Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2563

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2563

Published by Tanapat Issarangkul Na Ayutthaya, 2021-06-11 08:06:17

Description: รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2563

Search

Read the Text Version

1 รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ สำนกั บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

2 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ วสิ ัยทศั น์ ภายในปี พ.ศ.2564 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่ มีระบบการจดั การศึกษาทีม่ คี ุณภาพ มคี รมู ืออาชพี ผู้เรียนมีคุณลักษณะตามหลกั สตู ร และเปน็ ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อัตลักษณ์ สขุ ภาพดี คณุ ธรรมเดน่ เป็นจติ อาสา เอกลกั ษณ์ อทุ ยานการเรยี นรู้ ปรัชญา ใฝร่ ู้ สู้งาน สบื สานแนวทางตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปณิธาน เป็นคนดี มคี วามจงรักภกั ดตี อ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ คำขวัญ คุณธรรมดี มีความรู้ ส่วู ิถตี ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สญั ลักษณ์โรงเรียน พระมหามงกุฎ อักษรยอ่ ช่ือโรงเรียน ร.ป.ค.31 สีประจำโรงเรยี น นำ้ เงิน – เหลอื ง ต้นไมป้ ระจำโรงเรียน ต้นอบเชย สถานท่ตี ้ัง เลขท่ี 99 หมู่ 10 ตำบลช่างเค่ิง อำเภอแมแ่ จม่ จังหวัดเชยี งใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50270 โทรศัพท์ 053-106933 Email : [email protected] Website : http://www.rpk31school.ac.th

ก บทสรปุ สำหรบั ผูบ้ ริหาร โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยู่เลขที่ 99 หมู่ที่ 10 ตำบลช่างเคิ่ง อำเภอ แม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50270 สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 31 ห้องเรียน บริหารงานโดย นายอดิศร แดงเรือน ผู้อำนวยการโรงเรียน นาย วเิ ศษ ฟองตา รองผ้อู ำนวยการฝา่ ยบรหิ ารงานวชิ าการ นายธชั พล รักงาน รองผ้อู ำนวยการฝ่ายแผนงานและ งบประมาณ นางผ่องรวี จันทร์สม รองผู้อำนวยการฝ่ายกิจการนักเรียน นางสุภัสสร ศรีสวัสด์ิ รอง ผู้อำนวยการฝ่ายบริหารงานบุคคล พร้อมทั้งข้าราชการครู จำนวน 44 คน พนักงานราชการ (ปฏิบัติหน้าท่ี สอน) จำนวน 32 คน พนกั งานจ้าง/ลกู จ้าง (สนบั สนุนการสอน) จำนวน 20 คน และนกั เรียน จำนวน 823 คน สภาพบรบิ ทเปน็ โรงเรยี นการศึกษาสงเคราะห์ ประเภทอย่ปู ระจำ เปิดสอนต้งั แต่ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 ถงึ ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 รบั เดก็ นักเรยี นท่ียากไร้ทางเศรษฐกิจด้อยโอกาสทางการศึกษาทางสังคม และ ทางภมู ิศาสตร์ มกี ารจดั การเรยี นการสอนตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขึ้นพนื้ ฐาน และหลักสูตรทวิศึกษา การจัดการเรียนการสอนเน้นใหผ้ ู้เรียนเป็นผูล้ งมือปฏิบัตดิ ้วยตนเอง และส่งเสริมใหน้ ักเรียนมีทกั ษะอาชีพติด ตัว และมีคุณลักษณะ ค่านิยม ทักษะดำรงชีวิตของผู้เรียนโรงเรียนประจำที่ดีตามเอกลักษณ์ที่กล่าวว่า “สุขภาพดี คุณธรรมเด่น เป็นจิตอาสา” ภายหลังได้เปลี่ยนเป็น “จงรักภักดี มีคุณธรรม น้อมนำแนวทาง พระราชดำริ” และมีการนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) มาใช้บริหารจัดการตามฝ่ายงานต่าง ๆ อย่าง ครอบคลุม พร้อมทั้งจัดสภาพแวดล้อมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตลอดเวลาและมีความปลอดภัย สืบสานงาน ตามพระราชดำริเพื่อสอดคล้องกับเอกลักษณ์ของสถานศึกษาที่กล่าวว่า “อุทยานการเรียนรู้” ภายหลังได้ เปล่ียนเปน็ “สบื สานพระราชปณธิ าน สรา้ งคนดีสสู่ ังคม” ผลการดำเนนิ งาน ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2563 ภาพรวมอยใู่ นระดับ “ยอดเย่ียม” เนอ่ื งจาก มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผู้เรยี น ดา้ นผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน พบวา่ นกั เรยี นโรงเรียนราช ประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ มีความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสือ่ สาร และการคิดคำนวณสูง กว่าค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด คิดเป็นร้อยละ 94.04 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี วิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นโดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และแก้ปัญหาได้ คิดเป็น รอ้ ยละ 92.79 มคี วามสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม คิดเป็นร้อยละ 92.11 มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน อย่างมี จริยธรรม คดิ เปน็ รอ้ ยละ 98.00 ผู้เรยี นมีผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นในระดับดีข้ึนไป (เกรด 3 ขึ้นไป) คิดเป็นร้อย ละ 76.42 ในปีการศึกษา 2561 - 2563 พบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการทางการเรียนที่สูงขึ้นทุกปี และผู้เรียนมี ความรู้ ทกั ษะพน้ื ฐาน และเจตคตทิ ่ีดพี รอ้ มที่จะศึกษาต่อในระดับชน้ั ท่ีสงู ข้นึ เพ่ือเปน็ แนวทางในการประกอบ อาชพี ในอนาคตได้ คิดเปน็ รอ้ ยละ 99.42

ข ในส่วนด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ พบว่า นักเรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัด เชียงใหม่ มีคุณลักษณะ คา่ นิยม และอัตลกั ษณ์ของนักเรยี นที่ดี คดิ เป็นรอ้ ยละ 93.85 มที กั ษะการดำรงชีวิตใน โรงเรียนประจำ คิดเป็นร้อยละ 98.40 มคี วามภูมิใจในท้องถิน่ เหน็ คณุ ค่าของความเปน็ ไทย มีส่วนร่วมในการ อนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาไทย คิดเป็นร้อยละ 97.37 สามารถอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง และหลากหลาย คิดเป็นรอ้ ยละ 96.05 มีสุขภาวะทางรา่ งกายและจติ สังคมตามเป้าหมายท่ีสถานศึกษากำหนด คดิ เปน็ รอ้ ยละ 96.06 ส่งผลให้การประเมินในมาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผ้เู รียน มีผลประเมินอยใู่ นระดับคุณภาพ “ยอดเยี่ยม” คดิ เป็นร้อยละ 96.35 ซงึ่ สงู กว่าคา่ เป้าหมายท่ีตงั้ ไว้ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ พบว่า ครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรยี นราช ประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ และผู้ทมี่ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ ง มคี วามพึงพอใจในการบรหิ ารและการจัดการใน ภาพรวมคิดเป็นร้อยละ 96.24 โดยที่สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน นโยบาลของรัฐบาล แผนการศึกษาแห่งชาติ เป็นไปได้ในการปฏิบตั ิ มีระบบบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษาท่ีชัดเจน ส่งผลตอ่ คณุ ภาพตามมาตรฐาน การศกึ ษาของสถานศกึ ษา โดยความร่วมมือของผู้ท่มี ีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย และผทู้ ่ีมสี ว่ นเก่ียวข้องร้อยละ 90 ขึ้นไป มีความพึงพอใจในการบริหารและการจัดการ ดำเนินงานพัฒนาวิชาการทีเ่ น้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน ตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย เชื่อมโยงกับชีวิตจริง พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความ เชย่ี วชาญทางวิชาชีพ ตรงตามความต้องการของครู และสถานศกึ ษา จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคม ที่เอื้อต่อการจัดการเรยี นรูอ้ ยา่ งมีคุณภาพ และมีความปลอดภัยจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนบั สนุน การบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา และมีการส่งเสริมสนับสนนุ ให้ หน่วยงาน องคก์ ร ชมุ ชนภายนอกเข้านอกมามสี ่วนรว่ มในการพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษา ส่งผลให้การประเมินในมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มีผลประเมินอยู่ในระดับ คุณภาพ “ยอดเย่ยี ม” คดิ เปน็ รอ้ ยละ 96.24 ซ่งึ สงู กว่าคา่ เปา้ หมายที่ต้งั ไว้ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ พบว่า ครูและบุคลากร ทางการศึกษาโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ร้อยละ 93.75 มีความสามารถด้านการ จัดการเรียนการสอน โดยมีการวิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้ตัวชีว้ ัด ผลการเรียนรู้เพื่อนำไปจดั ทำ หน่วยการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัดและหรือผลการเรียนรู้ ปรับประยุกต์หลักสูตร รายวิชา และหน่วยการเรียนรู้ และสร้างองค์ความรูใ้ หม่ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ผู้เรียน เรื่อง ท้องถิ่น และสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง มีการประเมินผลการใช้หลักสูตรอย่างเป็นระบบและนำผลการ ประเมินการใช้หลักสูตรมาปรับปรุงพัฒนาให้มีคุณภาพสูงข้ึน การออกแบบหน่วยการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม โดยการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาท้องถิ่นและเหมาะสมกับผู้เรียน มีกิจกรรมการ เรียนรู้ด้วยวิธีการปฏิบัติที่สอดคล้องกับธรรมชาติของสาระการเรียนรู้ สำหรับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นท่ี หลากหลาย ตรงตามความถนัดและความสนใจของผู้เรียนอย่างทั่วถึงครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย จำนวน ทั้งสิ้น 44 หลักสูตร และมีการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะอาชีพโดยมีการจัดทำหลักสูตรทวิศึกษาและบันทึก

ค ข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับวิทยาลัยการอาชีพจอมทอง ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ได้แก่ สาขาการบัญชี สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สาขาการท่องเที่ยว และสาขาช่างเชื่อมโลหะ จำนวนทั้งสิ้น 4 สาขา แผนการเรียนสำหรับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่หลากหลาย ตรงตามความถนัดและความสนใจของผู้เรียน อย่างทั่วถึงครอบคลุมทุกกลุ่มเปา้ หมาย จำนวนทั้งสิ้น 6 กลุ่มวิชา พร้อมทัง้ ครไู ด้มกี ารจัดทำแผนการจัดการ เรียนรู้ โดยใช้กลยทุ ธ์ รปู แบบ เทคนคิ และวิธีการท่ีเน้นวธิ กี ารปฏบิ ัติมคี วามหลากหลาย มกี ารพัฒนาและใช้สื่อ นวัตกรรมเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ ครูนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในกระบวนการจัดการ เรียนการสอนในชั้นเรียน เช่น การใช้ Zoom , Google Form , Google sheet , Line , Facebook การ วัดผลและประเมินผลที่หลากหลายตามบริบทของรายวิชา และนำผลการประเมินมาศึกษาร่วมกับ กระบวนการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อปรับปรุงพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพสูงขึ้น ครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ร้อยละ 96.32 มีความสามารถด้านการบริหารจัดการช้นั เรยี น โดยมกี ารจดั สภาพแวดล้อมบรรยากาศที่เออื้ ต่อการเรยี นรู้ มคี วามความปลอดภยั และมคี วามสุข ส่งเสริม ให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิด มีทักษะชีวิตและทักษะการทำงานอบรมบ่มนิสัยให้ผู้เรียนมีคณุ ธรรมจริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค่านิยมที่ดีงาม ปลูกฝังความเป็นประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข เสรมิ แรงให้ผู้เรียนมคี วามมัน่ ใจในการพัฒนาตนเองเต็มตามศักยภาพเกิดแรงบันดาลใจ เปน็ แบบอย่าง ที่ดี มีการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ จัดทำและใช้สารสนเทศของผู้เรียนในระบบดูแลช่วยผู้เรียนมี โครงการและจัดกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ดว้ ยวธิ กี ารที่หลากหลายในการดแู ลช่วยเหลือผูเ้ รียน ส่งเสริม ป้องกัน และแก้ปัญหาผู้เรียนอย่างเป็นระบบ เป็นแบบอย่างที่ดีและเป็นผู้นำได้ มีการจัดทำข้อมูลสารสนเทศ และ เอกสารประจำชั้นเรียนหรือประจำวิชาอย่างเป็นระบบ ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน พร้อมทั้งครูและบุคลากร ทางการศึกษาโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ ร้อยละ 94.74 มีความสามารถด้านการพัฒนา ตนเองและพัฒนาวิชาชีพ ยังรับโอกาสในการพัฒนาตนเองด้านวิชาชีพอยา่ งต่อเนื่อง ผ่านการจัดทำแผนการ พัฒนาตนเอง มีการพัฒนาตนเองตามแผน นำความรู้ความสามารถทกั ษะทีไ่ ด้จากการพัฒนาตนเองมาพัฒนา นวตั กรรมการจดั การเรยี นรู้ที่สง่ ผลต่อคุณภาพผู้เรียน สรา้ งองคค์ วามร้ใู หม่ท่ไี ด้จากการพัฒนาตนเอง และการ เข้ารว่ มชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (PLC) นำองค์ความร้ทู ี่ได้จากการเขา้ ร่วมชมุ ชนการเรียนรูทางวิชาชีพ ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน และสร้างนวัตกรรมทีไ่ ดจ้ ากการเข้ารว่ มในชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ สร้าง เครอื ข่ายชุมชนการเรียนรทู้ างวิชาชพี สร้างวัฒนธรรมทางการเรยี นรใู้ นสถานศกึ ษาใหม้ ีประสทิ ธภิ าพย่งิ ขึ้น ส่งผลให้การประเมินในมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ มีผล ประเมนิ อยู่ในระดบั คุณภาพ “ยอดเยย่ี ม” คดิ เป็นร้อยละ 94.74 ซงึ่ สูงกวา่ คา่ เปา้ หมายที่ต้ังไว้ หลกั ฐานสนบั สนนุ ผลการการดำเนนิ งาน 1. แบบประเมนิ คณุ ภาพผเู้ รยี นด้านผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน 2. แบบประเมินคุณภาพผ้เู รยี นด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 3. แบบประเมินทกั ษะดำรงชีวติ ของผูเ้ รียน 3. แบบรายงานสรุปผลสัมฤทธข์ิ องผเู้ รียน

ง 4. แบบรายงานผลการปฏบิ ัติงานของครู (SAR) 5. แบบรายงานสรปุ ผลการทดสอบ RT NT และ O-Net ของผู้เรียน 6. โครงงานพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น ทกุ กลมุ่ สาระฯ 7. แบบประเมนิ ความพึงพอใจกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 8. แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาระยะ 3 ปี (พ.ศ.2562-2564) 9. แผนปฏิบัติการประจำปกี ารศกึ ษา 2563 10. หลกั สตู รสถานศกึ ษา 11. ข้อมูลคณะศึกษาดงู านในโรงเรยี น 12. โล่และเกียรตบิ ตั รรางวลั ทไี่ ดร้ บั 13. นวตั กรรม Checkin.rpk31 14. แบบรายงานการนิเทศครูผ้สู อนตามแบบ ว.21 15. แบบประเมนิ ตนเองของครผู สู้ อน 16. แฟ้มสะสมผลงาน ว.21 17. แผนการจดั การเรยี นรู้ของครูผูส้ อน 18. แบบรายงานการสร้างและพฒั นาสอื่ นวัตกรรม เทคโนโลยที างการศึกษาของครผู ู้สอน 19. แบบรายงานวิจัยในชน้ั เรียนของครผู ู้สอน 20. แบบรายงานการพัฒนาตนเอง (ID – Plan) 21. แบบบันทึกชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชพี แผนพฒั นาเพื่อใหไ้ ดม้ าตรฐานท่สี งู ข้นึ 1. พฒั นาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของผูเ้ รยี นใหส้ งู กวา่ คา่ เป้าหมายทสี่ ถานศึกษากำหนด 2. พัฒนาความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณให้สูงกว่าค่าเป้าหมายท่ี สถานศกึ ษากำหนด 3. พัฒนาความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแกป้ ัญหาใหส้ งู กวา่ คา่ เป้าหมายท่ีสถานศึกษากำหนด 4. พัฒนาความสามารในการสรา้ งนวตั กรรมของผู้เรยี นใหส้ งู กว่าคา่ เป้าหมายท่ีสถานศึกษากำหนด 5. พัฒนาการมคี ณุ ลกั ษณะ คา่ นยิ ม และอัตลักษณข์ องนกั เรยี นทด่ี ีให้สงู กว่าค่าเปา้ หมายที่สถานศกึ ษากำหนด 6. พัฒนาดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุก กลุ่มเปา้ หมาย 7. พัฒนาครูและบุคลกรให้มคี วามเชยี่ วชาญทางวิชาชพี 8. พัฒนาการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้/แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล/แผนการสอนรายบุคคล/ แผนการจัดประสบการณ์ 9. พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียนอย่างรอบด้าน 10. พฒั นาการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และการวิจัยเพอ่ื พัฒนาการเรียนรู้ 11. พัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรูช้ ุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (PLC)

จ สรุปผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ ประจำปกี ารศึกษา 2563 ตามที่โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ได้ดำเนินการประเมินคุณภาพภายใน สถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2563 ตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกาศของ กระทรวงศกึ ษาธิการ โดยจดั ทำรายงานประจำปีเสนอตอ่ หน่วยงานต้นสงั กัด หนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวข้อง และเสนอ ต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพ ภายนอก บดั นีก้ ารดำเนนิ การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาเสร็จเรยี บร้อยแล้ว จึงขอเสนอผลการประเมิน คณุ ภาพภายในสถานศึกษา แสดงในตาราง สรปุ ผลได้ดังนี้ มาตรฐานการศึกษา : ระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน สรปุ ผลการประเมนิ ภาพรวม  กำลังพัฒนา  ปานกลาง  ดี  ดีเลิศ  ยอดเย่ยี ม มาตรฐาน/ตวั บ่งชี้ ระดับคุณภาพ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผู้เรียน ยอดเยยี่ ม มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ยอดเยย่ี ม มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั ยอดเยี่ยม ยอดเยยี่ ม รวม 3 มาตรฐาน

ฉ ความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา การพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2563 สถานศึกษามีภาระหน้าที่จะต้องดำเนินการ ตามพระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ที่กำหนดไว้ ชัดเจนในมาตรา 48 และตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพ พ.ศ.2561 ข้อ 3 ให้สถานศึกษามีการจัดทำ รายงานพัฒนาคณุ ภาพเสนอตอ่ หน่วยงานต้นสังกัดเป็นประจำทุกปี ดังน้นั โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ จงึ ได้ดำเนนิ การประชุมหารือคณะกรรมการ สถานศึกษา และคณะครู ตลอดจนได้แนวปฏิบตั ิ พรอ้ มท้งั ไดด้ ำเนนิ การรวบรวมข้อมลู ผลงาน ซ่ึงทางโรงเรียน ได้ดำเนินกิจกรรมตามสาระการเรียนรู้ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทุกชั้นในรอบปีการศึกษา ในการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 คณะกรรมการสถานศึกษา ไดใ้ ห้ความเหน็ ชอบและผ่านความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาเปน็ ทีเ่ รียบร้อยแล้ว ( นายกฤษฏ์ิ พยัคกาฬ ) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษา โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ วันที่ 3 เดอื น มิถุนายน พ.ศ. 2564

ช คำนำ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2563 ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จัดทำขึ้นเพื่อรายงานผลการปฏิบัติงานของ สถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา 2563 เพื่อเป็นข้อมูลในการ พัฒนาและยกระดบั คุณภาพมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาใหส้ งู ข้ึนอยา่ งต่อเนือ่ งเปน็ ประจำทุกปี เนื้อหาสาระของเอกสารประกอบดว้ ย บทสรปุ สำหรบั ผู้บรหิ าร ข้อมูลพนื้ ฐานของสถานศึกษา ผลการ ปฏบิ ัติงานของสถานศึกษา สรปุ ผล แนวทางการพัฒนา และความตอ้ งการการช่วยเหลือ การปฏิบัติที่เป็นเลิศ ของสถานศกึ ษา และภาคผนวกของทงั้ 3 มาตรฐาน โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ขอขอบคุณผู้อำนวยการโรงเรียน คณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียน คณะครู ผู้ปกครองชุมชน และผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนทีร่ ่วมพัฒนา ร่วม ประเมินคุณภาพ และร่วมจัดทำรายงานรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ฉบับน้ีให้สมบูรณ์ครบถ้วน และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ข้อมูล สารสนเทศ และข้อเสนอแนะใน รายงานนี้ จะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษให้สูงขึ้น ตอ่ ไป ( นายอดิศร แดงเรอื น ) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ วนั ท่ี 3 เดอื น มถิ นุ ายน พ.ศ. 2564

ซ สารบญั หน้า บทสรปุ สำหรับผ้บู รหิ าร....................................................................................................................... ก สรุปผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา ประจำปีการศกึ ษา 2563........................................... จ ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษา...................................................................................... ฉ คำนำ................................................................................................................................................... ช สารบัญ................................................................................................................................................ ซ สว่ นท่ี 1 ข้อมูลพ้นื ฐานของสถานศกึ ษา............................................................................................... 1 1. ข้อมูลทัว่ ไป................................................................................................................................ 1 2. ข้อมูลผู้บรหิ าร........................................................................................................................... 2 3. ข้อมลู ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา......................................................................................... 3 4. ข้อมูลนกั เรยี น........................................................................................................................... 9 5. ข้อมลู อาคารสถานท.ี่ ................................................................................................................. 12 6. ข้อมลู สภาพชุมชนโดยรวม........................................................................................................ 13 7. โครงสร้างหลักสตู รสถานศกึ ษา................................................................................................. 14 8. แหลง่ เรยี นรู้ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ................................................................................................. 14 9. ผลงานดเี ด่นสถานศึกษา ผู้บริหาร ครูและนกั เรยี นในรอบปที ผ่ี ่านมา...................................... 16 10. ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาในปีท่ีผ่านมา……………………………………………….. 21 11. ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสาม……………………………………………………………………. 23 12. การนำผลการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษามาใช้ในการปรบั ปรุง และพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างตอ่ เน่อื ง………………………………………………………………….. 25 13. การพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาตามแผนปฏิบัตกิ ารประจำปีของสถานศกึ ษา…………….. 26 14. งบประมาณ……………………………………………………………………………………………………………… 29 ส่วนท่ี 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา.................................................................................. 34 1. ผลการประเมนิ คณุ ภาพตามมาตรฐานการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน........................................................................................................ 34 มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผู้เรียน.......................................................................................... 34 มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ.......................................................... 49 มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผ้เู รยี นเปน็ สำคญั ……………………. 60

ฌ สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ ส่วนท่ี 3 สรุปผลและแนวทางการพฒั นา............................................................................................ 71 สรปุ ผล........................................................................................................................................ 71 แนวทางการพัฒนา...................................................................................................................... 67 ความต้องการชว่ ยเหลือ............................................................................................................... 78 ส่วนที่ 4 การรับรองผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานของสถานศึกษา.............................. 79 ภาคผนวก........................................................................................................................................... 80 ภาคผนวก ก ด้านคณุ ภาพผู้เรียน ภาคผนวก ข ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ภาคผนวก ค ดา้ นกระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั ภาคผนวก ง ประกาศแต่งต้งั คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ภาคผนวก ฉ ประกาศมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ภาคผนวก ช คำสั่งแตง่ ตัง้ คณะทำงาน

1 สว่ นที่ 1 ข้อมลู พนื้ ฐานของสถานศึกษา 1. ข้อมูลทวั่ ไป ชือ่ สถานศึกษา : โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ ทอี่ ยู่ : ต้งั อยู่เลขที่ 99 หมู่ที่ 10 ตำบลชา่ งเคงิ่ อำเภอแม่แจม่ จังหวดั เชยี งใหม่ รหัสไปรษณยี ์ 50270 โทรศพั ท์ : 053-867-642 โทรสาร : 0-5326-8643 E-mail : [email protected] Website : http://www.rpk31school.ac.th สังกดั : สำนกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร ประวตั คิ วามเปน็ มาโรงเรยี น โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยู่เลขที่ 99 หมู่ 10 ตำบลช่างเคิ่ง อำเภอแม่ แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ เป็นโรงเรียนในสังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ดำเนินการภายใต้การ ประสานงานระหว่างมูลนธิ ริ าชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์รว่ มกบั สำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ สภาพทางภมู ิศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ ต้งั อยูบ่ นเทือกเขาอินทนนท์ บนพื้นที่ 226 ไร่สภาพที่ตั้งเป็นที่สูงแยกจากถนนซึ่งเคยเป็นเส้นทางยุทธศาสตร์ในอดีต ปัจจุบันเป็นเส้นทาง สัญจรระหว่างอำเภอแม่แจ่มไปยังท้องที่ใกล้เคียงสามารถเดินทางได้ทุกฤดูกาล มีอากาศเย็นสบายตลอดปี สภาพอากาศในแต่ละฤดูไม่มีความแตกต่างกันเท่าใดนัก ในฤดูร้อนอากาศไม่ร้อนอบอ้าวจนเกินไป เพราะมี ต้นไม้ข้ึนอยู่หนาแนน่ และอยู่ติดกับแนวป่าซึง่ เชือ่ มต่อกับดอยอินทนนท์ที่มคี วามอุดมสมบูรณ์ และมีความชน่ื สูง มแี หลง่ น้ำธรรมชาติ จากลำหว้ ยเหนือหมู่บ้านซ่งึ ไหลมาจากเทอื กเขาถนนธงชยั สามารถนำมาอุปโภคและ บริโภคได้ หมู่บ้านที่อยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงโรงเรียน ได้แก่ หมู่บ้านแม่ปาน หมู่บ้านสันเกี๋ยง หมู่บ้านห้วยริน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนา ทำสวน ทำไร่ข้าวโพด ปลูกถั่วเหลือง ประกอบการค้าขนาดเล็ก บริการสินค้าในหมู่บ้านในการยังชีพ เส้นทางที่จะเข้าสู่โรงเรียนมีทั้งหมด 2 สาย คือ สายอินทนนท์และสาย อำเภอฮอด โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ห่างจากตัวอำเภอแม่แจ่มเป็นระยะทาง 7 กโิ ลเมตร และหา่ งจากตวั เมืองเชียงใหม่เป็นระยะทาง 120 กิโลเมตร การดำเนินงานของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ในระยะเร่ิมแรกพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ มอบหมายให้กรมสามัญศึกษา โดยสำนักงานสามัญศึกษาจังหวัด เชียงใหม่ ดำเนินการขอใช้พื้นที่ป่าเสื่อมโทรมกับกรมป่าไม้ และได้รับอนุญาตให้ใช้พ้ืนที่ป่า จำนวน 226 ไร่ สำหรับก่อสร้างโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศจัดตั้งโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัด เชยี งใหม่ เม่ือวนั ที่ 30 กันยายน พ.ศ.2541 เป็นโรงเรยี นประเภทศึกษาสงเคราะห์ เป็นโรงเรียนแบบอยปู่ ระจำ รับเด็กนักเรียนทีย่ ากไร้ทางเศรษฐกิจด้อยโอกาสทางการศึกษาทางสังคม และทางภูมิศาสตร์ เปิดสอนตั้งแต่ ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ถงึ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 จำนวนทั้งหมด 30 ห้องเรียน

2 2. ขอ้ มูลผบู้ รหิ าร ผู้อำนวยการสถานศกึ ษา ชอื่ - สกุล นายอดิศร แดงเรือน วุฒิการศึกษาสูงสดุ ปรญิ ญาโท สาขา บริหารการศกึ ษา โทรศพั ท์ 089 – 8554309 E-mail : - ดำรงตำแหน่งต้งั แต่ พ.ศ. 2563 จนถึงปจั จบุ นั เป็นเวลา 6 เดอื น รองผู้อำนวยการสถานศกึ ษา จำนวน 4 คน 1) ช่อื -สกลุ นายวิเศษ ฟองตา วฒุ กิ ารศึกษาสูงสุด ปริญญาโท สาขา บรหิ ารการศกึ ษา โทรศัพท์ 093 – 7134455 E-mail : [email protected] รับผดิ ชอบฝ่ายงาน บริหารงานวชิ าการ 2) ชอ่ื -สกลุ นายธัชพล รกั งาน วฒุ กิ ารศึกษาสูงสุด ปริญญาโท สาขา บรหิ ารการศกึ ษา โทรศัพท์ 085 - 0403210 E-mail : [email protected] รบั ผดิ ชอบฝ่ายงาน แผนงานและงบประมาณ 3) ชอื่ -สกุล นางผ่องรวี จนั ทร์สม วฒุ กิ ารศกึ ษาสูงสดุ ปริญญาโท สาขา บรหิ ารการศกึ ษา โทรศพั ท์ 093 - 5250519 E-mail : [email protected] รบั ผดิ ชอบฝา่ ยงาน กิจการนักเรียน 4) ชื่อ-สกลุ นางสุภัสสร ศรสี วัสด์ิ วุฒิการศกึ ษาสงู สดุ ปรญิ ญาโท สาขา บริหารการศกึ ษา โทรศัพท์ 095 - 8541788 E-mail : [email protected] รบั ผิดชอบฝ่ายงาน บริหารงานบคุ คล ผู้ช่วยผูอ้ ำนวยการสถานศึกษา จำนวน 1 คน 1) ชือ่ -สกุล นายลิปปกร เหมอื งคำ วุฒิการศึกษาสูงสดุ ปริญญาโท สาขา การบริหารการศกึ ษา โทรศพั ท์ 081 - 0240100 E-mail : [email protected] รับผดิ ชอบฝา่ ยงาน บรหิ ารงานอาคารสถานท่ี

3 3. ข้อมูลครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา 3.1 ขา้ ราชการครู จำนวน 44 คน ที่ ชอ่ื -สกุล อายุ อายุ ตำแหนง่ / วุฒิ สาขาวชิ า สอนกล่มุ สาระ วิทยฐานะ การเรยี นร้/ู ชนั้ (ป)ี ราชการ (ปี) 1 นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง 46 22 ครูชำนาญการ ป.โท การสอนฟสิ ิกส์ วิทยาศาสตร์ฯ 2 นางสาวรตั ตกิ าล ยศสขุ 44 21 ครชู ำนาญการ ป.โท จิตวทิ ยาการศึกษา กิจกรรมแนะแนว 3 นางพิกุล เหมืองคำ 50 25 ครชู ำนาญการ ป.ตรี ภาษาองั กฤษ ภาษาตา่ งประเทศ 4 นายศรีมลู สมบุตร 52 16 ครชู ำนาญการ ป.ตรี สงั คมวทิ ยา สงั คมศึกษาฯ 5 นางสาววรรณภรณ์ ทิพย์สอน 39 14 ครูชำนาญการ ป.ตรี ภาษาไทย ภาษาไทย 6 นายลปิ ปกร เหมอื งคำ 52 12 ครชู ำนาญการ ป.โท การบริหารการศกึ ษา ศลิ ปศกึ ษา 7 นางสาวปณั ชดา ไชยมงคล 43 11 ครูชำนาญการ ป.ตรี คหกรรมศาสตร์ การงานอาชพี คหกรรม 8 นางสาวเชาวนี บุญรัง 40 6 ครู คศ. 1 ป.โท การบริหารการศึกษา สขุ ศกึ ษาพลศกึ ษา 9 นายนิกร ไชยบุตร 45 6 ครู คศ. 1 ป.โท การบริหารการศึกษา สงั คมศึกษาฯ 10 นางสาววรี ร์ ศั ม์ิ สิทธพิ ิพฒั 39 5 ครู คศ. 1 ป.ตรี คหกรรมศาสตร์ การงานอาชีพ นานันท์ คหกรรม 11 ว่าท่ี ร.ต. กนกอร วงศ์ษา 34 4 ครู คศ. 1 ป.ตรี การบญั ชี การงานอาชพี พาณชิ ยกรรม 12 นางสาวรักชนก วงษซ์ อ่ื 33 4 ครู คศ. 1 ป.ตรี คณติ ศาสตร์ คณติ ศาสตร์ 13 นางสาวฐติ ารัตน์ คัมภรี ะ 35 4 ครู คศ. 1 ป.ตรี อุตสาหกรรมบณั ฑติ / วิทยาศาสตร์และ วศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์ เทคโนโลยี 14 นางสาวศิรมิ า เมฆปจั ฉาพิชิต 29 4 ครู คศ. 1 ป.ตรี สงั คมศึกษา สงั คมศกึ ษา 15 นายนราวุฒิ ริยะนา 48 4 ครู คศ. 1 ป.ตรี การสอนภาษาไทย ภาษาไทย 16 นางสาวปัทมา ปล่ังเปลอื ง 34 3 ครู คศ. 1 ป.ตรี การบญั ชี การงานอาชีพ พาณิชยกรรม 17 นายวรี วชิ ญ์ สถติ ทา่ ผาพัฒนา 37 3 ครู คศ. 1 ป.ตรี พลศึกษา สขุ ศกึ ษาพลศกึ ษา 18 นางสาวปวริศา ก๋าวงศว์ นิ 31 3 ครู คศ. 1 ป.ตรี คณิตศาสตร์ คณติ ศาสตร์ 19 นางสาวปารชิ าติ สิงคำโล 38 3 ครู คศ. 1 ป.ตรี วิทยาการ วิทยาศาสตรแ์ ละ คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยี 20 นางสาวอนสุ รา แสนอุบล 27 2 ครู คศ. 1 ป.ตรี การศึกษาพิเศษและ ภาษาต่างประเทศ ภาษาองั กฤษ 21 นายณฐั วุฒิ นามเดช 26 2 ครู คศ. 1 ป.ตรี การศึกษาพเิ ศษและ ภาษาตา่ งประเทศ ภาษาองั กฤษ 22 นายวรวฒุ ิ อรชุน 37 2 ครู คศ. 1 ป.ตรี อุตสาหกรรมศาสตร การงานอาชีพ บัณฑติ อตุ สาหกรรม 23 นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ 27 2 ครู คศ. 1 ป.ตรี ฟิสิกส์ วทิ ยาศาสตรแ์ ละ อยุธยา เทคโนโลยี 24 นางสาวธนัญภรณ์ ธรรมใจ 40 1 ปี ครผู ชู้ ่วย ป.ตรี บญั ชี การงานอาชพี 8 เดือน พาณิชยกรรม 25 นายอศั นัย กันงาม 34 1 ปี ครูผชู้ ว่ ย ป.ตรี นาฏศิลป์ ศลิ ปศึกษา 8 เดือน

4 ที่ ชอ่ื -สกลุ อายุ อายุ ตำแหนง่ / วุฒิ สาขาวชิ า สอนกลุ่มสาระ 26 นายชลาพันธ์ ดวงปากดี ราชการ วทิ ยฐานะ ป.โท การบรหิ ารการศกึ ษา การเรียนร้/ู ชั้น 27 นางสาวกานดา วฒุ ิเศลา (ป)ี ครูผชู้ ว่ ย 28 นางธัญญรตั น์ ศิลาคำ (ปี) ศลิ ปศึกษา 29 นางกมลชนก เทพบุ ครผู ชู้ ่วย 30 นายนา่ นมงคล อนิ ดว้ ง 34 1 ปี 31 นายพงศ์ธร เปงวงศ์ ครผู ชู้ ่วย 32 นายรัตนวชั ร์ เลิศนนั ทรัตน์ 8 เดือน ครผู ชู้ ว่ ย 29 1 ปี ป.ตรี เคมี วทิ ยาศาสตร์และ ครูผชู้ ว่ ย 8 เดือน เทคโนโลยี ครผู ชู้ ว่ ย 33 1 ปี ป.ตรี คอมพวิ เตอรแ์ ละ วิทยาศาสตรแ์ ละ ครูผชู้ ว่ ย 8 เดอื น เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี ครูผชู้ ่วย 35 1 ปี ป.ตรี ฟิสิกส์ วทิ ยาศาสตรแ์ ละ ครผู ชู้ ว่ ย 8 เดอื น ครผู ชู้ ว่ ย เทคโนโลยี 38 1 ปี ครผู ชู้ ว่ ย ป.ตรี สตั วศาสตร์ การงานอาชพี 8 เดือน ครผู ชู้ ว่ ย เกษตร 31 1 ปี ครผู ชู้ ว่ ย ป.ตรี ระบบสารสนเทศทาง วทิ ยาศาสตร์และ ครูผชู้ ่วย 8 เดือน คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยี ครูผชู้ ่วย 39 9 เดอื น ป.ตรี สัตวศาสตร์ การงานอาชพี ครูผชู้ ่วย ครูผชู้ ่วย เกษตร ครูผชู้ ่วย 33 นางอมลสิริ คำฟู 37 9 เดือน ครผู ชู้ ว่ ย ป.ตรี เคมี วิทยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี 34 นายนิทศั น์ อินถานนั ท์ 31 9 เดือน ป.ตรี ศิลปศกึ ษา ศลิ ปศึกษา 35 วา่ ทรี่ อ้ ยตรสี มพงษ์ ตระการ 31 9 เดอื น ป.ตรี เทคโนโลยีการศกึ ษา วิทยาศาสตร์และ ศุภกร เทคโนโลยี 36 นางสาวจนั จริ า ธนันชยั 29 9 เดอื น ป.ตรี ชวี วิทยา วทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี 37 นางสาววันวสิ าข์ อินทะวงศ์ 29 9 เดือน ป.ตรี จิตวทิ ยาการศึกษา กจิ กรรมแนะแนว และการแนะแนว 38 นางลักษณา ไชยบตุ ร 42 9 เดือน ป.ตรี สงั คมศึกษา สังคมศึกษา 28 9 เดอื น 39 วา่ ทร่ี ้อยตรหี ญิงอรวรรณ ป.ตรี ภาษาจีน ภาษาต่างประเทศ เมืองแกว้ 34 9 เดือน ป.ตรี วศิ วกรรมอุตสาหการ การงานอาชีพ 40 นายภวู ิศ มณี อตุ สาหกรรม 41 นางสาวจรี วรรณ ปนิ ตาใส 29 7 เดือน ป.ตรี ภาษาจนี ภาษาต่างประเทศ 42 นางสาวเสาวนีย์ ตะ๊ ต๋า 25 7 เดือน 43 นางสาวศศวิ มิ ล คำดเี จริญ 25 7 เดือน ป.ตรี ภาษาไทย ภาษาไทย 44 นางสาววภิ าวี วลิ าวรรณ 27 7 เดอื น ป.ตรี คณติ ศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ป.ตรี ภาษาอังกฤษ ภาษาต่างประเทศ

5 3.2 พนกั งานราชการ (ปฏบิ ตั ิหน้าท่ีสอน) จำนวน 32 คน ที่ ชอ่ื -สกุล อายุ อายุ ตำแหนง่ วุฒิ สาขาวชิ า สอนกลมุ่ สาระ ทำงาน การเรยี นร้/ู ชนั้ (ป)ี (ป)ี 1 นางสมพร อิน่ ใจ 60 17 พนกั งานราชการ ป.ตรี การศึกษาปฐมวยั ปฐมวยั 2 นายศภุ ากร ทาอวน 47 15 พนักงานราชการ ป.ตรี การศึกษาปฐมวัย การงานอาชีพ อุตสาหกรรม 3 นายเสรี แซ่จาง 36 7 พนกั งานราชการ ป.ตรี ฟสิ กิ ส์ วทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี 4 นางสาวอาภาภรณ์ สอนประเสริฐ 31 4 พนกั งานราชการ ป.ตรี สงั คมศึกษา สงั คมศึกษา 5 นายบุรศิ ร์ กองมะลิ 27 3 พนักงานราชการ ป.ตรี ชวี เคมแี ละชวี เคมี วิทยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี เทคโนโลยี 6 นางสาวเกษร กองจนั ทร์ 35 3 พนกั งานราชการ ป.ตรี การศึกษานอกระบบ กิจกรรมแนะแนว 7 นางสาวอริศรา พุทธวงค์ 30 3 พนกั งานราชการ ป.ตรี ออกแบบอุตสาหกรรม ศิลปศึกษา 8 นางสาวสดุ าภรณ์ สืบบญุ เปย่ี ม 31 3 พนกั งานราชการ ป.ตรี ชีววทิ ยา วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี 9 นางสาวฐิตกิ านต์ โพธินา 29 2 พนกั งานราชการ ป.ตรี คหกรรมศาสตร์ การงานอาชพี คหกรรม 10 นายจกั รพงษ์ แสงแกว้ 30 2 พนกั งานราชการ ป.ตรี เกษตรศาสตร์ การงานอาชีพ เกษตร 11 นางสาวพชั รญดา โอบเออื้ 33 2 พนักงานราชการ ป.ตรี ภาษาไทย ภาษาไทย 12 นางสาวเตชินี หอมนาน 27 2 พนักงานราชการ ป.ตรี การศกึ ษาปฐมวยั ปฐมวยั 13 นายพนิ จิ พลู ผล 26 2 พนกั งานราชการ ป.ตรี อุตสาหกรรมและ การงานอาชีพ เทคโนโลยีศึกษา อตุ สาหกรรม 14 นางสาวจนั ทรจ์ ริ า ภิละคำ 27 1 ปี พนักงานราชการ ป.ตรี นติ ศิ าสตรบณั ฑติ สงั คมศึกษา 8 เดือน 15 นางสาวทศั นา สงั ฆสนั ติคีรี 30 1 ปี พนกั งานราชการ ป.ตรี สาธารณสขุ ศาสตร์ สขุ ศึกษาพลศึกษา 8 เดือน 16 นางสาวจิรชั ญา ชัยธรี ธรรม 29 1 ปี พนกั งานราชการ ป.ตรี วทิ ยาศาสตรศ์ ึกษา วทิ ยาศาสตรแ์ ละ 8 เดือน (ชีววิทยา) เทคโนโลยี 17 นายธีรยทุ ธ ยาน๊ะ 32 1 ปี พนักงานราชการ ป.ตรี การจัดการการท่องเท่ยี ว การงานอาชพี 8 เดอื น และการบริการ พาณิชยกรรม 18 นางสาวจนั ทร์ศริ ิ ครี ีรังสี 34 1 ปี พนกั งานราชการ ป.ตรี การตลาด การงานอาชีพ 7 เดอื น พาณิชยกรรม 19 นายภัทรพงษ์ แคแดง 25 1 ปี พนักงานราชการ ป.ตรี อตุ สาหกรรมและ การงานอาชพี 7 เดอื น เทคโนโลยีศกึ ษา อุตสาหกรรม 20 นายบญุ เสรฐิ จตุธรรมวาที 25 1 ปี พนกั งานราชการ ป.ตรี ภาษาองั กฤษ ภาษาต่างประเทศ 7 เดือน 21 นางสาวฐิติรตั น์ โป่อินทนะ 26 1 ปี พนักงานราชการ ป.ตรี การประถมศกึ ษา ปฐมวัย 7 เดือน 22 นางสาวจริญญา เทพอินทร์ 30 1 ปี พนักงานราชการ ป.ตรี คณติ ศาสตร์ คณติ ศาสตร์ 7 เดือน

6 ท่ี ชอ่ื -สกลุ อายุ อายุ ตำแหน่ง วฒุ ิ สาขาวชิ า สอนกลุ่มสาระ ทำงาน พลศกึ ษา การเรียนร/ู้ ช้ัน (ป)ี (ปี) สุขศึกษาพลศึกษา 23 นางสาวณฐั ธิดา แกว้ คำศรี 29 1 ปี พนกั งานราชการ ป.ตรี 7 เดือน 24 นางสาวมนัสวี ฟองตา 25 1 ปี พนกั งานราชการ ป.ตรี ภาษาไทย ภาษาไทย 5 เดอื น 25 นางสาวศริ วิ รรณ มนุ นิ คำ 27 1 ปี พนกั งานราชการ ป.ตรี ชวี วทิ ยา วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี 5 เดอื น คณิตศาสตร์ คณติ ศาสตร์ คณิตศาสตร์ 26 นางสาววิไลวรรณ ริยะนา 33 6 เดือน พนกั งานราชการ ป.ตรี ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ สงั คมศกึ ษา 27 นางสาวสกาวนภา แสนใหม่ 27 6 เดอื น พนกั งานราชการ ป.ตรี อตุ สาหกรรมท่องเทีย่ ว ภาษาต่างประเทศ สังคมศึกษา 28 นางสาวจริ ชั ยา ธนรุ วิทยา 25 6 เดือน พนักงานราชการ ป.ตรี เกษตรศาสตร์ การงานอาชีพ 29 นางสาวณฐั ธิกา นวลหอม 25 6 เดอื น พนักงานราชการ ป.ตรี ดนตรีศึกษา พาณชิ ยกรรม 30 นางสาวศริ กิ าญจน์ อน่ิ ใจ 34 6 เดือน พนักงานราชการ ป.ตรี การงานอาชีพ เกษตร 31 นายเชิดชู ดำรงเกยี รตพิ นา 24 6 เดือน พนักงานราชการ ป.ตรี ศิลปศึกษา 32 นายเดชนรนิ ทร์ เทิดทูนเมธา 28 6 เดอื น พนักงานราชการ ป.ตรี 3.3 พนักงานจ้าง/ลูกจา้ ง (สนับสนุนการสอน) จำนวน 20 คน ที่ ชอ่ื -สกุล อายุ อายุทำงาน ตำแหน่ง วุฒิ ภาระงาน 1 นางนฤมล จอมธรรม ครูธุรการ (ชม./วัน) (ปี) (ป)ี ป.ตรี ม.3 6 30 1 ป.6 6 ป.4 6 2 นายคำปนั เทพปะนะ 55 7 ลกู จา้ งชั่วคราว (ยามรักษาการณ์) ม.3 6 ป.6 6 3 นางปภาพิณท์ กันทา 43 1 ลกู จา้ งชว่ั คราว (คนครัว) ป.6 6 ม. 6 6 4 นางทองศรี นะที 55 9 ลกู จา้ งชั่วคราว (คนครวั ) ม. 6 6 ม. 6 6 5 นายวิชระ มนทนม 36 1 ลูกจ้างชวั่ คราว (คนครัว) ม.3 6 ม. 6 6 6 นางเดือนเพ็ญ ฟองตา 41 1 ลูกจา้ งชว่ั คราว (คนครัว) ม.3 6 ม. 6 6 7 นายสุทิน รูฉ้ ลาด 45 1 ลูกจ้างชว่ั คราว (คนครวั ) ม. 6 6 ป.6 6 8 นายวิศวา ขนุ แม่รวมสขุ ใจ 38 12 ลูกจ้างชั่วคราว (พเ่ี ลี้ยงเดก็ ) ม. 6 6 6 9 นางสมจันทร์ หมอกใหม่ 45 9 ลกู จ้างชว่ั คราว (พี่เลยี้ งเด็ก) 10 นายอัญชฎา นะที 35 8 ลูกจ้างชว่ั คราว (พี่เลี้ยงเดก็ ) 11 นางนวรตั น์ สมบตุ ร 45 8 ลูกจา้ งช่ัวคราว (พ่เี ล้ยี งเด็ก) 12 นายประหยัด บญุ รัง 44 7 ลกู จา้ งชว่ั คราว (พ่ีเลย้ี งเดก็ ) 13 นายสายนั ห์ บุญรัง 47 5 ลูกจา้ งชว่ั คราว (พ่เี ลี้ยงเด็ก) 14 นายนพิ นธ์ บญุ รงั 48 3 ลูกจา้ งชั่วคราว (พี่เล้ียงเดก็ ) 15 นายปรดี า วรรณคำ 47 3 ลกู จา้ งชว่ั คราว (พเ่ี ล้ยี งเด็ก) 16 นายอภิวัฒน์ สปุ ิณะ 45 3 ลกู จา้ งชว่ั คราว (พี่เลี้ยงเดก็ ) 17 นายศริ พิ งษ์ จรยิ า 24 2 ลกู จา้ งชั่วคราว (พ่ีเลี้ยงเดก็ )

7 ที่ ชอ่ื -สกลุ อายุ อายุทำงาน ตำแหนง่ วฒุ ิ ภาระงาน (ชม./วัน) (ปี) (ป)ี ลกู จา้ งช่วั คราว (พเี่ ลย้ี งเด็ก) ลกู จา้ งชั่วคราว (พเี่ ลย้ี งเดก็ ) 18 นางอารรี ตั น์ บญุ รงั 44 2 ลูกจ้างช่ัวคราว (พเ่ี ลย้ี งเดก็ ) ปวส. 6 19 นางสาวณนิ ภาพร คำธิ 23 1 ป.6 6 20 นางสาวนงลักษณ์ เทพปะนะ 23 1 ป.ตรี 6 3.4 สรปุ จำนวนบุคลากร 3.4.1 จำนวนบุคลากรจำแนกตามประเภท/ตำแหนง่ และวุฒกิ ารศึกษา ประเภท/ตำแหนง่ ตำกว่า จำนวนบุคลากร (คน) ปรญิ ญาเอก รวม ปรญิ ญาตรี 1. ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ปริญญาตรี ปริญญาโท - 1 - ผู้อำนวยการ - - 4 - รองผ้อู ำนวยการ - -1 - 5 รวม - -4 -5 - 44 2. สายงานการสอน - - 32 - ข้าราชการครู - 38 6 - 76 - พนกั งานราชการ - 32 - รวม 70 6 - 1 - - 1 3. สายงานสนับสนุนการสอน 1 1- - 5 - ครธู รุ การ 5 -- - 13 - ยามรกั ษาการณ์ 12 -- - 20 - คนครัว 18 1- - 101 - พี่เลย้ี งเด็ก 18 2- รวม 72 11 รวมทั้งสน้ิ แผนภูมแิ สดงร้อยละของครูและบุคลากร แผนภมู แิ สดงรอ้ ยละของครูและบคุ ลากร จาแนกตามตาแหนง่ จาแนกตามวิทยฐานะ 20% 5% ผู้บริหารสถานศึกษา 0% ครูชานาญการพเิ ศษ 75% สายงานการสอน 9% ครชู านาญการ สายงานสนับสนุนการสอน ครู 42% 21% ครูผู้ช่วย พนักงานราชการ 28%

แผนภูมแิ สดงรอ้ ยละของครแู ละบุคลากร 8 จาแนกตามวุฒิการศกึ ษาสงู สดุ แผนภูมแิ สดงร้อยละของครูและบุคลากร จาแนกตามเพศ 11%0% 18% ตากวา่ ปริญญาตรี 39% เพศชาย 71% ปริญญาตรี 61% เพศหญงิ ปริญญาโท ปริญญาเอก 3.4.2 จำนวนครูจำแนกตามกลมุ่ สาระการเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ จำนวนครู (คน) คดิ เปน็ ร้อยละ จำนวนชว่ั โมง/สัปดาห์ 6.58 ภาษาไทย 5 7.89 21.05 คณติ ศาสตร์ 6 9.21 5.26 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 16 7.89 23.68 สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 7 5.26 3.95 สุขศึกษาและพลศึกษา 4 7.89 6.58 ศิลปะ 6 10.53 3.95 การงานอาชพี 18 3.95 100.00 - เกษตร 4 - คหกรรม 3 - พาณิชกรรม 6 - อุตสาหกรรม 5 ภาษาตา่ งประเทศ 8 ปฐมวยั 3 กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น (แนะแนว) 3 รวมครูผสู้ อนทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้ 76 แผนภูมิแสดงรอ้ ยละของครจู าแนกตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้ 4% ปฐมวยั 10% 4% 7% ภาษาไทย คณิตศาสตร์ 8% วิทยาศาสตร์ 24% 21% สงั คมฯ สุขศกึ ษาฯ 8% 5% 9% ศิลปะ การงานอาชพี ฯ

9 4. ขอ้ มูลนกั เรียน (ขอ้ มลู ณ วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ.2564) 4.1 จำนวนนักเรียนในโรงเรียน ปีการศกึ ษา 2563 ทั้งส้นิ 823 คน จำแนกตามระดับชนั้ ทีเ่ ปิดสอน ระดับชั้น จำนวน เพศ รวม จำนวนเฉล่ีย หอ้ ง ชาย หญิง ต่อหอ้ ง ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 1 5 2 7 7 ประถมศึกษาปที ี่ 2 1 8 7 15 15 ประถมศกึ ษาปีที่ 3 1 4 5 9 9 ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 1 6 6 12 12 ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 1 6 13 19 19 ประถมศกึ ษาปีที่ 6 1 5 10 15 15 รวม 6 34 43 77 13 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 4 56 84 140 35 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 4 35 91 126 32 มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 4 28 92 120 30 มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 4 31 113 144 36 มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 4 16 103 119 30 มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 4 16 81 97 24 รวม 24 182 564 746 31 รวมท้งั ส้ิน 30 216 607 823 27 จำนวนเดก็ พเิ ศษในโรงเรียน ชาย 16 คน หญิง 13 คน รวมจำนวน 29 คน อัตราสว่ นนกั เรียน : ครรู ะดบั ประถมศึกษา = 11 : 1  เป็นไปตามเกณฑ์  ไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑ์ อตั ราสว่ นนักเรยี น : ครูระดบั มธั ยมศึกษา = 11 : 1  เป็นไปตามเกณฑ์  ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ แผนภมู จิ านวนนกั เรียนในโรงเรียน ปีการศกึ ษา 2563 ท้งั หมด 823 คน จาแนกตามระดบั ชั้นทเี่ ปิดสอน 120 113 103 100 84 91 92 81 80 60 56 40 35 28 31 20 5 2 8 7 4 5 6 6 6 13 5 10 16 16 0 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 ชาย หญงิ

10 4.2 จำนวนนักเรียน เปรยี บเทียบ 3 ปกี ารศึกษาย้อนหลงั ปกี ารศึกษา 2561 – 2563 ระดับชัน้ ปกี ารศกึ ษา 2561 ปกี ารศึกษา 2562 ปกี ารศึกษา 2563 ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ประถมศกึ ษาปีที่ 2 6 14 7 ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 10 8 15 ประถมศึกษาปที ี่ 4 15 9 9 ประถมศึกษาปีที่ 5 14 18 12 ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 12 17 19 25 23 15 รวม 82 89 77 มัธยมศึกษาปีที่ 1 134 138 140 มัธยมศึกษาปีท่ี 2 132 132 126 มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 100 121 120 366 391 386 รวม 109 134 144 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 120 104 119 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 120 126 97 มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 349 364 360 รวม 797 844 823 รวมทงั้ สน้ิ

11 แผนภูมิเปรียบเทียบจานวนนกั เรยี นระดับช้นั ประถมศกึ ษา ระหว่างปกี ารศึกษา 2561 - 2563 ปกี ารศึกษา 2563 ปกี ารศึกษา 2562 ปีการศกึ ษา 2561 ประถม 1 7 ประถม 2 14 ประถม 3 ประถม 4 6 ประถม 5 ประถม 6 8 15 10 มัธยม 1 มธั ยม 2 9 มธั ยม 3 9 มธั ยม 4 มธั ยม 5 15 มธั ยม 6 12 18 14 19 17 12 15 23 25 แผนภมู ิเปรยี บเทียบจานวนนกั เรียนระดับช้นั มธั ยมศึกษา ระหว่างปกี ารศกึ ษา 2561 - 2563 ปีการศึกษา 2563 ปีการศกึ ษา 2562 ปกี ารศกึ ษา 2561 140 138 134 126 132 132 120 121 100 144 134 109 119 104 120 97 126 120

12 4.3 ขอ้ มลู นกั เรียนด้านอ่ืน ๆ ท่ี รายการ จำนวน คิดเปน็ (คน) รอ้ ยละ* 1. จำนวนนักเรียนที่มที กั ษะการดำรงชีวิตในโรงเรียนประจำ รวมท้งั สามารถ 823 100.00 นำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวันได้ 2. จำนวนนักเรียนทม่ี คี วามรู้ ความสามรถ ในทักษะอาชีพ เพ่อื เป็นแนวทาง 823 100.00 ในการนำไปประกอบอาชีพในอนาคต 3. จำนวนนักเรยี นมนี ำ้ หนกั สว่ นสูง และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ 823 100.00 รวมทงั้ รู้จักดูแลตนเองให้มคี วามปลอดภยั 4. จำนวนนักเรยี นทป่ี ลอดจากปญั หาทางเพศ ยาเสพติด และสิ่งมอมเมา 793 96.35 เช่น สรุ า บหุ ร่ี เครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอล์ เกม ฯลฯ 5. จำนวนนกั เรยี นทม่ี ีความบกพร่องทางร่างกาย/เรยี นร่วม 29 3.52 6. จำนวนนกั เรียนมภี าวะทุพโภชนาการ 0 0.00 7. จำนวนนักเรียนทม่ี ีปัญญาเลิศ 80 9.72 8. จำนวนนักเรียนที่ตอ้ งการความชว่ ยเหลือเปน็ พิเศษ 500 60.75 9. จำนวนนักเรียนที่ออกกลางคัน (ปกี ารศึกษาปัจจุบัน) 0 0.00 10. จำนวนนักเรยี นทมี่ เี วลาเรียนไม่ถงึ รอ้ ยละ ๘๐ 0 0.00 11. จำนวนนักเรยี นที่เรยี นซำ้ ชนั้ 0 0.00 12. จำนวนนกั เรียนทจี่ บหลักสูตร ประถมศึกษา 15 100.00 มธั ยมศึกษาตอนต้น 120 100.00 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 97 100.00 *หมายเหตุ : ร้อยละของนกั เรียนทงั้ หมด จำนวน 823 คน (ขอ้ มูลณ วันที่ 31 มนี าคม พ.ศ.2564) 5. ขอ้ มลู อาคารสถานที่ อาคารเรยี นและอาคารประกอบ จำนวน 89 หลงั ได้แก่ อาคารเรยี น 5 หลงั เรือนนอน 14 หลงั อาคารอเนกประสงค์ 70 หลัง ท่ี รายการ จำนวน 1 อาคารเรียน 5 หลงั 2 อาคารประกอบ 2 หลงั 3 หอประชมุ /โรงอาหาร 1 หลัง 4 หอประชมุ 1 หลัง 5 หอพกั นักเรียน 16 หลงั 6 หอพกั ครู 3 หลงั

13 ท่ี รายการ จำนวน 7 บา้ นพักครู 4 หลัง 8 ห้องน้ำ/ห้องสว้ ม 20 หลงั 9 สนามเดก็ เลน่ 1 สนาม 10 สนามกีฬา 1 สนาม ภาพแผงผังโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ 6. ข้อมูลสภาพชมุ ชนโดยรวม 6.1 สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะหมู่บ้านขนาดเล็ก มีประชากรประมาณ 500 คน บริเวณ ใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ไดแ้ ก่ หมบู่ า้ นแมป่ าน หมู่บา้ นสันเกย๋ี ง หมู่บ้านหว้ ยริน อาชีพหลักของชมุ ชน คือ ทำ นา ทำสวน ทำไรข่ ้าวโพด ปลกู ถว่ั เหลือง ประกอบการคา้ ขนาดเล็ก บรกิ ารสินค้าในหมู่บา้ นในการยังชีพ ส่วน ใหญ่นบั ถอื ศาสนาพุทธ ประเพณ/ี ศลิ ปวัฒนธรรมทอ้ งถิ่นที่เป็นทีร่ ู้จกั โดยท่วั ไป คือ ประเพณผี า้ ซิ่นตีนจก 6.2 ผูป้ กครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดบั ประถมศึกษา อาชพี หลกั คือ ทำนา ทำสวน ทำไรข่ ้าวโพด ปลูก ถั่วเหลือง ส่วนใหญ่นับถือศาสนา คริสต์ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้โดยเฉลี่ยต่อครอบครัว ต่อปี 30,000 – 60,000 บาท 6.3 โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรยี น โอกาส อยู่ในพื้นที่ชุมชนใกล้หมู่บ้าน วัด ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนจากชุมชน ผู้นำชุมชน องค์กร ปกครองส่วนทอ้ งถ่ินเป็นอยา่ งดี ข้อจำกดั 1. นำ้ ประปาท่ีใช้สอยมีอยา่ งจำกัดไมพ่ อใช้ในฤดูรอ้ น ชว่ งเดอื นมีนาคมต้องรบี ปดิ ภาคเรียน เพื่อปล่อยนักเรียนกลับบ้าน และมีการซอ่ มทอ่ ประปาบ่อยครั้ง เนื่องจากโรงเรยี นเดินท่อส่งนำ้ จากต้นน้ำเอง

14 เป็นระยะทางกว่า 10 กิโลเมตร ท่อน้ำพีวีซีเสียหายหลายครั้ง เหตุเป็นเพราะเศษกิ่งไม้อุดตัน และได้รับความ เสยี หายจากการเผ่าปา่ 2. ไฟฟ้าตกบ่อยครั้ง ช่วงฤดฝู นและเกดิ พายฝุ น 7. โครงสร้างหลักสตู รสถานศึกษา โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ ได้จดั การเรียนการสอนตามหลักสตู รสถานศึกษา ดงั นี้ 1. หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 ฉบับปรบั ปรงุ 2560 2. หลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ 2.1 หลกั สตู ร ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษา 2.2 หลกั สูตร ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนต้น 2.3 หลกั สูตร ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย แบง่ แผนการเรียนเป็นดังนี้ 2.3.1 แผนการเรยี นวิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ 2.3.2 แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-จีน 2.3.3 แผนการเรียนเกษตรกรรม 2.3.4 แผนการเรยี นศิลปศึกษา (ดนตรี-นาฏศิลป)์ 2.3.5 แผนการเรียนศลิ ปศกึ ษา (ศลิ ปะ) 2.3.6 แผนการเรยี นพลศึกษา (กีฬา-กรีฑา) 2.3.7 แผนการเรยี นคหกรรม 2.3.8 แผนการเรยี นอตุ สาหกรรมการท่องเท่ียว สาขาการโรงแรมและท่องเทย่ี ว (ปวช.) 2.3.9 แผนการเรยี นคอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ (ปวช.) 2.3.10 แผนการเรียนอุตสาหกรรม สาขาช่างเชื่อมโลหะ (ปวช.) 2.3.11 แผนการเรียนพาณชิ ยกรรม สาขาการบัญชี (ปวช.) 8. แหล่งเรียนรู้/ภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ 8.1 ห้องสมดุ ห้องสมุดมีพื้นที่ขนาด 384 ตารางเมตร หนังสือในห้องสมุดมีจำนวน 14,991 เล่ม มีวารสาร จำนวน 4 เล่ม/เดือน หนังสือพิมพ์ให้บริการจำนวน 2 ฉบับ/วัน การสืบค้นหนังสือและการยืม-คืน ใช้ระบบ Public Library Services V.3-04 มีเครื่องคอมพิวเตอร์ให้บริการสืบค้นเทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุด จำนวน 10 เคร่ือง มีจำนวนนักเรยี นท่ีใชห้ ้องสมุดในปกี ารศกึ ษา 2563 เฉลยี่ 500 คน ต่อวนั คิดเป็นร้อยละ 60.00 ของนักเรยี นทัง้ หมด 8.2 เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ มที ง้ั หมด จำนวน 223 เครอ่ื ง จำแนกเป็น 1) ใช้เพื่อการเรยี นการสอน จำนวน 200 เครือ่ ง 2) ใช้เพ่อื ใหบ้ รกิ ารสืบคน้ ขอ้ มูลทางอินเทอรเ์ น็ต จำนวน 200 เคร่ือง

15 โดยมีจำนวนนักเรยี นทีใ่ ชบ้ ริการสืบคน้ ขอ้ มูลทางอินเตอรเ์ นต็ (ในปกี ารศกึ ษาท่รี ายงาน) เฉลี่ย 200 คน ต่อวัน คดิ เป็นรอ้ ยละ 25.00 ของนักเรียนทง้ั หมด 3) ใช้เพ่อื สนับสนุนการบรหิ ารสถานศกึ ษา (สำนักงาน) จำนวน 23 เครือ่ ง 8.3 แหล่งเรยี นรู้ภายในโรงเรียน 1) หอ้ งแหล่งเรียนรภู้ ายในโรงเรียน จำนวน 9 ห้อง แบ่งเปน็ ดงั น้ี 1.1) หอ้ งเกียรติยศ จำนวน 1 หอ้ ง 1.2) หอ้ งจดั แสดงผลงานนกั เรยี น จำนวน 1 ห้อง 1.3) ห้องเทดิ พระเกียรติ จำนวน 1 ห้อง 1.4) หอ้ งมินิเทยี รเตอร์ จำนวน 1 หอ้ ง 1.5) หอ้ งวิถีชนเผ่า จำนวน 1 ห้อง 1.6) หอ้ งสวนพฤกษศาสตร์ จำนวน 1 ห้อง 1.7) ศูนยก์ ารเรียนรูเ้ ศษฐกจิ พอเพียง จำนวน 1 ห้อง 1.8) หอ้ งสมดุ จำนวน 1 ห้อง 1.9) ห้องสืบคน้ อนิ เตอรเ์ น็ต (IT) จำนวน 1 ห้อง 2) หอ้ งปฏบิ ตั ิการวิทยาศาสตร์ จำนวน 4 หอ้ ง แบ่งเปน็ ดังนี้ 2.1) หอ้ งปฏิบตั ิการทางวิทยาศาสตร์ จำนวน 1 หอ้ ง 2.2) หอ้ งปฏบิ ัติการทางฟสิ ิกส์ จำนวน 1 หอ้ ง 2.3) หอ้ งปฏิบตั กิ ารทางเคมี จำนวน 1 หอ้ ง 2.4) หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารทางชวี ะ จำนวน 1 หอ้ ง 3) หอ้ งปฏิบตั กิ ารทางภาษา จำนวน 3 หอ้ ง แบ่งเป็น ดังน้ี 3.1) ห้องปฏิบัติการทางภาษาไทย จำนวน 1 หอ้ ง 3.2) ห้องปฏิบตั กิ ารทางภาษาอังกฤษ จำนวน 1 ห้อง 3.3) หอ้ งปฏิบตั ิการทางภาษาจีน จำนวน 1 ห้อง 4) ห้องปฏบิ ัตกิ ารคณติ ศาสตร์ จำนวน 1 ห้อง 5) หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารสงั คมศึกษา จำนวน 1 ห้อง 6) ห้องปฏบิ ัตกิ ารศิลปะ จำนวน 1 หอ้ ง 7) หอ้ งปฏิบตั ิการนาฏศลิ ป์ จำนวน 1 หอ้ ง 8) ห้องปฏบิ ตั กิ ารดนตรี จำนวน 1 ห้อง 9) หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารสุขศึกษาและพลศกึ ษา จำนวน 1 ห้อง 10) หอ้ งปฏิบัติการคอมพวิ เตอร์ จำนวน 4 ห้อง 11) หอ้ งปฏิบตั ิการงานอาชพี จำนวน 12 หอ้ ง แบง่ เป็น ดงั นี้ 11.1) ห้องปฏบิ ัติการโรงแรม จำนวน 1 หอ้ ง 11.2) ห้องปฏบิ ตั ิการบัญชี จำนวน 1 ห้อง

16 11.3) หอ้ งปฏบิ ตั ิการชา่ งเชื่อมโลหะ จำนวน 2 หอ้ ง 11.4) หอ้ งนวดแผนไทย จำนวน 1 หอ้ ง 11.5) หอ้ งผลติ ภณั ฑ์นักเรียน O-Shop จำนวน 1 ห้อง 11.6) ห้องเสรมิ สวยหญิง จำนวน 1 หอ้ ง 11.7) ห้องตัดผมชาย จำนวน 1 หอ้ ง 11.8) หอ้ งธนาคารโรงเรยี น จำนวน 1 ห้อง 11.9) ห้องเกษตร จำนวน 1 หอ้ ง 11.10) หอ้ งปฏบิ ตั ิการงานผา้ จำนวน 1 หอ้ ง 11.11) ห้องปฏิบัติการงานอาหาร จำนวน 1 หอ้ ง 8.5 แหลง่ เรยี นรภู้ ายนอกโรงเรียน 1) เหมืองแมเ่ มาะ จังหวดั ลำปาง 2) น้ำตกหว้ ยทรายเหลือง 3) นำ้ พรุ อ้ นเทพพนม 4) อาร์ต อิน พาราไดซ์ 5) พพิ ทิ ธภัณฑ์ลา้ นนา 6) โรงเรยี นสบื สานวฒั นธรรม 7) โครงการหลวง 8) ดอยอนิ ทนนท์ 8.6 ภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ ปราชญช์ าวบ้าน ผู้ทรงคณุ วุฒิ วิทยากร ทเี่ ชญิ มาให้ความรแู้ กค่ รู นักเรียน ท่ี ชอ่ื - สกลุ ใหค้ วามร้เู ร่อื ง จำนวนคร้งั /ปี 1. พระครูวีระกิจสนุ ทร เจา้ อาวาสวดั เจียง ยาสมนุ ไพรพ้นื บ้าน 2 2. นายหลาน ฟองตา การจกั สานไมไ้ ผ่ 2 3. นายจนั ทร์ ฟองตา การทำไมก้ วาดอ่อน 2 4. นางจันทร์หอม กองจันทร์ การทำถั่วเน่า 2 5. นายแกว้ บุญรงั การจกั สาน 2 9. รางวัล/ผลงานดีเดน่ ในรอบปีการศกึ ษา 2563 วนั ทไ่ี ดร้ ับ หนว่ ยงานท่มี อบให้ 9.1 สถานศึกษา 26 ส.ค. 2563 กระทรวงศึกษาธกิ าร ท่ี รางวลั ทไ่ี ด้รบั 1. ไดต้ รวจคัดเลอื กสถานศึกษาเพ่ือรบั รางวลั ระบบการ 16 ก.ย. 2563 กระทรวง ดูแลช่วยเหลือนกั เรียน ประจำปี 2563 ทรพั ยากรธรรมชาติ 2. ได้รบั เกยี รตคิ ณุ โครงการสนับสนนุ กจิ กรรมลดกา๊ ซ และสงิ่ แวดลอ้ ม เรอื นกระจก (low emission support scheme : less) จากองค์การบริหารจัดการกา๊ ซเรือนกระจก (องคก์ ารมหาชน)

17 ท่ี รางวัลที่ได้รับ วนั ที่ไดร้ บั หนว่ ยงานท่ีมอบให้ 3. ไดร้ บั รางวัลการจดั นิทรรศการในการประชมุ 28 ก.ย. 2563 สำนักงาน ปลดั กระทรวง แลกเปลีย่ นเรียนรู้ ถอดบทเรียนการดำเนนิ งาน ศึกษาธิการ โครงการพฒั นาระบบการศึกษาโดยใช้รปู แบบพ้ืนท่ี นวตั กรรมการศึกษา ณ โรงแรมคมุ้ ภคู ำ อำเภอเมือง 3 พ.ย. 2563 กระทรวงสาธารณสขุ จังหวดั เชยี งใหม่ 4. รับโล่รางวัลโรงเรียนตน้ แบบสุขบัญญัตแิ ห่งชาติ ประจำปี 2562 ระดับดีเย่ยี ม ณ ท่ีวา่ การอำเภอแม่ แจม่ จงั หวดั เชียงใหม่ 9.2 ผบู้ ริหาร วนั ทีไ่ ด้รับ หนว่ ยงานทีม่ อบให้ ท่ี รางวัลทีไ่ ด้รับ 29 ส.ค. 2563 จงั หวัดเชียงใหม่ 1. นายวิเศษ ฟองตา ได้รับรางวัลเขม็ เชิดชเู กยี รตแิ ละ ใบประกาศเกียรตคิ ุณตน้ แบบคนดศี รีแผน่ ดนิ 29 ส.ค. 2563 สำนกั การศกึ ษา ประจำปี 2563 ศาสนาและวัฒนธรรม 2. นายวิเศษ ฟองตา ได้รบั Super Leader & Super องค์การบริหารส่วน Teacher ประจำปี 2563 จังหวัดเชยี งใหม่ 9.3 ครูและบุคลากรทางการศึกษา ท่ี รางวลั ทไ่ี ด้รับ วนั ที่ได้รบั หนว่ ยงานท่ีมอบให้ กลมุ่ สถานศกึ ษา 1. นางสาวปวรศิ า ก๋าวงคว์ นิ ได้รับรางวัลผ้มู ีจิตวิญญาณ 28 ก.ย. 2563 สังกดั สำนัก บรหิ ารงานการศกึ ษา แหง่ ความเปน็ ครู ประจำปี 2563 พเิ ศษ กลมุ่ 6 กล่มุ สถานศึกษา 2. รางวลั ครุ ุสดดุ ี ประจำปี 2564 (กลุ่มสถานศกึ ษาสังกัด 16 พ.ค. 2563 สังกดั สำนัก บริหารงานการศึกษา สำนกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ กล่มุ 6) ดงั นี้ พิเศษ กล่มุ 6 1. นายนราวุฒิ ริยะนา 2. นางสาวศิรมิ า เมฆปัจฉาพิชิต 3. นางธญั ญรตั น์ ศลิ าคำ 4. วา่ ท่รี อ้ ยตรีหญงิ อรวรรณ เมอื งแก้ว 5. นายเสรี แซ่จาง 6. นายบรุ ศิ ร์ กองมะลิ

18 ท่ี รางวัลทีไ่ ด้รบั วันทไี่ ดร้ บั หน่วยงานทมี่ อบให้ 7. นายบญุ เสรฐิ จตรุ ธรรมวาที 8. นายนัธทวฒั น์ สวุ รรณา 3. รางวลั ครดู ีเดน่ เนอื่ งในวันครู ประจำปี 2564 (กล่มุ 16 พ.ค. 2563 กลมุ่ สถานศึกษาสังกัด สถานศกึ ษาสงั กัดสำนกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ สำนกั บริหารงาน กลุ่ม 6) ดงั นี้ การศกึ ษาพิเศษ กลมุ่ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย 6 1. นางสาวพชั รญดา โอบเอ้ือ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ 2. นางสมพร อิน่ ใจ กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3. นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม 4. นายศรมี ลู สมบตุ ร กลมุ่ สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 5. นางสาวณัฐธิดา แกว้ คำศรี กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ 6. นางสาวอนุสรา แสนอบุ ลว กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ 7. นายชลาพนั ธ์ ดวงปากดี กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี 8. นางสาวฐิติกานต์ โพธนิ า กลุ่มกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน/ปฐมวัย 9. นายพินิจ พลู ผล ครูตน้ แบบเศรษฐกจิ พอเพียง 10. นายนา่ นมงคล อินดว้ ง 11. นายวรวุฒิ อรชนุ ครตู น้ แบบยาเสพติด 12. นางสาวกานดา วฒุ เิ ศลา 13. นางกมลชนก เทพบุ ครูต้นแบบระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น 14. นางสาวจริ ัชญา ชัยธรี ธรรม

19 ท่ี รางวลั ท่ไี ด้รับ วันทไ่ี ดร้ บั หนว่ ยงานท่ีมอบให้ 15. นางสาวทัศนา สังฆสันตคิ ีรี 29 ส.ค. 2563 จังหวัดเชียงใหม่ 4. รางวัลใบประกาศเกียรติคุณตน้ แบบคนดศี รเี ชียงใหม่ 29 ส.ค. 2563 สำนกั ศกึ ษาธิการ ประจำปี 2563 ดังน้ี จังหวัดเชยี งใหม่ 1. นายศรมี ูล สมบุตร 2. นายพงศ์ธร เปงวงศ์ 3. นายศุภากร ทาอวน 4. นายนทิ ศั น์ อินถานันท์ 5. ว่าทรี่ อ้ ยตรีสมพงษ์ ตระการศุภกร 6. นายยศวริศ เพิ่มบุญ 7. นางสาวอาภาภรณ์ สอนประเสริฐ 8. นางณิภาทิพย์ มูลแกว้ 9. ว่าทร่ี ้อยตรหี ญงิ อรวรรณ เมืองแกว้ 5. นางสาวณฐั ธนญั า บญุ ถึง รางวัลเกียรติยศวนั ครู ประจำปี 2564 9.4 นกั เรียน ท่ี รางวัลทไ่ี ด้รับ วนั ทีไ่ ด้รับ หน่วยงานทมี่ อบให้ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 1. นางสาวจันทนา แจ่มแจ้ง นกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 11 ม.ค 2564 ทอ่ งเท่ียวและกีฬา 6/1 ไดร้ ับการคดั เลือกเด็กและเยาวชนดีเด่น ทไี่ ด้รบั จังหวัดพะเยา การคดั เลอื กใหเ้ ขา้ เยย่ี มคารวะนายกรัฐมนตรี เนอื่ งใน ทอ่ งเทีย่ วและกฬี า จงั หวดั พะเยา งานฉลองวันเด็กแหง่ ชาติ ประจำปี 2564 วนั ท่ี 11 มกราคม 2564 ณ ทำเนียบรัฐบาล กรงุ เทพมหานคร 2. นายสุรชัย มณีปราการ นักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 29 – 30 พ.ย 3/3 ไดร้ บั รางวลั ชนะเลิศ 3 เหรียญทอง กฬี ายก 2563 น้ำหนัก รุน่ 50 กก.ชาย การแข่งขนั กฬี านักเรยี น นักศกึ ษาแห่งชาติ คร้ังที่ 42 รอบคดั เลือก เขตการ แข่งขันกีฬาที่ 5 ประจำปี 2564 3. นายณรงค์กร พุ่มพันธ์วงษา นกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี 29 – 30 พ.ย ที่ 3/3 ไดร้ ับรางวัลชนะเลิศ 3 เหรยี ญทอง กฬี ายก 2563 นำ้ หนัก ร่นุ 67 กก.ชาย การแข่งขันกฬี านักเรยี น นักศกึ ษาแหง่ ชาติ ครงั้ ท่ี 42 รอบคัดเลอื ก เขตการ แขง่ ขนั กีฬาที่ 5 ประจำปี 2564

20 ท่ี รางวลั ทีไ่ ด้รบั วนั ทไ่ี ด้รบั หน่วยงานท่ีมอบให้ 4. เด็กหญงิ กัญญารตั น์ มรุพงศ์ นักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษา 29 – 30 พ.ย ทอ่ งเที่ยวและกีฬา ปีที่ 2/3 ไดร้ ับรางวลั ชนะเลิศ 3 เหรยี ญทอง กีฬายก 2563 จังหวดั พะเยา นำ้ หนกั รนุ่ 49 กก.หญงิ การแข่งขันกีฬานักเรยี น นักศกึ ษาแห่งชาติ คร้งั ที่ 42 รอบคดั เลอื ก เขตการ แข่งขนั กฬี าท่ี 5 ประจำปี 2564 5. เด็กหญิงเมธาวี มาลีวรสทิ ธ์ิ นักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปี 29 – 30 พ.ย ทอ่ งเท่ียวและกฬี า ที่ 2/3 ไดร้ บั รางวลั ชนะเลศิ 3 เหรยี ญทอง กฬี ายก 2563 จงั หวัดพะเยา น้ำหนัก รนุ่ 64 กก.หญงิ การแขง่ ขันกฬี านกั เรยี น นักศกึ ษาแหง่ ชาติ คร้ังท่ี 42 รอบคัดเลือก เขตการ แขง่ ขนั กีฬาท่ี 5 ประจำปี 2564 6. เด็กหญงิ จิรัชยา ศภุ พนาแจม่ ไพร นักเรยี นชนั้ 29 – 30 พ.ย ทอ่ งเทีย่ วและกฬี า มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2/3 ได้รับรางวัลชนะเลิศ 3 เหรยี ญ 2563 จงั หวดั พะเยา ทอง กฬี ายกน้ำหนัก รุ่น 54 กก.หญงิ การแข่งขนั กฬี า นกั เรียนนกั ศึกษาแห่งชาติ ครง้ั ท่ี 42 รอบคัดเลือก เขต การแข่งขันกฬี าที่ 5 ประจำปี 2564 7. เดก็ หญิงฐติ ิมา คณุ านาถอัปสร นกั เรยี นชนั้ 29 – 30 พ.ย ทอ่ งเทยี่ วและกฬี า มธั ยมศึกษาปที ี่ 1/1 ไดร้ ับรางวลั 3 เหรียญเงิน กฬี า 2563 จังหวดั พะเยา ยกนำ้ หนัก รนุ่ 44 กก.หญงิ การแขง่ ขนั กีฬานกั เรยี น นักศกึ ษาแหง่ ชาติ คร้งั ท่ี 42 รอบคัดเลอื ก เขตการ แขง่ ขันกีฬาที่ 5 ประจำปี 2564 8. เด็กชายสรุ ชยั วนาลยั โสภา นักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปี 29 – 30 พ.ย ท่องเทย่ี วและกีฬา ท่ี 1/2 ได้รบั รางวลั 3 เหรยี ญเงิน กีฬายกน้ำหนัก รนุ่ 2563 จงั หวดั พะเยา 55 กก.ชาย การแขง่ ขนั กีฬานกั เรยี นนักศึกษาแหง่ ชาติ คร้งั ที่ 42 รอบคดั เลือก เขตการแข่งขนั กีฬาท่ี 5 ประจำปี 2564 9. รางวัลต้นแบบคนดศี รีเชียงใหม่ ประจำปี 2563 29 ส.ค. 2563 จงั หวดั เชียงใหม่ 1. นายธนพล ยิง่ สินสุวิทย์ ช้ัน ม. 6/1 2. นางสาวจันทนา แจม่ แจง้ ชั้น ม. 6/1 3. นางสาวฐิดาพร ประทานเงนิ ทอง ช้ัน ม. 6/1 4. นางสาวปิยธดิ า ศุภพนาแจม่ ไพร ชนั้ ม. 6/1 5. นางสาวปิยะฉตั ร จตุรธรรมวาที ช้นั ม. 6/1 6. นางสาวพัชรดิ า วิจิตรโยธิน ช้ัน ม. 6/1

21 ท่ี รางวลั ทไี่ ด้รับ วนั ท่ีได้รับ หน่วยงานทีม่ อบให้ 7. นางสาวจันจริ า เทพปณะ ช้ัน ม. 6/2 6 ก.พ. 2564 8. นางสาวณัฐธนภร ชะรอย ช้นั ม. 6/2 อำเภอแม่แจม่ จังหวดั เชียงใหม่ 17. นางสาวจันทนา แจม่ แจง้ นักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6/1 ไดร้ บั รางวลั นกั เรยี นดีเด่นเนอ่ื งในเดก็ แหง่ ชาติ ประจำปี 2564 รบั มอบจากนายบุญลือ ธรรมธรานุ รักษ์ นายอำเภอแมแ่ จ่ม จงั หวัดเชยี งใหม่ 10. ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษาในปีที่ผ่านมา ปีการศึกษา 2562 (ปกี ารศึกษาที่แลว้ ) 10.1 ระดบั การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน สรุปผลการประเมนิ ภาพรวม  กำลังพฒั นา  ปานกลาง  ดี  ดีเลิศ  ยอดเยย่ี ม มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ระดบั คณุ ภาพ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผ้เู รยี น ยอดเยย่ี ม (91.24) มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเยีย่ ม มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคญั ยอดเย่ียม รวม 3 มาตรฐาน (92.96) ยอดเยี่ยม จุดเด่น ครูมีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญสูง มีความ ตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการสอน นักเรียนมีความมุง่ มั่นในการทำงาน และให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรม การเรียนรูท้ งั้ ในห้องเรียนและนอกห้องเรียนเป็นอย่างดี โรงเรยี นมแี หลง่ เรียนรู้ภายในและภายนอกท่ีเอ้ือต่อการ เรยี นรขู้ องนกั เรียนอย่างหลากหลาย และนักเรียนสามารถเข้าใช้ได้อย่างสะดวก ชมุ ชนและภูมิปัญญาท้องถ่ินมี ความหลากหลาย และให้ความรว่ มมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเปน็ อย่างดี การนำ ICT มาใช้ในการเก็บ รวบรวมขอ้ มลู สารสนเทศในระบบประกนั คณุ ภาพ จดุ ควรพฒั นา โรงเรยี นควรสนบั สนนุ ให้ครทู ุกคนไดร้ บั การอบรมการพฒั นาศกั ยภาพของตนเองในดา้ นการจดั การเรยี นรู้ ท่บี รู ณาการกับชุมชนทอ้ งถิน่ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งให้เป็นรูปธรรมและตอ่ เนื่องทกุ กลุ่มสาระการ เรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับท้องถิ่น รักท้องถิ่น และสามารถนำความรู้ ความเข้าใจ และ

22 ประสบการณ์จากการเรียนรู้ในห้องเรียนไปปฏิบตั ิและพัฒนาตนเองและชุมชนได้อย่างมคี ุณภาพ นอกจากนี้ ครู ควรได้รับการพฒั นากระบวนการเรียนรู้ทีใ่ ช้สือ่ และเทคโนโลยีนวัตกรรมใหม่ๆ อยู่เสมอ และส่งเสริมให้มีการวัด และประเมินผลตามมาตรฐานการศึกษา และมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพ สามารถ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนได้ พัฒนาระบบการประกันคุณภาพโดยนำ ICT มาบริหารงานแผนงาน งบประมาณ เพ่ือพฒั นาระบบงานประกนั ให้มีระบบมากยงิ่ ขน้ึ แนวทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต 1) การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ทีใ่ ห้ความสำคญั กับการพัฒนาทักษะการอ่าน การเขียน และการสื่อความ ทง้ั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษให้มากยิง่ ข้นึ 2) การจดั กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ีใ่ ห้ความสำคญั กับการพัฒนาทักษะการคิดระดบั สงู และการคดิ คำนวณ 3) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีสามารถสร้างแรงจูงใจในการเรียนและสามารถสร้างแรงบันดาลใจให้กบั นกั เรยี นอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 4) ผบู้ ริหารควรสร้างความร่วมมือของผมู้ ีส่วนเก่ยี วข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนใหม้ ีความเข้มแข็ง อย่างตอ่ เน่อื ง 5) ผู้บริหารควรพัฒนาระบบนิเทศ ตรวจสอบ ติดตาม ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพในการพฒั นางานได้อย่างแท้จริง 6) ผบู้ รหิ ารควรใชก้ ารวิจัยในการพฒั นางานตามโครงสร้าง 7) ครูควรได้รับการอบรมการพัฒนาศักยภาพของตนเองในด้านการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการกับชุมชน ท้องถิ่นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้เป็นรูปธรรมและต่อเนื่องทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อให้ นักเรียนเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับท้องถ่ิน รักท้องถิ่น และสามารถนำความรู้ ความเข้าใจ และประสบการณ์จาก การเรยี นรใู้ นหอ้ งเรยี นไปปฏิบัติและพฒั นาตนเองและชมุ ชนได้อย่างมคี ุณภาพ 8) ครคู วรไดร้ บั การพฒั นากระบวนการเรยี นรู้ทใ่ี ช้สื่อและเทคโนโลยีนวัตกรรมใหม่ๆ อยเู่ สมอ 9) ครูควรได้รับการส่งเสริมให้มีการวัดและประเมินผลตามมาตรฐานการศึกษา และมาตรฐานการเรียนรู้ ตามหลกั สูตรใหม้ ีประสิทธภิ าพ สามารถยกระดับผลสัมฤทธิ์ของนกั เรยี นได้ 10) โรงเรียนควรส่งเสริมให้ครูจัดทำแผนพัฒนาตนเองรายบุคคลอย่างต่อเนื่อง พร้อมกับมีการนิเทศ ตรวจสอบ ติดตาม เพื่อให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ครูในการพัฒนาตนเอง หรือในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อ ยกระดบั คุณภาพของนกั เรยี น 11) โรงเรียนควรให้นักเรยี นมีแผนพฒั นาตนเอง และมีการประเมินการเรียนรู้ของตนเอง มีการติดตาม ช่วยเหลอื ดา้ นการเรยี นรขู้ องนักเรยี นเปน็ รายบคุ คล 12) พัฒนาระบบการประกนั คุณภาพโดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) มาใช้ในการบรหิ ารงานแผนงาน และงบประมาณ ความตอ้ งการและการช่วยเหลือ 1) เร่งยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทุกช่วงชั้น โดยการให้ความสำคัญกับการพัฒนา ทักษะการอ่าน การเขียน และการสื่อความทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ อีกทั้งเร่งพัฒนาทักษะการคิด ระดับสงู และการคิดคำนวณให้กับนักเรยี นทกุ ระดบั ช้นั 2) พฒั นาครใู หส้ ามารถการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ทสี่ อดคล้องกับการพัฒนานกั เรียนในศตวรรษท่ี 21 3) พัฒนาครูให้สามารถสร้างข้อสอบที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และแนวทางของการประเมนิ O-NET และ PISA

23 11. ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสาม (ถ้าได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 4 ใหน้ ำข้อมลู สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 4 จาก สมศ.มาแทนที่) 11.1 ระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน น้ำหนัก คะแนน ระดับ ทไ่ี ด้ คุณภาพ (ประถมศกึ ษา และมธั ยมศึกษา คะแนน 9.59 ดมี าก กลุม่ ตัวบ่งชี้พื้นฐาน 9.47 ดมี าก 9.22 ดีมาก ตวั บ่งชี้ท่ี 1 ผู้เรียนมสี ขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ท่ีดี 10.00 8.65 9.39 ดี ตัวบ่งชี้ท่ี 2 ผู้เรียนมคี ุณธรรม จริยธรรม และค่านยิ มทีพ่ งึ ประสงค์ 10.00 8.00 พอใช้ 4.80 ตัวบง่ ชท้ี ี่ 3 ผเู้ รยี นมีความใฝร่ ู้ และเรยี นรอู้ ย่างต่อเนื่อง 10.00 4.77 ดี ดีมาก ตัวบง่ ช้ีที่ 4 ผเู้ รยี นคดิ เป็น ทำเปน็ 10.00 5.00 ดีมาก ตัวบง่ ชท้ี ่ี 5 ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียน 20.00 5.00 ดมี าก ตวั บ่งช้ีท่ี 6 ประสทิ ธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ 10.00 5.00 ดีมาก 4.00 ตวั บง่ ชี้ที่ 7 ประสทิ ธิภาพของการบรหิ ารจดั การและการพฒั นาสถานศึกษา 5.00 ดีมาก 82.89 ดี ตวั บง่ ชท้ี ่ี 8 พัฒนาการของการประกนั คุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้นสงั กดั 5.00 ดี กล่มุ ตวั บ่งชอี้ ตั ลักษณ์ ตวั บง่ ชท้ี ่ี 9 ผลการพฒั นาให้บรรลตุ ามปรชั ญา ปณิธาน วิสยั ทศั น์ พนั ธกิจ และ 5.00 วตั ถุประสงคข์ องการจัดตั้งสถานศึกษา ตัวบง่ ชี้ที่ 10 ผลการพฒั นาตามจุดเน้นและจุดเด่นทสี่ ่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของ 5.00 สถานศึกษา กลุ่มตวั บง่ ชี้มาตรการสง่ เสรมิ ตวั บ่งชี้ท่ี 11 ผลการดำเนนิ งานโครงการพิเศษเพื่อสง่ เสรมิ บทบาทของสถานศกึ ษา 5.00 ตัวบ่งชี้ท่ี 12 ผลการสง่ เสรมิ พัฒนาสถานศึกษาเพ่ือยกระดับมาตรฐาน รกั ษามาตรฐาน 5.00 และพฒั นาสูค่ วามเปน็ เลศิ ทส่ี อดคลอ้ งกบั แนวทางการปฏริ ูปการศกึ ษา คะแนนรวม 100.00 ผลรวมคะแนนประเมนิ สถานศึกษา 82.89 คะแนน มคี ณุ ภาพระดับ ดี ผลการรับรองมาตรฐานคุณภาพ ❑ รับรอง ❑ ไมร่ ับรอง กรณีท่ีไม่ไดร้ บั การรับรอง เนื่องจาก ..................................................................................... ขอ้ เสนอแนะ 1. ด้านผลการจดั การศกึ ษา 1) ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีอยู่แล้ว แต่สถานศึกษาควรจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ด้านดนตรี ศิลปะ และกีฬา เพือ่ เพ่ิมกล่มุ เป้าหมายของผู้เรียนให้มากขน้ึ 2) ผู้เรียนมคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นยิ มทีพ่ งึ ประสงคด์ อี ยแู่ ลว้ แต่สถานศกึ ษาควรสง่ เสริมให้ผู้เรียน ตั้งใจเรียน มีมานะในการเรียนโดยการให้รางวัลแก่ผู้เรียนที่มีความขยัน ตั้งใจทํากิจกรรม เรียนเก่งหรือมี คณุ ธรรม จรยิ ธรรมดา้ นการอยู่อยา่ งพอเพยี ง

24 3) ผเู้ รยี นมีความใฝรู้ และเรียนรอู้ ย่างตอ่ เน่อื งดอี ยู่แลว้ แตผ่ ูเ้ รยี นควรได้รับส่งเสรมิ ใหอ้ า่ นหนงั สือนอก เวลา อย่างน้อยภาคเรยี นละ 2 เล่ม จัดให้มีกิจกรรมห้องสมุดมีชีวิตท่ีประกอบด้วยกิจกรรมอย่างหลากหลาย และน่าสนใจ ต่อเนื่องตลอดปกี ารศึกษา เชน่ กิจกรรมวนั ภาษาไทย กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์ กิจกรรมสัปดาห์ ห้องสมุด เป็นต้น จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความสามารถด้านการพูด การตั้งคําถามเพื่อหาเหตุผล ส่งเสริมให้ ผู้เรียนใช้เทคโนโลยใี นการแสวงหาความรู้ใหบ้ รกิ ารส่ือเทคโนโลยีเพ่ือเป็นเคร่อื งมอื ในการเรียนรขู้ องผู้เรยี น 4) สถานศึกษาควรปรับปรุงแบบประเมินความสามารถด้านการคิด ให้มีความหลากหลายและ ครอบคลมุ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 5) ผ้เู รยี นควรไดร้ บั การพัฒนาทักษะการคดิ ในทุกระดับชัน้ ให้มากยิ่งข้ึน เพอ่ื ให้มคี วามสามารถในด้าน กระบวนการคิดและการแก้ปัญหาให้มากขึ้น โดยสถานศึกษาสนับสนุนให้ครูจัดการเรียนการสอนที่ใช้ทักษะ การคิด โดยใช้คําถามปลายเปิด เพื่อส่งเสริมในการจุดประกายการคิดของผู้เรียนและประเมินผลการจัดการ เรียนรแู้ ละนําผลไปปรับวิธีการเรียนเปล่ียนวิธีการสอนให้เป็นระบบและดำเนินการอย่างจริงจังเพื่อส่งเสริมให้ ผู้เรียนมสี มรรถนะและความสามารถในด้านการคดิ แกป้ ญั หาได้ให้มากขน้ึ และดำเนนิ การอย่างต่อเนอื่ ง 6) ผเู้ รยี นควรได้รับการส่งเสรมิ และพฒั นาองค์ความรู้ในทุกกล่มุ สาระการเรยี นรู้ เพ่ือให้ผู้เรียนมีองค์ ความรู้ ครอบคลมุ ท้งั เน้ือหาความรู้และทักษะการปฏิบัติ โดยคำนึงถงึ ธรรมชาตวิ ิชา และควรได้รับการวัดและ ประเมินผลตามสภาพจรงิ และได้มีโอกาสฝกึ ทักษะการพูด การคดิ วเิ คราะห์ การปฏบิ ตั จิ รงิ ตามสภาพในขณะ เรยี น หรือการฝึกปฏิบัติงาน 7) สถานศึกษามีการพัฒนาผลการพัฒนาใหบ้ รรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วสิ ยั ทศั น์และพนั ธกิจดีอยู่แล้ว แต่ สถานศึกษาควรส่งเสริมสนับสนุนผู้เรียนในการเข้าร่วมการดําเนินงานตามโครงการต่าง ๆ ให้มากขึ้น นําผเู้ รียนเขา้ ร่วมแขง่ ขันทกั ษะทางวิชาการดา้ นตา่ ง ๆ ทั้งในและนอกสถานศึกษา จดั หาเวทแี สดความสามารถ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 8) สถานศกึ ษามีผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเดน่ ที่ส่งผลสะทอ้ นเปน็ เอกลักษณ์ของสถานศึกษาดี อยู่แล้ว แต่สถานศึกษาควรประชาสัมพันธ์ และจัดทําแผ่นพับประชาสัมพันธ์ ให้ผู้ปกครองและชุมชนได้รับ ทราบถงึ ผลสาํ เร็จของสถานศึกษาอย่างตอ่ เนอ่ื ง 9) สถานศึกษามีผลการดําเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษาดีอยู่แล้ว แต่ สถานศึกษาควรจัดสร้างที่แสดงผลิตภัณฑ์ของโรงเรียน โดยถือเป็น One School One Product (OSOP) และประชาสมั พันธ์ ใหผ้ ปู้ กครองและชมุ ชนได้รบั ทราบถึงผลสำเรจ็ ของสถานศกึ ษาอย่างตอ่ 2. ดา้ นการบรหิ ารจดั การศกึ ษา สถานศึกษามีประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษาดีอยู่แล้ว แต่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานควรมีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตามระเบียบ และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานควรมีการประชุมอย่างน้อยภาคเรียนละ 2 ครั้ง และผู้บริหาร สถานศกึ ษาต้องรายงานผลการประชมุ ต่อผู้บงั คบั บญั ชาเหนอื ขึน้ ไปภายใน 15 วัน นับจากวันท่ีมกี ารประชุม 3. ด้านการจดั การเรียนการสอนท่ีเน้นผ้เู รียนเป็นสาคัญ ครูควรออกแบบการจัดการเรียนรทู้ หี่ ลากหลาย เชน่ ใบงาน ใบความรู้ การเรยี นรู้แบบบูรณาการ การ เรยี นรู้ แบบโครงงาน แผนผังความคิด เป็นต้น และใช้สื่อเทคโนโลยที ่ีเหมาะสมผนวกกับการนําบริบทและภูมิ

25 ปัญญาของท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ รวมทั้งการปรับปรุงแผนการจัดการเรียนการสอน และ การนํากระบวนการวจิ ยั ในช้ันเรยี น เพอื่ แก้ปัญหาของผูเ้ รยี นอยา่ งตอ่ เน่อื งสมำ่ เสมอ 4. ดา้ นการประกันคณุ ภาพภายใน สถานศกึ ษามพี ัฒนาการประกนั คุณภาพภายในโดยสถานศกึ ษาและต้นสังกัดดอี ยู่แล้ว แต่สถานศึกษา ควร ดำเนินการประชุมรว่ มกันกับทกุ ภาคฝ่ายที่เกีย่ วข้อง เพื่อวางแผนปรบั ปรงุ พฒั นาการจัดการศึกษาจดั ทาํ แผนพัฒนาการจัดการศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ส่งเสริมให้คณะกรรมการประกันคุณภาพ ภายใน นิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผล การดําเนินงานโครงการและกิจกรรมเปรยี บเทียบกบั เปา้ หมาย อยา่ งเปน็ ระบบ เพือ่ ใหก้ ารจดั การศกึ ษามคี ณุ ภาพได้มาตรฐาน และสอดคลอ้ งกับความต้องการของผู้เรียนและ ชุมชน รวมทั้งสถานศึกษาควรประชาสัมพันธ์ให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้รับทราบความเคลื่อนไหวในการพัฒนา คุณภาพการศกึ ษาทุกระยะ นวัตกรรมหรอื ตวั อย่างการปฏิบัตทิ ด่ี ี (Good Practice) ของสถานศึกษาท่ีเป็นประโยชน์ตอ่ สงั คม โครงการส่งเสริมอาชีพอิสระเพื่อการมีรายได้ระหว่างเรียน ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ส่งผลให้ ผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม สามารถพัฒนาให้ตนเองเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการ ประกอบอาชพี เปน็ การแกป้ ัญหาด้านเศรษฐกจิ ความยากจน และสง่ เสรมิ ความเขม้ แข็งใหแ้ ก่เศรษฐกิจชุมชน ทําให้นักเรียนได้มีอาชีพที่ สามารถสร้างรายไดใ้ ห้กับตนเอง และดําเนินการจัดกิจกรรมตลาดนัดอาชีพอิสระ “กาดหม้ัวครัวฮอม” ทุกบา่ ยวันเสาร์ เพอื่ พฒั นาระบบบริหารจัดการอยา่ งเปน็ ระบบ เป็นบุคคลท่ีมีวินัย เป่ียม ไปด้วยคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสํานึกรับผิดชอบ ต่อตนเอง ผู้อื่นและสังคม โดยการจัดการเรยี นรู้ ที่เน้นการ ปฏิบัติจริง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผู้มีประสบการณ์ใน อาชีพท้องถิ่น สามารถพัฒนากระบวนการผลิตให้ ออกสู่ตลาดได้ 12. การนำผลการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษามาใชใ้ นการปรับปรงุ และพฒั นาคณุ ภาพ การศกึ ษาอย่างต่อเนอ่ื ง โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ได้มีการการนำผลการประเมินคุณภาพการศกึ ษา ของสถานศึกษามาใช้ในการปรบั ปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยา่ งต่อเนื่องเป็นประจำทุกปีการศกึ ษา มี การประชุมวางแผน กระบวนการดำเนินงาน วเิ คราะห์สรุปผล และนำผลการประเมินคณุ ภาพการศึกษาไปใช้ ประโยชน์ทุกปีการศึกษา โดยมีโครงการที่ส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนในด้านความรู้ ความสามารถ ตามความถนัด และสนใจของผู้เรียน โครงการพัฒนาระบบบริหารงานในโรงเรียน และได้ปรับรูปแบบบริหารจัดการโดยการ กระจายอำนาจการบริหารงานเป็น 10 กลุ่มงาน เพ่ือใหเ้ กดิ ความสอดคลอ้ งกับบริบทของโรงเรยี นประจำ เพ่ิม รวดเร็วและครอบคลุมในการทำงาน โดยได้พัฒนาโปรแกรมเทคโนโลยีสารสนเทศมาบริหารงานโรงเรียน ประจำ รวมทั้งโรงเรียนได้มีการส่งเสริมให้ครูออกแบบการจัดการเรยี นรู้ท่ีหลากหลาย และใช้สื่อเทคโนโลยีที่ เหมาะสมผนวกกับการนําบริบทและภูมิปัญญาของท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ รวมทั้งการ ปรบั ปรงุ แผนการจดั การเรียนการสอน และการนํากระบวนการวิจัยในชนั้ เรยี น เพื่อแก้ปญั หาของผู้เรียนอย่าง ตอ่ เนอ่ื งสม่ำเสมอ

26 13. การพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบตั กิ ารประจำปีของสถานศกึ ษา 13.1 การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ ไดจ้ ดั แบ่งโครงสรา้ งการบรหิ ารงานเป็น 4 ฝ่าย โดยแบง่ เป็น ฝ่ายบริหารงานวชิ าการ ฝา่ ยบริหารงานท่วั ไป ฝา่ ยบรหิ ารงานกิจการนักเรียน และฝ่าย บริหารงานบุคคล แผนงานและงบประมาณ ผู้บริหารยึดหลักการบริหารงานในรูปแบบการทำงานเป็นทีม โดยประยุกต์ใช้ในการบริหาร จัดการ การดำเนินงานให้สอดคล้องกับบริบทและสภาพปัญหาของโรงเรียน ผนวกกับกระบวนการวงจร คุณภาพของเดมมิ่ง PDCA ในกระบวนการดำเนินงาน ภายใต้รูปแบบ TEAM+ Model ซึ่งเป็นรูปแบบการ บริหารจัดการหลกั ของสถานศกึ ษา ซึ่งมีแนวทางการพัฒนากระบวนการบรหิ าร TEAM+ Model ดงั น้ี 1. การพัฒนารปู แบบการนเิ ทศเชิงระบบ เพ่ือพัฒนาการเรยี นการสอนของครู 2. การบริหารแบบร่วมมอื ร่วมใจ เพื่อการพัฒนางานวิชาการ ระดบั ประถมศกึ ษา 3. การบรหิ ารด้วยวงจรคณุ ภาพเดมงิ่ เพ่อื การพฒั นาคณุ ภาพงานวิชาการ 4. การพัฒนาการบรหิ ารแบบ TOPSTAR เพื่อพัฒนาคุณลกั ษณะอันพึงประสงคข์ องนักเรียน 5. การพัฒนากระบวนการกัลยาณมิตรวจิ ยั เพอ่ื เพม่ิ ทกั ษะการทำวิจยั ในชนั้ เรียนของครู 6. การบรหิ ารงานกิจการนักเรียนแบบร่วมแรงร่วมใจ เพ่อื การแก้ปญั หายาเสพตดิ ในโรงเรียน 7. การพัฒนาการกำกับ ติดตาม นิเทศภายในแบบร้อยเปอร์เซ็นต์ เพื่อการเขียนแผนการ จัดการเรียนรู้ของครรู ะดับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน 8. การพัฒนารปู แบบการบรหิ ารโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน เพื่อพัฒนาจิตสำนึกประชาธปิ ไตยใน สถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 9. การพัฒนาการบริหารแบบ STEAM เพื่อ การประกันคุณภาพภายในโรงเรียนระดับ การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน 10. การพฒั นากระบวนการบริหารแบบพาคดิ พาทำ เพอ่ื การทำวจิ ยั ของครูระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ฯลฯ TEAM+ Model หมายถึง รูปแบบของการบริหาร สถานศึกษา ที่มีการแบ่ง ออกเป็น 2 ส่วน โดยส่วนที่ 1 TEAM ประกอบด้วย T : Trainer หมายถึง หัวหน้า กลุ่มงานเป็นการกระจายอำนาจการบริหารงานในสถานศึกษา E : Environment หมายถึง แหล่งเรียนรู้/สิ่งแวดล้อมเป็นการพัฒนา แหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา A : Active Learning หมายถึง การ เรียนรู้แบบลงมือทำจริง และ M1: Man หมายถึง การบริหาร บุคลากร M2 : Money หมายถึง การบริหารงบประมาณ M3: Materials หมายถึง ก าร บร ิหาร ทร ัพ ยาก ร ที่คุ้มค่า M4: Management หมายถึง กระบวนการจัดการในสถานศึกษา และ ส่วนที่ 2 Plus (+) ได้แก่ “Information and communications technology (ICT)” ในการพัฒนา สถานศึกษาให้มีการดำเนินงานทั้ง 4 องค์ประกอบ (TEAM+) แล้ว กระบวนการดำเนินงานเป็นปัจจัยสำคัญ โดยยึดหลักความสอดคลอ้ งกบั สภาพบริบทของโรงเรยี น

27 โครงสร้างการบริหารงานโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ ภาพโครงสรา้ งการบริหารงานโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ 13.2 วสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ จุดมุ่งหมายเพือ่ การพัฒนา อัตลกั ษณ์ และเอกลักษณ์ ของสถานศกึ ษา วสิ ัยทัศน์ ภายในปี พ.ศ.2564 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 มีระบบการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ มีครูมืออาชีพ ผู้เรียนมีคุณลักษณะตามหลักสูตร และเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง พนั ธกจิ 1. พฒั นาระบบการจัดการศกึ ษาใหม้ ีประสิทธภิ าพ 2. พฒั นาและสง่ เสริมใหค้ รเู ปน็ ครมู ืออาชีพ 3. พฒั นาและสง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนมคี ุณลกั ษณะตามหลักสูตรและอัตลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา 4. พัฒนาสถานศึกษาใหเ้ ปน็ ศูนย์การเรียนรูต้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

28 ยทุ ธศาสตร์และกลยุทธ์ ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ กลมุ่ บรหิ ารงานทร่ี บั ผิดชอบ 1. ยทุ ธศาสตร์ กลยุทธท์ ี่ 1 พฒั นาระบบการ กลุ่มบรหิ ารงานบุคคล พัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เตม็ บรหิ ารจดั การศกึ ษา กลมุ่ บริหารงานวชิ าการ ศกั ยภาพ เหมาะสมกบั อัตลักษณ์ กลยุทธ์ที่ 3 เรง่ รดั พฒั นาคุณภาพ กลมุ่ บริหารงานกิจการ แห่งตนด้วยระบบขอ้ มูล ผเู้ รียนใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐาน นักเรยี น สารสนเทศทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ กลยทุ ธ์ที่ 5 สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้ ผเู้ รยี นคน้ พบศกั ยภาพของตนเอง ด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬา 2. ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ท่ี 2 ส่งเสรมิ สนับสนุน ให้ กลุ่มบรหิ ารงานบุคคล พัฒนา ผบู้ รหิ าร ครูและ ครปู ฏบิ ัติงานตามบทบาทหนา้ ท่ี กลุม่ บรหิ ารงานแผนงานและ บุคลากรทางการศึกษาให้สามารถ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ งบประมาณ จัดการศกึ ษาสำหรับเดก็ ดอ้ ย โอกาสไดอ้ ยา่ งมคี ุณภาพ 3. ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ท่ี 6 พัฒนาอาคารสถานท่ี กลุ่มบริหารงานทว่ั ไป พัฒนาหลักสูตร และการ สิ่งแวดลอ้ ม ฐานเรียนรใู้ หเ้ ออื้ ต่อ กลุ่มบริหารงานวชิ าการ จัดการเรียนรู้อยา่ งหลากหลาย การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง พอเพียง กลยทุ ธ์ท่ี 7 พัฒนาหลักสตู รและ กระบวนการจัดการเรยี นร้ตู าม หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 4. ยุทธศาสตร์ กลยุทธท์ ี่ 4 ส่งเสริม สนบั สนนุ ให้ กลมุ่ บริหารงานวิชาการ พฒั นาระบบการบรหิ ารและ ผู้เรียนคน้ พบศกั ยภาพของตนเอง กลมุ่ บริหารงานทว่ั ไป กลไลในการจดั การศกึ ษาสำหรับ ด้านอาชีพ กลมุ่ บรหิ ารงานกจิ การ เด็กด้อยโอกาส โดยการมสี ่วนรว่ ม นักเรยี น ของภาคีเครอื ขา่ ย จดุ มงุ่ หมายเพื่อการพัฒนา 1. เพ่อื ใหส้ ถานศึกษามีการบริหารจัดการศกึ ษาท่ีเปน็ ระบบ มปี ระสิทธภิ าพและเกิดประสทิ ธิผล 2. เพือ่ พฒั นาครู มคี วามรคู้ วามสามารถ และปฏบิ ัตงิ านตามบทบาทหน้าท่ไี ดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ 3. เพื่อพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาทีม่ งุ่ เนน้ พฒั นาคณุ ภาพผู้เรียนให้บรรลตุ ามมาตรฐานการศกึ ษา ของโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ 4. เพื่อส่งเสรมิ และสนับสนุนให้ผู้เรยี นของโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ค้นพบ ศักยภาพของตนเองดา้ นอาชีพ

29 5. เพื่อส่งเสริมและสนบั สนุนให้ผู้เรยี นของโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ค้นพบ ศักยภาพของตนเองด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬา 6. เพื่อพัฒนาอาคารสถานที่สิ่งแวดล้อม แหล่งเรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัด เชียงใหม่ เพื่อให้เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสำหรับผู้เรียน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง 7. เพื่อพฒั นาหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่มี ุ่งเน้นพฒั นาคุณภาพผู้เรียนตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียงของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ 8. เพอื่ ส่งเสรมิ สนับสนุนการมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษาของทุกภาคสว่ น สำหรับผู้เรยี นโรงเรียนราช ประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ อตั ลกั ษณ์ของสถานศึกษา จงรักภกั ดี มีคณุ ธรรม นอ้ มนำ แนวทางพระราชดำริ เอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา งบประมาณดำเนินการ 500,000.- บาท สบื สานพระราชปณธิ าน สรา้ งคนดีสู่สังคม 1,908,515.- บาท 14. งบประมาณ 149,719.- บาท 2,035320.- บาท 14.1 ตารางจัดสรรงบประมาณปี 2563 1,096,139.- บาท กลมุ่ บรหิ ารงาน 164,415.- บาท 1. งบสาธารณูปโภค 823,248.- บาท 2. งบบรหิ าร 217,365.- บาท 3. กลมุ่ งานประถมศกึ ษา 4. กลุม่ บรหิ ารงานวิชาการ 3,550,058.- บาท 5. กลุ่มสง่ เสรมิ วชิ าการ 23,214,264.- บาท 6. กลุ่มงานตามนโยบาย 7. กลมุ่ งานวินัยนักเรียน 746,600.- บาท 8. กลุ่มงานสง่ เสรมิ กิจการนกั เรียน 6,957,010.- บาท 9. กลมุ่ งานแผนงานและงบประมาณ 41,362,653.- บาท 10. กล่มุ งานอำนวยการ 11. กลุ่มงานบคุ คล 12. กลุ่มงานอาคารสถานท่ี รวมทั้งส้นิ

30 14.2 งบดำเนินการกิจการพัฒนาผู้เรยี น (เงนิ เรียนฟรี) ประจำปกี ารศึกษา 2563 งบดำเนินการ 738,420.- บาท ท่ี กิจกรรม งบประมาณ ผู้รบั ผิดชอบ 1 กิจกรรมลกู เสือ – เนตรนารี – นศท. 184,605.-บาท นายพินิจ พูลผล / 2 กจิ กรรมทัศนศกึ ษา 184,605.-บาท ว่าที่ ร.ต.กนกอร วงศ์ษา 3 กิจกรรมคา่ ยวิชาการ 184,605.-บาท นางสาวสริ ิธรณ์ ดวงสริ ิ 4 กิจกรรม ICT 184,605.-บาท นางสาวรัตตกิ าล ยศสุข 738,420.-บาท นายพงศ์ธร เปงวงค์ รวมทัง้ ส้นิ 14.3 แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณตามโครงสรา้ งการบริหารงานปกี ารศึกษา 2563 งบประมาณดำเนนิ การ 29,563,403.- บาท กลุม่ โครงการ/งาน/กจิ กรรม งบประมาณ อ่ืน ๆ งาน งบอุดหนุน เรียนฟรี 1. กลุ่มงานประถมศกึ ษา 149,719.- บาท หวั หน้ากลุม่ งาน : รองผอู้ ำนวยการวิเศษ ฟองตา 35,209.- 1.โครงการพฒั นางานวชิ าการประถมศกึ ษา 114,510.- 2.โครงการระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียนระดับ ประถมศกึ ษา 149,719.- รวม 2,035,320.- บาท 2. กลุ่มบริหารงานวิชาการ 30,000.- หวั หนา้ กลุ่มงาน : นางสาวรัตตกิ าล ยศสขุ 91,609.- 14,800.- 1.โครงการพัฒนางานหลักสูตรการเรยี นการสอน 720,540.- 2.โครงการงานวดั และประเมนิ ผล 2,718.- 3.โครงการพัฒนางานวจิ ยั เพ่ือคณุ ภาพทางการศกึ ษา 91,472.- 4.โครงการงานระบบ ICT เพอ่ื การศึกษา 6,825.- 5.โครงการ งานสื่อและแหลง่ เรยี นรู้ 6.โครงการพัสดวุ ชิ าการ 48,700.- 7.โครงการบรหิ ารงานวิชาการ 8.โครงการยกระดับคุณภาพ 17,195.- 8.1 กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น (กจิ กรรมแนะแนว) 48,138.- 8.2 การศึกษาสำหรบั นกั เรียนท่มี คี วามบกพรอ่ ง ทางการเรยี นรู้ 30,000.- 8.3 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ 8.4 กลุ่มสาระการเรียนรู้การเรียนรู้ ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาจนี )

31 กลุ่ม โครงการ/งาน/กิจกรรม งบประมาณ อนื่ ๆ งาน งบอุดหนุน เรยี นฟรี 8.5 กล่มุ สาระการเรยี นรูภ้ าษาตา่ งประเทศ 39,162.- (องั กฤษ) 65,100.- 60,531.- 8.6 กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย 80,320.- 8.7 กลมุ่ สาระการเรียนรู้การเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ 133,375.- และเทคโนโลยี (คหกรรม) 93,510.- 8.8 กลุม่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพและ 109,975.- เทคโนโลยี (อุตสาหกรรม) 63,726.- 8.9 กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ 36,485.- 8.10 กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารเรยี นร้ศู ลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์ 34,118.- 8.11 กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และ 217,021.- เทคโนโลยี (คอมพวิ เตอร)์ 2,035,320.- 8.12 กลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 8.13 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี และ เทคโนโลยี (เกษตร) 8.14 กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี และ เทคโนโลยี (พาณิชยกรรม) 8.15 กลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศกึ ษาและพลศึกษา รวม 3. กลมุ่ สง่ เสริมวชิ าการ 1,096,139.- บาท หัวหนา้ กล่มุ งาน : นางสาวปัณชดา ไชยมงคล 1.โครงการพัฒนาการเรียนการสอนทวศิ กึ ษา 176,230.- 543,440.- 2.โครงการงานทะเบยี นและรบั นักเรียน 18,325.- 543,440.- 3.โครงการงานหอ้ งสมดุ 29,902.- 4.โครงการงานวิสาหกิจเพือ่ ฝึกประสบการณอ์ าชีพ 308,242.- 5.โครงการกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน 6.โครงการส่งเสรมิ วิชาการ 20,000.- 552,699.- รวม 4. กลมุ่ งานตามนโยบาย 164,415.- บาท หวั หน้ากลมุ่ งาน : นางสาวณฐั ธนัญา บุญถึง 1.โครงการกลุ่มงานตามนโยบาย 164,415.- กจิ กรรมที่ 1 เกษตรทฤษฎีใหม่ 8,535.- 68,300.- กิจกรรมที่ 2 งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น 15,000.- กิจกรรมที่ 3 กจิ กรรมพฒั นางานการจดั การเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

32 กลุ่ม โครงการ/งาน/กิจกรรม งบประมาณ อน่ื ๆ งาน งบอดุ หนนุ เรยี นฟรี กจิ กรรมที่ 4 พัฒนางานจดั การศกึ ษาทางไกลผา่ น 31,880.- ดาวเทียม 40,700.- กจิ กรรมท่ี 5 งานจดั การเรยี นรู้เทคโนโลยีตาม พระราชดำริ (ทสรช) กจิ กรรมที่ 6 งานแผนงานและสารสนเทศ กจิ กรรมท่ี 7 นิเทศ กำกับ ติดตามและประเมินผล 164,415.- รวม 823,248.- บาท 5. กลุ่มงานวินัยนักเรียน หัวหน้ากลมุ่ งาน : นายนกิ ร ไชยบุตร 149,605.- 45,883.- 1.โครงการสง่ เสรมิ ประชาธปิ ไตยในโรงเรยี น 117,040.- 2.โครงการพัฒนาระบบงานสารบรรณ 510,720.- 3.โครงการระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรียน 823,248.- 4.โครงการบรหิ ารงานหอนอน 217,365.-บาท รวม 85,025.- 6. กลุ่มงานส่งเสริมกจิ การนกั เรียน หัวหน้ากลุม่ งาน : นายศรมี ลู สมบตุ ร 20,790.- 1.โครงการพัฒนาคุณภาพงานกลมุ่ บริหารงาน 111,550.- ส่งเสรมิ กิจการนักเรียน 217,365.- 2.โครงการรณรงคป์ อ้ งกันและแก้ไขปญั หายาเสพตดิ 3,550,058.- บาท TO BE NUMBER ONE 3.โรงเรียนสง่ เสริมสุขภาพ รวม 7. กล่มุ งานแผนงานและงบประมาณ หวั หน้ากลมุ่ งาน : วา่ ท่ี ร.ต.หญงิ กนกอร วงศษ์ า 1.โครงการพัฒนาระบบงานประกนั คณุ ภาพ 35,342.- สถานศกึ ษาโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ 10,730.- 1,613,983.- 500,000.- 1,613,983.- 50,000.- 2.โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศโรงเรยี นราช 236,463.- 550,000.- ประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ 89,540.- 372,075.- 3.โครงการยกระดับระบบงานพัสดุ การเงนิ บญั ชี 23,214,264.- บาท 4.โครงการพัฒนาแผนงานโรงเรยี นให้มีประสทิ ธิภาพ รวม 8. กลุ่มงานอำนวยการ หวั หนา้ กลุ่มงาน : นางสาววีรร์ ศั มิ์ สิทธิพพิ ัฒ นานันท์

33 กลุ่ม โครงการ/งาน/กจิ กรรม งบประมาณ อ่นื ๆ งาน งบอดุ หนุน เรยี นฟรี 1.โครงการพฒั นาระบบงานกลมุ่ บรหิ ารงาน 66,630.- 9,000.- อำนวยการ 23,706,000.- 93,375.- กจิ กรรมท่ี 1 งานเลขาผอ./คณะกรรมการ 8,059.- 23,715,000.- สถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน 90,500.- กจิ กรรมท่ี 2 งานโภชนาการ 131,800.- 26,155.- กจิ กรรมที่ 3 งานปฏิคม 390,264.- กิจกรรมท่ี 4 งานประชาสมั พันธ์ กิจกรรมที่ 5 งานชุมชนสัมพันธ์ 746,600.- บาท กจิ กรรมที่ 6 งานพสั ดุและแผนงานสารสนเทศ รวม 9. กลุ่มงานบคุ คล หวั หนา้ กลุม่ งาน : นางพิกลุ เหมืองคำ 1.โครงการสง่ เสริมและพฒั นาบุคลากร 20,000.- 500,000 2.โครงการพฒั นากลมุ่ บริหารงานบคุ คล 85,100.- 136,500.- 105,100.- 636,500.- รวม 6,957,010.- บาท 10. กลุ่มงานอาคารสถานที่ หัวหน้ากลุ่มงาน : นายลปิ ปกร เหมืองคำ 579,465.- 5,233,500.- 100,000.- 500,000.- 1.โครงการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายและสังคมที่ 30,050.- เอือ้ ต่อการเรยี นรู้ 35,000.- 478,965.- กิจกรรมท่ี 1 งานอาคารสถานที่ 6,212,465.- กิจกรรมที่ 2 งานยานพาหนะ 744,515.- กจิ กรรมที่ 3 งานโสตทัศนูปกรณ์ กิจกรรมท่ี 4 งานศนู ย์บรหิ ารจัดการขยะแบบครบ วงจร กจิ กรรมที่ 5 ความปลอดภัยและส่งิ แวดลอ้ มใน โรงเรยี น รวม

34 ส่วนที่ 2 ผลการประเมินคุณภาพตนเองของสถานศกึ ษา ในปกี ารศึกษา 2563 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ ได้ประเมนิ คณุ ภาพภายใน เพื่อจัดทำ รายงานผลการดำเนินงานประจำปีต่อผู้บริหารสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัดและผู้ที่มีส่วน เกี่ยวขอ้ ง มีรายละเอยี ดต่อไปนี้ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผเู้ รียน ระดับคณุ ภาพ ดีเลิศ 1. แผนการดำเนนิ การและการต้ังเป้าหมาย ผู้บรหิ าร และคณะครูโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ ไดร้ ่วมกนั ประชุมวาง แผนการดำเนนิ การและการตัง้ เป้าหมายมาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา 2563 ไวท้ ่รี ะดบั ดีเลศิ รายละเอยี ดดงั น้ี 1.1 ผลสัมฤทธิท์ างวิชาการของผ้เู รียน ผู้เรียนรอ้ ยละ 80 – 89.99 1.1 มีความสามารถในการอา่ น การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ 1.2 มผี ลสัมฤทธิท์ างการเรียนตามหลักสูตรสถานศกึ ษา 1.3 มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ยี น ความคดิ เหน็ โดยใชเ้ หตุผลประกอบการตัดสนิ ใจ และแกป้ ัญหาได้ 1.4 มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม 1.5 มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารเพอ่ื พฒั นาตนเอง และสังคมในด้านการเรียนรู้ การสอ่ื สาร การทำงาน อย่างมีจริยธรรม 1.6 มคี วามรู้ ทักษะพน้ื ฐาน และเจตคติทีด่ พี ร้อมทจ่ี ะศึกษาต่อในระดบั ชน้ั ทีส่ ูงข้นึ เพอื่ เปน็ แนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคตได้ 1.2 คุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ของผเู้ รียน ผเู้ รยี นร้อยละ 80 – 89.99 1) มคี ณุ ลกั ษณะ ค่านยิ ม และอัตลักษณข์ องนกั เรียนทด่ี ี 2) มีทักษะการดำรงชีวติ ในโรงเรียนประจำ 3) มคี วามภมู ิใจในท้องถ่ิน เห็นคุณค่าของความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรม ประเพณี และภูมปิ ัญญาไทย 4) สามารถอย่รู ่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย

35 5) มีสุขภาวะทางรา่ งกายและจิตสงั คม 2. กระบวนการดำเนินงาน ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ มีกระบวนการพัฒนา คณุ ภาพผู้เรียน โดยไดด้ ำเนนิ งานโครงการและกิจกรรมตามแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 5 ปี แผนปฏิบัติการ ประจำปี ในการพัฒนาคุณภาพที่ครอบคลุมมาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียนทุกประเด็น ตามการดำเนินงาน โครงการ/กิจกรรมที่พัฒนาด้านผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน มี รายละเอยี ดดงั นี้ มาตรฐานที่ 1 ดา้ นคณุ ภาพของผู้เรยี น 1.1 ผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการของผู้เรยี น การพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี นตามหลกั สูตรโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่ ทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของสังคม และมีความสอดคล้องเป้าหมาย วสิ ยั ทศั น์ของโรงเรยี น มกี ารจดั การเรียนการสอนทุกกล่มุ สาระการเรียนร้เู พ่อื พัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี นให้มีพื้นฐาน ทางวชิ าการ และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ โดยไดด้ ำเนินการดังต่อไปนี้ ตวั ช้วี ดั ที่ 1 มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การส่อื สารและการคิดคำนวณ การพัฒนาความสามารถในการอ่าน การเขยี น สอ่ื สาร คดิ คำนวณ เน้นให้ผเู้ รียนสามารถอ่าน ออก เขียนได้ สือ่ สารและคดิ คำนวณเปน็ ไปตามเป้าหมายที่สถานศกึ ษากำหนด คอื ระดบั “ดีเลศิ ” ผ้เู รียนร้อย ละ 80.00 – 89.99 มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ด้วยการจัด กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย ระดับชั้นประถมศึกษาได้ดำเนินการจัดการเรียนการสอนที่เน้นพัฒนาการ อ่านออก เขยี นได้ การส่ือสาร และทักษะการคิดคำนวณ ดว้ ย “นวัตกรรมโรงเรียนเล็กในโรงเรยี นใหญ่” มีการ จัดการเรียนการสอนเน้นให้ผู้เรียน เรียนปนเล่นเพิ่มพูนทักษะการอ่าน การเขียน สื่อสาร คิดคำนวณด้วย กจิ กรรมพัฒนาการเรยี นรอู้ าทิเช่น ภาษาไทยวนั ละคำ อาขยานพาเพลนิ เร่อื งเล่าเช้าน้ี มมุ กล้องเลา่ เร่ือง ในส่วนระดับมัธยมศึกษาได้ดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีพัฒนาการอ่านออกเขียนได้ ควบคู่กับกิจกรรมพัฒนาการอ่าน เขียน สื่อสาร คิดคำนวณ ในการบูรณาการในรายวิชาต่าง ๆ ร่วมกับงาน ส่งเสริมการอ่านของห้องสมุด และในรูปแบบกิจกรรมคลินิกภาษาพัฒนาการอ่าน การเขียน กิจกรรมค่าย ภาษาไทย กิจกรรมวันสุนทรภู่ โครงการส่งเสริมความรู้ความสามารถและทักษะของผู้เรียน(กิจกรรมพัฒนา ผู้เรยี น) กิจกรรมสง่ เสริมอจั ฉรยิ ะภาพทางภาษาไทย กจิ กรรมสง่ เสรมิ ทักษะดา้ นคณิตศาสตร์ กจิ กรรมสูตรคูณ หรรษา กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ กจิ กรรม Chinese Day RPK.31 กจิ กรรมสปั ดาห์ทางวทิ ยาศาสตร์ ท้ังน้ีแต่ ละรายวิชาไดส้ อดแทรกทกั ษะการอ่าน การเขียน ส่ือสาร คดิ คำนวณ โดยมีการประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และการเขยี นอยา่ งเปน็ ระบบตามคู่มือการอ่าน คดิ วิเคราะห์และเขยี นตามแนวทางการพัฒนาและประเมินการ อา่ น คดิ วิเคราะหแ์ ละเขยี น ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551

36 ตัวชี้วัดที่ 2 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเหน็ และแกป้ ัญหา การพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และแก้ปัญหา เป็นไปตามเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด คือ ระดับ “ดีเลิศ” ผู้เรียนร้อยละ 80.00 – 89.99 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมวี จิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลีย่ นความคิดเห็น โดยใช้เหตผุ ลประกอบการตัดสนิ ใจ และแก้ปัญหาได้ โดยโรงเรียนไดด้ ำเนนิ งานตามโครงการหอ้ งเรยี นสขี าวท้ัง ระบบ ทำให้ผู้เรียนมีการระดมการวางแผน คิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น และแก้ปัญหาร่วมกัน ทั้งนี้มีการจัดทำโครงงานคุณธรรมทุกหอนอน เพื่อพัฒนาความเป็นอยู่ร่วมกัน อย่างมรี ะบบ มกี ารจดั ทำโครงงานวิทยาศาสตร์ในรายวิชาโครงงานของกลุ่มเลือกในกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ใน ระดับชั้นมัธยมศึกษา และเน้นการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน เพื่อให้ผู้เรียนพฒั นาความสามารถใน การคดิ จำแนกแยกแยะ ใคร่ครวญไตร่ตรอง พจิ ารณาอยา่ งรอบคอบโดยใช้เหตุผลประกอบการตดั สินใจ มีการ อภิปรายแลกเปลีย่ นความคดิ เหน็ และแกป้ ญั หาอย่างมเี หตผุ ลตามเกณฑท์ ่ีโรงเรียนกำหนดไว้ในแตล่ ะระดับชั้น ส่งผลให้ผู้เรียนความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแกป้ ญั หา ตวั ชว้ี ดั ที่ 3 มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม การพัฒนาความสามารถในการสร้างนวัตกรรม เป็นไปตามเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด คือ ระดบั “ดีเลิศ” ผู้เรียนรอ้ ยละ 80.00 – 89.99 มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม โดยโรงเรียนเน้นให้ ผู้เรียนเรียนรู้การทำงานเป็นทีม เชื่อมโยงองค์ความรู้และประสบการณ์มาใช้ในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ใน รปู แบบ โครงการ โครงงาน ชิ้นงาน ผลผลิต ซึง่ ผู้เรยี นได้รว่ มสร้างนวตั กรรมของ “ศูนย์บรหิ ารจดั การขยะแบบ ครบวงจร” จนได้รับรางวัลนวัตกรรมการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน จากกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม จนนำผลผลติ ทไี่ ด้มาพัฒนาโรงเรยี นอยา่ งต่อเนือ่ งเปน็ ประจำทุก ปี ทำให้โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 เป็นต้นแบบของศูนย์บริหารจัดการขยะแบบครบวงจร ได้รับการ ยอมรับและการมาศึกษาดงู านจากหน่วยงานตา่ ง ๆ เป็นประจำ ตลอดทั้งการจดั การเรยี นการสอนในรายวิชา ทุกรายวิชาได้ฝึกทักษะความคิดสร้างสรรค์ให้แก่ผู้เรียน ในการสร้างนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ ชิ้นงาน ส่งผลให้ ผเู้ รียนมีความสามารถในการสร้างคิดคน้ นวัตกรรมใหม่ ๆ อย่างนอ้ ยปีการศกึ ษาละ 1 ช้นิ ตวั ช้วี ดั ที่ 4 มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร การพัฒนาความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร เป็นไปตามเป้าหมาย ที่สถานศึกษากำหนด คือ ระดับ “ดีเลิศ” ผู้เรียนร้อยละ 80.00 – 89.99 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการส่อื สาร โดยครผู ้สู อนมีนำเทคโนโลยีก้าวหนา้ ต่าง ๆ มาชว่ ยการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ในชั้น เรียน เช่น การใชก้ ล่มุ ไลน์ กลมุ่ เฟสบุ๊ค ในการตดิ ต่อส่อื สารด้านการเรยี น การใชแ้ อพพลิเคชัน Zoom Google Meet ในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ การใช้แฟลตฟอร์ม Google From ในการสอบออนไลน์ ซึ่งเป็น การฝึกให้ผู้เรยี นพัฒนาความสามารถใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร ในการพัฒนาตนเองจากการใช้ งาน การสืบค้นข้อมูลข่าวสาร เนื้อหาสาระที่เกี่ยวข้องในรายวิชาที่เรียน เพื่อนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ติดต่อ

37 สอื่ สาร รวมทงั้ ทำงานอยา่ งสร้างสรรคแ์ ละมจี ริยธรรมท้ังงานรายบคุ คลและรายกลมุ่ ตลอดจนโรงเรยี นสามารถ ใช้เทคโนโลยีในการดำเนนิ การทดสอบออนไลน์ในการทดสอบระดับสถานศึกษา การสอบวัดผลระหวา่ งเรยี น กลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน ที่เป็นข้อสอบแบบปรนัยผู้เรียนสามารถทราบผลการทดสอบหลังเสร็จสน้ิ การสอบ ตวั ชว้ี ัดที่ 5 มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา เป็นไปตามเป้าหมายที่ สถานศึกษากำหนด คือ ระดับ “ดีเลิศ” ผู้เรียนร้อยละ 80.00 – 89.99 ขึ้นไปมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม หลักสูตรสถานศึกษา โดยครูผู้สอนมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และกิจกรรมบูรณาการการเรียนรู้อย่าง หลากหลาย เพ่อื ให้ผ้เู รียนมคี วามกา้ วหน้าในการเรยี นร้ตู ามหลกั สูตรสถานศึกษาจากพ้ืนฐานเดิมในด้านความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะและกระบวนการ และเจตคตทิ ่ีดตี ่อการเรยี น ทั้งนี้โรงเรยี นได้มีการจัดทำโครงการยกระดับ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนในแต่ละกลุม่ สาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ เพ่อื ส่งเสริมสนบั สนุนการพัฒนา ผู้เรียนอย่างรอบด้าน และพัฒนาตรงตามความถนัดและความสนใจของผู้เรียน ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา มรี ายละเอียดดังนี้ ตารางท่ี 2.1 ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของผ้เู รยี นท่ไี ด้ระดบั ดีขนึ้ ไป (เกรดเฉล่ยี 3 ขนึ้ ไป) เปรยี บเทียบ คา่ เปา้ หมายของกลุม่ สาระการเรียนรู้ ปกี ารศกึ ษา 2563 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น รวมเฉลีย่ คา่ เปา้ หมาย เปรียบเทียบ 2563 ค่าเป้าหมาย ภาษาไทย ประถม มธั ยม 62.58 คณติ ศาสตร์ 62.34 62.82 57.35 65.00 -2.42 วิทยาศาสตร์ ฯ 67.53 47.17 75.53 65.00 -7.65 สังคมศึกษา ฯ 87.01 64.05 80.72 65.00 +10.53 ภาษาตา่ งประเทศ 87.01 74.42 74.60 65.00 +15.72 สุขศึกษา ฯ 85.71 63.49 91.61 65.00 +9.60 94.81 88.41 89.28 70.00 +21.61 ศิลปะ 97.40 81.16 75.50 70.00 +19.28 การงานอาชพี 81.82 69.17 76.42 70.00 +5.50 รวมเฉลีย่ ทุกกลุ่มสาระฯ 82.95 69.89 66.88 +9.54 จากตารางผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนท่ีได้ระดบั ดขี น้ึ ไป (เกรดเฉลย่ี 3 ขึน้ ไป) เปรียบเทียบค่า เปา้ หมายของกลุ่มสาระการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2563 พบว่า กลุม่ สาระการเรยี นรู้ท่มี ีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูงกวา่ คา่ เป้าหมาย เรียงจากมากไปน้อยคอื สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ศิลปะ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาษาตา่ งประเทศ และการงานอาชีพ ตามลำดับ ในส่วนกลุม่ สาระการเรียนรู้ท่ีมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำกว่าค่าเป้าหมาย คือ ภาษาไทย และคณิตศาสตร์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ ผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาที่ได้ระดับดีขึ้นไป (เกรดเฉลี่ย 3 ขึ้นไป) คิดเป็นร้อยละ 82.95 และผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาที่ได้ระดับดีขึ้นไป (เกรดเฉลี่ย 3 ขึ้นไป) คิดเป็นร้อยละ 69.89

38 คา่ เฉลย่ี รวมท้ังโรงเรียนมีผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนระดับดขี ้ึนไป (เกรดเฉลีย่ 3 ขน้ึ ไป) คดิ เปน็ ร้อยละ 76.42 ซึ่ง สูงกวา่ ค่าเป้าหมายทตี่ ้ังไว้ +9.54 สรปุ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของผู้เรยี น ปกี ารศึกษา 2563 100 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0 ประถมศึกษา มัธยมศึกษา เฉล่ยี ตารางท่ี 2.2 เปรยี บเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของผเู้ รยี นทีไ่ ดร้ ะดับดีขึ้นไป (เกรดเฉลยี่ 3 ขึ้นไป) ปีการศึกษา 2561 – 2563 (3 ปียอ้ นหลงั ) ปกี ารศึกษา 2561 ปีการศึกษา 2562 ปกี ารศึกษา 2563 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ประถม มธั ยม รวมเฉลย่ี ประถม มธั ยม รวมเฉล่ยี ประถม มัธยม รวมเฉลี่ย ภาษาไทย 57.26 61.62 59.44 64.37 65.13 64.75 62.34 62.82 62.58 คณติ ศาสตร์ 40.17 25.59 32.88 58.32 34.03 46.18 67.53 47.17 57.35 วทิ ยาศาสตร์ ฯ 58.12 64.78 61.45 87.36 69.18 78.27 87.01 64.05 75.53 สังคมศกึ ษา ฯ 52.99 66.28 59.64 91.95 71.27 81.61 87.01 74.42 80.72 ภาษาต่างประเทศ 47.01 35.54 41.28 81.61 40.03 60.82 85.71 63.49 74.60 สขุ ศกึ ษา ฯ 51.28 81.97 66.63 91.95 96.37 94.16 94.81 88.41 91.61 ศลิ ปะ 75.21 80.30 77.76 88.51 82.85 85.68 97.40 81.16 89.28 การงานอาชพี 64.96 76.25 70.61 86.21 82.15 84.18 81.82 69.17 75.50 รวมเฉลี่ยท้งั โรงเรยี น 55.88 61.54 58.71 81.29 67.63 74.46 82.95 69.89 76.42