Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดราชบุรี พ.ศ.2565-2567

แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดราชบุรี พ.ศ.2565-2567

Description: แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดราชบุรี พ.ศ.2565-2567 (ฉบับเต็ม)

Search

Read the Text Version

แผนพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวดั ราชบุรี พ.ศ.2565 – 2567 สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวัดราชบุรี สานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

แผนพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวดั ราชบรุ ี พ.ศ.2565-2567 บทสรปุ ผู้บรหิ าร ตามบทบัญญัติของพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ.2546 และที่แก้ไขเพ่ิมเตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2562 มาตรา 16 ให้ส่วนราชการจัดทาแผนปฏบิ ัติราชการ ของสว่ นราชการนั้นโดยจดั ทาเป็นแผนห้าปี ซ่ึงต้องสอดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตรช์ าติ แผนแมบ่ ท แผนการปฏิรูป ประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ นโยบายของคณะรฐั มนตรีท่ีแถลงตอ่ รัฐสภา และแผนอ่ืนที่ เก่ียวข้อง และมาตรา 9 ในวาระเร่ิมแรก การจัดทาแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการเป็นแผนห้าปี ตามมาตรา 16 แห่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชกฤษฎีกาน้ี ให้จัดทาเป็นแผนสามปี ประกอบกับบทบาทและอานาจหน้าทข่ี อง สานักงาน กศน.จังหวัด ข้อท่ี 1 จัดทายุทธศาสตร์ เป้าหมายและแผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยในจังหวัดให้สอดคล้องกับนโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศึกษาชาติ แผนพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตามสภาพของท้องถนิ่ และชมุ ชน สานักงาน กศน.จังหวัดราชบุรี ได้ดาเนินการขับเคล่ือนและกาหนดแนวทางในการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ โดยมีสาระสาคัญของแผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั จังหวัดราชบุรี ดังนี้ วิสยั ทศั น์ ประชาชนทุกช่วงวัยของจังหวัดราชบุรีได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต อย่างมีคุณภาพสามารถดารงชีวิตที่เหมาะสมกับช่วงวัยสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ในการสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้และมที ักษะทจ่ี าเป็นในโลกศตวรรษท่ี 21 พนั ธกจิ 1. ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีคุณภาพ เพ่ือยกระดับการศึกษา พัฒนาทักษะการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมทุกช่วงวัย พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง บริบททางสงั คม และสร้างสงั คมแห่งการเรยี นรูต้ ลอดชีวติ 2. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือข่ายในการมีส่วนร่วมจัดการศึกษานอกระบบ และ การศึกษาตามอธั ยาศยั และการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ รวมทง้ั การดาเนินกิจกรรมของศูนยก์ ารเรยี นและแหล่งการ เรียนรอู้ น่ื ในรูปแบบตา่ ง ๆ 3. ส่งเสริมและพัฒนาการนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ให้เกิด ประสทิ ธภิ าพในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ใหก้ ับประชาชนอยา่ งท่ัวถงึ 4. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรม การวัดและประเมินผล ในทุกรูปแบบให้สอดคล้องกับบริบทในปัจจบุ ัน 5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ เพื่อมุ่งจัดการศึกษาและ การเรียนร้ทู มี่ ีคณุ ภาพ โดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงั หวดั ราชบุรี ข

แผนพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จังหวัดราชบรุ ี พ.ศ.2565-2567 เป้าประสงค์หลกั 1. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งประชาชนท่ัวไปได้รับโอกาส ทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การศึกษาต่อเนอ่ื ง และการศึกษา ตามอัธยาศัย ท่ีมีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและท่ัวถึง เป็นไปตามสภาพ ปัญหา และความต้องการของแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย 2. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคณุ ธรรม จริยธรรม และความเป็น พลเมือง อันนาไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน เพื่อพัฒนาไปสู่ ความมน่ั คงและยัง่ ยืนทางดา้ นเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และสิง่ แวดลอ้ ม 3. ประชาชนได้รับโอกาสในการเรยี นรู้อย่างตลอดชวี ติ และมเี จตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ท่เี หมาะสม สามารถคิด วิเคราะห์ และประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวนั รวมทง้ั แกป้ ัญหาและพฒั นาคุณภาพชีวิต ได้อยา่ งสร้างสรรค์ 4. ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ร่วมจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการดาเนินงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั รวมท้งั การขับเคล่อื นกจิ กรรมการเรียนรขู้ องชุมชน 5. พัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการยกระดับคุณภาพในการจัดการ เรียนร้แู ละเพมิ่ โอกาสการเรียนรูใ้ ห้กบั ประชาชน 6. พัฒนาสอ่ื และการจัดกระบวนการเรยี นรู้ เพอื่ แกป้ ญั หาและพฒั นา คณุ ภาพชีวติ ทต่ี อบสนองกับ การเปล่ียนแปลงบริบทด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และส่ิงแวดล้อม รวมทั้ง ตามความต้องการของประชาชนและชุมชนในรปู แบบทหี่ ลากหลาย 7. หนว่ ยงานและสถานศกึ ษามีระบบการบรหิ ารจัดการท่ีเป็นไปตามหลกั ธรรมาภิบาล 8. บุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเพ่ือเพ่ิมสมรรถนะในการปฏิบัติงาน การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อย่างมปี ระสิทธิภาพ ประเดน็ ยุทธศาสตร์สานักงาน กศน.จงั หวัดราชบุรี ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 การจดั การศึกษาเพอ่ื ความม่ันคงของชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 2 พฒั นากาลังคน การวิจยั และนวัตกรรมเพ่ือสรา้ งขดี ความสามารถในการแขง่ ขัน ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 การพฒั นาศกั ยภาพคน และการสรา้ งสังคมแห่งการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การสร้างโอกาสทางการศึกษาต่อเนื่องตลอดชีวิตให้กับผู้เรียนอย่างท่ัวถึง และเทา่ เทียม ยุทธศาสตร์ที่ 5 การจัดการศึกษา เพ่ือสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ยุทธศาสตร์ท่ี 6 การบรหิ ารจัดการศึกษาให้มีประสิทธภิ าพตามหลักธรรมาภิบาลและส่งเสรมิ ให้ทุก ภาคสว่ นมบี ทบาทและมสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษา สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวดั ราชบุรี ค

แผนพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงั หวัดราชบรุ ี พ.ศ.2565-2567 ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี 1 การจดั การศกึ ษาเพ่ือความมนั่ คงของชาติ เปา้ ประสงคเ์ ชิงยทุ ธศาสตร์ 1.1 ผู้เรียนมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดม่ันการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ 1.2 ผู้เรียนได้รบั การศกึ ษาการดแู ลและป้องกันจากภัยคุกคามในชวี ติ รูปแบบใหม่ กลยุทธ์ กลยุทธ์ท่ี 1 ส่งเสริมและพัฒนาการจัดการศึกษาท่ีเสรมิ สร้างความม่ันคงของสถาบัน หลักของชาตแิ ละการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข กลยทุ ธ์ท่ี 2 สง่ เสริมการสรา้ งภูมิคมุ้ กันและการพฒั นาทกั ษะชวี ติ เพอ่ื ความม่ันคงของชาติ กลยทุ ธท์ ี่ 3 พฒั นาการจดั การศึกษาเพื่อการจดั ระบบการดแู ลป้องกนั ภัยคกุ คามในรปู แบบใหม่ ตัวชว้ี ัด (KPI) 1. ร้อยละของสถานศึกษาที่จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนแสดงออกถึงความรัก ในสถาบันหลักของชาติ ยดึ มนั่ การปกครองระบบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ 2. ร้อยละของผู้เรียนที่มีพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดม่ันการ ปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข 3. ร้อยละของสถานศึกษาที่น้อมนาพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ 10 และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามท่ีกาหนดได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 4. ร้อยละของสถานศึกษาท่ีนากระบวนการลูกเสือและยุวกาชาดมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ผเู้ รยี น 5. ร้อยละของผเู้ รยี นท่นี าแนวทางกระบวนการลกู เสือและยุวกาชาดไปปรับใช้ในชวี ิตประจาวัน และมีทักษะชีวติ เพ่มิ ขึ้น 6. ร้อยละของสถานศึกษาท่ีมีการจัดการเรียนการสอน/กิจกรรม เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจท่ถี กู ตอ้ งเก่ยี วกับภยั คุกคามในรูปแบบใหมเ่ พ่มิ ข้ึน 7. รอ้ ยละหนว่ ยงาน/สถานศึกษา มีระบบ กลไก และมาตรการท่ีเข้มแขง็ ในการปอ้ งกนั และแก้ไข ภยั คุกคามในรปู แบบใหม่ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 พัฒนากาลงั คน การวิจยั และนวตั กรรมเพ่อื สรา้ งขีดความสามารถในการ แข่งขัน เปา้ ประสงคเ์ ชิงยุทธศาสตร์ 2.1 การวิจัยและพัฒนาเพ่ือสร้างนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตและ นวัตกรรมทีส่ ร้างผลผลติ และมลู คา่ เพิม่ ทางเศรษฐกจิ 2.2 การพัฒนาทักษะอาชีพท่ีสอดคล้องกับบริบทและความต้องการของ ตลาดแรงงาน สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจงั หวดั ราชบุรี ง

แผนพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั ราชบรุ ี พ.ศ.2565-2567 กลยทุ ธ์ กลยทุ ธ์ท่ี 1 สง่ เสริมการวจิ ัยและพฒั นาเพื่อสร้างนวตั กรรมในการจัดการเรียนรู้ตลอด ชีวติ และนวตั กรรมทสี่ ร้างผลผลติ และมูลค่าเพมิ่ ทางเศรษฐกิจ กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมการพัฒนาทักษะอาชีพเพ่ือการมีงานทาท่ีสอดคล้องกับบริบท และความต้องการของตลาดแรงงาน ตัวชี้วัด (KPI) 1. ร้อยละของสถานศกึ ษาทีม่ งี านวจิ ัยและ/หรือนวตั กรรมการจดั การเรียนรู้ 2. รอ้ ยละของสถานศึกษาท่ีจัดการศกึ ษาโดยบูรณาการองค์ความรู้แบบสะเต็มศึกษา เพิม่ ขึ้น 3. ร้อยละของสถานศึกษาที่มกี ารสรา้ งเครือข่ายเพอ่ื ขบั เคลื่อนการสรา้ งผลผลิตและ มูลคา่ เพมิ่ ทางเศรษฐกจิ ในชุมชนกลุม่ เปา้ หมาย 4. ร้อยละของผู้ผ่านการฝึกอบรม/พัฒนาทักษะอาชีพสามารถนาความรู้ไปใช้ ในชีวติ ประจาวนั และพัฒนาตนเองได้ 5. รอ้ ยละของผเู้ รยี นท่ีเข้ารว่ มกจิ กรรมการเรยี นรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาแนวคิดไปสู่การปฏบิ ัติ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพฒั นาศักยภาพคน และการสรา้ งสังคมแห่งการเรยี นรู้ตลอดชีวิต เปา้ ประสงคเ์ ชิงยุทธศาสตร์ 3.1 ผู้เรียนมีคุณลักษณะพ้ืนฐานของพลเมืองไทย มีทักษะและคุณลักษณะท่ีจาเป็น ในศตวรรษที่ 21 3.2 สถานศึกษาทุกระดับสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตร ได้อย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน 3.3 ประชากรทุกช่วงวัยไดร้ ับการพฒั นาศกั ยภาพตามความต้องการอย่างเหมาะสมกับช่วงวยั 3.4 แหลง่ เรียนรู้ สื่อ นวัตกรรม และสอื่ การเรียนรู้ มคี ุณภาพและมาตรฐาน กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมสนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมที ักษะความรู้ความสามารถและการ พฒั นาคณุ ภาพชวี ิตอยา่ งเหมาะสมตามทักษะและคณุ ลักษณะจาเป็นในศตวรรษที่ 21 กลยทุ ธ์ท่ี 2 สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การเรยี นรู้ตลอดชีวติ กลยุทธ์ท่ี 3 ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ มีความ หลากหลาย และเพียงพอกับประชาชนแต่ละช่วงวัยโดยประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้โดย ไม่จากดั เวลา และสถานที่ สานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั ราชบุรี จ

แผนพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวดั ราชบรุ ี พ.ศ.2565-2567 ตัวช้ีวดั (KPI) 1. ร้อยละของผ้เู รียนทม่ี ที ักษะและคุณลักษณะท่จี าเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 2. ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ดา้ นการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) แต่ละวิชาผ่านเกณฑค์ ะแนนร้อยละ 50 ขนึ้ ไป 3. รอ้ ยละของประชากรทุกช่วงวัยมที ักษะในการใฝเ่ รยี นร้ตู ลอดชีวิต 4. จานวนผู้สูงวัยท่ีได้รับบริการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพและทักษะชีวิต ตามความจาเปน็ เพม่ิ ข้นึ 5. ร้อยละของแหลง่ เรยี นรทู้ ่ีมสี อื่ กจิ กรรม เพอื่ ปลกู ฝงั กระบวนการเรียนรตู้ ลอดชวี ิต 6. ร้อยละของแหล่งเรียนรู้ทไ่ี ดร้ บั การพัฒนาให้สามารถจัดบริการทางการศึกษาและ มกี ารจดั กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ลอดชีวิตที่มีคณุ ภาพเพม่ิ ขึ้น 7. ร้อยละของกศน.ตาบลที่ได้รบั การพฒั นาให้เป็นกลไกขับเคลื่อนการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ในชมุ ชน เพื่อสร้างสังคมแหง่ การเรียนรูต้ ลอดชีวิต 8. มีระบบเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาท่ีทันสมัย สนองตอบความต้องการของ ผู้ใช้บริการอยา่ งมีประสิทธิภาพ 9. ร้อยละของผู้ใช้บริการเครือขา่ ยเทคโนโลยีดจิ ิทัลเพอ่ื การศึกษาเพม่ิ ข้นึ ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 การสรา้ งโอกาสทางการศกึ ษาใหก้ บั ผู้เรยี นอย่างท่วั ถึง และเทา่ เทียม เป้าประสงคเ์ ชิงยทุ ธศาสตร์ 4.1 คนทกุ ชว่ งวัยไดร้ ับการศึกษาและเรยี นรู้อยา่ งมคี ณุ ภาพ 4.2 เพม่ิ โอกาสทางการศกึ ษาผ่านเทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพอื่ การศกึ ษาสาหรบั ประชากรทกุ ช่วงวัย กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1สง่ เสรมิ สนับสนนุ การจัดการศึกษาท่ีหลากหลายให้กับผู้เรียนอยา่ งท่ัวถึงและเท่าเทียม กลยุทธท์ ี่ 2 สง่ เสรมิ และพัฒนาระบบเทคโนโลยีดจิ ิทัลเพื่อการศกึ ษาสาหรับคนทกุ ช่วงวัย ตวั ช้ีวดั (KPI) 1. ร้อยละของกาลังแรงงาน ที่สาเร็จการศึกษาระดับมัธยมตอนต้นหรือเทียบเท่า ได้รบั การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรอื เทียบเท่า 2. ร้อยละของแรงงานที่ขอเทียบโอนความรู้และประสบการณ์เพ่ือยกระดับคุณวุฒิ การศึกษาเพ่มิ ขนึ้ 3. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ลงทะเบียนเรียนในทุกหลักสูตร/กิจกรรม การศึกษาตอ่ เนื่องเทียบกบั เป้าหมาย 4. ร้อยละการอา่ นของประชาชนในจังหวดั ราชบรุ เี พ่ิมขึ้น 5. รอ้ ยละของสถานศกึ ษาที่มีการจดั การเรียนการสอนผา่ นเทคโนโลยีดจิ ิทัล 6. ร้อยละของสถานศึกษาทมี่ ีจานวนระบบเครือข่ายเทคโนโลยีดจิ ิทลั เพอื่ การศึกษาท่ี ทันสมยั สนองตอบความตอ้ งการของผ้เู รยี นและผใู้ ช้บริการอยา่ งทั่วถงึ และมีประสทิ ธภิ าพเพิม่ ขึ้น สานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวัดราชบรุ ี ฉ

แผนพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงั หวดั ราชบรุ ี พ.ศ.2565-2567 ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 การจัดการศึกษาเพ่ือสร้างเสริมคณุ ภาพชีวติ ท่ีเปน็ มิตรกับสิ่งแวดล้อมตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เป้าประสงคเ์ ชิงยทุ ธศาสตร์ 5.1 คนทุกช่วงวัยมีจิตสานึกรักษ์ส่ิงแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และนาแนวคิด ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การปฏบิ ตั ิ 5.2 หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และส่ือการเรียนรู้ท่ีส่งเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับ สง่ิ แวดลอ้ มและมีคุณธรรม จรยิ ธรรม จากการนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ ปฏบิ ตั ิ กลยทุ ธ์ กลยุทธ์ที่ 1 เสริมสร้าง สนับสนุนการสร้างจิตสานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรมและนาแนวคิดตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ารปฏิบัตใิ นการดาเนนิ ชวี ิต กลยทุ ธท์ ี่ 2 สง่ เสริมและพฒั นาหลักสตู รกระบวนการเรยี นรู้ และสอ่ื การเรยี นรตู้ ่าง ๆ ท่เี กีย่ วข้องกับการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่เี ปน็ มติ รกบั สิง่ แวดล้อม ตัวช้วี ดั (KPI) 1. ร้อยละของสถานศึกษาท่ีจัดร่วมกิจกรรม/โครงงานท่ีเก่ียวข้องกับการสร้างเสริม คุณภาพชีวติ ทเ่ี ป็นมติ รกับสิ่งแวดล้อมเพม่ิ ข้ึน 2. ร้อยละของผู้เรียนท่ีเข้าร่วมกิจกรรม/โครงงานที่เก่ียวข้องกับการสร้างเสริม คุณภาพชีวิตทเ่ี ป็นมติ รกบั สงิ่ แวดล้อมเพม่ิ ข้ึน 3. ร้อยละของครู/บุคลากรทางการศึกษาท่ีได้รับการอบรม/พัฒนาในเร่ืองการสร้าง เสรมิ คุณภาพชีวติ ทเ่ี ปน็ มติ รกับส่งิ แวดล้อมเพ่ิมขน้ึ 4. ร้อยละของสถานศึกษาท่ีมีจานวนแหล่งเรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนาให้สามารถจัด การศกึ ษา/จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ีส่งเสริมในเรอื่ งการสร้างเสรมิ คณุ ภาพชวี ิตท่เี ป็นมติ รกับส่งิ แวดล้อม เพิ่มขน้ึ 5. ร้อยละของสถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนและกิจกรรมเพ่ือปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และการนาแนวคดิ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การปฏบิ ตั ิเพมิ่ ขน้ึ 6. ร้อยละของสถานศึกษาสถานศึกษาที่ได้รับการพัฒนาให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ตาม หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศกึ ษา ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาลและ ส่งเสรมิ ใหท้ ุกภาคสว่ นมีบทบาทและมสี ่วนรว่ มในการจดั การศึกษา เป้าประสงคเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์ 6.1 ระบบการบรหิ ารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สง่ ผลต่อคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดราชบรุ ี ช

แผนพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวดั ราชบุรี พ.ศ.2565-2567 6.2 ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาท่ีตอบสนองความต้องการ ของประชาชนและพ้นื ที่ กลยุทธ์ กลยุทธ์ท่ี 1 ส่งเสริม พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ ตามหลักธรรมาภิบาล กลยุทธท์ ่ี 2 พฒั นาระบบการกากับ นเิ ทศ ตดิ ตาม การวัดผล และประเมนิ ผล กลยุทธ์ท่ี 3 ส่งเสริมผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาให้ได้รับการพัฒนา ตามมาตรฐานวชิ าชพี และมคี วามก้าวหนา้ ในวิชาชีพ กลยทุ ธท์ ่ี 4 ส่งเสริมทกุ ภาคส่วนให้มีส่วนร่วมและสร้างเครือข่ายในการจัดการศึกษา ตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนและพ้นื ท่ี ตัวชว้ี ดั (KPI) 1. ร้อยละของสถานศึกษามีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธภิ าพตามหลักธรรมาภิบาล 2. ร้อยละของสถานศึกษาที่มีระบบบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในที่มี ประสิทธภิ าพ 3. ร้อยละของสถานศึกษาท่ีมีระบบการประกันคุณภาพที่เข้มแข็งและมีผลการพัฒนา คณุ ภาพการศกึ ษาเพ่มิ ขน้ึ 4. มีคลังข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาและด้านอ่ืนที่เกี่ยวข้องท่ีสามารถอ้างอิงได้เพ่ือใช้ ประโยชน์ในการวางแผน การบริหารจัดการศกึ ษา การติดตามประเมนิ และรายงานผล 5. ร้อยละของสถานศึกษาที่ได้รับการนิเทศ ด้วยรูปแบบท่ีหลากหลาย ทันสมัยและ สมา่ เสมอ 6. ร้อยละของสถานศึกษาที่มีระบบการนิเทศ ติดตาม การวัดผล ประเมินผลและการ รายงานการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ทม่ี ีประสิทธิภาพ 7. ร้อยละของ ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภทได้รับการ พฒั นาให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชพี และสามารถปฏิบัตงิ านได้อย่างมีประสิทธิภาพเพมิ่ ข้ึน 8. ร้อยละของผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาได้เข้ารับการพัฒนาตามหลักสูตรท่ี กาหนดให้เช่ือมโยงความกา้ วหน้าในวิชาชพี (Career Path) 9. ร้อยละ ของสถานศึกษามีสร้างเครือข่ายการทางานแบบมีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยทุกรูปแบบ อย่างทั่วถึง เท่าเทียม เสมอภาค และครอบคลุม ทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย ดว้ ยการเช่ือมโยงภารกิจของแต่ละองค์กร 10. รอ้ ยละของภาคเี ครอื ข่ายที่ร่วมจดั กิจกรรม/แหล่งเรยี นรู้ 11. ร้อยละของสถานศึกษาที่ส่งเสริมสนับสนุนให้หน่วยงานภาคีเครือข่ายให้ได้รับ การยกย่องเชิดชเู กียรติ สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั ราชบรุ ี ซ

แผนพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดราชบรุ ี พ.ศ.2565-2567 คานา สำนักงำนส่งเสรมิ กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยจังหวัดรำชบุรี (สำนักงำน กศน. จังหวัดรำชบุรี) ได้ดำเนินกำรจัดและพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย เพ่ือสร้ำงโอกำสและลดควำมเหล่ือมลำให้แก่ประชำชน โดยกำหนดจัดทำแผนพัฒนำกำรศึกษำนอกระบบ และกำรศึกษำตำมอัธยำศัยจังหวัดรำชบุรี พ.ศ. 2565 – 2567 ขึน โดยยึดกรอบทิศทำงของแผนพัฒนำ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ นโยบำยของรัฐบำลด้ำนกำรศึกษำ ยุทธศำสตร์และนโยบำยเร่งด่วนปฏิรูป กำรศึกษำของกระทรวงศึกษำธกิ ำร ยุทธศำสตร์และจุดเน้นกำรดำเนินงำนของสำนักงำน กศน. แผนพัฒนำ จงั หวัดรำชบรุ ี และแผนพัฒนำกำรศึกษำจังหวัดรำชบรุ ี รวมทงั แผนพฒั นำด้ำนตำ่ ง ๆ ที่เก่ยี วขอ้ ง ในกำรจัด กำรศึกษำเป็นกรอบแนวคิดหลัก ผสมผสำนกับประเด็นเชิงนโยบำยและสถำนกำรณ์ควำมเปล่ียนแปลงที่ เกิดขึนและส่งผลกระทบต่อกำรจดั กำรศึกษำ ทังนีแผนพฒั นำกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยจังหวัดรำชบุรี พ.ศ.2565 – 2567 ฉบับนีจะใช้เป็นเครื่องมือในกำรบริหำรงำน กำรบูรณำกำรกำรปฏิบัติรำชกำร และผลักดันกำรดำเนินกำร ในภำรกิจของสำนักงำน กศน.จังหวัดรำชบุรี ให้เกิดผลสัมฤทธ์ิ บรรลุเป้ำหมำยกำรพัฒนำของ กระทรวงศึกษำธิกำร นอกจำกนียังใช้เป็นกรอบแนวทำงกำรดำเนินงำนเพื่อตอบสนองต่อเป้ำหมำยและ ผลลัพธ์ตำมนโยบำยของสำนกั งำน กศน. และกระทรวงศึกษำธกิ ำรทีก่ ำหนดไว้ สำนักงำน กศน.จังหวัดรำชบุรี ขอขอบคุณผู้บริหำรสถำนศึกษำ ครู บุคลำกรทำงกำรศึกษำ และผู้มีส่วนเก่ียวข้องท่ีให้ควำมร่วมมือในกำรจัดทำแผนพัฒนำกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำ ตำมอธั ยำศัยจงั หวดั รำชบุรี พ.ศ. 2565 – 2567 จนสำเร็จได้เปน็ อย่ำงดี และหวังเป็นอย่ำงยิง่ ว่ำสถำนศึกษำ ในสังกัดจะนำแผนพัฒนำกำรศึกษำฉบับนีเป็นกรอบเป้ำหมำยทิศทำงกำรจัดกำรศึกษำนอกระบบและ กำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั และขบั เคลอื่ นแผนไปส่กู ำรปฏบิ ตั ิในพนื ที่ให้เกิดผลสัมฤทธ์ิตำมเปำ้ หมำยที่กำหนดไว้ ต่อไป สำนกั งำน กศน.จงั หวัดรำชบรุ ี เมษำยน 2564 สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จังหวดั ราชบรุ ี ฌ

แผนพฒั นำกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยจงั หวดั รำชบรุ ี พ.ศ.2565-2567 สำรบัญ หน้ำ สว่ นที่ บทสรุปผู้บริหำร ก 1 บทนำ 1 1. ขอ้ มลู พืน้ ฐานจังหวัดราชบรุ ี 1 2. ข้อมลู พ้ืนฐานสานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยจงั หวดั ราชบรุ ี 14 3. การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) 18 2 บริบทที่เก่ยี วขอ้ งดำ้ นกำรศึกษำ 21 1. ยทุ ธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561 – 2580 21 2. แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ (12) ประเด็น การเรยี นรู้ (พ.ศ.2561-2580) 24 3. นโยบายรฐั บาลดา้ นการศกึ ษา 25 4. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 29 5. เป้าหมายการพฒั นาทย่ี ง่ั ยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) 32 6. ยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธกิ าร 36 7. แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยของสานักงาน กศน. 37 8. ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาจงั หวดั ราชบรุ ี 44 9. แผนพัฒนาการศกึ ษาจังหวดั ราชบุรี 46 10. บทบาทและอานาจหนา้ ท่ขี องสานกั งาน กศน.จงั หวัด 51 3 สภำพกำรดำเนินงำนกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยจังหวัดรำชบุรี 53 และประเดน็ ท่ีจำเป็นต้องพฒั นำเรง่ ด่วน 53 1. ดา้ นการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ 53 1.1 การจดั การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 69 1.2 การจัดการศกึ ษาต่อเน่อื ง 73 1.3 การจัดการศกึ ษาตามอัธยาศัย 76 2. สรปุ ผลการนเิ ทศติดตามการจัดการศกึ ษาและประเดน็ ท่ีจาเปน็ ตอ้ งพัฒนาเร่งดว่ น สำนักงำนสง่ เสริมกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั จงั หวดั รำชบรุ ี ญ

แผนพฒั นำกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยจงั หวดั รำชบุรี พ.ศ.2565-2567 สำรบัญ (ตอ่ ) ส่วนที่ หน้ำ 4 สำระสำคัญแผนพัฒนำกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศยั จงั หวัดรำชบรุ ี 77 (พ.ศ.2565 - 2567) 77 4.1 วิสัยทศั น์ พนั ธกิจ 4.2 เป้าประสงค์หลัก 78 4.3 ประเดน็ ยุทธศาสตร์ 78 4.4 ตารางตวั ชีว้ ดั /ค่าเปา้ หมายตามประเด็นยทุ ธศาสตร์ 79 4.4.1 ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพ่ือความม่นั คงของชาติ 79 4.4.2 ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 พัฒนากาลงั คน การวิจัย และนวัตกรรม เพือ่ สร้างขดี ความสามารถในการแข่งขัน 82 4.4.3 ประเด็นยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาศักยภาพคน และการสรา้ งสงั คม แห่งการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ 84 4.4.4 ประเด็นยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 การสร้างโอกาสทางการศกึ ษา ใหก้ ับผู้เรยี นอย่างทัว่ ถึง และเท่าเทยี ม 87 4.4.5 ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ 5 การจัดการศกึ ษาเพือ่ เสริมสร้างคณุ ภาพชวี ิต ทีเ่ ป็นมิตรกบั สงิ่ แวดลอ้ มตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 90 4.4.6 ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 6 การบรหิ ารจัดการศกึ ษาใหม้ ปี ระสิทธิภาพ ตามหลักธรรมาภิบาลและส่งเสรมิ ใหท้ กุ ภาคสว่ นมีบทบาทและมสี ่วนร่วม ในการจัดการศึกษา 92 4.5 ระยะเวลาของการดาเนนิ งานตามแผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัยจงั หวัดราชบุรี โครงการทสี่ านักงาน กศน.จงั หวัดราชบรุ ดี าเนนิ การ 97 4.6 ผงั ความเช่อื มโยงระหว่างแผนพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยจงั หวัดราชบุรี กับแผนระดบั ต่าง ๆ 102 5 แนวทำงกำรขบั เคล่อื นแผนพฒั นำกำรศกึ ษำสกู่ ำรปฏิบตั ิ 103 บรรณำนกุ รม 106 คณะทำงำน 108 สำนักงำนสง่ เสริมกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยจงั หวดั รำชบุรี ฎ

แผนพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั ราชบุรี พ.ศ.2565-2567 สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 1 ทำเนยี บผู้บรหิ ำร สำนักงำน กศน.จงั หวัดรำชบุรี 14 2 จำนวนบคุ ลำกรในสงั กดั สำนักงำน กศน.จงั หวัดรำชบรุ ี 16 3 สถำนศกึ ษำในสงั กัดสำนักงำน กศน.จังหวัดรำชบรุ ี 17 4 จำนวนนกั ศกึ ษำที่ลงทะเบียนเรียนกำรศกึ ษำนอกระบบระดบั กำรศึกษำข้ันพืน้ ฐำน 52 5 จำนวนนักศกึ ษำที่ลงทะเบียนเรียนกำรศึกษำนอกระบบระดับกำรศกึ ษำขนั้ พนื้ ฐำน จำแนกรำยสถำนศึกษำ 53 6 จำนวนนกั ศึกษำท่ีจบกำรศึกษำนอกระบบระดับกำรศกึ ษำขัน้ พ้ืนฐำน 55 7 จำนวนนักศึกษำที่จบกำรศึกษำนอกระบบระดับกำรศกึ ษำข้ันพ้ืนฐำน จำแนกรำยสถำนศึกษำ 55 8 ผลคะแนนเฉลี่ยระดับประถมศึกษำของนกั ศกึ ษำในวชิ ำภำษำไทย ภำษำอังกฤษ คณิตศำสตร์ และวทิ ยำศำสตร์ (ปกี ำรศึกษำ) 58 9 ผลคะแนนเฉลี่ยระดับมัธยมศกึ ษำตอนตน้ ของนกั ศึกษำในวิชำภำษำไทย ภำษำองั กฤษ คณติ ศำสตร์ และวทิ ยำศำสตร์ (ปกี ำรศกึ ษำ) 58 10 ผลคะแนนเฉล่ยี ระดบั มัธยมศกึ ษำตอนปลำยของนักศกึ ษำในวิชำภำษำไทย ภำษำอังกฤษ คณิตศำสตร์ และวิทยำศำสตร์ (ปกี ำรศกึ ษำ) 58 11 ผลคะแนนเฉลี่ยกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดับชำติ ดำ้ นกำรศกึ ษำนอกระบบโรงเรียน (N-NET) ดำ้ นทักษะกำรเรยี นรู้ ควำมรู้พน้ื ฐำน กำรประกอบอำชีพ ทักษะกำรดำเนนิ ชวี ติ และกำรพัฒนำสงั คม ระดับประถมศึกษำ 59 12 ผลคะแนนเฉล่ยี กำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดบั ชำติ ด้ำนกำรศกึ ษำนอกระบบโรงเรยี น (N-NET) ระดบั ประถมศึกษำ สำระด้ำนทักษะกำรเรียนรู้ 59 13 ผลคะแนนเฉล่ียกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดบั ชำติ ด้ำนกำรศกึ ษำนอกระบบโรงเรียน (N-NET) ระดับประถมศึกษำ สำระควำมร้พู ืน้ ฐำน 60 14 ผลคะแนนเฉล่ยี กำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดบั ชำติ ดำ้ นกำรศกึ ษำนอกระบบโรงเรียน (N-NET) ระดบั ประถมศกึ ษำ สำระกำรประกอบอำชีพ 60 15 ผลคะแนนเฉล่ียกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดบั ชำติ ด้ำนกำรศึกษำนอกระบบโรงเรยี น (N-NET) ระดับประถมศกึ ษำ สำระทกั ษะกำรดำเนินชวี ติ 61 สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั ราชบรุ ี ฏ

แผนพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวัดราชบุรี พ.ศ.2565-2567 สารบญั ตาราง (ต่อ) ตารางท่ี หน้า 16 ผลคะแนนเฉลี่ยกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดบั ชำติ ด้ำนกำรศกึ ษำนอกระบบโรงเรียน (N-NET) ระดบั ประถมศกึ ษำ สำระกำรพฒั นำสังคม 61 17 ผลคะแนนเฉล่ียกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดับชำติ ดำ้ นกำรศึกษำนอกระบบโรงเรยี น (N-NET) ด้ำนทกั ษะกำรเรยี นรู้ ควำมรพู้ ้ืนฐำน กำรประกอบอำชีพ ทักษะกำรดำเนินชีวิต และกำรพัฒนำสังคม ระดับมัธยมศกึ ษำตอนตน้ 62 18 ผลคะแนนเฉลย่ี กำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติ ด้ำนกำรศกึ ษำนอกระบบโรงเรียน (N-NET) ระดบั มัธยมศึกษำตอนต้น สำระด้ำนทกั ษะกำรเรยี นรู้ 62 19 ผลคะแนนเฉลี่ยกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติ ด้ำนกำรศกึ ษำนอกระบบโรงเรียน(N-NET) ระดับมัธยมศกึ ษำตอนต้น สำระควำมรพู้ ้นื ฐำน 63 20 ผลคะแนนเฉล่ียกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดับชำติ ด้ำนกำรศึกษำนอกระบบโรงเรียน(N-NET) ระดับมธั ยมศกึ ษำตอนตน้ สำระกำรประกอบอำชีพ 63 21 ผลคะแนนเฉล่ยี กำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดบั ชำติ ด้ำนกำรศกึ ษำนอกระบบโรงเรียน(N-NET) ระดับมัธยมศึกษำตอนต้น สำระทักษะกำรดำเนินชวี ติ 64 22 ผลคะแนนเฉล่ียกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดบั ชำติ ด้ำนกำรศกึ ษำนอกระบบโรงเรียน (N-NET) ระดับมัธยมศึกษำตอนตน้ สำระกำรพัฒนำสงั คม 64 23 ผลคะแนนเฉลย่ี กำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติ ด้ำนกำรศกึ ษำนอกระบบโรงเรยี น (N-NET) ด้ำนทกั ษะกำรเรยี นรู้ ควำมรพู้ นื้ ฐำน กำรประกอบอำชพี ทกั ษะกำรดำเนินชีวิต และกำรพัฒนำสงั คม ระดับมธั ยมศกึ ษำตอนปลำย 65 24 ผลคะแนนเฉลี่ยกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดับชำติ ดำ้ นกำรศึกษำนอกระบบโรงเรียน (N-NET) ระดับมัธยมศึกษำตอนปลำย สำระดำ้ นทกั ษะกำรเรยี นรู้ 65 25 ผลคะแนนเฉลย่ี กำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติ ดำ้ นกำรศึกษำนอกระบบโรงเรียน (N-NET) ระดบั มธั ยมศึกษำตอนปลำย สำระควำมรู้พ้ืนฐำน 66 26 ผลคะแนนเฉลย่ี กำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดบั ชำติ ด้ำนกำรศึกษำนอกระบบโรงเรียน (N-NET) ระดับมธั ยมศกึ ษำตอนปลำย สำระกำรประกอบอำชพี 66 27 ผลคะแนนเฉลย่ี กำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดับชำติ ด้ำนกำรศกึ ษำนอกระบบโรงเรียน (N-NET) ระดบั มัธยมศึกษำตอนปลำย สำระทักษะกำรดำเนินชวี ติ 67 สานกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดราชบุรี ฐ

แผนพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจงั หวดั ราชบุรี พ.ศ.2565-2567 สารบญั ตาราง (ตอ่ ) ตารางที่ หน้า 28 ผลคะแนนเฉล่ยี กำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดบั ชำติ ด้ำนกำรศึกษำนอกระบบโรงเรยี น (N-NET) ระดับมธั ยมศกึ ษำตอนปลำย สำระกำรพฒั นำสังคม 67 29 จำนวนผรู้ บั บรกิ ำรท่ีลงทะเบียนกิจกรรมกำรศกึ ษำต่อเนอ่ื ง จำแนกตำมประเภทกจิ กรรม 68 30 จำนวนผูร้ บั บริกำรท่ีลงทะเบียนกิจกรรมกำรศึกษำต่อเนอ่ื ง กำรศกึ ษำเพือ่ พัฒนำอำชพี จำแนกตำมสถำนศกึ ษำ 69 31 จำนวนผรู้ บั บรกิ ำรทล่ี งทะเบยี นกิจกรรมกำรศกึ ษำต่อเน่ือง กำรศึกษำเพอื่ พัฒนำทักษะชีวติ กำรศึกษำเพอ่ื พัฒนำสังคมและชมุ ชน กำรจัดกระบวนกำรเรียนรู้ตำมแนวปรัชญำเศรษฐกจิ พอเพียง จำแนกตำมสถำนศกึ ษำ 69 32 จำนวนผรู้ ับบริกำรท่ีลงทะเบยี นกิจกรรมกำรศึกษำต่อเนอื่ ง กำรส่งเสรมิ กำรร้หู นงั สอื กำรจดั กำรศึกษำเพ่อื ชุมชนในเขตภูเขำ จำแนกตำมสถำนศกึ ษำ 70 33 จำนวนผรู้ ับบริกำรกำรศึกษำตำมอธั ยำศยั จำแนกตำมประเภทกิจกรรม 72 34 จำนวนผู้รบั บริกำรกำรศกึ ษำตำมอัธยำศัย กจิ กรรมหอ้ งสมดุ ประชำชน หอ้ งสมุดเคลื่อนท่ีสำหรับชำวตลำด ห้องสมดุ เคลอ่ื นที่ (รถโมบำย) จำแนกตำมสถำนศึกษำ 73 35 จำนวนผรู้ ับบรกิ ำรกำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั กิจกรรมบ้ำนหนังสือชุมชน อำสำสมคั รส่งเสริมกำรอ่ำน จำแนกตำมสถำนศึกษำ 74 สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จังหวัดราชบรุ ี ฑ

แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวดั ราชบรุ ี พ.ศ.2565-2567 บญั ชภี าพประกอบ ภาพประกอบ หน้า 1 ทต่ี ัง้ และอำณำเขตของจงั หวดั รำชบุรี 2 2 แหล่งท่องเที่ยวหลกั ท่ไี ดร้ บั ควำมนิยมจำกนักทอ่ งเทย่ี ว 10 3 แหลง่ ท่องเท่ียวหลกั ที่ไดร้ บั ควำมนยิ มจำกนักทอ่ งเทีย่ ว 11 4 โครงสร้ำงกำรบรหิ ำรสำนกั งำน กศน.จงั หวดั รำชบรุ ี 16 5 ผังควำมเชือ่ มโยงระหวำ่ งแผนพฒั นำกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศยั จังหวัดรำชบรุ ี พ.ศ. 2565-2567 กบั แผนระดับต่ำง ๆ ทเ่ี กยี่ วข้อง ไปส่กู ำรปฏบิ ัติ 103 สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดราชบุรี ฒ

แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจงั หวัดราชบุรี พ.ศ.2565-2567 สว่ นที่ 1 บทนา 1. ประวตั คิ วามเปน็ มาของจังหวัดราชบุรี จังหวัดราชบุรี มีชื่ออันเป็นมงคลยิ่ง หมายถึง “เมืองพระราชา” เป็นเมืองเก่าแก่เมืองหน่ึงของประเทศไทย จากการศึกษาและขุดค้นของ นักประวัติศาสตร์ นักโบราณคดี พบว่าดินแดนแถบลุ่มแม่น้าแม่กลอง แห่งนีเป็นถ่นิ ฐานท่ีอยู่อาศยั ของคนหลายยุคหลายสมัย และมีความรงุ่ เรือง มาตังแต่อดีต จากหลักฐานทางโบราณสถานและโบราณวัตถุจ้านวนมาก ท้าให้เช่ือได้ว่ามีผู้คนตังถ่ินฐานอยู่ในบริเวณนตี ังแต่ยุคหินกลาง ตลอดจน ได้ค้นพบเมืองโบราณสมัยทวารวดีที่ต้าบลคูบัว อ้าเภอเมืองราชบุรี พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมกษัตริย์แห่ง ราชวงศ์จักรี ได้เคยด้ารงต้าแหน่งหลวงยกกระบัตรเมืองราชบุรีในสมัย กรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ซ่ึงในช่วงปลายสมัยกรุงศรีอยุธยาและตอนต้น กรุงรัตนโกสินทร์ปรากฏหลักฐานทางประวัติศาสตร์ว่าเมืองราชบุรีเป็น เมืองหน้าด่านท่ีส้าคัญเป็นสมรภูมิการรบหลายสมัย โดยเฉพาะในสมัย สมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้ยกทพั มาตงั รบั ศกึ พม่าในเขตราชบุรีหลายครงั ครังท่สี า้ คัญท่ีสุด คือ สงครามเก้าทัพ ต่อมา พ.ศ.2360 ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างก้าแพงเมืองใหม่ทางฝั่งซ้ายของแม่น้าแม่กลองตลอดมาจนถึงปัจจุบัน ครันถึงสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในพ.ศ.2437 ได้ทรงเปล่ียนการปกครองส่วนภูมิภาค โดยรวมหัวเมืองต่าง ๆ ท่ีอยู่ใกล้ชิดกันตังขึนเป็นมณฑล และได้รวมเมืองราชบุรี เมืองกาญจนบุรีเมืองสมุทรสงคราม เมืองเพชรบุรี เมืองปราณบุรี เมืองประจวบคีรีขันธ์ รวม 6 เมือง ตังขึนเป็นมณฑลราชบุรีโดยตังที่บัญชาการมณฑล ณ เมืองราชบุรี ทางฝั่งขวาของแม่น้าแม่กลอง (ต่อมาเป็นที่ตังของศาลากลางจังหวัดราชบุรีหลังเก่า และในปัจจุบันเป็นท่ีตังของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติราชบุรี) ต่อมาในปี พ.ศ.2440 ได้ย้ายท่ีบัญชาการ เมืองราชบุรี จากฝั่งซ้ายกลับมาตังรวมอยู่แห่งเดียวกับศาลาว่าการมณฑลราชบุรี ทางฝั่งขวาของแม่น้า แม่กลอง จนถึง พ.ศ.2476 เมื่อได้มีการยกเลิกการปกครองแบบมณฑลทังหมด มณฑลราชบุรีจึงถูกยกเลิก และคงฐานะเปน็ จงั หวัดราชบรุ จี นถงึ ปจั จุบัน สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจงั หวัดราชบุรี 1

แผนพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั ราชบรุ ี พ.ศ.2565-2567 2. ท่ีต้งั และอาณาเขต จังหวัดราชบุรีตังอยู่ในพืนท่ีภาคกลางด้านทิศตะวันตก มีพืนท่ี 3,247 ล้านไร่ หรือ 5,196 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 11.27 ของเนือที่ภาคตะวันตก 8 จังหวัด มีพืนท่ีชายแดนติดกับ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ โดยมีเทือกเขาตะนาวศรีเป็นแนวพรมแดนสันปันน้า ระยะความยาว 73 กิโลเมตรจงั หวัดราชบรุ อี ยูห่ ่างจากกรงุ เทพมหานครประมาณ 100 กโิ ลเมตร มีแมน่ า้ แมก่ ลองเปน็ แม่น้า สายหลักไหลผ่านจังหวัดราชบุรีในเขตพนื ท่ีอ้าเภอบา้ นโปง่ โพธาราม และอา้ เภอเมืองราชบุรี เป็นระยะทาง 67 กโิ ลเมตร ภาพประกอบ 1 : ที่ตังและอาณาเขตของจังหวดั ราชบุรี 2.1 อาณาเขตติดตอ่ ดงั นี ทิศเหนือ ตดิ ต่อกับจังหวัดกาญจนบุรี ทศิ ใต้ ตดิ ต่อกับจังหวัดเพชรบุรี ทิศตะวันออก ติดตอ่ กับจังหวัดนครปฐม สมุทรสาคร และ สมุทรสงคราม ทศิ ตะวันตก ติดตอ่ กับสาธารณรฐั แห่งสหภาพเมียนมาร์ 2.2 ลกั ษณะภูมิประเทศ สภาพภูมปิ ระเทศแบง่ ไดเ้ ปน็ 4 ลักษณะ คอื (1) พื้นท่ีภูเขาสูง ได้แก่ บริเวณเขตแดนด้านทิศตะวันตกติดกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพ เมียนมาร์ และเขตแดนด้านทิศใต้ติดกับจังหวัดเพชรบุรี มีสภาพเป็นเทือกเขาสูง อุดมด้วยป่าดิบ ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง และป่าไผ่ ความสูงจากระดับนา้ ทะเลปานกลางตังแต่ 200 เมตร ถึง 1,100 เมตร ภาพเนือดินค่อนข้างเป็นดินทราย มีความอุดมสมบูรณ์ต่้า มีปฏิกิริยาเป็นกรด ดินอุ้มน้าได้น้อย อยู่ในเขต พืนท่ีอ้าเภอสวนผึง อ้าเภอบ้านคา และด้านทศิ ตะวนั ตกของอา้ เภอปากท่อ สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวัดราชบุรี 2

แผนพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวดั ราชบุรี พ.ศ.2565-2567 (2) พ้ืนที่ราบสูง ได้แก่ บริเวณถัดจากเทือกเขามาทางด้านทิศตะวนั ออก จนถึงตอนกลาง ของพืนที่จังหวัด มีลักษณะเป็นท่ีราบสูงและเป็นลอนลาด มีแม่น้าภาชีและล้าห้วยสาขาเป็นสายน้าหลัก สภาพดินเป็นดินรว่ นปนทราย มีการชะล้างพังทลายของหน้าดินค่อนข้างสูง สภาพเหมาะกับการปลูกพชื ไร่ และไม้ผล อยู่ในเขตพืนท่ีอ้าเภอสวนผึง อ้าเภอบ้านคา อ้าเภอจอมบึง และด้านทิศตะวันตกของอ้าเภอ ปากท่อ เมอื งราชบุรี โพธาราม และอา้ เภอบา้ นโป่ง (3) พ้ืนที่ราบลุ่ม ได้แก่ บรเิ วณสองฝั่งแมน่ ้าแม่กลอง และด้านทิศตะวันออกของจังหวัด มีความ อุดมสมบูรณ์ค่อนข้างดี มีระบบชลประทานแม่กลองที่เป็นระบบชลประทานขนาดใหญ่ สภาพดินเป็นดิน ร่วนและดินร่วนปนเหนียว เหมาะแก่การปลูกข้าวและพืชผัก อยู่ในเขตอ้าเภอจอมบึง ปากท่อ เมืองราชบุรี บางแพ โพธาราม และอา้ เภอบ้านโป่ง (4) พื้นท่ีราบลุ่มต่า ได้แก่ บริเวณทิศตะวันออกของจังหวัด บริเวณตอนปลายของแม่น้า แม่กลองท่ีเช่ือมต่อกับจงั หวัดสมทุ รสงคราม เป็นท่ีราบลุม่ มีล้าคลองและคนู ้าท่เี ช่อื มต่อกับแม่นา้ แม่กลองอยู่ สูงจากระดับน้าทะเลปานกลาง 1 - 2 เมตร สภาพดินคอ่ นข้างเป็นเนือดินเหนียว ระบายนา้ เลว มีความอุดม สมบูรณ์ตามธรรมชาติปานกลางถึงสูง ใช้ท้านา และยกร่องเพ่ือปลูกพืชสวนและพืชผัก อยู่ในเขตอ้าเภอ วัดเพลง และอ้าเภอด้าเนินสะดวก 3. ลักษณะภมู ิอากาศ จงั หวัดราชบรุ ตี งั อยใู่ นเขตทไี่ ดร้ บั อิทธิพลจากลมมรสุมตะวนั ตกเฉียงใตส้ ามารถแบง่ ออกตามฤดูกาล ได้ 3 ฤดู ดังนี 3.1 ฤดูร้อน เร่ิมตังแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคม ช่วงนีได้รับอิทธิพลจากลม ตะวันออกและลมฝ่ายใต้พัดผ่านท้าให้มีอากาศร้อนอบอ้าวทั่วไป อาจมีพายุฤดูร้อนเกิดขึนในช่วงเดือน มีนาคมถึงเดอื นเมษายน (สถติ อิ ุณหภูมิสงู ทส่ี ุดวัดได้ 40.9 องศาเซลเซียส เมื่อวนั ที่ 24 เมษายน 2541) 3.2 ฤดฝู น แบ่งออกเปน็ 2 ชว่ ง ได้แก่ ช่วงแรก ประมาณกลางเดือนพฤษภาคมถึงเดือนสิงหาคม ช่วงนีได้รับอิทธิพลจาก มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ท่ีพัดเอาความชืนจากมหาสมุทรอินเดียและทะเลอันดามัน แต่เน่ืองจากมีเทือกเขา ตะนาวศรีกันอยู่ จึงท้าให้พืนที่ติดเทือกเขาได้รับปริมาณฝนไม่มากนัก ส่วนใหญ่จะถูกพัดเลยไปตกแถบ ลุ่มนา้ แม่กลองและด้านตะวันออกของจังหวดั ช่วงท่ีสอง ประมาณเดือนกันยายนถึงกลางเดือนพฤศจิกายน ช่วงนีได้รับอิทธิพลจากร่อง มรสมุ ท่ีเลอ่ื นลงมาจากทางภาคเหนอื มาปะทะแนวเทอื กเขาตะนาวศรี ทา้ ใหม้ ฝี นตกชกุ และตกหนักแถบอ้าเภอ สวนผงึ บา้ นคา จอมบึง และอ้าเภอโพธาราม ท้าให้เกิดอุทกภัยและน้าป่าไหลหลากจากเทือกเขาเปน็ ประจ้า ทุกปี ปริมาณฝนมากที่สุดต่อเดือน วัดได้ 441.5 มิลลิเมตร เม่ือเดือนตุลาคม พ.ศ.2548 ปริมาณฝนมาก ท่ีสุดต่อปี วัดได้ 1,513.1 มิลลิเมตร เม่ือปี พ.ศ.2539 ปริมาณฝนน้อยที่สุดต่อปี วัดได้ 902.7 มิลลิเมตร เมอ่ื ปี พ.ศ.2536 สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั ราชบุรี 3

แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวดั ราชบุรี พ.ศ.2565-2567 3.3 ฤดูหนาว เร่ิมตังแต่กลางเดือนพฤศจิกายนถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ มีอากาศหนาวเย็น เน่ืองจากได้ลมท่ีพัดน้าเอาความหนาวเย็นและแห้งมาปกคลุมท้าให้พืนท่ีตามเชิงเขา และอ้าเภอปากท่อ มอี ากาศหนาวถึงหนาวจัดทกุ ปี (สถิตอิ ณุ หภมู ติ า้่ ที่ 25 ธันวาคม 2542) 4. การปกครอง และประชากร จงั หวัดราชบุรี แบง่ การปกครองออกเปน็ 10 อ้าเภอ 104 ต้าบล 975 หมบู่ า้ น การจัดองค์กรบริหารราชการส่วนภูมิภาค มีหน่วยงานราชการท่ีอยู่ในความควบคุมดูแลของ ผวู้ ่าราชการจังหวัด ประกอบด้วย (1) ส่วนราชการในระดับจังหวัด แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ หน่วยราชการบริหาร ส่วนภูมิภาคประจา้ จังหวัด จ้านวน 31 หน่วยงาน และหนว่ ยราชการบริหารส่วนกลาง จา้ นวน 78 หนว่ ยงาน (2) การบริหารราชการส่วนท้องถ่ิน จ้านวน 112 แห่ง ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วน จังหวดั 1 แห่ง ไดแ้ ก่ องค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัดราชบุรี เทศบาลเมือง 4 แห่ง ได้แก่ เทศบาลเมืองราชบุรี เทศบาลเมืองบ้านโป่ง เทศบาลเมืองโพธาราม และเทศบาลเมืองท่าผา เทศบาลต้าบล 30 แห่ง และ องค์การบรหิ ารส่วนต้าบล 77 แหง่ 5. ชาติพนั ธ์ุ จังหวัดราชบุรีมีความหลากหลายทางเชือชาติและเผ่าพันธ์ุมีความแตกต่างกันทางวัฒนธรรมและ ประเพณีอันเป็นลักษณะเด่นของจังหวัดที่สืบทอดมาแต่โบราณกาล เพราะสภาพภูมิประเทศที่เสรมิ ให้เมอื ง ราชบรุ ีเป็นศนู ย์รวมทางวฒั นธรรม เปน็ เมืองท่ผี ู้คนจากดนิ แดนโพน้ ทะเลและชาวพนื เมืองหลายกลุ่มที่อาศัย อยู่บริเวณชายแดนระหว่างไทยและสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์อพยพเข้ามาตังรกราก ท้าให้เมือง ราชบรุ ีประกอบดว้ ยชนหลายเชือชาตริ วม 8 ชาตพิ ันธุ์ ดงั นี 1) ชาวไทยพืนถิ่นราชบุรี อาศัยอยู่ในพืนที่อ้าเภอบางแพ ได้แก่ ต้าบลโพหัก ต้าบลวังเยน็ และอา้ เภอวดั เพลง ได้แก่ ต้าบลวดั เพลง และต้าบลจอมประทัด 2) ชาวไทยเชือสายจีนราชบุรี มักอาศัยอยู่ในพืนท่ีเขตเมืองหรือตลาด คือ ย่านที่ การคมนาคมสะดวกในอดีต ได้ยึดท้าเลท่ีอยู่ริมแม่น้าอยู่คละปะปนกับชาวท้องถิ่นอ่ืน ๆ ชุมชนของชาวจีน ที่อาจเทียบได้วา่ เป็น“ไชนา่ ทาวนแ์ หง่ ราชบรุ ี” ไดแ้ ก่ ในเขตเทศบาลเมืองราชบุรี เขตเทศบาลอา้ เภอบ้านโป่ง และเขตเทศบาลอา้ เภอโพธาราม 3) ชาวไทยเชอื สายเขมรราชบรุ ี อาศยั อยใู่ นพืนทีอ่ ้าเภอเมืองราชบรุ ี ได้แก่ ต้าบลหน้าเมือง ห้วยไผ่ คุ้งกระถิน คุ้งน้าวน และต้าบลพงสวาย อ้าเภอปากท่อ ได้แก่ ต้าบลปากท่อ ยางงาม ดอนทราย บ่อกระดานและต้าบลหนองกระทุ่ม อ้าเภอโพธาราม ได้แก่ ต้าบลบางโตนด และต้าบลเจ็ดเสมียน อา้ เภอบางแพ ไดแ้ ก่ ตา้ บลบางแพ วดั แก้ว วงั เยน็ และตา้ บลหัวโพ อ้าเภอวดั เพลง ไดแ้ ก่ ต้าบลวดั เพลง และ ต้าบลเกาะศาลพระ สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวดั ราชบุรี 4

แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดราชบรุ ี พ.ศ.2565-2567 4) ชาวไทยเชือสายกะเหรี่ยงราชบุรี ชาวกะเหรี่ยงราชบุรีก็คือประชากรประจ้าท้องที่ ที่มบี รรพบรุ ุษเคยเคลอ่ื นย้ายไปมามีความสมั พนั ธก์ บั ชนกลมุ่ อ่ืน ๆ เช่น นา้ ของปา่ มาแลกเปลี่ยนกับชาวเมือง ราชบุรีมวี ถิ กี ารดา้ รงชพี ด้วยการท้าไร่ ทา้ นา และหาของปา่ มีภาษาพูดเปน็ ของกล่มุ ตนเอง อาศัยอยใู่ นพืนท่ี อ้าเภอสวนผึง ได้แก่ ต้าบลสวนผึง และต้าบลตะนาวศรี อ้าเภอบ้านคา ได้แก่ ต้าบลบ้านคา และต้าบล บา้ นบงึ อา้ เภอปากทอ่ ได้แก่ ต้าบลยางหัก 5) ชาวไทยเชือสายมอญราชบุรี อาศัยอยู่ในพืนที่อ้าเภอบ้านโป่ง ได้แก่ ต้าบลบ้านม่วง คงุ้ พะยอม และตา้ บลนครชมุ น์ อา้ เภอโพธาราม ได้แก่ ต้าบลคลองตาคต สร้อยฟา้ ดอนกระเบอื ง และต้าบล โพธาราม 6) ชาวไทยเชือสายลาวโส้ง (โซ่ง) ราชบุรี ส่วนใหญ่เคล่ือนย้ายมาจากจังหวัดเพชรบุรแี ละ บางส่วนมาจากจังหวดั นครปฐม อาศยั อยูใ่ นพืนทีด่ ังนี อ้าเภอด้าเนนิ สะดวก ได้แก่ ตา้ บลดอนคลัง และต้าบล บัวงาม อา้ เภอปากท่อ ต้าบลห้วยยางโทน อ้าเภอจอมบึง ต้าบลจอมบงึ และอา้ เภอบางแพ ตา้ บลดอนคา 7) ชาวไทยเชือสายไทยยวนราชบรุ ี กระจายอยู่ในพนื ทีอ่ า้ เภอต่างๆ คือ อา้ เภอเมืองราชบุรี ได้แก่ ต้าบลคูบัว ห้วยไผ่ ดอนตะโก อ่างทอง เจดีย์หัก หินกอง และต้าบลดอนแร่ อ้าเภอโพธาราม ได้แก่ ต้าบลหนองโพ อ้าเภอบ้านโป่ง ได้แก่ ต้าบลหนองปลาหมอ และต้าบลหนองอ้อ อ้าเภอปากท่อ ได้แก่ ต้าบลอ่างหิน ทุ่งหลวง และต้าบลบ่อกระดาน อ้าเภอจอมบึง ได้แก่ ต้าบลรางบัว อ้าเภอบางแพ ได้แก่ ตา้ บลวัดแก้ว อา้ เภอสวนผงึ ได้แก่ ต้าบลปา่ หวาย และต้าบลท่าเคย 8) ชาวไทยเชือสายลาวเวียงราชบุรี อาศัยอยู่ในพืนท่ีอ้าเภอเมืองราชบุรี ได้แก่ต้าบลเขาแร้ง อ้าเภอโพธาราม ได้แก่ ต้าบลบ้านสิงห์ บ้านฆ้อง บ้านเลือก และต้าบลดอนทราย อ้าเภอบ้านโป่ง ได้แก่ต้าบล กรบั ใหญ่ หนองกบ ปากแรต หนองออ้ และต้าบลทา่ ผา อา้ เภอจอมบงึ ได้แก่ ตา้ บลจอมบึง และตา้ บลปากช่อง ในการจัดท้ายุทธศาสตร์ของจังหวัดเน้นการพัฒนาความหลากหลายทางวัฒนธรรมให้เกิดคุณค่า และมลู คา่ โดยการเช่อื มโยงกับการท่องเที่ยวทางประเพณี และวัฒนธรรม พรอ้ มทังการน้าความหลากหลาย ทางพหุวัฒนธรรมมาเพิ่มค่าผ่านการพัฒนาภูมิปัญญาของกลุ่มชาติพันธ์ุ ให้ความส้าคัญกับการส่งเสริม กิจกรรมประเพณีเพ่ือการสืบสานการพฒั นาอย่างต่อเนื่อง และการอนุรักษ์ที่ยั่งยืน และการสร้างการรับรู้ ในจังหวัด และวงกว้างเพื่อการสร้างความภาคภูมิใจในท้องถิ่นแก่ประชาชน และการปลูกฝังการรักษาสิง่ ที่ ดีงามแก่เด็ก เยาวชน พร้อมทังควรพิจารณาถึงการพัฒนาความหลากหลายทางวัฒนธรรม และชาติพันธุ์ สู่กระบวนการวิวฒั นาชมุ ชนอยา่ งเหมาะสม สมดุล และไมท่ ้าให้เกดิ ความเสื่อมเสียทางวฒั นธรรมที่ดงี าม 6. สภาพเศรษฐกจิ จังหวัดราชบุรีมีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Product : GPP) ณ ราคา ประจ้าปี 2560 เท่ากับ 172,591 ล้านบาท มีมูลค่าลดลงจากปี 2559 จ้านวน 2,051 ล้านบาท โดยมีสาขา การผลิตที่ส้าคัญอันดับที่ 1 คือ สาขาอุตสาหกรรม มูลค่า 41,476 ล้านบาทโครงสร้างทางเศรษฐกิจของ จังหวัดราชบุรี ขึนอยู่กับการผลิตนอกภาคเกษตรมีมูลค่า 147,114 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 85.24 สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจงั หวัดราชบุรี 5

แผนพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวดั ราชบุรี พ.ศ.2565-2567 และการผลิตภาคการเกษตร มีมูลค่า 25,477 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 14.77 การผลิตทัง 2 ภาคจ้าแนก ออกเป็น 16 สาขา ดงั นี 1. สาขาเกษตรกรรม การปา่ ไม้ และการประมง มูลค่า 25,477 ลา้ นบาท รอ้ ยละ 14.77 2. สาขาอุตสาหกรรม มูลคา่ 41,476 ลา้ นบาท ร้อยละ 24.04 3. สาขาการไฟฟ้า แกส๊ และการประปา มลู คา่ 38,403 ลา้ นบาท รอ้ ยละ 22.25 4. สาขาการขายส่ง การขายปลกี การซอ่ มแซมยานยนต์ มูลคา่ 15,982 ลา้ นบาท รอ้ ยละ 9.26 5.* สาขาอนื่ ๆ (12 สาขา) มูลค่า 51,250 ล้านบาท ร้อยละ 29.70 1. พนื้ ทกี่ ารเกษตรจังหวัดราชบุรี ประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดราชบุรี ประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีการปลูกข้าวในเขต ท่ีราบลุ่มแม่น้าแม่กลอง มีการปลูกพืชไร่ชนิดต่าง ๆ เช่น มีการปลูกข้าวมากในพืนท่ี อ้าเภอปากท่อ, อ้าเภอเมอื งราชบุรี, อ้าเภอโพธาราม พืนท่ี 53,035 ไร่ 48,411.77 ไร่ และ 47,996.77 ตามลา้ ดับ มีการปลกู พืชไร่ ในพืนที่ อ้าเภอจอมบึง, อ้าเภอบ้านคา, อ้าเภอโพธาราม พืนท่ี 121,243.25 ไร่, 90,560 ไร่ และ 63,851.90 ไร่ ตามล้าดับ การปลูกไมผ้ ล ปลูกมากในพืนท่ี อ้าเภอดา้ เนนิ สะดวก, อ้าเภอเมอื งราชบุรี, อ้าเภอ บางแพ พนื ทป่ี ลูก 47,939ไร่, 12,823 ไร่ และ10,418 ไร่ ตามล้าดับ นอกจากนันเปน็ การปลูกมะม่วง ชมพู่ ทับทิมจันทร์ องุ่น และเป็นการปลูกพืชผัก ซึ่งสิ่งที่จังหวดั จะให้ความส้าคัญในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์คือ การพัฒนาระบบการบริหารจัดการน้า และดิน ที่มีคุณภาพ และมีความเพียงพอต่อการส่งเสริมการเกษตร โดยเฉพาะเกษตรปลอดภัยที่เป็นมิตรกับสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม เพื่อการส่งเสริมการเกษตรนาขา้ ว พืชผัก ผลไม้ ไม้ยืนต้น และไม้ดอกไม้ประดับของจังหวัด ซ่ึงเป็นผลผลิตหลักส้าคัญ (ท่ีมา : ส้านักงานเกษตร จังหวัดราชบรุ ี ณ เดอื นมถิ ุนายน 2563) 2. พชื เศรษฐกิจท่ีสาคญั ของจังหวดั ราชบรุ ี พืชเศรษฐกิจที่ส้าคัญ ท่ีมีการเพาะปลูกมาก 5 ชนิด คือ ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง มะพร้าว นา้ หอมสับปะรด(โรงงาน) และมนั สา้ ปะหลัง ดังรายละเอยี ดตอ่ ไปนี  ขา้ ว จากสถิติข้อมูลการเกษตร ปี 2563 ข้าวนาปี มีพืนท่ีปลูก 278,315 ไร่ ผลผลิตเฉล่ีย 675 กิโลกรัม/ไร่ ผลผลิตรวม 186,471 ตัน ข้าวนาปรัง พืนที่ปลูก 11,372 ไร่ ผลผลิตเฉล่ีย 693 กิโลกรัม/ไร่ ผลผลติ รวม 7,821 ตนั เนื่องจากการวเิ คราะห์สภาพน้าตน้ ทนุ จากสถานการณ์พบว่าปริมาณน้าต้นทุนในลุ่ม น้าแม่กลอง มีอยู่ประมาณ 4,700 ล้านลูกบาศก์เมตร ซ่ึงน้อยกว่าในช่วงเดียวกันของปีท่ีผ่านมา ส่งผลให้ ปริมาณน้าที่มีไม่เพียงพอต่อการท้านาปรังเป้าหมายการพัฒนาทางยุทธศาสตร์ของจังหวัด จึงเน้นท่ีการ บริหารจัดการนา้ การเพม่ิ พืนทีช่ ลประทาน การเพ่มิ พนื ทก่ี ักเกบ็ น้าในพืนทก่ี ารเกษตร พร้อมทงั พจิ ารณาถึง ความเหมาะสม และเปน็ ไปได้ในการจัดสร้างแกม้ ลงิ ตลอดล้าน้าหลักของจงั หวัด เพื่อรองรับการเกษตรและ ลดปญั หาน้าท่วม น้าแลง้ โดยมเี ป้าหมายคือการเพมิ่ ศกั ยภาพในการท้านาปรงั ของจงั หวดั สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวัดราชบรุ ี 6

แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จังหวดั ราชบุรี พ.ศ.2565-2567 มะพรา้ วนา้ หอม จังหวัดราชบุรี มีพืนท่ีปลูกมะพร้าวน้าหอมมากที่สุดในประเทศไทย เน่ืองจากดินมี คุณลักษณะท่ีเหมาะสม ท้าให้ปลูกมะพร้าวน้าหอมได้คุณภาพดี เป็นท่ีต้องการของผู้บริโภค ประกอบกับ ความต้องการของตลาดต่างประเทศมีปริมาณสูงขึน ผู้ส่งออกต้องการผลผลิตจ้านวนมากขึน มีผู้รับซือ โรงงานแปรรูปตังใหม่มากขึน มีผลท้าให้ราคาสูงขึน จึงมีการขยายพืนท่ีปลูกเพ่ิมมากขึนในช่วง 2 – 3 ปีนี โดยเป้าหมายในทางยุทธศาสตร์ของจังหวัดคือการพัฒนาระบบการปลูกโดยการน้าเทคโนโลยีที่ทันสมัย การส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมการปลูกท่ีสามารถเพ่ิมผลผลิต ลดต้นทุน และการจัดการศัตรูพืช น อ ก จาก นั น ยัง เน้ น ก าร เพ่ิ มค่ าขอ ง ก าร ปลู ก มะ พ ร้ าว น้ าหอ มทั ง ก าร พั ฒ น าสู่ ก าร ท่ อ ง เที่ ย ว เชิ ง เ ก ษ ต ร การพฒั นาการแปรรูปในรปู แบบของวสิ าหกิจชุมชน เพื่อการหนุนเสรมิ เศรษฐกิจเชงิ พนื ท่ี พรอ้ มทงั การสร้าง ความแตกตา่ งโดยการปลูกมะพรา้ วนา้ หอมอินทรยี ์ เพื่อเจาะกลุ่มลกู ค้าพรเี มย่ี ม สับปะรดโรงงาน สับปะรดโรงงานของจังหวัดราชบุรี พืนที่ปลูกส่วนใหญ่อยู่ในเขตอ้าเภอบ้านคา ปากท่อ จอมบงึ และสวนผงึ สบั ปะรด “ราชบุรี” เปน็ อีกหนงึ่ ผลผลิตทางการเกษตรขนึ ชื่อของจงั หวดั ราชบุรี มีพนื ที่ ปลูกเพ่ิมขนึ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง เพื่อใหเ้ พียงพอต่อความต้องการของตลาด เป้าหมายทางยุทธศาสตรค์ อื การพัฒนา ระบบการจัดการแปลงสับปะรด โดยการน้าเทคโนโลยีมาใช้ การส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมในการ โลจิสตกิ ส์ผลผลติ ทางการเกษตรสู่โรงงาน รวมทงั การพัฒนาผลผลติ ให้เพยี งพอ และมคี ณุ ภาพเพอ่ื การพัฒนา สเู่ กษตรอตุ สาหกรรมทมี่ ีประสทิ ธิภาพ มนั สา้ ปะหลงั มันส้าปะหลังเป็นพืชที่ปลูกเฉพาะพนื ที่ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่้า ใช้น้าฝนเป็นหลักท้าให้ พืนทปี่ ลูกคงท่ี มีการเพิ่มหรอื ลดลงในปรมิ าณทไ่ี ม่สูงนัก เนอ่ื งจากพนื ที่เปลี่ยนไปปลกู พืชอื่นได้ยาก รปู แบบ การพัฒนาของยุทธศาสตร์จึงเน้นท่ีการเพิ่มผลผลิตต่อไร่ และการลดต้นทุนในการท้าการเกษตรของ เกษตรกร 3. การปศสุ ตั ว์ จังหวัดราชบุรี ได้ส่งเสริมด้านปศุสัตว์ เน้นการพัฒนาเกษตรกรรายย่อยให้ผลิตปศุสัตว์ อินทรีย์ ลดและเลิกใช้สารเคมีเลียงสัตว์ให้ปลอดโรคและมีความสุข เพื่อคุณภาพชีวิตท่ีดีของผู้เลียงและ ผบู้ ริโภคลดต้นทนุ การผลิต ใช้วัตถดุ ิบตามธรรมชาติ เพิม่ ผลผลิตด้านปศุสตั วเ์ พ่อื ให้เกษตรกรมกี นิ มีใชภ้ ายใน ครวั เรือน เหลือจึงจา้ หน่ายตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ส่วนเกษตรกรรายใหญ่ เน้นพัฒนาปรับระบบการเลียงให้เข้าสู่มาตรฐานฟาร์ม ควบคุม ระบบการเลยี งให้มรี ะบบความปลอดภัยทางชีวภาพ (Bio security) เน้นการผลิตปลอดภัยตอ่ ผบู้ ริโภคตังแต่ ฟารม์ ถึงโต๊ะอาหาร และปลอดภยั ตอ่ ส่งิ แวดลอ้ มมุง่ สู่ราชบรุ ี เปน็ เมอื งเกษตรสีเขยี ว หรือ Green City สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จังหวดั ราชบรุ ี 7

แผนพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดราชบรุ ี พ.ศ.2565-2567 4. ภาคอุตสาหกรรม ในปี พ.ศ.2560 จังหวัดราชบุรี มีโรงงานจ้านวนทังสิน 1,762 แห่ง โดยส่วนใหญ่จะเป็นโรงงาน อุตสาหกรรมขนาดเล็ก 1,600 โรงงาน (เงินลงทุนต้่ากว่า 50 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 90.80 โรงงาน อตุ สาหกรรมขนาดกลาง 111 โรงงาน (เงินลงทุนมากกว่า 50 – 200 ล้านบาท) คิดเป็นรอ้ ยละ 6.30 โรงงาน อตุ สาหกรรมขนาดใหญ่ 51 คิดเปน็ ร้อยละ 2.89 7. ข้อมลู ดา้ นการท่องเที่ยว การเดินทางท่องเที่ยวจังหวัดราชบุรใี นภาพรวมมีอตั ราการเติบโตเพ่ิมขึนเรื่อย ๆ เม่ือเปรียบเทียบกับ ปี พ.ศ. 2558 โดยอตั ราการเพ่มิ ขึนของนักท่องเท่ียวชาวไทยอยู่ท่ีประมาณรอ้ ยละ 18 ขึนไป และอตั ราการ เพิ่มขึนของนกั ทอ่ งเท่ียวชาวต่างประเทศอยู่ทีป่ ระมาณรอ้ ยละ 15 ขึนไป (ข้อมูลสถิติจากกรมการท่องเทย่ี ว ปี พ.ศ. 2559) ด้วยจังหวัดราชบุรีมีแหล่งท่องเที่ยวท่ีหลากหลาย เช่น แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ที่สวยงาม แหล่งท่องเท่ียวทางประวัติศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม แหล่งท่องเท่ียวเชิงเกษตร เชิงสุขภาพ และเชิงนันทนาการ เป็นต้น อีกทังมีความโดดเด่นทางด้านวัฒนธรรม กล่าวคือจังหวัดราชบุรี ประกอบด้วยประชาชน 8 ชาตพิ ันธุ์ คอื ชาวไทยพนื ถิน่ ราชบุรชี าวไทย จนี ราชบุรีชาวไทย เขมร ราชบรุ ชี าว ไทย กะเหรยี่ งราชบุรี ชาวไทยมอญราชบุรี ชาวไทยทรงด้าราชบุรี ชาวไท-ยวนราชบุรี และชาวไทยลาวเวียง ราชบรุ ี โดยแต่ละชาตพิ ันธุ์ลว้ นแลว้ แตม่ ีเอกลกั ษณ์และอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมท่ีทรงคุณค่า จังหวดั ราชบุรี เป็นอีกจังหวัดท่ีถูกเลือกให้เป็น 1 ใน 12 เมือง ภายใต้แนวคิด “12 เมืองต้องห้าม...พลาด” ในหัวข้อธีม การประชาสมั พนั ธ์ “ราชบรุ ชี มุ ชนคนอาร์ต” ซ่งึ จงั หวดั ราชบุรีมีแหล่งทอ่ งเที่ยวที่ส้าคัญและแหล่งทอ่ งเท่ียว ที่ได้รับความนยิ มจากนักท่องเที่ยว เดนิ ทางเขา้ มาทอ่ งเท่ียวเพิม่ ขึนในทกุ ๆ ปี ตามสถานท่ีท่องเที่ยวส้าคัญๆ ดังนี 1. แหลง่ ทอ่ งเทีย่ วที่สาคญั จงั หวัดราชบุรี  อาเภอเมืองราชบรุ ี ไดแ้ ก่ พระปรางค์วัดมหาธาตวุ รวหิ าร พพิ ธิ ภัณฑ์สถานแหง่ ชาติราชบุรี เมืองโบราณคูบัว ค่ายภาณุรังสี ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง พิพิธภัณฑ์ทหารช่าง เทือกเขางู ถ้าระฆัง เขาแก่น จันทน์สวนสาธารณะจกั รอี นุสรณส์ ถาน เขาวัง วัดหนองหอย วัดอรญั ญกิ าวาส ถา้ เขาบนิ สวนพฤกษศาสตร์ วรรณคดีภาคกลาง วัดช่องลม ศูนย์สืบทอดศิลปะผ้าตีนจก จิปาถะภัณฑสถานบ้านคูบัว โรงงานเถ้าฮงไถ่ และโรงงานรัตนโกสนิ ทร์เซรามกิ 4  อาเภอบ้านโป่ง ได้แก่ สระน้าโกสินารายณ์วัดม่วง และพิพิธภัณฑ์พืนบ้านวัดม่วง บงึ กระจับ หนองอ้อวอเตอรเ์ วิลด์  อาเภอโพธาราม ได้แก่ วัดขนอนหนังใหญ่ ค่ายหลวงบ้านไร่ วัดคงคาราม และจิตรกรรม ฝาผนัง วัดคงคาราม วัดเขาชอ่ งพราน และค้างคาว/เขาชอ่ งพรานสหกรณ์โคนม วดั ถ้าน้า วนอทุ ยานเขาน้อย ถ้าสาลกิ าตลาดเกา่ 119 ปี เจด็ เสมียน เขาปากกว้าง สวนศลิ ปบ์ ้านดนิ และสุนทรีแลนด์แดนตกุ๊ ตา สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวดั ราชบรุ ี 8

แผนพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวดั ราชบุรี พ.ศ.2565-2567  อาเภอดาเนินสะดวก ได้แก่ ตลาดน้าด้าเนินสะดวก ตลาดน้าด้าเนินฯเก่า (คลองลัดพลี) หมู่บ้านชา้ งและด้าเนนิ สะดวกสวนนา้ ตาลบังเละ สวนงูเด็กไทย(สขุ โชครสี อร์ท) ศาลวหิ ารหลวงพ่อบา้ นแหลม – หลวงพอ่ เขาตะเคราศูนยว์ ัฒนธรรม 8 ชนเผ่า วดั หลวงพ่อสดธรรมกายาราม วดั ราษฎรเ์ จรญิ ธรรม วัดปราสาท สิทธ์ิ วดั โชติทายการาม รอยัลไทยแฮนดด์ ิคราฟเซนเตอร์ บ้านไทยทรงดา้ ตลาดน้าวดั ปราสาทสทิ ธ์ิ และดา้ เนิน สปาย  อาเภอวัดเพลง ไดแ้ ก่ วัดเกาะศาลพระ โบราณสถานโคกวิหาร โบราณสถานโคกนายผาด ศาลเจ้าพอ่ หลกั เมือง โบสถ์ครสิ ตพ์ ระหฤทัย วัดเพลง วดั แจง้ เจริญ ฟารม์ ชวนชม และไพสิฐฟาร์ม  อาเภอปากท่อ ได้แก่ อุทยานเฉลิมพระเกียรติไทยประจัน วัดเขาถ้าทะลุ ศูนย์การเรียนรู้ ปราชญ์ชาวบา้ นบ้านเหลา่ มะละกอ และมาลยั ออสทริชฟาร์มราชบรุ ี  อาเภอบางแพ ได้แก่ อุทยานหุ่นขีผึงสยาม ศาลเจ้าแม่ลิมกอเหน่ียว วัดหัวโพ วัดท่าราบ ไร่ปลูกรกั ฟลาวเวอรแ์ ลนด์  อาเภอจอมบึง ได้แก่ ถ้าจอมพล และสวนสัตว์เปิดเขาประทับช้าง สวนพฤกษศาสตร์ วรรณคดวี ดั วาปสี ุทธาราม(ตลาดควาย) และวัดทงุ่ กระถนิ  อาเภอสวนผ้ึง ได้แก่ เขากระโจมโป่งยุบ น้าตกบ่อหวี ศูนย์ศึกษาพรรณไม้ป่าสมเด็จพระ นางเจ้าสิริกิตต์ิ(สวนป่าสิริกิติ์) สวนผึงออร์คิด น้าตกผาชนแดง น้าตกห้วยผาก ธารน้าร้อนบ่อคลึง อุทยาน ธรรมชาติวิทยาตามพระราชด้าริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี น้าตกเก้าโจนหรือ นา้ ตกเก้าชนั นา้ ตกหว้ ยสวนพลสู วนธรรมรส วดั ห้วยผากเทพประทานพร ไรก่ ุหลาบอุษาวดี ธนาคารควาย จดุ ชมววิ หว้ ยคอกหมู แก่งส้มแมว พิพธิ ภณั ฑ์พืนบ้านภโวทัย บ้านหอมเทียน และเดอะซนี เนอรร์ ี่วินเทจฟาร์ม  อาเภอบ้านคา ได้แก่ ศูนย์ทอผ้ากะเหร่ียงบ้านคา วัดป่าพระธาตุเขาน้อย วัดป่าตะแบกไร่ อง่นุ พลบั พลา น้าพุร้อนบา้ นบึง(โป่งกระทิง) นา้ ตกซับเตย และกลมุ่ ผลติ รากไม้ สถานที่ท่องเที่ยวในแต่ละอ้าเภอยังมีความจ้าเป็นในการพัฒนาโครงสร้างพืนฐานทางการ ท่องเที่ยว การปรับภูมิทัศน์ในแหล่งท่องเท่ียว การพัฒนาขีดความสามารถของผู้ให้บรกิ าร (เจ้าของกิจการ) และบุคลากรในอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวของจังหวัด พร้อมทังเสริมสร้างความเข้มแข็งของการท่องเทยี่ ว ชุมชนให้มีศักยภาพสูง เพื่อรองรับการเช่ือมโยงกับการท่องเที่ยวนานาชาติมากขึน และยกระดับการ ท่องเที่ยวของจังหวัดเป็นการท่องเท่ียวคุณภาพและอบอุ่นด้วยมิตรไมตรีแห่งการบริการของชุมชน และ วัฒนธรรมท่องเที่ยวทเี่ ขม้ แข็ง สานกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวดั ราชบรุ ี 9

แผนพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดราชบรุ ี พ.ศ.2565-2567 2. แหลง่ ท่องเท่ยี วหลกั ทไ่ี ดร้ ับความนิยมจากนักท่องเทยี่ ว  แหล่งท่องเทย่ี วทางธรรมชาติท่สี วยงามและฟาร์มแกะ อ้าเภอสวนผงึ  ตลาดน้าด้าเนนิ สะดวก อ้าเภอด้าเนินสะดวก  วดั ขนอนหนังใหญ่ อ้าเภอโพธาราม  โรงงานท้าโอง่ และเซรามิก อ้าเภอเมอื งราชบรุ ี  อทุ ยานหนุ่ ขผี งึ สยาม อ้าเภอบางแพ  ถ้าเขาบนิ อ้าเภอเมืองราชบรุ ี  บ้านหอมเทียน อา้ เภอสวนผึง 10 ภาพประกอบ 2 แหล่งทอ่ งเที่ยวหลักท่ไี ด้รับความนยิ มจากนกั ท่องเทย่ี ว สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จังหวัดราชบรุ ี

แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวดั ราชบุรี พ.ศ.2565-2567 จุดเน้นของแผนยุทธศาสตร์มุ่งท่ีจะเชื่อมโยงเส้นทางการท่องเที่ยว (Travel Route) ให้เป็น แบรนด์ทางการท่องเท่ียว โดยแบ่งเป็นเส้นทางท่องเท่ียวเชิงธรรมชาติ เส้นทางท่องเท่ียวเชิงวฒั นธรรมและ วิถีชีวิต และเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงเกษตร พร้อมทังส่งเสรมิ การพัฒนากิจกรรมการท่องเท่ียวในทุกเดอื น เพื่อกระตุ้นการท่องเที่ยว และให้ความส้าคัญกับการยกระดับการท่องเที่ยวอ้าเภอสวนผึงรองรับ การทอ่ งเที่ยวระดบั นานาชาติ เชือ่ มโยงกับหวั หนิ กาญจนบุรี และกรงุ เทพมหานคร จังหวัดราชบุรี ยังโดดเด่นในเร่ืองของ “เมืองแห่งศิลปะร่วมสมัย” ที่สามารถพัฒนาเป็น ผลติ ภัณฑ์เชอื่ มโยงกับทอ่ งเท่ียวตา่ ง ๆ อาทิเช่น โอ่งมังกร ที่ในปัจจุบันได้มีการพัฒนารูปแบบเป็นผลิตภัณฑ์เซรามิกสมัยใหม่ท่ีมีความสวยงาม แปลกตา และสามารถใช้ประโยชนไ์ ด้จริง ผลติ ภณั ฑ์ผ้าทอมอื และผ้าจกที่มีลวดลายเป็นเอกลกั ษณ์โดดเด่น ของบ้านคบู วั และบ้านดอนแร่ อา้ เภอเมอื งราชบุรี หนังใหญ่วัดขนอน อ้าเภอโพธารามงานศิลป์ที่รวมเอาศิลปะหลากหลายแขนงเข้าไว้ด้วยกันทัง ลวดลายตัวหนังใหญเ่ ชิงจิตรกรรม ศลิ ปะการแสดงทางนาฏศิลป์ ประกอบกับดนตรปี ี่พาทย์ แหล่งผลิตและจ้าหนา่ ยตุ๊กตาผ้าทีม่ ีชอื่ เสยี งของอ้าเภอโพธาราม ภาพประกอบ 3 แหล่งท่องเทีย่ วหลักทไี่ ด้รบั ความนิยมจากนักทอ่ งเทยี่ ว จุดเน้นในการพัฒนาตามแผนยุทธศาสตร์ของจังหวัด จึงมุ่งสร้างสรรค์นวัตกรรมศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีให้เกิดคุณค่าและมูลค่า โดยการเชื่อมโยงกับการท่องเท่ียวตามโมเดลเศรษฐกิจไทย แลนด์ 4.0 พร้อมทังการพฒั นากจิ กรรมการค้าผลิตภัณฑ์ท่ีเชื่อมโยงกบั การค้าขายในแหล่งท่องเที่ยวส้าคญั ของจังหวดั 8. สภาพสงั คมและความม่นั คง 8.1 การนับถือศาสนาประชากรส่วนใหญข่ องจังหวดั ราชบุรี นับถือศาสนาพทุ ธคิดเป็นรอ้ ยละ 88 รองลงมา ได้แก่ ศาสนาคริสต์ คิดเป็นร้อยละ 10 และศาสนาอิสลาม คิดเป็นร้อยละ 2 ตามล้าดับ (ทีม่ า : ส้านกั งานวฒั นธรรมจังหวดั ราชบรุ ี ข้อมูล ณ เดือนกนั ยายน 2558) 8.2 การสาธารณสุขจังหวัดราชบุรี มีโรงพยาบาลของรัฐ 13 แห่ง 2,309 เตียง โรงพยาบาล เอกชน 6 แหง่ 300 เตยี ง สถานีอนามยั 162 แหง่ คลนิ ิก 207 แห่ง คลนิ กิ ทันตกรรม 43 แหง่ มีบคุ ลากรทาง การแพทย์และสาธารณสุขจานวน 3,092 คน อัตราส่วนแพทย์ต่อประชากรตามทะเบียนราษฎร์เท่ากับ 1 : 1,237คน สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวดั ราชบุรี 11

แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวดั ราชบรุ ี พ.ศ.2565-2567 8.3 คณุ ภาพชวี ิตของคนราชบุรี จา้ แนกตามตัวชวี ดั ขอ้ มูล จปฐ. ผลการจัดเก็บข้อมูลภาพรวม ปี พ.ศ. 2560 จังหวัดราชบุรี ตามตัวชีวัด 5 หมวด ได้แก่ หมวด สขุ ภาพ หมวดมบี า้ นอาศยั หมวดฝักใฝก่ ารศกึ ษา หมวดรายได้กา้ วหน้า และหมวดปลูกฝงั ค่านยิ มไทย พบวา่ คน จังหวัดราชบุรี มีสุขภาพดี มีบ้านอาศัย รักการศึกษา มีงานท้า มีรายได้ และมีความประพฤติดีมีคุณธรรม แต่ ยงั คงมีคนทดี่ ่ืมสุรา และสูบบุหรอี่ ยรู่ อ้ ยละ 4.19 และ 4.15 ตามล้าดับ ความท้าทายของยุทธศาสตร์จึงเน้นท่ีการสร้างนิสัยแห่งชีวิตใหม่ โดยเฉพาะพฤติกรรมสุขภาพ เน้นการดูแลรายบคุ คล การควบคุมผ้บู รโิ ภคกล่มุ เยาวชนอยา่ งใกลช้ ิด และการดแู ลสภาพแวดลอ้ มทางสขุ ภาวะ ในระดบั หมูบ่ า้ น เน้นการเฝ้าระวงั ภัยทจ่ี ะกระทบตอ่ คุณภาพชีวิต พรอ้ มส่งเสริม สนับสนุนใหท้ กุ หมูบ่ า้ นพฒั นา คุณภาพชีวิตตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 8.4 ขอ้ มลู ความมน่ั คง จังหวัดราชบุรตี ังอยู่ในพืนที่ภาคกลางดา้ นทิศตะวนั ตก เปน็ จังหวดั ชายแดนที่มีพืนที่ติดกับ สาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมียนมาร์ เขตรอยตอ่ ชายแดนมลี ักษณะเป็นเทือกเขาสงู และพนื ท่ปี า่ ได้แก่ เทือกเขา ตะนาวศรี เป็นแนวพรมแดนสันปันน้า ระยะความยาว 73 กิโลเมตร โดยแนวเขตชายแดนดังกล่าวอยู่ใน พืนทอ่ี ้าเภอสวนผงึ และอ้าเภอบ้านคา ซึ่งมชี ่องทางตามแนวชายแดนทังหมด 13 ชอ่ งทาง ได้แก่ (1) ชอ่ งทางตะโกบน (8) ช่องทางหว้ ยโกท่า (2) ชอ่ งทางตะโกปดิ ทอง (9) ช่องทางหว้ ยคอกหมู (3) ช่องทางตะโกลา่ ง (10) ช่องทางโปง่ แห้ง (4) ช่องทางหว้ ยสุด (11) ชอ่ งทางพรุ ะกา้ (5) ช่องทางเขากระโจม (12) ช่องทางกระซุ้ง (6) ชอ่ งทางหว้ ยมิ (13) ช่องทางจะเอว (7) ชอ่ งทางบอ่ หวี ช่องทางท่ีสามารถสัญจรได้ด้วยยานพาหนะมี 5 ช่องทาง คือ ช่องทางตะโกบน ตะโกปิดทอง ตะโกล่าง เขากระโจม และชอ่ งทางห้วยคอกหมู ส่งิ ทจ่ี งั หวัดเน้นในการส่งเสรมิ การพฒั นาคอื การพัฒนาชอ่ งทาง ดังกล่าว โดยการจัดการความสงบเรียบรอ้ ยในพืนที่ชายแดนรอยตอ่ การพัฒนาให้เป็นพืนท่ีเศรษฐกจิ ชายแดน ในอนาคต และการเสรมิ สร้างการเชื่อมโยงการพัฒนาคมนาคม การขนส่ง และโลจิสติกส์ของจงั หวดั ที่เชือ่ มโยง ไปยงั พืนท่ชี อ่ งทางการคา้ ชายแดน พรอ้ มทงั การศึกษาความเป็นไปไดใ้ นการผลกั ดันใหเ้ ปน็ ด่านถาวรต่อไป 1) ภยั คุกคามท่ีปรากฏในพ้ืนท่ี (1) ยาเสพตดิ ปญั หาการแพร่ระบาดของยาเสพติดในพืนทย่ี งั คงมอี ยู่ เสน้ ทางการเข้ามา ของยาเสพติดจากภายนอกประเทศตามแนวชายแดนไมป่ รากฏข่าวสาร แต่มีการน้าเข้ายาเสพติดเขา้ มาใน พืนทจ่ี ากภาคกลางประเทศ สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จังหวดั ราชบุรี 12

แผนพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวัดราชบุรี พ.ศ.2565-2567 (2) แรงงานต่างด้าวผิดกฎหมาย เนื่องจากชุมชนฝั่งประเทศเพ่ือนบ้าน มีจ้านวน ไม่มาก รวมทังระยะทางไกลและสภาพพืนท่ีที่ยากล้าบาก ในการเดินทางจึงไม่มีการเข้ามาของแรงงาน ต่างด้าวผิดกฎหมายในพืนท่ี แต่อาจมีเพียงส่วนน้อยท่ีใช้เส้นทางช่องทางพุน้าร้อน จังหวัดกาญจนบุรี และ ทางดา้ นเหนอื ของอ้าเภอสวนผึง ในการเดินทางผา่ นเพ่ือเข้าสูพ่ ืนที่ตอนในของจังหวดั ทังนี มีความพยายาม ในการเข้ามาเพื่อขายแรงงานอันเกิดจากภาวะเศรษฐกิจไม่ดีและความยากจนของประชาชนประเทศเพ่ือนบ้าน ซ่ึงส่ิงท่ีจังหวัดควรพิจารณาคือการเสริมสร้างความร่วมมือจากผู้ประกอบการ ในด้านการลดการจ้างแรงงานต่างชาติไร้ฝีมือและหันมาทดแทนด้วยเทคโนโลยี เน้นการใช้แรงงานฝีมือ ในจังหวัดพร้อมทังการขับเคล่อื นตามแนวทางการพัฒนาของประเทศที่เนน้ การใชร้ ะบบภาษี การใช้แรงงาน ต่างชาติและก้าหนดมาตรฐานการใช้แรงงานต่างชาติให้เป็นมาตรฐานสากล พร้อมทังการเสริมสร้าง ความเข้าใจในข้อปฏิบัติที่แรงงานพึงปฏิบัตอิ ยา่ งถกู ต้อง ไม่ท้ารา้ ยสงิ่ ท่ีดงี ามการสร้างมาตรการแบบมีส่วนร่วม ของผู้ประกอบการ ชุมชนในการจัดการปัญหาอาชญากรรม ปัญหายาเสพติดซึ่งส่งผลกระทบต่อ ความปลอดภัยในชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของประชาชนและสังคมชุมชน ปัญหาทะเลาะวิวาท ดื่มสุรา ก่ออาชญากรรม ปล้นจี ท้าร้ายร่างกายนายจ้างหรือคนในชุมชนใกล้เคียง ซึ่งท่ีผ่านมาแรงงานเหล่านี เม่อื กระท้าความผิดจะหลบหนีไปท้างานที่อน่ื ต่อไป โดยไมไ่ ด้ออกนอกประเทศ และยังมกี ารลักลอบค้าและ เสพยาเสพตดิ อีกด้วย นอกจากนียังเกิดขบวนการค้ามนุษย์ด้านแรงงานขึนจนท้าให้ประเทศไทยกลายเป็น ประเทศต้นทาง ปลายทาง และทางผ่านของการเคล่ือนย้ายแรงงาน ทังผู้ชายผู้หญิงและเด็กเพ่ือการค้าและ การบังคับใช้แรงงาน เกิดเป็นกระบวนการน้าพาจัดหางานส่งคนเข้ามาท้างานโดยผ่านทางนายหน้าซ่ึงมีหลาย รปู แบบ 2) มิติความม่ันคง ในภาวะปกติ คือภัยคุกคามรูปแบบเก่า ได้แก่ การสู้รบด้วยก้าลังอย่างเปิดเผยเพื่อ ป้องกันเอกราชอธิปไตยเหนือดินแดน หรือการใช้อาวุธและความรุนแรงเอาชนะกันจากความแตกต่างทาง ความคิดเห็นทางการเมือง เชน่ กลุ่มผรู้ ่วมพัฒนาชาตไิ ทย (ผรท.) ในอดีต ซึ่งไม่ปรากฏภัยคุกคามรปู แบบเก่า ในเขตจงั หวัดราชบรุ ี แต่กม็ กี ารเตรยี มก้าลงั รองรบั สถานการณ์ทอี่ าจจะเกดิ ขนึ ตามสมมุตฐิ านในแผนป้องกัน ชายแดน มภี ารกิจตามพันธกจิ ของกองทัพบกม่งุ สู่การสร้างสภาพแวดลอ้ มที่ปลอดภัย โดยหน่วยทหาร ตชด. ทหารพราน ในภาวะไม่ปกติ คือภาวะท่ีมีการประกาศใช้กฎหมาย หรือประกาศหรือค้าส่ังพิเศษ เพ่ิมเติมมาจากการใช้กฎหมายปกติ เพื่อเป็นการรักษาความสงบเรียบร้อย มิให้เกิดผลกระทบกับชีวิตและ ทรัพย์สินของประชาชน และการสร้างสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย อันเกิดจากปัญหาทางการเมืองที่ขยายตัว ออกไป มีการใช้ความรุนแรง สร้างความสูญเสีย สังคมไทยถูกแบ่งแยก มีการยุยงปลุกปั่นให้เกิดความเกลียดชัง แตกความสามัคคี สถาบนั หลกั ของชาตถิ ูกจาบจ้วงและบ่อนทา้ ลาย สานักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงั หวดั ราชบุรี 13

แผนพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวัดราชบุรี พ.ศ.2565-2567 ขอ้ มูลพน้ื ฐานสานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวดั ราชบรุ ี 1. ชือ่ หน่วยงาน ส้านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวดั ราชบุรี ช่อื ยอ่ ส้านกั งาน กศน.จังหวัดราชบรุ ี 2. ท่ตี งั้ เลขที่ 112 หมู่ 6 ต้าบลดอนกระเบอื ง อ้าเภอโพธาราม จังหวดั ราชบรุ ี รหัสไปรษณีย์ 70120 โทรศพั ท์ 032-389167 โทรสาร 032-389166 E-mail : [email protected] 3. สังกัด สา้ นักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ส้านกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร 4. ประวัติสานักงาน กศน.จังหวัดราชบรุ ี ส้านักงาน กศน.จังหวัดราชบุรี ประกาศตังแต่วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2520 ใช้ช่ือ“ศูนย์การศึกษา ประชาชนจังหวัดราชบุรี” สังกัดกรมสามัญศึกษา โดยยุบหน่วยงานการศึกษานอกโรงเรียนที่ด้าเนนิ การอยู่ ในจังหวัดราชบุรีมารวมด้วย 8 หน่วยงาน เช่น งานฝึกฝนอาชีพเคลื่อนที่ งานห้องสมุด ประชาชน งานโสตทัศนศึกษา เป็นต้น ต่อมากระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศจัดตังกรมการศึกษานอกโรงเรียนขึน เม่ือวันที่ 24 มีนาคม 2522 โดยได้เปล่ียนชื่อให้สอดคล้องกับกรมฯ เป็น “ ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน จังหวัดราชบุรี” ให้มีหน้าที่บริหารและด้าเนินการศึกษานอกโรงเรยี นทุกประเภทในจังหวัดราชบุรี ต่อมาได้ เปล่ียนชื่อเป็น ส้านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดราชบุรี ตามพระราชบัญญัตสิ ่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พุทธศักราช 2551 มีผลบังคับ ใชเ้ มอื่ วันท่ี 4 มีนาคม 2551 5. ทาเนียบผบู้ รหิ าร ตารางที่ 1 ท้าเนียบผู้บริหาร ส้านกั งาน กศน.จังหวัดราชบุรี ลาดับท่ี ชือ่ -สกลุ ตาแหนง่ ระยะเวลาท่ดี ารงตาแหนง่ 1 นายชิต ชติ ชูตระกูล หัวหนา้ ศูนย์ฯ 20 เม.ย. 2520 – 30 ก.ย. 2525 2 นายชติ ชิตชูตระกูล ผ้อู า้ นวยการศนู ยฯ์ 1 .ตค. 2525 – 5 เม.ย. 2530 3 นายไพบลู ย์ เกดิ สุข ผูอ้ า้ นวยการศนู ยฯ์ 6 เม.ย. 2530 – 30 ก.ย. 2531 4 นายสมหมาย ชาวพรหมมา ผู้อา้ นวยการศูนยฯ์ 1 ต.ค. 2531 – 28 ก.พ. 2533 5 นายวิสุทธิ์ ไตรวนาธรรม ผู้อา้ นวยการศนู ย์ฯ 1 มี.ค. 2533 – 30 ก.ย. 2535 6 นายสนุ ทร ดวงเงิน ผ้อู า้ นวยการศนู ยฯ์ 1 ต.ค. 2535 – 30 ก.ย. 2540 สานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จังหวดั ราชบุรี 14

แผนพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจงั หวดั ราชบุรี พ.ศ.2565-2567 ลาดบั ท่ี ชอื่ -สกุล ตาแหน่ง ระยะเวลาที่ดารงตาแหน่ง 17 พ.ย. 2540 – 30 ก.ย. 2542 7 นายประสิทธ์ิ เชดิ ชู ผู้อ้านวยการศูนย์ฯ 28 ต.ค. 2542 – 23 ธ.ค. 2547 24 ธ.ค. 2547 – 8 ก.พ. 2554 8 นายสมพร เสียงเพราะ ผอู้ า้ นวยการศนู ยฯ์ 4 ส.ค. 2554 – 3 ต.ค. 2554 1 ธ.ค. 2554 – 15 พ.ย. 2558 9 นายกิตตศิ กั ดิ์ รตั นฉายา ผอู้ ้านวยการศนู ย์ฯ 20 พ.ย. 2558 – 30 ก.ย. 2563 1 ต.ค. 2563 – 22 พ.ย 2563 10 นายสมยศ เพ่มิ พงษาเจริญ ผูอ้ ้านวยการส้านักงาน 23 พ.ย. 2563 – ปจั จุบัน 11 นายธวัชชยั ใจชาญสขุ กิจ ผอู้ า้ นวยการสา้ นกั งาน 12 น.ส.ดารัตน์ กาญจนาภา ผู้อา้ นวยการสา้ นักงาน 13 นางศริ ิเพญ็ สังขบรู ณ์ รักษาการในตา้ แหน่ง ผอู้ า้ นวยการ สา้ นักงาน 14 นางอรณชิ วรรณนชุ ผอู้ า้ นวยการสา้ นกั งาน 6. แหลง่ เรียนรู้ จ้านวน 2 แห่ง 1. ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” 2. หอ้ งสมดุ ประชาชนจังหวดั จ้านวน 1 แห่ง 3. ห้องสมุดประชาชนอ้าเภอ จา้ นวน 8 แหง่ 4. กศน.ต้าบล จ้านวน 104 แหง่ 5. ศนู ย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” จ้านวน 2 แหง่ 6. บา้ นหนงั สือชุมชน จ้านวน 316 แหง่ 7. แหล่งเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง จ้านวน 142 แห่ง 8. หอ้ งสมุดเคล่อื นท่สี า้ หรบั ชาวตลาด จ้านวน 10 แห่ง สานักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวดั ราชบรุ ี 15

แผนพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวัดราชบรุ ี พ 7. โครงสรา้ งการบรหิ ารสานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม ภาพประกอบ 4 โครงสรา้ งการบ สานกั

พ.ศ.2565-2567 มอธั ยาศยั จงั หวดั ราชบรุ ี บรหิ ารสา้ นกั งาน กศน.จงั หวัดราชบุรี 16 กงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวดั ราชบรุ ี

แผนพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจงั หวดั ราชบุรี พ.ศ.2565-2567 8. บคุ ลากรสงั กัดสานกั งาน กศน.จงั หวัดราชบรุ ี ตารางท่ี 2 จ้านวนบคุ ลากรในสงั กัดส้านักงาน กศน.จงั หวดั ราชบรุ ี ผู้บริหาร (คน) พนกั งานราชการ ้ขาราชการม (คน) ท่ี ช่ือสถานศึกษา พนกั งาน ครู ครู ลูกจ้าง จา้ งเหมา รวม ราชการ อาสา กศน. (คน) 1. สนง.กศน.จังหวัดราชบรุ ี 2 จังหวดั สมัคร ตาบล ประจา บริการ (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) 3 12 - - 1 6 24 2. กศน.อ้าเภอเมืองราชบรุ ี 1 4 - 7 22 8 42 3. กศน.อา้ เภอโพธาราม 1 - - 2 19 1 9 32 4. กศน.อา้ เภอบา้ นโป่ง 1 3 - 2 15 1 5 27 5. กศน.อ้าเภอปากทอ่ - 2 - 3 11 - 4 20 6. กศน.อ้าเภอด้าเนนิ สะดวก 1 3 - 2 10 - 4 20 7. กศน.อ้าเภอบางแพ - 2 - - 7 - 4 13 8. กศน.อ้าเภอจอมบึง 1 1 - 5 6 - 5 18 9. กศน.อ้าเภอบา้ นคา -1 - 1 2 - 3 7 10. กศน.อ้าเภอสวนผงึ 1 2 - 2 3 - 3 11 11 กศน.อา้ เภอวดั เพลง 1 2 - 1 2 - 2 8 รวม 9 23 12 25 97 3 53 222 9. สถานศกึ ษาในสงั กดั / กศน.ตาบล/ ศศช./ ห้องสมุดประชาชน ตารางท่ี 3 สถานศกึ ษาในสังกัดส้านักงาน กศน.จงั หวัดราชบรุ ี ท่ี สถานศกึ ษา หอ้ งสมดุ เฉลมิ ราช หอ้ งสมดุ กศน.ตาบล ศศช. กมุ ารีฯ ประชาชน (จานวนแหง่ ) (จานวน 1. กศน.อา้ เภอเมืองราชบุรี (จานวนแห่ง) แห่ง) 2. กศน.อา้ เภอจอมบงึ (จานวนแห่ง) 22 3. กศน.อา้ เภอสวนผึง 1 - 6 - 4. กศน.อ้าเภอด้าเนินสะดวก 4 - 1 13 - - 1 15 2 7 - 1 - 5. กศน.อ้าเภอบา้ นโปง่ - 1 - 6. กศน.อา้ เภอบางแพ 1 - - สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั ราชบุรี 17

แผนพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจงั หวดั ราชบรุ ี พ.ศ.2565-2567 ท่ี สถานศึกษา ห้องสมุดเฉลมิ ราช ห้องสมุด กศน.ตาบล ศศช. กมุ ารีฯ ประชาชน (จานวนแห่ง) (จานวน 7. กศน.อ้าเภอโพธาราม (จานวนแห่ง) แหง่ ) 8. กศน.อา้ เภอปากท่อ (จานวนแห่ง) 19 9. กศน.อ้าเภอวดั เพลง - 2 12 - 10. กศน.อ้าเภอบ้านคา 3 - 1 3 - รวม 104 แหง่ - 1 - - 1 - 2 แหง่ 9 แห่ง 2 แหง่ 10. การวิเคราะห์สถานการณ์ (SWOT Analysis) การด้าเนินงานด้านการศึกษาของส้านักงานกศน.จังหวัดราชบุรี มีปัจจัยภายในที่เป็นจุดเด่น จุดด้อย และปัจจัยภายนอกที่เป็นโอกาส และอุปสรรคในการด้าเนินงานซ่ึงได้วิเคราะห์จากสภาพการจัดการศึกษา ปัญหา อุปสรรคในปจั จบุ นั ผลการวิเคราะห์สภาพการจดั การศึกษาในแตล่ ะดา้ น มีดังนี ปัจจยั ภายใน จุดแขง็ (Strengths) S1 ผบู้ รหิ ารมีวสิ ัยทศั น์ สามารถน้านโยบายสกู่ ารปฏิบัติไดป้ ระสบผลส้าเรจ็ S2 บุคลากรมีความมุ่งมั่น ขยัน อดทน เป็นผู้ท่ีแสวงหาความรู้ในการปฏิบัติงานอยู่เสมอ มีความรบั ผิดชอบ ช่วยเหลอื ซ่งึ กันและกนั ยอมรบั การเปลี่ยนแปลง S3 มีวัฒนธรรมองคก์ รที่ท้างานเป็นทีม S4 มีโครงสร้างองค์กรและมีการมอบหมายหน้าท่ีให้บุคลากรอย่างชัดเจนตามคู่มือแนวทางการ ปฏบิ ตั งิ านสา้ นกั งาน กศน. S5 ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการส่งเสริมพัฒนาความรู้ ความสามารถอย่างต่อเนือ่ งด้วย วิธกี ารท่หี ลากหลาย S6 หลักสูตรมีความหลากหลายครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายและสอดคล้องกับบริบทของพืนท่ี S7 ผลสัมฤทธท์ิ างการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) มีแนวโน้มสงู ขึน มากกว่าค่าเฉลย่ี ระดบั ประเทศ S8 มี กศน. ต้าบล/ศรช. กระจายอยทู่ ุกพนื ทีส่ ามารถให้บรกิ ารใหก้ บั ประชาชนทุกชว่ งวัยได้เรียนรู้ ตลอดชวี ติ สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั ราชบุรี 18

แผนพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวัดราชบรุ ี พ.ศ.2565-2567 จดุ ออ่ น (Weaknesses) W1 บุคลากรยังขาดประสบการณ์และขาดทักษะในการท้าหน้าที่เน่ืองจากได้รับการบรรจุ และ แต่งตงั ใหม่ W2 บุคลากรไม่ครบตามโครงสร้าง ท้าให้บุคลากรแต่ละคนต้องรับภาระงานมาก ท้าให้เกิด ผลกระทบต่อคุณภาพงาน W3 มีข้อจ้ากัดของระเบียบการใช้จ่ายงบประมาณเมื่อเปรียบเทียบกับหน่วยงานเครือข่ายที่ ปฏบิ ตั งิ านในลกั ษณะคลา้ ยคลงึ กนั เช่น รปู แบบการอบรม ฯลฯ W4 บุคลากรขาดความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกับกฎระเบียบในการปฏบิ ตั ิงาน W5 ยานพาหนะส้าหรับปฏิบัติงานบางส่วนมีสภาพการไม่พร้อมใช้งานเน่ืองจากเครื่องยนต์และ อปุ กรณอ์ ื่น ๆ มกี ารเสอ่ื มสภาพตามอายกุ ารใช้งาน W6 กศน.ต้าบล บางแห่งยงั ไมม่ ีอาคารสถานที่เป็นเอกเทศ ท้าให้การดา้ เนินงานในภารกิจของกศน. ตา้ บลไมค่ ลอ่ งตัว ปัจจยั ภายนอก โอกาส (Opportunities) O1 ความหลากหลายในชาติพันธุ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมทา้ ให้สามารถออกแบบกิจกรรม การเรียนร้ไู ด้อยา่ งหลากหลาย O2 แนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเอือต่อการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับประชาชนและ เป็นแนวทางการจัดการศกึ ษาและการบรหิ ารจัดการของสถานศกึ ษาและหน่วยงานทางการศกึ ษา O3 ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีดิจิทัลสามารถเข้าถึงได้ง่ายและกว้างขวางมากขึน ช่วยให้ครูและ บุคลากรใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการศึกษาและออกแบบการจัดการศึกษาได้ครอบคลุมทุก กลมุ่ เป้าหมาย O4 มีภาคีเครือข่ายจ้านวนมากท่ีร่วมจัด ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย O5 มีแหล่งเรียนรู้ ปราชญ์/ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ท่ีเป็นประโยชน์ในการจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลายและครอบคลุมทุกพืนที่ O6 รัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการให้ความส้าคัญกับการพัฒนาการศึกษาในทุกพืนท่ีรวมทัง การศึกษาส้าหรบั พืนท่ีชายแดนและการศึกษาบนพนื ทีส่ ูง O7 กฎหมายเปิดโอกาสให้ประชาชนทุกกลุ่ม ได้รับบริการการศึกษาอย่างทั่วถึง เท่าเทียมและ เรียนรตู้ ลอดชวี ติ สามารถเลอื กเรยี นไดห้ ลากหลายตามศกั ยภาพ สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวดั ราชบุรี 19

แผนพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวดั ราชบรุ ี พ.ศ.2565-2567 อุปสรรค (Threats) T1 นโยบายทางการศึกษาเปลย่ี นแปลงบอ่ ย ทา้ ใหก้ ารขับเคลือ่ นนโยบายไปสู่การปฏิบตั ไิ ม่ต่อเนอ่ื ง T2 มีภูมิประเทศติดต่อกับต่างประเทศ ส่งผลให้มีความเสี่ยงในการเกิดปัญหา ยาเสพติดและ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่อาจส่งผลต่อความมั่นคง ของประเทศ T3 สภาพเศรษฐกิจตกต้่าเน่ืองจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 ประชากรวัยแรงงานไม่มีความม่ันคงในอาชีพและให้ความส้าคัญกับการประกอบอาชีพเพ่ือการด้ารงชีวิต มากกว่าการยกระดบั การศกึ ษา T4 ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์และค่านิยมท่ีเปลี่ยนแปลงไป ของเด็กและเยาวชน T5 การเคลอ่ื นยา้ ยแรงงานสง่ ผลถงึ การบริหารจัดการและคณุ ภาพผู้เรียน สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวัดราชบรุ ี 20

แผนพัฒนำกำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศัยจังหวัดรำชบุรี พ.ศ.2565-2567 สว่ นท่ี 2 บรบิ ททเี่ กย่ี วข้องดำ้ นกำรศึกษำ แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามจังหวัดราชบุรี พ.ศ.2565-2567 จัดทาขึ้นโดย เช่ือมโยงภารกิจของชาติและภารกิจระดับจังหวัดด้านการศึกษา บริบทต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับบทบาท อานาจ หน้าทข่ี องสานกั งาน กศน.จงั หวดั ราชบุรี เพ่ือใชเ้ ป็นกรอบแนวทางในการขับเคล่ือนงานให้บรรลุเป้าหมายท่ีได้ กาหนดไว้ ดังน้ี 1. ยุทธศำสตรช์ ำติ พ.ศ. 2561 – 2580 รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย มาตรา 65 กาหนดใหร้ ฐั พงึ จดั ใหม้ ยี ุทธศาสตรช์ าติเป็นเปา้ หมาย การพฒั นาประเทศอย่างย่ังยนื ตามหลักธรรมาภิบาลเพ่ือใชเ้ ป็นกรอบในการจัดทาแผนต่าง ๆ ให้สอดคล้อง และบูรณาการกันเพื่อให้เกิดเป็นพลังผลักดันร่วมกันไปสู่เป้าหมายดังกล่าว โดยให้เป็นไปตามท่ีกาหนดใน กฎหมายว่าด้วยการจัดทายุทธศาสตรช์ าติ และต่อมาได้มกี ารตราพระราชบญั ญัตกิ ารจัดทายุทธศาสตรช์ าติ พ.ศ.2560 โดยกาหนดให้มีการแต่งต้ังคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติเพ่ือรับผิดชอบในการจัดทาร่าง ยุทธศาสตร์ชาติ กาหนดวิธีการการมสี ่วนรว่ มของประชาชนในการจัดทาร่างยทุ ธศาสตร์ชาติ ในการติดตาม การตรวจสอบและการประเมินผล รวมท้ังกาหนดมาตรการส่งเสริมและสนับสนนุ ให้ประชาชนทุกภาคสว่ น ดาเนินการใหส้ อดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) เปน็ ยทุ ธศาสตร์ชาติ ฉบับแรกของประเทศไทยตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซ่ึงจะต้องนาไปสู่การปฏิบัติเพ่ือให้ประเทศไทย บรรลุตามวสิ ยั ทศั น์ของประเทศ เพ่ือความสขุ ของคนไทยทกุ คน วิสยั ทัศน์ “ประเทศไทยมีควำมม่ันคง มั่งค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนำแล้ว ด้วยกำรพัฒนำตำม หลกั ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพยี ง” โดยมีเป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติม่ันคง ประชาชนมีความสุขเศรษฐกิจพัฒนาอย่าง ต่อเน่ือง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติย่ังยืน” โดยยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและมีภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชนและ ประโยชน์ส่วนรวม โดยการประเมนิ ผลการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ ประกอบด้วย 1. ความอย่ดู ีมสี ุขของคนไทยและสังคมไทย 2. ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั การพฒั นาเศรษฐกิจ และการกระจายรายได้ 3. การพฒั นาทรพั ยากรมนุษยข์ องประเทศ 4. ความเท่าเทยี มและความเสมอภาคของสงั คม 5. ความหลากหลายทางชวี ภาพ คุณภาพส่ิงแวดลอ้ ม และความยงั่ ยืนของทรัพยากรธรรมชาติ 6. ประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการและการเขา้ ถึงการให้บรกิ ารของภาครัฐ สำนกั งำนส่งเสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศัยจงั หวดั รำชบุรี 21

แผนพัฒนำกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศัยจังหวดั รำชบุรี พ.ศ.2565-2567 ซ่ึงวิสัยทัศน์ของประเทศดังกล่าว จะนาไปสู่เป้าหมายการพัฒนาประเทศ ดังคติพจน์ประจาชาตวิ ่า “ม่ันคง มั่งคงั่ ย่ังยนื ” มัน่ คง ➢ มีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยและการเปลี่ยนแปลงท้ังภายในประเทศและภายนอก ประเทศ และมีความม่นั คงในทุกมติ ิ ทง้ั มิติ เศรษฐกจิ สังคม ส่งิ แวดลอ้ ม และการเมอื ง ➢ ประเทศมีความมัน่ คงในเอกราชและอธปิ ไตย ➢ สังคมมีความปรองดองและความสามัคคี ประชาชนมีความม่ันคงในชีวิต มีงานและ รายได้ท่ีมั่นคง มที ่อี ยู่อาศัยและความปลอดภัยในชีวิตทรพั ยส์ ิน ➢ มคี วามมั่นคงของอาหาร พลงั งาน และนา้ มัง่ ค่งั ➢ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเน่ือง ยกระดับเข้าสู่กลุ่มประเทศ รายไดส้ ูง ความเหลือ่ มลา้ ของการพัฒนาลดลง ประชากรได้รบั ผลประโยชนจ์ ากการพฒั นาอยา่ งเทา่ เทียมกัน ➢เศรษฐกิจมีความสามารถในการแข่งขันสูง สร้างเศรษฐกิจและสังคมแห่งอนาคต และเปน็ จุดสาคัญของการเชือ่ มโยงในภมู ิภาคทั้งการคมนาคมขนส่ง การผลิต การค้า การลงทุน ➢มีความสมบูรณ์ในทุนที่จะสามารถสร้างการพัฒนาต่อเน่ือง อาทิ ทุนมนุษย์ ทุนทางปัญญา ทุนทางการเงนิ และทุนอน่ื ๆ ยง่ั ยนื ➢ การพัฒนาที่สามารถสร้างความเจริญด้านรายได้ และคุณภาพชีวิตของประชาชน อย่างตอ่ เนื่อง โดยไมใ่ ช้ทรพั ยากรธรรมชาติเกนิ พอดี ไม่สร้างมลภาวะตอ่ สิ่งแวดล้อม ➢ มีการผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และสอดคล้องกับกฎระเบียบ ของประชาคมโลก ➢ คนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มุ่งประโยชน์ส่วนรวมอย่างยั่งยืน ทุกภาคส่วนในสังคม ยดึ ถอื และปฏบิ ตั ติ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง การพัฒนาประเทศในช่วงระยะเวลาของยุทธศาสตร์ชาติ จะมุ่งเน้นการสร้างสมดุลระหว่างการ พฒั นาเศรษฐกิจ สังคม และสงิ่ แวดลอ้ ม โดยประกอบด้วย 6 ยทุ ธศาสตร์ ดงั น้ี 1. ยทุ ธศำสตรช์ ำตดิ ้ำนควำมม่นั คง ประกอบดว้ ย 5 ประเด็น ดงั นี้ 1) การรักษาความสงบภายในประเทศ 2) การปอ้ งกันและแก้ไขปญั หาทม่ี ีผลกระทบต่อความม่ันคง 3) การพัฒนาศกั ยภาพของประเทศไทยใหพ้ ร้อมเผชิญภัยคุกคามที่กระทบตอ่ ความมั่นคงของชาติ 4) การบรู ณาการความร่วมมอื ด้านความมัน่ คงกับอาเซียนและนานาชาติ 5) การพัฒนากลไกการบรหิ ารจัดการความมั่นคงแบบองคร์ วม สำนักงำนสง่ เสริมกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศยั จังหวัดรำชบรุ ี 22

แผนพัฒนำกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศัยจังหวดั รำชบรุ ี พ.ศ.2565-2567 2. ยทุ ธศำสตร์ชำติด้ำนกำรสรำ้ งควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน ประกอบดว้ ย 5 ประเด็นดังนี้ 1) การเกษตรสร้างมูลคา่ 2) อตุ สาหกรรมและบรกิ ารแห่งอนาคต 3) สรา้ งความหลากหลายดา้ นการท่องเท่ียว 4) โครงสร้างพืน้ ฐาน เชือ่ มไทย เชื่อมโลก 5) พฒั นาเศรษฐกิจบนพน้ื ฐานผปู้ ระกอบการยุคใหม่ 3. ยุทธศำสตร์ชำติด้ำนกำรพัฒนำและเสริมสร้ำงศักยภำพทรัพยำกรมนุษย์ ประกอบด้วย 7 ประเดน็ ดงั น้ี 1) การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวฒั นธรรม 2) การพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดช่วงชวี ิต 3) ปฏริ ูปกระบวนการเรียนร้ทู ีต่ อบสนองต่อการเปลยี่ นแปลงในศตวรรษที่ 21 4) การตระหนกั ถงึ พหปุ ัญญาของมนษุ ย์ทห่ี ลากหลาย 5) การเสริมสรา้ งใหค้ นไทยมีสุขภาวะที่ดี ครอบคลุมทง้ั ด้านกาย ใจ สติปัญญา และสังคม 6) การสร้างสภาพแวดลอ้ มท่ีเออ้ื ตอ่ การพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ 7) การเสรมิ สรา้ งศักยภาพการกีฬาในการสร้างคุณค่าทางสังคมและพฒั นาประเทศ 4. ยทุ ธศำสตร์ชำตดิ ำ้ นกำรสรำ้ งโอกำสและควำมเสมอภำคทำงสงั คม ประกอบด้วย 4 ประเดน็ ดังนี้ 1) การลดความเหลือ่ มลา้ สร้างความเป็นธรรมในทุกมติ ิ 2) การกระจายศูนย์กลางความเจรญิ ทางเศรษฐกจิ สงั คมและเทคโนโลยี 3) การเสริมสรา้ งพลงั ทางสงั คม 4) การเพ่มิ ขดี ความสามารถของชมุ ชนทอ้ งถนิ่ ในการพัฒนา การพ่ึงตนเองและ การจัดการตนเอง 5. ยุทธศำสตร์ชำติดำ้ นกำรสรำ้ งกำรเตบิ โตบนคุณภำพชีวติ ทเี่ ปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม ประกอบด้วย 6 ประเดน็ ดงั นี้ 1) สร้างการเติบโตอยา่ งยั่งยนื บนสงั คมเศรษฐกิจสเี ขยี ว 2) สรา้ งการเตบิ โตอยา่ งยงั่ ยืนบนสงั คมเศรษฐกิจภาคทะเล 3) สร้างการเตบิ โตอยา่ งย่งั ยืนบนสังคมท่ีเปน็ มติ รต่อสภาพภมู อิ ากาศ 4) พัฒนาพน้ื ที่เมือง ชนบท เกษตรกรรมและอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ มุง่ เน้นความเปน็ เมือง ท่ีเตบิ โตอย่างต่อเนื่อง 5) พัฒนาความมั่นคงน้า พลังงาน และเกษตรที่เป็นมิตรต่อสิง่ แวดลอ้ ม 6) ยกระดบั กระบวนทัศน์เพอื่ กาหนดอนาคตประเทศไทย สำนกั งำนส่งเสรมิ กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศัยจงั หวดั รำชบุรี 23

แผนพฒั นำกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศัยจังหวัดรำชบุรี พ.ศ.2565-2567 6. ยุทธศำสตร์ชำติด้ำนกำรปรับสมดุลและพัฒนำระบบกำรบริหำรจัดกำรภำครัฐ ประกอบด้วย 8 ประเด็นดงั นี้ 1) ภาครัฐที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ตอบสนองความต้องการ และให้บริการอย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส 2) ภาครัฐบริหารงานแบบบูรณาการโดยมียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมาย และเชื่อมโยง การพฒั นาในทกุ ระดับ ทุกประเดน็ ทกุ ภารกิจ และทุกพนื้ ที่ 3) ภาครัฐมขี นาดเล็กลง เหมาะสมกบั ภารกิจ ส่งเสริมใหป้ ระชาชนและทกุ ภาคสว่ นมสี ่วนร่วม ในการพัฒนาประเทศ 4) ภาครฐั มคี วามทันสมัย 5) บคุ ลากรภาครัฐเปน็ คนดีและเกง่ ยดึ หลักคุณธรรม จริยธรรม มีจติ สานึกมคี วามสามารถสูง มุ่งมั่น และเป็นมอื อาชพี 6) ภาครฐั มีความโปร่งใส ปลอดการทุจรติ และประพฤตมิ ิชอบ 7) กฎหมายมคี วามสอดคลอ้ งเหมาะสมกบั บริบทตา่ ง ๆ และมีเทา่ ทจี่ าเปน็ 8) กระบวนการยุติธรรมเคารพสิทธมิ นษุ ยชนและปฏบิ ตั ติ ่อประชาชนโดยเสมอภาค 2. แผนแมบ่ ทภำยใตย้ ุทธศำสตร์ชำติ (12) ประเดน็ กำรพฒั นำกำรเรียนรู้ (พ.ศ. 2561 – 2580) ก า ร พั ฒ น า ก า ร เ รี ย น รู้ มุ่ ง เ น้ น ผู้ เ รี ย น ใ ห้ มี ทั ก ษ ะ ก า ร เ รี ย น รู้ แ ล ะ มี ใ จ ใ ฝ่ เ รี ย น รู้ ต ล อ ด เ ว ล า มีการออกแบบระบบการเรยี นรู้ใหม่ การเปลี่ยนบทบาทครูการเพม่ิ ประสิทธภิ าพระบบบริหารจัดการศึกษา และการพัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต การวางพื้นฐานระบบรองรบั การเรยี นรู้โดยใช้ดิจิทัลแพลตฟอรม์ และการสรา้ งระบบการศกึ ษาเพ่ือเปน็ เลิศทางวิชาการระดับนานาชาตอิ ีกทัง้ ยังให้ความสาคัญกับการสง่ เสริม การพัฒนาคนไทยตามพหุปัญญาให้เต็มตามศักยภาพ การสร้างเสริมศักยภาพผู้มีความสามารถพิเศษ ใหส้ ามารถต่อยอดการประกอบอาชีพได้อย่างม่ันคง รวมถึงการพัฒนากลไกการทางานในลักษณะการรวมตวั ของกลุ่มผู้มีความสามารถพิเศษในหลากสาขาวิชา ในการรวมนักวิจัยและนักเทคโนโลยีชั้นแนวหน้าเพ่ือ พฒั นาต่อยอดงานวิจยั ในการสร้างสรรคน์ วัตกรรมเพือ่ ตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ และเสรมิ สรา้ งศักยภาพ และความเข้มแข็งของประเทศ เปำ้ หมำยกำรพัฒนำตำมยทุ ธศำสตรช์ ำติ ยุทธศาสตรช์ าติดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ 2.1 คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคณุ ภาพ พรอ้ มสาหรับวิถชี วี ิตในศตวรรษท่ี ๒๑ 2.2 สงั คมไทยมสี ภาพแวดล้อมทีเ่ อ้อื และสนบั สนุนตอ่ การพฒั นาคนตลอดชว่ งชวี ติ ประเด็นภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ ยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 4.3 ปฏิรปู กระบวนการเรยี นรู้ทตี่ อบสนองตอ่ การเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑ 4.3.1 การปรบั เปลย่ี นระบบการเรียนรู้ให้เออื้ ตอ่ การพัฒนาทกั ษะสาหรบั ศตวรรษที่ ๒๑ สำนักงำนส่งเสรมิ กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศยั จังหวัดรำชบรุ ี 24

แผนพฒั นำกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยจงั หวัดรำชบรุ ี พ.ศ.2565-2567 4.3.2 การเปลี่ยนโฉมบทบาท “ครู” ใหเ้ ปน็ ครูยุคใหม่ 4.3.3 การเพมิ่ ประสิทธิภาพระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษาในทกุ ระดบั ทุกประเภท 4.3.4 การพฒั นาระบบการเรยี นรู้ตลอดชีวิต 4.3.5 การสร้างความตื่นตัวให้คนไทยตระหนักถึงบทบาท ความรับผิดชอบ และการวาง ตาแหนง่ ของประเทศไทยในภมู ภิ าคเอเชยี อาคเนย์และประชาคมโลก 4.3.6 การวางพ้ืนฐานระบบรองรับการเรยี นรู้โดยใช้ดจิ ทิ ัลแพลตฟอรม์ 4.3.7 การสรา้ งระบบการศกึ ษาเพื่อเป็นเลศิ ทางวิชาการระดบั นานาชาติ 4.4 การตระหนกั ถึงพหุปญั ญาของมนุษย์ที่หลากหลาย 4.4.1 การพัฒนาและส่งเสริมพหุปัญญาผ่านครอบครัว ระบบสถานศึกษา สภาพแวดล้อม รวมทงั้ สื่อ 4.4.2 การสร้างเส้นทางอาชีพ สภาพแวดล้อมการทางาน และระบบสนับสนุนท่ีเหมาะสม สาหรับผู้มีความสามารถพิเศษผ่านกลไกตา่ ง ๆ 3. นโยบำยรฐั บำล (พลเอกประยุทธ์ จนั ทร์โอชำ นำยกรฐั มนตรี) ตามท่ีนายกรัฐมนตรี (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา) ได้แถลงนโยบายรัฐบาลต่อรัฐสภาเมอ่ื วันที่ 25 กรกฎาคม 2562 มรี ายละเอียดสาคัญประกอบดว้ ยนโยบายหลกั 12 ข้อ ดงั น้ี 1. ปกป้องและเชิดชสู ถาบนั พระมหากษัตริย์ 2. สรา้ งความมัน่ คงและปลอดภยั ของประเทศ และความสงบสุขของประเทศ 3. ทานุบารงุ ศาสนาและวัฒนธรรม 4. การสร้างบทบาทของไทยในเวทีโลก 5. การพฒั นาเศรษฐกจิ และความสามารถในการแขง่ ขันของไทย 6. การพฒั นาพืน้ ทเ่ี ศรษฐกิจและการกระจายความเจรญิ สู่ภมู ภิ าค 7. การพัฒนาสร้างความเข้มแข็งจากฐานราก 8. ปฏริ ปู กระบวนการเรยี นรแู้ ละการพฒั นาศกั ยภาพของไทยทุกชว่ งวยั 9. สาธารณสุขความเสมอภาคและสวัสดิการที่เหมาะสมกับกลุม่ ประชาชน 10. การฟน้ื ฟทู รพั ยากรธรรมชาติและการรักษาสิ่งแวดล้อมเพ่ือสร้างการเติมโตอยา่ งยั่งยืน 11. การปฏิรปู การบริหารจัดการภาครฐั และ 12. การป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบและกระบวนการยุติธรรม นโยบายรัฐบาลได้ให้ความสาคัญในการการพัฒนาคนไทยให้มีความพร้อมในการดารงชีวิต ในศตวรรษท่ี 21 เพื่อให้คนไทยในอนาคตเป็นพลังขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศให้ก้าวไปข้างหน้าอย่างมี แบบแผนได้อย่างมีประสิทธิภาพ รัฐบาลได้กาหนดนโยบายในการพัฒนาท่ีมุ่งพัฒนาคนในทุกมิติตามความ เหมาะสมในแต่ละช่วงวัยให้มีความสมบูรณ์ เป็นคนดี มีวินัย เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม รวมทั้งการพัฒนา สำนกั งำนสง่ เสรมิ กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศัยจังหวัดรำชบุรี 25

แผนพัฒนำกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยจงั หวดั รำชบรุ ี พ.ศ.2565-2567 ระบบสาธารณสขุ และหลกั ประกันทางสังคมทเี่ หมาะสมแก่ประชาชนในกล่มุ ต่าง ๆ โดยมนี โยบายการพฒั นา ทีส่ าคญั ตามนโยบายที่ 8 การปฏริ ปู กระบวนการเรียนร้แู ละการพัฒนาศกั ยภาพของคนไทยทกุ ช่วงวัย ดงั น้ี นโยบำยที่ 8 กำรปฏิรูปกระบวนกำรเรยี นรูแ้ ละกำรพัฒนำศักยภำพของคนไทยทกุ ช่วงวยั 8.1 สง่ เสรมิ กำรพฒั นำเด็กปฐมวยั 8.1.1 จดั ให้มีระบบพัฒนาเดก็ แรกเกิดอย่างตอ่ เนอื่ งจนถงึ เด็กวยั เรียนให้มีโอกาสพฒั นา ตามศักยภาพ เพ่ือสร้างคนไทยที่มีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพผ่านครอบครัวที่อบอุ่นในทุกรูปแบบ ครอบครัว เพอ่ื ส่งตอ่ การพัฒนาเด็กไทยให้มีคุณภาพสู่การพัฒนาในระยะถัดไปบนฐานการให้ความช่วยเหลือ ที่คานึงถึงศักยภาพของครอบครัวและพื้นที่ เตรียมความพร้อมการเป็นพ่อแม่ ความรู้เรื่องโภชนาการและ สุขภาพ การอบรมเลี้ยงดู การส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยผ่านการให้บริการสาธารณะท่ีเก่ียวข้อง โดยเฉพาะการยกระดับคณุ ภาพสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัยทั่วประเทศให้ไดม้ าตรฐาน และพฒั นาศกั ยภาพของ บุคลากรทางการศึกษาและผดู้ แู ลเด็กปฐมวยั ให้สามารถจดั การศกึ ษาไดอ้ ยา่ งมคี ุณภาพ 8.1.2 ส่งเสริมการพัฒนาเดก็ ปฐมวัย โดยคานึงถงึ พหุปัญญาทหี่ ลากหลายของเด็กแต่ละคน ให้ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพ ผ่านการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เช่ือมโยงกับ ระบบโรงเรยี นปกติที่เปน็ ระบบและมีทิศทางทชี่ ัดเจน 8.2 พัฒนำบัณฑติ พนั ธใุ์ หม่ 8.2.1 ปรับรูปแบบการเรียนรู้และการสอนเพ่ือพัฒนาทักษะ และอาชีพของคนทุกช่วงวัย สาหรับศตวรรษท่ี 21 โดยปรับโครงสร้างหลักสูตรการศึกษาให้ทันสมัย มีการนาเทคโนโลยีและการเรียนรู้ ผ่านประสบการณ์จริงเข้ามามีส่วนในการจัดการเรียนการสอน และปรับระบบดึงดูดการคัดเลือก การผลิต และพัฒนาครู ท่ีนาไปสู่การมีครูสมรรถนะสูง เป็นครูยุคใหม่ท่ีสามารถออกแบบและจัดระบบการสร้าง ความรู้ สร้างวินัย กระตุ้น และสร้างแรงบันดาลใจ เปิดโลกทัศน์มุมมองของเด็กและครูด้วยการสอนในเชิง แสดงความคิดเหน็ ใหม้ ากขนึ้ ควบคู่กบั หลักการทางวิชาการ 8.2.2 จัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทางานเพือ่ พัฒนาสมรรถนะของผู้เรียนทั้งในส่วน ฐานความรแู้ ละระบบความคดิ ในลกั ษณะสหวทิ ยาการ และตรงกับความตอ้ งการของประเทศในอนาคต และ เ ป็ น ผู้ เ รี ย น ท่ี ส า ม า ร ถ ป ฏิ บั ติ ไ ด้ จ ริ ง แ ล ะ ส า ม า ร ถ ก า กั บ ก า ร เ รี ย น รู้ ข อ ง ต น เ อ ง ไ ด้ ร ว ม ถึ ง มี ทั ก ษ ะ ด้านภาษาอังกฤษและภาษาท่ีสามที่สามารถส่ือสารและแสวงหาความรู้ได้ มีความพร้อมทั้งทักษะความรู้ ทกั ษะอาชพี และทักษะชีวติ กอ่ นเข้าสูต่ ลาดแรงงาน 8.3 พัฒนำอำชวี ะ พฒั นำคุณภำพวชิ ำชีพ และพฒั นำแรงงำนรองรบั อุตสำหกรรม 4.0 โดยการ จัดระบบและกลไกความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่ชัดเจนเป็นระบบในการพัฒนา กาลงั คนท่มี ีทักษะขัน้ สูงให้สามารถนาความร้แู ละทักษะมาใช้ในการแก้ไขปญั หา รวมถึงการสร้างและพัฒนา นวัตกรรม ซ่ึงต้องครอบคลุมการพัฒนากาลังคนท่ีอยู่ในอุตสาหกรรมแล้ว กาลังคนท่ีกาลังจะเข้าสู่ อุตสาหกรรม และเตรียมการสาหรับผลิตกาลังคนในสาขาที่ขาดแคลน เพื่อรองรับอุตสาหกรรมและ สำนกั งำนส่งเสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั จงั หวัดรำชบุรี 26

แผนพฒั นำกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยจงั หวัดรำชบุรี พ.ศ.2565-2567 เทคโนโลยีในอนาคต รวมทั้งเร่งรัดและขยายผลระบบคุณวุฒิวิชาชีพ การยกระดับฝีมือแรงงานในกลุ่ม อุตสาหกรรมที่มศี กั ยภาพ และอตุ สาหกรรมทใ่ี ชแ้ รงงานเขม้ ขน้ 8.4 ดึงดูดคนเก่งจำกท่ัวโลกเข้ำมำร่วมทำงำนกับคนไทย และส่งเสริมผู้มีควำมสำมำรถสูง สนับสนุนให้ธุรกิจชั้นนาในประเทศดึงดูดบุคคลท่ีมีความสามารถระดับสูงจากทั่วโลกโดยเฉพาะคนไทยเพอื่ กลบั มาเป็นผนู้ าการเปล่ียนแปลงและถ่ายทอดประสบการณ์ ความรู้ ความเช่ียวชาญให้แก่บคุ ลากรในองค์กร ซึ่งจะช่วยกระตุ้นให้เกิดการสร้างธรุ กิจ ผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรมใหม่ ๆ ให้กับประเทศ โดยในระยะแรกให้ ความสาคัญกับการดึงดูดนักวจิ ัย ผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศมาร่วมวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีชั้นแนวหนา้ ในสาขาอุตสาหกรรมเป้าหมาย รวมท้ังมพี ื้นทีใ่ หก้ ลมุ่ ผมู้ ีความสามารถพเิ ศษที่มีศักยภาพสูงได้ทางานร่วมกัน หรอื รว่ มกับเครอื ขา่ ยอืน่ ๆ เพอื่ สร้างองคค์ วามรูแ้ ละนวตั กรรมใหม่ ๆ ให้กับประเทศ 8.5 วิจัยและพฒั นำนวตั กรรมท่ตี อบโจทย์กำรพัฒนำประเทศ 8.5.1 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพ่ือขจัด ความเหลื่อมล้าและความยากจน ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยมุ่งเน้นการพัฒนานวัตกรรมเชิงสังคมและนวัตกรรมในเชิงพ้ืนที่ ที่สามารถช่วยแก้ปัญหาความเหล่ือมล้า สร้างโอกาสสาหรับผู้ด้อยโอกาส และยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงวัย ควบคู่ไปกับการพฒั นาทุนมนุษย์ให้พรอ้ มสาหรับโลกยุคดิจิทัลและอตุ สาหกรรม 4.0 ตามความเหมาะสมได้ อย่างเป็นรูปธรรม โดยระยะแรกจะให้ความสาคัญกับการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาด้านสุขภาพของ ประชาชนอยา่ งครบวงจร ทง้ั ระบบยา วคั ซีน เวชภัณฑ์ และเทคโนโลยที ีท่ ันสมยั 8.5.2 ส่งเสรมิ การวจิ ัยและพฒั นานวัตกรรมทางด้านวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีข้ันสงู เพื่อ สร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน สามารถตอบสนองต่อความเปล่ียนแปลง และสร้างความเป็นเลิศของ ประเทศในอนาคต โดยมงุ่ เน้นการวจิ ยั และพัฒนานวตั กรรมเพื่อนามาใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ในเชิงธุรกิจ กาหนด วาระการวิจัยแห่งชาติ สง่ เสรมิ ความร่วมมือและการเป็นหุน้ สว่ นของทกุ ฝ่ายทั้งภาครัฐ ภาคการศึกษา ชมุ ชน และภาคเอกชน ในทุกสาขาการผลิตและบริการ สร้างสภาพแวดล้อมและองค์ประกอบของระบบวิจัยและ การพัฒนานวัตกรรมให้เข้มแข็ง รวมทั้งบูรณาการการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมกับการนาไปใช้ประโยชน์ ในเชงิ พาณชิ ย์ 8.5.3 สร้างเครือข่ายการทาวิจัยระหว่างภาคส่วนต่าง ๆ ปฏิรูปและบูรณาการระบบ การเรียนการสอนกับระบบงานวิจัยและพัฒนา ให้เอ้ือต่อการเพ่ิมศักยภาพด้านนวัตกรรมของประเทศ เพื่อสนับสนุนการสร้างความเข้มแข็งของธุรกิจไทยทุกระดับในเวทีการค้าโลก ส่งเสริมกระบวนการ การทางานของภาครัฐและภาคเอกชนในการวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวตั กรรมให้เป็นระบบเปิด และมีการบูรณาการการทางานกันอย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ังเชื่อมโยงระบบการศึกษากับภาคปฏิบัติจริง ในภาคธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ การสรา้ งนักวจิ ยั มอื อาชีพและนวัตกรที่สามารถสรา้ งมูลค่าเพมิ่ และยกระดับ งานวิจัย สกู่ ารเพิม่ ศกั ยภาพด้านเทคโนโลยีและนวตั กรรมของประเทศ สำนกั งำนส่งเสรมิ กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศยั จังหวดั รำชบุรี 27

แผนพัฒนำกำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศัยจังหวดั รำชบุรี พ.ศ.2565-2567 8.6 สง่ เสรมิ กำรเรยี นรู้และพัฒนำทกั ษะทุกชว่ งวยั 8.6.1 มุ่งเน้นการพัฒนาโรงเรียนควบคู่กับการพัฒนาครู เพ่ิมประสิทธิภาพระบบบริหาร จัดการศึกษาในทุกระดับบนพื้นฐานการสนับสนนุ ที่คานงึ ถงึ ความจาเป็นและศักยภาพของสถาบันการศึกษา แต่ละแห่ง พร้อมทั้งจัดให้มีมาตรฐานข้ันต่าของโรงเรียนในทุกระดับ และสร้างระบบวัดผลโรงเรียนและครู ท่ีสะท้อนความรับผิดชอบต่อผลลัพธ์ท่ีเกิดกับผู้เรียน คืนครูให้นักเรียนโดยลดภาระงานท่ีไม่จาเป็น รวมถึง จัดให้มีระบบฐานข้อมูลเพ่ือการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยการเชื่อมโยงหรือส่งต่อข้อมูลครอบครัวและ ผู้เรียนระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงการพัฒนาตลอดช่วงชีวิต ตลอดจนพัฒนาช่องทาง ใหภ้ าคเอกชนมสี ว่ นร่วมในการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ 8.6.2 พัฒนาแพลตฟอร์มการเรียนรู้ผ่านระบบดิจิทัล พร้อมทั้งส่งเสริมให้มีการนา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสร้างสรรค์ท่ีเหมาะสมมาใช้ในการเ รียนการสอนออนไลน์แบบเปิด ที่หลากหลาย เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจและเหมาะสมกับช่วงวัย ตลอดจนพัฒนา แหล่งเรียนรู้และอุทยานการเรียนรู้สาหรับเยาวชนที่เชื่อมโยงเทคโนโลยีกับวิถีชีวิต และส่งเสริมการเรียน การสอนท่เี หมาะสมสาหรับผูท้ ี่เขา้ สสู่ ังคมสูงวยั 8.6.3 ลดความเหล่ือมล้าทางการศึกษา โดยบูรณาการการดาเนินงานระหว่างหน่วย จดั การศึกษากับกองทุนเพอ่ื ความเสมอภาคทางการศกึ ษา มุง่ เน้นกลมุ่ เด็กด้อยโอกาสและกลมุ่ เดก็ นอกระบบ การศึกษา ปรับเปล่ยี นการจัดสรรงบประมาณใหส้ อดคล้องกับความจาเป็นของผ้เู รียนและลกั ษณะพน้ื ท่ีของ สถานศึกษา จัดระบบโรงเรียนพี่เล้ียง จับคู่ระหว่างโรงเรียนขนาดใหญ่ท่ีมีคุณภาพการศึกษาดีกับโรงเรียน ขนาดเล็กเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา และการส่งเสริมให้ภาคเอกชนชุมชนในพ้ืนท่ีเข้ามามีส่วนร่วม ในการออกแบบการศึกษาในพนื้ ที่ สนบั สนุนเดก็ ที่มคี วามสามารถแต่ไม่มีทุนทรพั ย์เปน็ กรณีพเิ ศษ ตลอดจน แก้ไขปัญหาหนี้สินทางการศึกษา โดยการปรับโครงสร้างหน้ีกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาและทบทวน รปู แบบการให้ก้ยู มื เพือ่ การศกึ ษาทเ่ี หมาะสม 8.6.4 พัฒนาทักษะอาชีพทุกช่วงวัย โดยกาหนดระบบท่ีเอื้อต่อการพัฒนาทักษะและเพ่ิม ประสิทธิภาพของทุกชว่ งวัย อาทิ การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาให้เชือ่ มโยงกบั ระบบคุณวฒุ วิ ิชาชีพ โดยมีกลไกการวัดและประเมินผลเพ่ือเทียบโอนความรู้และประสบการณ์หน่วยการเรียนท่ีชัดเจน ส่งเสริม เยาวชนที่มีศักยภาพด้านกีฬาให้สามารถพัฒนาไปสู่นักกีฬาอาชีพการกาหนดมาตรฐานฝีมือแรงงาน การจัดให้มีระบบที่สามารถรองรับความต้องการพัฒนาปรับปรุงทักษะอาชีพของทุกช่วงวัย เพื่อรองรับ การเปล่ียนสายอาชีพ ให้ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงานที่อาจจะเปลี่ยนไปตามแนวโน้ม ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยีในอนาคต 8.6.5 ส่งเสริมหลักคิดที่ถูกต้อง โดยสอดแทรกการปลูกฝังวินัยและอุดมการณ์ท่ีถูกต้อง ของคนในชาติ หลักคิดท่ีถกู ต้องดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม การมีจติ สาธารณะ การเคารพกฎหมาย และกติกา ของสังคมเข้าไปในทุกสาระวิชาและในทุกกิจกรรม ควบคู่ไปกับการส่งเสริมกลไกสร้างความเข้มแข็งของ สถาบันครอบครัวในทุกมิติอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ ปรับสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก สำนักงำนส่งเสริมกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยจังหวดั รำชบรุ ี 28

แผนพัฒนำกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศัยจงั หวัดรำชบุรี พ.ศ.2565-2567 สถานศึกษาให้เอื้อต่อการมีคุณธรรม จริยธรรม และจิตสาธารณะ รวมทั้งลงโทษผู้ละเมิดบรรทัดฐานที่ดี ทางสงั คม ตลอดจนสง่ เสริมใหเ้ กดิ การมีส่วนรว่ มของประชาชนในการขับเคลอื่ นประเทศ 8.7 จัดทำระบบปริญญำชุมชนและกำรจัดอบรมหลกั สตู รระยะส้ัน เนน้ ออกแบบหลักสูตรระยะส้ัน ตามความสนใจ พัฒนาทักษะต่าง ๆ ที่ใช้ในการดารงชีวิตประจาวันและทักษะอาชีพของคนทุกช่วงวัย ในพน้ื ทแี่ ละชมุ ชนเปน็ หลัก พร้อมท้งั ศกึ ษาแนวทางการพฒั นาเป็นรูปแบบธนาคารหน่วยกิต ซง่ึ เปน็ การเรียน เกบ็ หน่วยกติ ของวชิ าเรยี นเพื่อใหผ้ ูเ้ รียนสามารถเรียนข้ามสาขาวชิ าและขา้ มสถาบนั การศกึ ษา หรอื ทางานไป พร้อมกนั หรอื เลอื กเรียนเฉพาะหลกั สตู รท่ีสนใจ เพือ่ สร้างโอกาสของคนไทยทุกช่วงวยั และทุกระดบั สามารถ พัฒนาตนเองท้ังในดา้ นการศกึ ษาและการดารงชีวติ 4. แผนกำรศึกษำแหง่ ชำติ พ.ศ. 2560 – 2579 สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้จัดทาแผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 เพือ่ ใช้เป็น แผนยทุ ธศาสตรร์ ะยะยาวสาหรับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับการศึกษาของประเทศ ทั้งทอ่ี ยู่ในกระทรวงศึกษาธิการและ นอกกระทรวงศึกษาธิการได้นาไปใช้เป็นกรอบและแนวทางการพัฒนาการศึกษาและเรียนรู้ สาหรับพลเมือง ทกุ ชว่ งวัยตั้งแตแ่ รกเกดิ จนตลอดชวี ิต โดยมสี าระสาคญั ดงั นี้ วิสยั ทศั น์ของแผนกำรศึกษำแห่งชำติ “คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21” โดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษา 4 ประการ คือ 1) เพ่ือพัฒนาระบบและกระบวนการ จัดการศึกษาที่มคี ุณภาพและมีประสิทธิภาพ 2) เพือ่ พฒั นาคนไทยให้เป็นพลเมอื งดีมคี ุณลักษณะทักษะและ สมรรถนะท่ีสอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติและยุทธศาสตร์ชาติ 3) เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณธรรม จริยธรรม รรู้ กั สามัคคแี ละร่วมมือผนกึ กาลงั ม่งุ สกู่ ารพฒั นาประเทศอย่างย่งั ยืน ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 4) เพอื่ นาประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศท่ีมรี ายไดป้ านกลาง และความเหลื่อมลา้ ภายในประเทศลดลง เพอ่ื ให้บรรลุวิสัยทศั น์และจดุ มงุ่ หมายในการจดั การศึกษา จึงได้วางเปา้ หมายไว้ 2 ดา้ น คอื 1. เป้ำหมำยดำ้ นผู้เรียน (Learner Aspirations) โดยมงุ่ พัฒนาผูเ้ รยี นทุกคนให้มีคณุ ลกั ษณะและ ทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 (3Rs 8Cs) ประกอบดว้ ย ทกั ษะและคุณลกั ษณะต่อไปน้ี ✥ 3Rs ได้แกก่ ารอ่านออก (Reading) การเขยี นได้ (Writing) และการคิดเลขเปน็ (Arithmetics) ✥ 8Cs ได้แก่ 1) ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) 2) ทักษะด้านการสรา้ งสรรค์และนวตั กรรม (Creativity and Innovation) 3) ทกั ษะดา้ นความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding) สำนกั งำนส่งเสรมิ กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยจังหวดั รำชบรุ ี 29

แผนพฒั นำกำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศัยจงั หวัดรำชบุรี พ.ศ.2565-2567 4) ทกั ษะดา้ นความร่วมมือ การทางานเป็นทมี และภาวะผ้นู า (Collaboration, Teamwork and Leadership) 5) ทักษะดา้ นการสือ่ สาร สารสนเทศ และการรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื (Communications, Information and Media Literacy) 6) ทกั ษะด้านคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร (Computing and ICT literacy) 7) ทกั ษะอาชพี และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning Skills) 8) ความมเี มตตา กรณุ า มวี ินัย คุณธรรม จรยิ ธรรม (compassion) 2. เป้ำหมำยของกำรจดั กำรศกึ ษำ (Aspirations) 5 ประการ ดังน้ี 1) ประชากรทกุ คนเข้าถงึ การศกึ ษาที่มคี ุณภาพและมาตรฐานอยา่ งทั่วถงึ (Access) 2) ผู้เรยี นทกุ คน ทกุ กลมุ่ เปา้ หมายได้รับบรกิ ารการศึกษาท่มี ีคณุ ภาพตามมาตรฐาน อยา่ งเท่าเทียม (Equity) 3) ระบบการศึกษาที่มีคุณภาพ สามารถพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุขีดความสามารถ เต็มตามศกั ยภาพ (Quality) 4) ระบบการบริหารจัดการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ เพ่ือการลงทุนทางการศึกษาที่คุ้มค่า และบรรลเุ ปา้ หมาย (Efficiency) 5) ระบบการศกึ ษาท่ีสนองตอบและก้าวทันการเปลย่ี นแปลงของโลกทเ่ี ป็นพลวตั และบริบท ท่เี ปล่ยี นแปลง (Relevancy) ยุทธศำสตร์ในกำรพฒั นำกำรศึกษำ ภายใต้ 6 ยุทธศาสตร์หลักที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ดงั นี้ ยุทธศำสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพอื่ ความมนั่ คงของสังคมและประเทศชาติ มเี ป้าหมาย ดงั นี้ 1.1 คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดม่ันการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ 1.2 คนทุกช่วงวัยในเขตพฒั นาพิเศษเฉพาะกิจจังหวดั ชายแดนภาคใต้และพนื้ ทีพ่ ิเศษได้รับ การศกึ ษาและเรียนรอู้ ย่างมีคณุ ภาพ 1.3 คนทุกช่วงวยั ได้รับการศึกษา การดูแลและปอ้ งกนั จากภัยคกุ คามในชีวิตรปู แบบใหม่ ยุทธศำสตร์ท่ี 2 การผลิตและพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถ ในการแข่งขนั ของประเทศ มีเป้าหมาย ดงั นี้ 2.1 กาลังคนมีทักษะที่สาคัญจาเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงาน และการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ สำนักงำนส่งเสรมิ กำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั จังหวดั รำชบรุ ี 30

แผนพฒั นำกำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศัยจังหวดั รำชบุรี พ.ศ.2565-2567 2.2 สถาบันการศึกษาและหน่วยงานท่ีจัดการศึกษาผลิตบัณฑิตท่ีมีความเชี่ยวชาญและ เปน็ เลิศเฉพาะด้าน 2.3 การวิจัยและพัฒนาเพ่ือสร้างองค์ความรู้ และนวัตกรรมที่สร้างผลผลิตและมูลค่าเพ่ิม ทางเศรษฐกจิ ยุทธศำสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มีเป้าหมาย ดงั น้ี 3.1 ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพ้ืนฐานของพลเมืองไทย และทักษะและคุณลักษณะ ที่จาเป็นในศตวรรษท่ี 21 3.2 คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษา และมาตรฐานวชิ าชีพ และพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ไดต้ ามศักยภาพ 3.3 สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกจิ กรรม/กระบวนการเรยี นรตู้ ามหลักสูตร อยา่ งมีคุณภาพและมาตรฐาน 3.4 แหล่งเรยี นรู้ ส่ือตาราเรียน นวตั กรรม และสอื่ การเรียนรู้มีคณุ ภาพและมาตรฐาน และประชาชนสามารถเข้าถึงไดโ้ ดยไม่จากัดเวลาและสถานที่ 3.5 ระบบและกลไกการวัด การตดิ ตาม และประเมินผลมปี ระสิทธภิ าพ 3.6 ระบบการผลิตครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษาได้มาตรฐานระดบั สากล 3.7 ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา ไดร้ บั การพฒั นาสมรรถนะตามมาตรฐาน ยุทธศำสตร์ท่ี 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา มีเป้าหมาย ดงั น้ี 4.1 ผูเ้ รยี นทุกคนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถึงการศึกษาที่มีคณุ ภาพ 4.2 การเพมิ่ โอกาสทางการศึกษาผา่ นเทคโนโลยดี ิจิทัลเพอื่ การศึกษาสาหรับคนทกุ ช่วงวยั 4.3 ระบบข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาท่ีครอบคลุม ถูกต้องเป็นปัจจบุ ัน เพอื่ การวางแผนการบรหิ ารจดั การศึกษา การตดิ ตามประเมนิ และรายงานผล ยุทธศำสตร์ท่ี 5 การจดั การศกึ ษาเพ่ือสรา้ งเสริมคุณภาพชีวิตทเี่ ปน็ มิตรกับส่งิ แวดล้อม มีเป้าหมาย ดงั นี้ 5.1 คนทุกช่วงวัย มีจิตสานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และนาแนวคิด ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งส่กู ารปฏบิ ัติ 5.2 หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และส่ือการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับ ส่ิงแวดลอ้ ม คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และการนาแนวคิดตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏิบัติ 5.3 การวิจัยเพ่อื พัฒนาองคค์ วามรู้และนวัตกรรมด้านการสรา้ งเสริมคุณภาพชีวติ ทเี่ ป็นมิตร กับสง่ิ แวดล้อม สำนักงำนสง่ เสรมิ กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยจงั หวดั รำชบรุ ี 31

แผนพัฒนำกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยจงั หวดั รำชบรุ ี พ.ศ.2565-2567 ยุทธศำสตรท์ ่ี 6 การพฒั นาประสิทธิภาพของระบบบรหิ ารจัดการศกึ ษามีเปา้ หมาย ดงั น้ี 6.1 โครงสร้าง บทบาท และระบบการบริหารจัดการการศึกษามีความคล่องตัวชัดเจน และสามารถตรวจสอบได้ 6.2 ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลส่งผลต่อคุณภาพ และมาตรฐานการศกึ ษา 6.3 ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่ตอบสนองความต้องการ ของประชาชนและพื้นที่ 6.4 กฎหมายและรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษารองรับลักษณะ ท่ีแตกตา่ งกันของผ้เู รยี น สถานศกึ ษา และความตอ้ งการกาลังแรงงานของประเทศ 6.5 ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา มีความเปน็ ธรรม สรา้ งขวัญกาลังใจ และส่งเสริมให้ปฏบิ ตั ิงานได้อย่างเตม็ ตามศักยภาพ 5. เป้ำหมำยกำรพัฒนำท่ีย่ังยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) องค์การสหประชาชาติประจาประเทศไทย (UN Thailand) ได้เผยแพร่ \"เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน\" (Sustainable Development Goals - SDGs) ซ่ึงเป็นวาระการพัฒนาภายหลังปี 2015 ระยะ 15 ปี (ค.ศ. 2016 – 2030) ท่ีผู้นาประเทศสมาชิกสหประชาชาติ จานวน 193 ประเทศได้ร่วมกันลงนามรับรอง พันธะสญั ญาทางการเมืองระดับผนู้ า เพ่ือกาหนดทิศทางการพฒั นาที่ยัง่ ยนื ของโลก 15 ขา้ งหน้า และยนื ยัน เจตนารมณ์ร่วมกันท่ีจะผลักดันและขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาความยากจนในทุกมิติและทุกรูปแบบ โดยมีเป้าหมายหลัก 17 ข้อ ครอบคลุม 3 เสาหลักด้านการพัฒนาท่ีย่ังยืน คือ เศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดล้อม รวมท้ังเป็นการสานต่อภารกจิ ที่ยังไมบ่ รรลุผลสาเร็จภายใต้เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (Millennium Development Goals: MDGs) (ค.ศ. 2000 -2015) โดยเปา้ หมายท้ัง 17 ขอ้ มดี งั นี้ เปา้ หมายท่ี 1 ยตุ ิความยากจนทกุ รูปแบบในทกุ ท่ี เป้าหมายท่ี 2 ยุติความหิวโหย บรรลุความม่ันคงทางอาหารและยกระดับโภชนาการและส่งเสริม เกษตรกรรมท่ยี ั่งยนื เป้าหมายท่ี 3 สรา้ งหลักประกนั วา่ คนมีชวี ิตท่มี ีสุขภาพดีและสง่ เสรมิ สวัสดภิ าพสาหรับทุกคนในทกุ วัย เป้าหมายที่ 4 สร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับสนุนโอกาสในการเรยี นรตู้ ลอดชีวิต เปา้ หมายที่ 5 บรรลคุ วามเสมอภาคระหว่างเพศและใหอ้ านาจของผหู้ ญิงและเด็กหญิงทกุ คน เป้าหมายที่ 6 สรา้ งหลักประกันวา่ จะมีการจดั ใหม้ นี ้าและสขุ อนามัยสาหรับทกุ คน และมกี ารบรหิ าร จดั การทย่ี ่ังยืน เป้าหมายที่ 7 สร้างหลักประกันว่าทุกคนเข้าถึงพลังงานสมัยใหม่ในราคาท่ีสามารถซื้อหาได้ เช่ือถือได้ และย่งั ยืน สำนกั งำนสง่ เสรมิ กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศยั จังหวัดรำชบรุ ี 32

แผนพฒั นำกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศยั จังหวัดรำชบรุ ี พ.ศ.2565-2567 เป้าหมายท่ี 8 ส่งเสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจท่ีต่อเนือ่ ง ครอบคลุม และยั่งยืน การจ้างงานเต็มที่ และมผี ลติ ภาพ และการมงี านทส่ี มควรสาหรบั ทกุ คน เป้าหมายที่ 9 สร้างโครงสรา้ งพืน้ ฐานท่มี คี วามทนทาน ส่งเสริมการพฒั นาอุตสาหกรรมที่ครอบคลุม และยั่งยนื และส่งเสรมิ นวัตกรรม เปา้ หมายที่ 10 ลดความไมเ่ สมอภาคภายในและระหวา่ งประเทศ เป้าหมายท่ี 11 ทาให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มีความครอบคลุม ปลอดภัยมีภูมิต้านทาน และย่งั ยืน เป้าหมายที่ 12 สร้างหลักประกันใหม้ รี ปู แบบการบรโิ ภคและผลติ ท่ยี ัง่ ยืน เปา้ หมายท่ี 13 ปฏิบัตกิ ารอยา่ งเร่งด่วนเพ่ือตอ่ สกู้ ับการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและผลกระทบ ท่ีเกิดข้ึน เป้าหมายท่ี 14 อนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากมหาสมุทร ทะเลและทรัพยากรทางทะเลอย่างย่ังยืน เพอื่ การพฒั นาท่ีย่งั ยืน เปา้ หมายท่ี 15 ปกป้อง ฟ้ืนฟู และสนับสนุนการใชร้ ะบบนิเวศบนบกอย่างยง่ั ยืน จดั การป่าไม้อย่าง ยงั่ ยนื ตอ่ สู้การกลายสภาพเปน็ ทะเลทราย หยดุ การเสอ่ื มโทรมของท่ีดนิ และฟื้นสภาพกลบั มาใหม่ และหยุด การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ เป้าหมายที่ 16 ส่งเสริมสังคมที่สงบสุขและครอบคลุมเพื่อการพัฒนาท่ีย่ังยืน ให้ทุกคนเข้าถึง ความยตุ ิธรรม และสรา้ งสถาบัน ท่ีมปี ระสิทธผิ ล รบั ผิดรบั ชอบ และครอบคลุม ในทุกระดับ เป้าหมายที่ 17 เสริมความเข้มแข็งให้แก่กลไกการดาเนินงานและฟ้ืนฟูสภาพหุ้นส่วนความร่วมมอื ระดับโลกสาหรบั การพัฒนาทยี่ ั่งยนื ในส่วนของประเทศไทยมีการดาเนินการโดยสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ (สศช.) ได้รับมอบหมายให้เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลักในการขับเคล่ือนเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน ร่วมกับส่วนราชการและหน่วยงานต่าง ๆ ในรูปแบบคณะกรรมการเพ่ือการพัฒนาที่ย่ังยืน (กพย.) ซึง่ มนี ายกรฐั มนตรเี ป็นประธาน โดยมีปลดั กระทรวง ผ้แู ทนสว่ นราชการและหนว่ ยงานต่าง ๆ เปน็ กรรมการ ทัง้ นี้ กพย. ได้มอบหมายให้กระทรวงต่าง ๆ เป็นหน่วยงานรบั ผดิ ชอบหลักในแต่ละเป้าหมาย ซึง่ กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ได้รับมอบหมายให้เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลักในเป้าหมายท่ี 4 สร้างหลักประกันว่าทุกคนมี การศึกษาที่มีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียมและสนับสนุนโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชี วิต ซึ่งประกอบด้วย 10 เป้าประสงค์ โดยมี 2 เป้าประสงค์ ท่ีถูกจัดลาดับให้อยู่ในเป้าประสงค์การพัฒนาท่ียั่งยืนที่ สาคญั 30 ลาดบั แรก ได้แก่ เป้าประสงค์ที่ 4.1 สร้างหลักประกันว่าเด็กหญิงและเด็กชายทุกคนสาเร็จการศึกษาระดับ ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาท่ีมีคุณภาพ เท่าเทียม และไม่มีค่าใช้จ่าย น ำไปสู่ผลลัพธ์ทางการเรียนที่มี ประสทิ ธิผลภายในปี 2573 สำนกั งำนสง่ เสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศยั จังหวัดรำชบุรี 33