Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Law_Book_2019_e-Book_update

Law_Book_2019_e-Book_update

Published by Tanatporn Sukploy, 2020-08-26 01:11:30

Description: Law_Book_2019_e-Book_update

Search

Read the Text Version

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หนา้ ๒ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา และสังคมอื่นใด หรือการใด ๆ ท่ีมีกระบวนการหรือการดําเนินงานทางดิจิทัลหรือทางอิเล็กทรอนิกส์ ทัง้ ในกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทศั น์ กจิ การวทิ ยคุ มนาคม กจิ การโทรคมนาคม กิจการสื่อสารดาวเทียม และการบริหารคลื่นความถี่ โดยอาศัยโครงสร้างพ้ืนฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร รวมทัง้ เทคโนโลยที มี่ ีการหลอมรวม หรอื เทคโนโลยีอนื่ ใดในทํานองเดียวกนั หรอื คล้ายคลึงกัน “หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน องค์กรอิสระ และหน่วยงานอ่ืนของรัฐ และหมายความรวมถึงคณะกรรมการที่มีอํานาจหน้าที่เก่ียวกับกิจการใด ๆ ท่ใี ช้ประโยชนจ์ ากดจิ ิทลั “รัฐวสิ าหกจิ ” หมายความว่า รฐั วิสาหกิจตามกฎหมายวา่ ด้วยวธิ กี ารงบประมาณ “คณะกรรมการ” หมายความวา่ คณะกรรมการดิจทิ ัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ “เลขาธิการ” หมายความวา่ เลขาธกิ ารคณะกรรมการดจิ ิทลั เพ่ือเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ “สํานกั งาน” หมายความวา่ สาํ นกั งานคณะกรรมการดิจทิ ัลเพื่อเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ “กองทุน” หมายความวา่ กองทนุ พัฒนาดจิ ทิ ัลเพ่อื เศรษฐกจิ และสงั คม “คณะกรรมการบริหารกองทุน” หมายความว่า คณะกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาดิจิทัล เพ่ือเศรษฐกิจและสังคม “ผ้อู าํ นวยการ” หมายความว่า ผู้อาํ นวยการสาํ นักงานส่งเสรมิ เศรษฐกิจดจิ ทิ ลั “รัฐมนตรี” หมายความว่า รฐั มนตรผี ูร้ ักษาการตามพระราชบัญญตั ิน้ี มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมรักษาการตาม พระราชบญั ญตั นิ ้ี หมวด ๑ การพฒั นาดิจิทัลเพ่อื เศรษฐกจิ และสังคม มาตรา ๕ เพื่อให้การพัฒนาดิจิทัลเกิดประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เป็นส่วนรวม ให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสงั คมข้ึนตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ การประกาศใช้และการแก้ไขปรับปรุงนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัล เพอื่ เศรษฐกิจและสงั คม ใหท้ าํ เป็นประกาศพระบรมราชโองการและประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เมือ่ มีการประกาศใช้นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมแล้ว หน่วยงานของรัฐต้องดาํ เนินการตามอาํ นาจหนา้ ทข่ี องตนให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนระดับชาติดังกลา่ ว มาตรา ๖ นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม มีเปา้ หมายและแนวทางอย่างน้อย ดังต่อไปนี้ สำ�นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 200

เล่ม ๑๓๔ ตอนท่ี ๑๐ ก หนา้ ๓ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกจิ จานุเบกษา (๑) การดําเนินการและการพัฒนาให้การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยวิธีการอย่างหนึ่งอย่างใดท่ีทําให้สามารถใช้ร่วมกันหรือเชื่อมโยงกันได้หรือวิธีอื่นใดท่ีเป็นการประหยัด ทรัพยากรของชาติและเกิดความสะดวกต่อผู้ท่ีเก่ียวข้อง รวมถึงการเพ่ิมประสิทธิภาพในการใช้จ่าย งบประมาณประจาํ ปี (๒) การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานทางเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีเป็นการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งต้องครอบคลุมโครงข่ายการติดต่อส่ือสาร แพร่เสียง แพร่ภาพในทุกรูปแบบไม่ว่าจะอยู่ในภาคพ้ืนดิน พื้นนํ้า ในอากาศ หรืออวกาศ และเป้าหมายในการใช้คล่ืนความถี่ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนา เศรษฐกจิ และสงั คม และประโยชนข์ องประชาชน (๓) การส่งเสริมและสนับสนุนให้มีระบบการให้บริการหรือแอพพลิเคช่ันสําหรับประยุกต์ ใชง้ านด้วยเทคโนโลยีดิจทิ ัล (๔) การส่งเสริมให้เกิดมาตรฐานหรือกฎเกณฑ์ในการใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัลให้สอดคล้องกัน เพ่ือให้การทํางานระหว่างระบบสามารถทํางานเชื่อมโยงกันได้อย่างมีความมั่นคงปลอดภัย อยู่ในสภาพ พรอ้ มใชง้ าน รวมตลอดทง้ั ทาํ ให้ระบบหรอื การใหบ้ รกิ ารมคี วามน่าเชอ่ื ถอื และแนวทางการส่งเสริมให้เกิด การใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัลในการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และมีหลักประกัน การเขา้ ถงึ และใช้ประโยชนข์ องประชาชนอยา่ งเท่าเทียม ทว่ั ถงึ และเป็นธรรม โดยไม่เลือกปฏิบตั ิ (๕) การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาให้เกิดอุตสาหกรรมและนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีดิจิทัล การพัฒนาให้เกิดการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือสร้างหรือเผยแพร่เน้ือหาผ่านทางส่ือท่ีก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ เศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรมและความมัน่ คงของประเทศ (๖) การส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและพัฒนากําลังคน ให้เกิดความพร้อมและความรู้ ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และส่งเสริมและสนับสนุนให้หน่วยงานของรัฐและเอกชน ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งสร้างความตระหนักและรู้เท่าทันส่ือและสารสนเทศอ่ืน ส่งเสริมและสนับสนุนให้ลดความเหล่ือมลํ้าในการเข้าถึงบริการท่ีจําเป็นต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ประชาชน (๗) การพัฒนาคลังข้อมูลและฐานข้อมูลดิจิทัล การบริหารจัดการความรู้ รวมท้ังการส่งเสริม เพื่อให้มีระบบท่ีเป็นศูนย์แห่งการเรียนรู้และให้บริการข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ทันสมัย ซึ่งเอ้ือต่อ การนําไปใชป้ ระโยชน์ในรปู แบบทีเ่ หมาะกบั ยุคสมยั หมวด ๒ คณะกรรมการ ส่วนท่ี ๑ คณะกรรมการดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 201

เล่ม ๑๓๔ ตอนท่ี ๑๐ ก หนา้ ๔ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกจิ จานุเบกษา มาตรา ๗ ใหม้ คี ณะกรรมการดิจทิ ัลเพอื่ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาตปิ ระกอบด้วย (๑) นายกรัฐมนตรี เปน็ ประธานกรรมการ (๒) รองนายกรฐั มนตรที ่นี ายกรฐั มนตรีมอบหมาย เปน็ รองประธานกรรมการ (๓) กรรมการโดยตําแหน่ง ประกอบด้วย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงดจิ ทิ ัลเพอ่ื เศรษฐกิจและสังคม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม เลขาธิการคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ และผู้วา่ การธนาคารแหง่ ประเทศไทย (๔) กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ จิ าํ นวนไมน่ อ้ ยกวา่ ห้าคนแตไ่ มเ่ กินแปดคนซ่งึ คณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง ให้ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมเป็นกรรมการและเลขานุการและให้เลขาธิการ เปน็ กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร กรรมการผ้ทู รงคุณวฒุ ติ ามวรรคหนึ่ง ให้คณะรัฐมนตรแี ตง่ ตง้ั จากบคุ คลซงึ่ มีความรู้ ความเชีย่ วชาญ และความสามารถเป็นที่ประจักษ์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านสังคมศาสตร์ ด้านบริหารธุรกิจ ด้านกฎหมาย หรือด้านอ่ืนท่ีเกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์ต่อ การดําเนนิ งานของคณะกรรมการ หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาบุคคลเพ่ือเสนอคณะรัฐมนตรีแต่งต้ังเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ รวมท้งั การสรรหากรรมการผ้ทู รงคุณวุฒเิ พอ่ื ดาํ รงตาํ แหน่งแทนผู้ที่พน้ จากตําแหนง่ กอ่ นวาระตามมาตรา ๙ วรรคสอง ให้เป็นไปตามระเบียบทคี่ ณะรฐั มนตรกี ําหนดโดยการเสนอแนะของคณะกรรมการ มาตรา ๘ กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ติ อ้ งมีคณุ สมบัตแิ ละไม่มีลกั ษณะตอ้ งห้าม ดังต่อไปน้ี (๑) มีสญั ชาติไทย (๒) มีอายไุ ม่เกนิ หกสบิ หา้ ปี (๓) ไมเ่ ป็นบุคคลลม้ ละลายหรือเคยเปน็ บุคคลลม้ ละลายทจุ ริต (๔) ไมเ่ ปน็ คนไร้ความสามารถหรอื คนเสมอื นไรค้ วามสามารถ (๕) ไม่เคยได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก เว้นแต่เป็นโทษสําหรับความผิด ทไี่ ดก้ ระทําโดยประมาทหรอื ความผดิ ลหโุ ทษ (๖) ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือหน่วยงานของเอกชน เพราะทจุ รติ ตอ่ หน้าทห่ี รอื ประพฤติช่วั อยา่ งร้ายแรง (๗) ไม่ประกอบอาชีพหรือวิชาชีพอิสระอ่ืนใด หรือเป็นกรรมการ ผู้จัดการ หรือลูกจ้างของ องค์การเอกชนใดท่ีมีส่วนได้เสียหรือมีผลประโยชน์ขัดแย้งไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อมกับการปฏิบัติหน้าที่ ในตําแหน่งกรรมการ สำ�นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 202

เลม่ ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หนา้ ๕ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกจิ จานุเบกษา (๘) ไม่เป็นผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถ่ิน หรือผู้บริหารท้องถ่ิน กรรมการ หรือผู้ดํารงตําแหน่งซึ่งรับผิดชอบการบริหารพรรคการเมือง ท่ีปรึกษาพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าท่ีของ พรรคการเมอื ง มาตรา ๙ กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิมวี าระการดํารงตําแหนง่ คราวละสปี่ ี ในกรณีท่ีมีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพิ่มเติมหรือแทนกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิท่ีพ้นจาก ตําแหน่งก่อนวาระ คณะรัฐมนตรีอาจแต่งต้ังกรรมการเพ่ิมเติมหรือกรรมการแทนตําแหน่งที่ว่างได้ และให้ผู้ท่ีได้รับแต่งต้ังเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพ่ิมเติมหรือแทนตําแหน่งที่ว่างนั้นดํารงตําแหน่งได้ เทา่ กับวาระทเ่ี หลอื อยู่ เม่ือครบกําหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังมิได้มีการแต่งต้ังกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิข้ึนใหม่ ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตําแหน่งอยู่ในตําแหน่งเพื่อดําเนินงานต่อไปจนกว่าจะได้มีการแต่งตั้ง กรรมการผ้ทู รงคุณวุฒขิ ้นึ ใหม่ เพื่อให้ได้มาซ่ึงกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิชุดใหม่เข้ามาปฏิบัติหน้าที่เมื่อส้ินสุดวาระของกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิชุดเดิม ให้ดําเนินการสรรหากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิชุดใหม่ก่อนครบวาระของกรรมการ ผู้ทรงคณุ วุฒิชุดเดมิ เป็นระยะเวลาไม่นอ้ ยกว่าหกสิบวัน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตําแหน่งตามวาระอาจได้รับแต่งต้ังอีกได้ แต่ไม่เกินสองวาระ ตดิ ตอ่ กนั มาตรา ๑๐ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระตามมาตรา ๙ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ พ้นจากตําแหน่งเม่ือ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) คณะรฐั มนตรีให้ออก (๔) ขาดคณุ สมบัติหรือมลี ักษณะต้องหา้ มตามมาตรา ๘ มาตรา ๑๑ ใหค้ ณะกรรมการมอี ํานาจหน้าท่ี ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) จัดทํานโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมเสนอต่อ คณะรัฐมนตรเี พอ่ื พิจารณาอนุมตั ซิ งึ่ อย่างนอ้ ยตอ้ งมเี ปา้ หมายตามทกี่ ําหนดไวใ้ นมาตรา ๖ (๒) เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อกําหนดนโยบายและทิศทางด้านการเงิน การคลัง การลงทุน รวมทง้ั มาตรการทางภาษีและสิทธปิ ระโยชนต์ ่าง ๆ ในส่วนท่ีเกี่ยวกับหรือเพ่ือประโยชน์ในการพัฒนาดิจิทัล เพ่ือเศรษฐกิจและสังคม รวมตลอดท้ังเสนอแนะมาตรการในการจัดหาพัสดุ และจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ท่สี ามารถขจัดปัญหาและอปุ สรรคในการพฒั นาดิจิทลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสังคมได้ (๓) เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีเก่ียวกับการดําเนินงานตามนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วย การพัฒนาดิจิทัลเพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม ส�ำ นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 203

เลม่ ๑๓๔ ตอนท่ี ๑๐ ก หน้า ๖ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา (๔) ออกระเบียบเก่ียวกับการบริหารกองทุน การจัดหาผลประโยชน์และการจัดการกองทุน การเกบ็ รกั ษาและการเบิกจ่ายเงินและทรัพย์สินของกองทุน โดยพิจารณาให้สอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วย การบรหิ ารทนุ หมนุ เวยี น (๕) เสนอแนะตอ่ คณะรฐั มนตรใี นการจัดให้มีหรือปรับปรุงกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาดิจิทัล เพอื่ เศรษฐกจิ และสังคม (๖) รายงานคณะรัฐมนตรีเพื่อให้มีมติยับย้ังการดําเนินการของหน่วยงานใดท่ีไม่เป็นไป ตามนโยบายและแผนระดบั ชาตวิ ่าดว้ ยการพฒั นาดจิ ทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคม (๗) ออกประกาศหรือระเบยี บเพือ่ ให้การดาํ เนนิ การเปน็ ไปตามพระราชบัญญัตนิ ้ี (๘) ปฏิบัติหน้าท่ีอ่ืนตามที่นายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย หรือตามท่ีมีกฎหมาย กําหนดใหเ้ ป็นหนา้ ทข่ี องคณะกรรมการ มาตรา ๑๒ ให้มีคณะท่ีปรึกษาคณะหนึ่ง มีอํานาจหน้าที่ในการรวบรวมความคิดเห็น ใหค้ าํ ปรกึ ษาและขอ้ เสนอแนะ หรือดําเนนิ การอย่างหนงึ่ อยา่ งใดตามทีค่ ณะกรรมการมอบหมาย หลักเกณฑ์และวธิ ีการแต่งตั้ง คุณสมบัติและลักษณะต้องห้าม องค์ประกอบและวิธีการปฏิบัติหน้าที่ และวาระการดํารงตําแหน่งและการพ้นจากตําแหน่ง ของคณะท่ีปรึกษา ให้เป็นไปตามระเบียบท่ีคณะกรรมการ กาํ หนด ส่วนท่ี ๒ คณะกรรมการเฉพาะดา้ น มาตรา ๑๓ ในการดําเนินการตามอํานาจหน้าท่ีของคณะกรรมการดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจ และสงั คมแหง่ ชาติตามมาตรา ๑๑ ให้มีคณะกรรมการเฉพาะด้าน เพ่ือปฏบิ ตั หิ น้าท่ใี นส่วนที่เกี่ยวกับเร่ือง ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) คณะกรรมการโครงสร้างพ้ืนฐานดิจิทัล มีอํานาจหน้าท่ีจัดทํา เสนอแนะ และติดตาม การดําเนินการตามนโยบายและแผนระดับชาติตามมาตรา ๖ (๒) (๓) และ (๔) และนโยบายและแผน ระดับชาติอนื่ ท่คี ณะกรรมการกําหนด (๒) คณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม มีอํานาจหน้าที่จัดทํา เสนอแนะ และติดตามการดําเนินการตามนโยบายและแผนระดับชาติตามมาตรา ๖ (๕) (๖) และ (๗) และนโยบายและแผนระดบั ชาติอ่ืนทีค่ ณะกรรมการกาํ หนด (๓) คณะกรรมการเฉพาะด้านอน่ื ซึ่งคณะกรรมการแต่งต้ังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี เพอื่ ปฏิบตั หิ นา้ ทตี่ ามที่คณะกรรมการกําหนด มาตรา ๑๔ ภายใตบ้ งั คบั มาตรา ๑๓ ให้คณะกรรมการเฉพาะด้าน แต่ละคณะมีอํานาจหน้าที่ ดงั ต่อไปน้ี สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 204

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หนา้ ๗ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา (๑) รวบรวมข้อมูลและจัดทํานโยบายและแผนเฉพาะด้าน พร้อมท้ังแนวทางและมาตรการ ในการส่งเสริมและพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลที่คณะกรรมการเฉพาะด้านนั้นรับผิดชอบ และเสนอต่อคณะกรรมการเพื่อประกอบการจัดทํานโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัล เพ่อื เศรษฐกิจและสังคม (๒) เสนอแนะต่อคณะกรรมการเกี่ยวกับการดําเนินงานตามนโยบายและแผนเฉพาะด้าน รวมทั้งเสนอมาตรการในการดําเนินการและแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติการตามนโยบายและแผน เฉพาะด้านดงั กลา่ ว (๓) ตดิ ตามและประเมนิ ผลการดําเนนิ การตามนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคม และนโยบายและแผนเฉพาะด้านในความรับผิดชอบแล้วรายงานผลการดําเนินงานต่อ คณะกรรรมการ (๔) กํากับดูแลการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการและแผนงานเฉพาะด้านของหน่วยงานของรัฐ และการสง่ เสริมเศรษฐกิจดจิ ทิ ลั ตามหมวด ๕ ภายในขอบเขตอํานาจของคณะกรรมการเฉพาะด้านนัน้ ๆ (๕) เชิญหน่วยงานของรัฐหรือบุคคลใดมาให้ข้อเท็จจริง ความเห็น หรือคําแนะนํา ตลอดจน ส่งเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวขอ้ งเพือ่ ประกอบการดําเนินงานได้ (๖) ปฏิบัติหน้าท่ีอื่นตามที่คณะกรรมการมอบหมาย หรือตามท่ีมีกฎหมายกําหนดให้เป็นหน้าที่ของ คณะกรรมการเฉพาะด้าน ในการรายงานผลการดําเนินงานต่อคณะกรรมการตาม (๑) หากคณะกรรมการเฉพาะด้าน เห็นว่าภารกิจหรืองานใดไม่มีผู้รับผิดชอบ หรือหน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบไม่ดําเนินการหรือดําเนินการ ไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กําหนดหรือก่อให้เกิดความเสียหายทั้งหมดหรือบางส่วน คณะกรรมการเฉพาะด้าน อาจเสนอแนวทางหรือมาตรการในการดําเนินการโดยให้สํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลหรือหน่วยงานอื่น ของรัฐเป็นผู้ดําเนินการตามภารกิจหรืองานนั้นแทนได้ โดยให้เสนอต่อคณะกรรมการเพ่ือพิจารณาเสนอ คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ ในกรณีจําเป็น กองทุนจะสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการดําเนินการท้ังหมด หรอื บางส่วนตามระเบียบทค่ี ณะกรรมการกําหนดก็ได้ มาตรา ๑๕ ให้คณะกรรมการเฉพาะด้านตามมาตรา ๑๓ (๑) และ (๒) แต่ละคณะ ประกอบดว้ ย (๑) กรรมการคนหนงึ่ ในคณะกรรมการ ทีค่ ณะกรรมการแต่งต้งั เปน็ ประธานกรรมการ (๒) กรรมการซึ่งคณะกรรมการแต่งต้ังจากผู้แทนหน่วยงานต่าง ๆ ดังต่อไปน้ีหน่วยงานละหนึ่งคน เปน็ กรรมการ (ก) คณะกรรมการเฉพาะด้านตามมาตรา ๑๓ (๑) ได้แก่ ผู้แทนกระทรวงกลาโหม ผู้แทนกระทรวงการคลัง ผู้แทนกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ผู้แทนกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ผู้แทนกระทรวงพลังงาน ผู้แทนกระทรวงพาณิชย์ ผู้แทนกระทรวงมหาดไทย ผู้แทนกระทรวงอุตสาหกรรม สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 205

เล่ม ๑๓๔ ตอนท่ี ๑๐ ก หนา้ ๘ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกจิ จานุเบกษา ผู้แทนสํานักงบประมาณ ผู้แทนสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ผู้แทนคณะกรรมการ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ผู้แทนธนาคารแห่งประเทศไทย ผแู้ ทนสาํ นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (องค์การมหาชน) และผแู้ ทนสํานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (ข) คณะกรรมการเฉพาะด้านตามมาตรา ๑๓ (๒) ได้แก่ ผู้แทนกระทรวงการคลัง ผู้แทนกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ผู้แทนกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ผู้แทนกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ผู้แทนกระทรวงพาณิชย์ ผู้แทนกระทรวงวัฒนธรรม ผู้แทนกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข ผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการ ผู้แทนกระทรวงอุตสาหกรรม ผู้แทนกรมทรัพย์สินทางปัญญา ผู้แทนสํานักงานคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุน ผู้แทนธนาคารแห่งประเทศไทย ผู้แทนสํานักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) ผแู้ ทนสาํ นักงานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีแหง่ ชาติ และผ้แู ทนสาํ นกั งานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทลั (๓) กรรมการผ้ทู รงคุณวุฒซิ งึ่ คณะกรรมการแต่งตัง้ จํานวนไม่เกนิ หกคน เปน็ กรรมการ (๔) เลขาธิการเป็นกรรมการและเลขานุการ หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาบุคคลท่ีเห็นสมควรเพ่ือพิจารณาแต่งต้ังเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกาํ หนด มาตรา ๑๖ ให้นําบทบัญญัติมาตรา ๘ มาตรา ๙ และมาตรา ๑๐ มาใช้บังคับกับกรรมการ ผ้ทู รงคุณวฒุ ใิ นคณะกรรมการเฉพาะด้านโดยอนโุ ลม มาตรา ๑๗ ใหส้ ํานักงานรับผดิ ชอบงานธรุ การของคณะกรรมการและคณะกรรมการเฉพาะด้าน และใหม้ อี ํานาจหน้าที่ดังตอ่ ไปน้ดี ว้ ย (๑) จัดทําร่างนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ตามเปา้ หมายที่คณะกรรมการกําหนดเพือ่ เสนอต่อคณะกรรมการ (๒) จัดทําร่างนโยบายและแผนเฉพาะด้านตามแนวทางท่ีคณะกรรมการเฉพาะด้านกําหนด และสอดคล้องกับนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมเพ่ือเสนอต่อ คณะกรรมการเฉพาะด้าน (๓) ประสานและใหค้ วามร่วมมือกับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลในการส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ในการจัดทําแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลและการดําเนินการ เพ่ือให้สอดคล้องกับนโยบาย และแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับการส่งเสริม เศรษฐกจิ ดจิ ิทัล (๔) เป็นศูนย์กลางประสานงานและสนับสนุนการปฏิบัติงานตามนโยบายและแผนระดับชาติ ว่าด้วยการพัฒนาดิจทิ ัลเพ่ือเศรษฐกจิ และสังคม รวมท้งั นโยบายและแผนเฉพาะดา้ น สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 206

เล่ม ๑๓๔ ตอนท่ี ๑๐ ก หน้า ๙ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา (๕) สํารวจ เก็บรวบรวมข้อมูล ติดตามความเคลื่อนไหวของสถานการณ์ด้านการพัฒนาดิจิทัล เพ่ือเศรษฐกิจและสังคม และแนวโน้มการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม รวมท้ังวิเคราะห์และวิจัย ประเด็นทางเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลท่ีมีผลต่อการพัฒนาประเทศเพ่ือเสนอต่อคณะกรรมการหรือคณะกรรมการ เฉพาะดา้ น (๖) ติดตามและประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานตามนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคม แผนปฏิบัติการ แผนงาน รวมทั้งมาตรการที่เก่ียวข้อง และรายงานผลต่อ คณะกรรมการและคณะกรรมการเฉพาะดา้ น (๗) รว่ มมือและประสานงานกับหนว่ ยงานของรัฐและเอกชนทเ่ี กยี่ วข้องกับการบริหารและพัฒนาดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคมตามพระราชบญั ญตั นิ ้แี ละกฎหมายอน่ื ท่เี ก่ยี วขอ้ ง (๘) ศกึ ษา วเิ คราะห์ และพจิ ารณา หรือดําเนินการอื่นใดตามที่คณะกรรมการ หรือคณะกรรมการ เฉพาะดา้ นมอบหมาย หรือเพ่ือปฏิบตั กิ ารตามพระราชบัญญัติน้ี (๙) อํานาจหน้าที่อื่นที่คณะกรรมการกําหนดหรือมอบหมาย หรือตามท่ีมีกฎหมายกําหนด ให้เปน็ อาํ นาจหน้าทขี่ องสํานักงาน มาตรา ๑๘ ให้คณะกรรมการเฉพาะด้านมีอํานาจแต่งต้ังคณะอนุกรรมการเพ่ือปฏิบัติการ อย่างใดอยา่ งหน่งึ ตามทค่ี ณะกรรมการเฉพาะดา้ นมอบหมาย มาตรา ๑๙ การประชุมของคณะกรรมการ คณะกรรมการเฉพาะด้าน คณะท่ีปรึกษา และคณะอนุกรรมการ ให้เปน็ ไปตามระเบียบท่คี ณะกรรมการกําหนด มาตรา ๒๐ ให้ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ ที่ปรึกษา กรรมการ เฉพาะดา้ น และอนกุ รรมการ ได้รบั เบ้ียประชุมหรอื ค่าตอบแทนตามหลักเกณฑท์ ี่คณะรฐั มนตรีกําหนด หมวด ๓ นโยบายและแผนระดบั ชาตวิ ่าดว้ ยการพัฒนาดิจทิ ัลเพ่อื เศรษฐกิจและสังคม มาตรา ๒๑ เมื่อประกาศใช้นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจ และสังคมตามความในมาตรา ๕ แล้ว ให้หน่วยงานของรัฐทุกหน่วยดําเนินการตามนโยบายและแผน ระดับชาติดังกล่าว และให้สํานักงบประมาณตั้งงบประมาณให้หน่วยงานของรัฐให้สอดคล้องกับนโยบาย และแผนระดับชาตนิ ้ัน มาตรา ๒๒ ให้หนว่ ยงานของรฐั ทม่ี หี น้าท่ีดําเนนิ การตามภารกิจทีก่ าํ หนดในนโยบายและแผน ระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมจัดทําหรือปรับปรุงแผนปฏิบัติการหรือแผนงาน ที่มีอยู่ให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนระดับชาติดังกล่าวโดยเร็ว และส่งให้คณะกรรมการเฉพาะด้าน ทคี่ ณะกรรมการมอบหมายเพ่อื ทราบ สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 207

เล่ม ๑๓๔ ตอนท่ี ๑๐ ก หนา้ ๑๐ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา ในกรณีท่ีคณะกรรมการเฉพาะด้าน ท่ีคณะกรรมการมอบหมายเห็นว่าแผนปฏิบัติการหรือแผนงาน ที่ได้รับตามวรรคหน่ึงยังไม่สอดคล้องกับนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคม ให้แจ้งให้หน่วยงานของรัฐเจ้าของแผนดําเนินการปรับปรุงให้สอดคล้องกับนโยบายและแผน ระดับชาติดังกล่าวตอ่ ไป ในกรณีท่คี ณะกรรมการเฉพาะด้านและหนว่ ยงานของรฐั มีความเหน็ ไม่สอดคล้องกัน ใหเ้ สนอคณะกรรมการเพอ่ื วินจิ ฉัยชีข้ าด คําช้ขี าดของคณะกรรมการใหเ้ ป็นที่สดุ หมวด ๔ กองทุนพฒั นาดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกิจและสังคม สว่ นท่ี ๑ การจดั ต้ังกองทุน มาตรา ๒๓ ให้จัดตั้งกองทุนข้ึนกองทุนหน่ึงในสํานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสงั คมแหง่ ชาติ เรียกว่า “กองทนุ พฒั นาดจิ ทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคม” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้จ่าย เกี่ยวกับการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วย การพฒั นาดจิ ิทัลเพือ่ เศรษฐกิจและสงั คม และแผนยทุ ธศาสตรก์ ารสง่ เสรมิ เศรษฐกิจดิจิทลั มาตรา ๒๔ กองทุนประกอบด้วยเงินและทรพั ย์สนิ ดงั ต่อไปน้ี (๑) เงนิ ทุนประเดมิ ทรี่ ัฐบาลจดั สรรใหต้ ามมาตรา ๖๐ (๒) เงินอดุ หนุนทรี่ ัฐบาลจดั สรรใหจ้ ากงบประมาณรายจา่ ยประจําปี (๓) เงินท่ีได้รับจากการจัดสรรคลื่นความถี่ ตามกฎหมายว่าด้วยองค์กรจัดสรรคล่ืนความถี่ และกํากบั การประกอบกิจการวทิ ยกุ ระจายเสียง วทิ ยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม โดยให้สํานักงาน กสทช. จดั สรรให้ในอตั รารอ้ ยละสิบห้าของรายได้จากการจัดสรรคลน่ื ความถี่ดังกล่าว (๔) เงินท่ีได้รับการจัดสรรจากรายได้ของสํานักงาน กสทช. ตามมาตรา ๖๕ (๑) และ (๒) แหง่ พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถ่ีและกํากับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ เว้นแต่ในส่วนที่เก่ียวกับดอกผล โดยให้สํานักงาน กสทช. จดั สรรให้ในอตั ราร้อยละสบิ ห้าของเงินรายได้ของสํานักงาน กสทช. ดงั กล่าว (๕) เงนิ ท่ี กสทช. โอนให้กองทนุ ตามมาตรา ๒๕ (๖) เงนิ หรือทรพั ย์สนิ ที่มีผูบ้ รจิ าคหรอื มอบให้ (๗) เงินหรอื ทรัพยส์ ินที่ตกเป็นของกองทนุ หรือทก่ี องทนุ ไดร้ บั ตามกฎหมาย (๘) ค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือรายได้จากการดําเนินกิจการของสํานักงานหรือกองทุน รวมทั้งผลประโยชน์จากทรัพยส์ นิ ทางปัญญาท่เี ปน็ ของสาํ นกั งานหรอื กองทนุ (๙) ดอกผล ผลประโยชน์ หรอื รายได้อื่นท่เี กิดจากเงนิ หรือทรัพย์สนิ ของกองทุน สำ�นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 208

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หน้า ๑๑ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกจิ จานุเบกษา ให้กองทุนตามวรรคหน่ึง เฉพาะในส่วนท่ีไดร้ บั ตาม (๓) และ (๔) มเี งินสดสูงสุดปีงบประมาณละ ไมเ่ กินหา้ พนั ล้านบาท และให้คณะรัฐมนตรีมีอํานาจในการปรับเพิ่มหรือลดเงินสดสูงสุดได้ โดยให้คํานึงถึง ความเพยี งพอของการดาํ เนนิ การตามวตั ถปุ ระสงค์ของกองทนุ เงินสดของกองทุนส่วนที่เกินจากเงินสดสูงสุดที่กําหนดไว้ตามวรรคสอง ให้กองทุนนําส่งเป็น รายได้แผ่นดนิ มาตรา ๒๕ ให้ กสทช. มีอํานาจมอบหมายให้สํานักงานเป็นผู้ดําเนินการจัดให้มีบริการ โทรคมนาคมตามแผนการจัดให้มีบริการโทรคมนาคมพ้ืนฐานโดยท่ัวถึงและบริการเพ่ือสังคมตามกฎหมาย ว่าด้วยองค์กรจัดสรรคลื่นความถ่ีและกํากับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม ทั้งหมดหรือบางส่วนแทน กสทช. ได้ และเม่ือ กสทช. ได้มอบหมายดังกล่าว แล้วใหโ้ อนเงนิ ท่ีเรยี กเกบ็ จากผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมเพื่อนําไปใช้ดําเนินการสนับสนุน การจัดให้มีบริการโทรคมนาคมตามแผนการจัดให้มีบริการโทรคมนาคมพ้ืนฐานโดยท่ัวถึงและบริการ เพ่ือสังคมดังกล่าวให้กองทุนตามความจําเป็น และให้สํานักงานใช้เงินดังกล่าวเฉพาะเพื่อค่าใช้จ่าย เกีย่ วกบั กจิ การที่ได้รบั มอบหมาย มาตรา ๒๖ เงินของกองทุน ใหใ้ ช้จา่ ยเพอ่ื กจิ การดังต่อไปน้ี (๑) ส่งเสริม สนับสนุน หรือให้ความช่วยเหลือหน่วยงานของรัฐและเอกชนหรือบุคคลทั่วไป ในการดําเนินการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ท้ังนี้ การส่งเสริม สนับสนุน หรือให้ความช่วยเหลือ ดังกล่าวต้องมีวัตถุประสงค์เพ่ือประโยชน์ต่อการให้บริการสาธารณะและไม่เป็นการแสวงหากําไร โดยไม่เปน็ การทําลายการแข่งขันอนั พงึ มีตามปกติวสิ ยั ของกจิ การภาคเอกชน (๒) ให้ทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนาแก่หน่วยงานของรัฐและเอกชนหรือบุคคลท่ัวไปในเร่ือง ท่เี กย่ี วกบั การพฒั นาดิจิทลั เพือ่ เศรษฐกจิ และสงั คม (๓) จัดสรรเป็นเงินอุดหนุนแก่สํานักงานในการดําเนินงานตามอํานาจหน้าท่ีนอกเหนือจาก ท่ีได้รบั จากงบประมาณแผน่ ดนิ (๔) จัดสรรเป็นค่าใช้จ่ายในการดําเนินการของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลตามท่ี คณะกรรมการบริหารกองทุนเหน็ สมควร (๕) เป็นค่าใชจ้ า่ ยในการบริหารกองทนุ (๖) ค่าใชจ้ ่ายอน่ื ๆ ตามหลกั เกณฑท์ คี่ ณะกรรมการกําหนด สว่ นที่ ๒ การบรหิ ารกองทุน มาตรา ๒๗ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรยี กวา่ “คณะกรรมการบรหิ ารกองทนุ พฒั นาดิจิทลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคม” ประกอบดว้ ย สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 209

เล่ม ๑๓๔ ตอนท่ี ๑๐ ก หนา้ ๑๒ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกจิ จานุเบกษา (๑) รองประธานกรรมการตามมาตรา ๗ (๒) เปน็ ประธานกรรมการ (๒) รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงดจิ ทิ ัลเพือ่ เศรษฐกจิ และสังคม เป็นรองประธานกรรมการ (๓) ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และผู้อํานวยการ สํานกั งบประมาณ เป็นกรรมการ (๔) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๗ (๔) ซ่ึงคณะกรรมการกําหนด จํานวนสามคน เป็นกรรมการ (๕) เลขาธิการเปน็ กรรมการและเลขานุการ มาตรา ๒๘ ให้คณะกรรมการบริหารกองทุนรับผิดชอบในการบริหารกองทุนให้เป็นไป ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องกองทุนตามมาตรา ๒๓ และมีอาํ นาจหน้าที่ ดงั ต่อไปนี้ (๑) พิจารณาอนุมัติการส่งเสริม สนับสนุน หรือให้ความช่วยเหลือตามมาตรา ๒๖ (๑) และ (๒) โดยไม่ก่อใหเ้ กดิ การขัดกันแห่งผลประโยชน์ ทัง้ นี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขท่ีคณะกรรมการกําหนด โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลงั (๒) พจิ ารณาอนมุ ัตกิ ารจดั สรรเงินหรือค่าใชจ้ ่าย ตามมาตรา ๒๖ (๓) (๔) และ (๕) (๓) บริหารกองทุนและดําเนินการเกี่ยวกับการจัดหาผลประโยชน์ และการจัดการกองทุน ตามหลกั เกณฑ์และเงอื่ นไขทค่ี ณะกรรมการกําหนด (๔) วางแนวทางการปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการเก็บรักษาและการเบิกจ่ายเงินและทรัพย์สิน ของกองทุนที่ออกตามมาตรา ๑๑ (๔) และการดาํ เนินการอ่ืนทจี่ ําเปน็ (๕) ตดิ ตามและประเมินผลการดําเนินงานทีไ่ ดร้ บั การส่งเสรมิ สนบั สนุนหรอื ชว่ ยเหลือจากกองทนุ (๖) รายงานสถานะการเงินและการบริหารกองทุนต่อคณะกรรมการและคณะรัฐมนตรีภายใน หน่งึ ร้อยแปดสบิ วนั นับแต่วันสิ้นปบี ญั ชี และเปดิ เผยรายงานดงั กลา่ วให้ประชาชนทราบเป็นการทวั่ ไป (๗) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ คณะทํางาน หรือที่ปรึกษาเพ่ือพิจารณาหรือปฏิบัติการตามท่ี คณะกรรมการบริหารกองทนุ มอบหมาย (๘) ปฏิบตั ิหน้าทอ่ี ืน่ ที่จาํ เปน็ เพอื่ ใหบ้ รรลุวตั ถุประสงคข์ องกองทนุ มาตรา ๒๙ การประชุมของคณะกรรมการบริหารกองทุน ให้เป็นไปตามระเบียบที่ คณะกรรมการบริหารกองทนุ กาํ หนด มาตรา ๓๐ ให้ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการในคณะกรรมการ บริหารกองทุน รวมท้ังอนุกรรมการ คณะทํางาน และที่ปรึกษา ท่ีคณะกรรมการบริหารกองทุนแต่งตั้งข้ึน ตามมาตรา ๒๘ (๗) ไดร้ ับเบี้ยประชมุ หรือค่าตอบแทนตามหลักเกณฑ์ทค่ี ณะรัฐมนตรกี ําหนด มาตรา ๓๑ ให้สํานกั งานรับผิดชอบงานธุรการของคณะกรรมการบริหารกองทุน และดําเนินการ ในเรอ่ื งดงั ต่อไปนีด้ ว้ ย ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 210

เลม่ ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หนา้ ๑๓ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา (๑) จัดทําแผนการดําเนินงานประจําปี แผนการเงินและงบประมาณประจําปีของกองทุน เพอื่ เสนอคณะกรรมการบรหิ ารกองทุนใหค้ วามเหน็ ชอบ (๒) จัดให้มีบุคคลภายนอกที่เป็นอิสระเพ่ือประเมินผลการดําเนินการของกองทุนเพื่อเสนอต่อ คณะกรรมการบริหารกองทุน (๓) ใหค้ วามช่วยเหลือหรือคาํ แนะนาํ แกผ่ ูไ้ ดร้ บั การส่งเสรมิ สนับสนุน หรือชว่ ยเหลือตามมาตรา ๒๖ (๔) รับผดิ ชอบในการจัดทาํ งบดลุ งบการเงนิ และบญั ชที าํ การของกองทนุ (๕) จัดทาํ รายงานผลการปฏิบัตงิ านประจําปีของกองทนุ (๖) ดําเนินการอน่ื ใดตามพระราชบญั ญตั ิน้ีหรือตามท่คี ณะกรรมการบรหิ ารกองทนุ มอบหมาย มาตรา ๓๒ ให้คณะกรรมการบริหารกองทุนจัดทํางบดุล งบการเงิน และบัญชีทําการส่ง ผู้สอบบัญชีภายในเก้าสิบวันนับแต่วนั ส้นิ ปีบัญชีทุกปี ให้สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดินหรือผู้สอบบัญชีรับอนุญาตที่สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ใหค้ วามเห็นชอบเป็นผู้สอบบัญชีของกองทุนทุกรอบปี แล้วทํารายงานผลการสอบบัญชีเสนอต่อคณะกรรมการ เพ่ือรายงานต่อคณะรัฐมนตรีพร้อมกับรายงานตามมาตรา ๒๘ (๖) ในรายงานดังกล่าวให้สํานักงาน การตรวจเงินแผน่ ดนิ แสดงความเห็นเกี่ยวกบั ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผลของการใช้เงินของกองทุนด้วย มาตรา ๓๓ ให้สาํ นักงานวางและรกั ษาไวซ้ งึ่ ระบบบัญชีของกองทุนอันถูกต้องและเหมาะสมต่อ การดําเนนิ การของกองทนุ และถูกต้องตามมาตรฐานการบัญชีที่รบั รองท่ัวไป หมวด ๕ การสง่ เสริมเศรษฐกจิ ดิจิทัล มาตรา ๓๔ ให้มีสํานกั งานส่งเสรมิ เศรษฐกิจดจิ ทิ ัล มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื สง่ เสริม และสนับสนุน ให้เกิดการพฒั นาอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทลั พัฒนาและสง่ เสรมิ ใหเ้ กิดการนําไปใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ให้เปน็ ประโยชนต์ อ่ เศรษฐกจิ สังคม วฒั นธรรม และความม่ันคงของประเทศ สํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลเป็นหน่วยงานของรัฐมีฐานะเป็นนิติบุคคล และไม่เป็น ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน หรือรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วย วิธีการงบประมาณหรือกฎหมายอื่น กิจการของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลไม่อยู่ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครอง แรงงาน กฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ กฎหมายว่าด้วยแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ กฎหมายว่าด้วย การประกันสังคม และกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน แต่พนักงานและลูกจ้างของสํานักงานต้องได้รับ ประโยชน์ตอบแทนไม่น้อยกว่าท่ีกําหนดไว้ตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้วย การประกนั สงั คม และกฎหมายวา่ ด้วยเงินทดแทน สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 211

เล่ม ๑๓๔ ตอนท่ี ๑๐ ก หนา้ ๑๔ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกจิ จานุเบกษา มาตรา ๓๕ นอกจากอํานาจหน้าท่ีในการดําเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๓๔ สํานกั งานสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดิจิทัลมอี ํานาจหน้าทด่ี งั ต่อไปนด้ี ้วย (๑) จัดทําแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลให้สอดคล้องกับนโยบายและแผน ระดบั ชาติวา่ ดว้ ยการพฒั นาดิจิทลั เพอื่ เศรษฐกิจและสังคม (๒) สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การลงทนุ หรือประกอบกิจการเกี่ยวกับอตุ สาหกรรมหรอื นวตั กรรมดิจิทัล (๓) ส่งเสรมิ สนบั สนุน และร่วมมอื กบั บุคคลอื่นในการพัฒนาอตุ สาหกรรมหรอื นวตั กรรมดิจทิ ลั (๔) ส่งเสริม สนับสนุน และดําเนินการเก่ียวกับการพัฒนาบุคลากรด้านอุตสาหกรรม และนวตั กรรมดิจิทัล (๕) เสนอแนะ เร่งรัด และติดตามการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายหรือกฎระเบียบหรือมาตรการเก่ียวกับ การคุม้ ครองทรพั ย์สินทางปญั ญาของอตุ สาหกรรมหรือนวัตกรรมดิจิทัลตอ่ หน่วยงานท่ีเกยี่ วข้อง (๖) ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีอ่ืนตามท่คี ณะกรรมการ คณะกรรมการเฉพาะด้าน หรือคณะกรรมการกํากับ สํานกั งานส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ดิจทิ ัลมอบหมาย หรอื ตามที่กฎหมายกําหนด การดําเนินการตาม (๒) (๓) (๔) และ (๕) ต้องสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การสง่ เสริม เศรษฐกจิ ดจิ ิทลั อุตสาหกรรมหรือนวัตกรรมดิจิทัล ให้หมายความรวมถึงอุตสาหกรรมหรือนวัตกรรมในการใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือสร้างหรือเผยแพร่เน้ือหาผ่านทางสื่อที่เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และความม่นั คงของประเทศด้วย มาตรา ๓๖ ให้มีคณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลคณะหน่ึง ประกอบด้วย ผซู้ ่งึ รฐั มนตรแี ต่งต้ัง เป็นประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และเลขาธิการ เป็นกรรมการ และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอีกไม่น้อยกว่าส่ีคนแต่ไม่เกินหกคน ซึ่งรัฐมนตรีแต่งต้ัง ทาํ หนา้ ทีก่ าํ กบั และติดตามการดําเนนิ งานของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกจิ ดิจทิ ลั ใหผ้ ู้อาํ นวยการทาํ หน้าทเี่ ลขานุการของคณะกรรมการกาํ กับสํานกั งานส่งเสริมเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั ประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามวรรคหนึ่ง ให้รัฐมนตรีแต่งต้ังจากบุคคล ซ่ึงมีความรู้ ความเช่ียวชาญ และความสามารถเป็นท่ีประจักษ์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านสังคมศาสตร์ ด้านบริหารธุรกิจ ด้านกฎหมาย หรือด้านอ่ืนที่เก่ียวข้องและ เป็นประโยชน์ตอ่ การดําเนินงานของคณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลตามหลักเกณฑ์ และวธิ กี ารที่คณะกรรมการกาํ หนด ให้นําบทบัญญัติมาตรา ๘ และมาตรา ๑๐ มาใช้บังคับกับประธานกรรมการและกรรมการ ผู้ทรงคุณวฒุ ิโดยอนโุ ลม มาตรา ๓๗ ใหป้ ระธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการกํากับสํานักงาน ส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ดิจิทัล มวี าระการดํารงตาํ แหน่งคราวละสีป่ ี สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 212

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หน้า ๑๕ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกจิ จานุเบกษา ในกรณีท่ีมีการแต่งต้ังประธานกรรมการแทนประธานกรรมการที่พ้นจากตําแหน่งก่อนวาระ รัฐมนตรีอาจแต่งตั้งประธานกรรมการแทนตําแหน่งท่ีว่างได้ และให้ผู้ที่ได้รับแต่งต้ังเป็นประธานกรรมการ แทนตาํ แหนง่ ทีว่ า่ งนัน้ ดํารงตาํ แหนง่ ไดเ้ ท่ากบั วาระท่เี หลืออยู่ ในกรณีท่ีมีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพ่ิมเติมหรือแทนกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่พ้นจาก ตําแหน่งก่อนวาระ รัฐมนตรีอาจแต่งตั้งกรรมการเพิ่มเติมหรือกรรมการแทนตําแหน่งที่ว่างได้ และให้ผู้ที่ ได้รับแต่งต้ังเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพ่ิมเติมหรือแทนตําแหน่งที่ว่างน้ันดํารงตําแหน่งได้เท่ากับวาระ ท่ีเหลืออยู่ ในกรณีที่ประธานกรรมการหรือกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตําแหน่งตามวาระ ให้ยังคงปฏิบัติ หน้าที่ต่อไปจนกว่าจะได้มีการแตง่ ตั้งประธานกรรมการหรอื กรรมการผูท้ รงคณุ วุฒิขึน้ ใหม่ ประธานกรรมการหรือกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงพ้นจากตําแหน่งตามวาระอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ แต่ไมเ่ กนิ สองวาระตดิ ตอ่ กัน มาตรา ๓๘ การประชุมของคณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ให้เป็นไปตามระเบยี บท่ีคณะกรรมการกํากับสาํ นักงานสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดิจิทลั กาํ หนด มาตรา ๓๙ ให้ประธานกรรมการ และกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ไดร้ บั เบี้ยประชมุ หรอื คา่ ตอบแทนตามหลกั เกณฑท์ ค่ี ณะกรรมการกําหนด มาตรา ๔๐ นอกจากอํานาจหน้าท่ีตามมาตรา ๓๖ ให้คณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริม เศรษฐกจิ ดิจทิ ัลมอี ํานาจหน้าที่ดังตอ่ ไปนีด้ ้วย (๑) ให้ความเห็นชอบแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลที่สํานักงานส่งเสริม เศรษฐกิจดจิ ทิ ัลจัดทําตามมาตรา ๓๕ (๑) (๒) ออกระเบียบหรือข้อบังคับเก่ียวกับการบริหารงานบุคคล การเงิน และกิจการอ่ืนอันจําเป็น ในการบริหารงานสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ระเบียบหรือข้อบังคับดังกล่าวต้องมุ่งให้เกิดความคล่องตัว ความมปี ระสทิ ธภิ าพ และตรวจสอบได้ (๓) แต่งต้ังและถอดถอนผู้อํานวยการ และกําหนดอัตราเงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอื่น ของผูอ้ าํ นวยการ (๔) ปฏบิ ตั หิ น้าทอี่ ่นื ตามพระราชบญั ญตั ิน้ีหรอื ตามทีค่ ณะกรรมการมอบหมาย ในการปฏิบัติงานตามวรรคหน่ึง คณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลอาจต้ัง คณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณา เสนอแนะ และดําเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่คณะกรรมการกํากับ สํานกั งานสง่ เสริมเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัลมอบหมายได้ มาตรา ๔๑ แผนยทุ ธศาสตร์การส่งเสรมิ เศรษฐกิจดจิ ิทลั ท่ีสาํ นกั งานสง่ เสริมเศรษฐกิจดิจิทัล จัดทําขึ้นตามมาตรา ๓๕ (๑) ต้องสอดคล้องกับนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัล เพอื่ เศรษฐกิจและสงั คม และอย่างน้อยตอ้ งกําหนดเรอ่ื งดังตอ่ ไปนดี้ ว้ ย สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 213

เลม่ ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หนา้ ๑๖ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา (๑) แนวทางการสง่ เสริมและสนบั สนุนให้เกิดการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสร้างหรือเผยแพร่เน้ือหา ผ่านทางสื่อทเี่ ปน็ ประโยชนต์ ่อเศรษฐกจิ สงั คม วัฒนธรรม และความมัน่ คงของประเทศ (๒) แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดอุตสาหกรรมและนวัตกรรมหรืองานวิจัย ด้านเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล (๓) แนวทางการสง่ เสรมิ และสนับสนุนการตลาด การลงทุน กระบวนการผลิต และการให้บริการ เก่ียวกบั เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั (๔) แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและพัฒนากําลังคนด้านอุตสาหกรรมและ นวัตกรรมดิจิทลั ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของประเทศ (๕) แนวทางการส่งเสริมและพฒั นาการนําเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลมาประยุกต์ใชใ้ นธุรกิจหรืออตุ สาหกรรม (๖) แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการเผยแพร่ความรู้ให้ประชาชนใช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยดี ิจทิ ัลอยา่ งคุ้มคา่ ประหยดั และปลอดภยั (๗) แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลตามหลักการการออกแบบ ท่ีเปน็ สากล และการพฒั นาเทคโนโลยสี ิง่ อาํ นวยความสะดวก (๘) แนวทางการส่งเสรมิ และอํานวยความสะดวกในการลงทุนในอตุ สาหกรรมและนวตั กรรมดจิ ิทลั (๙) แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษา ค้นคว้า วิจัย การถ่ายทอดเทคโนโลยี และนวัตกรรมทีจ่ าํ เปน็ ต่อการพฒั นาอตุ สาหกรรมดจิ ทิ ัล มาตรา ๔๒ เม่ือคณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลให้ความเห็นชอบ แผนยุทธศาสตร์ที่จัดทําข้ึนตามมาตรา ๓๕ (๑) แล้ว ให้สํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลปฏิบัติตามแผน ดังกล่าวโดยเคร่งครัด ในกรณีที่การปฏิบัติตามแผนดังกล่าวอยู่ในอํานาจหน้าที่ของหน่วยงานอ่ืน หรือจําเป็นต้องได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานอ่ืน ให้เสนอแผนยุทธศาสตร์นั้นต่อคณะกรรมการ เพ่ือให้ความเห็นชอบ และเม่ือคณะกรรมการให้ความเห็นชอบแล้วให้สํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล แจ้งไปยังหนว่ ยงานของรฐั ทเ่ี กยี่ วข้องเพื่อทราบและนาํ ไปปฏบิ ัตใิ ห้สอดคลอ้ งกัน มาตรา ๔๓ นอกจากอํานาจในการดําเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๓๔ ใหส้ ํานกั งานส่งเสริมเศรษฐกจิ ดจิ ิทัลมอี ํานาจหนา้ ท่ดี งั ตอ่ ไปนด้ี ้วย (๑) ถอื กรรมสทิ ธิ์ มีสิทธิครอบครองและมที รพั ยสิทธิต่าง ๆ (๒) ก่อตง้ั สิทธหิ รอื ทาํ นิติกรรมทุกประเภทเพื่อประโยชนใ์ นการดาํ เนินกิจการของสํานักงานส่งเสริม เศรษฐกิจดิจทิ ัล (๓) ทาํ ความตกลงและรว่ มมือกบั องค์การหรือหนว่ ยงานอ่ืนทั้งภาครัฐและภาคเอกชนทั้งในประเทศ และตา่ งประเทศในกจิ การทีเ่ ก่ียวกบั การดําเนินการตามวัตถุประสงคข์ องสํานกั งานส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ดิจทิ ัล (๔) ถือหนุ้ เข้าเปน็ ห้นุ ส่วน หรือเขา้ รว่ มทนุ กบั บคุ คลอื่นเพอ่ื ใหบ้ รรลุวตั ถปุ ระสงค์ตามมาตรา ๓๔ (๕) ก้ยู มื เงนิ เพอ่ื ประโยชน์ในการดําเนนิ การตามวัตถุประสงค์ของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกจิ ดิจิทัล ส�ำ นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 214

เลม่ ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หนา้ ๑๗ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา (๖) เรียกเก็บค่าธรรมเนียม ค่าบํารุง ค่าตอบแทน หรือค่าบริการในการดําเนินกิจการต่าง ๆ ตามวัตถุประสงค์ของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และอัตราท่ีคณะกรรมการ กํากับสาํ นักงานสง่ เสรมิ เศรษฐกิจดิจทิ ลั กําหนด (๗) ดําเนินการอื่นใดท่ีจําเป็นหรือต่อเนื่องเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของสํานักงานส่งเสริม เศรษฐกิจดจิ ิทัล การลงทนุ ตาม (๔) และการกยู้ ืมเงินตาม (๕) ให้เปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์และเงอื่ นไขท่คี ณะกรรมการ กาํ กบั สํานกั งานสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดจิ ิทลั กําหนด มาตรา ๔๔ สาํ นกั งานสง่ เสรมิ เศรษฐกิจดิจทิ ลั อาจมรี ายไดจ้ าก (๑) ทนุ ประเดมิ ที่รฐั บาลจัดสรรใหต้ ามมาตรา ๖๐ (๒) เงนิ และทรัพย์สินทรี่ ับโอนมาตามมาตรา ๖๒ (๓) เงินอดุ หนุนทว่ั ไปท่รี ฐั บาลจดั สรรใหต้ ามความเหมาะสมเปน็ รายปี (๔) เงินและทรพั ย์สินทม่ี ีผบู้ รจิ าคหรอื มอบให้ (๕) ดอกผล และผลประโยชน์หรือรายได้อ่ืนใดที่เกิดจากการดําเนินการของสํานักงานส่งเสริม เศรษฐกจิ ดิจทิ ลั ทรัพยส์ นิ ของสาํ นกั งานสง่ เสริมเศรษฐกิจดจิ ิทลั ไม่อยู่ในความรับผดิ แหง่ การบังคบั คดี เงินและทรัพย์สินของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ไม่ต้องนําส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน ยกเว้นดอกผล และผลประโยชน์หรือรายได้อ่ืนตามวรรคหนึ่ง (๕) เม่ือใช้จ่ายตามอํานาจหน้าท่ีของ สํานักงานส่งเสริมเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั แลว้ ที่เหลือใหน้ าํ ส่งคลงั เป็นรายไดแ้ ผ่นดนิ มาตรา ๔๕ ให้สํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลมีผู้อํานวยการคนหนึ่ง ซ่ึงคณะกรรมการ กํากับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลแต่งต้ัง มีหน้าท่ีบริหารกิจการของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ขึ้นตรงต่อคณะกรรมการกํากบั สาํ นกั งานสง่ เสริมเศรษฐกิจดิจิทัล และจะให้มีรองผู้อํานวยการเป็นผู้ช่วยส่ัง และปฏิบัตงิ านรองจากผู้อาํ นวยการก็ได้ การแต่งต้ังผู้อํานวยการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาท่ีคณะกรรมการ กาํ กบั สาํ นักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดจิ ิทัลกําหนด มาตรา ๔๖ ผูอ้ ํานวยการต้องมคี ณุ สมบตั ิและไมม่ ลี ักษณะต้องห้าม ดังต่อไปน้ี (๑) มีสัญชาตไิ ทย (๒) สามารถทํางานให้แก่สํานกั งานส่งเสริมเศรษฐกจิ ดิจิทัลได้เต็มเวลา (๓) มีอายุไม่เกนิ หา้ สบิ ห้าปีในวนั ทีไ่ ดร้ บั การแต่งตงั้ (๔) เป็นผมู้ คี วามรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมหรือกิจการ ดา้ นเศรษฐกจิ ดิจิทัล และการบริหารจดั การ (๕) ไม่เป็นบุคคลลม้ ละลายหรอื เคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจรติ ส�ำ นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 215

เลม่ ๑๓๔ ตอนท่ี ๑๐ ก หน้า ๑๘ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกจิ จานุเบกษา (๖) ไมเ่ ป็นคนไร้ความสามารถหรอื คนเสมือนไร้ความสามารถ (๗) ไม่เคยได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก เว้นแต่เป็นโทษสําหรับความผิด ท่ีไดก้ ระทําโดยประมาทหรอื ความผดิ ลหุโทษ (๘) ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือจากหนว่ ยงานของเอกชน เพราะทุจริตตอ่ หนา้ ท่หี รือประพฤตชิ ั่วอยา่ งรา้ ยแรง (๙) ไมเ่ คยถกู ถอดถอนออกจากตาํ แหน่งตามกฎหมาย (๑๐) ไม่เป็นผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถ่ิน กรรมการ หรือผู้ดํารงตําแหน่งซึ่งรับผิดชอบการบริหารพรรคการเมือง ที่ปรึกษาพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าที่ของ พรรคการเมอื ง (๑๑) ไมเ่ ปน็ ผู้มีส่วนไดเ้ สยี ในกจิ การทีเ่ ก่ยี วข้องกับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล หรือกิจการ ที่ขัดหรือแย้งกับวตั ถปุ ระสงค์ของสํานกั งานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจทิ ัล ไม่วา่ โดยทางตรงหรอื ทางอ้อม มาตรา ๔๗ ผู้อํานวยการมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสี่ปี และอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ แตจ่ ะดํารงตําแหนง่ ตดิ ต่อกันเกินสองวาระไมไ่ ด้ ในกรณีที่ข้อเท็จจริงปรากฏว่า ผู้อํานวยการมีผลการประเมินตลอดท้ังสามปีที่ผ่านมาอยู่ใน ข้ันต่ํากว่าดีตั้งแต่สองปีข้ึนไป ให้ดําเนินการสรรหาผู้อํานวยการใหม่ ในกรณีเช่นนี้ คณะกรรมการกํากับ สํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลจะแต่งต้ังผู้อํานวยการที่พ้นจากตําแหน่งให้ดํารงตําแหน่งผู้อํานวยการ อีกไม่ได้ ในกรณอี น่ื ผู้อาํ นวยการอาจสมัครเขา้ รับการคัดเลือกใหม่ได้ การประเมินผลตามวรรคสองให้คํานึงถึงผลประกอบการของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล เป็นส่วนสําคัญด้วย มาตรา ๔๘ เพ่ือประโยชน์ในการประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้อํานวยการตามมาตรา ๔๗ ให้คณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลจัดให้มีการประเมินโดยผู้ประเมินภายนอก ทเี่ ป็นกลางและอสิ ระ ท้งั น้ี ตามหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารท่ีคณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล กําหนด มาตรา ๔๙ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระตามมาตรา ๔๗ อํานวยการพ้นจาก ตําแหนง่ เม่อื (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) คณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลให้ออก เพราะไม่ผ่านการประเมิน หรือมีผลการประเมินอยู่ในขั้นตํ่ากว่าดีสองปีติดต่อกัน หรือเมื่อคณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริม เศรษฐกิจดิจิทัล เห็นว่าหากให้อยู่ในตําแหน่งต่อไปจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่สํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล อยา่ งรา้ ยแรง สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 216

เลม่ ๑๓๔ ตอนท่ี ๑๐ ก หน้า ๑๙ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา (๔) ได้รบั โทษจําคกุ โดยคําพิพากษาถึงท่สี ดุ ให้จาํ คุก (๕) ขาดคณุ สมบตั หิ รือมลี ักษณะต้องหา้ มตามมาตรา ๔๖ มาตรา ๕๐ เม่ือผู้อํานวยการพ้นจากตําแหน่งให้รองผู้อํานวยการพ้นจากตําแหน่งด้วย และในกรณีผู้อํานวยการพ้นจากตําแหน่งเพราะเหตุผลจากการประเมินตามมาตรา ๔๗ หรือมาตรา ๔๙ (๓) จะแต่งตง้ั รองผอู้ าํ นวยการท่ีพ้นจากตาํ แหน่งนั้นเปน็ ผู้อํานวยการมิได้ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวรรคหนึ่ง รองผู้อํานวยการพ้นจากตําแหน่งเมื่อผู้อํานวยการ สงั่ ใหพ้ ้นจากตาํ แหน่ง มาตรา ๕๑ ให้ผู้อาํ นวยการมีอาํ นาจหนา้ ท่ี ดงั ต่อไปนี้ (๑) บริหารงานของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามภารกิจของสํานักงาน ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล แผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล และตามนโยบายและแผนระดับชาติ วา่ ด้วยการพฒั นาดจิ ิทัลเพือ่ เศรษฐกจิ และสงั คม และระเบียบ ข้อบงั คบั ท่ีคณะกรรมการกํากับสํานักงาน สง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัลกําหนด (๒) วางระเบียบเก่ียวกับการดําเนินงานของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลโดยไม่ขัดหรือ แย้งกับระเบียบ ข้อบังคับ ข้อกําหนด นโยบาย มติ หรือประกาศท่ีคณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริม เศรษฐกจิ ดิจทิ ัลกําหนด (๓) เป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานและลูกจ้างทุกตําแหน่ง เว้นแต่ผู้ดํารงตําแหน่งผู้ตรวจสอบภายใน และประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานและลูกจ้างของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลทุกตําแหน่ง ตามระเบยี บหรือข้อบังคับของคณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทลั (๔) แต่งตั้งรองผอู้ ํานวยการท่ีมีคุณสมบตั แิ ละไม่เกนิ จํานวนท่คี ณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริม เศรษฐกิจดิจิทลั กาํ หนด (๕) บรรจุแต่งตั้ง เล่ือนเงินเดือนหรือค่าจ้าง ลงโทษทางวินัยพนักงานและลูกจ้าง ตลอดจน ให้พนักงานและลูกจ้างออกจากตําแหน่ง ทั้งน้ี ตามระเบียบหรือข้อบังคับของคณะกรรมการกํากับสํานักงาน สง่ เสริมเศรษฐกิจดจิ ิทลั (๖) ปฏิบัติการอ่ืนใดตามระเบียบ ข้อบังคับ และมติของคณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริม เศรษฐกิจดิจิทัล มาตรา ๕๒ ในกิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก ให้ผู้อํานวยการเปน็ ผู้แทนของสํานักงาน สง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดิจทิ ลั และเพือ่ การน้ผี ูอ้ าํ นวยการจะมอบอํานาจใหบ้ คุ คลใดปฏบิ ัตงิ านเฉพาะอย่างแทนก็ได้ แต่ทง้ั น้ตี ้องเป็นไปตามระเบียบทค่ี ณะกรรมการกํากบั สํานักงานส่งเสริมเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั กําหนด การรักษาการแทน และการปฏิบัติหน้าท่ีแทน ให้เป็นไปตามระเบียบท่ีคณะกรรมการกํากับ สํานักงานสง่ เสรมิ เศรษฐกิจดิจิทลั กําหนด มาตรา ๕๓ การบัญชีของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ให้จัดทําตามมาตรฐานการบัญชี ตามแบบและหลักเกณฑ์ทีค่ ณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทลั กําหนด สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 217

เล่ม ๑๓๔ ตอนท่ี ๑๐ ก หน้า ๒๐ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๕๔ ขา้ ราชการหรือเจา้ หน้าท่ีของรัฐซ่งึ อยู่ระหว่างการปฏิบัติงานชดใช้ทุนการศึกษา ทไ่ี ดร้ บั จากส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐ ที่ได้โอนย้ายมาปฏิบัติหน้าที่ท่ีสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล โดยได้รับความเห็นชอบจากผู้บังคับบัญชาต้นสังกัด ให้ถือเป็นการชดใช้ทุนตามสัญญา และมีสิทธินับระยะเวลา การปฏบิ ตั งิ านในสาํ นกั งานส่งเสริมเศรษฐกจิ ดิจทิ ลั เป็นระยะเวลาในการชดใชท้ ุนตามสญั ญาด้วย มาตรา ๕๕ ให้สํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลจัดทํางบดุล งบการเงิน และบัญชีทําการ สง่ ผู้สอบบัญชีภายในเก้าสิบวันนบั แตว่ ันส้ินปบี ัญชที กุ ปี ให้สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดินหรือผู้สอบบัญชีรับอนุญาตท่ีสํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ใหค้ วามเห็นชอบเป็นผสู้ อบบญั ชี และประเมนิ ผลการใช้จา่ ยเงนิ และทรัพยส์ ินของสํานกั งานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ทุกรอบปี แลว้ ทาํ รายงานผลการสอบบญั ชีเสนอตอ่ คณะกรรมการกํากบั สํานักงานสง่ เสรมิ เศรษฐกิจดจิ ิทลั มาตรา ๕๖ ให้สํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลจัดทาํ รายงานการดําเนินงานประจําปี เสนอรฐั มนตรีภายในหนงึ่ ร้อยแปดสบิ วนั นับแตว่ นั ส้ินปีบญั ชี และเผยแพรร่ ายงานนี้ตอ่ สาธารณชน รายงานการดําเนินงานประจําปีตามวรรคหน่ึง ให้แสดงรายละเอียดของงบการเงินท่ีผู้สอบบัญชี ให้ความเห็นแล้ว พร้อมท้ังผลงานของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลในปีที่ล่วงมาและรายงาน การประเมนิ ผลการดําเนนิ งานของสํานกั งานส่งเสรมิ เศรษฐกิจดจิ ทิ ัลในปที ล่ี ่วงมาแลว้ การประเมนิ ผลการดาํ เนนิ การของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลตามวรรคสอง จะต้องดําเนินการ โดยบุคคลภายนอกทคี่ ณะกรรมการกํากบั สํานักงานสง่ เสรมิ เศรษฐกิจดิจทิ ัลใหค้ วามเห็นชอบ มาตรา ๕๗ ให้รัฐมนตรีมีอํานาจกํากับดูแลการดําเนินกิจการของสํานักงานส่งเสริม เศรษฐกิจดิจิทัลให้เป็นไปตามอํานาจหน้าที่และตามกฎหมาย มติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง นโยบาย และแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม และแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริม เศรษฐกจิ ดิจิทลั เพ่ือการน้ีให้รฐั มนตรีมีอํานาจส่ังให้ผู้อํานวยการช้ีแจง แสดงความคิดเห็น หรือทํารายงาน และมีอํานาจยับย้ังการกระทําของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลที่ขดั ต่ออํานาจหน้าที่ของสํานักงาน ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล นโยบายของรัฐบาล มติคณะรัฐมนตรีท่ีเกี่ยวข้อง นโยบายและแผนระดับชาติ ว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม หรือแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ตลอดจนสงั่ สอบสวนข้อเท็จจริงเกยี่ วกับการดาํ เนินการของสํานกั งานสง่ เสริมเศรษฐกิจดิจิทัลได้ บทเฉพาะกาล มาตรา ๕๘ ในวาระเริ่มแรก ให้คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการตามมาตรา ๗ (๑) (๒) (๓) และวรรคสอง เพ่ือปฏิบัติหน้าที่เท่าที่จําเป็นไปพลางก่อนแต่ไม่เกินเก้าสิบวันนับแต่วันที่ พระราชบญั ญัตินใี้ ชบ้ ังคบั สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 218

เล่ม ๑๓๔ ตอนท่ี ๑๐ ก หนา้ ๒๑ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๕๙ ในวาระเริ่มแรก ท่ียังไม่มีคณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ตามพระราชบัญญตั ินี้ ใหค้ ณะกรรมการกาํ กบั สาํ นักงานสง่ เสริมเศรษฐกิจดิจทิ ัล ประกอบด้วย ปลัดกระทรวงดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคม เป็นประธานกรรมการ เลขาธิการ และผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และความสามารถ เป็นท่ีประจักษ์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านสังคมศาสตร์ ด้านบริหารธุรกิจ ด้านกฎหมาย หรือด้านอื่นท่ีเก่ียวข้องและเป็นประโยชน์ต่อการดําเนินงานของคณะกรรมการ กํากับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลท่ีรัฐมนตรีแต่งตั้ง จํานวนสี่คน เป็นกรรมการ และให้ผู้ปฏิบัติหน้าท่ี ผู้อํานวยการตามวรรคสองเป็นเลขานุการของคณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล โดยให้ปฏิบัติหน้าที่เป็นการช่ัวคราวไปจนกว่าจะมีคณะกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ ซ่ึงตอ้ งไมเ่ กินหนง่ึ ร้อยแปดสิบวันนับแตว่ นั ทพ่ี ระราชบัญญตั นิ ใี้ ชบ้ งั คับ ในระหว่างท่ียังไม่มีการแต่งต้ังผู้อาํ นวยการตามพระราชบัญญัติน้ี ให้รัฐมนตรีแต่งต้ังผู้ท่ีเห็นสมควร ให้ปฏิบัติหน้าที่ผู้อํานวยการตามพระราชบัญญัติน้ีเป็นการช่ัวคราว จนกว่าจะมีการแต่งตั้งผู้อํานวยการ ตามพระราชบญั ญัตินี้ ซง่ึ ต้องไม่เกนิ หน่ึงร้อยแปดสิบวนั นับแตว่ นั ทพ่ี ระราชบญั ญัตนิ ี้ใช้บังคับ มาตรา ๖๐ ในวาระเร่ิมแรก ให้คณะรัฐมนตรีจัดสรรทุนประเดิมให้แก่กองทุนและสํานักงาน ส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ดิจิทลั ตามความจาํ เป็น มาตรา ๖๑ ในวาระเร่ิมแรก ให้รัฐมนตรีเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาให้ข้าราชการ พนักงาน เจ้าหน้าท่ี หรือผู้ปฏิบัติงานอื่นใดในหน่วยงานของรัฐ มาปฏิบัติงานเป็นพนักงานของสํานักงาน ส่งเสรมิ เศรษฐกิจดิจทิ ลั เปน็ การชว่ั คราวภายในระยะเวลาท่ีคณะรัฐมนตรีกาํ หนดได้ มาตรา ๖๒ เมื่อพระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับแล้ว ให้พระราชกฤษฎีกาจัดต้ังสํานักงาน ส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๔๖ และพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สํานักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๓ เป็นอันยกเลิก และให้บรรดากิจการ เงินและทรัพย์สิน สิทธิ หนี้ รวมท้ังงบประมาณของสํานักงานส่งเสริมอุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ท่ีมีอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ ตกเป็นของ สํานกั งานสง่ เสรมิ เศรษฐกิจดิจิทลั มาตรา ๖๓ ให้โอนเจ้าหน้าที่และลูกจ้างของสํานักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสํานักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แก้ไขเพ่ิมเตมิ ซงึ่ ปฏบิ ตั ิหน้าที่อยู่ในวันก่อนวันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ ไปเป็นพนกั งานหรือลูกจ้างของสาํ นกั งานส่งเสริมเศรษฐกิจดจิ ิทลั เป็นการชั่วคราว ภายในหนง่ึ รอ้ ยแปดสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ ให้สํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ดําเนินการคัดเลือกเจ้าหน้าที่หรือลูกจ้างตามวรรคหน่ึงเพื่อบรรจุเป็นพนักงานหรือลูกจ้างของสํานักงาน สง่ เสริมเศรษฐกิจดิจิทลั ตอ่ ไป สำ�นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 219

เลม่ ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หนา้ ๒๒ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา พนกั งานหรือลูกจา้ งผู้ใดไดร้ ับการคดั เลือกและบรรจุตามวรรคสอง ให้มีสิทธินับระยะเวลาทํางาน ที่เคยทํางานอยู่ในสํานักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ต่อเนื่องรวมกับ ระยะเวลาทาํ งานในสํานักงานส่งเสรมิ เศรษฐกิจดจิ ิทลั เจา้ หน้าท่ีหรือลกู จ้างตามวรรคหนึ่งผใู้ ดไมป่ ระสงค์จะทํางานในสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลต่อไป หรือไม่ได้รับการคัดเลือกและบรรจุตามวรรคสอง ให้ถือว่าเป็นการเลิกจ้างและให้มีสิทธิได้รับค่าตอบแทน การเลิกจ้างตามประกาศ ระเบียบ หรือข้อบังคับของสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลในส่วนที่เกี่ยวกับ การเลิกจ้างและการได้รับค่าตอบแทนการเลิกจ้างดังกล่าว ซึ่งต้องไม่น้อยกว่าท่ีกําหนดไว้ในกฎหมาย ว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม และกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน แต่สําหรับ กรณีการไม่สมัครใจจะทํางานในสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องแสดงความจํานงภายในสามสิบวัน นับแตว่ ันท่พี ระราชบัญญตั นิ ้ใี ชบ้ งั คับ มาตรา ๖๔ ในระหว่างทย่ี งั มไิ ดม้ ีการออกประกาศ ระเบียบ หรือข้อบังคับในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ สาํ นกั งานสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดิจทิ ัลตามพระราชบัญญัติน้ี คณะกรรมการกาํ กับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล สามารถกําหนดให้นําประกาศ ระเบียบ หรือข้อบังคับของสํานักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือองค์การมหาชนอื่นซึ่งอยู่ภายใต้การกํากับดูแลของกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจ และสังคมที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับมาใช้บังคับโดยอนุโลมกับสํานักงานส่งเสริม เศรษฐกจิ ดิจิทัลได้ ทัง้ นี้ เทา่ ท่ไี ม่ขดั หรือแยง้ กับพระราชบญั ญัตนิ ี้ มาตรา ๖๕ การดําเนินการออกประกาศ ระเบียบ และข้อบังคับตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ หากไม่สามารถดําเนินการได้ ใหร้ ัฐมนตรรี ายงานเหตผุ ลที่ไม่อาจดําเนินการไดต้ อ่ คณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ ผรู้ ับสนองพระราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ส�ำ นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 220

เล่ม ๑๓๔ ตอนท่ี ๑๐ ก หนา้ ๒๓ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกจิ จานุเบกษา หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในด้านดิจิทัลได้เข้ามามีบทบาทสําคัญในการพัฒนาและขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งส่งผลต่อฐานความรู้ และขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ซ่ึงหน่วยงานภาครัฐและภาคธุรกิจต่างมีความต้องการนําระบบ เทคโนโลยีด้านดิจิทัลดังกล่าวมาใช้ในการพัฒนาศักยภาพและประสิทธิภาพของการให้บริการ เพื่อประโยชน์ ท่ีประชาชนจะได้รับหรือการพัฒนาในการแข่งขันทางธุรกิจของภาคเอกชน แต่ประเทศไทยยังขาดการพัฒนา เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในด้านดิจิทัลอย่างเป็นระบบท่ีจะสามารถตอบสนองความต้องการดังกล่าว ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะนําไปสู่การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ดังนั้น เพ่ือให้การพัฒนาดิจิทัล เพ่ือเศรษฐกิจและสังคมของประเทศครอบคลุมการดําเนินงานในด้านต่าง ๆ ที่มีส่วนสําคัญต่อการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมของประเทศและการวางโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศอย่างเป็นระบบเพื่อลดความซํ้าซ้อน ในการดําเนินงานและส่งเสริมกิจกรรมในด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศทั้งของภาครัฐและภาคเอกชน จึงจําเป็นตอ้ งตราพระราชบัญญตั นิ ี้ สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 221

สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 222

พระราชบญั ญัติ สภาดจิ ทิ ลั เพ่อื เศรษฐกจิ และสงั คมแหง ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๒ ส�ำ นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 223

ชอ่ื กฎหมาย พระราชบัญญตั ิสภาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๒ ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เลม ๑๓๖ / ตอนท่ี ๕๖ ก / หนา ๖๙ / วนั ที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ เรมิ่ บงั คบั ใช วนั ท่ี ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ผูร กั ษาการ รัฐมนตรวี า การกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกจิ และสังคม สำ�นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 224

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๖ ก หน้า ๖๙ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกจิ จานเุ บกษา พระราชบญั ญัติ สภาดิจทิ ลั เพ่อื เศรษฐกจิ และสงั คมแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๒ สมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวมหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกูร ให้ไว้ ณ วนั ท่ี ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นปที ่ี ๔ ในรัชกาลปัจจบุ ัน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศวา่ โดยท่ีเปน็ การสมควรมกี ฎหมายวา่ ดว้ ยสภาดจิ ทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ประเทศไทย พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๖ ประกอบกับมาตรา ๓๓ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทาได้ โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เหตุผลและความจาเป็นในการจากดั สิทธิและเสรีภาพของบุคคลตามพระราชบัญญัตินี้ เพ่ือให้ การดาเนินงานของสภาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งประเทศไทยบรรลุวัตถุประสงค์ในการจัดต้ัง จาเป็นต้องมีการกากับดูแลโดยหน่วยงานของรัฐในบางกรณี เพื่อประโยชน์ในความร่วมมือระหว่างภาครัฐ กับภาคเอกชน อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล ซ่ึงการตราพระราชบัญญัตินี้ สอดคลอ้ งกับเงอื่ นไขทบี่ ัญญัตไิ ว้ในมาตรา ๒๖ ของรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทยแล้ว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของ สภานติ บิ ญั ญัตแิ หง่ ชาตทิ าหนา้ ทีร่ ัฐสภา ดงั ตอ่ ไปน้ี สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 225

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๖ ก หน้า ๗๐ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติสภาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม แห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๒” มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป มาตรา ๓ ในพระราชบญั ญัตนิ ้ี “ดิจิทัล” หมายความว่า เทคโนโลยีที่ใช้วิธีการนาสัญลักษณ์ศูนย์และหน่ึงหรือสัญลักษณ์อ่ืน มาแทนค่าสงิ่ ทง้ั ปวง เพ่ือใชส้ รา้ ง หรือก่อใหเ้ กิดระบบตา่ ง ๆ เพือ่ ใหม้ นษุ ยใ์ ช้ประโยชน์ “ธรุ กจิ หรืออุตสาหกรรมดจิ ิทลั ” หมายความวา่ ธรุ กิจหรืออุตสาหกรรมทเี่ กี่ยวข้องกับการผลติ การพัฒนา การจัดจาหนา่ ย หรือการให้บริการ ดา้ นฮาร์ดแวรอ์ ิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละสว่ นประกอบดา้ นซอฟตแ์ วร์ ด้านบริการดิจทิ ลั ดา้ นดิจทิ ัลคอนเทนต์ หรอื ดา้ นบรกิ ารโครงสร้างพืน้ ฐานเพอื่ การสื่อสารในระบบดจิ ทิ ลั ทงั้ น้ี รายละเอียดให้เปน็ ตามทก่ี าหนดในข้อบังคบั “สภา” หมายความวา่ สภาดจิ ิทลั เพอ่ื เศรษฐกิจและสังคมแหง่ ประเทศไทย “ขอ้ บงั คบั ” หมายความว่า ขอ้ บังคบั ของสภาดจิ ิทัลเพ่ือเศรษฐกจิ และสังคมแห่งประเทศไทย “สมาชิก” หมายความว่า สมาชิกของสภาดิจทิ ัลเพ่อื เศรษฐกจิ และสังคมแห่งประเทศไทย “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการสภาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม แหง่ ประเทศไทย “กรรมการ” หมายความวา่ กรรมการสภาดิจทิ ลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ประเทศไทย “พนักงาน” หมายความว่า พนักงานและลูกจ้างของสภาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม แหง่ ประเทศไทย “พนกั งานเจ้าหนา้ ท่ี” หมายความว่า ขา้ ราชการสังกดั กระทรวงดจิ ิทลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสงั คม ซง่ึ รัฐมนตรีแต่งตง้ั ใหป้ ฏิบตั ิการตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี “รฐั มนตรี” หมายความว่า รฐั มนตรีผรู้ ักษาการตามพระราชบัญญตั นิ ้ี มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมรักษาการ ตามพระราชบัญญัติน้ี และให้มีอานาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่และกาหนดกิจการอื่น เพื่อปฏิบัติการ ตามพระราชบัญญัติน้ี สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 226

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๖ ก หน้า ๗๑ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา หมวด ๑ การจดั ตงั้ สภา มาตรา ๕ ให้จดั ตงั้ สภาดจิ ิทัลเพ่อื เศรษฐกจิ และสังคมแห่งประเทศไทย มฐี านะเปน็ นิตบิ ุคคล มวี ัตถุประสงคแ์ ละหนา้ ท่ตี ามทบี่ ญั ญัติไวใ้ นพระราชบญั ญัตนิ ้ี มาตรา ๖ ใหส้ ภามวี ัตถุประสงค์ ดงั ต่อไปนี้ (๑) เป็นตัวแทนของสมาชิกผู้ประกอบธุรกิจหรืออุตสาหกรรมดิจิทัลในการเสนอความเห็น ประสานงาน และสนับสนุนการดาเนินงานด้านนโยบายระหว่างภาครัฐและเอกชน เก่ียว กับธุรกิจ หรอื อตุ สาหกรรมดิจิทัล (๒) เสนอความเห็นและข้อเสนอแนะต่อภาครัฐในเรื่องที่เก่ียวกับกฎระเบียบ กฎหมาย ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั ธุรกิจหรอื อตุ สาหกรรมดจิ ิทลั (๓) ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาขีดความสามารถของการประกอบธุรกิจหรืออุตสาหกรรม ดจิ ทิ ัลใหส้ ามารถแข่งขนั ได้ในระดับสากล (๔) สง่ เสริมการพัฒนาทกั ษะของบคุ ลากรด้านดจิ ิทัลใหม้ มี าตรฐานสากล (๕) สง่ เสรมิ และกากับดแู ลให้เกิดคณุ ภาพ มาตรฐาน และจรรยาบรรณในการประกอบธุรกิจ หรอื อุตสาหกรรมดิจทิ ลั รวมทง้ั ควบคุมดแู ลให้สมาชกิ ปฏบิ ตั ติ ามข้อบงั คับของสภาและกฎหมายเกย่ี วกับ การประกอบธรุ กจิ หรอื อุตสาหกรรมดจิ ิทัล (๖) ดาเนินกจิ การอน่ื เพอื่ การพัฒนาธรุ กจิ หรอื อตุ สาหกรรมดิจทิ ลั ของประเทศไทย หรือตามท่ี ได้รบั มอบหมายจากหนว่ ยงานภาครัฐท่เี ก่ยี วขอ้ ง มาตรา ๗ ห้ามสภากระทาการ ดงั ต่อไปน้ี (๑) ประกอบวิสาหกิจ เข้าดาเนินการประกอบวิสาหกิจของบุคคลใด เข้าถือหุ้นเป็นหุ้นส่วน หรือร่วมทุนในการประกอบวิสาหกิจดิจิทัลกับบุคคลใด เว้นแต่เป็นการประกอบวิสาหกิจเพียงเพื่อให้ บรรลุวัตถุประสงค์ของสภาตามมาตรา ๖ และได้รบั ความเห็นชอบจากท่ีประชุมสามญั (๒) ดาเนินการด้วยประการใด ๆ อันเป็นการทาลายการแข่งขันอันพึงมีตามปกติวิสัย ของการประกอบวสิ าหกิจดิจทิ ลั ส�ำ นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 227

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๖ ก หน้า ๗๒ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกิจจานเุ บกษา (๓) ดาเนินการด้วยประการใด ๆ อันอาจเป็นภัยต่อเศรษฐกิจความมั่นคงของประเทศ หรอื ต่อความสงบเรยี บรอ้ ยหรือศีลธรรมอนั ดีของประชาชน (๔) ให้กู้ยืมเงินหรือให้เงินแก่สมาชิก หรือบุคคลอื่นใด เว้นแต่เป็นการให้กู้ยืมเพื่อเป็น การสงเคราะห์พนักงาน หรือครอบครัวของพนักงานตามข้อบังคับ หรือเป็นการให้เพื่อการกุศลสาธารณะ หรอื ตามหน้าท่ีศลี ธรรม หรอื ตามควรแกอ่ ธั ยาศัยในสังคม (๕) กีดกันหรือขัดขวางมิให้ผู้ใดซึ่งมีคุณสมบัติที่จะเป็นสมาชิกได้ตามพระราชบัญญัติ และข้อบงั คบั เขา้ เป็นสมาชิก โดยขดั ตอ่ พระราชบญั ญัตหิ รอื ขอ้ บงั คับ (๖) แบง่ ปนั ผลกาไรหรอื รายได้ให้แกส่ มาชิก (๗) ดาเนินการเกยี่ วขอ้ งกับกจิ กรรมทางการเมือง มาตรา ๘ ให้สภามีสานักงานใหญ่ในกรุงเทพมหานคร และมีสานักงานสาขาในจังหวัดอืน่ ได้ ตามความจาเป็น การจัดต้ังสานักงานสาขาตามวรรคหนึ่ง ใหเ้ ปน็ ไปตามขอ้ บังคบั มาตรา ๙ สภาอาจมีรายได้ ดังตอ่ ไปน้ี (๑) คา่ ลงทะเบยี น คา่ ธรรมเนียม และค่าบารงุ ท่ีเรียกเกบ็ จากสมาชกิ (๒) ค่าตอบแทนและคา่ บริการทไี่ ดร้ บั จากการใหบ้ รกิ ารแกส่ มาชิกหรอื บคุ คลภายนอก (๓) เงนิ และทรัพยส์ ินที่มีผูม้ อบให้ (๔) เงิน ผลประโยชน์ และทรพั ยส์ ินอื่น ๆ ท่ไี ดจ้ ากการดาเนนิ งานของสภา (๕) ดอกผลและผลประโยชนข์ องเงนิ หรอื ทรัพย์สินตาม (๑) (๒) (๓) และ (๔) มาตรา ๑๐ หา้ มบุคคลใดนอกจากสภาใช้เครื่องหมาย หรือช่ือเปน็ ภาษาไทยวา่ “สภาดจิ ทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งประเทศไทย” หรือช่ือย่อว่า “สภาดิจิทัล” หรืออักษรต่างประเทศ ที่มีความหมายหรืออ่านออกเสียงว่า “สภาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งประเทศไทย” หรือใช้ชื่อ ในทานองเดยี วกนั จนเป็นเหตุให้บคุ คลอนื่ หลงเช่ือวา่ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของสภา เว้นแตจ่ ะไดร้ บั อนุญาตจากสภา หมวด ๒ สมาชิก มาตรา ๑๑ สภามีสมาชิกสามประเภท คือ (๑) สมาชิกสามญั ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 228

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๖ ก หน้า ๗๓ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกิจจานเุ บกษา (๒) สมาชกิ วิสามัญ (๓) สมาชกิ กติ ตมิ ศักด์ิ สมาชิกมสี ิทธแิ ละหน้าท่ีตามทกี่ าหนดในขอ้ บงั คบั มาตรา ๑๒ สมาชกิ สามัญ ไดแ้ ก่ (๑) นติ บิ คุ คลท่ีต้งั ข้นึ ตามกฎหมายไทยและประกอบธรุ กิจหรืออตุ สาหกรรมดิจทิ ลั (๒) สมาคมที่ต้ังข้ึนตามกฎหมายไทยและมีวัตถุประสงค์เก่ียวกับการส่งเสริมหรือสนับสนุน การประกอบธุรกิจหรืออุตสาหกรรมดิจิทัล โดยกรรมการสมาคมท้ังหมดจานวนเกินก่ึงหน่ึงและสมาชิก ของสมาคมท้ังหมดจานวนเกินก่งึ หน่ึงมสี ญั ชาตไิ ทย มาตรา ๑๓ สมาชิกวสิ ามัญ ไดแ้ ก่ บคุ คลธรรมดาท่ีประกอบธุรกจิ หรืออุตสาหกรรมดจิ ิทลั มาตรา ๑๔ สมาชกิ กติ ติมศักด์ิ ได้แก่ ผ้ซู ึ่งคณะกรรมการเชิญมาเปน็ สมาชกิ กติ ตมิ ศักด์ิจาก (๑) ผ้ทู รงคุณวฒุ ิในธุรกจิ หรอื อุตสาหกรรมดจิ ทิ ัล (๒) ผทู้ รงคณุ วฒุ ิในสถาบันการศกึ ษาทจี่ ดั การศึกษาหลกั สูตรเกี่ยวกบั ดิจิทลั (๓) ผู้ซง่ึ ทาประโยชนใ์ ห้แก่สภา หรือธุรกิจหรืออุตสาหกรรมดจิ ทิ ลั ของประเทศ หมวด ๓ คณะกรรมการ มาตรา ๑๕ ให้มีคณะกรรมการสภาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งประเทศไทย คณะหนึ่ง ซึ่งทปี่ ระชุมใหญส่ ภาเลอื กต้ังจากผูแ้ ทนสมาชกิ สามัญ ให้กรรมการตามวรรคหนึ่ง เลือกกรรมการเป็นประธานสภาคนหนึ่ง รองประธานสภาคนหน่ึง หรอื หลายคน เลขาธกิ ารสภาคนหน่ึง และตาแหน่งอ่นื ๆ ตามทก่ี าหนดในข้อบงั คบั ให้เลขาธกิ ารสภาเปน็ เลขานุการของคณะกรรมการ จานวนและสัดส่วนของกรรมการตามประเภทการประกอบธุรกิจหรืออุตสาหกรรมดิจิทัล และวิธีการเลือกตั้งตามวรรคหน่ึง และวิธีการเลือกประธานสภา รองประธานสภา เลขาธิการสภา และตาแหน่งอ่นื ๆ ตามวรรคสอง ใหเ้ ป็นไปตามที่กาหนดในข้อบงั คบั มาตรา ๑๖ กรรมการต้องมคี ณุ สมบตั แิ ละไมม่ ลี ักษณะตอ้ งหา้ ม ดงั ตอ่ ไปนี้ สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 229

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๖ ก หน้า ๗๔ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกจิ จานเุ บกษา (๑) เป็นบุคคลที่มีประสบการณ์เก่ียวกับธุรกิจหรืออุตสาหกรรมดิจิทัลเป็นระยะเวลา ไมน่ ้อยกว่าหา้ ปี (๒) เป็นผแู้ ทนสมาชิกสามญั ที่เป็นสมาชิกของสภาเป็นระยะเวลาไม่นอ้ ยกวา่ หนึ่งปี (๓) เปน็ ผแู้ ทนสมาชกิ สามญั ทีไ่ ด้จดั ทาบัญชนี าส่งงบการเงินต่อกระทรวงพาณิชยห์ รอื กรมสรรพากร มาระยะเวลาสามปีติดต่อกันนับย้อนจากปีปัจจุบัน และมีการจัดทางบการเงินท่ีได้รับการตรวจสอบ จากผตู้ รวจสอบบัญชที ีไ่ ดร้ ับอนุญาตมาเปน็ ระยะเวลาสามปีตดิ ตอ่ กนั นับยอ้ นจากปปี ัจจุบันดว้ ย (๔) ไมเ่ ปน็ พนกั งาน (๕) ไม่เปน็ บุคคลล้มละลายหรือเคยเปน็ บุคคลลม้ ละลายทุจรติ (๖) ไม่เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง ข้าราชการ หรือพนักงานส่วนท้องถ่ินซ่ึงมีตาแหน่ง หรือเงินเดือนประจา หรือเป็นพนักงานหรือบุคคลผู้ปฏิบัติงานในรัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานของรัฐ ผู้บริหารท้องถ่ิน หรือสมาชิกสภาท้องถิ่น เจ้าพนักงานตามกฎหมายว่าด้วยลักษณะปกครองท้องที่ และให้หมายความรวมถึงลูกจ้างของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐ และบุคคล หรอื คณะบุคคลซงึ่ ใช้อานาจหรือไดร้ บั มอบให้ใช้อานาจทางปกครองของรฐั ในการดาเนินการอย่างใดอย่างหน่ึง ตามกฎหมาย ไม่ว่าจะเป็นการจัดต้ังข้ึนในระบบราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือกิจการอื่นของรัฐ เว้นแต่ จะไดพ้ ้นจากตาแหนง่ น้ันมาแลว้ ไม่น้อยกวา่ หนึง่ ปี (๗) ไม่เป็นบคุ คลวิกลจรติ หรือจติ ฟ่ันเฟอื นไมส่ มประกอบ (๘) ไม่เปน็ คนไรค้ วามสามารถหรอื คนเสมอื นไร้ความสามารถ (๙) ไม่เคยได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิด ทก่ี ระทาโดยประมาทหรอื ความผดิ ลหุโทษ มาตรา ๑๗ กรรมการมวี าระการดารงตาแหน่งคราวละสองปี และอาจไดร้ ับเลอื กตัง้ ใหม่ได้ ประธานสภาจะดารงตาแหน่งเกินสองวาระตดิ ตอ่ กันไม่ได้ มาตรา ๑๘ นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระตามมาตรา ๑๗ กรรมการ พน้ จากตาแหน่ง เม่อื (๑) ตาย (๒) ลาออก ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 230

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๖ ก หน้า ๗๕ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา (๓) ที่ประชมุ ใหญส่ ภามมี ติให้ออกด้วยคะแนนเสียงไมน่ อ้ ยกวา่ สองในสามของจานวนสมาชกิ สามญั ที่มาประชมุ (๔) พ้นจากการเปน็ ผูแ้ ทนสมาชกิ สามัญ หรือสมาชกิ สามัญนน้ั พ้นจากสมาชิกภาพ (๕) ขาดคณุ สมบตั ิหรือมลี ักษณะต้องหา้ มตามมาตรา ๑๖ (๖) รฐั มนตรีสั่งให้พ้นจากตาแหน่งตามมาตรา ๓๖ มาตรา ๑๙ เมื่อกรรมการตามมาตรา ๑๕ พ้นจากตาแหน่งก่อนวาระ ให้คณะกรรมการ จัดให้มีการประชุมใหญส่ ภาเพ่ือใหม้ ีการเลือกต้ังผแู้ ทนสมาชิกสามญั เป็นกรรมการแทนภายในหกสบิ วัน เว้นแต่วาระของกรรมการผู้น้ันจะเหลือน้อยกว่าหน่ึงร้อยแปดสิบวัน คณะกรรมการจะจัดให้มีการเลือกต้ัง กรรมการแทนหรอื ไม่ก็ได้ ให้ผู้ซึ่งได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการแทนตามวรรคหน่ึงอยู่ในตาแหน่งได้เพียงเท่ากับวาระ ทย่ี งั เหลอื อยูข่ องกรรมการซงึ่ ตนแทน มาตรา ๒๐ ในกรณีท่กี รรมการทงั้ คณะพ้นจากตาแหนง่ นอกจากการพน้ จากตาแหนง่ ทัง้ คณะ ตามมาตรา ๓๖ ให้กรรมการที่พ้นจากตาแหน่งยังคงรักษาการในตาแหนง่ เพ่ือดาเนนิ กิจการของสภาตอ่ ไป เท่าท่ีจาเปน็ จนกว่าคณะกรรมการชดุ ใหม่เข้ารบั หน้าท่ี กรรมการท่พี น้ จากตาแหนง่ ตามวรรคหนง่ึ ตอ้ งจดั ใหม้ ีการประชุมใหญ่สภา เพ่อื ใหม้ ีการเลือกตั้ง คณะกรรมการชดุ ใหม่ตามมาตรา ๑๕ ภายในสามสบิ วนั นบั แต่วันทพี่ น้ จากตาแหน่ง ในกรณีที่ตาแหน่งกรรมการวา่ งลง จนเหลือจานวนนอ้ ยกวา่ ที่จะเป็นองค์ประชุมตามมาตรา ๒๒ ให้กรรมการที่เหลืออยู่ กระทาการตอ่ ไปได้ แต่เฉพาะจัดให้มีการประชุมใหญส่ ภาเพ่ือเลอื กต้งั กรรมการ ตามมาตรา ๑๕ มาตรา ๒๑ คณะกรรมการมีหน้าที่และอานาจวางนโยบายและดาเนินกิจการของสภา ใหเ้ ป็นไปตามวัตถปุ ระสงค์ของสภาตามมาตรา ๖ รวมทัง้ ให้มีหนา้ ทแี่ ละอานาจ ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) ประสานงานในนามของผู้ประกอบธุรกิจหรืออุตสาหกรรมดิจิทัลด้านนโยบายและ การดาเนินการกับรัฐบาล หน่วยงานของภาครัฐเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจหรืออุตสาหกรรมดิจิทัล ตลอดจนศึกษาแนวทาง และร่วมผลักดันการแก้ไขปัญหาผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมเกี่ยวกับ การประกอบธรุ กิจหรอื อตุ สาหกรรมดจิ ทิ ลั ของประเทศ สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 231

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๖ ก หน้า ๗๖ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกจิ จานเุ บกษา (๒) สนับสนุนการดาเนินการของรัฐบาลในเรื่องที่เกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์ต่อธุรกิจ หรอื อุตสาหกรรมดจิ ทิ ัล (๓) ใหค้ าปรกึ ษาและให้คาแนะนาแกก่ ารประกอบธุรกิจหรืออตุ สาหกรรมดิจิทัล (๔) ดาเนินการร่วมกับผู้ประกอบธรุ กิจหรืออุตสาหกรรมดจิ ิทัลในการแลกเปลีย่ นความคดิ เหน็ การประสานงานด้านธุรกิจ อุตสาหกรรม การแก้ไขปัญหาท่ีเกี่ยวข้อง ตลอดจนความรู้ด้านดิจิทัล กับทงั้ องค์กรในประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ เพ่ือประโยชนใ์ นการพฒั นาเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัล (๕) แต่งต้ังท่ีปรึกษาและคณะอนุกรรมการ เพ่ือดาเนินกิจการอย่างใดอย่างหนึ่ง ตามท่ี คณะกรรมการมอบหมาย (๖) สรรหาผู้สอบบัญชีรับอนุญาตและเสนอให้ท่ีประชุมสามัญพิจารณาอนุมัติแต่งตั้ง และ จัดใหม้ ีการตรวจสอบบญั ชีรายรบั รายจา่ ย งบการเงิน โดยผูส้ อบบญั ชรี บั อนุญาต และเสนอให้ทีป่ ระชุมสามญั ใหค้ วามเหน็ ชอบ (๗) ออกขอ้ บงั คับว่าดว้ ย (ก) การจาแนกกลุ่มสมาชิกตามลักษณะหรือพ้ืนท่ีของการประกอบธุรกิจหรือ อุตสาหกรรมดิจทิ ัล การเลอื กตง้ั กรรมการกล่มุ สมาชิก การประชุมและดาเนนิ การของสาขาการประกอบกิจการ ดา้ นดิจิทลั ตลอดจนกิจการอ่ืน ๆ ทเี่ กี่ยวข้อง (ข) การกาหนดรายละเอียดของการประกอบธุรกิจหรืออุตสาหกรรมดจิ ทิ ลั (ค) การกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการรับสมัคร สิทธิหน้าท่ีของสมาชิก คุณสมบัติ วนิ ัยและการลงโทษสมาชกิ และการพ้นจากสมาชิกภาพ รวมทงั้ การอุทธรณ์ (ง) การกาหนดค่าลงทะเบียน ค่าธรรมเนียม ค่าบารุง ค่าตอบแทน และค่าบริการ ทจี่ ะพึงเรยี กเก็บจากสมาชกิ หรอื บคุ คลภายนอก (จ) การกาหนดจานวนและสัดส่วนของกรรมการตามประเภทการประกอบธุรกิจหรือ อุตสาหกรรมดิจิทัล วิธีการเลือกตั้งกรรมการ และวิธีการเลือกประธานสภา รองประธานสภา เลขาธิการสภา และตาแหน่งอ่ืน ๆ ตลอดจนตาแหนง่ และภาระหน้าทข่ี องกรรมการเป็นรายตาแหนง่ (ฉ) การประชมุ และการดาเนินกิจการของคณะกรรมการ และการประชุมใหญส่ ภา (ช) การจัดตัง้ และการดาเนนิ กจิ การของสานกั งานสาขาสภา (ซ) การบรรจุ การแตง่ ตัง้ การถอดถอน การกาหนดตาแหนง่ อัตราเงนิ เดอื น ค่าจ้าง และเงินบาเหน็จรางวัลของพนักงาน รวมทง้ั วนิ ยั การลงโทษ และการร้องทกุ ขข์ องพนกั งาน สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 232

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๖ ก หน้า ๗๗ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกจิ จานเุ บกษา (ฌ) การเบิกจ่ายเงนิ และการเกบ็ รกั ษาเงนิ ทุกประเภท (ญ) การสงเคราะห์พนักงาน ตลอดจนครอบครัวของบุคคลดังกล่าว หรือผู้ซึ่งพ้นจาก การเปน็ พนักงาน (ฎ) การอนื่ ใดที่จาเป็นตอ่ การดาเนินกจิ การของสภา การกาหนดหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อบังคับใด ๆ ตาม (๗) ต้องได้รับความเห็นชอบ จากท่ีประชุมใหญ่สภา เมื่อที่ประชุมใหญ่สภาให้ความเห็นชอบแล้ว ต้องส่งข้อบังคับนั้นให้รัฐมนตรี เพอื่ ทราบ มาตรา ๒๒ การประชุมคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหน่ึง ของจานวนกรรมการทั้งหมด จงึ จะเปน็ องค์ประชุม ให้ประธานสภาเป็นประธานในท่ีประชุม ถ้าประธานสภาไม่อยู่ในที่ประชุมหรือไม่อาจ ปฏิบัติหน้าท่ีได้ ให้รองประธานสภาเป็นประธานในท่ีประชุม ถ้ารองประธานสภาไม่อยู่ในท่ีประชุม หรือไม่อาจปฏบิ ัติหนา้ ท่ไี ด้ ใหท้ ี่ประชมุ เลอื กกรรมการคนหน่ึงเปน็ ประธานในทปี่ ระชุม มติของท่ีประชุมคณะกรรมการให้ถือตามเสียงข้างมากของจานวนกรรมการที่ มาประชุม กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหน่ึงในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุม ออกเสยี งเพมิ่ อกี เสยี งหนง่ึ เป็นเสยี งช้ขี าด ในการประชุมคณะกรรมการ ถ้ามีการพิจารณาเร่ืองใดท่ีเก่ียวกบั ตัวกรรมการ หรือส่วนได้เสยี ของกรรมการหรือสมาชิกท่ีกรรมการเป็นผู้แทน ให้กรรมการผู้นั้นมีสิทธิชี้แจงในเร่ืองนั้น แต่ไม่มี สิทธอิ อกเสียง มาตรา ๒๓ ในกิจการท่ีเก่ียวกับบุคคลภายนอก ให้ประธานสภาเป็นผู้แทนของสภา และเพื่อการน้ี ประธานสภาจะมอบหมายเป็นหนังสือให้กรรมการกระทาการแทนก็ได้ โดยการมอบ อานาจดังกล่าวจะต้องกาหนดขอบเขต หน้าที่และอานาจและความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย อยา่ งชัดเจน การดาเนนิ กิจการทเ่ี ก่ียวกบั บุคคลภายนอก ใหเ้ ปน็ ไปตามทกี่ าหนดในขอ้ บังคบั หมวด ๔ การดาเนนิ กจิ การของสภา มาตรา ๒๔ ให้คณะกรรมการจัดให้มีการประชมุ ใหญส่ ภาปลี ะหนง่ึ ครั้ง การประชมุ ใหญเ่ ชน่ นี้ เรียกว่า ประชมุ สามัญ ส�ำ นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 233

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๖ ก หน้า ๗๘ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา การประชมุ ใหญส่ ภาคราวอนื่ นอกจากการประชุมตามวรรคหนง่ึ เรยี กวา่ ประชมุ วิสามญั มาตรา ๒๕ ในการประชมุ สามัญอย่างน้อยต้องมีระเบียบวาระการประชุมในเร่อื งดงั ต่อไปน้ี (๑) พิจารณาให้ความเห็นรายงานแสดงสถานภาพเศรษฐกิจ และผลผลิตด้านดิจิทัลของ ประเทศไทยเปรยี บเทียบกับสากล (๒) รบั รองรายงานประจาปีแสดงผลงานของสภาในปที ่ลี ว่ งมา (๓) พิจารณารายงานประเมินผลงานของสภาในปที ี่ล่วงมา (๔) พจิ ารณาอนุมัตงิ บการเงินประจาปขี องสภาท่ีได้รบั การรบั รองจากผสู้ อบบัญชีรบั อนุญาต (๕) พิจารณาให้ความเหน็ ชอบนโยบายของคณะกรรมการ แผนดาเนนิ งาน และงบประมาณ ประจาปีของสภา (๖) แต่งตงั้ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต และกาหนดคา่ ตอบแทนผสู้ อบบญั ชรี บั อนุญาต มาตรา ๒๖ เม่อื มเี หตจุ าเป็น คณะกรรมการจะเรยี กประชุมวสิ ามัญเมื่อใดกไ็ ด้ สมาชิกสามัญจานวนไม่น้อยกว่าหน่ึงในสิบของจานวนสมาชิกสามัญจะทาหนังสือร้องขอ ต่อคณะกรรมการให้เรียกประชุมวิสามัญก็ได้ ในหนังสือร้องขอนั้นต้องระบุว่าประสงค์ให้เรียกประชุม เพื่อการใด ในกรณีที่สมาชิกสามัญเป็นผู้ร้องขอให้เรียกประชุมวิสามัญตามวรรคสอง ให้คณะกรรมการ เรียกประชุมวิสามญั ภายในสามสิบวันนับแตว่ นั ทรี่ บั หนงั สือร้องขอ มาตรา ๒๗ ในการประชุมใหญ่สภา ต้องมีสมาชิกสามัญมาประชุมไม่น้อยกว่าหนึ่งในสี่ ของจานวนสมาชิกสามญั ทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชมุ ให้ประธานสภาเป็นประธานที่ประชุม กรณีประธานสภาไม่อยู่ในที่ประชุมหรือไม่อาจ ปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้รองประธานสภาเป็นประธานท่ีประชุม หากรองประธานสภาไม่อยู่ในท่ีประชุม หรอื ไม่อาจปฏบิ ัตหิ น้าท่ีได้ ให้สมาชกิ ที่มาประชมุ เลือกกรรมการคนหน่ึงเป็นประธานทีป่ ระชมุ สมาชิกสามัญอาจมอบฉันทะให้บุคคลอื่นเข้าร่วมประชุมแทนและออกเสียงลงคะแนน ได้ ตามทก่ี าหนดในขอ้ บงั คับ การวนิ ิจฉยั ช้ีขาดของที่ประชุม ให้ถือเสียงข้างมากของสมาชิกสามัญท่มี าประชุม โดยสมาชิกคนหนง่ึ มีเสียงหน่ึงในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานท่ีประชุมออกเสียงเพ่ิมข้ึนอีกเสียงหนง่ึ เป็นเสียงช้ขี าด ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 234

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๖ ก หน้า ๗๙ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกจิ จานุเบกษา มาตรา ๒๘ สมาชิกวิสามัญและสมาชิกกิตติมศกั ด์ิมีสิทธิเข้าร่วมประชุมใหญ่สภาได้ แต่ไม่มี สิทธิออกเสียงลงคะแนน และอาจมอบฉันทะให้บุคคลอ่ืนเข้าร่วมประชุมแทนและแสดงความคิดเห็นได้ ตามทกี่ าหนดในข้อบงั คบั มาตรา ๒๙ ในการประชุมสามัญ ถ้าสมาชิกสามัญมาประชุมไม่ครบองค์ประชุม ให้เลื่อน การประชุมนั้นออกไปอีกครั้งหน่ึง โดยให้ประธานสภาแจ้งวันประชุมคร้ังใหม่ให้สมาชิกทราบล่วงหน้า ไม่น้อยกว่าสิบห้าวัน การประชุมสามัญคร้ังใหม่น้ี ไม่ว่าจะมีสมาชิกสามัญมาประชุมจานวนเท่าใด ให้ถือเป็นองค์ประชุมได้ แต่การประชุมในคร้ังนี้ ให้ดาเนินการได้เฉพาะกิจกรรมอันพึงกระทาตามระบุ ในมาตรา ๒๕ เท่าน้ัน เว้นแต่การพิจารณาให้ความเห็นชอบนโยบายของคณะกรรมการ แผนดาเนินงานประจาปี และงบประมาณเฉพาะที่เกี่ยวกับการดาเนินงานตามนโยบายของสภา ตามมาตรา ๒๕ (๕) จะตอ้ งมสี มาชกิ สามัญมาประชมุ ครบองคป์ ระชุมตามมาตรา ๒๗ มาตรา ๓๐ ในการประชุมวิสามัญ ถ้าสมาชิกสามัญมาประชุมไม่ครบองค์ประชุม หากการประชุมวสิ ามญั นนั้ ไดเ้ รยี กตามคารอ้ งขอของสมาชิกสามัญ ให้งดประชุม หากเปน็ การประชุมวสิ ามัญ ที่สมาชิกสามัญมิไดร้ อ้ งขอ ให้เลื่อนการประชมุ วสิ ามัญนั้นออกไป โดยให้ประธานสภาเรียกประชุมวิสามัญ อีกคร้ังภายในสี่สิบหา้ วนั การประชมุ วสิ ามัญคร้งั หลังน้ี ไม่ว่าจะมีสมาชิกสามัญมาประชมุ จานวนเท่าใด ให้ถือเป็นองค์ประชุมได้ เว้นแต่การดาเนินการดังต่อไปน้ีจะต้องมีสมาชิกสามัญมาประชุม ครบองค์ประชมุ ตามมาตรา ๒๗ (๑) การมีมตใิ หก้ รรมการพ้นจากตาแหนง่ ตามมาตรา ๑๘ (๓) (๒) การพจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบข้อบงั คับตามมาตรา ๒๑ (๗) (๓) การพิจารณาให้ความเห็นชอบนโยบายของคณะกรรมการ แผนดาเนินงานประจาปี และงบประมาณเฉพาะทเ่ี กี่ยวกบั การดาเนินงานตามนโยบายของสภาตามมาตรา ๒๕ (๕) มาตรา ๓๑ ให้คณะกรรมการจัดทารายงานประจาปีแสดงผลงานคณะกรรมการและสภา ในปีที่ล่วงมา และคาช้ีแจงเกี่ยวกับนโยบาย พร้อมด้วยงบการเงินประจาปี ซ่ึงมีผู้สอบบัญชีรับอนญุ าต รับรองเสนอต่อที่ประชมุ สามัญภายในหน่ึงร้อยยี่สบิ วันนับแต่วนั ส้ินปีปฏิทิน และใหส้ ่งสาเนาเอกสารดงั กลา่ ว ไปยังรัฐมนตรีเพ่ือรบั ทราบภายในสามสบิ วนั นบั แต่วนั ที่ทป่ี ระชมุ สามญั รบั รองแลว้ มาตรา ๓๒ ผู้สอบบัญชีตามมาตรา ๓๑ นั้น ให้ท่ีประชุมสามัญแต่งตั้งจากผู้สอบบัญชี รบั อนุญาตตามกฎหมายวา่ ดว้ ยวชิ าชีพบัญชี และตอ้ งไม่เปน็ กรรมการ พนกั งาน หรอื พนกั งานเจา้ หนา้ ที่ สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 235

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๖ ก หน้า ๘๐ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกิจจานเุ บกษา ผู้สอบบัญชีมีอานาจตรวจสอบสรรพสมุดบัญชีและเอกสารหลักฐานของสภา และขอคาช้ีแจง จากประธานสภา กรรมการ พนกั งาน หรอื พนกั งานเจา้ หนา้ ทีไ่ ด้ ใหผ้ ูส้ อบบญั ชไี ดร้ บั ประโยชนต์ อบแทนตามทีท่ ่ปี ระชุมสามญั กาหนด หมวด ๕ การกากบั ดูแลของรัฐ มาตรา ๓๓ ให้รัฐมนตรมี อี านาจ ดงั ต่อไปนี้ (๑) สัง่ ให้พนกั งานเจ้าหนา้ ที่สอบสวนขอ้ เท็จจริงเก่ียวกบั การดาเนนิ งานของสภา (๒) สั่งเป็นหนังสือให้คณะกรรมการช้ีแจงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับกิจการของสภา และจะให้ส่ง เอกสารเก่ียวกับการดาเนนิ งานหรือรายงานการประชุมของคณะกรรมการด้วยก็ได้ (๓) ส่ังเป็นหนังสือให้สภาหรือคณะกรรมการระงับหรือแก้ไขการกระทาใด ๆ ท่ีขัดต่อกฎหมาย นโยบายของรัฐบาล มติของคณะรัฐมนตรี หรือข้อบังคับ เมื่อสั่งการอย่างใดแล้ว ให้รายงานต่อ คณะรฐั มนตรีเพอื่ ทราบ มาตรา ๓๔ ในการปฏิบัติการตามคาส่ังของรัฐมนตรตี ามมาตรา ๓๓ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ มีอานาจเข้าไปตรวจสอบเอกสารหรอื หลักฐานในสานักงานของสภาได้ในระหว่างเวลาทาการ หรือให้บคุ คล ซึง่ เกยี่ วข้องชแี้ จงแกพ่ นักงานเจ้าหน้าท่ตี ามท่รี อ้ งขอ ในการปฏิบัติการของพนักงานเจา้ หนา้ ท่ีตามวรรคหน่ึง ให้บุคคลซึ่งเกย่ี วขอ้ งอานวยความสะดวก ตามสมควร มาตรา ๓๕ ในการปฏิบัติการตามมาตรา ๓๔ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่แสดงบัตรประจาตัว ต่อบุคคลซึง่ เกี่ยวข้อง บัตรประจาตวั พนกั งานเจา้ หนา้ ทีใ่ ห้เปน็ ไปตามแบบที่รฐั มนตรกี าหนด มาตรา ๓๖ เม่ือปรากฏว่าสภาหรือคณะกรรมการ ไม่ปฏิบัติตามคาสั่งของรัฐมนตรี ตามมาตรา ๓๓ หรอื กระทาการใด ๆ อนั เป็นการผิดวัตถปุ ระสงค์ของสภา หรอื เป็นภัยต่อระบบเศรษฐกิจ ความม่นั คงของประเทศ หรอื ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดขี องประชาชน ใหร้ ฐั มนตรโี ดยอนมุ ัติ ของคณะรฐั มนตรมี อี านาจสงั่ ให้กรรมการทั้งคณะหรือกรรมการคนใดคนหน่ึง พ้นจากตาแหน่ง สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 236

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๖ ก หน้า ๘๑ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกจิ จานุเบกษา กรรมการที่พ้นจากตาแหน่งตามวรรคหนึ่งไมม่ ีสิทธเิ ป็นกรรมการอีก เว้นแต่จะพ้นกาหนดหา้ ปี นับแต่วนั ทร่ี ัฐมนตรมี คี าสง่ั ให้พ้นจากตาแหน่ง มาตรา ๓๗ ในกรณีที่รัฐมนตรีมีคาสั่งให้กรรมการทั้งคณะพ้นจากตาแหน่งตามมาตรา ๓๖ ให้รัฐมนตรีแต่งตั้งบุคคลจากสมาชิกสามัญของสภาจานวนไม่น้อยกว่าสิบสามคน แต่ไม่เกินย่ีสิบคน เป็นคณะกรรมการช่ัวคราวภายในสามสิบวันนับแต่วันท่ีรัฐมนตรีมีคาสั่งให้คณะกรรมการท้ังคณะ พ้นจากตาแหน่ง ให้คณะกรรมการชั่วคราวตามวรรคหน่ึง มีหน้าที่และอานาจดาเนินกิจการสภาเพียงเท่าที่จาเป็น และจัดให้มีการประชุมใหญ่สภาเพ่ือเลือกตั้งกรรมการตามมาตรา ๑๕ ภายในหน่ึงร้อยย่ีสิบวันนับแต่ วันท่ีรัฐมนตรีมีคาสั่งแต่งต้ังคณะกรรมการชั่วคราว เมื่อกรรมการคณะใหม่เข้ารับหน้าท่ีแล้ว ใหค้ ณะกรรมการชั่วคราวซง่ึ รัฐมนตรแี ตง่ ตั้งพ้นจากตาแหนง่ หมวด ๖ บทกาหนดโทษ มาตรา ๓๘ สภากระทาการฝ่าฝืนมาตรา ๗ ตอ้ งระวางโทษปรับไมเ่ กินสองแสนบาท มาตรา ๓๙ ในกรณีท่ีสภากระทาความผิดและถูกลงโทษ ถ้าการกระทาความผิดของสภา เกิดจากการส่ังการหรือการกระทาของกรรมการผู้ใด หรือในกรณีท่ีกรรมการผู้ใดมีหน้าท่ีต้องสั่งการ หรือกระทาการและละเว้นไม่ส่ังการหรือไมก่ ระทาการจนเปน็ เหตใุ ห้สภากระทาความผิด กรรมการผ้นู นั้ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหน่งึ แสนบาท มาตรา ๔๐ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๑๐ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหน่ึงเดือน หรือปรับไม่เกิน หน่งึ หมนื่ บาท หรอื ทงั้ จาทง้ั ปรบั และปรบั อีกวันละหน่ึงหมน่ื บาทจนกวา่ จะเลิกใช้ มาตรา ๔๑ ผู้ใดขัดขวางหรือไม่ชี้แจง หรือไม่อานวยความสะดวกให้แก่พนักงานเจ้าหน้าท่ี ซึ่งปฏิบตั ิการตามมาตรา ๓๔ ต้องระวางโทษปรบั ไม่เกนิ ห้าพันบาท บทเฉพาะกาล มาตรา ๔๒ เมื่อพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับแล้ว ให้สมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสารแห่งประเทศไทย ซ่ึงจัดตั้งขึ้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์เป็นอันยกเลิก ส�ำ นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 237

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๖ ก หน้า ๘๒ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกจิ จานุเบกษา และให้โอนบรรดากิจการ ทรัพย์สิน สิทธิ และหนี้ของสมาคมดังกล่าวท่ีมีอยู่ในวันท่ีพระราชบัญญัติน้ี ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาไปเป็นของสภานับแตว่ ันท่พี ระราชบัญญัตนิ ี้ใชบ้ งั คบั มาตรา ๔๓ ให้พนักงานและลูกจ้างของสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่ือสารแห่งประเทศไทย ซ่ึงจัดต้ังขึ้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ท่ีมีอยู่ในวันก่อนวันท่ี พระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ เป็นพนักงานของสภา กับให้ถือว่าเวลาทางานของบุคคลดังกล่าวในสมาคม สมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารแห่งประเทศไทยเป็นเวลาทางานในสภานับแต่วันที่ พระราชบญั ญัตินี้ใช้บงั คับ มาตรา ๔๔ ใหค้ ณะกรรมการสมาคมสมาพนั ธ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารแหง่ ประเทศไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ท่ีดารงตาแหน่งอยู่ในวันที่พระราชบัญญัติน้ีประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา และให้ผูท้ รงคุณวุฒจิ านวนหกคน ซึ่งไม่ไดเ้ ป็นสมาชกิ สภา ซึ่งมีความรู้ความเชีย่ วชาญ ด้านนิเทศศาสตร์ ด้านสังคม ด้านกฎหมายดิจิทัล ด้านธุรกิจการดูแลด้านสุขภาพ ด้านเศรษฐศาสตร์ และด้านส่งเสริมสิทธิประชาชนอย่างท่ัวถึง ด้านละหน่ึงคน ตามที่คณะกรรมการสมาคมสมาพันธ์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแห่งประเทศไทยเสนอและรัฐมนตรีแต่งตั้ง ประกอบเป็น คณะกรรมการคณะแรกของสภา มีหน้าท่ีและอานาจดาเนินการตามมาตรา ๒๑ (๑) (๒) (๓) (๔) และ (๖) และออกข้อบังคับตาม (๗) (ก) (ข) (ค) (ง) (จ) (ฉ) และ (ฌ) เพื่อใช้บังคับเปน็ การช่วั คราว และปฏิบัติการอยา่ งอน่ื เพียงเท่าท่ีจาเป็นเพ่อื ให้เป็นไปตามพระราชบญั ญัติน้ี ดาเนนิ การรับสมคั รสมาชิก และเรียกประชุมใหญ่สภาเพ่ือเลือกต้ังกรรมการคณะใหม่ตามมาตรา ๑๕ ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวัน นบั แต่วันทพ่ี ระราชบญั ญัตนิ ้ีใช้บังคับ ในการดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ถ้ามีความจาเป็น รัฐมนตรีจะขยายระยะเวลาให้ก็ได้ การขยายระยะเวลาดังกลา่ วให้ขยายไดค้ ร้ังละไมเ่ กินสามสิบวัน แตท่ ้งั นีร้ วมกนั ไม่เกนิ หกสิบวัน เมื่อเลือกต้ังกรรมการตามวรรคหนึ่งแล้ว กรรมการคณะใหม่ต้องจัดให้มีการประชุม คณะกรรมการภายในสามสบิ วนั นับแตว่ นั ทีไ่ ดร้ บั เลอื กต้งั เพ่ือดาเนินการตามมาตรา ๑๕ วรรคสอง เมอ่ื ได้ดาเนนิ การตามวรรคสามแลว้ ให้คณะกรรมการคณะแรกพ้นจากตาแหนง่ มาตรา ๔๕ ในการเลือกตง้ั กรรมการคณะใหมต่ ามมาตรา ๔๔ วรรคหนง่ึ มิใหน้ าระยะเวลา การเป็นสมาชิกของสภาตามมาตรา ๑๖ (๒) มาใช้บังคับกับผู้แทนสมาชิกสามัญซ่ึงได้รับเลือกต้ัง เปน็ กรรมการ สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 238

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๖ ก หน้า ๘๓ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกจิ จานุเบกษา มาตรา ๔๖ ให้สมาชกิ สมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารแหง่ ประเทศไทย ท่ี ด า ร ง ส ม า ชิ ก ภ า พ อ ยู่ ใ น วั น ท่ี พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ น้ี ป ร ะ ก า ศ ใ น ร า ช กิ จ จ า นุ เ บ ก ษ า เ ป็ น ส ม า ชิ ก ส ภา ตามพระราชบัญญัตนิ ี้ ผู้รบั สนองพระราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรฐั มนตรี สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 239

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๖ ก หน้า ๘๔ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกจิ จานเุ บกษา หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เน่ืองด้วยการพัฒนานวัตกรรมดิจิทัล มีความสาคัญต่อการพัฒนาศักยภาพ ขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ และนวัตกรรมดิจิทัล มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและมีผลกระทบโดยตรงต่อประชาชนและสังคม สมควรที่ประเทศไทยจะมี การจัดตั้งสภาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งประเทศไทย อันเป็นการรวมตัวของภาคเอกชนในธุรกิจ หรืออุตสาหกรรมดิจิทัลซึ่งมีความพรอ้ มท้ังด้านกาลงั คน ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์โดยตรง รวมท้ัง มีความใกล้ชิดและความเข้าใจพฤติกรรมของผู้บริโภค เพ่ือให้เป็นองค์กรสาคัญในการทางานร่วมกับรัฐบาล และภาคเอกชนอ่ืน ๆ ในการสนับสนุนการผลิตและพัฒนานวัตกรรมดิจิทัล อันจะนาไปสู่การเพ่ิมขีด ความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนาบุคลากรด้านดิจิทัล และการนานวัตกรรมดิจิทัลไปประยุกต์ใช้ ในประเทศไทยเพ่อื ให้เกิดการพฒั นาประเทศอย่างยงั่ ยืน จงึ จาเปน็ ตอ้ งตราพระราชบญั ญัติน้ี ส�ำ นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 240

สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 241

สำ�นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 242

พระราชบญั ญัติ การบริหารงานและการใหบริการภาครัฐผานระบบดิจทิ ัล พ.ศ. ๒๕๖๒ สำ�นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 243

ชื่อกฎหมาย พระราชบญั ญตั ิการบริหารงานและการใหบรกิ ารภาครัฐผา นระบบดจิ ทิ ัล พ.ศ. ๒๕๖๒ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๓๖ / ตอนท่ี ๖๗ ก / หนา ๕๗ / วนั ท่ี ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ เริ่มบังคับใช วนั ที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ผูรกั ษาการ นายกรัฐมนตรี ส�ำ นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 244

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗ ก หน้า ๕๗ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา พระราชบัญญตั ิ การบริหารงานและการใหบ้ ริการภาครัฐผา่ นระบบดจิ ทิ ลั พ.ศ. ๒๕๖๒ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รีสนิ ทรมหาวชิราลงกรณ พระวชริ เกลา้ เจ้าอยู่หัว ให้ไว้ ณ วนั ท่ี ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นปที ่ี ๔ ในรัชกาลปัจจบุ นั พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มพี ระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ใหป้ ระกาศวา่ โดยที่เปน็ การสมควรมีกฎหมายวา่ ด้วยการบริหารงานและการให้บริการภาครฐั ผ่านระบบดิจิทัล จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของ สภานติ บิ ญั ญตั ิแห่งชาตทิ าหน้าทร่ี ฐั สภา ดงั ตอ่ ไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้ีเรียกว่า “พระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการ ภาครัฐผ่านระบบดิจทิ ลั พ.ศ. ๒๕๖๒” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป มาตรา ๓ ในพระราชบญั ญตั นิ ้ี “ดิจิทัล” หมายความวา่ เทคโนโลยีที่ใช้วิธกี ารนาสัญลักษณ์ศนู ย์และหนง่ึ หรือสัญลักษณ์อืน่ มาแทนค่าส่งิ ทง้ั ปวง เพื่อใช้สร้างหรือก่อให้เกิดระบบตา่ ง ๆ เพอื่ ใหม้ นุษยใ์ ชป้ ระโยชน์ “รัฐบาลดิจิทัล” หมายความว่า การนาเทคโนโลยีดจิ ิทัลมาใช้เป็นเคร่ืองมือในการบริหารงาน ภาครฐั และการบริการสาธารณะ โดยปรบั ปรงุ การบริหารจัดการและบูรณาการข้อมูลภาครฐั และการทางาน ให้มีความสอดคล้องและเชื่อมโยงเข้าดว้ ยกันอย่างมน่ั คงปลอดภัยและมธี รรมาภิบาล เพื่อเพิ่มประสิทธภิ าพ ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 245

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๖๗ ก หน้า ๕๘ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา และอานวยความสะดวกในการให้บริการประชาชน ในการเปิดเผยข้อมูลภาครัฐต่อสาธารณชน และ สร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคสว่ น “หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการ ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน รัฐสภา ศาล องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ องค์กรอัยการ สถาบนั อุดมศึกษาของรฐั และหนว่ ยงานอสิ ระของรัฐ “สานกั งาน” หมายความว่า สานักงานพัฒนารฐั บาลดิจิทลั (องค์การมหาชน) มาตรา ๔ เพอ่ื ใหก้ ารบรหิ ารงานภาครฐั และการจัดทาบรกิ ารสาธารณะเป็นไปดว้ ยความสะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และตอบสนองต่อการให้บริการและการอานวยความสะดวกแก่ประชาชน ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการบริหารงานและการจัดทาบริการสาธารณะในรูปแบบและช่องทางดิจิทัล โดยมีการบริหารจัดการและการบูรณาการข้อมูลภาครัฐและการทางานให้มีความสอดคล้องกันและ เช่ือมโยงเข้าด้วยกันอย่างมั่นคงปลอดภัยและมีธรรมาภิบาล โดยมุ่งหมายในการเพิ่มประสิทธิภาพและ อานวยความสะดวกในการให้บริการและการเข้าถึงของประชาชน และในการเปิดเผยข้อมูลภาครัฐต่อ สาธารณะและสร้างการมีส่วนรว่ มของทกุ ภาคสว่ น ในการดาเนนิ การตามวรรคหนึ่ง อยา่ งนอ้ ยตอ้ งเปน็ ไปเพอื่ วตั ถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ (๑) การนาระบบดิจิทัลที่เหมาะสมมาใช้ในการบริหารและการให้บริการของหน่วยงานของรฐั ทกุ แห่ง เพือ่ เพิม่ ประสทิ ธิภาพและใหม้ กี ารใช้ระบบดิจิทลั อย่างคมุ้ คา่ และเต็มศักยภาพ (๒) การพัฒนามาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวธิ กี ารเกีย่ วกับระบบดิจิทัล และพัฒนาโครงสรา้ ง พ้ืนฐานด้านดิจิทลั ที่จาเป็น ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล เพ่ือสร้างและพัฒนากระบวนการทางานของ หน่วยงานของรัฐให้มีความสอดคล้องและมีการเช่ือมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน รวมทั้ง มีความมั่นคงปลอดภัยและน่าเช่ือถือ โดยมีการบูรณาการและสามารถทางานร่วมกันอย่างเป็นเอกภาพ เกิดการพัฒนาการบริการภาครัฐท่ีมีประสิทธิภาพและนาไปสู่การบริหารราชการและการบริการประชาชน แบบบรู ณาการ รวมท้งั ให้ประชาชนเขา้ ถึงไดโ้ ดยสะดวก (๓) การสร้างและพัฒนาระบบความม่นั คงปลอดภยั ในการใชร้ ะบบดิจทิ ลั และมาตรการปกป้อง คุ้มครองข้อมูลที่อาจกระทบถึงความม่ันคงหรือความเป็นส่วนตัวของประชาชนที่มีความพร้อมใช้และ นา่ เชื่อถือ (๔) การเปิดเผยข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะท่ีหน่วยงานของรัฐจัดทาและครอบครองใน รูปแบบและช่องทางดิจิทัล เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงได้โดยสะดวก มีส่วนร่วมและตรวจสอบการดาเนนิ งาน ของรฐั และสามารถนาขอ้ มลู ไปพัฒนาบรกิ ารและนวตั กรรมท่ีจะเป็นประโยชน์ต่อประเทศในด้านต่าง ๆ ส�ำ นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 246

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗ ก หน้า ๕๙ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกจิ จานเุ บกษา (๕) การรักษาวินัยการเงินการคลังภาครัฐและเพ่ิมประสิทธิภาพในการใช้จ่ายงบประมาณ ให้เกิดความคุ้มค่าและเป็นไปตามเป้าหมาย โดยมีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินความคุ้มค่าใน การดาเนินงานเพ่ือให้เป็นไปตามการบริหารงานภาครัฐและการจัดทาบริการสาธารณะผ่านระบบดิจิทัล รวมทั้งพัฒนาให้มีกลไกการใช้ข้อมูลเพ่ือลดความซ้าซ้อนและเกิดความสอดคล้องกับแผนงานและ โครงการต่าง ๆ ของหน่วยงานของรฐั มาตรา ๕ ให้มีแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลเพ่ือกาหนดกรอบและทิศทางการบริหารงานภาครัฐ และการจัดทาบริการสาธารณะในรูปแบบของเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการพัฒนาประเทศ มีการปฏิบัตงิ าน ที่สอดคล้องกันระหว่างหน่วยงานของรัฐ และมีกรอบการพัฒนาและแผนการดาเนินงานของประเทศ โดยสอดคล้องกบั วัตถปุ ระสงคต์ ามมาตรา ๔ ยทุ ธศาสตรช์ าติ และแผนระดับชาตทิ ่ีเกีย่ วขอ้ ง ในแผนพัฒนารัฐบาลดจิ ิทัลตามวรรคหนงึ่ อาจกาหนดให้หนว่ ยงานของรฐั ท่ีมีภารกิจเก่ยี วขอ้ งกัน จัดทาระบบบูรณาการขอ้ มูลดจิ ิทัลระหว่างกัน และกาหนดรายช่ือหน่วยงานของรัฐท่ตี ้องเผยแพร่ขอ้ มลู ทศ่ี นู ย์กลางข้อมลู เปดิ ภาครัฐไวด้ ว้ ยได้ เมือ่ มกี ารประกาศใช้แผนพัฒนารฐั บาลดิจทิ ัลแล้ว ใหห้ น่วยงานของรัฐดาเนนิ การตามแผนดงั กล่าว และตอ้ งจดั ทาหรือปรับปรงุ แผนปฏิบัตกิ ารหรือแผนงานของหนว่ ยงานของรัฐใหส้ อดคล้องกบั แผนพฒั นา รฐั บาลดจิ ิทัล พร้อมท้งั สง่ แผนปฏบิ ัติการหรือแผนงานดงั กล่าวใหส้ านักงานทราบดว้ ย มาตรา ๖ ใหม้ คี ณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทลั ประกอบด้วย (๑) นายกรัฐมนตรีเปน็ ประธานกรรมการ (๒) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคม ผู้อานวยการสานักงบประมาณ เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน เลขาธิการ คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ และเลขาธิการสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นกรรมการ (๓) กรรมการอ่ืนจานวนห้าคน ซ่ึงมาจากกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการดิจิทัล เพ่ือเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ คณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร ของราชการ คณะกรรมการคุ้มครองขอ้ มลู ส่วนบคุ คล และคณะกรรมการการรกั ษาความมน่ั คงปลอดภยั ไซเบอร์แห่งชาติ ซึ่งคณะกรรมการดังกล่าวมอบหมายคณะละหนึ่งคน เป็นกรรมการ ทั้งน้ี ต้องเป็น ผ้ซู ึ่งมีความรคู้ วามเช่ยี วชาญอันจะเป็นประโยชนต์ อ่ การปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ของคณะกรรมการพฒั นารฐั บาลดิจิทัล ใหผ้ อู้ านวยการสานกั งานเปน็ กรรมการและเลขานกุ าร และอาจแตง่ ต้ังผ้ปู ฏบิ ัตงิ านในสานกั งาน เปน็ ผชู้ ่วยเลขานกุ ารไดไ้ มเ่ กินสองคน ส�ำ นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 247

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๖๗ ก หน้า ๖๐ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา กรรมการตาม (๓) หากพ้นจากการเป็นกรรมการหรอื ตอ้ งหยุดปฏิบัตหิ นา้ ท่ีในคณะกรรมการ ท่ตี นไดร้ บั มอบหมาย ให้พน้ จากการเปน็ กรรมการพฒั นารฐั บาลดิจทิ ลั ด้วย ในกรณีท่ีมีเหตุไม่ว่าด้วยประการใด ๆ อันทาให้ไม่มีกรรมการตาม (๑) (๒) หรือ (๓) ในตาแหน่งใด ให้คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลประกอบด้วยกรรมการท้ังหมดเท่าที่มีอยู่ เว้นแต่ มกี รรมการไมถ่ ึงก่ึงหน่งึ ของจานวนกรรมการทง้ั หมด การปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีและการประชุมของคณะกรรมการพฒั นารฐั บาลดิจิทัล ให้เป็นไปตามระเบยี บ ท่ีคณะกรรมการพัฒนารฐั บาลดจิ ิทัลกาหนด ในกรณีท่ีคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดจิ ิทัลยังมิได้กาหนด เกี่ยวกับการประชุมในเรื่องใด ให้นาบทบัญญัติว่าด้วยคณะกรรมการท่ีมีอานาจพิจารณาทางปกครอง ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองในเร่ืองน้ันมาใช้บังคับแก่การประชุมของคณะกรรมการ พัฒนารัฐบาลดจิ ทิ ัลโดยอนุโลม มาตรา ๗ ใหค้ ณะกรรมการพฒั นารฐั บาลดจิ ทิ ัลมหี น้าทแี่ ละอานาจ ดังตอ่ ไปน้ี (๑) เสนอแนะนโยบายและจัดทาแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลตามมาตรา ๕ ต่อคณะรัฐมนตรี เพ่อื พจิ ารณาอนุมัติ (๒) จัดทาธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐเพ่ือเป็นหลักการและแนวทางในการดาเนินการให้เป็นไป ตามพระราชบญั ญัติน้ี (๓) กาหนดมาตรฐาน ข้อกาหนด และหลักเกณฑ์เก่ียวกบั ระบบดิจิทัลเพื่อดาเนินการใหเ้ ป็นไป ตามวัตถุประสงคต์ ามมาตรา ๔ วรรคสอง และตามท่ีกาหนดไว้ในพระราชบญั ญัตนิ ี้ (๔) กาหนดแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรภาครัฐเพื่อประโยชน์ในการบริหารงานและ การให้บรกิ ารภาครัฐผา่ นระบบดิจิทลั (๕) เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีในการจัดให้มีหรือปรับปรุงกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องเพ่ือให้เป็นไป ตามเป้าหมายและวัตถปุ ระสงค์ตามมาตรา ๔ และอาจเสนอตอ่ ผ้รู ักษาการตามกฎหมายในการพิจารณา ยกเว้นหรือลดค่าธรรมเนียม ค่าบริการ ค่าปรับ หรือค่าใช้จ่ายอื่นใด เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการ ให้เปน็ ไปตามวตั ถุประสงคข์ องพระราชบัญญัตนิ ี้ (๖) ให้คาแนะนาหรือข้อเสนอแนะแก่หน่วยงานของรัฐในการดาเนินการตามแผนพัฒนา รฐั บาลดจิ ทิ ลั และตามพระราชบัญญัตนิ ้ี (๗) กากับและติดตามใหห้ นว่ ยงานของรัฐมกี ารดาเนนิ การใหเ้ ป็นไปตามแผนพฒั นารฐั บาลดิจิทัล รวมทั้งเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีเพ่ือให้มีการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ เป้าหมาย และโครงการในแผน ดังกลา่ ว ส�ำ นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 248

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๖๗ ก หน้า ๖๑ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกจิ จานุเบกษา (๘) กากับและติดตามการดาเนินงานของศูนย์แลกเปลี่ยนข้อมูลกลาง และศูนย์กลางข้อมูลเปิด ภาครัฐ (๙) ออกระเบียบหรือประกาศเพอื่ ให้เป็นไปตามพระราชบญั ญัตนิ ้ี (๑๐)ปฏิบัติหน้าที่อ่ืนตามท่ีนายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย หรือตามที่มีกฎหมาย กาหนดให้เป็นหนา้ ทขี่ องคณะกรรมการพัฒนารฐั บาลดิจิทลั เพ่ือประโยชน์ในการปฏิบัติงานตามวรรคหน่ึง คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลอาจแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการหรอื บคุ คลใดเพ่อื ปฏบิ ตั ิการตามท่คี ณะกรรมการพฒั นารัฐบาลดิจิทลั มอบหมาย แผนพฒั นารัฐบาลดจิ ิทัลตาม (๑) และการกาหนดมาตรฐาน ขอ้ กาหนด และหลักเกณฑ์ตาม (๓) และระเบียบหรอื ประกาศตาม (๙) เมอื่ ไดป้ ระกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใชบ้ ังคบั ได้ มาตรา ๘ ธรรมาภิบาลขอ้ มูลภาครัฐตามมาตรา ๗ (๒) อยา่ งนอ้ ยตอ้ งประกอบด้วย (๑) การกาหนดสิทธิ หน้าที่ และความรบั ผดิ ชอบในการบริหารจดั การข้อมูลของหนว่ ยงานของรฐั รวมถึงสทิ ธแิ ละหน้าทข่ี องผู้ครอบครองหรือควบคมุ ข้อมูลดงั กล่าวในทกุ ขน้ั ตอน (๒) การมรี ะบบบรหิ ารและกระบวนการจดั การและคมุ้ ครองข้อมลู ท่คี รบถ้วน ต้งั แตก่ ารจดั ทา การจดั เก็บ การจาแนกหมวดหมู่ การประมวลผลหรือใชข้ ้อมูล การปกปดิ หรอื เปดิ เผยขอ้ มูล การตรวจสอบ และการทาลาย (๓) การมีมาตรการในการควบคุมและพัฒนาคุณภาพข้อมูล เพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้อง ครบถ้วน พร้อมใช้งาน เป็นปัจจุบัน สามารถบูรณาการและมีคุณสมบัติแลกเปล่ียนกันได้ รวมท้ัง มีการวัดผลการบริหารจัดการข้อมูลเพื่อให้หน่วยงานของรัฐมีข้อมูลที่มีคุณภาพและต่อยอดนวัตกรรม จากการใชข้ ้อมลู ได้ (๔) การกาหนดนโยบายหรือกฎเกณฑ์การเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากข้อมูลท่ีชัดเจนและ มีระบบบริหารจดั การ รวมท้ังมีมาตรการและหลักประกนั ในการคุ้มครองข้อมูลท่ีอยู่ในความครอบครอง ให้มีความม่นั คงปลอดภยั และมิใหข้ อ้ มลู สว่ นบคุ คลถกู ละเมดิ (๕) การจัดทาคาอธิบายชุดข้อมูลดิจทิ ัลของภาครัฐ เพื่อให้ทราบรายละเอียดเกี่ยวกับโครงสรา้ ง ของขอ้ มูล เน้ือหาสาระ รปู แบบการจดั เกบ็ แหลง่ ขอ้ มูล และสิทธิในการเข้าถึงขอ้ มูล มาตรา ๙ ให้ประธานกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล กรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หรือ อนุกรรมการและบุคคลซ่ึงคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลแต่งตั้งได้รับเบี้ยประชุมหรือค่าตอบแทน ตามหลกั เกณฑท์ ค่ี ณะรัฐมนตรกี าหนด สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 249


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook