมชนให้การสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ด้วยรูปแบบและวิธีการทห่ี ลากหลาย โรงเรียนได้มีการส่งเสริมสนับสนุนให้หนว่ ยงาน องค์กร ชุมชนภายนอกเข้านอกมามีส่วนร่วมใน การพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษาดว้ ยรูปแบบและวธิ กี ารท่ีหลากหลาย เร่มิ ต้นตง้ั แต่การจดั ประชุมหารือการ ดำเนนิ งานในแต่ละปีการศกึ ษา โดยมคี ณะกรรมการสถานศึกษา ตัวแทนครู ผูป้ กครอง นกั เรยี น ชุมชน รวมถงึ หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทีใ่ หก้ ารสนับสนนุ ด้านการจัดการศกึ ษา พร้อมทั้งได้รับการรว่ มมือในการพัฒนาคุณภาพการ จัดการศึกษาจากหน่วยงานต่าง ๆ ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาดังกล่าว โรงเรียนได้ยึดแนวคิดวา่ เป็นการจัดการศึกษาเพือ่ คุณภาพของผู้เรียน ที่ยึดผู้เรียนเป็นตัวตั้งหรือผู้เรียนเป็นสำคัญ ด้วยการมีส่วนร่วม และบูรณาการทรัพยากรในท้องถิ่นร่วมกันบนพื้นฐานของการกระจายอำนาจโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ให้เกิด ความเข้มแข็งจากฐานราก ด้วยความร่วมมือขององค์กรในชุมชน ทั้งการร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมตัดสินใจ รว่ มดำเนนิ การ รว่ มรับผดิ ชอบ รว่ มตดิ ตามประเมินผล ร่วมแก้ปัญหา และร่วมช่ืนชม ที่ให้อิสระความยืดหยุ่น และความคลอ่ งตวั กบั สถานศึกษา บนความหลากหลายและสอดคลอ้ งกบั บริบทของท้องถิ่น 3. ผลการดำเนินงาน ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน และวิธีการตรวจสอบร่องรอย หลักฐานการปฏิบัติงาน การสอบถามผู้ที่มีส่วนเกี่ยวมีความพึงพอใจในการบริหารและการจัดการของ สถานศกึ ษา สรุปผลการดำเนนิ งานตามตารางที่ 2.5 ดงั นี้

56 ตารางท่ี 2.5 ผลการประเมนิ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ มาตรฐาน/ประเด็นพิจารณา ผลทไ่ี ด้ คา่ เปา้ หมาย ผลการประเมิน ปกี ารศกึ ษา 2563 ทตี่ ั้งไว้ สงู กว่าเป้าหมาย สงู กวา่ เปา้ หมาย มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดเี ลศิ (80.00) สงู กว่าเป้าหมาย ดีเลศิ (80.00) 2.1 การมเี ปา้ หมาย วิสัยทัศน์ และพนั ธกิจ ยอดเย่ยี ม (96.05) ดเี ลศิ (80.00) สงู กว่าเป้าหมาย สงู กว่าเป้าหมาย ท่สี ถานศึกษากำหนดชัดเจน ดีเลศิ (80.00) ดีเลศิ (80.00) สูงกว่าเปา้ หมาย 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของ ยอดเย่ียม (96.05) ดีเลศิ (80.00) สูงกวา่ เป้าหมาย สถานศกึ ษา ดีเลศิ (80.00) สูงกวา่ เปา้ หมาย 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้น ยอดเยยี่ ม (94.74) คุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตร สถานศึกษาและทกุ กลมุ่ เป้าหมาย 2.4 พัฒนาครูและบุคลกรให้มีความ ยอดเยย่ี ม (94.74) เชี่ยวชาญทางวชิ าชีพ 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและ ยอดเยย่ี ม (98.69) ส ั ง ค ม ท ี ่ เ อ ื ้ อ ต ่ อ ก า ร จ ั ด ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ อ ย ่ า ง มี คณุ ภาพ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ ยอดเยีย่ ม (96.05) สนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการ เรยี นรู้ 2.7 หน่วยงาน องค์กร ชมุ ชนให้การ ยอดเยี่ยม (97.37) สนับสนุนการพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษา ด้วยรปู แบบและวิธีการท่หี ลากหลาย ค่าเฉล่ียรวม มาตรฐานท่ี 2 ยอดเยี่ยม (96.24) ดีเลิศ (80.00) จากตารางที่ 2.5 ผลการดำเนินงาน พบวา่ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ มี ผลการประเมนิ อย่ใู นระดับ “ยอดเยี่ยม” เมื่อแปลผลการพิจารณาแต่ละประเดน็ พิจารณา ปรากฏว่า 2.1 การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน มีผลการประเมินอยู่ใน ระดับ “ยอดเย่ียม” (96.05) ซึง่ สงู กวา่ คา่ เปา้ หมายที่ตง้ั ไว้ 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา มีผลการประเมินอยู่ในระดับ “ยอดเยี่ยม” (96.05) ซึ่งสงู กว่าค่าเป้าหมายที่ตงั้ ไว้ 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุก กลมุ่ เป้าหมาย มีผลการประเมินอย่ใู นระดบั “ยอดเย่ยี ม” (94.74) ซึง่ สงู กว่าคา่ เป้าหมายทีต่ ง้ั ไว้ 2.4 พัฒนาครูและบุคลกรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ มีผลการประเมินอยู่ในระดับ “ยอดเย่ยี ม” (94.74) ซ่งึ สูงกว่าคา่ เปา้ หมายทต่ี ั้งไว้

57 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อตอ่ การจัดการเรียนรู้อย่างมีคณุ ภาพ มีผลการ ประเมินอยใู่ นระดบั “ยอดเยย่ี ม” (98.69) ซึ่งสูงกว่าคา่ เป้าหมายท่ีต้ังไว้ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ สนบั สนนุ การบรหิ ารจดั การและการจัดการเรียนรู้ มีผลการ ประเมินอยู่ในระดบั “ยอดเยี่ยม” (96.05) ซ่งึ สงู กว่าคา่ เปา้ หมายทต่ี ั้งไว้ 2.7 หนว่ ยงาน องค์กร ชุมชนใหก้ ารสนบั สนนุ การพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษาด้วยรูปแบบและ วธิ ีการทห่ี ลากหลาย มีผลการประเมนิ อยูใ่ นระดับ “ยอดเยย่ี ม (97.37)” ซงึ่ สูงกวา่ คา่ เป้าหมายที่ตั้งไว้ 4. การนำผลการดำเนนิ งานไปใช้ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ โดยงานประกันคุณภาพสถานศึกษาได้มีการ ชี้แจงในการประชุมการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ช่วงปิดภาคเรียนที่ 2 ของทุกปีการศึกษา เพื่อ นำเสนอผลการประเมิน และนำผลการประเมินไปใช้ปรับปรงุ การบรหิ ารในปีการศกึ ษาถัดไป มีการจัดทำแนว ทางการพฒั นาคณุ ภาพสถานศกึ ษาในอนาคต มีการนำผลจากการประเมนิ หรอื ผลจากขอ้ เสนอแนะจากบุคคล ท่มี สี ว่ นเกย่ี วข้อง เช่น ครู บุคลากร ผปู้ กครอง ชมุ ชน เปน็ ต้น โดยการสอบถามความพึงพอใจในการบริหารงาน ทุกปกี ารศกึ ษา และโรงเรยี นได้ดำเนินการวิเคราะหส์ ภาพปัญหา ผลการจัดการศกึ ษาในปีที่ผา่ นมา จึงได้นำผล มาใชก้ ำหนดเป้าหมายใหม่ ปรับวิสัยทัศน์ พันธกจิ กลยทุ ธ์ให้สอดคลอ้ งกับบริบท โดยปรับปรุงแผนปฏิบัติการ ประจำปี ทกุ ปีการศกึ ษา 5. การเผยแพร่ผลการดำเนินงาน โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ ได้มีการเผยแพร่ผลการดำเนินงานเป็นประจำ ทุกปีการศึกษา โดยดำเนินการนำเสนอผลการประเมินคุณภาพของผู้เรียนต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น ผู้ปกครอง ชุมชน คณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด โดยมีการจัดส่ง SAR ให้หน่วยงานต้นสังกัดทุกปี การศึกษา ทั้งในรูปแบบออนไลน์และเอกสาร และการชี้แจงในการประชุมต่าง ๆ รวมทั้งมีช่องทางให้ผู้อ่าน หรอื ผ้ทู ส่ี นใจสามารถเข้าถึงข้อมูลรายงานการประเมนิ ตนเอง และหลกั ฐานอื่น ๆ ทง้ั หมดผา่ นทางเว็บไซน์เก็บ เอกสารของโรงเรียน http://www.checkin.rpk31school.ac.th/ebook/?p=BookCase&BookCID=586 สามารถเชอ่ื มโยงกับฐานข้อมูลของการสรปุ การปฏิบัติงานแต่ละโครงการทน่ี ำมาอา้ งองิ ในแต่ละมาตรฐานได้ 6. จดุ เดน่ 1. สนับสนุนใหม้ ีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการบริหารงานในกล่มุ งานต่าง ๆ 2. มกี ารบริหารสถานศึกษาในรูปแบบการทำงานเป็นทมี มีวฒั นธรรมองคก์ รที่เข้มแขง็ โดยยึด หลักผเู้ รยี นเป็นสำคญั 3. สถานศึกษามีความพร้อมดา้ นสถานที่ การจัดสภาพแวดลอ้ มได้ที่เอื้อมอำนวยต่อการเรียนรู้เปน็ อยา่ งดี มวี สั ดอุ ุปกรณ์ เครอ่ื งมอื ในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา 4. มีการส่งเสริม สนบั สนนุ ครใู นด้านการจัดการศกึ ษาให้มคี วามเป็นมาตรฐาน ให้ความสำคัญใน เรือ่ งของการจดั ทำแผนการจดั การเรยี นรู้

58 5. มีโครงสรา้ งการบริหารงานและการจัดการทชี่ ดั เจนเป็นระบบ ใชเ้ ทคนคิ การประชุมที่ หลากหลายวิธี เพอื่ ร่วมระดมความคดิ ในการจัดทำแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ตลอดจนแผนปฏิบตั กิ าร ประจำปี และนำผลจากการปฏิบตั งิ านมาพฒั นาสถานศึกษาอยา่ งต่อเนอื่ งเปน็ ประจำทกุ ปี 6. มีวฒั นธรรมองค์กรท่ีเขม้ แขง็ เป็นสถานศึกษท่ีมีคุณภาพ 7. มกี ารกระจายอำนาจ ให้ครูผูม้ คี วามเชี่ยวชาญและประสบการณ์ในการบรหิ ารงาน ขนึ้ มามี ส่วนรวมในการพฒั นาสถานศึกษา 8. มกี ารกำหนดวิสัยทศั น์ พนั ธกิจ เป้าหมายท่ีชัดเจน มีการบริหารงานตามโครงสรา้ ง 9. ผู้บริหารสถานศึกษามีภาวะความเป็นผู้นำ มีความสามารถในการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษา สง่ เสรมิ ความเสมอภาค ความสัมพนั ธ์ ความร่วมมอื กบั หน่วยงาน องคก์ ร และชมุ ชนในการพัฒนาคณุ ภาพ การศึกษา 10. มีการแกไ้ ขปญั หาจำเปน็ เร่งด่วนของสถานศกึ ษา เชน่ การแกไ้ ขปญั หาเร่ืองนำ้ การสร้างทาง ถนนในโรงเรียน เปน็ ต้น 11. ผู้บริหารมกี ารเอาใจใส่ครูและนักเรยี นในทุกดา้ น เลือกวางบคุ ลากรท่ีถกู กบั งาน โดยรับฟัง ความคดิ เหน็ ของครูและและนักเรียน 7. จดุ ที่ควรพัฒนา 1. ควรมจี ัดระบบและการวางแผนการทำงานทช่ี ัดเจนในแต่ละปกี ารศกึ ษา งานทุกอยา่ งใน โรงเรียนควรเป็นระบบระเบียบมากขน้ึ และนำผลการปฏบิ ัติมาปรับปรุง แกไ้ ขในครัง้ ต่อไป 2. ควรมกี ารทำงานเป็นทีม สร้างทีมงานในการพัฒนาสถานศกึ ษา และความชัดเจนในการพฒั นา องคก์ ร ยึดตวั ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ 3. ควรมกี ารรบั ฟังความคิดเห็นในภาพรวม และเข้าถึงปัญหาทุกเรื่องภายในสถานศึกษา สนบั สนุนใหแ้ สดงความคดิ เห็นบนพ้ืนฐานของความถูกตอ้ งเหมาะสม 4. ควรมกี ารสง่ เสรมิ พัฒนาครแู ละบคุ ลากรใหม้ คี วามเชย่ี วชาญทางวิชาชีพ ให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะตาม มาตรฐานตำแหนง่ จดั อบรมเกีย่ วกบั ส่อื เทคโนโลยใี นการจดั การศึกษา 5. สร้างเจตคติท่ีดีตอ่ วิชาชีพและแนวปฏิบตั ิท่ีชัดเจนให้บุคลากร เพ่อื การปฏิบัติในแนวทาง เดียวกนั และลดความเหลอื่ มลำ้ ในการปฏบิ ัติหนา้ ที่ สง่ ผลดีต่อการพัฒนางานวิชาการและพฒั นาผู้เรียนอย่าง เตม็ ศกั ยภาพ 6. ควรมกี ารสนับสนุนเทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการศึกษาอยา่ งท่วั ถงึ เตรยี มรับมือกบั สถานการณ์ โรคระบาดในปจั จุบัน 7. ควรลดภาระของครู ลดเอกสารทไ่ี ม่จำเปน็ เพื่อมเี วลาจัดการเรียนการสอนอยา่ งมี ประสิทธภิ าพ 8. ขอ้ เสนอแนะ โรงเรียนควรมีเพิ่มเติมในด้านการบริหารทีเ่ ป็นระบบ โดยเน้นในเรื่องการมีส่วนรว่ มในการบรหิ าร มกี ารจดั ทำแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาระยะส้นั ระยะยาว และแผนปฏบิ ตั ิการประจำปอี ย่างเหมาะสม และ สอดคล้องกบั จดุ เนน้ เฉพาะของสถานศึกษา มีการดำเนนิ การตามโครงการ เช่น โครงการสรา้ งความสมั พันธ์กับ ชุมชน หรือกิจกรรมการเข้าไปร่วมในชุมชน โดยระบุถึงวิธีการดำเนินงาน วิธีการประเมินผล และผลการ

59 ดำเนนิ งานไวช้ ดั เจน และมีการรายงานผลตามแผนการดำเนินงาน เช่น สรุปการประชุมร่วมกบั ชมุ ชน การเข้า ไปร่วมกิจกรรมในชุมชน การรับการบริจาคหรือการสนับสนุนจากชุมชน หรือองค์กรหน่วยงานอื่นๆ แล้ว นำเสนอให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องไดร้ ับทราบ พร้อมทั้งมีการเผยแพร่ขอ้ มลู ดังกล่าวเป็นระยะ ๆ อย่างต่อเน่ือง ท้ัง การแจง้ ในทปี่ ระชมุ การลงในเว็ปไซต์ท่ีมสี รา้ งคอลัมภ์หรือหวั ขอ้ ขนึ้ มาโดยเฉพาะ เป็นต้น 9. แหล่งข้อมลู หลกั ฐานอา้ งองิ 9.1 แบบประเมนิ ความพึงพอใจกระบวนการบริหารและการจัดการ 9.2 แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาระยะ 5 ปี (พ.ศ.2560 - 2564) 9.3 แผนปฏิบตั ิการประจำปกี ารศกึ ษา 2563 9.4 หลักสตู รสถานศกึ ษา 9.5 ขอ้ มลู คณะศึกษาดูงานในโรงเรยี น 9.6 โลแ่ ละเกียรติบัตรรางวัลที่ไดร้ บั 9.7 นวัตกรรม Checkin.rpk31 10. แบบอย่างท่ีดี (Best Practice) หรอื นวัตกรรม (Innovation) 10.1 นวัตกรรม การใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารงานกิจการนักเรียน Checkin.RPK31 และเป็นแบบอย่างที่ดี (Best Practice) ได้รับการรับยอม และการเข้ามาศึกษาดูงานจาก โรงเรยี นต่าง ๆ อยา่ งมากมาย 10.2 นวตั กรรม การใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การบรหิ ารงานวิชาการ 10.3 นวัตกรรม การใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารงานแผนงานและงบประมาณ (RPK 31 ERP) 10.4 นวัตกรรม การใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดเก็บเอกสารของสถานศึกษา (E- Book Library) 10.5 นวัตกรรม การใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดเกบ็ ข้อมูลการใช้จ่ายค่าอาหารนักเรียน (E-Market) 10.6 นวัตกรรม การใชร้ ะบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ บรหิ ารงานธนาคารขยะ 10.7 นวตั กรรม การใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือบรหิ ารงานบรกิ ารภายในโรงเรียน เช่น การ จองรถโรงเรียน การจองห้องประชมุ เป็นตน้

60 มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเป็นสำคญั ระดบั คุณภาพ ดีเลิศ 1. แผนการดำเนนิ การและการต้งั เปา้ หมาย ผบู้ รหิ าร และคณะครูโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ ได้รว่ มกนั ประชมุ วาง แผนการดำเนินการและการต้ังเปา้ หมายมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็น สำคญั ปกี ารศกึ ษา 2563 ไวท้ ่ีระดับ ดีเลศิ รายละเอยี ดดงั นี้ ครูร้อยละ 80 – 80.99 มีประเด็นพิจารณา ดังน้ี 1. มีการวิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้เพื่อนำไปจัดทำหน่วยการ เรียนรู้ที่สอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัดและหรือผลการเรียนรู้ปรบั ประยุกต์หลักสูตรรายวิชา และ หน่วยการเรียนรู้ และสร้างองค์ความรู้ใหม่ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ผู้เรียน เรื่องท้องถิ่น และ สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง มีการประเมินผลการใช้หลักสูตรอย่างเป็นระบบและนำผลการประเมินการใช้ หลกั สตู รมาปรับปรงุ พฒั นาใหม้ คี ุณภาพสงู ข้นึ 2. มีการออกแบบหน่วยการเรียนรู้โดยการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกบั บริบท ของสถานศึกษา ทอ้ งถิ่นและเหมาะสมกับผู้เรยี น มีกิจกรรมการเรยี นรู้ดว้ ยวิธกี ารปฏิบัติท่ีสอดคล้องกับธรรมชาติของสาระการ เรียนรู้อยา่ งหลากหลายและสามารถนำไปปฏบิ ัติได้จรงิ มกี ารประเมินผลการใช้หน่วยการเรียนรู้ รวมถึงการนำ ผลการประเมินมาปรับปรงุ พัฒนาใหม้ ีคณุ ภาพสงู ขน้ึ 3. มกี ารจดั ทำแผนการจัดการเรยี นรู้/แผนการจัดการศกึ ษาเฉพาะบุคคล/แผนการสอนรายบุคคล/ แผนการจัดประสบการณ์ 4. มกี ารจดั การเรยี นรูโ้ ดยใช้รปู แบบ เทคนิค และวธิ ีการทเ่ี น้นวธิ กี ารปฏบิ ตั ิ มคี วามหลากหลาย ใช้ สื่อนวัตกรรมเทคโนโลยีเพื่อสนับสนนุ การจัดการเรียนรู้ การวัดผลและประเมนิ ผลตามแผนการจัดการจัดการ เรียนรูท้ ี่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรูจ้ ุดประสงค์การเรียนรู้และสอดคล้องกับ ธรรมชาตขิ องผู้เรยี นและสาระการเรียนรู้ ประเมินผลการใชก้ ลยทุ ธ์ในการจดั การเรียนรู้ และนำผลการประเมิน มาปรบั ปรงุ พฒั นาให้มคี ณุ ภาพสงู ขึน้ 5. มีผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษา กำหนด 6. มีการสร้างและพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหล่งเรียนรู้เพื่อนำไปใช้ใน การจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน สอดคล้องกับเนื้อหาสาระมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดหรือผลการ เรียนรู้และจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ประเมนิ ผลการใช้ส่ือนวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศกึ ษา แหลง่ เรียนรู้และนำ ผลการประเมินไปปรบั ปรุง พัฒนาให้มคี ณุ ภาพสงู ขนึ้ สามารถนำสอื่ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา แหล่ง เรียนรู้ 7. มีการสร้างและพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลที่หลากหลาย เหมาะสมและสอดคล้องกับ มาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชี้วัด และผลการเรียนรู้ มีการกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้มีการประเมินตามสภาพ

61 จริงมีการประเมินตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และนำผลการประเมิน คุณภาพของเครื่องมอื วัดและประเมินผลการเรยี นรู้ไปปรับปรงุ พฒั นาให้มีคณุ ภาพสงู ขนึ้ 8. มีการใช้กระบวนการวิจัยหรือดำเนินการวิจัยในการสร้างองค์ความรู้ใหม่เพื่อแก้ปัญหาหรือ พัฒนาการเรียนรู้ของผเู้ รียน โดยใช้วิธีการทีถ่ กู ต้องและเหมาะสมกับสภาพปัญหาและความตอ้ งการจำเป็น นำ ผลการแกป้ ญั หาหรือการพัฒนาการเรยี นรขู้ องผูเ้ รยี นหรอื ผลการวจิ ยั ไปใช้ 9. มีการให้ผเู้ รียนและผทู้ ่ีเกยี่ วข้องมีส่วนรว่ มอยา่ งสรา้ งสรรคใ์ นการจดั สภาพแวดล้อมบรรยากาศท่ี เอ้อื ต่อการเรียนรู้ มคี วามความปลอดภยั และมคี วามสุข สง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รยี นเกิดกระบวนการคิด มที กั ษะชวี ติ และ ทักษะการทำงานอบรมบ่มนิสัยให้ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค่านิยมที่ดีงาม ปลูกฝังความเป็นประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เสริมแรงให้ผู้เรียนมีความมั่นใจในการ พัฒนาตนเองเตม็ ตามศักยภาพเกิดแรงบนั ดาลใจ เปน็ แบบอย่างท่ีดดี ้านการบรหิ ารจัดการชนั้ เรียน 10. มีการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ จัดทำและใช้สารสนเทศของผู้เรียนในระบบดูแล ช่วยผู้เรียนมีโครงการและจัดกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ด้วยวิธีการที่หลากหลายในการดูแลช่วยเหลือผู้เรียน ส่งเสรมิ ป้องกนั และแกป้ ญั หาผเู้ รียนอย่างเปน็ ระบบ 11. มีการจัดทำข้อมูลสารสนเทศ และเอกสารประจำชั้นเรียนหรือประจำวิชา อย่างเป็นระบบ ถูกต้องและเป็นปัจจุบนั ใชส้ ารสนเทศในการเสริมสร้างและพฒั นาผ้เู รียน 12. มีจัดทำแผนพัฒนาตนเองที่สอดคล้องกับสภาพการปฏิบัติงานความต้องการจำเป็นหรือตาม แผนกลยุทธ์ของหน่วยงานการศึกษาหรือส่วนราชการต้นสังกัด มีการพัฒนาตนเองตามแผน นำความรู้ ความสามารถทกั ษะทไี่ ด้จากการพัฒนาตนเองมาพฒั นานวตั กรรมการจัดการเรียนรู้ท่ีสง่ ผลต่อคุณภาพผู้เรียน สร้างองคค์ วามรใู้ หม่ที่ได้จากการพฒั นาตนเอง 13. มีการเข้ารว่ มชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ นำองคค์ วามรู้ท่ีได้จากการเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ ทางวิชาชีพไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน และสร้างนวัตกรรมที่ได้จากการเข้าร่วมในชุมชนการเรียนรู้ทาง วิชาชีพ สร้างเครอื ขา่ ยชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ สรา้ งวัฒนธรรมทางการเรียนรูใ้ นสถานศกึ ษา 2. กระบวนการดำเนนิ งาน ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ได้พัฒนากระบวนการ จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการขับเคลื่อนผ่านกระบวนพัฒนาครูและบุคลากรทางการ ศึกษา ตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) และต้องได้รับการประเมินผลการ ปฏิบัติงานจากคณะกรรมการที่ได้รับการแต่งจากโรงเรียนทุกภาคเรียน เพื่อนำผลการประเมินไปวางแผน พัฒนาตนเองตอ่ ไป โดยมวี ธิ ีการดงั ตอ่ ไปน้ี ด้านการจัดการเรียนการสอน ได้มีการส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ การประชุมปฏิบัติการ ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดฯ (ฉบับปรับปรุงพ.ศ.2562) ส่งเสริมใหค้ รู จดั การเรยี นการสอนเน้นการปฏิบัติ (Active learning) ใหผ้ ู้เรยี นผ่านกระบวนการคิด ปฏบิ ัติจรงิ เพื่อนำไปสู่

62 การเรียนรู้ท่ีลึกซึ้งและคงทน ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา ให้นักเรียนมีส่วนร่วม ครูมี แผนการจัดการเรยี นรูท้ ีส่ ามารถนำไปใชจ้ ัดกิจกรรมได้จริง ครูใช้สื่อ และแหล่งเรียนรู้ มีการบริหารจัดการช้ัน เรยี นเชิงบวก เพ่อื ใหเ้ ด็กรกั การเรยี นร้แู ละเรยี นรู้รว่ มกันอย่างมีความสุข ครรู ่วมแลกเปลีย่ นเรียนรูแ้ ละนำขอ้ มูล มาร่วมพัฒนาปรบั ปรุงการจดั การเรยี นรแู้ ละสอนตามแผน ครผู ลติ นวตั กรรม แผนการจัดการเรียนรู้ อกี ทง้ั ปรับ โครงสร้างรายวชิ า หน่วยการเรียนรู้ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ สัดส่วนคะแนนแต่ละหน่วย กำหนดคุณลักษณะ อันพึงประสงคท์ ี่สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ สนับสนุนให้ครูจัดการเรยี นการสอนที่สร้างโอกาสให้นักเรยี น ทุกคนมสี ว่ นร่วม ไดล้ งมือปฏิบตั จิ รงิ จนสรปุ ความรไู้ ด้ดว้ ยตนเอง จดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ ทักษะการคิดผ่าน รูปแบบการเรียนการสอนแบบโครงงาน มีการสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมในรูปแบบของการจัดทำโครงงาน คุณธรรม ครูใช้สื่อการเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการประเมินคุณภาพและ ประสิทธิภาพของจัดการเรียนการสอนภาคเรียนละ 1 ครั้ง รวมถึงการกระตุ้นให้ครนู ำกระบวนการวิจัยมาใช้ใน การแก้ไขปญั หาชั้นเรียน ปีการศกึ ษาละ 1 เรอื่ ง ด้านการบรหิ ารจัดการช้ันเรยี น ไดม้ ีการส่งเสริมสนบั สนุนให้ครูได้รู้จักนกั เรยี นเป็นรายบุคคลโดยมี การจดั กิจกรรม/โครงการเยี่ยมบา้ นนกั เรียนทกุ ปีการศึกษา มีการจัดทำรายงานสรปุ การเยีย่ มบา้ นนักเรียนเพ่ือ เป็นสารสนเทศสำหรบั ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรยี นอย่างมีประสิทธิภาพ จัดกิจกรรม Home room เพ่ือ สร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างครูที่ปรึกษาและนักเรียนประจำชั้น มีการจัดเก็บข้อมูลนักเรียนอย่างเป็นระบบ ครอบคลุมทุกด้าน (การเรียน สุขภาพ เศรษฐกิจ ครอบครัวและสังคม) มุง่ เน้นสร้างคณุ ภาพการเรยี น คุณภาพ ชีวติ ที่ดใี ห้แกผ่ ู้เรียน มกี ารมอบหมายหน้าท่ใี ห้นกั เรยี นประจำชน้ั ในเรอื่ งการดแู ลปอ้ งกนั ตนเองให้หา่ งไกลจากสาร เสพติด สรา้ งภาวะผ้นู ำในชั้นเรียน เปดิ โอกาสในนกั เรยี นไดม้ ีสว่ นร่วมในการบริหารจัดการชั้นเรยี นอย่างเป็นระบบ ผ่านกระบวนการห้องเรียนสีขาว การจัดป้ายนิเทศในห้องเรียนเพื่อสร้างความรู้ต่าง ๆ ที่จำเป็น รวมถึงการจัด บรรยากาศการเรียนรู้ตามสถานที่ต่าง ๆ ทั้งภายในหอ้ งเรยี นและนอกห้องเรียน ตามเอกลักษณ์ของโรงเรยี นท่วี า่ “อุทยานการเรยี นรู้” ด้านการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ ครูมีกระบวนการพัฒนาสมรรถนะตนเองโดยจัดทำ แผนการพัฒนาตนเอง (ID-Plan) และดำเนินการพฒั นาตนเองตามแผนอย่างเปน็ ระบบสอดคล้องกบั สภาพการ ปฏิบัติงานความตอ้ งการของสถานศึกษา มกี ารดำเนินงานตามนโยบายแผนกลยุทธข์ องหน่วยงานการศึกษาต้น สังกัด มีการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ร่วมกันในระดับสถานศึกษา ระดับเครือข่าย และระดับชาติ และแสดง บทบาทในชุมชนแห่งการเรียนรูท้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ดว้ ยความสัมพันธ์ แบบกัลยาณมติ ร ซ่งึ ส่งผลตอ่ การนำไปพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน ต่อไป 3. ผลการดำเนนิ งาน จากการนิเทศการสอนและการประเมินผลการปฏิบัตงิ านตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู ว21/2560 ผลการประเมินตนเอง และตรวจสอบร่องรอยหลกั ฐานประกอบการปฏิบัตงิ านของครผู ู้สอนรายบุคคล สรุปผล การดำเนนิ งานตามตารางท่ี 2.6 ดังนี้

63 ตารางท่ี 2.6 ผลการประเมินมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญ มาตรฐาน/ประเดน็ พจิ ารณา ผลท่ีได้ ค่าเปา้ หมาย ผลการประเมิน ปีการศึกษา 2563 ที่ตั้งไว้ สงู กวา่ เปา้ หมาย มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญ สูงกว่าเปา้ หมาย 3.1 ด้านการจดั การเรียนการสอน สูงกวา่ เปา้ หมาย 1) การสรา้ งและหรือพัฒนาหลกั สตู ร ยอดเยี่ยม (96.05) ดเี ลิศ (80.00) สูงกวา่ เป้าหมาย บรรลุเป้าหมาย 2) การจดั การเรยี นรู้ ยอดเยี่ยม (96.05) ดเี ลศิ (80.00) สงู กวา่ เปา้ หมาย 2.1) การออกแบบหน่วยการเรยี นรู้ สูงกวา่ เป้าหมาย สงู กว่าเป้าหมาย 2.2) การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้/ ยอดเยย่ี ม (94.74) ดเี ลศิ (80.00) สงู กวา่ เปา้ หมาย แผนการจัด การศึกษาเฉพาะบุคคล/แผนการ สูงกวา่ เปา้ หมาย สูงกว่าเปา้ หมาย สอนรายบคุ คล/แผนการจดั ประสบการณ์ สูงกว่าเปา้ หมาย 2.3) กลยทุ ธใ์ นการจดั การเรยี นรู้ ยอดเยี่ยม (96.06) ดเี ลศิ (80.00) สูงกวา่ เป้าหมาย 2.4) คุณภาพผเู้ รียน ดเี ลศิ (81.58) ดเี ลิศ (80.00) สงู กวา่ เป้าหมาย สงู กวา่ เปา้ หมาย 3) การสร้างและการพฒั นา สื่อ นวัตกรรม ยอดเยย่ี ม (93.42) ดเี ลิศ (80.00) สงู กว่าเป้าหมาย สงู กวา่ เปา้ หมาย เทคโนโลยีทาง การศกึ ษาและแหลง่ เรยี นรู้ 4) การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ยอดเย่ียม (94.74) ดเี ลศิ (80.00) 5) การวิจยั เพอ่ื พัฒนาการเรยี นรู้ ยอดเยี่ยม (97.37) ดเี ลิศ (80.00) คา่ เฉลี่ยรวม 3.1 ยอดเยี่ยม (93.75) ดีเลิศ (80.00) 3.2 ดา้ นการบริหารจดั การช้ันเรียน 1) การบรหิ ารจัดการชน้ั เรยี น ยอดเยย่ี ม (98.68) ดเี ลิศ (80.00) 2) การจัดระบบดูแลชว่ ยเหลอื ผ้เู รียน ยอดเยี่ยม (97.37) ดเี ลศิ (80.00) 3) การจดั ทำขอ้ มลู สารสนเทศ และเอกสาร ยอดเยย่ี ม (94.73) ดเี ลศิ (80.00) ประจำชนั้ เรียนหรือประจำวชิ า ค่าเฉลีย่ รวม 3.2 ยอดเย่ียม (96.32) ดีเลศิ (80.00) 3.3 ด้านการพฒั นาตนเองและพัฒนาวชิ าชีพ 1) การพฒั นาตนเอง ยอดเยี่ยม (96.06) ดเี ลิศ (80.00) 2) การพฒั นาวชิ าชีพ ยอดเย่ียม (94.73) ดเี ลศิ (80.00) คา่ เฉล่ียรวม 3.3 ยอดเยี่ยม (95.40) ดีเลิศ (80.00) คา่ เฉล่ยี รวม มาตรฐานท่ี 3 ยอดเย่ยี ม (94.74) ดีเลศิ (80.00) จากตารางที่ 2.6 ผลการดำเนนิ งาน พบว่า มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเน้น ผ้เู รียนเปน็ สำคญั มีผลการประเมนิ อยใู่ นระดับ “ยอดเยี่ยม” (94.74) เม่อื แปลผลการพิจารณาแต่ละประเด็น พจิ ารณา ปรากฏว่า 3.1 ดา้ นการจดั การเรียนการสอน 1) ครูผู้สอนร้อยละ 96.05 มีการสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร ส่งผลให้การประเมินอยู่ใน ระดบั “ยอดเยย่ี ม” ซ่ึงสงู กว่าคา่ เป้าหมายที่ตั้งไว้

64 2) ครูผู้สอนรอ้ ยละ 96.05 มีการออกแบบหน่วยการเรียนรู้ ส่งผลใหก้ ารประเมินอยู่ในระดับ “ยอดเยยี่ ม” ซ่งึ สูงกว่าคา่ เปา้ หมายทตี่ ัง้ ไว้ 3) ครูผู้สอนร้อยละ 94.74 มีการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้/แผนการจัดการศึกษาเฉพาะ บุคคล/แผนการสอนรายบุคคล/แผนการจัดประสบการณ์ ส่งผลใหก้ ารประเมินอย่ใู นระดับ “ยอดเยี่ยม” ซ่ึงสงู กวา่ ค่าเป้าหมายที่ต้ังไว้ 4) ครูผู้สอนร้อยละ 96.06 มีกลยุทธ์ในการจัดการเรียนรู้ ส่งผลให้การประเมินอยู่ในระดับ “ยอดเยีย่ ม” ซึ่งสูงกวา่ ค่าเป้าหมายท่ีตั้งไว้ 5) ครูผู้สอนร้อยละ 81.58 มีการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด ส่งผลให้การประเมนิ อยใู่ นระดับ “ดีเลิศ” ซง่ึ บรรลุคา่ เป้าหมายที่ตง้ั ไว้ 6) ครูผู้สอนร้อยละ 93.42 มีการสร้างและการพัฒนา สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทาง การศึกษาและแหลง่ เรยี นรู้ ส่งผลให้การประเมนิ อยูใ่ นระดับ “ยอดเย่ียม” ซึ่งสงู กว่าค่าเปา้ หมายท่ีตง้ั ไว้ 7) ครูผู้สอนร้อยละ 94.74 มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ส่งผลให้การประเมินอยู่ใน ระดับ “ยอดเย่ยี ม” ซึ่งสูงกวา่ คา่ เปา้ หมายที่ต้งั ไว้ 8) ครูผู้สอนรอ้ ยละ 97.37 มีการวิจยั เพื่อพฒั นาการเรียนรู้ สง่ ผลให้การประเมินอยู่ในระดับ “ยอดเย่ยี ม” ซงึ่ สงู กว่าค่าเปา้ หมายที่ตง้ั ไว้ 3.2 ด้านการบริหารจดั การช้ันเรยี น 1) ครผู ้สู อนรอ้ ยละ 98.68 มีการบรหิ ารจัดการช้ันเรียนที่ดี สง่ ผลใหก้ ารประเมินอยู่ในระดับ “ยอดเยยี่ ม” ซ่งึ สูงกวา่ ค่าเป้าหมายที่ตงั้ ไว้ 2) ครูผู้สอนรอ้ ยละ 97.37 มกี ารจดั ระบบดูแลช่วยเหลือผเู้ รยี นทด่ี ี ส่งผลให้การประเมนิ อยู่ใน ระดบั “ยอดเย่ยี ม” ซึ่งสงู กวา่ ค่าเป้าหมายที่ตง้ั ไว้ 3) ครูผู้สอนร้อยละ 94.73 มีการจัดทำข้อมูลสารสนเทศ และเอกสารประจำชั้นเรียนหรือ ประจำวชิ า สง่ ผลให้การประเมนิ อยใู่ นระดับ “ยอดเยีย่ ม” ซง่ึ สูงกว่าคา่ เป้าหมายที่ตงั้ ไว้ 3.3 ด้านการจัดการเรยี นการสอน 1) ครผู ู้สอนรอ้ ยละ 96.06 มีการพฒั นาตนเอง ส่งผลให้การประเมนิ อยใู่ นระดบั “ยอดเยีย่ ม” ซึ่งสูงกว่าค่าเปา้ หมายทต่ี ้ังไว้ 2) ครูผู้สอนร้อยละ 96.06 มีการพัฒนาวิชาชีพ ส่งผลให้การประเมินอยู่ในระดับ “ยอดเยย่ี ม” ซึ่งสงู กว่าค่าเปา้ หมายที่ต้งั ไว้ 4. การนำผลการดำเนนิ งานไปใช้ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ โดยงานประกันคุณภาพสถานศึกษาได้มีการ ชี้แจงในการประชุมการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ช่วงปิดภาคเรียนที่ 2 ของทุกปีการศึกษา เพ่ือ นำเสนอผลการประเมินต่อผบู้ ริหาร คณะครู และผู้ที่มสี ว่ นเก่ียวข้อง และสามารถนำนำผลประเมนิ ไปใช้พัฒนา กระบวนการจัดการเรียนการสอนในปีการศึกษาถัดไป โดยการนำผลประเมินที่ได้ไปวิเคราะห์ถึงสาเหตุและ

65 ปัญหาที่เกิดขึ้น นำผลประเมินมาวางแผนการจัดการเรียนรู้ และดำเนินการตามแผน เช่น ครูได้ดำเนินการ วิเคราะหส์ ภาพปัญหา ผลการจดั การเรยี นการสอนในปที ี่ผ่านมา แลว้ นำผลมาใช้ปรบั แผนการจดั การเรยี นรู้ ให้ สอดคลอ้ งกบั สภาพปญั หาและความต้องการจำเปน็ รายบุคคล 5. การเผยแพร่ผลการดำเนินงาน โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และให้ข้อมูล ป้อนกลับเพือ่ พัฒนาปรับปรงุ การจดั การเรียนการสอน ควรมีชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพระหว่างครแู ละ ผ้เู กีย่ วข้อง เชน่ ภายในกลุ่มสาระรายวิชา และภายในกลุม่ โรงเรียน รวมทั้งมกี ารนิเทศการจดั การเรียนการสอน จากผูบ้ ริหาร ศึกษานิเทศก์ และครูอยา่ งตอ่ เน่อื ง พรอ้ มท้งั มกี ารจดั เก็บเอกสารการประเมินในรปู แบบออนไลน์ และเอกสาร รวมทั้งมีช่องทางให้ผู้อ่านหรือผู้ประเมินสามารถเข้าถึงข้อมูลรายงานการประเมินตนเอง และ หลกั ฐานอน่ื ๆ ทง้ั หมดผ่านทางเว็บไซนเ์ กบ็ เอกสารของโรงเรยี น http://www.checkin.rpk31school.ac.th/ ebook/?p=BookCase&BookCID=586 6. จดุ เดน่ 1. ครูมีการใช้วิจยั ในชน้ั เรยี นชว่ ยในการพัฒนาการจดั การเรยี นการสอน เน้นพฒั นาผเู้ รยี นท่ี สอดคลอ้ งกับพฤตกิ รรมการเรียนรู้ 2. ครูมกี ารจัดการเรยี นรูท้ ี่เน้นผ้เู รยี นเปน็ สำคญั เข้าใจ เข้าถึง ผูเ้ รยี น โดยจัดการเรียนรแู้ บบรว่ มมอื เทคนิคทห่ี ลากหลาย ฝึกเน้นกระบวนกานคดิ วเิ คราะห์ ลงมือปฏิบตั จิ รงิ ฝึกใหผ้ ู้เรยี นกลา้ แสดงออก เสริมสรา้ ง ทักษะอาชพี ใหแ้ ก่ผู้เรียน 3. ครูมกี ารจดั การเรยี นรู้ตามมาตรฐานตวั ช้ีวัดตามหลักสูตรแกนกลาง บูรณาการสอนเนน้ ประสบการณ์จรงิ จากการดำเนินชวี ติ ประจำให้มากท่สี ุด สอนสิ่งท่อี ยู่ใกล้ตวั มากท่ีสุด 4. ครูมกี ลยทุ ธก์ ารสอน การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ และจัดทำแผนการเรยี นรู้ นำสอ่ื และ เทคโนโลยีมาใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน 5. ครูเอาใจใส่ในการจดั การเรียนการสอนเพ่ือให้เกดิ ประโยชน์สูงสดุ แก่นักเรียน 6. ครูสามารถจดั การเรียนรูไ้ ดต้ รงตามระดบั ความสามารถของนกั เรยี น 7. ครูมคี วามตั้งใจและมุ่งมั่นพัฒนาผเู้ รยี นอยา่ งเต็มความสามารถ มกี ารวางแผนการทำงาน และ เตรยี มตัวกอ่ นเขา้ สอน และนำผลมาพัฒนาการสอนต่อไป 8. ครูมกี ารวิเคราะหผ์ ูเ้ รียนเป็นรายบคุ คล แยกเป็นกลุม่ เก่ง กลมุ่ ปานกลาง และกลุม่ ออ่ น แล้ว พฒั นาการส่งเสรมิ ความรู้ ทกั ษะกระบวนการ และเจตคติทดี่ ี 9. ครมู ีคุณธรรมจรยิ ธรรม และปฏิบตั ติ นตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ ครมู ีความมุ่งมัน่ และอทุ ิศตน ในการสอนและพัฒนาผ้เู รียน เข้าสอนตรงเวลา 10. ครูมีการบริหารจัดการชน้ั เรยี นได้ดี การสรา้ งข้อตกลงกอ่ นทำการจัดการเรยี นรู้ เน้นการจัดการ ในชั้นเรยี นการมีสว่ นรว่ มในการเรียน 11. ครูมีการจดั เนือ้ หาสาระและจัดกจิ กรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผ้เู รยี น โดยคำนงึ ถึงความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล ฝึกทักษะ กระบวนการคดิ การจดั การ การเผชิญสถานการณ์และการ ประยกุ ตค์ วามรูม้ าใชเ้ พ่อื ปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหา ในเร่อื งการตดั สนิ ใจ ในการเลือกศึกษาตอ่ ในระดับท่ีสงู ข้ึน

66 7. จุดทค่ี วรพฒั นา 1. การจัดการเรยี นการสอนควรใช้คำที่เข้าใจงา่ ยข้ึน ปรบั การเรียนเปล่ยี นการสอน ส่อื การเรยี นการ สอนควรมีการพฒั นาอยู่เสมอ และให้ความสนใจกับผูเ้ รียนมากกว่าน้ี 2. ใหค้ วามสำคญั ในการทำวจิ ยั ในช้ันเรียน หาความรู้เพ่ิมเติมในดา้ นการจดั การเรยี นการสอน เพ่ือ เพม่ิ เทคนิคการสอนท่ีหลากหลาย เนน้ ให้ผ้เู รยี นมคี วามสามารถด้านการคิดวเิ คราะห์ คิดสงั เคราะห์ คดิ แก้ปญั หา คิดสรา้ งสรรค์ 3. ควรสง่ เสรมิ กระบวนการคิด ในรปู แบบของคา่ ยวิทยาศาสตร์ สะเตม็ ศกึ ษา เนน้ การใช้ส่ือ และ เทคโนโลยี ในการเรยี นการสอน 4. ควรมีการพฒั นาวชิ าชีพในการจดั ชุนชนทางวชิ าชีพครู (PLC) อย่างจรงิ จงั เพอ่ื นำผลมาใช้ ประโยชนไ์ ด้จริง ให้เกดิ ประสทิ ธิผล 5. ควรสง่ เสริมให้ผู้เรียนหาประสบการณ์นอกห้องเรยี นเพื่อฝกึ ทักษะทางสงั คม ทักษะอาชีพ ทักษะ ทางภาษาในชีวิตจรงิ 8. ขอ้ เสนอแนะ โรงเรยี นควรสง่ เสริมให้ครมู ีความเชยี่ วชาญในการนำส่อื เทคโนโลยมี าใช้ในการจัดการเรียนรู้อย่าง เป็นระบบ โดยเริ่มตั้งแต่การวางแผนนำสื่อเทคโนโลยีทีท่ ันสมัยมาใช้ให้เหมาะสมกับการจัดทำแผนการเรียน การในแต่ละชั้นเรียน เช่น การกำหนดให้ผู้เรียนศึกษาข้อมูลและทำรายงานโดยการกำหนดให้ไปค้นคว้าจาก ระบบออนไลน์ หรอื การนำเสนองานของนกั เรียนด้วยการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ เปน็ ต้น ท้ังน้ีจะต้อง ให้เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละชั้นเรียน มกี ารประเมนิ การใช้แผนการเรียนรู้ สรปุ ผลการดำเนนิ งาน หาปัญหา และอปุ สรรค และมีการแลกเปลี่ยนเรยี นร้รู ว่ มกันของครู แล้วนำมาใช้เปน็ แนวทางในการพฒั นาและปรับปรุง แผนการจดั การเรียนร้ใู นครัง้ ตอ่ ไป ท้งั นจี้ ะต้องเผยแพรผ่ ลการดำเนินงานเพ่อื ให้ผ้เู กี่ยวข้องได้รับทราบด้วยการ ประชุมครู ผูป้ กครอง หรอื การเผยแพรท่ างระบบออนไลนห์ รอื เอกสารต่อไป 9. แหล่งข้อมูลหลกั ฐานอ้างอิง 9.1 แบบรายงานการนิเทศครูผู้สอนตามแบบ ว.21 9.2 แบบประเมินตนเองของครูผูส้ อน (SAR) 9.3 แฟ้มสะสมผลงาน ว.21 9.4 แผนการจัดการเรยี นรูข้ องครูผ้สู อน 9.5 แบบบนั ทกึ หลังการจัดการเรียนร้ขู องครูผู้สอน 9.6 การออกแบบหลกั สูตรและโครงสรา้ งรายวชิ า 9.7 แบบรายงานผลสมั ฤทธ์ขิ องผ้เู รียน 9.8 แบบสำรวจการสร้างและพฒั นาสือ่ นวตั กรรม เทคโนโลยีทางการศกึ ษาของครูผู้สอน 9.9 แบบเกบ็ ข้อมูลการจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 9.10 เอกสารประกอบการจัดการเรียนในชน้ั เรยี น 9.11 แบบรายงานวิจัยในชนั้ เรียนของครูผสู้ อน 9.12 แบบรายงานการพัฒนาตนเอง (ID – Plan)

67 9.13 แบบรายงานการปฏิบตั งิ านของครูผู้สอน 9.14 แบบรายงานสรปุ การอบรมของครผู ู้สอน 9.15 แบบบนั ทกึ ชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ 10. แบบอย่างที่ดี (Best Practice) หรอื นวัตกรรม (Innovation) 10.1 นวตั กรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน ภายในโรงเรยี น 10.2 นวัตกรรม แฟ้มจัดเกบ็ เอกสารในรูปแบบออนไลน์ ผู้ที่สนใจหรือผู้ประเมินสามารถเปิดอ่าน ได้ทกุ สถานท่ี ทกุ เวลา มคี วามสะดวกและรวดเร็ว ครรู อ้ ยละ 100 สามารถทำได้ทุกคน 10.3 แบบอย่างที่ดี (Best Practice) ครรู อ้ ยละ 100 สามารถจัดทำแผนการจัดการเรยี นร้ไู ด้ และ สามารถนำไปปฏบิ ัตไิ ดจ้ ริง 10.4 แบบอย่างที่ดี (Best Practice) ครูร้อยละ 100 สามารถจัดทำวิจัยในชั้นเรียน และสามารถ นำไปพฒั นาการสอนของตนเองไดจ้ ริง

68 สรปุ ผลการประเมินภาพรวมของสถานศกึ ษา การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ประจำปีการศึกษา 2563 มาตรฐาน/ประเด็นพิจารณา ผลทีไ่ ด้ คา่ เป้าหมาย ผลการประเมนิ ปกี ารศกึ ษา 2563 ท่ตี ง้ั ไว้ สูงกว่าเปา้ หมาย สูงกวา่ เปา้ หมาย มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรียน สงู กว่าเป้าหมาย 1.1 ผลสมั ฤทธิท์ างวชิ าการของผู้เรียน สูงกวา่ เป้าหมาย ต่ำกวา่ เป้าหมาย 1) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน ยอดเยย่ี ม (94.04) ดเี ลิศ (80.00) สูงกว่าเป้าหมาย สูงกว่าเป้าหมาย การสอ่ื สารและการคิดคำนวณ สูงกวา่ เปา้ หมาย สูงกวา่ เป้าหมาย 2) มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิด ยอดเย่ยี ม (92.79) ดีเลศิ (80.00) สงู กว่าเป้าหมาย สงู กว่าเป้าหมาย อย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยน สูงกวา่ เป้าหมาย สูงกวา่ เป้าหมาย ความคิดเหน็ และแก้ปญั หา สูงกว่าเป้าหมาย 3) มีความสามารในการสร้างนวตั กรรม ยอดเยี่ยม (92.11) ดีเลศิ (80.00) สงู กว่าเป้าหมาย สงู กว่าเป้าหมาย 4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ยอดเยี่ยม (98.00) ดีเลศิ (80.00) สารสนเทศ และการสอ่ื สาร 5) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตร ดี (76.42) ดเี ลศิ (80.00) สถานศึกษา 6) มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดี ยอดเยย่ี ม (99.42) ดเี ลศิ (80.00) ตอ่ งานอาชพี ค่าเฉลีย่ รวม 1.1 ยอดเย่ียม (92.13) ดเี ลิศ (80.00) 1.2 คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงคข์ องผูเ้ รียน 1) การมคี ุณลกั ษณะ ค่านิยม และ ยอดเยย่ี ม (93.85) ดีเลศิ (80.00) อัตลกั ษณข์ องนกั เรยี นทดี่ ี 2) การมีทกั ษะดำรงชีวิตในโรงเรยี นประจำ ยอดเยี่ยม (98.40) ดเี ลศิ (80.00) 3) ความภูมิใจในทอ้ งถ่นิ และความเปน็ ไทย ยอดเยีย่ ม (97.37) ดีเลิศ (80.00) 4) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความ ยอดเยีย่ ม (96.05) ดเี ลศิ (80.00) แตกต่างและหลากหลาย 5) สขุ ภาวะทางรา่ งกายและจติ สังคม ยอดเยย่ี ม (96.06) ดีเลศิ (80.00) คา่ เฉล่ียรวม 1.2 ยอดเย่ยี ม (96.35) ดเี ลิศ (80.00) ค่าเฉลี่ยรวม มาตรฐานที่ 1 ยอดเยย่ี ม (94.24) ดีเลศิ (80.00) มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ดเี ลศิ (80.00) 2.1 การมเี ปา้ หมาย วิสัยทศั น์ และพันธกิจ ยอดเยีย่ ม (96.05) ดเี ลศิ (80.00) ท่ีสถานศกึ ษากำหนดชัดเจน 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของ ยอดเยีย่ ม (96.05) สถานศกึ ษา

69 มาตรฐาน/ประเดน็ พจิ ารณา ผลท่ไี ด้ คา่ เปา้ หมาย ผลการประเมิน ทต่ี ัง้ ไว้ สงู กว่าเปา้ หมาย ปกี ารศกึ ษา 2563 ดเี ลศิ (80.00) สูงกวา่ เป้าหมาย 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้น ยอดเยี่ยม (94.74) สูงกว่าเปา้ หมาย ดเี ลศิ (80.00) คุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตร ดเี ลศิ (80.00) สูงกว่าเปา้ หมาย สถานศึกษาและทกุ กลมุ่ เป้าหมาย ดีเลิศ (80.00) สูงกวา่ เปา้ หมาย 2.4 พัฒนาครูและบุคลกรให้มีความ ยอดเยี่ยม (94.74) ดีเลิศ (80.00) สงู กวา่ เป้าหมาย เชยี่ วชาญทางวชิ าชพี สูงกวา่ เปา้ หมาย สูงกว่าเป้าหมาย 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและ ยอดเยย่ี ม (98.69) สูงกวา่ เปา้ หมาย ส ั ง ค ม ท ี ่ เ อ ื ้ อ ต ่ อ ก า ร จ ั ด ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ อ ย ่ า ง มี สงู กว่าเป้าหมาย บรรลุเป้าหมาย คณุ ภาพ สงู กวา่ เป้าหมาย สูงกว่าเป้าหมาย 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ ยอดเยี่ยม (96.05) สงู กว่าเปา้ หมาย สูงกวา่ เปา้ หมาย สนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการ สงู กวา่ เปา้ หมาย สูงกว่าเป้าหมาย เรียนรู้ สงู กวา่ เป้าหมาย 2.7 หนว่ ยงาน องค์กร ชุมชนใหก้ าร ยอดเย่ียม (97.37) สนบั สนุนการพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา ดว้ ยรปู แบบและวธิ ีการทห่ี ลากหลาย คา่ เฉลี่ยรวม มาตรฐานท่ี 2 ยอดเยีย่ ม (96.24) ดีเลิศ (80.00) มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ 3.1 ดา้ นการจดั การเรียนการสอน 1) การสร้างและหรือพฒั นาหลกั สูตร ยอดเย่ียม (96.05) ดเี ลศิ (80.00) 2) การจัดการเรียนรู้ ยอดเยี่ยม (96.05) ดีเลศิ (80.00) 2.1) การออกแบบหน่วยการเรยี นรู้ 2.2) การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้/ ยอดเยย่ี ม (94.74) ดเี ลศิ (80.00) แผนการจัด การศึกษาเฉพาะบุคคล/แผนการ สอนรายบุคคล/แผนการจัดประสบการณ์ 2.3) กลยุทธ์ในการจัดการเรียนรู้ ยอดเยยี่ ม (96.06) ดีเลิศ (80.00) 2.4) คณุ ภาพผู้เรียน ดีเลศิ (81.58) ดีเลิศ (80.00) 3) การสร้างและการพฒั นา สื่อ นวัตกรรม ยอดเยี่ยม (93.42) ดเี ลศิ (80.00) เทคโนโลยีทาง การศกึ ษาและแหล่งเรียนรู้ 4) การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ยอดเยย่ี ม (94.74) ดีเลิศ (80.00) 5) การวิจยั เพ่อื พัฒนาการเรยี นรู้ ยอดเยี่ยม (97.37) ดเี ลศิ (80.00) ค่าเฉล่ียรวม 3.1 ยอดเยย่ี ม (93.75) ดเี ลศิ (80.00) 3.2 ดา้ นการบรหิ ารจดั การชน้ั เรยี น 1) การบรหิ ารจดั การชน้ั เรยี น ยอดเยย่ี ม (98.68) ดีเลศิ (80.00) 2) การจัดระบบดแู ลชว่ ยเหลอื ผ้เู รียน ยอดเย่ยี ม (97.37) ดเี ลศิ (80.00) 3) การจัดทำขอ้ มลู สารสนเทศ และเอกสาร ยอดเยยี่ ม (94.73) ดีเลิศ (80.00) ประจำช้นั เรียนหรอื ประจำวชิ า

70 มาตรฐาน/ประเด็นพิจารณา ผลทไ่ี ด้ คา่ เป้าหมาย ผลการประเมนิ ปกี ารศกึ ษา 2563 ทีต่ ้ังไว้ สงู กวา่ เปา้ หมาย คา่ เฉลีย่ รวม 3.2 ยอดเย่ียม (96.32) ดีเลิศ (80.00) สงู กว่าเปา้ หมาย สงู กวา่ เปา้ หมาย 3.3 ดา้ นการพัฒนาตนเองและพฒั นาวิชาชพี สูงกวา่ เปา้ หมาย สงู กว่าเปา้ หมาย 1) การพัฒนาตนเอง ยอดเยยี่ ม (96.06) ดีเลิศ (80.00) สงู กว่าเปา้ หมาย 2) การพฒั นาวิชาชพี ยอดเย่ียม (94.73) ดีเลศิ (80.00) คา่ เฉลีย่ รวม 3.3 ยอดเยี่ยม (95.40) ดเี ลิศ (80.00) คา่ เฉล่ยี รวม มาตรฐานที่ 3 ยอดเยย่ี ม (94.74) ดีเลิศ (80.00) สรปุ ผลการประเมินภาพรวม ยอดเยยี่ ม (95.07) ดีเลิศ (80.00) คณุ ภาพของสถานศึกษา การกำหนดค่าเป้าหมาย และการกำหนดเกณฑ์การประเมินภายในสถานศึกษา 1. ศึกษาจากเอกสาร หลักฐาน และผลการประเมินการปฏบิ ัตงิ านและผลการประเมินตนเองของครู และบคุ ลากรทางการศึกษาท่ีผ่านมา เพอ่ื เปน็ ข้อมลู พ้นื ฐานฐานในการกำหนดค่าเป้าหมาย และการแปลผล 2. การกำหนดค่าเป้าหมาย ในแตล่ ะประเดน็ พิจารณาจะกำหนดเปน็ ระดับคุณภาพ หรือเปน็ รอ้ ยละ ตามความเหมาะสมกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษา 3. การกำหนดค่าเป้าหมายแต่ละมาตรฐาน กำหนดเป็นระดับคุณภาพ 5 ระดับ เพื่อให้เกิดความ สอดคล้องกับคู่มือการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ โดยไดก้ ำหนดเกณฑก์ ารแปลผลระดบั คณุ ภาพของสถานศกึ ษา ดังน้ี ยอดเย่ียม หมายถึง รอ้ ยละ 90 ขึน้ ไป ดีเลิศ หมายถงึ ร้อยละ 80 - 89 ดี หมายถงึ ร้อยละ 70 - 79 ปานกลาง หมายถงึ รอ้ ยละ 60 - 69 กำลังพฒั นา หมายถึง ต่ำกว่าร้อยละ 60

71 ส่วนท่ี 3 สรปุ ผล แนวทางการพฒั นา และความต้องการช่วยเหลอื ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาถือเป็นข้อมูลสารสนเทศสำคัญที่สถานศึกษาจะต้องนำไป วเิ คราะห์ สังเคราะห์ เพื่อสรปุ นำไปสู่การเช่ือมโยงหรือสะท้อนภาพความสำเร็จกับแผนพฒั นาคุณภาพการจัด การศกึ ษาของสถานศกึ ษาตลอดระยะเวลา 3 – 5 ปี และนำไปใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษา ดังนั้น ผลการดำเนินงานของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมินในภาพรวมของจุดเด่น จดุ ควรพัฒนา และแนวทางการพฒั นาในอนาคต และความตอ้ งการช่วยเหลือดังนี้ สรุปผล มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน พบว่า นักเรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัด เชียงใหม่ มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณสูงกว่าค่าเป้าหมายที่ สถานศึกษากำหนด คิดเปน็ รอ้ ยละ 94.04 มคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นโดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และแก้ปัญหาได้ คิดเป็นร้อยละ 92.79 มี ความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม คดิ เปน็ รอ้ ยละ 92.11 มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่อื สารเพือ่ พฒั นาตนเองและสงั คมในด้านการเรยี นรู้ การส่อื สาร การทำงาน อย่างมีจริยธรรม คิดเป็นร้อย ละ 98.00 ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับดีขึ้นไป (เกรด 3 ขึ้นไป) คิดเป็นร้อยละ 76.42 ในปี การศึกษา 2561 - 2563 พบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการทางการเรียนที่สูงขึ้นทุกปี และผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ พื้นฐาน และเจตคติที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้น เพื่อเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพใน อนาคตได้ คดิ เปน็ ร้อยละ 99.42 ในส่วนด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน พบว่า นักเรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ มีคุณลักษณะ ค่านิยม และอัตลักษณ์ของนักเรียนที่ดี คิดเป็นร้อยละ 93.85 มีทักษะการ ดำรงชวี ติ ในโรงเรียนประจำ คิดเปน็ รอ้ ยละ 98.40 มคี วามภูมิใจในทอ้ งถ่นิ เห็นคณุ คา่ ของความเป็นไทย มสี ่วน รว่ มในการอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปญั ญาไทย คิดเปน็ ร้อยละ 97.37 สามารถอยู่ร่วมกันบนความ แตกตา่ งและหลากหลาย คิดเปน็ ร้อยละ 96.05 มสี ุขภาวะทางรา่ งกายและจิตสังคมตามเป้าหมายท่สี ถานศึกษา กำหนด คิดเปน็ รอ้ ยละ 96.06 ส่งผลให้การประเมินในมาตรฐานที่ 1 คุณภาพผูเ้ รยี น มีผลประเมินอยู่ในระดับคุณภาพ “ยอดเยี่ยม” คดิ เป็นรอ้ ยละ 96.35 ซึ่งสูงกว่าค่าเปา้ หมายท่ีตง้ั ไว้ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ พบว่า ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนราช ประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ และผทู้ มี่ ีส่วนเก่ยี วข้อง มคี วามพึงพอใจในการบรหิ ารและการจัดการใน ภาพรวมคิดเป็นร้อยละ 96.24 โดยที่สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน

72 สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน นโยบาลของรัฐบาล แผนการศึกษาแห่งชาติ เปน็ ไปได้ในการปฏิบัติ มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษาที่ชัดเจน สง่ ผลตอ่ คุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศกึ ษา โดยความรว่ มมือของผู้ท่มี ีส่วนเกยี่ วข้องทกุ ฝ่าย และผูท้ ่มี ีสว่ นเกี่ยวข้องร้อยละ 90 ขึ้นไป มีความพึงพอใจในการบริหารและการจัดการ ดำเนินงานพฒั นาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน ตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย เชื่อมโยงกับชีวิตจริง พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความ เชี่ยวชาญทางวชิ าชีพ ตรงตามความต้องการของครู และสถานศกึ ษา จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคม ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรูอ้ ยา่ งมีคุณภาพ และมีความปลอดภัยจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุน การบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา และมีการส่งเสริมสนับสนนุ ให้ หน่วยงาน องคก์ ร ชุมชนภายนอกเขา้ นอกมามสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษา ส่งผลให้การประเมินในมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มีผลประเมินอยู่ในระดับ คุณภาพ “ยอดเย่ยี ม” คดิ เป็นร้อยละ 96.24 ซึ่งสงู กว่าค่าเป้าหมายท่ีต้ังไว้ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ พบว่า ครูและบุคลากร ทางการศึกษาโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ร้อยละ 93.75 มีความสามารถด้านการ จัดการเรียนการสอน โดยมีการวิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานการเรยี นรู้ตัวชีว้ ัด ผลการเรียนรู้เพื่อนำไปจดั ทำ หน่วยการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัดและหรือผลการเรียนรู้ ปรับประยุกต์หลักสูตร รายวิชา และหน่วยการเรียนรู้ และสร้างองค์ความรู้ใหม่ให้สอดคล้องกบั บริบทของสถานศึกษา ผู้เรียน เรื่อง ท้องถิ่น และสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง มีการประเมินผลการใช้หลักสูตรอย่างเป็นระบบและนำผลการ ประเมินการใช้หลักสูตรมาปรับปรุงพัฒนาให้มีคุณภาพสูงข้ึน การออกแบบหน่วยการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม โดยการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาท้องถิ่นและเหมาะสมกับผู้เรียน มีกิจกรรมการ เรียนรู้ด้วยวิธีการปฏิบัติที่สอดคล้องกับธรรมชาติของสาระการเรียนรู้ สำหรับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่ หลากหลาย ตรงตามความถนัดและความสนใจของผู้เรียนอย่างทั่วถึงครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย จำนวน ทั้งสิ้น 44 หลักสูตร และมีการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะอาชีพโดยมีการจัดทำหลักสูตรทวิศึกษาและบันทึก ข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับวิทยาลัยการอาชีพจอมทอง ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ได้แก่ สาขาการบัญชี สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สาขาการท่องเที่ยว และสาขาช่างเชื่อมโลหะ จำนวนทั้งส้ิน 4 สาขา แผนการเรียนสำหรับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่หลากหลาย ตรงตามความถนัดและความสนใจของผู้เรียน อย่างทั่วถงึ ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย จำนวนทั้งสิ้น 6 กลุ่มวิชา พร้อมทัง้ ครไู ด้มีการจัดทำแผนการจัดการ เรียนรู้ โดยใช้กลยทุ ธ์ รูปแบบ เทคนิคและวิธกี ารท่เี นน้ วธิ ีการปฏิบัตมิ ีความหลากหลาย มกี ารพัฒนาและใช้ส่ือ นวัตกรรมเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ ครูนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในกระบวนการจัดการ เรียนการสอนในชั้นเรียน เช่น การใช้ Zoom , Google Form , Google sheet , Line , Facebook การ วัดผลและประเมินผลที่หลากหลายตามบริบทของรายวิชา และนำผลการประเมินมาศึกษาร่วมกับ กระบวนการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อปรับปรุงพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพสูงขึ้น ครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ร้อยละ 96.32 มีความสามารถด้านการบริหารจัดการชัน้ เรยี น โดยมีการจัดสภาพแวดล้อมบรรยากาศท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ มีความความปลอดภัยและมีความสุข ส่งเสริม

73 ให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิด มีทักษะชีวิตและทักษะการทำงานอบรมบ่มนิสัยให้ผู้เรียนมีคุณธรรมจรยิ ธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค่านิยมที่ดีงาม ปลูกฝังความเป็นประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมขุ เสริมแรงให้ผเู้ รียนมีความมน่ั ใจในการพฒั นาตนเองเตม็ ตามศักยภาพเกิดแรงบนั ดาลใจ เป็นแบบอย่าง ที่ดี มีการรวบรวมข้อมลู วิเคราะห์ สังเคราะห์ จัดทำและใช้สารสนเทศของผู้เรียนในระบบดูแลช่วยผู้เรยี นมี โครงการและจัดกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ด้วยวธิ ีการท่ีหลากหลายในการดแู ลช่วยเหลือผูเ้ รียน ส่งเสริม ป้องกัน และแก้ปัญหาผู้เรียนอย่างเป็นระบบ เป็นแบบอย่างที่ดีและเป็นผู้นำได้ มีการจัดทำข้อมูลสารสนเทศ และ เอกสารประจำชั้นเรียนหรือประจำวิชาอย่างเป็นระบบ ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน พร้อมทั้งครูและบุคลากร ทางการศกึ ษาโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ ร้อยละ 94.74 มีความสามารถดา้ นการพฒั นา ตนเองและพัฒนาวิชาชีพ ยังรับโอกาสในการพัฒนาตนเองดา้ นวิชาชีพอยา่ งต่อเน่ือง ผ่านการจัดทำแผนการ พัฒนาตนเอง มีการพัฒนาตนเองตามแผน นำความรู้ความสามารถทกั ษะที่ได้จากการพฒั นาตนเองมาพัฒนา นวตั กรรมการจัดการเรยี นรทู้ ี่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรยี น สร้างองคค์ วามรใู้ หมท่ ่ีได้จากการพฒั นาตนเอง และการ เขา้ รว่ มชมุ ชนแห่งการเรยี นรูท้ างวชิ าชพี (PLC) นำองค์ความร้ทู ีไ่ ดจ้ ากการเขา้ รว่ มชมุ ชนการเรียนรูทางวิชาชีพ ไปใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน และสร้างนวตั กรรมท่ไี ดจ้ ากการเข้ารว่ มในชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชพี สร้าง เครอื ข่ายชมุ ชนการเรยี นร้ทู างวิชาชีพ สร้างวฒั นธรรมทางการเรยี นรใู้ นสถานศึกษาใหม้ ีประสิทธภิ าพยง่ิ ขึ้น ส่งผลใหก้ ารประเมนิ ในมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ มีผล ประเมนิ อยใู่ นระดบั คณุ ภาพ “ยอดเยีย่ ม” คดิ เป็นรอ้ ยละ 94.74 ซึ่งสงู กวา่ คา่ เปา้ หมายท่ีต้งั ไว้ จดุ เด่น จดุ ควรพัฒนา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผ้เู รียน มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผู้เรยี น 1.1 ด้านผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของผเู้ รียน 1.1 ดา้ นผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของผเู้ รยี น 1. นักเรียนเรียนรู้แบบเรียนมือกันภายในโรงเรียน มี 1. ควรมีการพัฒนาพื้นฐานทางด้านภาษาการสื่อสารของ กิจกรรมการเรียนรู้วิธีการที่หลากหลาย ยอมรับฟัง นกั เรยี น เนอ่ื งจากผเู้ รยี นเป็นกลุ่มชนชาตพิ ันธ์ุ ทำให้ตดิ ความคิดเห็นของกันและกัน ปัญหาเรื่องการสื่อสารไม่ชัดเจน และชอบเขียนตาม 2. นักเรียนได้รับการฝึกให้อ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลข คำพดู ของตนเอง จึงทำให้ผดิ หลกั ของภาษา เปน็ เน้นให้นกั เรียนทุกคนไดค้ ิด วเิ คราะห์ สังเคราะห์ 2. ควรมกี ารพฒั นาพื้นฐานการคดิ คำนวณของผู้เรียน มกี าร ลงมือปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง การแสดงความคิดเห็น และให้ ปรับพื้นฐานของนักเรียนก่อนวิเคราะห์นักเรียน แยก นักเรียนเรียนมีการกล้าแสดงออก ไดถ้ าม ได้ตอบ มีการ เสรมิ แรง โดยดึงศักยภาพของนกั เรยี นแตล่ ะคนออกมา กลุ่มเกง่ ปานกลาง อ่อน เพื่อพัฒนานักเรียนได้ตรงตาม 3. นักเรียนได้รับพัฒนาตามความสามารถเฉพาะด้าน ใน จุด การฝึกปฏิบัติเพื่อนำไปประกอบอาชีพที่หลากหลาย 3. ควรมีการกระตุ้นใหน้ ักเรียนชอบการเรียนรู้ในชั้นเรียน เน้นฝึกกระบวนการคิดอย่างสร้างสรรค์และการ เพิม่ กลยทุ ธ์ เทคนิค วิธีการที่หลากหลายการควบคุมชั้น ตัดสินใจอย่างมีเหตุผล มีการใช้เทคโนโลยีช่วยในการ เรยี น จัดการเรียนรู้ 4. ควรฝึกกระบวนการคิดข้ันสงู คิดวิเคราะห์ คดิ สงั เคราะห์ 4. นักเรียนสามารถเติบโตเป็นบุคคลที่มีคุณภาพ โต้ตอบ คิดอย่างสร้างสรรค์ให้นักเรียน สามารถนำไปสร้าง คำถามในสื่อการเรียนที่สอนได้ดีและเข้าในเนื้อหา การ นวัตกรรมใหม่ ๆ ในรายวิชาเรียน 5. ควรเสรมิ สร้างความกลา้ แสดงออก สรา้ งสถานการณก์ าร เรยี นร้ใู หก้ บั นักเรยี นได้เรียนรไู้ ดด้ ว้ ยตนเอง 6. ควรเน้นการค้นพบความถนัดและความสามารถของ ตนเอง ทักษะและกระบวนการ

74 จุดเด่น จุดควรพัฒนา ลงมือปฏิบัติจริงทำให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ จิต 7. ควรมกี ารใชจ้ ติ วทิ ยาในการสอนใหก้ มากวา่ น้ีเพ่ือให้เกิด ความสนกุ สนานในชน้ั เรยี น สาธารณะ และมคี วามมุ่งมั่นต้งั ใจ 8. ควรเสริมสร้างประสบการณ์นอกห้องเรียน เสริมสร้าง 5. นักเรียนมีความกล้าคิด กล้าแสดงออก และการแสวงหา ทักษะการดำรงชีวิตของนักเรียนประจำ เสริมสร้าง ทักษะอาชีพตา่ ง ๆ ให้แกผ่ ู้เรียน ความรู้ด้วยตนเอง รกั การเรียนรแู้ ละพฒั นาตนเองอย่าง 1.2 ดา้ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ของผเู้ รยี น ตอ่ เนือ่ ง 1. ควรมีการเสริมสร้างใหน้ ักเรียนตระหนักถึงความสำคัญ 6. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตร ของการศึกษา การน้อมนำแนวทางพระราชดำรมิ าปรับ ใช้ในชีวิตประจำวัน สถานศกึ ษาและมีการพัฒนาอยา่ งต่อเนื่อง 2. ควรเสริมสร้างทักษะการใช้ชีวิตทางสังคม บนความ แตกต่างและความหลากหลายทางชาติพันธุ์ 7. นักเรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีพรอ้ มท่ี มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ จะศึกษาตอ่ ในระดับชั้นท่ีสงู ขึน้ เพื่อเป็นแนวทางในการ 1. ควรมีจัดระบบและการวางแผนการทำงานที่ชัดเจนใน ประกอบอาชีพในอนาคตได้ แตล่ ะปีการศึกษา งานทุกอย่างในโรงเรยี นควรเปน็ ระบบระเบยี บมากข้นึ และนำผลการปฏิบัตมิ าปรับปรุง 1.2 ด้านคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ องผู้เรียน แก้ไขในครงั้ ต่อไป 2. ควรมีการทำงานเป็นทมี สรา้ งทมี งานในการพฒั นา 1. นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค่านิยม และอัต สถานศึกษา และความชัดเจนในการพฒั นาองค์กร ยึด ตวั ผู้เรยี นเป็นสำคัญ ลักษณ์ของนักเรียนทด่ี ี 2. นักเรียนมีการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง และหลากหลาย รุ่นพี่ปฏบิ ัติตนให้เป็นตวั อยา่ งท่ีดีให้กับ นักเรียนรุ่นนอ้ ง อยู่ด้วยกันอย่างมีความสุข บนพื้นฐาน วฒั นธรรมชนชาติพนั ธทุ์ ่ีหลากหลาย 3. นักเรียนมีความภูมิใจในท้องถิ่นและชนเผ่าของตนเอง เห็นคุณค่าของความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ วฒั นธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาไทย 4. นักเรียนได้รับการฝกึ ทักษะดำรงชีวิตในโรงเรียนประจำ เป็นวัฒนธรรมของโรงเรียนประจำ ได้แก่กิจกรรม ส่งเสริมสุขนิสัย กิจกรรมส่งเสริมสมรรถภาพทางกาย กจิ กรรมหลักโภชนาการ กิจกรรมหลักไตรรงค์ กจิ กรรม สร้างเสริมภาวะผู้นำ กิจกรรมอนุรักษ์พลังงานและ สิ่งแวดล้อม กิจกรรมส่งเสริมอาชีพท้องถิ่น และ กิจกรรมพฒั นาสุนทรยี ภาพ 5. นักเรยี นมีสุขภาวะทางรา่ งกายและจิตสงั คมทีด่ ี มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ 1. สนบั สนนุ ให้มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยใน การบริหารงานในกลมุ่ งานตา่ ง ๆ 2. มกี ารบรหิ ารสถานศึกษาในรูปแบบการทำงานเป็นทีม มีวัฒนธรรมองค์กรท่เี ขม้ แขง็ โดยยดึ หลกั ผ้เู รยี นเป็น สำคญั 3. สถานศึกษามีความพรอ้ มด้านสถานท่ี การจดั สภาพแวดล้อมได้ท่ีเออื้ มอำนวยต่อการเรยี นร้เู ป็นอย่าง ดี มวี ัสดุอุปกรณ์ เครื่องมอื ในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา

75 จุดเด่น จุดควรพฒั นา 4. มีการส่งเสริม สนบั สนนุ ครูในดา้ นการจัดการศกึ ษาให้มี 3. ควรมีการรบั ฟงั ความคิดเห็นในภาพรวม และเข้าถึง ความเป็นมาตรฐาน ให้ความสำคญั ในเรื่องของการ ปญั หาทุกเรอ่ื งภายในสถานศึกษา สนับสนุนใหแ้ สดง จดั ทำแผนการจัดการเรยี นรู้ ความคิดเห็นบนพื้นฐานของความถกู ตอ้ งเหมาะสม 5. มโี ครงสรา้ งการบรหิ ารงานและการจัดการที่ชัดเจนเป็น 4. ควรมกี ารสง่ เสรมิ พฒั นาครูและบคุ ลากรให้มคี วาม ระบบ ใชเ้ ทคนิคการประชมุ ทีห่ ลากหลายวิธี เพื่อร่วม เชีย่ วชาญทางวิชาชีพ ให้มคี วามรู้ ความสามารถ ทกั ษะ ระดมความคดิ ในการจัดทำแผนพฒั นาคณุ ภาพ ตาม มาตรฐานตำแหน่ง จดั อบรมเกี่ยวกบั สือ่ การศึกษา ตลอดจนแผนปฏิบัตกิ ารประจำปี และนำผล เทคโนโลยใี นการจัดการศึกษา จากการปฏิบตั ิงานมาพัฒนาสถานศึกษาอยา่ งต่อเน่อื ง 5. สรา้ งเจตคตทิ ี่ดตี อ่ วิชาชีพและแนวปฏิบัติทช่ี ัดเจนให้ เปน็ ประจำทุกปี บคุ ลากร เพ่อื การปฏิบตั ิในแนวทางเดียวกนั และลด 6. มวี ฒั นธรรมองคก์ รท่เี ขม้ แขง็ เปน็ สถานศึกษทีม่ ี ความเหลอื่ มล้ำในการปฏิบตั หิ นา้ ที่ สง่ ผลดีต่อการ คณุ ภาพ พฒั นางานวชิ าการและพัฒนาผ้เู รยี นอย่างเต็มศกั ยภาพ 7. มกี ารกระจายอำนาจ ใหค้ รผู ู้มีความเชีย่ วชาญและ 6. ควรมีการสนบั สนนุ เทคโนโลยที ่ีใชใ้ นการจัดการศกึ ษา ประสบการณใ์ นการบริหารงาน ข้ึนมามสี ว่ นรวมในการ อย่างทวั่ ถึง เตรียมรบั มอื กับสถานการณโ์ รคระบาดใน พฒั นาสถานศกึ ษา ปัจจบุ ัน 8. มกี ารกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกจิ เป้าหมายท่ชี ัดเจน มี 7. ควรลดภาระของครู ลดเอกสารทไี่ ม่จำเป็น เพ่อื มเี วลา การบรหิ ารงานตามโครงสร้าง จัดการเรียนการสอนอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 9. ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษามภี าวะความเป็นผู้นำ มี ความสามารถในการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา สง่ เสริม ความเสมอภาค ความสัมพันธ์ ความร่วมมือกับ หนว่ ยงาน องค์กร และชุมชนในการพัฒนาคณุ ภาพ การศึกษา 10. มีการแก้ไขปญั หาจำเป็นเรง่ ด่วนของสถานศึกษา เช่น การแก้ไขปญั หาเร่ืองนำ้ การสรา้ งทางถนนในโรงเรียน เปน็ ตน้ 11. ผู้บรหิ ารมีการเอาใจใส่ครแู ละนักเรยี นในทกุ ดา้ น เลอื ก วางบคุ ลากรท่ีถูกกบั งาน โดยรับฟังความคดิ เห็นของครู และและนกั เรยี น มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี นน้ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี น้น ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ 1. ครมู ีการใชว้ ิจยั ในช้ันเรยี นช่วยในการพฒั นาการจดั การ 1. การจัดการเรียนการสอนควรใชค้ ำท่เี ขา้ ใจงา่ ยข้ึน ปรับ เรยี นการสอน เน้นพฒั นาผู้เรียนทส่ี อดคล้องกับ การเรียนเปลย่ี นการสอน สือ่ การเรียนการสอนควรมี พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ การพัฒนาอยเู่ สมอ และใหค้ วามสนใจกับผู้เรยี น มากกวา่ น้ี 2. ครูมีการจดั การเรียนร้ทู ีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั เข้าใจ เข้าถงึ ผเู้ รียน โดยจัดการเรยี นรู้แบบรว่ มมอื เทคนิคที่ 2. ให้ความสำคญั ในการทำวจิ ยั ในช้นั เรียน หาความรู้ หลากหลาย ฝึกเน้นกระบวนกานคดิ วเิ คราะห์ ลงมอื เพม่ิ เติมในดา้ นการจดั การเรียนการสอน เพ่ือเพิ่ม ปฏิบตั จิ รงิ ฝึกให้ผูเ้ รยี นกลา้ แสดงออก เสริมสร้างทกั ษะ เทคนคิ การสอนท่หี ลากหลาย เน้นให้ผเู้ รียนมี อาชีพใหแ้ กผ่ เู้ รยี น ความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ คิดสงั เคราะห์ คดิ 3. ครูมกี ารจัดการเรียนรู้ตามมาตรฐานตัวชีว้ ัดตาม แกป้ ญั หา คิดสรา้ งสรรค์ หลกั สตู รแกนกลาง บูรณาการสอนเน้นประสบการณ์ 3. ควรส่งเสริมกระบวนการคดิ ในรปู แบบของคา่ ย จรงิ จากการดำเนนิ ชีวติ ประจำใหม้ ากทีส่ ุด สอนสิง่ ท่อี ยู่ วทิ ยาศาสตร์ สะเต็มศึกษา เน้นการใช้ส่ือ และ ใกล้ตวั มากทส่ี ดุ เทคโนโลยี ในการเรียนการสอน

76 จุดเดน่ จดุ ควรพัฒนา 4. ครมู กี ลยทุ ธ์การสอน การออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ 4. ควรมกี ารพฒั นาวชิ าชีพในการจดั ชุนชนทางวชิ าชีพครู (PLC) อยา่ งจริงจงั เพอื่ นำผลมาใช้ประโยชนไ์ ด้จรงิ ให้ และจัดทำแผนการเรยี นรู้ นำสือ่ และเทคโนโลยีมาใชใ้ น เกิดประสทิ ธผิ ล การจัดการเรยี นการสอน 5. ครูเอาใจใส่ในการจดั การเรยี นการสอนเพื่อใหเ้ กดิ 5. ควรสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนหาประสบการณ์นอกห้องเรียน ประโยชนส์ ูงสดุ แก่นกั เรยี น เพอ่ื ฝึกทกั ษะทางสังคม ทกั ษะอาชีพ ทักษะทางภาษา 6. ครสู ามารถจัดการเรยี นรู้ได้ตรงตามระดบั ความสามารถ ในชีวติ จริง ของนกั เรยี น 7. ครูมีความตัง้ ใจและมงุ่ มั่นพัฒนาผู้เรยี นอย่างเตม็ ความสามารถ มีการวางแผนการทำงาน และเตรียมตัว ก่อนเขา้ สอน และนำผลมาพัฒนาการสอนต่อไป 8. ครูมีการวเิ คราะหผ์ ู้เรยี นเปน็ รายบคุ คล แยกเป็นกล่มุ เกง่ กลุม่ ปานกลาง และกลุ่มออ่ น แล้วพฒั นาการ ส่งเสรมิ ความรู้ ทกั ษะกระบวนการ และเจตคติทดี่ ี 9. ครูมคี ณุ ธรรมจริยธรรม และปฏบิ ตั ติ นตามจรรยาบรรณ ของวชิ าชพี ครมู ีความม่งุ ม่นั และอทุ ิศตนในการสอน และพฒั นาผเู้ รยี น เข้าสอนตรงเวลา 10. ครูมีการบรหิ ารจดั การช้ันเรยี นไดด้ ี การสรา้ งข้อตกลง กอ่ นทำการจดั การเรยี นรู้ เนน้ การจดั การในชนั้ เรยี น การมสี ว่ นรว่ มในการเรยี น 11. ครูมีการจัดเนอ้ื หาสาระและจัดกิจกรรมใหส้ อดคล้องกบั ความสนใจและความถนัดของผเู้ รียน โดยคำนึงถึงความ แตกตา่ งระหว่างบคุ คล ฝกึ ทกั ษะ กระบวนการคดิ การ จดั การ การเผชญิ สถานการณแ์ ละการประยุกต์ความรู้ มาใช้เพอ่ื ปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหา ในเรอ่ื งการตดั สนิ ใจ ในการเลอื กศกึ ษาตอ่ ในระดบั ท่สี งู ขึน้ แนวทางการพัฒนา เพื่อพฒั นาคุณภาพการศึกษาและการบริหารจัดการของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัด เชียงใหมใ่ ห้ดยี งิ่ ขน้ึ ในปกี ารศกึ ษา 2564 โรงเรียนมคี วามจำเปน็ ต้องมีการขับเคลอ่ื นโครงการและกิจกรรม ที่ นำไปสเู่ ป้าหมายตามวสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ และตวั ชีว้ ัดความสำเร็จของสถานศึกษา ซง่ึ มีรายละเอยี ดดังนี้ 1. คุณภาพผู้เรียน 1. พัฒนาพืน้ ฐานทางดา้ นภาษาการสื่อสารของนกั เรยี น เนอื่ งจากผูเ้ รยี นเปน็ กลุ่มชนชาติพันธุ์ ทำ ใหต้ ิดปัญหาเรือ่ งการส่อื สารไมช่ ัดเจน และชอบเขียนตามคำพูดของตนเอง จึงทำให้ผิดหลักของภาษา 2. พฒั นาพ้นื ฐานการคดิ คำนวณของผ้เู รียน มีการปรบั พืน้ ฐานของนกั เรยี นกอ่ นวิเคราะห์นักเรียน แยกกล่มุ เก่ง ปานกลาง อ่อน เพอื่ พฒั นานกั เรียนได้ตรงตามจุด 3. พัฒนากลยทุ ธ์การสอนเพื่อการกระตุ้นใหน้ กั เรยี นชอบการเรยี นรใู้ นชน้ั เรียน โดยการเพ่มิ กลยุทธ์ เทคนคิ วิธกี ารทีห่ ลากหลายการควบคุมชั้นเรียน 4. พฒั นาและสง่ เสริมกระบวนการคดิ ขัน้ สงู คดิ วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดอยา่ งสร้างสรรค์ให้ นักเรยี น สามารถนำไปสรา้ งนวัตกรรมใหม่ ๆ ในรายวิชาเรยี น 5. พัฒนาและสง่ เสรมิ ความกลา้ แสดงออก สร้างสถานการณก์ ารเรียนรู้ให้กับนักเรียนได้เรยี นรไู้ ด้

77 ดว้ ยตนเอง 6. พัฒนาและสง่ เสรมิ การค้นพบความถนัดและความสามารถของตนเอง ทกั ษะและกระบวนการ 7. พฒั นาการใช้จติ วทิ ยาในการสอนใหก้ มากว่านเี้ พอื่ ให้เกดิ ความสนุกสนานในชนั้ เรยี น 8. พัฒนาและเสรมิ สรา้ งประสบการณน์ อกห้องเรยี น เสริมสรา้ งทักษะการดำรงชวี ติ ของนักเรยี น ประจำ เสรมิ สร้างทกั ษะอาชีพต่าง ๆ ให้แก่ผเู้ รียน 9. พัฒนาและเสริมสร้างใหน้ ักเรียนตระหนักถงึ ความสำคญั ของการศกึ ษา การน้อมนำแนวทาง พระราชดำรมิ าปรับใชใ้ นชวี ิตประจำวนั 10. พัฒนาและเสริมสร้างทักษะการใชช้ ีวิตทางสังคม บนความแตกตา่ งและความหลากหลายทาง ชาติพนั ธ์ุ 2. กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 1. พัฒนาการจัดระบบและการวางแผนการทำงานท่ชี ดั เจนในแต่ละปกี ารศกึ ษา งานทุกอย่างใน โรงเรยี นควรเปน็ ระบบระเบียบมากข้ึน และนำผลการปฏิบตั มิ าปรับปรุง แกไ้ ขในคร้งั ตอ่ ไป 2. พฒั นาการทำงานเปน็ ทมี สรา้ งทีมงานในการพัฒนาสถานศกึ ษา และความชดั เจนในการพฒั นา องคก์ ร ยึดตัวผูเ้ รียนเป็นสำคญั 3. พัฒนาการเขา้ ถึงปัญหาทุกเร่อื งภายในสถานศกึ ษา สนับสนุนให้แสดงความคิดเห็นบนพื้นฐาน ของความถูกต้องเหมาะสม 4. พัฒนาและสง่ เสริมพัฒนาครูและบคุ ลากรให้มีความเชย่ี วชาญทางวชิ าชพี ให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะตาม มาตรฐานตำแหน่ง จัดอบรมเกย่ี วกบั สอ่ื เทคโนโลยีในการจัดการศกึ ษา 5. สร้างเจตคตทิ ่ดี ีตอ่ วิชาชพี และแนวปฏบิ ัตทิ ่ีชดั เจนใหบ้ ุคลากร เพื่อการปฏิบัตใิ นแนวทาง เดยี วกนั และลดความเหล่ือมลำ้ ในการปฏิบัตหิ นา้ ท่ี ส่งผลดตี ่อการพฒั นางานวิชาการและพฒั นาผู้เรยี นอยา่ ง เตม็ ศักยภาพ 6. พัฒนาการสนับสนุนเทคโนโลยที ใ่ี ช้ในการจัดการศึกษาอย่างท่วั ถงึ เตรียมรับมอื กับสถานการณ์ โรคระบาดในปจั จุบัน 7. พัฒนาระบบเทคโนโลยี เพอื่ ลดภาระของครู ลดเอกสารที่ไม่จำเป็น เพือ่ มเี วลาจัดการเรยี นการ สอนอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 3. กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผ้เู รียนเปน็ สำคัญ 1. การจดั การเรยี นการสอนควรใช้คำทเี่ ข้าใจง่ายข้ึน ปรบั การเรยี นเปลย่ี นการสอน ส่ือการเรยี น การสอนควรมีการพฒั นาอยูเ่ สมอ และให้ความสนใจกบั ผู้เรียนมากกวา่ นี้ 2. ให้ความสำคัญในการทำวจิ ยั ในชน้ั เรียน หาความรู้เพ่มิ เติมในดา้ นการจดั การเรยี นการสอน เพ่ือ เพิ่มเทคนคิ การสอนที่หลากหลาย เนน้ ให้ผเู้ รียนมคี วามสามารถดา้ นการคิดวเิ คราะห์ คิดสังเคราะห์ คิด แกป้ ัญหา คดิ สรา้ งสรรค์ 3. ควรสง่ เสริมกระบวนการคดิ ในรปู แบบของค่ายวิทยาศาสตร์ สะเตม็ ศึกษา เนน้ การใช้สอ่ื และ เทคโนโลยี ในการเรียนการสอน 4. ควรมกี ารพฒั นาวิชาชพี ในการจดั ชุนชนทางวชิ าชีพครู (PLC) อย่างจริงจงั เพื่อนำผลมาใช้ ประโยชน์ไดจ้ ริง ใหเ้ กิดประสิทธิผล 5. ควรสง่ เสริมให้ผู้เรยี นหาประสบการณน์ อกหอ้ งเรยี นเพอ่ื ฝึกทักษะทางสังคม ทกั ษะอาชีพ ทักษะทางภาษาในชีวิตจริง

78 ความต้องการช่วยเหลอื เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาและการบรหิ ารจัดการของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัด เชียงใหมใ่ หด้ ียิ่งขึน้ ในปีการศึกษา 2564 โรงเรียนมีความจำเปน็ ต้องการความชว่ ยเหลอื ซึ่งมีรายละเอียดดงั น้ี 1. การชว่ ยเหล่อื เรอ่ื งไฟฟา้ เนือ่ งจากเม่อื มกี ารเกิดพายฝุ นตก ในชว่ งฤดูฝน ทำใหไ้ ฟฟ้าดบั บอ่ ยคร้งั ทำใหก้ ารเป็นอยขู่ องนกั เรยี นและครูมีปญั หา เพราะต้องใช้ชีวติ อยู่ในโรงเรียนตลอด 24 ชั่วโมง และทำให้ เคร่อื งใชไ้ ฟฟ้า คอมพิวเตอรส์ ำนกั งาน เกิดความเสียหาย 2. การชว่ ยเหลอ่ื เรอ่ื งนำ้ ประปา เนอื่ งจากสภาพที่ต้งั ของโรงเรียนอยบู่ นภเู ขา ระบบขนสง่ นำ้ ใชม้ าจาก นำ้ ตกหรือตน้ น้ำภูเขา โรงเรยี นใช้การตอ่ ทอ่ ประปาด้วยตนเองจากตน้ น้ำมายังโรงเรยี นเปน็ ระยะทางกว่า 10 กิโลเมตร มักประสบปญั หาเรือ่ งน้ำไมพ่ อใช้ จากเหตทุ อ่ ประปาเสยี หายจากการเผาป่า และชว่ งฤดูร้อนต้นน้ำมี น้ำนอ้ ย ทำให้มนี ้ำไมพ่ อใช้ 3. การสนับสนุนงบประมาณทางด้านอปุ กรณก์ ารเรียนการสอนท่ที ันสมัย ในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ตา่ ง ๆ ใหม้ คี วามพรอ้ มในการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น 4. การลดภาระการจดั ทำเอกสารดา้ นอน่ื ๆ ของครู เพ่ือให้ครมู ีเวลาเตรยี มการเรยี นการสอน และ เวลาในการพฒั นาผ้เู รียนได้มากยิง่ ข้ึน 5. การจัดอบรมพฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาเร่อื งการยกระดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น และ การพัฒนาตนเองของครู

79 สว่ นที่ 4 การรับรองผลการประเมินคณุ ภาพภายในตามมาตรฐานของสถานศกึ ษา 1. การรบั รองผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในโดยผู้อำนวยการสถานศกึ ษา  รับรอง  ไมร่ ับรอง ลงชอ่ื …………………………………………. ( นายอดศิ ร แดงเรอื น ) ผู้อำนวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่ วันที่ 3 เดอื น มิถนุ ายน พ.ศ. 2564 2. การรับรองผลการประเมินคณุ ภาพภายในโดยผู้ทรงคณุ วุฒิ  รบั รอง  ไมร่ ับรอง ลงชื่อ……………………………………….. ( นางยุพิน คำปัน) ผทู้ รงคุณวุฒิ วันท่ี 3 เดอื น มิถนุ ายน พ.ศ. 2564 3. การรบั รองผลการประเมินคณุ ภาพภายในโดยประธานคณะกรรมการสถานศึกษา  รับรอง  ไมร่ ับรอง ลงชื่อ………………………………………… ( นายกฤษฏ์ิ พยัคกาฬ ) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ วันท่ี 3 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2564

80 ภาคผนวก ภาคผนวก ก ด้านคุณภาพผู้เรยี น ภาคผนวก ข ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ภาคผนวก ค ด้านกระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ ภาคผนวก ง ประกาศแตง่ ตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ภาคผนวก ฉ ประกาศมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ภาคผนวก ช คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน

81 ภาคผนวก ก ดา้ นคุณภาพผเู้ รยี น

82 แบบรายงานสรปุ ผลการประเมินการอ่านและเขยี นของนกั เรยี นทุกระดบั ชั้น ปีการศกึ ษา 2563 กล่มุ งานบรหิ ารวิชาการ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ เกณฑ์การพจิ ารณา การอ่าน การเขยี น ร้อยละของนักเรียนทีผ่ ่านการประเมนิ การอ่าน และเขยี นระดับดขี ึ้นไป ป.1 94.64 92.86 รอ้ ยละของนักเรียนที่ผา่ นการประเมินการอา่ น และเขยี นระดับดขี ึ้นไป ป.2 95.00 94.17 ร้อยละของนกั เรียนทีผ่ ่านการประเมนิ การอ่าน และเขียนระดับดีขึ้นไป ป.3 91.67 88.89 ร้อยละของนักเรยี นที่ผา่ นการประเมนิ การอ่าน และเขยี นระดบั ดีขึ้นไป ป.4 92.71 90.63 ร้อยละของนักเรยี นทผ่ี า่ นการประเมนิ การอ่าน และเขยี นระดับดีขนึ้ ไป ป.5 93.42 92.76 ร้อยละของนักเรียนทผี่ า่ นการประเมนิ การอ่าน และเขียนระดบั ดขี ้ึนไป ป.6 92.50 91.67 รอ้ ยละของนักเรียนทีผ่ า่ นการประเมินการอา่ น และเขยี นระดับดีขน้ึ ไป ม.1 91.05 92.01 ร้อยละของนกั เรียนทผ่ี า่ นการประเมนิ การอา่ น และเขยี นระดบั ดขี ้ึนไป ม.2 94.53 94.68 รอ้ ยละของนักเรียนท่ผี า่ นการประเมินการอ่าน และเขยี นระดับดขี น้ึ ไป ม.3 93.65 94.21 ร้อยละของนกั เรียนที่ผ่านการประเมนิ การอ่าน และเขียนระดับดขี น้ึ ไป ม.4 97.14 91.53 ร้อยละของนักเรียนที่ผา่ นการประเมนิ การอา่ น และเขยี นระดับดีขึ้นไป ม.5 98.93 98.93 ร้อยละของนกั เรยี นที่ผ่านการประเมนิ การอ่าน และเขียนระดบั ดีขน้ึ ไป ม.6 99.61 99.61 94.57 93.50 เฉล่ียรวม การแปรผลระดับคุณภาพ (ร้อยละ) ตำ่ กวา่ 50 = 1 ปรบั ปรุง 50-59 = 2 คะแนนระดับ คะแนนระดบั พอใช้ 60-69 = 3 ดี 70-79 = 4 ดมี าก 80 ขึ้นไป = 5 ดีเย่ยี ม คณุ ภาพ คณุ ภาพ ดเี ย่ียม ดีเยี่ยม (อา้ งองิ จาก งานวดั ผลและประเมินผล โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่) แบบรายงานสรปุ ผลการประเมนิ การคดิ วิเคราะหข์ องนักเรยี นทกุ ระดับชั้น ปกี ารศึกษา 2563 กลุม่ งานบริหารวิชาการ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ เกณฑก์ ารพจิ ารณา การคิดวเิ คราะห์ ร้อยละของนักเรยี นที่ผา่ นการประเมนิ การ คดิ วิเคราะห์ ระดบั ดีขน้ึ ไป ป.1 85.71 รอ้ ยละของนักเรยี นทผ่ี ่านการประเมินการ คิดวิเคราะห์ ระดบั ดีขน้ึ ไป ป.2 92.50 รอ้ ยละของนกั เรยี นที่ผ่านการประเมินการ คิดวเิ คราะห์ ระดับดขี น้ึ ไป ป.3 87.50 รอ้ ยละของนักเรยี นที่ผา่ นการประเมินการ คิดวเิ คราะห์ ระดับดขี ึน้ ไป ป.4 91.67 รอ้ ยละของนกั เรียนที่ผ่านการประเมนิ การ คดิ วเิ คราะห์ ระดับดีขน้ึ ไป ป.5 91.45 รอ้ ยละของนกั เรยี นทผ่ี า่ นการประเมินการ คิดวิเคราะห์ ระดับดขี น้ึ ไป ป.6 90.00 รอ้ ยละของนกั เรียนทผ่ี า่ นการประเมนิ การ คดิ วเิ คราะห์ ระดับดีขึ้นไป ม.1 90.98 รอ้ ยละของนกั เรยี นท่ีผ่านการประเมินการ คดิ วิเคราะห์ ระดบั ดขี น้ึ ไป ม.2 95.63 รอ้ ยละของนกั เรยี นทีผ่ ่านการประเมนิ การ คดิ วเิ คราะห์ ระดับดขี น้ึ ไป ม.3 94.21 รอ้ ยละของนกั เรียนที่ผ่านการประเมนิ การ คดิ วเิ คราะห์ ระดับดขี ึ้นไป ม.4 95.28 ร้อยละของนักเรยี นทผ่ี า่ นการประเมนิ การ คดิ วิเคราะห์ ระดบั ดีขึน้ ไป ม.5 98.93 รอ้ ยละของนกั เรียนที่ผ่านการประเมนิ การ คดิ วเิ คราะห์ ระดับดขี ้นึ ไป ม.6 99.61 เฉลีย่ รวม 92.79 การแปรผลระดบั คุณภาพ (รอ้ ยละ) ตำ่ กวา่ 50 = 1 ปรับปรุง 50-59 = 2 คะแนนระดับคุณภาพ พอใช้ 60-69 = 3 ดี 70-79 = 4 ดมี าก 80 ขึ้นไป = 5 ดีเย่ยี ม ดเี ยี่ยม (อา้ งอิงจาก งานวดั ผลและประเมินผล โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่)

83 แบบรายงานสรปุ ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของนกั เรยี นทุกระดับช้นั ปีการศกึ ษา 2563 กลุ่มงานบริหารวชิ าการ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ เกณฑก์ ารพจิ ารณา ข้อ1 ข้อ2 ข้อ3 ข้อ4 ขอ้ 5 ข้อ6 ขอ้ 7 ข้อ8 รวม 100.00 100.00 100.00 100.00 90.00 100.00 100.00 100.00 ระดับชน้ั รอ้ ยละของนักเรยี นท่ีผ่านการประเมินคณุ ลักษณะ 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 98.75 อันพงึ ประสงค์ ระดับดขี ้นึ ไป ป.1 คดิ เปน็ ร้อยละ 100.00 100.00 100.00 44.44 90.00 44.44 100.00 100.00 100.00 รอ้ ยละของนกั เรียนทผ่ี า่ นการประเมินคณุ ลักษณะ 100.00 100.00 100.00 83.69 94.74 83.69 86.21 89.21 84.87 อันพึงประสงค์ ระดบั ดีขึ้นไป ป.2 คิดเปน็ รอ้ ยละ 100.00 90.00 100.00 64.28 92.86 92.86 100.00 100.00 92.19 ร้อยละของนักเรียนทผี่ า่ นการประเมินคุณลกั ษณะ 100.00 95.45 100.06 80.00 90.00 96.36 100.00 95.50 92.50 อันพงึ ประสงค์ ระดบั ดีขึ้นไป ป.3 คดิ เปน็ ร้อยละ 93.54 93.54 94.50 92.14 92.14 92.23 94.02 92.94 94.67 ร้อยละของนักเรยี นทผ่ี ่านการประเมนิ คุณลักษณะ 96.17 92.74 92.19 95.12 94.17 94.08 94.05 94.47 93.12 อันพึงประสงค์ ระดับดีข้นึ ไป ป.4 คิดเปน็ รอ้ ยละ 97.24 97.24 97.23 96.55 95.35 96.52 96.45 96.52 94.13 ร้อยละของนักเรียนท่ีผา่ นการประเมินคุณลักษณะ 97.84 98.44 97.49 97.63 98.09 97.63 98.02 98.26 96.63 อันพงึ ประสงค์ ระดับดขี ึ้นไป ป.5 คิดเปน็ ร้อยละ 83.66 83.66 83.66 83.24 83.53 83.23 83.57 83.53 97.92 รอ้ ยละของนกั เรียนทผ่ี า่ นการประเมินคุณลกั ษณะ 99.01 99.06 98.85 98.91 93.34 98.34 97.40 98.39 83.51 อนั พงึ ประสงค์ ระดบั ดขี นึ้ ไป ป.6 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 97.29 95.84 97.00 86.33 92.85 89.95 95.81 95.74 97.91 ร้อยละของนักเรียนทผ่ี ่านการประเมินคณุ ลักษณะ 93.85 อันพงึ ประสงค์ ระดบั ดขี ้นึ ไป ม.1 คดิ เปน็ ร้อยละ ร้อยละของนกั เรียนที่ผา่ นการประเมนิ คุณลกั ษณะ อันพึงประสงค์ ระดบั ดีขน้ึ ไป ม.2 คดิ เป็นร้อยละ ร้อยละของนักเรยี นที่ผา่ นการประเมินคณุ ลักษณะ อนั พงึ ประสงค์ ระดับดีขึ้นไป ม.3 คดิ เป็นรอ้ ยละ รอ้ ยละของนักเรยี นทผ่ี า่ นการประเมนิ คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ระดบั ดีขึน้ ไป ม.4 คดิ เป็นร้อยละ รอ้ ยละของนักเรยี นทผ่ี ่านการประเมนิ คุณลกั ษณะ อนั พงึ ประสงค์ ระดับดีขึ้นไป ม.5 คิดเปน็ รอ้ ยละ ร้อยละของนกั เรยี นทผ่ี า่ นการประเมินคุณลักษณะ อนั พงึ ประสงค์ ระดบั ดีขน้ึ ไป ม.6 คิดเป็นรอ้ ยละ เฉลย่ี รวม หมายเหตุ ข้อ 5 = อยู่อย่างพอเพียง ขอ้ 1 = ด้าน รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ข้อ 6 = ม่งุ มนั่ ในการทำงาน ขอ้ 2 = ซ่ือสตั ย์ สุจริต ข้อ 7 = รกั ความเปน็ ไทย ข้อ 3 = มวี ินัย รับผิดชอบ ข้อ 8 = มจี ิตสาธารณะ ขอ้ 4 = ใฝ่เรยี นรู้ (อ้างอิงจาก งานวดั ผลและประเมินผล โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม)่

84 แบบรายงานสรปุ ผลการประเมินสมรรถนะของนกั เรียนทุกระดับชั้น ปีการศกึ ษา 2563 กลุ่มงานบริหารวิชาการ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

85

86 แบบรายงานสรุปผลการประเมินทักษะดำรงชวี ิตของนักเรยี นทุกระดบั ชัน้ ปกี ารศกึ ษา 2563 กลุม่ งานบรหิ ารวิชาการ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ เกณฑ์การพิจารณา ข้อ 1 ขอ้ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ขอ้ 5 ข้อ 6 ขอ้ 7 ขอ้ 8 รวม ระดบั ชั้น ร้อยละของนักเรียนชั้น ป.1 ที่ผ่านการ ประเมินกิจกรรมทกั ษะการดำรงชวี ิต ระดับ 100 100 100 100 100 100 100 100 100.00 ดขี ึ้นไป คดิ เปน็ ร้อยละ ร้อยละของนักเรียนชั้น ป.2 ที่ผ่านการ ประเมนิ กจิ กรรมทกั ษะการดำรงชีวิต ระดับ 80 100 100 100 80 100 100 100 95.00 ดขี ึ้นไป คิดเปน็ รอ้ ยละ รอ้ ยละของนักเรยี นชั้น ป.3 ทผ่ี ่านการ ประเมนิ กิจกรรมทกั ษะการดำรงชวี ติ ระดบั 100 100 100 100 100 100 100 100 100.00 ดีขน้ึ ไป คดิ เปน็ ร้อยละ ร้อยละของนกั เรียนชน้ั ป.4 ที่ผา่ นการ ประเมินกิจกรรมทักษะการดำรงชวี ิต ระดบั 100 100 100 100 100 100 100 100 100.00 ดขี น้ึ ไป คิดเปน็ รอ้ ยละ ร้อยละของนักเรียนชน้ั ป.5 ท่ผี ่านการ ประเมนิ กิจกรรมทกั ษะการดำรงชีวติ ระดับ 100 100 100 100 100 100 100 100 100.00 ดีข้นึ ไป คดิ เป็นร้อยละ รอ้ ยละของนักเรยี นช้ัน ป.6 ที่ผ่านการ ประเมินกิจกรรมทักษะการดำรงชีวติ ระดบั 100 100 100 100 80 100 100 100 97.50 ดีขึ้นไป คดิ เปน็ รอ้ ยละ รอ้ ยละของนกั เรยี นช้นั ม.1 ที่ผา่ นการ ประเมนิ กิจกรรมทกั ษะการดำรงชวี ติ ระดับ 95.68 96.40 95.68 95.68 95.68 97.84 97.84 97.84 96.58 ดขี น้ึ ไป คิดเป็นร้อยละ ร้อยละของนกั เรียนชั้น ม.2 ทผ่ี า่ นการ ประเมนิ กิจกรรมทักษะการดำรงชวี ติ ระดบั 93.60 96.80 94.40 94.40 89.60 96.80 96.80 96.80 94.90 ดีขึน้ ไป คดิ เปน็ รอ้ ยละ ร้อยละของนักเรียนชนั้ ม.3 ทผ่ี า่ นการ ประเมินกิจกรรมทักษะการดำรงชวี ิต ระดับ 98.36 98.36 98.36 98.36 98.36 98.36 98.36 98.36 98.36 ดขี ึน้ ไป คิดเป็นร้อยละ รอ้ ยละของนกั เรียนช้ัน ม.4 ทผ่ี ่านการ ประเมินกิจกรรมทักษะการดำรงชีวติ ระดบั 98.58 98.58 98.58 98.58 98.58 98.58 100 100 98.94 ดีขน้ึ ไป คดิ เป็นรอ้ ยละ รอ้ ยละของนกั เรียนช้ัน ม.5 ทผี่ ่านการ ประเมินกิจกรรมทกั ษะการดำรงชีวิต ระดบั 100 100 100 98.29 100 100 100 100 99.79 ดีขึ้นไป คดิ เปน็ ร้อยละ ร้อยละของนักเรียนชนั้ ม.6 ทผ่ี า่ นการ ประเมินกิจกรรมทกั ษะการดำรงชีวิต ระดบั 100 100 98.95 100 98.95 100 100 100 99.74 ดขี ้ึนไป คดิ เป็นรอ้ ยละ เฉล่ียรวมรายข้อ 97.19 99.18 98.83 98.78 95.10 99.30 99.42 99.42 98.40 เฉลี่ยรวม 98.40 หมายเหตุ ข้อ 2 = กิจกรรมสง่ เสรมิ สมรรถภาพทางกาย ขอ้ 1 = กิจกรรมสง่ เสริมสุขนิสัย ขอ้ 4 = กิจกรรมไตรรงค์ ข้อ 3 = กิจกรรมหลกั โภชนาการ ขอ้ 6 = กิจกรรมอนุรักษ์พลงั งานและส่ิงแวดล้อม ขอ้ 5 = กจิ กรรมเสริมสรา้ งภาวะผูน้ ำ ข้อ 8 = กจิ กรรมพฒั นาสนุ ทรียภาพ ขอ้ 7 = กจิ กรรมสง่ เสริมอาชีพทอ้ งถิ่น

87 ข้อมูลผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนในระดบั สถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2563 รายวชิ า ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น เฉลี่ยรวม ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษา ภาษาไทย 62.58 คณติ ศาสตร์ 62.34 62.82 57.35 วิทยาศาสตร์ ฯ 67.53 47.17 75.53 สงั คมศกึ ษา ฯ 87.01 64.05 80.72 ภาษาตา่ งประเทศ 87.01 74.42 74.60 สขุ ศกึ ษา ฯ 85.71 63.49 91.61 94.81 88.41 89.28 ศลิ ปะ 97.40 81.16 75.50 การงานอาชพี 81.82 69.17 76.42 รวมเฉลีย่ ทุกกลุ่มสาระฯ 82.95 69.89 สรปุ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของผเู้ รยี น ปีการศึกษา 2563 100 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0 ประถมศึกษา มัธยมศึกษา เฉล่ีย

88 สรปุ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนรวมทุกกลมุ่ สาระการเรียนร้รู ะดับประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ปกี ารศกึ ษา 2563 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ จำนวน จำนวนนักเรยี นทไี่ ดผ้ ลการเรยี น ผลการ นกั เรียนทไ่ี ด้ 3 ขน้ึ ไป เรยี น S.D. ภาษาไทย นักเรยี น 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 รวม เฉลี่ย จำนวน ร้อยละ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ 77 25 6 17 18 7 2 2 - 77 3.065 0.813 48 62.34 สงั คมศึกษาฯ 77 23 16 13 10 13 2 - สขุ ศกึ ษาฯ 77 32 18 17 6 4 - - - 77 3.130 0.775 52 67.53 77 28 22 17 10 - - - ศลิ ปะ 77 30 22 21 4 - - - - 77 3.442 0.596 67 87.01 การงานอาชพี ฯ 77 43 22 10 2 - - - ภาษาตา่ งประเทศ 77 13 25 25 12 2 - - - 77 3.442 0.525 67 87.01 77 38 14 14 10 1 - - รวม - 77 3.506 0.469 73 94.81 รอ้ ยละ 616 232 145 134 72 27 4 2 100.00 37.66 23.54 21.75 11.69 4.38 0.65 0.32 - 77 3.688 0.406 75 97.40 - 77 3.227 0.516 63 81.82 - 77 3.506 0.576 66 85.71 - 616 3.376 0.629 511 82.95 0.00 100.00 ร้อยละของนกั เรียน การประเมิน ร้อยละของผูเ้ รยี นท่ีไดผ้ ลการเรียนระดบั ดี ผลสมั ฤทธ์ิ ผลการเรียนระดบั ดี (3) ขน้ึ ไป ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ผ่านเกณฑข์ นั้ ตำ่ (1) ถึงค่อนขา้ งดี (2.5) ระดับโรงเรียน 82.95 55.88 81.29 82.95 ไมผ่ ่านการประเมนิ (0) 94.64 0.00 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรวมทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นร้รู ะดบั ประถมศึกษา ปีการศกึ ษา 2563 ร้อยละของผ้เู รียนท่ไี ด้ผลการเรยี นระดับดี (3) ข้นึ ไป 94.81 97.4 87.01 87.01 81.82 85.71 82.95 67.53 62.34 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษาฯ สขุ ศึกษาฯ ศลิ ปะ การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ รวม