Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คดีพิพาทเกี่ยวกับครูฯ ตามคำวินิจฉัยของศาลปกครองสูงสุด

คดีพิพาทเกี่ยวกับครูฯ ตามคำวินิจฉัยของศาลปกครองสูงสุด

Published by ma_neee, 2022-05-18 04:43:23

Description: คดีพิพาทเกี่ยวกับครูฯ ตามคำวินิจฉัยของศาลปกครองสูงสุด

Search

Read the Text Version

๑๐๐ บุคคลทั่วไปพึงกระทำ กรณีมีเหตุอันควรเช่ือวา เปนการกระทำเพ่ือหวงั ผลประโยชนตอบแทนหรือ คาตอบแทนท่ีเปนเงิน ขอกลาวอางที่วาผูฟองคดีสมมุติช่ือผูตองหา คือ นาย ป. เน่ืองจากไม ตองการใหหนังสือรับรองมีผลสมบูรณใชเปนเอกสารของทางราชการได จึงขัดแยงกันเองกับ การกระทำของผูฟองคดี จึงไมอาจรับฟงได เม่ือพิเคราะหถึงพฤติการณของผูฟองคดีในกรณี ดังกลาว กรณีจึงเปนการแกไขเอกสารหนังสือรับรองที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดจัดทำข้ึน และการ รายงานเทจ็ ตอผูบงั คับบัญชาโดยปกปดขอความซ่ึงควรตอ งแจง เปน เหตใุ หเ สียหายแกทางราชการ อยางรายแรง และกระทำการอันไดช่ือวาเปนผูประพฤติช่ัวอยางรายแรง เปนความผิดวินัยอยาง รายแรงตามมาตรา ๙๐ ประกอบมาตรา ๙๘ วรรคสอง แหง พ.ร.บ. ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ และเมื่อเลขาธิการคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติไดเสนอผลการ ดำเนินการทางวินัยให ก.ค. พิจารณา โดย ก.ค.ไดพิจารณาแลวมีมติวาผูฟองคดีมีเจตนาสมรูรวม คิดกับเสมียนทนายความมาตั้งแตตนโดยการแจงขอความอันเปนเท็จตอผูบังคับบัญชาเพ่ือขอ หนังสือรับรองการเปนขาราชการและแกไขขอความในหนังสือดังกลาวเพื่อนำมาย่ืนประกันตัว ผูตองหาในคดียาเสพติด พฤติการณเปนความผิดวินัยอยางรายแรง จึงมีมติใหเพิ่มโทษผูฟองคดี จากโทษลดขั้นเงินเดือน จำนวน ๑ ขั้น เปนปลดผูฟองคดีออกจากราชการ อันเปนการพิจารณา จากขอเท็จจริง ขอกฎหมายและพยานหลักฐานท่ีปรากฏในสำนวนการสอบสวนของ คณะกรรมการสอบสวนทางวินยั และเปนการใชดุลพินิจสั่งลงโทษผูฟองคดีตามท่ีกฎหมายบัญญัติ ใหอำนาจไวตามมาตรา ๑๐๙ แหง พ.ร.บ. ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ การท่ีผูถูก ฟองคดีที่ ๑ มีคำส่ังสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดเชียงรายลงวันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๔๔ ที่เพิ่มโทษผฟู องคดจี ากลดขั้นเงินเดือน จำนวน ๑ ขัน้ เปน ปลดผูฟองคดีออกจากราชการตามมติ ก.ค. จึงเปนคำส่ังที่ชอบดวยกฎหมายแลว มติของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ที่ยกอุทธรณของผูฟองคดีและให ดำเนินการตามมติของ ก.ค. จงึ เปน คำสง่ั ท่ีชอบดว ยกฎหมายเชนกัน คำสั่งลงโทษตัดเงินเดือนขาราชการครู ๕ % เปนเวลา ๑ เดือน คำสั่งลงโทษทางวินัยไม ชอบดวยกฎหมาย กรณีมีเหตุซึ่งมีสภาพรายแรงอันอาจทำใหการพิจารณาโทษไมเปนกลาง คำพพิ ากษาศาลปกครองสูงสดุ ที่ อ.๒๔๑/๒๕๕๕ เหน็ วา เมอื่ ขอเท็จจรงิ รับฟงเปนท่ยี ตุ วิ า ผูฟองคดีไดรองเรียนผูบริหารโรงเรียนศาลาวิทยาและคณะกรรมการพิจารณาความดีความชอบ ของขาราชการครูในสังกัดวากระทำการโดยมิชอบในการพิจารณาความดีความชอบประจำปและเร่ืองอื่นๆ ในทางเส่ือมเสียแกราชการและผูอ่ืน ผานทางหนังสือพิมพทองถ่ิน จำนวน ๓ ฉบับ โดยปรากฏช่ือ ผูฟองคดีเปนผูรองเรียน ผูถูกฟองคดีที่ ๑ จึงมีคำส่ังแตงตั้งคณะกรรมการสอบขอเท็จจริง คณะกรรมการสอบขอเท็จจริงไดดำเนินการสอบพยานบุคคลจำนวน ๘ ราย ซึ่งมีผูถูกฟองคดีที่ ๑ รวมอยูดวย และเห็นวากรณีมีมูล จึงเสนอขอความเห็นชอบใหแตงตั้งคณะกรรมการสอบขอเท็จจริง ดำเนินการสอบสวนทางวินัยอยางไมรายแรงตอไป ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ เห็นชอบตามที่คณะกรรมการสอบ ขอเท็จจริงเสนอและใหดำเนินการสอบสวนทางวินัยผูฟองคดี และในการสอบสวนทางวินัย ผูฟองคดีนั้น คณะกรรมการสอบสวนทางวินัยไดทำการสอบสวนโดยถือเอาสำนวนการสืบสวน

๑๐๑ ขอเท็จจริงเปนสวนหน่ึงของสำนวนการสอบสวนทางวินัยอยางไมรายแรงและไดรวบรวมตรวจสอบพยาน เอกสารและพยานบุคคลเพ่ิมเติม และไดสอบสวนพยานบุคคลเพ่ิมเติมจำนวน ๗ ราย ซึ่งมีผูถูกฟองคดี ที่ ๑ และนาย ด. ประธานกรรมการสอบสวนทางวินัยในฐานะท่ีเปนคณะกรรมการตรวจสอบคณุ สมบัติของ ขา ราชการครูทกุ คนในสถานศกึ ษาเพอื่ เสนอความเห็นตอ คณะกรรมการในการพจิ ารณาเลือ่ นขนั้ เงินเดือน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๗ ครั้งท่ี ๑(๑ เมษายน ๒๕๔๗) รวมอยูดวย แลวไดเสนอความเห็น ตอผูถูกฟองคดีที่ ๑ วาจากการสอบสวนพยานหลักฐานตางๆ แลวเห็นวาพฤติการณของผูฟองคดี เขาลักษณะองคประกอบความผิดตามมาตรา ๘๓ ฐานไมตั้งใจปฏิบัติหนาท่ีราชการและมาตรา ๙๘ ฐานไมรักษาชื่อเสียงของตนเองและไมรักษาเกียรติศักดิ์ตำแหนงหนาท่ีราชการของตนมิใหเสื่อมเสีย โดยไมกระทำการใดๆ อันไดช่ือวาเปนผูประพฤติช่ัวตาม พ.ร.บ. ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ และมาตรา ๔ แหง พ.ร.บ. ระเบียบขาราชการครู พ.ศ. ๒๕๒๓ ควรลงโทษตัดเงินเดือนผูฟอง คดี ๕ % เปนเวลา ๑ เดือนผูถูกฟองคดีท่ี ๑ จึงมีคำส่ังลงวันท่ี ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๔๗ สั่งลงโทษ ตัดเงินเดือนผูฟองคดี ๕ %เปนเวลา ๑ เดือน นั้น เห็นวา ในการดำเนินการสอบสวนทางวินัย อยางไมรายแรงดังกลาว มีมูลเหตุมาจากการท่ีผูฟองคดีไดรองเรียนผูบริหารโรงเรียนศาลาวิทยา และคณะกรรมการพิจารณาความดีความชอบของขาราชการครูในสังกัดวา กระทำการโดยมิชอบในการ พิจารณาความดีความชอบประจำปและเรื่องอ่ืนๆ อนั ถือไดวากรณีดงั กลาวเปนเร่ืองท่ีผูฟองคดีไดร องเรียน ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ซ่ึงเปนผูบริหารของโรงเรียนศาลาวิทยาและคณะกรรมการในการพิจารณาเล่ือนข้ัน เงนิ เดือนของขาราชการครูทุกคนในสถานศกึ ษา เหน็ วา ในการดำเนินการทางวินัยแกผูฟองคดีดังกลาวมีผู ถูกฟองคดีที่ ๑ เปนผูใชอำนาจพิจารณาโทษทางวินัยผูฟองคดีและไดออกคำสั่งลงโทษทางวินัยผูฟองคดี พฤติการณของผูถูกฟองคดีที่ ๑ จึงเปนกรณีท่ีมีเหตุซึ่งมีสภาพรายแรงอันอาจทำใหการพิจารณาโทษ ไมเปนกลางและมีพฤติการณที่มีเหตุใหเกิดความเคลือบแคลงสงสัยไดวาเจาหนาที่ท่ีมีอำนาจพิจารณา ทางปกครองอาจจะทำการพิจารณาทางปกครองโดยไมเปนกลาง ผูถูกฟองคดีที่ ๑ จึงทำการพิจารณา ดำเนินการทางวินัยและลงโทษผูฟองคดีไมได ตามมาตรา ๑๖ แหง พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการ ทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ดังน้ัน การออกคำส่ังลงโทษทางวินัยผูฟองคดีจึงเปนการออกคำสั่ง ที่ไมถูกตองตามรูปแบบขั้นตอนหรือวิธีการอันเปนสาระสำคัญที่กำหนดไวสำหรับการออกคำสั่ง ตามนัยมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๑) แหง พ.ร.บ. จัดต้ังศาลปกครองฯ ดวยเหตุนี้ คำสั่งโรงเรียนศาลาวิทยา ลงวันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๔๗ ที่สั่งลงโทษตัดเงินเดือนผูฟองคดี ๕ % เปนเวลา ๑ เดือน จึงเปน คำส่ังท่ีไมชอบดวยกฎหมายที่ศาลปกครองช้ันตนพิพากษายกฟองและใหยกคำขออ่ืนน้ัน ศาลปกครองสงู สดุ ไมเห็นพอ งดวย จึงพิพากษากลับคำพพิ ากษาของศาลปกครองชั้นตน เปนใหเพกิ ถอน คำส่ังโรงเรียนศาลาวิทยา ลงวันท่ี ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๔๗ ท่ีลงโทษตัดเงินเดือนผูฟองคดี ๕ % เปนเวลา ๑ เดือน โดยใหมีผลยอนหลังไปถึงวันที่ออกคำสั่งดังกลาว โดยมีขอสังเกตเกี่ยวกับแนวทางหรือวิธีการ ดำเนินการใหเปนไปตามคำพิพากษาโดยใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ ดำเนินการเพื่อใหมีการคืนเงินเดือนท่ี ถกู ตดั ใหแกผูฟอ งคดีภายใน ๙๐ วันนบั แตวันท่ีมีคำพพิ ากษา

๑๐๒ คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อ.๑๘๓๑/๒๕๕๙ เห็นวา เมื่อลักษณะการพูดของ ผูฟองคดีตามที่ปรากฏในสำนวนการสอบสวนไดกลาวถึงนางสาวผองศรีในฐานะผูถูกฟองคดีที่ ๑ (ผอ.รร.) โดยใชคำสรรพนามเรียกนางสาวผองศรี วา “ผองศรี” “มัน” และ “มึง” จึงเปนคำพูดที่ ไมเหมาะสมท่ีจะพูดตอหนานักเรียน และเปนคำพูดท่ีไมสุภาพเรียบรอยท่ีผูฟองคดีในฐานะครูจะใช พูดกับนักเรียน อีกท้ังขอความดังกลาวมีลักษณะกลาวหานางสาวผองศรีในฐานะผูถูกฟองคดีที่ ๑ วา ไมเอาใจใสในการทำงาน และอาจมีพฤติกรรมทุจริต อันทำใหนักเรียนเกิดความเคลือบแคลงสับสน และเกดิ ความเขาใจผดิ หรือความรสู กึ ทีไ่ มด ีตอ นางสาวผอ งศรี และทำใหเกิดความแตกแยกในโรงเรยี น พฤติการณการกระทำของผูฟองคดีจึงเขาขายเปนผูไมประพฤติเปนแบบอยางท่ีดีแกผูเรียน ไมมีความสภุ าพเรยี บรอ ย ไมร กั ษาความสามคั คี และยังเปนการกลา วหาผอู ื่นโดยปราศจากความเปน จริง อันเปนความผิดวินัยไมรายแรงตามนัยมาตรา ๘๘ และมาตรา ๘๙ แหงพระราชบัญญัติระเบียบ ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ในฐานะผูบังคับบัญชาของ ผูฟองคดีจึงมีอำนาจลงโทษภาคทัณฑ ตัดเงินเดือน หรือลดขั้นเงินเดือนตามควรแกกรณี ใหเหมาะสมกับความผิดไดตามนัยมาตรา ๑๐๐ วรรคหนึ่งและวรรคสาม แหงพระราชบัญญัติ ดังกลาว ประกอบขอ ๒ ของกฎ ก.ค.ศ. วาดวยอำนาจการลงโทษภาคทัณฑ ตัดเงินเดือน หรือลดข้ัน เงินเดือน พ.ศ. ๒๕๔๙ ดังน้ัน การท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๑ มีคำส่ังโรงเรียนหาดใหญวิทยาลัยสมบูรณกุลกันยา ท่ี ๑๒๔/๒๕๕๓ ลงวันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๕๓ ลงโทษตัดเงินเดือนผูฟ องคดี จำนวน ๕% เปนเวลา ๑ เดือน และการที่ผูถูกฟองคดีที่ ๒ มีมติในการประชุมคร้ังที่ ๒/๒๕๕๔ เม่ือวันท่ี ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๔ ใหยกอุทธรณของผูฟองคดี จึงเปนคำส่ังท่ีชอบดวยกฎหมาย อุทธรณของผูถูกฟอง คดที ี่ ๑ และผูถ กู ฟอ งคดที ี่ ๒ ฟง ขน้ึ การที่ศาลปกครองชั้นตนพิพากษาเพิกถอนคำสั่งโรงเรียนหาดใหญวิทยาลัยสมบูรณกุลกันยา ท่ี ๑๒๔/๒๕๕๓ ลงวันท่ี ๕ สิงหาคม ๒๕๕๓ ท่ีลงโทษตัดเงินเดือนผูฟองคดี จำนวน ๕% เปนเวลา ๑ เดอื น และมตขิ องผูถกู ฟองคดีที่ ๒ ในการประชุมครั้งท่ี ๒/๒๕๕๔ เมอ่ื วันท่ี ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๔ ท่ี ใหยกอุทธรณของผูฟองคดี โดยใหมีผลยอนหลังไปถึงวันท่ีออกคำส่ังและมีมติดังกลาว สวนคำขออ่ืน นอกจากนี้ใหยก นั้น ศาลปกครองสูงสุดไมเห็นพองดวย พิพากษากลับคำพิพากษาของศาลปกครอง ชั้นตน เปน ยกฟองของผูฟองคดี คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อบ.๑๓/๒๕๕๙ : ขอใหเพิกถอนคำสั่งลงโทษ ไลออกจากราชการ เม่ือผูฟองคดีเปนผูดำเนินการวางฎีกาในระบบ แตไดแกไขชื่อผูมีสิทธิ รับเงินสวัสดิการที่อยูในความรับผิดชอบของตนโอนเขาบัญชีของผูฟองคดีและเครือญาติ อันเปนการอาศัยอำนาจหนาท่ีของตนหาผลประโยชนใหตัวเองหรือผูอ่ืน อันเปนการทุจริต ตอหนาท่ีราชการเปน ความผดิ วินัยรายแรง คำสง่ั ลงโทษไลผูฟองคดีออกจากราชการและคำส่ัง ยกอุทธรณ จึงชอบดว ยกฎหมายแลว การท่ีผูฟองคดีกลาวอางวา ผูฟองคดีเปนเพียงเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานในขั้นเร่ิมตน เพื่อรวบรวมเอกสารตา งๆ ท่ีเก่ียวของเสนอผูบังคับบัญชาตรวจสอบ โดยมิไดรับมอบอำนาจหนาท่ี

๑๐๓ เกี่ยวกับระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐดวยระบบอิเล็กทรอนิกส ซึ่งเม่ือพิจารณาจาก คำส่ังลงวันท่ี ๙ ตุลาคม ๒๕๕๐ และคำสั่ง ลงวันท่ี ๒ เมษายน ๒๕๕๑ เรอ่ื ง มอบหมายหนาท่ีและ ความรับผิดชอบใหขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาอ่ืน จะเห็นไดวา แมม ิไดมอบหมายใหผู ฟอ งคดเี ก็บรักษาบตั รกำหนดสิทธิการใช (smart card) รหสั ผาน (password) รหัสผูใ ชง าน (user name) ในระบบอิเล็กทรอนิกส แตตามคำสั่งดังกลาว ก็ไดมอบหมายใหผูฟองคดีปฏิบัติหนาท่ี ตรวจสอบและเบิกจายเงิน คา รักษาพยาบาลและเบิกจายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาบุตรของ ขาราชการและลูกจางประจำ ผูรับบำนาญ โรงเรียนในอำเภอสังขะ อำเภอบัวเชค อำเภอกาบเชิง อำเภอพนมดงรัก โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ซ่ึงก็ตองเกี่ยวของกับการวางฎีกาเบิกในระบบการ บริหารการเงินการคลังภาครัฐ ดวยระบบอิเล็กทรอนิกส อีกท้ัง เม่ือพิจารณาจากรายงานผลการ สอบสวนของคณะกรรมการสอบสวนวินัย ฉบับลงวันที่ ๔ พฤษภาคม ๒๕๕๓ ประกอบกับบันทึก ถอยคำของผูถูกกลาวหาตามแบบ สว.๔ ลงวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๕๓ และคำช้ีแจงฉบับลงวันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ ผูฟองคดี ก็ไดยอมรับวาเปนผูรับผิดชอบในการเบิกจายเงินสวัสดิการคา รักษาพยาบาลและคาการศกึ ษาบุตร มีหนาที่ตรวจสอบเอกสารใหเปนไปตามระเบียบขอกฎหมาย และผานความเห็นชอบของผูบังคับบัญชาตามลำดับช้ัน และเม่ือกรมบัญชีกลางโอนเงินเขา ธนาคารกรุงไทย จำกดั (มหาชน) ผูฟอ งคดี มีหนาที่จดั ทำรายชอ่ื ตามรายละเอียดผูมีสิทธิขอเบกิ ลง ในระบบ KTB เพื่อใหธนาคารโอนเงินใหกับผูมีสิทธิตอไป และผูฟองคดีไดจัดทำรายช่ือผูมีสิทธิรับ เงินไมตรงตามความเปนจริง ซ่ึงผูฟองคดียอมรับวาทำการโอนเงินเขาบัญชีของผูฟองคดี ๑ ครั้ง เปนเงิน ๒,๔๐๐ บาท โอนเขาบัญชีคูสมรส ๗ ครั้ง เปนเงิน ๖๙,๖๘๘ บาท และโอนเขาบัญชีของ หลานผูฟองคดี ๗ ครั้ง เปนเงิน ๗๗,๓๙๕ บาท รวมเปนเงินทั้งส้ิน ๑๔๙,๔๘๓ บาท เกิดจากความ สมัครใจของผูขอเบิก เนื่องจากผูฟองคดี ไดสำรองจายเงินใหกอน ซึ่งตอมาเม่ือถูกตรวจพบ ผูฟอง คดีก็ไดนำเงินจำนวนดังกลาวมาชดใชคืนใหแกทางราชการแลว พฤติกรรมดังกลาวจึงเช่ือไดวา ผู ฟอ งคดีเปนผูดำเนินการวางฎีกาในระบบ GFMIS และโอนเงินในระบบ (KTB) ของธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) แตไดแกไขชื่อผูมีสิทธิ รบั เงนิ สวัสดิการที่อยูใ นความรับผิดชอบของผฟู องคดี โอน เขาบัญชีเงินฝากของผูฟองคดีและเครือญาติ เปนการอาศัยอำนาจหนาท่ีราชการของตนหา ประโยชนใหแกตนเองหรือผูอื่น อันเปนการทุจริต ตอหนาที่ราชการ และจงใจไมปฏิบัติตาม กฎหมาย ระเบียบแบบแผนของทางราชการ ถือเปนความผิดวนิ ัยอยางรายแรง แมผูฟองคดีจะนำ เงนิ มาชดใชค ืนเต็มจำนวนแลว ก็ไมทำใหก ารกระทำของผูฟ องคดไี มเปน ความผิดวินยั อยา งรายแรง ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ จึงชอบท่ีจะมีคำส่ังลงวันท่ี ๓ สิงหาคม ๒๕๕๓ ลงโทษไลผูฟองคดีออกจาก ราชการ สำหรบั กรณีที่ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ มีมติให ยกอทุ ธรณของผูฟองคดีนั้น เห็นวา เมื่อ อ.ก.ค.ศ. วิสามัญเก่ียวกับการอุทธรณและการรองทุกข ทำการแทนผูถูกฟองคดีท่ี ๒ วินิจฉัยคำอุทธรณของ ผูฟองคดี โดยพิจารณาจากเอกสารในสำนวนการสอบสวนของคณะกรรมการสอบสวนวินัย คำอุทธรณและคำแถลงการณดวยวาจาของผูฟองคดีประกอบกันแลว จึงมีมติในการประชุมคร้ังท่ี ๑๑/๒๕๕๔ ลงวันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ใหยกอุทธรณของผูฟองคดี มติของผูถูกฟองคดีที่ ๒

๑๐๔ ดังกลาวจึงชอบดวยกฎหมายเชนเดียวกัน ดังน้ัน การท่ีศาลปกครองชั้นตนพิพากษายกฟอง นั้น ศาลปกครองสงู สุดเหน็ พองดวย คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๘๕๕/๒๕๕๘ ผูฟองคดีมีเจตนาปกปดขาวประกวด ราคา ซง่ึ เปนการตดั โอกาสและไมเ ปน ธรรมแกผ รู ับเหมากอ สรา งอื่น ท่ี ไม ได รั บ ท ร า บ ข า ว การประกวดราคา ทำใหทางราชการเสียโอกาสในการคัดเลือกผูรับจาง ซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสม และอาจเสนอราคาต่ำกวาราคาท่ีผูชนะการประกวดราคาเสนอมา เปนเหตุใหเสียหายแกราชการ อยางรายแรง จึงเปนการกระทำผิดวนิ ัยอยา งรายแรงและการลงโทษปลดออกจากราชการ เปนโทษท่ีต่ำสุดของฐานความผิดน้ันแลว คำส่ังลงโทษปลดผูฟองคดีออกจากราชการ จึงเหมาะสมและชอบดว ยกฎหมายแลว

๑๐๕ ๖. กรณเี กย่ี วกับความรับผิดทางละเมิด ๖.๑ กรณีฟอ งขอใหหนวยงานชดใชคา เสียหาย คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๔๙๑/๒๕๖๒ ฟองขอใหชดใชคาเสียหาย กรณี ไมรับรองรายงานผลการปฏิบัติงานและผลงานทางวิชาการและไมนำเร่ืองรองทุกขของผูยื่น คำขอมีหรือเล่ือนเปนวิทยฐานะชำนาญการพิเศษเขาสูการพิจารณาของ อ.ก.ค.ศ. เขตพ้ืนที่ การศึกษาอุดรธานีเขต ๑ : การไมรับรองรายงานผลการปฏิบัติงานและผลงานทางวิชาการ เปนการกระทำโดยไมชอบดวยกฎหมาย และการไมนำเร่ืองรองทุกขเขาสูการพิจารณาของ ก.ก.ค.ศ. เขตพ้ืนท่ีการศึกษาอุดรธานี เขต ๑ เปนการละเลยตอหนาท่ีตามที่กฎหมายกำหนด ใหต อ งปฏิบัติ จึงเปน การกระทำละเมดิ ตองรบั ผดิ ชดใชค าสนิ ไหมทดแทน เห็นวา ขอเท็จจริงรับฟงไดวา ผูฟองคดีผานการประเมินดานที่ ๑ และดานที่ ๒ แลว และไดเสนอผลงานดานที่ ๓ ใหผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ตรวจสอบและรับรอง แตผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไมรับรองรายงานผลการปฏิบัติงานและผลงานทางวิชาการ (ดานท่ี ๓) ของผูฟองคดี โดยอาง เหตุผลตามหนังสือโรงเรียนบานดงเค็งฯ ลงวันท่ี ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๑ วา ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ได พิ จ า ร ณ าแ ล ะ วิ นิ จ ฉั ย จ า ก เอ ก ส า ร ข อ มู ล ก า ร ป ฏิ บั ติ จ ริ ง ใน เชิ งป ร ะ จั ก ษ ใน ฐ า น ะ ผู ใก ล ชิ ด รายละเอียด ดังน้ี ๑. ในระหวางพัฒนาหลังจากการอบรมจากเขตพ้ืนท่ีการศึกษาอุดรธานี เขต ๑ แลว ในเชิงประจักษผูขอไมมีความมุงมั่นในการพัฒนางาน ขาดประสิทธิภาพในการทำงาน โดยเฉพาะผลท่ีเกิดกับนักเรียน ๒. นับแตผูบริหารประเมินใหผานดานที่ ๑ และดานท่ี ๒ ผูขอไม สำนึกตอความดีและคุณธรรมที่ไหไว ไมวาจะเปนผูบังคับบัญชา เพ่ือนรวมงาน และนักเรียน ๓. ผูบังคับบัญชาขอเอกสารประกอบ ผูฟองคดีพยายามบายเบี่ยงสอไปในทางไมสุจริต นั้น เหตุผล ทั้งสามขอดังกลาวมิใชการตรวจสอบวารายงานผลการปฏิบัติงานและผลงานทางวิชาการของ ผูฟองคดีมีความถูกตองและเปนผลงานที่ผูฟองคดีไดปฏิบัติจริงหรือไม แตเขาลักษณะเปนการ ประเมินความประพฤติของผูฟองคดี กรณี จึงเปนการใชดุลพินิจในการตรวจสอบท่ีไมชอบ ดวยเหตุผล สงผลใหคำส่ังของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ที่ไมรับรองรายงานผลการปฏิบัติงานและผลงาน ทางวิชาการของผูฟองคดีไมชอบดวยกฎหมายตามไปดวย ท้ังน้ี ตามมาตรา ๕๔ แหง พ.ร.บ. ระเบียบขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ สวนการที่ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ไมนำ เรื่องรอ งทุกขของผูฟองคดีเขาสูการพจิ ารณาของ อ.ก.ค.ศ. เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาอุดรธานี เขต ๑ นั้น เม่ือขอเท็จจริงปรากฏวา ผูฟองคดีย่ืนหนังสือ ลงวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๑ เร่ือง รองทุกข โดยเรียนผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ซึ่งเปนผูบังคับบัญชาของ ผูฟองคดีและเปนอนุกรรมการและเลขานุการ อ.ก.ค.ศ. โดยตำแหนงตามมาตรา ๒๑ (๒) แหงพระราชบัญญัติดังกลาว กรณีจงึ เปนการยื่นหนังสือ รองทุกขตอสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ตามขอ ๖ ของกฎ ก.ค.ศ. วาดวยการรองทุกขและการ พิจารณารองทุกข พ.ศ. ๒๕๕๑ เม่ือผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ไดรับหนังสือฉบับดังกลาวแลวตองมีหนังสือ แจงพรอมท้ังแนบสำเนาหนังสือรองทุกขใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ ซ่ึงเปนผูบังคับบัญชาที่เปนเหตุแหง

๑๐๖ การรองทุกขทราบโดยเร็วและใหผูถูกฟองคดีท่ี ๑ สงเอกสารหลักฐานท่ีเก่ียวของโดยใหมีคำชี้แจง ประกอบดวยเพ่ือประกอบการพิจารณาของ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นท่ีการศึกษาภายในเจ็ดวันทำการ นับแตวันที่ไดรับหนงั สือตามนัย ขอ ๑๑ ของกฎ ก.ค.ศ. ฉบับดงั กลา ว แตห ลังจากผูถูกฟอ งคดีที่ ๒ ไดรับหนังสือรองทุกขจาก ผูฟองคดีแลวไมปรากฏวาผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ไดดำเนินการตามแนวทาง ดังกลาวแตอยางใด การที่ผูถูกฟองคดีที่ ๒ ไมดำเนินการนำเรื่องดังกลาวเสนอให อ.ก.ค.ศ. เขต พ้ืนท่ีการศึกษาอุดรธานี เขต ๑ พิจารณาตามนัยขอ ๑๑ ของกฎ ก.ค.ศ. วาดวยการรองทุกขและ พิจารณารองทุกข พ.ศ. ๒๕๕๑ แตกลับเรียกใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ เขาพบเพื่อรับทราบขอเท็จจริง และสั่งการใหไปทำความเขาใจ ถึงเหตุและอำนาจของผูบังคับบัญชาช้ันตนกับผูฟองคดีและ รายงานเปนหนังสือถึงเหตุที่ไมรับรองผลงานทางวิชาการของผูฟองคดีเพ่ือเปนหลักฐานในการ พิจารณาตอไป น้ัน ถือไดวาผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ละเลยตอหนาที่ตามท่ีกฎหมายกำหนดใหตองปฏิบัติ เมื่อคำส่ังของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไมชอบดวยกฎหมายและการกระทำของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ เปนการ ละเลยตอหนาท่ีตามท่ีกฎหมายกำหนดใหตองปฏิบัติ จึงเปนการกระทำละเมิดตอผูฟองคดี ตามมาตรา ๔๒๐ แหงประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย ผูถูกฟองคดีที่ ๓ (สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน) ซึ่งเปนหนวยงานของรัฐท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๑ และที่ ๒ อยูใน สังกัดจึงตองรบั ผดิ ชดใชคา สินไหมทดแทนแกผ ูฟองคดี ตามมาตรา ๕ แหง พ.ร.บ. ความรบั ผิดทาง ละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ สวนจำนวนคาสินไหมทดแทนท่ีผูถูกฟองคดีท่ี ๓ ตองชดใช ใหแกผูฟองคดี น้ัน เม่ือผูถูกฟองคดีท่ี ๓ อุทธรณให ศาลปกครองสูงสุดพิพากษายกฟอง โดยผูถูก ฟองคดีท่ี ๓ ไมจำตองชดใชคาสินไหมทดแทนใหกับผูฟองคดีตามคำพิพากษาของศาลปกครอง ช้ันตนเปนจำนวนเงิน ๑๓,๐๐๐ บาท และผูฟองคดีมิไดอุทธรณ จึงเห็นควรกำหนดคาเสียหายใน สวนของคากระดาษอัดสำเนา A ๔ คาปกเอกสาร แฟมเอกสาร คาถายเอกสาร คาเขารูปเลมและ คาพิสูจนตัวอักษรเปนเงินจำนวน ๑๐,๐๐๐ บาท และเน่ืองจากหมึกคอมพิวเตอร กลองกระดาษ และปากกาเทานั้นที่เปนวัสดุส้ินเปลืองไมสามารถนำกลับมาใชไดอีก จึงใหคาหมึกคอมพิวเตอร กลองกระดาษและปากกา เปนเงินจำนวน ๓,๐๐๐ บาท รวมเปนคาเสียหายที่ผูถูกฟองคดีที่ ๓ ตองชดใชใหผูฟองคดีทั้งสิ้น ๑๓,๐๐๐ บาท ซึ่งศาลปกครองสูงสุดเห็นวาเปนจำนวนคาเสียหายที่ เหมาะสมและเปนธรรมกับผูฟองคดีแลว ที่ศาลปกครองชั้นตนพิพากษาใหผูถูกฟองคดีที่ ๓ ชดใช เงนิ จำนวน ๑๓,๐๐๐ บาท ใหแกผ ฟู องคดี โดยใหชำระใหเ สร็จส้นิ ภายใน ๓๐ วนั นบั แตวนั ทคี่ ดีถึง ที่สุด และใหคืนคาธรรมเนียมศาลตามสวนของการชนะคดี นั้น ศาลปกครองสูงสุดเห็นพองดวย พพิ ากษายนื

๑๐๗ คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อ.๔๔๔/๒๕๕๘ คำส่ังใหขาราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาไปประจำสำนักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาชวั่ คราว กรณีสงสัยวามีพฤติการณไมเ หมาะสม ที่จะปฏิบัติหนาที่ราชการในตำแหนง การออกคำสั่งที่เกินอำนาจ กระทำละเมิดในการปฏิบัติ หนาท่ี เห็นวา ผูถูกฟองคดีที่ ๔ (สพฐ.) เปนราชการสวนกลางที่มีฐานะเปนนิติบุคคลและเปนกรม ผถู ูกฟองคดที ี่ ๔ จึงเปน หนวยงานของรัฐตามมาตรา ๔ แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนา ที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ผูถูกฟองคดีที่ ๑ และที่ ๓ เปนผูปฏิบัติงานในหนวยงานของผูถูกฟองคดีที่ ๔ จึงเปนเจาหนาท่ีตามมาตรา ๔ แหงพระราชบัญญัติดังกลาว สวนผูถูกฟองคดีท่ี ๒ แมจะมีฐานะ เปนนิติบุคคล แตก็มิไดมีฐานะเปนหนวยงานของรัฐตามคำนิยามในมาตรา ๔ แหงพระราชบัญญัติ เดียวกัน เมื่อผูฟองคดีฟองวา ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ มีคำส่ังลงวันท่ี ๒๕ เมษายน ๒๕๔๘ ใหผูฟองคดีท้ังสอง พนจากการปฏิบัติราชการทุกตำแหนงหนาท่ีในโรงเรียน และผูถูกฟองคดีที่ ๓ มีคำสั่งใหผูฟองคดี ทั้งสองเดินทางไปรายงานตัวท่ีสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษานครนายก เปนการกระทำละเมิดผูฟองคดี ทั้งสองขอใหชดใชคาสินไหมทดแทนใหผูฟองคดีทั้งสองคนละ ๒๐๐,๐๐๐ บาท เห็นวา ผูฟองคดี ท้ังสองสามารถใชสิทธิฟองเรียกคาเสียหายดังกลาวจากผูถูกฟองคดีท่ี ๔ ซึ่งเปนหนวยงานของรัฐ ทีผ่ ถู ูกฟองคดที ่ี ๑ และที่ ๓ อยูใ นสงั กัดใหรับผิดในผลแหงละเมิดท่ผี ถู ูกฟองคดที ่ี ๑ และท่ี ๓ ไดก ระทำ แตจะฟองผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ที่ ๒ และท่ี ๓ ใหรับผิดในผลละเมิดไมได เนื่องจากตองหาม ตามมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ศาลปกครอง จึงไมส ามารถรบั คำฟอ งในสวนทฟ่ี องผูถกู ฟองคดที ี่ ๑ ท่ี ๒ และท่ี ๓ ไวพจิ ารณาได สวนการทีผ่ ูถกู ฟองคดีที่ ๑ มคี ำส่ังลงวันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๔๘ ใหผูฟองคดที ้ังสองพน จากการ ปฏิบัติราชการทุกตำแหนงหนาที่ในโรงเรียน และการท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๓ มีหนังสือลงวันท่ี ๔ พฤษภาคม ๒๕๔๘ ใหผูฟองคดีท้ังสองไปปฏิบัติหนาท่ีท่ีสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษานครนายก เปนการกระทำละเมิดตอผูฟองคดีทั้งสองหรือไม หากเปนการกระทำละเมิดตอผูฟองคดีทั้งสอง ผูถูกฟองคดีที่ ๔ ตองชดใชคาสินไหมทดแทนหรือไม เพียงใด น้ัน จากขอเท็จจริงปรากฏวา ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ซ่ึงดำรงตำแหนงผูบริหารสถานศึกษา เปนผูบังคับบัญชาของขาราชการครู และบคุ ลากรทางการศึกษาในสถานศึกษายอมมีอำนาจและหนาที่ควบคุมดูแลใหการบรหิ ารงานบุคคล ในสถานศึกษาสอดคลองกับนโยบาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ หลักเกณฑและวิธีการตามที่ ก.ค.ศ. และ อ.ก.ค.ศ. เขตพ้ื นท่ี การศึ กษากำหนด ผู ถูกฟ องคดีท่ี ๑ ได รายงานต อผู ถูกฟ องคดีที่ ๓ กรณีมีขอขัดแยงเกิดขึ้นในโรงเรียน ผูถูกฟองคดีท่ี ๓ ส่ังการใหผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ดำเนินการ หาขอยุติกอนเปดภาคเรียนปการศึกษา ๒๕๔๘ ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ จึงไดตั้งคณะทำงานเพ่ือพิจารณา พฤติกรรมของผูฟองคดีทั้งสองแลว จึงมีคำสั่งตามความเห็นของคณะทำงานใหผูฟองคดีท้ังสอง พนจากการปฏิบัติราชการทุกตำแหนงหนาท่ีในโรงเรียน และรายงานตอผูถูกฟองคดีท่ี ๓ พรอมท้ัง สงตัวผูฟองคดีทั้งสองใหผูถูกฟองคดีที่ ๓ คำส่ังของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ในฐานะผูบริหารสถานศึกษา ดังกลาว เปนการดำเนินการไปตามอำนาจหนาท่ีตามมาตรา ๒๗ (๑) แหง พ.ร.บ. ระเบียบ

๑๐๘ ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ จึงมิใชคำส่ังที่ไมชอบดวยกฎหมาย สำหรับคำส่ังของผูถูกฟองคดีท่ี ๓ ท่ีใหผูฟองคดีท้ังสองไปรายงานตัวท่ีสำนักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษานครนายกเพ่ือรับคำสั่งใหปฏิบัติหนาท่ี คำสั่งดังกลาวมีลักษณะเปนการส่ังใหขาราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาไปประจำเขตพื้นท่ีการศึกษาเปนการชั่วคราวซึ่งเปนอำนาจหนาท่ี ของผูอำนวยการสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาที่สามารถออกคำสั่งไดตามมาตรา ๗๐ แหง พ.ร.บ. ระเบียบขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ โดยบทบัญญัติดังกลาวไมได กำหนดใหตองไดรับการอนุมัติจาก อ.ก.ค.ศ. กอน แตไดกำหนดใหตองปฏิบัติตามหลักเกณฑ และวิธีการที่กำหนดในกฎ ก.ค.ศ. ซึ่งในขณะที่ผูถูกฟองคดีท่ี ๓ มีคำส่ังดังกลาว ก.ค.ศ. ยังมิได ออกกฎในเรื่องดังกลาว กรณีจึงตองนำ กฎ ก.พ. ฉบับท่ี ๑๕ (พ.ศ. ๒๕๔๐) ออกตามความใน พ.ร.บ. ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ วาดวยการส่ังขาราชการพลเรือนสามัญใหประจำกระทรวง ประจำทบวง ประจำกรม ประจำกอง หรือประจำจังหวัด มาใชบังคับโดยอนุโลมตามมาตรา ๑๓๓ วรรคหน่ึง แหง พ.ร.บ. ระเบียบขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ เม่ือขอ ๒ (๗) ของกฎ ก.พ. ฉบับดังกลาว กำหนดใหผูถูกฟองคดีท่ี ๓ ในฐานะผูมีอำนาจสั่งบรรจุ มีอำนาจ ท่ีจะส่ังใหผูฟองคดีท้ังสองมาประจำที่สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษานครนายกเปนการชั่วคราวได ใน ก ร ณี เป น ที่ ส งสั ย ว า ผู ฟ อ ง ค ดี ทั้ ง ส อ ง มี พ ฤ ติ ก า ร ณ ไม เห ม า ะ ส ม ท่ี จ ะ ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ ร า ช ก า ร ในตำแหนงน้ัน ซ่ึงผูบังคับบัญชาไดสืบสวนแลวเห็นวากรณีมีมูล และถาใหผูฟองคดีท้ังสองคงอยู ในตำแหนงเดิมตอไป อาจเกิดความเสียหายแกราชการ แตการส่ังใหประจำสำนักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาดังกลาว ผูถูกฟองคดีท่ี ๓ มีอำนาจส่ังไดเปนเวลาไมเกินหกเดือนเทาน้ัน หากจะส่ังไป ประจำสำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาเกินกวา หกเดือน จะตองไดรับอนุมัติจาก ก.ค.ศ. กอน ตามขอ ๔ ของกฎ ก.พ. ดังกลาว เมื่อปรากฏวา ผูถูกฟองคดีท่ี ๓ ไดมีคำส่ังใหผูฟองคดีท้ังสอง ไปปฏิบัติงาน ท่สี ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครนายกตั้งแตเดือนพฤษภาคม ๒๕๔๘ เปนตนไปจนถึงเดือนธันวาคม ๒๕๔๘ เปนเวลาประมาณแปดเดือนโดยไมปรากฏวาไดมีการเสนอขออนุมัติขยายระยะเวลา การส่ังประจำสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษานครนายกตอ ก.ค.ศ. ซ่ึง อ.ก.ค.ศ. ไดมีมติใหเพิกถอน คำสั่งดังกลาว เมื่อวันท่ี ๑๙ ตุลาคม ๒๕๔๘ ตอมาผูฟองคดีทั้งสองไดมาปฏิบัติหนาที่ที่โรงเรียน ปยชาติพัฒนาฯ เมื่อวันท่ี ๒๗ ธันวาคม ๒๕๔๘ การที่ผูถูกฟองคดีท่ี ๓ มีคำส่ังในสวนท่ีสั่งให ผูฟองคดีท้ังสองประจำสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาเกินกวาหกเดือนดังกลาวจึงเปนคำส่ัง ที่เกินอำนาจของผูถูกฟองคดีที่ ๓ และไมชอบดวยกฎหมาย เม่ือการที่ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ มีคำส่ัง ลงวันท่ี ๒๕ เมษายน ๒๕๔๘ ใหผูฟองคดีท้ังสองพนจากการปฏิบัติราชการทุกตำแหนงหนาท่ี ในโรงเรียนปยชาติพัฒนาฯ เปนการดำเนินการท่ีชอบดวยอำนาจหนาที่ตามท่ีกฎหมายกำหนด และการที่ผูถูกฟองคดีที่ ๓ มีหนังสือลงวันที่ ๔ พฤษภาคม ๒๕๔๘ ส่ังการใหผูฟองคดีทั้งสอง ไปรายงานตวั ท่ีสำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษานครนายกและมอบหมายหนา ทใ่ี หปฏบิ ัตเิ ปน การสั่งให ผูฟองคดีท้ังสองไปประจำสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษานครนายกเปนคำสั่งที่ชอบดวยกฎหมาย แตในสวนท่ีส่ังใหประจำที่สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเกินกวาหกเดือนเปนคำสั่งที่ไมชอบ

๑๐๙ ดวยกฎหมาย และเปนเหตุใหผูฟองคดีทั้งสองไดรับความเดือดรอนเสียหาย ดังน้ัน คำส่ังของ ผูถูกฟองคดีท่ี ๓ ในสวนท่ีเกินกวาหกเดือนดังกลาว จึงเปนการกระทำละเมิดตอผูฟองคดีท้ังสอง ตามนัยมาตรา ๔๒๐ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย และเมื่อผูถูกฟองคดีที่ ๓ เปนเจาหนาที่ของรัฐกระทำการออกคำสั่งโดยไมชอบดวยกฎหมาย โดยอาศัยอำนาจตาม พ.ร.บ. ระเบียบขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ จึงเปนการกระทำละเมิดอันเกิดจาก การใชอำนาจตามกฎหมาย ผูถูกฟองคดีที่ ๔ ซึ่งเปนหนวยงานของรัฐที่ผูถูกฟองคดีท่ี ๓ อยูในสังกัด จึงตองรับผิดตอผูฟองคดีทั้งสองในผลแหงละเมิดที่ผูถูกฟองคดีที่ ๓ ไดกระทำในการปฏิบัติหนาท่ี ตามมาตรา ๕ วรรคหน่งึ แหง พ.ร.บ. ความรบั ผดิ ทางละเมดิ ของเจา หนา ที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ สวนผูถูกฟองคดีที่ ๔ ตองชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูฟองคดีท้ังสองเพียงใดนั้น เห็นวา มาตรา ๔๓๘ วรรคหนึ่ง แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บัญญัติวา คาสินไหมทดแทน จะพึงใชโดยสถานใด เพียงใดนั้น ใหศาลวินิจฉัยตามควรแกพฤติการณและความรายแรงแหงละเมิด ผูฟอ งคดที ้ังสองอางวา ตอ งเสียคาใชจ า ยในการเดนิ ทางไปปฏบิ ตั ิราชการทส่ี ำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา นครนายกเพิ่มข้ึนจากปกติโดยไมสมควร และเสียโอกาสในความกาวหนาในราชการ จากการที่ ไมไดปฏิบัติหนาที่ในโรงเรียนฯ ในชวงเวลาดังกลาว เห็นวา ผูฟองคดีทั้งสองตองปฏิบัติหนาท่ีราชการ ท่ีสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครนายกในสวนที่เกินกวาหกเดือนโดยไมชอบดวยกฎหมายเปนเวลา ประมาณสองเดือน จึงเห็นควรกำหนดคาใชจายในสวนนี้ใหแกผูฟองคดีท้ังสอง ตามเหตุผล ที่ ศาลปกครองชั้ นต นวินิ จฉั ยเดื อนละ ๑,๐๐๐ บาท คิ ดเป นเงินคนละ ๒,๐๐๐ บาท สวนความเสียหายในโอกาสความกาวหนาในหนาที่ราชการนั้น ผูฟองคดีท้ังสองมิไดแสดงขอเท็จจริง ท่ีแสดงใหเห็นวา เปนความเสียหายท่ีเกิดขึ้นจากการออกคำส่ังของผูถูกฟองคดีท่ี ๓ อยางไร ดังนั้น ขออางดังกลาวจึงไมอาจรับฟงได การท่ีศาลปกครองช้ันตนพิพากษาใหผูถูกฟองคดีท่ี ๔ ชดใช คาสินไหมทดแทนความเสียหายใหแกผูฟองคดีทั้งสอง เปนเงินคนละ ๘,๐๐๐ บาท รวมเปนเงิน คาสินไหมทดแทนความเสียหายทั้งสิ้นจำนวน ๑๖,๐๐๐ บาท น้ัน ศาลปกครองสูงสุดเห็นพองดวย บางสวน พิพากษาแกคำพิพากษาของศาลปกครองชั้นตนเปนใหผูถูกฟองคดีท่ี ๔ ชดใชคาสินไหม ทดแทนความเสียหายใหแกผูฟองคดีท้ังสอง เปนเงินคนละ ๒,๐๐๐ บาท รวมเปนเงินคาสินไหม ทดแทนความเสียหายทั้งสิ้นจำนวน ๔,๐๐๐ บาท นอกจากที่แกใหเปนไปตามคำพิพากษาของ ศาลปกครองชั้นตน

๑๑๐ คดีพิพาทเก่ียวกับการกระทำละเมิดจากการออกคำสั่งยายขาราชการครู คำส่ังยายไมชอบ ดวยกฎหมายทำใหขาราชการครูไดรับความเดือดรอนเสียหายในการตองเสียคาใชจายเปนคา น้ำมันเช้ือเพลิงและคาสึกหรอของรถยนตในการเดินทางไปกลับระหวางโรงเรียนกับบานที่พัก จึงเปนการกระทำละเมิดตอขาราชการครู สำนักงานคณะกรรมการขึ้นพื้นฐาน ในฐานะตน สังกัดของผูออกคำส่ังยายดังกลาว จึงตองรับผิดในผลแหงละเมิดท่ีเจาหนาท่ีของตนกระทำโดย การชดใชคาสินไหมทดแทนเปนเงินพรอมดอกเบี้ยใหกับขาราชการดังกลาว, คำขอใหชดใชหรือ เยยี วยาความเสยี หายทางจิตใจ, คำอทุ ธรณท ี่ตอ งหามตามกฎหมายหรอื ย่ืนโดยผิดระเบยี บ คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๑๐๐๐/๒๕๕๘ ผูฟองคดีทั้งสองฟองวา ผูฟองคดี ทั้งสองไดรับความเดือดรอนหรือเสียหายจากการที่ผอ.สพท. ชัยนาท มีคำส่ังตามหนังสือ ลงวันท่ี ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๗ ใหผ ฟู อ งคดีทั้งสองไปปฏบิ ัติหนาท่ีทโ่ี รงเรียน ศ.โดยใหเ หตผุ ลวาเน่ืองจากผู ฟองคดีที่ ๑ (นาย ส.) ถูกรองเรียนและคณะกรรมการสืบสวนขอเท็จจริงตามคำสั่งลงวันท่ี ๑๕ มกราคม ๒๕๔๗ มีความเห็นวาผูฟองคดีที่ ๑ กระทำผิดวินัย ตามท่ีถูกรองเรียนจริง ควรลงโทษ ภาคทัณฑและใหยายออกจากโรงเรียน ส. สวนผูฟองคดีท่ี ๒ (นาง อ.) ใหไปปฏิบัติหนาท่ี ทโ่ี รงเรยี น ศ. เพ่ือแกปญ หาการบริหารงานบุคคล โดยใหผูฟอ งคดีทั้งสองไปปฏิบตั ิหนาที่ตามคำสั่ง ภายในวันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๔๗ ผูฟองคดีท้ังสองเห็นวา การออกคำสั่งของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ (สพม. เขต ๕) ไมช อบดว ยกฎหมายเปนการกระทำละเมดิ ตอผูฟอ งคดีท้ังสอง ผูฟองคดที ัง้ สองจึงมี หนังสือ ลงวันที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๔๗ รองทุกขคำสั่งดังกลาวตอประธาน อ.ก.ค. สพฐ. และมี หนังสือ ลงวันท่ี ๓ สิงหาคม ๒๕๔๗ ขอทราบผลการพิจารณาจนระยะเวลาลวงเลยเกือบครบ ๑ ป แลวยังมิไดรับแจงผลการพิจารณา ขอใหศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งเพิกถอนคำส่ังตามหนังสือลง วันท่ี ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๗ และใหผูฟองคดีท้ังสองกลับคืนสูสถานภาพเดิมและมีสิทธิตาม ระเบียบเสมือนมิไดมีคำสั่งดังกลาว ใหผูถูกฟองคดีที่ ๒ (สพฐ.) ชดใชคาเสียหายแกผูฟองคดีท่ี ๑ เปนจำนวนเงิน ๒,๕๗๕,๒๔๐ บาท พรอมดอกเบี้ยรอยละ ๗.๕ ตอปของตน เงนิ ขางตน นับถัดจาก วันฟองจนกวาจะชำระใหแกผูฟองคดีที่ ๑ เสร็จส้ิน ใหผูถูกฟองคดีที่ ๒ ชดใชคาเสียหายแกผูฟอง คดีท่ี ๒ เปนจำนวนเงิน ๒,๖๐๔,๕๘๐ บาท พรอมดอกเบี้ยรอยละ ๗.๕ ตอปของตนเงินขางตน นับถัดจากวันฟองจนกวาจะชำระใหแกผูฟองคดีที่ ๒ เสร็จส้ิน เห็นวา ในกรณีผูฟองคดีท่ี ๑ น้ัน เม่ือขอเท็จจรงิ ปรากฏวา กอนที่ผอ.สพท. จะมีคำส่ังลงวันท่ี ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๗ ใหผูฟองคดีท่ี ๑ ไปปฏิบัติหนา ท่ีทโี่ รงเรียน ศ. เปนการช่ัวคราว เนื่องจากผูฟอ งคดีท่ี ๑ ถูกรอ งเรยี นกลาวหาวามี พฤติกรรมชอบใชวาจาคุยโวโออวด เยาะเยย ถากถาง ขมขู ดูถูก เหยียดหยาม กล่ันแกลงใสราย ปายสีเพื่อนขาราชการครู ขัดคำสั่งผูบังคับบัญชาที่สั่งในหนาที่ สรางความแตกแยกและกอใหเกิด ความไมสงบภายในโรงเรียน อีกทั้งใชวาจากับนักเรียนไมเหมาะสม จนผูถูกฟองคดีที่ ๑ มีคำสั่งตั้ง คณะกรรมการสืบสวนขอเท็จจริง ซ่ึงคณะกรรมการดังกลาวทำการสอบสวนแลวเห็นวา ผูฟองคดี ที่ ๑ ไดกระทำผิดตามท่ีถูกรองเรียนจริง พฤติการณเปนการกระทำผิดวินัยอยางไมรายแรง ฐานไมสุภาพเรียบรอย ไมรักษาความสามัคคี และกระทำการอันเปนการกลั่นแกลงกัน

๑๑๑ และไมชวยเหลือกันในการปฏิบัติราชการระหวางขาราชการดวยกันและฐานไมรักษาชื่อเสียงของ ตนและไมรักษาเกียรติศักด์ิของตำแหนงหนาที่ราชการของตนมิใหเสื่อมเสีย โดยไดกระทำการอัน ไดช่ือวาเปนผูประพฤติช่ัว ตามมาตรา ๙๓ และมาตรา ๙๘ แหง พ.ร.บ. ระเบียบขาราชการพล เรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ ซึ่งใชบังคับในขณะนั้น เห็นควรลงโทษภาคทัณฑและยายผูฟองคดีที่ ๑ ออก จากโรงเรียน ส. ผอ.สพท.พิจารณาแลวเห็นชอบดวย แตเห็นวาผูฟองคดีท่ี ๑ ไมเคยกระทำผิด วินัยมากอน จึงใหงดโทษทางวินัยโดยใหวากลาวตักเตือนผูฟองคดีที่ ๑ ตามบันทึก ลงวันที่ ๒๔ มนี าคม ๒๕๔๗ เมื่อผฟู องคดีที่ ๑ รับทราบการวากลาวตักเตือนดังกลาว กไ็ มป รากฏวาไดรอ งทุกข หรือโตแยงเก่ียวกับการดำเนินการหรือการสั่งการดังกลาวแตอยางใด กรณีจึงนาเช่ือวาผูฟองคดี ท่ี ๑ มีพฤติกรรมตามที่มีการรองเรียนจริง ผอ.สพท.ซึ่งไดรับมอบอำนาจจากเลขาธิการ คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานจึงสามารถใชดุลพินิจพิจารณาวา การใหผูฟองคดีที่ ๑ ปฏิบัติ หนาท่ีที่โรงเรียนสรรพยาวิทยาตอไป จะทำใหเกิดปญหาในการบริหารหรือไม เมื่อรับฟงไดวา ผูฟองคดีที่ ๑ มีพฤติกรรมขางตนจริง การที่ผอ.สพท. ผูรับมอบอำนาจฯ ไดอาศัยเหตุดังกลาว มคี ำสั่งตามหนังสือ ลงวนั ท่ี ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๗ ใหผูฟองคดีท่ี ๑ ไปปฏิบัติหนา ท่ีท่โี รงเรียน ศ. เปนการชั่วคราว จึงเปนไปโดยชอบดวยกฎหมาย จึงไมเปนการกระทำละเมิดตอผูฟองคดีที่ ๑ แตอยา งใด สำหรับกรณีผูฟองคดีที่ ๒ ขอเท็จจริงรับฟงไดวา ผูฟองคดีที่ ๒ เปนคูสมรสของผูฟองคดี ท่ี ๑ แตไมป รากฏขอเทจ็ จริงใดๆ ท่ีแสดงใหเหน็ วาผูฟองคดที ่ี ๒ มีสว นรวมหรอื เกย่ี วของกับเรื่องที่ ผูฟองคดีท่ี ๑ ถูกรองเรียนกลาวหาและถูกดำเนินการทางวินัย แมผูฟองคดีท่ี ๒ จะเคยมีประวัติ ถูกลงโทษทางวินัยกอนที่จะมาปฏิบัติหนาที่ที่โรงเรียน ส. ตามที่ผูถูกฟองคดีที่ ๒ กลาวอาง แตก็ เปนการกระทำผิดวนิ ัยท่ีถกู ลงโทษตงั้ แตป  พ.ศ. ๒๕๓๑ และไมไดเกี่ยวของใดๆ กับกรณีทผี่ ูฟ อ งคดี ท่ี ๑ ถูกรองเรียนกลาวหา ประกอบกับขอเท็จจริงแหงคดี ไมปรากฏเหตุวา หากใหผูฟองคดีท่ี ๒ อยูปฏิบัติหนาท่ีที่โรงเรียนสรรพยาวิทยาตอไป จะกอใหเกิดปญหาในการบริหารงานของผูถูกฟอง คดีที่ ๒ อยางไร หรือโรงเรียน ศ. มีปญหาขาดบุคลากรท่ีทำใหจำเปนตองมีคำส่ังใหผูฟองคดีท่ี ๒ ไปปฏิบัติหนาท่ีท่ีโรงเรียน ศ. สวนท่ีผูถูกฟองคดีท้ังสองอางวา เปนการสั่งการไปตามความจำเปน เพ่ือเปนการแกไขปญหาการบริหารงานบุคคลซ่ึงเปนมาตรการภายในของ สพท. เน่ืองจากเห็นวา หากผูฟองคดีที่ ๑ ตองไปปฏิบัติหนาที่ราชการที่อื่น จะทำใหผูฟองคดีท่ี ๒ ไดรับความไมสะดวก ในการเดินทาง เพ่ือเปนการประหยัดและสามีภรรยาจะไมตองแยกกันเดินทาง นั้น เม่ือผูฟองคดี ที่ ๒ ไมไดประสงคหรอื แสดงความจำนงขอยายติดตามผูฟอ งคดีท่ี ๑ ไปปฏิบัติหนาท่ีท่ีโรงเรยี น ศ. ผอ.สพท. จึงไมอาจใชดุลพินิจยกเหตุดังกลาวข้ึนอางเพ่ือมีคำสั่งตามอำเภอใจได ดังนั้น เมื่อไม ปรากฏเหตอุ ืน่ ใดที่จะทำให ผอ.สพท. สามารถมีคำสงั่ ใหผฟู องคดีที่ ๒ ไปปฏิบตั หิ นาที่ทีโ่ รงเรียนศ. เปนการช่ัวคราว คำส่ังตามหนังสือลงวันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๗ ใหผูฟองคดีท่ี ๒ ไปปฏิบัติ หนาที่ท่ีโรงเรียนศ. เปนการชั่วคราว จึงไมชอบดวยกฎหมายเม่ือปรากฏวา การกระทำของ ผอ.สพท. ในการออกคำสั่งตามหนังสือลงวันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๗ ใหผูฟองคดีท่ี ๒ ไปปฏิบัติ

๑๑๒ หนาที่ท่ีโรงเรียน ศ. เปนการช่ัวคราว ไมชอบดวยกฎหมายและทำใหผูฟองคดีที่ ๒ ไดรับความ เสียหาย โดยตองเสียคาใชจายเปนคาน้ำมันเช้ือเพลิงและคาสึกหรอของรถยนตในการเดินทางไป กลับระหวางโรงเรียนศ.กับบานพักที่ตำบลหวยกรดพัฒนา เพ่ิมขึ้นจากเดิมที่ปฏิบัติงานท่ีโรงเรียน ส. ประมาณวันละ ๙๐ กิโลเมตร ซึง่ เมอ่ื พจิ ารณาจากบัญชีลงเวลาปฏบิ ัตริ าชการของผฟู องคดีที่ ๒ โดยมีหลักฐานการลงเวลาปฏิบัติและตามคำสั่งโรงเรียนศ. ๗๓ วัน ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ มิไดโตแยง ขอเท็จจริงเก่ียวกับอัตราคาน้ำมันเชื้อเพลิงและคาสึกหรอของรถยนตจึงตองรับฟงตามหลักฐาน ท่ีผูฟองคดีท้ังสองกลาวอาง โดยคาน้ำมันเบนซิน ๙๕ ในชวงเวลาดังกลาวราคาเฉล่ียประมาณ ๑๙.๑๑๒๕ บาทตอลิตร ความสิ้นเปลืองเฉล่ียประมาณ ๘ กิโลเมตรตอลิตร คาน้ำมันเฉลี่ย ประมาณกิโลเมตรละ ๒.๓๘ บาท เม่ือเดิมผูฟองคดีที่ ๒ เดินทางไปทำงานระหวางบานของ ผูฟองคดีทั้งสองที่ตำบลหวยกรดพัฒนา อำเภอสรรคบุรี กับโรงเรียน ส.และระยะทางไป – กลับ ๒๐ กิโลเมตร แตเมื่อตองยายไปปฏิบัติหนาที่ท่ีโรงเรียน ศ. กิ่งอำเภอหนองมะโมง ระยะทางจาก บานของผูฟองคดีท้ังสองถึงโรงเรียน ศ. ไป – กลับ ๑๑๐ กิโลเมตร ผูฟองคดีท่ี ๒ ตองเดินทาง เพ่ิมขึ้นวันละ ๙๐ กิโลเมตร เปนเวลา ๗๓ วัน รวมเปนระยะทาง ๖,๕๗๐ กิโลเมตร จึงมีคาใชจาย เปน คานำ้ มนั เชื้อเพลงิ ประมาณ ๑๕,๖๓๖.๖๐ บาท และมีคา สึกหรอของรถยนต ซงึ่ เฉลี่ยประมาณ กิโลเมตรละ ๑ บาท คิดเปน เงินคาเสียหายประมาณ ๖,๕๗๐ บาท รวมคาเสยี หายในสวนคา นำ้ มัน เช้ือเพลิงและคาสึกหรอเปนเงิน ๒๒,๒๐๖.๖๐ บาท ซ่ึงความเสียหายดังกลาวเปนผลโดยตรงจาก การที่ผอ.สพท. มีคำสั่งตามหนังสือลงวันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๗ ใหผูฟองคดีท่ี ๒ ไปปฏิบัติ หนาที่ท่ีโรงเรียน ศ. เปนการช่ัวคราว จึงเปนการทำละเมิดตอผูฟองคดีที่ ๒ และโดยที่การทำ ละเมิดดังกลาวเปนการกระทำในการปฏิบัติหนาที่ของผอ.สพท. ซ่ึงเปนเจาหนาท่ีในสังกัดของผูถูก ฟองคดีที่ ๒ ผูถูกฟองคดีที่ ๒ จึงตองรับผิดในผลแหงละเมิดที่เจาหนาที่ของตนกระทำตามมาตรา ๕ วรรคหน่ึง แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ เม่ือผูฟองคดีที่ ๒ ไดรับความเสียหายในสวนคาน้ำมันเช้ือเพลิงและคาสึกหรอเปนเงิน ๒๒,๒๐๖.๖๐ บาท แตผูฟอง คดีที่ ๒ บรรยายฟองและมีคำขอในสวนน้ีเพียง ๒๐,๗๙๐ บาท ศาลจึงกำหนดใหไดไมเกินคำขอ จึงกำหนดคาสินไหมทดแทนความเสียหายในสวนน้ีที่ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ตองรับผิดชดใชใหแก ผูฟ องคดีท่ี ๒ เปน เงิน ๒๐,๗๙๐ บาท และหนี้อันเกิดแตมลู ละเมิดลูกหน้ไี ดชื่อวาผิดนดั มาแตเวลา ที่ทำละเมิดตามนัยมาตรา ๒๐๖ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เม่ือคาเสียหายดังกลาว ลกั ษณะเปนหน้เี งนิ ผฟู องคดีที่ ๒ จึงชอบทีจ่ ะไดร ับดอกเบ้ยี ในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอ ป ตามมาตรา ๒๒๔ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย นับแตวันทำละเมิด แตผูฟองคดีมีคำขอใหศาล กำหนดดอกเบ้ียของคา เสียหายนับถัดจากวันฟอ งจนกวา จะชำระเสร็จแกผ ูฟองคดที ่ี ๒ ศาลจงึ ตอ ง กำหนดใหตามคำขอของผฟู อ งคดีท่ี ๒ เชน กัน สว นคา สินไหมทดแทนความเสยี หายท่ีผฟู องคดีท่ี ๒ ตองทนทุกขทรมานจากความเจ็บปวย นั้น เห็นวา แมคำสั่งตามหนังสือลงวันท่ี ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๗ ใหผูฟองคดีท่ี ๒ ไปปฏิบัติหนาที่ที่โรงเรียน ศ. เปนการชั่วคราวจะไมชอบดวยกฎหมาย แตการที่จะกำหนดคาสินไหมทดแทนกรณีดังกลาวใหไดน้ันก็ตองปรากฏวาความเจ็บปวยดังกลาว

๑๑๓ เปนผลโดยตรงมาจากการกระทำท่ีเปนเหตุแหงละเมิดดวย และโดยที่การกระทำที่เปนเหตุแหง ละเมิดในคดีนี้เปนเพียงคำส่ังใหไปปฏิบัติหนาท่ีช่ัวคราว การท่ีผูฟองคดีท่ี ๒ มีคำขอใหชดใชคา สินไหมทดแทนจากการเจ็บปวยตองทนทุกขทรมานในคดีนี้ จึงมีลักษณะเปนคำขอใหชดใชหรือ เยียวยาความเสียหายทางจิตใจ ซ่ึงการกระทำที่จะถึงขนาดเปนอันตรายตอจิตใจ ตองเปนการ กระทำที่เกิดผลกระทบกระเทือนตอจิตใจ เชน ทำใหจิตฟนเฟอน ทำใหตกใจกลัว หรือวิตกกังวล จนประสาทเสีย หรือรถชนจนทำใหประสาทเสีย เปนตน คดีน้ีเม่ือพิจารณาความรายแรงแหงการ กระทำประกอบดวยแลว เห็นวา หากเกิดผลกระทบตอจิตใจของผูฟองคดีท่ี ๒ ก็เปนเพียงทำให ผูฟองคดีท่ี ๒ ไมพอใจ โกรธ หรือเครียด หรือไดรบั ความลำบากตองเหน็ดเหนื่อยจากการเดินทาง บาง ซึ่งยังไมรายแรงถึงขนาดเปนอันตรายตอจิตใจแตอยางใด ผูฟองคดีที่ ๒ จึงไมมีสิทธิไดรับ คา สินไหมทดแทนความเสียหายในสว นน้ี คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อ. ๓๗/๒๕๕๒ ผูถูกฟองคดีทั้งสอง (เลขาธิการ คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และผูอำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเชียงใหม) ไดปฏิบัติหนาที่ราชการในนามของสพฐ. (กรมสามัญศึกษา เดิม) ซึ่งเปนหนวยงานของรัฐท่ีตน สงั กัดอยู ออกคำสั่งใหผ ฟู องคดีชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกทางราชการเปนเงินจำนวน ๗๖,๘๐๐ บาท ตามมาตรา ๑๒ แหง พ.ร.บ. ความรับผิด ทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ซึ่งคำส่ังของ ผูถูกฟองคดีท้ังสองเปนคำสั่งทางปกครองตามมาตรา ๕ แหง พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการ ทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ เม่ือผูฟองคดีไมเห็นพองดวยจะตองอุทธรณคำส่ังทางปกครอง ตาม มาตรา ๔๔ วรรคหน่ึง แหงพระราชบัญญัติดังกลาว แตเนื่องจากคำสั่งของผูถูกฟองคดที ้ังสองระบุ วาหาก ผูฟองคดีไมเห็นดวยใหฟองคดีตอศาลปกครองภายใน ๙๐ วัน การท่ีผูฟองคดีย่ืนฟองตอ ศาลปกครองโดยมิไดอุทธรณคำสั่งเสียกอน จึงเปนผลมาจากการปฏิบัติตามคำส่ังของผูถูกฟองคดี ท้ังสองท่ีทำใหผูฟองคดีเขาใจโดยสุจริตวาสามารถฟองคดีตอ ศาลปกครองไดโดยไมตองอุทธรณ กอน จึงถือวาการฟองคดีนี้เปนไปตามเงื่อนไขในการฟองคดี ตามมาตรา ๔๒ วรรคสอง แหง พ.ร.บ. จัดตั้งศาลปกครองฯ ผูฟองคดีดำรงตำแหนงผูอำนวยการโรงเรียนสันกำแพงจังหวัด เชียงใหม ไดรับมอบอำนาจจากผถู ูกฟองคดีท่ี ๑ ใหสั่งอนุมัตกิ ารเบิกจายเงินคาเชาบานขาราชการ ในสังกัดโรงเรียนสันกำแพง เมื่อนางสาว ส. ขาราชการครูโรงเรียน สันกำแพง ไดมีหนังสือลงวันท่ี ๑๑ และวันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๓๙ ขออนมุ ัติเบิกคาเชาบานขาราชการสำหรับผอ นชำระเงินกเู พื่อ ชำระราคาบาน ผูฟองคดีในฐานะผูมีอำนาจจะตองพิจารณาดำเนินการใหเปนไปตาม พ.ร.ฎ. คา เชาบานขาราชการ พ.ศ. ๒๕๒๗ โดยตองใชดุลพินิจจัดใหขาราชการที่มีสิทธิเบิกคาเชาบาน ขาราชการใหเชาพักอาศัยในบานพักราชการท่ีวางอยูกอน ซ่ึงขอเท็จจริงฟงเปนที่ยุติวา กอนท่ีผู ฟองคดีจะมีคำสั่งอนุมัติใหนางสาว ส. ใชสิทธิเบิกคาเชาบานขาราชการสำหรับผอนชำระเงินเพื่อ ชำระคา บา นตามคำสั่งลงวันท่ี ๓๐ มกราคม ๒๕๓๙ ผูฟองคดีรอู ยูแลววาบานพักครูเลขที่ ๑๗๐/๗ วางอยู ซึ่งมีสภาพสมบรูณเหมาะสมท่ีจะใหขาราชการครูเขาพักอาศัยอยูได และตองจัดให ขา ราชการครูเขาอยอู าศยั นอกจากน้ันผูฟอ งคดียังรูอยูแลววา การอนุมัติใหนางสาว ส. เบิกคาเชา

๑๑๔ บานขาราชการนับต้ังแตเดือนกุมภาพันธ ๒๕๓๙ ถึงเดือนกันยายน ๒๕๔๑ เปนการอนุมัติท่ีผิด ระเบียบ พฤติการณของผูฟองคดีจึงเปนการจงใจกระทำผิดตอกฎหมายหรือระเบียบของทาง ราชการทำใหทางราชการไดรับความเสียหายอันถือวาเปนการกระทำละเมิด ตามมาตรา ๔๒๐ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ซ่ึงระยะเวลาอนุมัติคาเชาบานใหแกนางสาว ส. ต้ังแต เดือนกุมภาพนั ธ ๒๕๓๙ จนถงึ วันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๓๙ เปนชวงเวลากอนท่ี พ.ร.บ. ความรับ ผดิ ทางละเมดิ ของเจา หนา ท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ จะมีผลใชบ ังคบั ผูฟองคดีจงึ ตองชดใชคาสนิ ไหมทดแทน ในมูลละเมิดดังกลาวเต็มจำนวน สวนความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการกระทำละเมิดในชวงเวลา นับตั้งแตวันท่ี ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๓๙จนถึงเดือนกันยายน ๒๕๔๑ แมวาจะตองพิจารณาตาม พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ ซ่ึงมีผลใชบังคับแลวก็ตาม แตเน่ืองจาก การกระทำละเมิดของผูฟองคดีเปนกรณีท่ีผูฟองคดีกระทำละเมิดดวยความจงใจ ตามมาตรา ๘ วรรคหน่ึง และการกระทำละเมิดดังกลาวมิไดเกิดจากความผิดหรือความบกพรองของหนวยงาน ของรัฐหรือระบบการดำเนินงานสวนรวมอันจะนำมาหักสวนแหงความ รับผิดออก ตามมาตรา ๘ วรรคสาม อีกท้ัง มิใชเปนการกระทำละเมิดท่ีเกิดจากเจาหนาท่ีหลายคนที่จะตองรับผิดชดใชคา สนิ ไหมทดแทนเฉพาะสวนของแตละคน ตามมาตรา ๘ วรรคสี่ แหงพระราชบัญญัติดงั กลา ว ดงั น้ัน ผฟู องคดีจึงตองรับผดิ ชดใชคาสินไหมทดแทนสำหรบั ความเสียหายท่ีเกิดขึ้นจากการกระทำละเมิด นับตั้งแตวันท่ี ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๓๙ จนถึงเดือนกันยายน ๒๕๔๑ เต็มจำนวนแตเพียง ผูเดียว เชนเดียวกัน การท่ีผูถูกฟองคดีทั้งสองมีคำสั่งใหผูฟองคดีชดใชคาสินไหมทดแทนเต็มจำนวน จงึ เปน คำสั่งท่ีชอบดวยกฎหมายแลว กรณีผูฟองคดีอุทธรณวาแมบานพักครูหลังดังกลาวจะวางลงก็ไมจำตองจัดใหนางสาว ส. เขาอยูอาศัยเพราะบุคคลดังกลาวมีสิทธิเบิกคาเชาบานในลักษณะเชาซื้อตามคำอนุมัติของ ผูอำนวยการโรงเรียนสันกำแพงคนเดิม จึงสามารถใชสิทธิเบิกคาเชาบานขาราชการไดตอไปน้ัน เห็นวา สิทธิการนำหลักฐานการชำระเงินกูเพื่อชำระราคาบานมาเบิกคาเชาบานขาราชการของ นางสาว ส. มิไดเกิดขึ้นตามคำอนุมัติของผูอำนวยการโรงเรียนสันกำแพงคนเดิม เพราะขณะน้ัน นางสาว ส. ยังมิไดเขาอยูอาศัยจริงในบานที่จะซ้ือเนื่องจากยังไมมีการกอสรางบานดังกลาว แตสิทธิของนางสาว ส. เพิ่งจะเกิดข้ึนนับตั้งแตวันท่ีไดเขาพักอาศัยจริงภายหลังจากท่ีไดรับมอบ บานพรอมท่ีดินแลวเมื่อวันที่ ๔ มกราคม ๒๕๓๙ ท้ังน้ี ตามมาตรา ๑๖ แหง พ.ร.ฎ. คาเชาบาน ขา ราชการ พ.ศ. ๒๕๒๗ อนึ่ง แมวากรมบัญชีกลางจะระบุวาผูฟองคดีกระทำละเมิดดวยความประมาทเลินเลอ ก็ตาม แตเนื่องจากพฤติการณของผูฟองคดีฟงไดวาเปนการกระทำละเมิดดวยความจงใจอันมีผล ทำใหผูฟองคดีตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน ตามมาตรา ๑๐ ประกอบมาตรา ๘ วรรคหนึ่ง แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ จึงเปนกรณีท่ีศาลยอมจะตอง วนิ จิ ฉยั ปรบั บทกฎหมายใหถ ูกตอ งตามขอ เท็จจริงท่เี กดิ ข้ึนได

๑๑๕ การจัดสรรท่ีเรียนของนักเรียนมัธยมโดยวิธีจับฉลาก (ประกาศคณะกรรมการรับ นักเรียนกรุงเทพมหานคร เร่ือง แนวปฏิบัติการรับนักเรียนสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต ๑ เขต ๒ เขต ๓ ปการศึกษา ๒๕๔๑ ลงวันท่ี ๔ กุมภาพันธ ๒๕๔๗ ขอ ๔.๓.๓ และขอ ๖.๒.๓) คำส่ังตดั สทิ ธิบุคคลในการจบั ฉลากจัดสรรทเี่ รยี นโดยชอบดว ยกฎหมาย คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๖๑๐/๒๕๕๔ : ผูฟองคดีไดยื่นใบสมัครเขาศึกษาตอ ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี ๑ ปการศึกษา ๒๕๔๗ โดยไดแสดงความประสงคท่ีจะขอรับการจัดสรรโอกาส เขา โรงเรยี นในเขตพืน้ ทีบ่ รกิ ารของผูถกู ฟองคดที ่ี ๒ (โรงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถมั ภฯ) ตอ มา ผูถูก ฟองคดีท่ี ๒ ไดประกาศผลการจัดสรรท่ีเรียนนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๑ ปการศึกษา ๒๕๔๗ ประเภทจัดสรรที่เรียนพ้ืนท่ีบริการที่มีสิทธิจับฉลาก โดยประกาศรายช่ือนักเรียนท่ีมีสิทธิจับฉลาก จำนวน ๖๘๖ คน และมีชื่อผูฟองคดีอยูในลำดับท่ี ๒๖๕ ทายประกาศไดกำหนดวาในวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๔๗ เวลา ๘ นาิกา ใหนกั เรียนมารายงานตัวและลงลายมือช่ือ ณ โรงอาหารและขน้ึ ไปจับฉลาก ณ หอประชุมของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ โดยมีการระบุดวยวา ถานักเรียนไมมารายงานตัวตามกำหนดวันและ เวลาดังกลาว โรงเรียนจะถือวานกั เรยี นสละสิทธิในการเขา เรียน รวมท้ังไดมีการติดประกาศเกีย่ วกับ ข้ันตอนในการรายงานตัวดังกลาวไวที่ปายประกาศดังกลาวบริเวณอาคาร ๔ ชั้นลาง แตไมปรากฏ ขอเท็จจริงวาไดมีการแจงเร่ืองการรายงานตัวดังกลาวใหผูฟองคดีทราบเปนลายลักษณอักษรหรือ โดยวาจา ซึ่งการที่ผูถูกฟองคดีทั้งสองมิไดมีการแจงใหผูฟองคดีทราบเปนลายลักษณอักษรหรือโดยวาจา วา จะตองมารายงานตัวกอนเวลากำหนดใหมีการจับฉลากหรอื มีการแจงใหทราบวาจะประกาศข้นั ตอน หรอื วิธีการรายงานตัวอีกทีหน่ึงในวันใดนั้น ยอมไมอาจถือไดวาผูฟองคดีไดรูหรือทราบเรื่องน้ีและตอง ผูกพันตามกฎเกณฑหรือเงื่อนไขดังกลาวแตอยางใด รวมทั้งไมอาจนำกฎเกณฑน้ันมาตัดสิทธิของผู ฟองคดีในการจับฉลากได แตอยางไรก็ตาม เมื่อพิจารณาประกาศคณะกรรมการรับนักเรียน กรงุ เทพมหานคร เรื่อง แนวปฏิบตั ิการรับนกั เรียนสังกดั สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑ เขต ๒ และเขต ๓ ปการศึกษา ๒๕๔๗ ลงวันที่ ๔ กุมภาพันธ ๒๕๔๗ ขอ ๖.๒.๓ ไดกำหนดใหมี การจบั ฉลากในวันท่ี ๗ มนี าคม ๒๕๔๗ เวลา ๙ นาิกา ณ โรงเรยี นทีป่ ระสงคจะเขาเรียน และประกาศ ของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ เร่ือง การรับสมัครนักเรียนเขาเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑ ปการศึกษา ๒๕๔๗ ลงวันท่ี ๑๗ กุมภาพันธ ๒๕๔๗ ขอ ๓.๑ ไดกำหนดเกี่ยวกับการจับฉลากไววา จะทำการจับฉลากในวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๔๗ เวลา ๙ นาิกา ณ หอประชุมของผูถูกฟองคดีที่ ๒ ดังน้ัน จึงถือไดวาผูฟองคดีไดรู หรือควรรูวาผูฟองคดีจะตองมารายงานตัวและทำการจับฉลากกอนเวลา ๙ นาิกา จึงมีปญหา ขอเท็จจริงที่จะตองพิจารณากอนวา ผูฟองคดีมารายงานตัวเพ่ือจับฉลากกอนเวลา ๙ นาิกา หรือไม โดยในกรณีดังกลาวผูถูกฟองคดีท้ังสองไดกลาวไวในคำใหการพรอมกับแสดงหลักฐานบันทึกขอความ ฉบับลงวนั ที่ ๗ มีนาคม ๒๕๔๗ ที่ระบุวา เมื่อเวลา ๙.๒๐ นาิกา ผูฟองคดีและผูปกครองของผูฟองคดี ไดอางวาไมเขาใจคำวาจับฉลาก คิดวามาดูเฉยๆ จึงมาชาและไมไดแตงเคร่ืองแบบมา ขอความ ของโรงเรียนในกำหนดการและตารางปฏิบัติงานกำกวมขอใชสิทธิจับฉลากดังกลาว ผูแทนผูปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษาซึ่งมาเปนสักขีพยานไดรวมกันพิจารณารับฟงคำช้ีแจงตอหนาคณะครู

๑๑๖ นกั เรียนจนถึงเวลา ๙.๔๕ นาิกา จึงมีมตมิ ิใหผูฟองคดีใชสิทธจิ บั สลาก เมื่อผฟู องคดีไมโตแ ยงคัดคาน ตามท่ีผูถกู ฟองคดีท้ังสองไดใ หไวในคำใหก ารดงั กลาว กรณีจึงถอื ไดวา ผูฟองคดีไดรบั ขอเท็จจรงิ วา ผูฟองคดีมาถึงสถานท่ีจับฉลากเวลา ๙.๒๐ นาิกา ผูฟองคดีจะมาโตแยงคัดคานขอเท็จจริงดังกลาว ในชั้นอุทธรณหาไดไม เมื่อขอเท็จจริงรับฟงไดวา ในวันท่ี ๗ มีนาคม ๒๕๔๗ ซึ่งเปนวันจับฉลาก ผูฟองคดีและผูปกครองมาถึงที่หอประชุมโรงเรียนท่ีมีการจับฉลากในเวลา ๙.๒๐ นาิกา ซึ่งเปน ระยะเวลาท่ีลวงเลยกำหนดเวลาการจับฉลากตามท่ีไดแจงไวแลว จึงถือไดวาผูฟองคดีมิไดปฏิบัติ เปนไปตามหลักเกณฑในการใหสิทธิจับฉลากดังกลาวมาแลวขางตน ทั้งนี้ เนื่องจากการกำหนดวา จะทำการจับฉลากในเวลา ๙ นาิกา ยอมเปนท่ีทราบกันโดยทั่วไปวาจะตองมีการดำเนินการ ในข้ันตอนการเตรียมการเพื่อใหมีการจับฉลากกอนเวลาดังกลาว เปนตนวา การนับจำนวน นักเรียนท่ีมาในวันนั้น การจัดลำดับเลขที่ในการจับฉลาก การจัดเตรียมฉลากใหเทากับจำนวน นักเรียนที่จะใชสิทธิและอื่นๆ การที่ผูฟองคดีมาถึงเวลา ๙.๒๐ นาิกา อันเปนเวลาท่ีลวงเลย กำหนดเวลาการจบั ฉลากแลว ถงึ แมวา การจับฉลากจะยังไมเร่ิมก็ตาม แตกไ็ ดมีการดำเนินการในเรือ่ ง ตางๆ เพื่อเตรียมการจับฉลากเปนที่เรียบรอยแลว ดังน้ัน หากมีการใหโอกาสผูฟองคดีใชสิทธิจับ ฉลากเพิ่มข้ึน ก็อาจสงผลกระทบตอการเตรียมการตางๆ ที่ไดจัดทำไวแลวได การที่ผูฟองคดีมาไม ทันกำหนดเวลาการจับฉลากดังกลาวยอมทำใหผูฟองคดีหมดสิทธิในการจับฉลากดังกลาว ดังน้ัน การที่ผูถูกฟองคดีทั้งสองตัดสิทธิผูฟองคดีในการจับฉลากจึงเปนการออกคำสั่งที่ชอบดวยกฎหมาย การกระทำของผูถูกฟองคดีทั้งสองดังกลาวจึงไมเปนการกระทำละเมิดตอผูฟองคดี กรณีจึงไมจำตอง พิจารณาในสวนของคาเสียหายตามฟองของผูฟองคดีอีกตอไป ที่ศาลปกครองช้ันตนพิพากษา ยกฟอง นัน้ ชอบแลว กรณีฟองขอใหมีคำสั่งใหขาราชการครูเขาพักอาศัยในที่พักของทางราชการ และชดใช คาเสียหาย เมื่อขาราชการครูไดใชสิทธิเบิกคาเชาบานและหนวยงานไดมีคำสั่งใหเขาพักอาศัย ในบานพักของราชการแลว จึงเปนกรณีท่ีความเดือดรอนเสียหายไดรับการแกไขเยียวยา การออกคำส่ังปฏิเสธการขอใชสิทธิเขาพักอาศัยในบานพักของทางราชการ จึงไมเปนการ กระทำละเมดิ คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อ.๑๕๑/๒๕๖๓ เห็นวา เมื่อผูฟองคดีไดมีหนังสือถึง ผูถ ูกฟองคดีที่ ๑ เพื่อขอเขาอยอู าศัยบานพักครู จงึ เปนกรณีที่ผูฟองคดีมีความประสงคท่ีจะใชสทิ ธิ เขาพักอาศัยในบานพักท่ีทางราชการจัดใหโดยไมขอเบิกคาเชาบานขาราชการ อันเปนหนาท่ีของ ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ซ่ึงไดรับมอบอำนาจจากเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ตอง ดำเนินการจัดใหผูฟองคดีไดเขาพักอาศัยในที่พักของทางราชการตามท่ีผูฟองคดีรองขอ ตามหลักเกณฑและวิธีปฏิบัติในการจัดขาราชการเขาพักอาศัยในท่ีพักของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๑ เม่ือปรากฏวา ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไดพิจารณาใหนาง ร. เขาอยูบานพักครูกอนแลว บานพัก ครูที่ผูฟองคดีขอเขาพักอาศัยดังกลาวจึงไมวาง จึงเห็นวา เม่ือผูฟองคดีซึ่งเปนผูมีสิทธิเบิกคาเชา บานขาราชการไดขอใชสิทธิเขาพักอาศัยในบานพักครูที่ไมวางดังกลาว ผูถูกฟองคดีที่ ๑ จะตอง

๑๑๗ ดำเนินการจัดใหนาง ร. ซึ่งเปนผูไมมีสิทธิเบิกคาเชาบานออกจากบานพักครูดังกลาว และจัดให ผูฟองคดีเขาพักอาศัย ตามหลักเกณฑและวิธีปฏิบัติในการจัดขาราชการเขาพักอาศัยในท่ีพักของ ทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๑ ขอ ๓ (๖) อยางไรก็ดี เม่ือผูฟองคดีไดใชสิทธิเบิกคาเชาบานราชการ ต า ม พ .ร .ฎ . ค า เช า บ า น ข า ร า ช ก า ร (ฉ บั บ ที่ ๖ ) พ .ศ . ๒ ๕ ๔ ๑ ป ร ะ ก อ บ กั บ ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไดมีคำสั่งใหผูฟองคดีเขาพักอาศัยในบานพักครูหลังท่ี ๑ และผูฟองคดีไดเขา อาศัยในบานพักครูหลังดังกลาวแลว ความเดือดรอนเสียหายของผูฟองคดีไดรับการแกไขเยียวยา ผูฟองคดีจึงไมไดรับความเสียหาย อันจะเปนการกระทำละเมิดตอผูฟองคดีตามมาตรา ๔๒๐ แหง ประมวลกฎหมายแพงและพาณชิ ย การกระทำของผถู ูกฟองคดีท่ี ๑ จงึ ไมเ ปนการกระทำละเมดิ ตอ ผูฟองคดี ดังน้ัน การที่ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ มีคำส่ังปฏิเสธการขอใชสิทธิเขาพักอาศัยในบานพักของ ทางราชการของผูฟ องคดี จงึ ไมเปน การกระทำละเมิดตอ ผฟู องคดี ผูถูกฟองคดีที่ ๒ (สพฐ.) ซง่ึ เปน หนวยงานตนสังกัดของผูถูกฟองคดีที่ ๑ จึงไมตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนความเสียหายอัน เกิดจากผลแหงการละเมิดแตอ ยางใด ที่ศาลปกครองช้ันตนพิพากษาใหผูถกู ฟองคดีท่ี ๒ ชดใชคา สนิ ไหมทดแทนความเสียหายใหแ กผฟู องคดเี ปนเงิน ๘,๕๘๐ บาท ทั้งนี้ ใหดำเนินการใหแลวเสร็จ ภายใน ๖๐ วัน นับแตวันที่คดีถึงท่ีสุด และคืนคาธรรมเนียมศาลใหแกผูฟองคดีตามสวนแหงการ ชนะคดี คำขออ่นื นอกจากนี้ใหย กนน้ั ศาลปกครองสงู สุดไมเ หน็ พอ งดวย พพิ ากษากลับเปน ยกฟอ ง คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อ.๑๐๗๕/๒๕๖๑ กรณีฟองขอใหชดใชคาเสียหายจาก การไมตอสัญญาจาง เม่ือผูอำนวยการโรงเรยี นทำสัญญาจางฉบับใหมในขณะที่ยังไมทราบผล การประเมินการปฏิบัติงานของผูฟองคดี ประกอบกับผูฟองคดีไมผานการประเมินดังกลาว จึงถือวาสัญญาจาง ฉบับใหมไดทำขึ้นโดยไมเปนไปตามขอกำหนดในสัญญา จึงไมผูกพัน คูสญั ญาและการทีผ่ อู ำนวยการโรงเรียนไดมีคำสัง่ ยกเลิกสัญญาจางฉบบั ดงั กลา ว จงึ ชอบแลว เหน็ วา แมนาย ส. เปนผรู ับมอบอำนาจจากผถู ูกฟองคดีที่ ๑ (สพฐ. ที่ ๑) ในการทำสญั ญาจาง ผูฟองคดี แตสัญญาดังกลาวจัดทำข้ึนในขณะท่ีนาย ส. ยังไมทราบผลการประเมินรายผูฟองคดีจาก กรรมการอีก ๒ คน ตามที่สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาฯ เคยมีหนังสือแจงกรอบการจัดสรร งบประมาณป พ.ศ. ๒๕๕๘ รายการคาตอบแทนจางบุคลากรปฏิบัติราชการใหราชการวา ขอให ลูกจางช่ัวคราวทุกโครงการชะลอการสงสัญญาจางจนกวาจะไดรับการประเมินและไดรับหนังสือ จากกลุมบริหารงานบุคคล อันเปนความสำคัญผิดของนาย ส. เอง ซ่ึงกระทำไปโดยเลินเลอ และ เม่ือพิเคราะหสัญญาจางลงวันท่ี ๓ กุมภาพันธ ๒๕๕๗ ระหวา งโรงเรียนบานน้ำทองนอย กับผูฟอง คดีแลวเห็นวา เปนการกำหนดหลักเกณฑในการคัดเลือกสรรหาบุคคลท่ีมีความรูความสามารถและมี คณุ ธรรมใหเ หมาะสมกบั ตำแหนง ครผู ูสอน เพ่อื ใหบุคคลดังกลาวมารว มจัดทำบรกิ ารสาธารณะ กลา วคือ เปนครูผูสอนหนังสือใหกับนักเรียนและปฏิบัติหนาที่ตามท่ีผูบังคับบัญชามอบหมาย โดยแบบ ประเมินผลการปฏิบัติงานของครูอัตราจางช่ัวคราว (งบครูขาดแคลนข้ันวิกฤต) โรงเรียนบานน้ำ ทองนอย ของผูฟ องคดที ี่ใชในการประเมิน มี ๒ หนา แบงเปน ๒ สวน สวนที่หน่ึง ประเมินความรูที่ ใชในการปฏิบัติงานในหนาท่ี ความสามารถในปฏิบัติงานและความประพฤติ โดยใหคะแนนตามรายการ

๑๑๘ ประเมินเปนรายขอ สวนท่ีสอง ผลการประเมินโดยผูประเมินตองใหความเห็นอยางหนึ่งอยางใดวา เห็นควรใหจางตอไป หรือเห็นควรใหจางตอไปโดยใหปรับปรุงแกไขในเร่ืองใดบาง หรือเห็นควร เลิกจางพรอมระบุเหตุผลการเลิกจาง การท่ีจะถือวาผูรับการประเมินผานการประเมินหรือไม จะตอง ประเมินโดยครบถวนทั้งสองสวน อีกทั้ง จะตองประเมินใหแลวเสร็จกอนที่จะมีการพิจารณาวาสมควร ตอสัญญาจางใหแกผูประเมินหรือไม ตามเงื่อนไขของสัญญาดังกลาว ซึ่งผูฟองคดีก็ไดรับทราบขอสัญญา ดังกลาวแลว เมื่อปรากฏวา ผูฟองคดีไดผานการทดลองงานแลว จึงเปนครูอัตราจางชั่วคราวของ โรงเรียนบานน้ำทองนอย ซึ่งผูฟองคดีจะตองรับการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแบบประเมิน ของโรงเรียนบานน้ำทองนอยทุกหน่ึงเดือนจนถึงสิ้นสุดสัญญาจาง ท้ังนี้ ถาผูฟองคดีผานการ ประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ านแลว จะไดร ับการตอ สญั ญาจางเปนครั้งๆ ไป คร้ังละหน่งึ ปการศึกษา แตไ มเ กิน สองปตอเนื่อง ผูอำนวยการโรงเรียนบานน้ำทองนอยจึงไดมีคำสั่งแตงต้ังคณะกรรมการประเมินผล การปฏิบัติงาน (รายเดือน) ของลูกจางช่ัวคราว ซึ่งคณะกรรมการไดประเมินผลการปฏิบตั ิงานของผูฟองคดี ต้ังแตวันที่ ๓ กุมภาพันธ ๒๕๕๗ ถึงวันท่ี ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๗ โดยใหผูฟองคดีผานการประเมิน รอยละ ๖๐ แตในการประเมินผลการปฏิบัตงิ านของเดือนกนั ยายน ๒๕๕๗ ปรากฏวา ในวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๗ คณะกรรมการไดประเมินผลปฏิบัติงานของผูฟองคดีในแบบประเมินผลการ ปฏิบัติงาน สวนที่หนึ่ง ซ่ึงนาย ส. ประธานกรรมการ ไดประเมินผลการปฏิบัติงานของผูฟองคดีโดยให คะแนนรอยละ ๖๐ สวนนาย บ. และสิบเอก บ. ไดประเมินผลการปฏบิ ัติงานของผูฟ องคดี โดยให คะแนนรอยละ ๕๗ และรอยละ ๕๘ ตามลำดับ เมื่อรวมคะแนนท้ังหมดไมเกินรอยละ ๖๐ ตาม เกณฑที่กำหนดไวในสญั ญา และคณะกรรมการทั้งสามคนไดประเมนิ ในสวนทีส่ อง โดยเหน็ ควรเลิก จางเน่ืองจากผลการปฏิบัติงานไมผานการประเมิน การที่นาย ส. ประธานกรรมการและในฐานะ ผูอำนวยการโรงเรียนบานน้ำทองนอย ไดลงนามในสัญญาลงวันท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ เพ่ือวาจาง ผูฟองคดีตอจากสัญญาเดิม จึงเปนการทำสัญญาจางผูฟองคดีที่ไมผานการประเมินผล การปฏิบัติงาน ถือวาสัญญาจางดังกลาวไดทำขึ้นโดยไมเปนไปตามขอกำหนดในสัญญาลงวันที่ ๓ กุมภาพันธ ๒๕๕๗ ฉะนั้น สัญญาดังกลาวจึงไมผูกพันผูถูกฟองคดีท่ี ๑ และนาย ส. ผูกระทำการลง นามในสัญญาแทนผูถูกฟองคดีที่ ๑ ซ่ึงไดบอกเลิกสัญญาท่ีเกิดขึ้นโดยไมตองตามเง่ือนไข และหลักเกณฑที่กำหนดในสัญญาลงวันที่ ๓ กุมภาพันธ ๒๕๕๗ ตามขอ ๑๐.๔.๕ กอนทำสัญญา จางฉบับท่ีพิพาท อันเกิดจากความผิดพลาดในการตรวจสอบผลการประเมินขางตนแลว เมื่อการ บอกเลกิ สัญญาจางท่ีพิพาทเปนเอกสิทธ์ิของหนวยงานทางปกครองแตฝายเดียวโดยมีเหตุที่ไมอาจ ทำสัญญาไดดังกลาว ดังนั้น การที่ผูอำนวยการโรงเรียนบานน้ำทองนอยมีคำส่ังลงวันท่ี ๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ยกเลิกสญั ญาลงวันท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๗ จงึ ชอบแลว ทศ่ี าลปกครองช้นั ตนพพิ ากษา ใหผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ชดใชคาเสียหายจากการยกเลิกสัญญาลงวันท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ เปนเงิน ๑๘๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบ้ียในอตั รารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินดงั กลาว นบั แตวนั ถดั จากวัน ฟอ งคดีเปน ตนไปจนกวา จะชำระเสรจ็ แกผ ูฟอ งคดี ท้งั นี้ ใหผ ถู ูกฟองคดที ี่ ๑ ชำระคาเสยี หายจำนวน ดังกลาวแกผูฟองคดีภายใน ๖๐ วัน นับแตวันที่คดีถึงที่สุด ยกฟองผูถูกฟองคดีที่ ๒ (ผูอำนวยการ

๑๑๙ สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต ๓) และคืนคาธรรมเนียมศาลท้ังหมด ใหแกผูฟองคดี นั้น ศาลปกครองสูงสุดไมเห็นพองดวย พิ พากษากลับคำพิพากษาของ ศาลปกครองชนั้ ตน เปน ใหย กฟอง และคนื คาธรรมเนียมศาลชน้ั อทุ ธรณใ หแ กผูถูกฟอ งคดีที่ ๑ คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อบ.๒๑๑/๒๕๖๓ ฟองขอใหเพิกถอนคำสั่งใหออกจาก ราชการครูและชดใชคาสินไหมทดแทน การท่ีผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไดมีคำสั่งใหผูฟองคดีออกจากราชการ เน่ืองจากเปนผูบกพรองในศีลธรรมอันดีสำหรับการเปนผูประกอบวิชาชีพครูและบุคลากรทางการ ศึกษา และเปนผูเคยกระทำการทุจริตในการสอบเขารับราชการ น้ัน เปนการใชอำนาจตามมาตรา ๔๙ ประกอบมาตรา ๓๐ (๗) และ (๑๓) แหง พ.ร.บ. ระเบียบขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ คำสงั่ ดังกลาวจงึ เปนคำส่ังทางปกครองตามมาตรา ๕ แหง พ.ร.บ. วิธปี ฏบิ ัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ แตการที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑ วินิจฉัยโดยนำเอาผลการวิเคราะหขอมูลเชิงสถิติเบ้ืองตน และการคาดคะเนแตเพียงอยางเดียว โดยมิไดค นหาขอเท็จจริงในเชิงประจักษและหรือพยานแวดลอม กรณีท่ีมีการกลาวหาผูฟองคดีมาประกอบการพิจารณาใหเปนที่ยุติ และทำใหเชื่อไดวาผูฟองคดี เปนผูมีพฤติกรรมตามท่ีถูกกลาวหาจริงมาออกคำสั่งใหผูฟองคดีออกจากราชการ จึงเปนการใช ดุลพินิจวินิจฉัยขอเท็จจริงเพื่อออกคำสั่งใหผูฟองคดีออกจากราชการโดยไมชอบดวยกฎหมาย ดังนั้น คำส่ังใหผูฟองคดีออกจากราชการจึงไมชอบดวยกฎหมาย และเปนการกระทำละเมิด ตอผูฟองคดี ผูถูกฟองคดีท่ี ๔ ในฐานะตนสังกัดของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ จึงตองชดใชคาสินไหม ทดแทนใหแกผฟู อ งคดี เห็นวา การที่ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไดมีคำสั่งลงวันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๖ ใหผูฟองคดีออกจากราชการ เน่ืองจากเปนผูบกพรองในศีลธรรมอันดีสำหรับการเปนผูประกอบวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา และเปนผูเคยกระทำการทุจริตในการสอบเขารับราชการ น้ัน เปนกรณีที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ใชอำนาจ ตามมาตรา ๔๙ ประกอบมาตรา ๓๐ (๗) และ (๑๓) แหง พ.ร.บ. ระเบียบขาราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ ออกคำส่ังใหผูฟองคดีพนจากตำแหนงหนาท่ีทางราชการ อันเปนการกระทบตอสิทธิและหนาที่ของผูฟองคดี คำสั่งดังกลาวจึงเปนคำสั่งทางปกครองตาม มาตรา ๕ แหง พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ และโดยผลของคำสั่งดังกลาว ทำใหผูฟองคดีตองพนจากตำแหนงครูผูชวย โรงเรียนชุมชน ส. สังกัด สพป.บึงกาฬ จึงเปนกรณี เขาขอยกเวนท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไมจำตองใหโอกาสผูฟองคดีไดทราบขอเท็จจริงและโตแยงแสดง พยานหลักฐานของตนกอนออกคำส่ังทางปกครองตามมาตรา ๓๐ วรรคสอง (๖) แหงพระราชบัญญัติ ดังกลาว ประกอบกับขอ (๑) ของกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๔๐) ออกตามความใน พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ คำส่ังดังกลาวจึงไมอยูภายใตบังคับของมาตรา ๓๐ วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติดังกลาว ผูถูกฟองคดีที่ ๑ จึงไมจำตองจัดใหผูฟองคดีไดทราบ ขอเท็จจริงและมีโอกาสโตแยงแสดงพยานหลักฐานกอนออกคำส่ังใหผูฟองคดีออกจากราชการ แตอยางใด อยา งไรก็ตาม การท่ีผูถกู ฟองคดที ่ี ๑ ใชด ลุ พินจิ วนิ จิ ฉยั วา ผฟู องคดมี ลี ักษณะเปนผูบกพรอ ง ในศีลธรรมอันดีสำหรับการเปนผูประกอบวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา และเปนผูกระทำ

๑๒๐ การทุจริตในการสอบเขารับราชการเปนครูผูชวย ซ่ึงมีการสอบคัดเลือกเมื่อวันท่ี ๑๓ มกราคม ๒๕๕๖ ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดวินิจฉัยโดยอางอิงจากพยานหลักฐานที่ปรากฏ คือ รายงานผลการวิเคราะหขอมูล คะแนนการสอบของผูเขาสอบคัดเลือกครูผูชวย (ว.๑๒) ของ ดร. ช. และรายงานผลการวิเคราะห ขอมูลเบ้ืองตนของอนุกรรมการฝายวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับผลการสอบของผูเขาสอบคัดเลือก ประจำคณะกรรมการประจำศูนยใหคำปรึกษาและติดตามผลการคัดเลือกครูผูชวย และผลการสอบ ขอเท็จจริงของคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงตามคำส่ังของกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ ๒๕๕๖ และคำสั่งลงวันท่ี ๒๑ กุมภาพันธ ๒๕๕๖ ซ่ึงเมื่อพิจารณารายงานผลการวิเคราะหขอมูลคะแนน การสอบของผูเขาสอบคัดเลือกครูผูชวย (ว.๑๒) ของ ดร. ช. และรายงานผลการวิเคราะหขอมูลเบ้ืองตน ของอนุกรรมการฝายวิเคราะหขอมูลเก่ียวกับผลการสอบของผูเขาสอบคัดเลือกประจำคณะกรรมการ ประจำศูนยใหคำปรึกษาและติดตามผลการคัดเลือกครูผูชวย ประกอบกับผลการสอบขอเท็จจริง ของคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงตามคำสั่งของกระทรวงศึกษาธิการ จึงนาเชื่อตามผลการวิเคราะหขอมูล ดงั กลาววามีการกระทำทุจริตในการสอบเกิดข้ึนจริง และมีเหตุอันควรสงสัยวาผูฟองคดีอาจเปนผูหนึ่ง ท่ไี ดกระทำการทุจริตในการสอบคร้ังนี้ดวย จากพยานหลกั ฐานที่ผูถูกฟองคดที ่ี ๑ นำมาอางในการ ออกคำส่ังใหผูฟองคดีออกจากราชการดังกลาวขางตน เห็นไดวา เปนเพียงการวิเคราะหขอมูลเบื้องตน ในเชิงสถิติเกี่ยวกบั ผลการสอบคัดเลอื กครูผูชว ยเทานั้น มิไดเปนขอเทจ็ จริงที่รับฟงไดเปนท่ียตุ ิหรือ เปนขอมูลเชิงประจักษที่จะใหรับฟงไดวาผูฟองคดีเปนบุคคลผูมีพฤติกรรมเปนผูบกพรองในศีลธรรมอันดี สำหรับการเปนผูประกอบวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษาหรือเปนผูกระทำการทุจริตในการสอบ เขารับราชการในตำแหนงครูผูชวยครั้งดังกลาวแตอยางใด และในรายงานดังกลาวก็สรุปไดแคเพียงวา มเี หตอุ นั ควรสงสัยวา ผฟู อ งคดอี าจจะเปนผูหนงึ่ ทีไ่ ดก ระทำการทจุ รติ ในการสอบคร้ังนน้ั ดวยเทา น้ัน ดงั นั้น การทีผ่ ูถูกฟองคดที ่ี ๑ วนิ ิจฉยั โดยนำเอาผลการวเิ คราะหข อ มูลเชงิ สถิตเิ บ้อื งตน และการคาดคะเน ดังกลาวแตเพียงอยางเดียว โดยมิไดคนหาขอเท็จจริงในเชิงประจักษและหรือพยานแวดลอม กรณีที่มีการกลาวหาผูฟองคดีมาประกอบการพิจารณาใหเปนที่ยุติ และทำใหเชื่อไดวาผูฟองคดี เปนผูมีพฤติกรรมตามที่ถูกกลาวหาจริงมาออกคำสั่งใหผูฟองคดีออกจากราชการ จึงเปนการใช ดุลพินิจวินิจฉัยขอเท็จจริงเพ่ือออกคำส่ังใหผูฟองคดีออกจากราชการโดยไมชอบดวยกฎหมาย คำสั่งลงวันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๖ ท่ีส่ังใหผูฟองคดีออกจากราชการ จึงเปนคำส่ังท่ีไมชอบ ดวยกฎหมาย เมื่อผูถูกฟองคดีที่ ๑ กระทำการออกคำสั่งทางปกครองโดยไมชอบดวยกฎหมาย และทำใหเสียหายตอสิทธิของผูฟองคดีท่ีตองถูกใหออกจากราชการ จึงเปนการกระทำละเมิดตอ ผูฟองคดีตามมาตรา ๔๒๐ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ผูถูกฟองคดีท่ี ๔ ซ่ึงเปนสวนราชการ ตนสังกัดของผูถูกฟองคดีที่ ๑ และเปนหนวยงานของรัฐจึงตองรับผิดตอผูฟองคดีในผลแหงละเมิด ที่ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไดกระทำในการออกคำสั่งดังกลาว ตามมาตรา ๕ แหง พ.ร.บ. ความรับผิด ทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ สวนประเด็นวาผูถูกฟองคดีท่ี ๔ จะตองชดใชคาสินไหม ทดแทนใหผูฟองคดีเพียงใด น้ัน เห็นวา ผูถูกฟองคดีท่ี ๔ มิไดอุทธรณเร่ืองจำนวนเงินคาสินไหม ทดแทนที่ศาลปกครองชั้นตนมีคำพิพากษาใหผูถูกฟองคดีที่ ๔ ชำระแกผูฟองคดี และผูฟองคดี

๑๒๑ ก็มิไดอุทธรณคำพิพากษาของศาลปกครองช้ันตนในคดีนี้ ดังน้ัน คำพิพากษาของศาลปกครอง ช้ันตนในสวนของจำนวนเงินคาสินไหมทดแทนท่ีกำหนดใหผูถูกฟองคดีที่ ๔ ชำระแกผูฟองคดี จึงเปนอันถึงท่ีสุดแลว การท่ีศาลปกครองชั้นตนมีคำพิพากษาใหเพิกถอนคำส่ังของผูถูกฟองคดี ที่ ๑ ตามคำสั่งลงวันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๖ ท่ีใหผูฟองคดีออกจากราชการครู โดยใหมีผลตั้งแต วันท่มี ีคำส่ังเปนตนไป ใหผถู ูกฟองคดีที่ ๔ ชดใชคาสินไหมทดแทนในสวนของเงินเพิ่มการครองชีพ ชั่วคราวตั้งแตวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๖ จนถึงวันย่ืนฟองคดีนี้ ดอกเบี้ยในระหวางผิดนัดเปนเงิน ๑,๐๗๘.๗๗ บาท และใหชำระดอกเบ้ียในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของเงินเดือนและเงินเพ่ิม การครองชีพชั่วคราวนับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนถึงวันที่ศาลมีคำพิพากษาใหแกผูฟองคดี ภายใน ๔๕ วัน นับแตวันท่ีคดีถึงท่ีสุด คืนคาธรรมเนียมศาลในสวนของเงินเดือน และ คาธรรมเนียมศาลตามสวนของการชนะคดีใหแกผูฟองคดี คำขออื่นนอกจากนี้ใหยก และยกฟอง ผูถูกฟองคดที ่ี ๒ และที่ ๓ นั้น ศาลปกครองสูงสุดเหน็ พองดวย พพิ ากษายืน กรณีฟองขอใหมอบหมายงานในหนาที่แกขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และใหชำระคาเสียหายจากกรณีดังกลาว เมื่อผูอำนวยการสถานศึกษาไมปฏิบัติใหเปนไปตามมติ ของ อ.ก.ค.ศ. จึงเปนการละเลยตอหนาท่ีตามที่กฎหมายกำหนดใหปฏิบัติ อันเปนการกระทำ ละเมิดและตองชำระคาเสยี หายจากกรณดี งั กลาว คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๑๒๐/๒๕๖๒ เห็นวา เมื่อผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ในฐานะ ผบู ังคบั บัญชาหัวหนา หนวยงานและเปนผูบงั คบั บญั ชาของผูฟอ งคดที ั้งหา และมีอำนาจและหนาท่ี ควบคุมดูแลการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา ดังน้ัน ผูถูกฟองคดีที่ ๑ จึงชอบที่จะมอบหมาย งา น ที่ เกี่ ย ว เน่ื อ งกั บ กิ จ ก ร ร ม ก า ร เรี ย น ก า ร ส อ น ให ผู ฟ อ ง ค ดี ท้ั ง ห า ผู ใต บั งคั บ บั ญ ช า ป ฏิ บั ติ นอกเหนือจากงานสอนในรายวิชาที่ตอ งรับผิดชอบตามตำแหนงหนาท่ีตามขอ บงั คับคุรุสภา วาดวย มาตรฐานวชิ าชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๔๘ ได โดยเปน การใชอำนาจบังคับบัญชา ของหัวหนาหนวยงาน เพ่ือใหก ารดำเนินการของสถานศึกษาในภาพรวมเกิดผลสมั ฤทธ์ิตามภารกิจ หนาที่ท่ีเปนประโยชนตอผูเรียนเปนหลักตามท่ีกฎหมายกำหนด ซึ่งในคดีนี้ ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไดมอบหมายงานใหผูฟองคดีทั้งหาดำเนินการ ถึงแมจะไมใชงานดานการเรียนการสอนโดยตรง แตก็เปนงานท่ีสถานศึกษาตองดำเนินการและเปนประโยชนตอผูเรียนท้ังสิ้น โดยผูฟองคดีทั้งหา ไมอาจอางวามเี งื่อนไขหรือขอจำกัดอ่ืนท่ีทำใหไมสามารถดำเนนิ การตามคำสั่งของผถู ูกฟองคดีท่ี ๑ ได และเม่ือผูฟองคดีทั้งหา มิไดช้ีแจงปญหาขอขัดของในการปฏิบัติงานใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ ทราบ นอกจากใหเหตุผลวาไมมีเวลาปฏิบัติงานได เนื่องจากตองสอนหนังสือใหแกนักเรียน ในขณะที่ ขาราชการครูคนอ่ืนๆ สามารถปฏิบัติงานไดครบถวนตามคำสั่งของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ กรณีถือไดวา ผูฟองคดีท้ังหาไมใหความรวมมือในงานของสถานศึกษา ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ยอมใชอำนาจทั่วไป ของผูบังคับบัญชากำหนดมาตรการทางการบริหารตางๆ ท่ีจะใชบังคับแกผูฟองคดีทั้งหาได ซึ่ง รวมถึงการมอบหมายงานดานอนื่ ๆ ท่ีไมใ ชงานดา นการเรียนการสอนโดยตรงเพือ่ ใหผูฟองคดีท้ังหา ไปดำเนินการตามภาระหนาที่ที่ไดรับมอบหมายใหแลวเสร็จ นอกจากน้ี ถึงแมจะไดมีการแจงให

๑๒๒ ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ดำเนนิ การตามมติ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๖ ท่ีใหผ ูถ ูกฟอ ง คดีท่ี ๑ มอบหมายงานในหนาท่ีหลักใหแกผูฟองคดีทั้งหาจำนวนสามครั้ง แตเมื่อขอเท็จจริงรับฟง ไดวา มติ อ.ก.ค.ศ.ฯ ทง้ั สามครั้ง เกิดขนึ้ จากการที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไมเห็นพองดว ยกบั มติ อ.ก.ค.ศ. ฯ และมีหนังสือรองทุกขตอประธาน อ.ก.ค.ศ.ฯ เชนกัน จนกระท่ัง อ.ก.ค.ศ.ฯ มีมติในการประชุม เม่ือวันท่ี ๒๗ กันยายน ๒๕๕๔ ใหผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ปฏิบัติตามมติ อ.ก.ค.ศ.ฯ ซ่ึงผูถูกฟองคดีที่ ๑ ก็ไดมีคำส่ังลงวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ มอบหมายงานในหนาที่ดานการเรียนการสอนใหแกผูฟองคดีที่ ๒ ที่ ๓ ที่ ๔ และท่ี ๕ เวนแตผูฟองคดีท่ี ๑ ซ่ึงไดยายไปชวยราชการที่โรงเรียนบางน้ำเปร้ียววิทยา ต้ังแตเดือนกันยายน ๒๕๕๔ แลว กรณีจึงเห็นไดวา การที่ผูถ กู ฟอ งคดีท่ี ๑ ไมปฏิบัติใหเปนไปตามมติ ของ อ.ก.ค.ศ.ฯ ตั้งแตวันที่ไดรับแจงมติ อ.ก.ค.ศ.ฯ ดังกลาว ถึงแมจะเปนการละเลยตอหนาที่ ในการมอบหมายงานในหนาท่ีดานการเรียนการสอนดังไดวินิจฉัยมาแลวขางตนก็ตาม ก็ยังไมเพียงพอ ท่ีจะถือไดวา เกิดขึ้นจากการจงใจหรือการประมาทเลินเลออยางรายแรงท่ีจะไมปฏิบัติใหเปนไป ตามกฎหมายและตามมติของ อ.ก.ค.ศ.ฯ แตการท่ี อ.ก.ค.ศ.ฯ ผูมีอำนาจและหนาท่ีพิจารณา เก่ียวกับเร่ืองการรองทุกขของผูฟองคดีท้ังหาตามมาตรา ๒๑ มาตรา ๒๓ และมาตรา ๑๒๓ แหง พ.ร.บ. ระเบียบขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ ประกอบกับขอ ๑๔ ของกฎ ก.ค.ศ. วาดวยการรองทุกขและการพิจารณารองทุกข พ.ศ. ๒๕๕๑ ไดมีมติใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ มอบหมายงานในหนาท่ีหลักเกี่ยวกับการเรียนการสอนใหแกผูฟองคดีทั้งหาแลว โดยมติดังกลาว เปนที่สุดตามมาตรา ๑๒๓ วรรคสาม แหงพระราชบัญญัติดังกลาว ประกอบกับขอ ๑๕ ของกฎ ก.ค.ศ. ดังกลาว เห็นไดวา ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ มีหนาที่ตองมีคำสั่งหรือปฏิบัติไปตามมติ ของ อ.ก.ค.ศ. ดังกลาวตามมาตรา ๑๒๔ วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติเดียวกัน เมื่อปรากฏวา ภายหลังจากที่ อ.ก.ค.ศ.ฯ มีมติและไดแจงใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ ดำเนินการตามมติดังกลาว ถึงสามครั้ง แตผูถูกฟองคดีท่ี ๑ มิไดดำเนินการแตอยางใด กลับปลอยใหเวลาลวงเลย จนปดการเรียนการสอน ในปการศึกษา ๒๕๕๔ จึงยังคงตองถือวาเปนกรณีท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไมปฏิบัติใหเปนไปตามมติของ อ.ก.ค.ศ.ฯ อันเปนการละเลยตอหนาที่ตามท่ีกฎหมายกำหนด ใหตองปฏบิ ัติ กรณีจึงเปนตอการกระทำละเมิดและทำใหผฟู องคดีท้ังหาเสยี หาย ตามมาตรา ๔๒๐ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย สำหรับคาเสียหายน้ัน คดนี ี้ศาลปกครองชัน้ ตนพิพากษาให ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูฟองคดีท้ังหาเฉพาะคาเสียหายจากการพิจารณา เล่ือนข้ันเงินเดือนคร้ังที่ ๒ สวนคาเสียโอกาสในการเล่ือนตำแหนง และคาเสียหายตอเกียรติยศ และชื่อเสียง ศาลปกครองชั้นตนไมกำหนดใหและผูฟองคดีท้ังหาไมอุทธรณ ดังนั้น จึงเปนอันยุติ ตามที่ศาลปกครองชั้นตนวินิจฉัย ซึ่งการพิจารณาความรับผิดของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ตองพิจารณา ไปตามฐานของความเสียหายอันเกิดจากมูลละเมิดซ่ึงศาลจะพิจารณากำหนดคาเสียหายใหตามควรแก พฤติการณและความรายแรงแหงละเมิดตามมาตรา ๔๓๘ วรรคหนึ่ง แหงประมวลกฎหมายดังกลาว ซ่ึงเมื่อศาลไดพิจารณาการเล่ือนขั้นเงินเดือนของผูฟองคดีท้ังหาตามแบบสรุปการประเมิน ประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลการปฏบิ ัติงานของขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ครงั้ ท่ี ๒

๑๒๓ (๑ เมษายน ๒๕๕๔ - ๓๐ กันยายน ๒๕๕๔) ซึ่งมีสองสวนแลว ปรากฏขอเท็จจริงวา ผูฟองคดีท้ังหา ไมไดรับการประเมินผลการปฏิบัติงานในสวนที่เก่ียวเน่ืองกับการปฏิบัติหนาที่ดานการเรียนการสอน ซึ่งมีคะแนนเต็มจำนวน ๖๐๐ คะแนน เน่ืองจากในชวงเวลาดังกลาว ผูฟองคดีท้ังหามิไดรับมอบหมาย ใหทำหนาที่การเรียนการสอนมีเพียงการประเมินผูฟองคดีท้ังหาเฉพาะดานความประพฤติ การรักษาวนิ ัย คุณธรรม จรรยาบรรณ ซึ่งมีคะแนนรวม ๔๐๐ คะแนน เทาน้ัน ดังนั้น การที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไมม อบหมายงานหนาท่ดี า นการเรียนการสอนซงึ่ เปน งานหลกั ใหแกผ ูฟองคดีท้งั หาในปก ารศึกษา ๒๕๕๔ (ภาคเรียนท่ี ๑) จึงยอมมีผลโดยตรงตอการพิจารณาเล่ือนขั้นเงินเดือนของผูฟองคดีทั้งหา โดยไดรับการพจิ ารณาเลือ่ นขั้นเงินเดอื นในปง บประมาณ ๒๕๕๔ (คร้ังท่ี ๒) ตามคำสัง่ ลงวันท่ี ๑๔ ตลุ าคม ๒๕๕๔ ๐.๕ ข้ัน เน่ืองมาจากผูฟ องคดีท่ี ๑ ไดรับการประเมินรวม ๓๒๐ คะแนน ผฟู องคดที ี่ ๒ ไดรับการประเมินรวม ๒๘๐ คะแนน ผฟู องคดที ่ี ๓ ไดรบั การประเมินรวม ๓๕๖ คะแนน ผูฟองคดีท่ี ๔ ไดรับการประเมินรวม ๓๐๐ คะแนน และผูฟองคดีที่ ๕ ไดรับการประเมินรวม ๒๔๐ คะแนน กรณีจึงเห็นไดวา การที่ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไมมอบหมายงานใหแกผูฟองคดีทั้งหา เปนเหตุโดยตรง ที่ทำใหผูฟองคดีท้ังหาสูญเสียโอกาสอยางแนนอนในการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน อยางนอย ๐.๕ ขั้น การไมมอบหมายงานดังกลาวจงึ เปนการกระทำละเมิดแกผ ฟู อ งคดที ัง้ หาตามมาตรา ๔๒๐ แหงประมวลกฎหมายเดียวกัน ดังน้ัน การไมไดเลื่อนข้ันเงินเดือน จึงมีผลแนนอนตอสิทธิ ในรอบการพิจารณาเลื่อนข้ันเงินเดือน รอบหกเดือน จึงกำหนดใหไดรับคาเสียหายท่ีไมไดรับ การเลื่อนข้ันเงินเดือน ๐.๕ ข้ัน ของผูฟองคดีแตละราย คนละหกเดือน เม่ือขอเท็จจริงปรากฏวา ผูฟองคดีที่ ๑ สูญเสียสิทธิท่ีจะไดรับการเล่ือนขั้นเงินเดือน ๐.๕ ข้ัน (๖๒๐ บาท) ผูฟองคดีที่ ๑ จึงไดรับความเสียหายเปนเงิน ๓,๗๒๐ บาท (๖๒๐ บาท x ๖ เดือน) ผูฟองคดีท่ี ๒ สูญเสียสิทธิ ท่จี ะไดรบั การเล่ือนขนั้ เงินเดือน ๐.๕ ขัน้ (๕๙๐ บาท) ผูฟองคดที ่ี ๒ จึงไดรบั ความเสยี หายเปนเงิน ๓,๕๔๐ บาท (๕๙๐ บาท x ๖ เดือน) ผูฟองคดีที่ ๓ สูญเสียสิทธิที่จะไดรับการเลื่อนข้ันเงินเดือน ๐.๕ ขนั้ (๕๙๐ บาท) ผูฟองคดีที่ ๓ จงึ ไดรับความเสยี หายเปนเงนิ ๓,๕๔๐ บาท (๕๙๐ บาท x ๖ เดอื น) ผูฟองคดีท่ี ๔ สูญเสียสิทธิที่จะไดรับการเลื่อนขั้นเงินเดือน ๐.๕ ขั้น (๕๙๐ บาท) ผูฟองคดีท่ี ๔ จึงไดรับความเสียหายเปนเงิน ๓,๕๔๐ บาท (๕๙๐ บาท x ๖ เดือน) และผูฟองคดีท่ี ๕ สูญเสียสิทธิ ทจ่ี ะไดรบั การเลื่อนขั้นเงินเดอื น ๐.๕ ขั้น (๕๑๐ บาท) ผูฟ อ งคดีท่ี ๕ จงึ ไดรบั ความเสยี หายเปนเงิน ๓,๐๖๐ บาท (๕๑๐ บาท x ๖ เดือน) นอกจากนั้น เม่ือพิเคราะหขอเท็จจริงและพฤติการณ ของการไมไดรับมอบหมายงานดานการเรียนการสอนในคดีนี้ เห็นไดวา การที่ผูถูกฟองคดี ไมไดมอบหมายงานดังกลาวใหแกผูฟองคดีทั้งหามีสาเหตุมาจากการท่ีผูฟองคดีทั้งหาละเลย ไมใหความรวมมือหรือไมปฏิบัติตามคำสั่งของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ซ่ึงไดมอบหมายงานอ่ืนใหแก ผูฟ องคดีท้ังหาปฏบิ ัตโิ ดยชอบดวยกฎหมายในฐานะผูบ ังคับบัญชาหัวหนาหนวยงาน กรณีจงึ ตอ งถือวา ผูฟองคดีท้ังหามีสวนกอใหเกิดความเสียหายดวยเชนกัน ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ จึงไมตองรับผิด ในความเสียหายดังกลาวเต็มจำนวน แตรับผิดในความเสียหายเพียงครึ่งหน่ึงของความเสียหาย ดังกลาวตามนยั มาตรา ๔๔๒ แหงประมวลกฎหมายเดียวกัน กลาวคือ ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ตองชดใช

๑๒๔ คาสินไหมทดแทนใหแกผูฟองคดีท่ี ๑ เปนเงนิ จำนวน ๑,๘๖๐ บาท ผูฟองคดีท่ี ๒ เปนเงินจำนวน ๑,๗๗๐ บาท ผูฟองคดีท่ี ๓ เปนเงินจำนวน ๑,๗๗๐ บาท ผูฟองคดีท่ี ๔เปนเงินจำนวน ๑,๗๗๐ บาท และผูฟองคดีที่ ๕ เปนเงินจำนวน ๑,๕๓๐ บาท สำหรับดอกเบี้ยในมูลละเมิดน้ัน เม่ือขอเท็จจริง รับฟงไดวา การที่ผูถูกฟองคดที ่ี ๑ ไมไดมอบหมายงานดานการเรียนการสอนใหแกผูฟองคดีทั้งหา ในปการศึกษา ๒๕๕๔ (ภาคเรียนที่ ๑) ทำใหผูฟองคดีท้ังหาไดรับการเลื่อนข้ันเงินเดือนเพียง ๐.๕ ขั้น ตามคำส่ัง ลงวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๕๔ ซึ่งใหมีผลต้ังแตวันท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ จึงเห็นไดวา ผูฟองคดที ้ังหาไดรับความเสียหายต้ังแตวนั ท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ ผูฟอ งคดที ั้งหาจึงมีสิทธิไดรับดอกเบ้ีย ในอัตรารอยละเจ็ดคร่ึงตอปของตนเงินดังกลาวตั้งแตวันท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ เปนตนไป ท่ีศาลปกครองช้ันตนพิพากษาใหผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูฟองคดีที่ ๑ เปนเงินจำนวน ๕๕,๘๐๐ บาท ชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูฟองคดีท่ี ๒ เปนเงินจำนวน ๖๓,๗๒๐ บาท ชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูฟองคดีที่ ๓ เปนเงินจำนวน ๒๑,๒๔๐ บาท ชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูฟองคดีที่ ๔ เปนเงินจำนวน ๔๙,๕๖๐ บาท และชดใชคาสินไหมทดแทน ใหแกผูฟองคดีท่ี ๕ เปนเงินจำนวน ๓๙,๗๘๐ บาท พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละเจ็ดคร่ึงตอป ของตนเงินจำนวนดังกลาวต้ังแตวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จส้ิน ท้ังนี้ ภายในเกาสิบวันนับแตวันท่ีศาลมีคำพิพากษา และใหคืนคาธรรมเนียมศาลตามสวนของการชนะคดี แกผ ูฟองคดที ้งั หาคำขออนื่ นอกจากนี้ใหย ก น้นั ศาลปกครองสูงสุดไมเ ห็นพอ งดว ยบางสว น พิพากษาแกเปนใหผูถูกฟองคดีที่ ๒ ชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูฟองคดีท่ี ๑ เปนเงิน จำนวน ๑,๘๖๐ บาท ผูฟองคดีที่ ๒ เปนเงินจำนวน ๑,๗๗๐ บาท ผูฟองคดีที่ ๓ เปนเงินจำนวน ๑,๗๗๐ บาท ผูฟองคดีท่ี ๔ เปนเงินจำนวน ๑,๗๗๐ บาท และผูฟองคดีท่ี ๕ เปนเงินจำนวน ๑,๕๓๐ บาท และใหคืนคาธรรมเนียมศาลในช้ันอุท ธรณ ตามสวนของการชนะคดี แกผถู ูกฟองคดที งั้ สอง นอกจากทแี่ กใหเปนไปตามคำพพิ ากษาของศาลปกครองช้ันตน กรณีฟองขอใหชดใชคาเสียหายจากการละเลยไมแจงผลการขอปรับปรุงการกำหนด ตำแหนง ดว ยการจัดทำผลงานทางวิชาการใหท ราบ การไมแ จงมติที่ไมอนุมัติใหไดรับเงินเดอื น ในระดบั ๘ ใหผ ูยื่นการประเมินทราบ เปน การละเลยตอ หนา ท่ี คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๘๐๗/๒๕๖๐ ผูฟองคดีฟองวา ขณะท่ีผูฟองคดีดำรง ตำแหนงอาจารยใหญโรงเรียน พ. สังกัดผูถูกฟองคดีที่ ๒ (สพป.ลพบุรี เขต ๑ ) ไดรับเงินเดือน ระดับ ๗ ไดสงผลงานทางวิชาการขอปรับปรุงการกำหนดตำแหนงและแตงต้ังใหดำรงตำแหนง อาจารยใหญ รับเงินเดือนระดับ ๘ ตอผูถูกฟองคดีที่ ๓ (ผอ. สพป.ลพบุรี เขต ๑) ผานหัวหนา การประถมศึกษาอำเภอโคกสำโรง (เดิม) หลังจากนั้นเม่ือวันที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๔๙ ผูฟองคดีได ขอเอกสารประกอบการพิจารณาในการประเมินวิทยฐานะชำนาญการ จากเจาหนาที่ของผถู กู ฟองคดี ที่ ๒ แตพบวา เลขาธิการของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ (สพฐ.) ไดมีหนังสือแจงผูถูกฟองคดีท่ี ๓ ทราบวา อ.ก.ค. สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติมีมตไิ มอนุมัติใหผูฟ องคดีไดรบั เงนิ เดอื นใน ระดับ ๘ โดยมีขอสังเกตบางประการเก่ียวกับผลงานทางวิชาการของผูฟองคดี และผูถูกฟองคดี

๑๒๕ ท่ี ๓ ไดม ีหนงั สอื ลงวนั ที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๔๖ แจง ผลการพิจารณาของ อ.ก.ค. สำนักงานคณะกรรมการการ ประถมศึกษาแหงชาติ ใหหัวหนาการประถมศึกษาอำเภอโคกสำโรงทราบ แตหัวหนา การประถมศึกษาอำเภอโคกสำโรงไมแจงผลการพิจารณาดังกลาวใหผูฟองคดีทราบ ทำใหผูฟองคดี ไดรับความเสียหาย ผูฟองคดีจึงมีหนังสือรองทุกขตอประธาน อ.ก.ค.ศ. เขตพ้ืนท่ีการศึกษาลพบุรี เขต ๑ และผูถูกฟองคดีท่ี ๓ ขอใหผูถูกฟองคดีท่ี ๒ รับผิดชดใชคาเสียหายใหแกผูฟองคดีเปนเงิน ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท แตไมไดรับแจงผลการดำเนินการ ผูฟองคดีเห็นวา การละเลยตอหนาที่ ดังกลา วทำใหผฟู องคดไี ดรบั ความเสียหาย จึงนำคดมี าฟองขอใหผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ชดใชคาเสียหาย เปนเงิน ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท ใหแกผูฟองคดี เห็นวา หากมีการจัดสงหนังสือของผูถูกฟองคดีที่ ๓ ไปให หัวหนาการประถมศึกษาอำเภอโคกสำโรง ก็ตองปรากฏหลักฐานวาหัวหนาการประถมศึกษา อำเภอโคกสำโรงไดรับหนังสือฉบับดังกลา วเม่ือใด เม่ือไมปรากฏหลักฐานการรับสงหนังสือลงวันท่ี ๔ กรกฎาคม ๒๕๔๖ แจงใหหัวหนาการประถมศึกษาอำเภอโคกสำโรงทราบ จึงตองรับฟงวาผูถูกฟอง คดีท่ี ๓ ไมไดแจงมติของ อ.ก.ค. สปช. ในการประชุมเมื่อวันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๔๖ ท่ีไมอนุมัติ ใหผูฟองคดีไดรบั เงินเดือนในระดับ ๘ โดยมีขอสังเกตบางประการเกี่ยวกับผลงานทางวิชาการใหผู ฟองคดีทราบ กรณีจึงเปนการละเลยตอหนาท่ีตามที่กฎหมายกำหนดใหผูถูกฟองคดีท่ี ๓ ตอง ปฏิบตั ิ ตามมาตรา ๒๐ และมาตรา ๒๑ แหง พ.ร.บ. คณะกรรมการการประถมศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๒๓ ประกอบกับหนังสือสำนักงาน ก.ค. ลงวันที่ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๔๒ ดังน้ัน การที่ผูถูกฟองคดีท่ี ๓ ละเลยตอหนาที่ไมแจงมติดังกลาวใหผูฟองคดีทราบ เปนผลโดยตรงท่ีทำใหผูฟองคดีไมไดแกไข ปรับปรุงผลงานทางวิชาการตามขอสังเกตและเสนอใหมภายในระยะเวลา ๖ เดือน จึงเปนการกระทำ ละเมิดตอผูฟองคดี ตามมาตรา ๔๒๐ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ซ่ึงเปนสวนราชการท่ีมีฐานะเปนกรมและเปนหนวยงานของรัฐตนสังกัดของผูถูกฟองคดีที่ ๓ จึง ตองรับผิดในผลแหงการละเมิดตามมาตรา ๕ แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยคดีน้ีศาลปกครองชั้นตนวินิจฉัยใหผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ชดใชคาเสียหายจากการ ทีผ่ ูฟองคดีเสียโอกาสในการดำเนินการแกไขปรับปรุงผลงานทางวชิ าการตามขอสังเกตของ อ.ก.ค. สปช. ในการประชุมเมื่อวันท่ี ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๔๖ ตามควรแกความเสียหายและความรายแรง แหง การกระทำละเมิด เปนเงินจำนวน ๓๐,๐๐๐ บาท และผูฟองคดีพอใจในจำนวนเงินคาเสียหายท่ี ศาลปกครองชั้นตนกำหนดใหดังกลาว ผูถูกฟองคดีทั้งสามไมไดอุทธรณโตแยงวาจำนวนเงินที่ศาล ปกครองชั้นตนกำหนดใหแกผูฟองคดีไมเหมาะสมหรือไมเปนธรรมอยางไร จึงเห็นวา ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูฟองคดีในจำนวนเงินดังกลาว ท่ีศาลปกครองชั้นตน พิพากษาใหผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ชดใชคาเสียหายใหแกผูฟองคดี เปนคาเสียโอกาสในการดำเนินการ แกไขปรับปรุงผลงานทางวิชาการ ตามขอสังเกตของ อ.ก.ค. สปช. ในการประชุมเม่ือวันท่ี ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๔๖ เปนเงินจำนวน ๓๐,๐๐๐ บาท ทั้งน้ีภายใน ๓๐ วันนับแตวันที่ศาลมีคำพิพากษา ถึงที่สุด คำขออื่นนอกจากน้ีใหยก ยกฟองผูถูกฟองคดีที่ ๒ และผูถูกฟองคดีท่ี ๓ และใหคืน คา ธรรมเนยี มศาลตามสว นของการชนะคดีใหแกผ ูฟองคดี น้ัน ชอบแลว

๑๒๖ คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อบ.๘๒/๒๕๖๑ ผูฟองคดีฟองวา ผูฟองคดีดำรง ตำแหนงผูอำนวยการโรงเรียนบานสวาย ไดย่ืนคำรองเพ่ือขอยายไปดำรงตำแหนงผูอำนวยการ โรงเรียนเมืองสุรินทร ตอมา คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานโรงเรียนเมืองสุรินทร ไดมีการ ประชุมมีมติใหผูฟองคดีไดคะแนน ๘๗ คะแนน ซึ่งเปนผูไดคะแนนสูงสุดเปนลำดับท่ี ๑ และ คณะกรรมการพิจารณากลั่นกรองการยายฯ ไดมีการประชุมเม่ือวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ เหน็ ชอบใหผูฟ องคดีไดรบั การพิจารณายายไปโรงเรียนเมืองสุรินทรและใหนำบญั ชีรายละเอยี ดการ ยายขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตำแหนงผูบริหารสถานศึกษาเสนอตอผูถูกฟองคดีท่ี ๒ (คณะอนุกรรมการขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาประจำเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุรนิ ทร เขต ๑) เพื่อพิจารณา ผถู ูกฟองคดที ี่ ๒ ไดมีการพิจารณากรณีดงั กลาวในการ ประชมุ เมื่อวันท่ี ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ โดยที่ประชุมมีมตใิ หชะลอการพิจารณาไวกอน ผูฟองคดี จึงไดไปแจงความตอพนักงานสอบสวนไวเปนหลักฐานและทำหนังสือขอความเปนธรรมตอผูถูก ฟอ งคดีท่ี ๑ (สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทร เขต ๑) ตอ มา ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ได มีการประชุมและมติเม่ือวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ ปรับลดคะแนนการประเมินของผูฟองคดี จาก ๑๕ คะแนน เปน ๑๓ คะแนน คะแนนรวม จากเดิม ๘๗ คะแนน เปนคะแนน ๘๕ คะแนน และใหผ ูถูกฟองคดีท่ี ๔ (นาย ส.) ไปดำรงตำแหนงผูอำนวยการโรงเรียนเมืองสุรินทร ผูอำนวยการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร เขต ๑ จึงไดมีคำสั่งสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร เขต ๑ ลงวันท่ี ๕ มกราคม ๒๕๕๔ แตงตั้งผูถูกฟองคดีที่ ๔ ใหไป ดำรงตำแหนง ดงั กลาว ผูฟองคดจี ึงไดมหี นงั สอื ลงวนั ท่ี ๑๓ มกราคม ๒๕๕๔ รอ งทกุ ขตอเลขาธกิ าร คณะกรรมการขาราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา แตไ มไ ดร ับแจงผลการพจิ ารณาแตอยางใด จึงนำคดีมาฟอง ขอใหศาลมีคำพิพากษาเพิกถอนมติของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ในการประชุมเมื่อวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ เพิกถอนคำส่ังของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ลงวันท่ี ๕ มกราคม ๒๕๕๔ ใหผูถูก ฟอ งคดีท่ี ๒ พิจารณาและมมี ตใิ หยายผูฟองคดีไปดำรงตำแหนงท่ีโรงเรียนเมอื งสรุ นิ ทร และใหผ ูถูก ฟองคดีท่ี ๑ มีคำสั่งตามมติของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ และใหผูถูกฟองคดีท่ี ๑ และที่ ๒ รวมกันชดใช เงินคาเสียหายแกผูฟองคดีเปนเงินจำนวน ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอปของตนเงินดังกลาว นับถัดจากวันยื่นฟองเปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จส้ินแกผูฟองคดี เห็น วา ในระหวางการพิจารณาคดีของศาลปกครองชั้นตน อ.ก.ค.ศ. วิสามัญเก่ียวกับการอุทธรณและ การรองทุกข (ทำการแทน ก.ค.ศ.) ไดแจงมติที่ประชุมเม่ือวันท่ี ๒๒ มิถุนายน ๒๕๕๔ วา การท่ี ผูถูกฟองคดีที่ ๒ ใชดุลพินิจมีมติปรับลดคะแนนความรูความสามารถของผูฟองคดี เปนการใช ดุลพินิจโดยไมเปนธรรมและไมชอบดวยกฎหมาย คำรองทุกขฟงข้ึน จึงมีมติใหเพิกถอนมติของ ผถู ูกฟองคดีท่ี ๒ ในคราวประชุมเมื่อวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ และคำส่ังท่ีสั่งตามมติดังกลาว แลวดำเนินกระบวนการพิจารณาใหมใหถูกตองตามกฎหมายตอไป ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ไดมีการ ประชุมเม่ือวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๔ เพิกถอนมติและคำสั่งดังกลาว ตอมา ผูถูกฟองคดีที่ ๒ ไดมี การประชุม เมื่อวันท่ี ๑๒ มกราคม ๒๕๕๕ มีมติใหผูถูกฟองคดีท่ี ๔ ไดรับแตงต้ังใหดำรงตำแหนง

๑๒๗ ผอู ำนวยการโรงเรียนเมืองสุรินทร และผูถกู ฟองคดีท่ี ๑ มีคำสั่งลงวันท่ี ๑๘ มกราคม ๒๕๕๕ ยาย ผถู ูกฟอ งคดีที่ ๔ ไปดำรงตำแหนง ผอู ำนวยการโรงเรียนเมอื งสุรนิ ทรอีกครง้ั ผฟู องคดีไมเ ห็นดวยกับ คำส่ังดังกลาว จึงไดมีหนังสือรองทุกขตอเลขาธิการ ก.ค.ศ. อีกครั้ง ตอมา อ.ก.ค.ศ. วิสามัญ เกี่ยวกับการอุทธรณและการรองทุกข (ทำการแทน ก.ค.ศ.) ไดแจงมติที่ประชุมวา ใหเพิกถอนมติ ของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ เมื่อวันที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๕๕ ซึ่งผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ไดมีมติในการประชุม ดังกลาว เมอ่ื วันที่ ๑๘ กุมภาพันธ ๒๕๕๖ ใหเ พิกถอนมติของผูถูกฟองคดีที่ ๒ ในคราวประชมุ เมื่อ วันที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๕๕ หลังจากนั้น ผูถูกฟองคดีที่ ๒ ไดมีการประชุมเมื่อวันท่ี ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๖ แลวมีมติให ผูถูกฟองคดีท่ี ๔ ยายไปดำรงตำแหนงเปนผูอำนวยการโรงเรียนเมืองสุรินทร นั้น จะเห็นไดวา มติของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ในการประชุมเมื่อวันท่ี ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ และใน การประชุมเม่ือวันที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๕๕ และผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไดมีคำสั่งแตงตั้งตามมติดังกลาว ทำใหผูฟองคดีไดรับความเดือดรอนเสียหายและเสียสิทธิที่จะไดรับการพิจารณายายไปดำรง ตำแหนงผูอ ำนวยการโรงเรียนเมืองสุรนิ ทรดวย ถือไดวาเปนการกระทำละเมิดในการปฏิบัติหนาท่ี ของผูถูกฟองคดีที่ ๑ และผูถูกฟองคดีท่ี ๒ แลว ตามมาตรา ๔๒๐ แหงประมวลกฎหมายแพงและ พาณิชย ผูถูกฟองคดีท่ี ๓ (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน) ซ่ึงเปนหนวยงานตน สงั กัดของผูถูกฟองคดีที่ ๑ และผูถูกฟองคดีท่ี ๒ จงึ จะตองรับผิดในผลแหงละเมิดน้นั ดวย โดยตอง ชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผฟู องคดี ทงั้ นี้ ตามมาตรา ๕ วรรคหน่ึง แหง พ.ร.บ. ความรบั ผิดทาง ละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ แตอยางไรก็ตาม เน่ืองจากกรณีตามฟองนี้เมื่อผูฟองคดีไดรอง ทุกขตอ ก.ค.ศ. แลว ปรากฏตอมาวา อ.ก.ค.ศ. วิสามัญเกี่ยวกับการอุทธรณและการรองทุกข (ทำ การแทน ก.ค.ศ.) ไดมีมติใหเพิกถอนมติของผูถูกฟองคดีที่ ๒ และคำส่ังของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ เพ่ือใหมีการพิจารณาดำเนินการใหมใหถูกตองตามที่กฎหมายกำหนด จึงถือไดวาผูฟองคดีไดรับ การดำเนินการแกไขเยียวยาในกรณีของมติและคำสั่งที่ไมชอบตามที่ผูฟองคดีไดมีการรองทุกขตอ ก.ค.ศ. แลว จึงยังคงมีประเด็นท่ีจะตองพิจารณาตอไปเพียงวา การกระทำของผูถูกฟองคดีที่ ๒ และที่ ๑ เปนการกระทำละเมิดอันกระทบตอจิตใจของผูฟองคดีหรือไม และจะตองชดใชคา สนิ ไหมทดแทน สำหรับกรณีดังกลาวหรือไม เห็นวา แมจะมีขอเท็จจริงรับฟงไดวาการประชมุ ของ ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ในการประชุมเม่ือวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ เปนการใชดุลพินิจโดยไมเปน ธรรมและไมชอบดวยกฎหมาย แตไมปรากฏขอเท็จจริงวาผูถูกฟองคดีที่ ๑ หรือผูถูกฟองคดีที่ ๒ ไดน ำรายละเอียดการพจิ ารณาวาในท่ีประชุมของผถู ูกฟอ งคดที ่ี ๒ ไปเผยแพรอ ันอาจทำใหก ระทบ เสียหายตอชื่อเสียงของผูฟองคดีแตอยางใด ดังน้ัน เมื่อกรณีตามฟองนี้ อ.ก.ค.ศ. วิสามัญเก่ียวกับ การอุทธรณและ การรองทุกข (ทำการแทน ก.ค.ศ.) ไดมีการดำเนินการเพื่อแกไขการพิจารณา ที่ไมชอบดวยกฎหมายของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ และคำสั่งท่ีไมชอบดวยกฎหมายของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ แลว ยอมเปนการปองกันมิใหเกิดการเขาใจผิดในเหตุท่ีผูฟองคดีมิไดรับการยายไปดำรงตำแหนง ผูอำนวยการโรงเรียนเมืองสุรินทรได มติของผูถูกฟองคดีที่ ๒ และคำสั่งของผูถูกฟองคดีที่ ๑ จึงมิไดเปนการกระทำท่ีทำใหผูฟองคดีไดรับความเสียหายทางจิตใจอันจะตองไดมีการชดใช

๑๒๘ คาสินไหมทดแทนเพื่อชดเชยความเสียหายทางจิตใจท่ีเกิดขึ้นแตอยางใด ที่ศาลปกครองชั้นตน พิพากษาใหผูถูกฟองคดีท่ี ๓ ชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูฟองคดีเปนเงิน ๑๐,๐๐๐ บาท ภายในสามสิบวัน นับแตวันท่ีคดีถึงที่สุด และใหคืนคาธรรมเนียมศาลใหแกผูฟองคดีตามสวนของ การชนะคดี คำขออื่นนอกจากน้ีใหยก ศาลปกครองสูงสุดไมเห็นพองดวย พิพากษากลับเปนยก ฟอ ง และใหคนื คาธรรมเนยี มศาลในชนั้ อุทธรณใหแกผ ถู ูกฟอ งคดที ี่ ๑ และที่ ๓ ๖.๒ กรณีหนวยงานมีคำสัง่ ใหเจาหนาทีช่ ดใชคาเสียหาย กรณีฟองขอใหเพิกถอนคำส่ังใหชดใชเงินคืนแกทางราชการ กรณีไมนำเงินบริจาคเขา บัญชีการเงินของโรงเรียนตามระเบียบของทางราชการ ขอบกพรองในสวนรูปแบบของคำส่ัง ทางปกครองท่ีไมใชสาระสำคัญถึงขนาดที่ทำใหคำส่ังทางปกครองไมชอบดวยกฎหมาย เปน การกระทำละเมดิ ไมเปนการกระทำโดยประมาทเลินเลอ อยางรา ยแรง คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อ.๔๘๗/๒๕๕๘ ผูฟองคดีฟองวา ผูฟองคดีในขณะท่ี ดำรงตำแหนงผูอำนวยการโรงเรียนปทุมธานี “นันทมุนีบำรุง” ในระหวางป พ.ศ. ๒๕๔๓ ถึง พ.ศ. ๒๕๔๔ ผูฟองคดีไดรับเงินบริจาคจากบริษัท ซ. และนาย ส. จำนวน ๒๑๐,๐๐๐ บาท เพื่อใชใน กิจกรรมพัฒนาโรงเรียน แตเนื่องจากผูฟองคดีไมไดนำเงินจำนวนดังกลาวเขาบัญชีการเงินของ โรงเรียนตามระเบียบของทางราชการ ผูอำนวยการสามัญศึกษาจังหวัดปทุมธานีจึงมีคำส่ังแตงตั้ง คณะกรรมการสอบขอเท็จจริงในกรณีดังกลาวซึ่งคณะกรรมการฯ ไดตรวจสอบหลักฐานการใช จายเงินแลว ถูกตอง สามารถตรวจสอบไดไมไดเบิกจายเงินซ้ำซอนกับเงินของทางราชการ จงึ เห็นสมควรใหยุติเรื่อง ตอมา เมื่อผูฟองคดีไดเ กษียณอายุราชการในป พ.ศ. ๒๕๔๖ ผูถูกฟองคดี (ผูอำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต ๔) ไดมีคำสั่งแตงตั้งคณะกรรมการ สอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดเพ่ือสอบสวนผูฟองคดีเก่ียวกับกรณีดังกลาว และหลังจากนั้น ไดมีหนังสือลงวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๔๙ ส่ังใหผูฟองคดีชำระเงินจำนวน ๑๔๘,๑๙๑ บาท คืนแก ทางราชการ ผูฟองคดีจึงมีหนังสือลงวันท่ี ๓ กุมภาพันธ ๒๕๔๙ อุทธรณคำสั่งดังกลาวตอผูถูกฟองคดี ตอมาผูถูกฟองคดีไดมีหนังสือลงวันท่ี ๙ กุมภาพันธ ๒๕๔๙ แจงวาไดสงหนังสืออุทธรณของผูฟอง คดีไปใหกระทรวงการคลังพิจารณาแลว ผูฟองคดีเห็นวาคำส่ังดังกลาวไมชอบดวยกฎหมาย เนื่องจากไมมีขอเท็จจริง ขอกฎหมาย ขอพิจารณาและขอสนับสนุนในการใชดุลพินิจออกคำส่ัง ขอใหเพิกถอนคำสั่งของผูถูกฟองคดีตามหนังสือลงวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๔๙ เห็นวา คำส่ัง ดังกลาวเปนคำส่ังทางปกครองที่มีผลกระทบตอสิทธิของผูฟองคดี จึงตองจัดใหมีเหตุผลตามที่ได บัญญัติไวในมาตรา ๓๗ วรรคหนึ่ง แหง พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ทั้งน้ี บทบัญญัติดังกลาวมีเจตนารมณเพ่ือใหผูท่ีตกอยูภายใตบังคับของคำส่ังทางปกครองไดทราบ ขอเท็จจริงและขอกฎหมายในการพิจารณา ตลอดจนขอสนับสนุนการใชดุลพินิจในการออกคำสั่ง ทางปกครอง และสามารถใชสิทธิอุทธรณโตแยงคำสั่งในกรณีที่ไมเห็นดวยไดอยางถูกตอง

๑๒๙ เมื่อปรากฏวากอนท่ีผูถูกฟองคดีจะมีคำส่ังตามหนังสือลงวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๔๙ ใหผูฟองคดี ชดใชเงินคืนใหทางราชการ ผูถูกฟองคดีไดแจงคำสั่งแตงต้ังคณะกรรมการสอบสวนขอเท็จจริง ความรับผิดทางละเมิด รวมถึงขอกลาวหาและเปดโอกาสใหผูฟองคดีไดช้ีแจงขอเท็จจริงตามที่ถูก กลาวหา ซง่ึ ผูฟอ งคดีกไ็ ดช้ีแจงขอเทจ็ จริงตามขอกลา วหาตามทค่ี ณะกรรมการสอบสวนขอเท็จจริง ความรับผิดทางละเมิดแจงใหผูฟองคดีทราบทุกขอหา โดยมิไดหลงตอสูแตอยางใด และหลังจาก ผูฟองคดีไดทราบคำส่ังเรียกใหชดใชเงินคืนทางราชการ ผูฟองคดีไดย่ืนอุทธรณคำสั่งดังกลาว แตเพียงวา ผูฟองคดีไมมีพฤติการณตามท่ีคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด กลาวหา ผฟู องคดีจึงไมมีหนา ทีต่ องชดใชเงินคืนทางราชการ จงึ เห็นไดวา ผูฟ องคดีไดทราบขอ เท็จจริง ขอกฎหมายและขอสนับสนุนการใชดุลพินิจของผูถูกฟองคดีในการออกคำสั่งใหผูฟองคดีชดใช เงินคืน อีกทั้ง ในคำอุทธรณผูฟองคดีไมไดโตแยงในสวนของรูปแบบของคำส่ังทางปกครอง โดยผูฟองคดีเพ่ิงยกขึ้นกลาวอางความไมชอบดวยกฎหมายของคำส่ังทางปกครองในสวนของ รูปแบบของคำส่ังเม่ือนำคดีมาฟองตอศาลปกครองแลว จึงเห็นไดวา แมคำส่ังของผูถูกฟองคดี ตามหนังสือลงวันท่ี ๒๕ มกราคม ๒๕๔๙ จะมีขอบกพรองในสวนของรูปแบบของคำสั่ง ทางปกครองตามท่ีกำหนดไวในมาตรา ๓๗ วรรคหน่ึง แหง พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ อยูบาง แตเ หตุบกพรองดังกลาวกไ็ มไดทำใหผ ูฟองคดีไมเขาใจขอเท็จจริงหรือไมเขาใจ ขอกฎหมายที่ผูถูกฟองคดีใชพิจารณาวินิจฉัยในการออกคำสั่งทางปกครองอันเปนเหตุทำให ผูฟ อ งคดีไมอาจใชสิทธิอทุ ธรณโตแ ยง คำสง่ั ดงั กลา วได ความไมสมบรู ณด ังกลาวจึงไมใชสาระสำคัญ ถงึ ขนาดท่ีจะทำใหค ำสง่ั ทางปกครองไมช อบดวยกฎหมาย สวนผูฟองคดีกระทำละเมิดตอผูถูกฟองคดีหรือไม หากกระทำละเมิดผูฟองคดีตองรับผิด ชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูถูกฟองคดีแคไหน เพียงใด น้ัน ขอเท็จจริงปรากฏวา ขณะผูฟองคดี ดำรงตำแหนงผูอำนวยการโรงเรียนปทุมธานี “นันทมุนีบำรุง” ไดมีการทำสัญญา ๒ ฉบับ สัญญา ฉบับแรก ระหวางนาย ศ. กรรมการผูจัดการบริษัท ซ. กับนาย ส. สำหรับการจำหนายเคร่ืองดื่ม น้ำอัดลมภายในโรงเรียน ซึ่งนาย ศ. ไดมอบเงินสนับสนุนการไปทัศนศึกษาของครู อาจารย เปนจำนวนเงิน ๕๐,๐๐๐ บาท มีนาย ป. เปนผูลงนามรับเงินจำนวนดังกลาวไวเม่ือวันท่ี ๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๓ และไดมอบเช็คเงินสด ๒ ใบ ใบละ ๕๐,๐๐๐ บาท สำหรับสนับสนุนการดูงาน ของโรงเรียน พัฒนาการเรียนการสอน พัฒนาอาคารสถานท่ี และพัฒนาโรงเรียน มีนาย ป. เปนผูลงนามรับเงินเมื่อวันท่ี ๑๑ มกราคม ๒๕๔๔ และโรงเรียนปทุมธานี “นันทมุนีบำรุง” ไดนำ เงนิ ทีบ่ ริษัท ซ. บริจาคไปใชจ าย รวมท้ังส้ินเปน เงินจำนวน ๑๕๐,๐๙๑ บาท สวนสญั ญาฉบบั ที่สอง ระหวางนาย ก. กับนาย ป. สำหรับจำหนายไอศกรีมภายในโรงเรียน โดยนาย ก. ไดมอบเงินสด จำนวน ๖๐,๐๐๐ บาทใหโรงเรียนสำหรับใชในกิจกรรมของโรงเรียนโดยไมไดระบุวัตถุประสงค และอกี ๑๕,๐๐๐ บาท สำหรับเปนคาไฟฟา ซ่ึงโรงเรียนปทุมธานี “นันทมุนีบำรุง” ไดนำเงินไปใช จายรวมเปนเงินทั้งส้ินจำนวน ๕๙,๙๙๗ บาท ซ่ึงในการใชจายเงินที่บริษัท ซ. และนาย ก. บริจาค เม่ือผูรับผิดชอบงานโครงการมีความตองการใชเงินก็จะทำหนังสือเสนอตอผูฟองคดี มีท้ังที่พิมพ

๑๓๐ และเปนลายมือโดยระบุวานำไปใชจายในเร่ืองอะไรบางและในการอนุมัติของผูฟองคดีแตละคร้ัง จะระบุวา อนุมตั ิจากเงินบริจาคของบริษทั ซ. หรอื จากเงินบริจาคของนาย ก. ซ่ึงหลักฐานการใชจ ายเงิน บริจาคมีเพยี งหนังสือท่ีผูรับผิดชอบโครงการเสนอขอเบิกเงินตอผูฟองคดี น้ัน เห็นวา เม่อื พิจารณา ตามระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยการรับเงินหรือทรัพยสินที่มีผูบริจาคใหทางราชการ พ.ศ. ๒๕๒๖ และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการรับเงินและทรัพยสินที่มีผูบริจาคใหสถานศึกษาในสังกัดกรมสามัญศึกษา พ.ศ. ๒๕๓๙ แลว กรณีของเงินบริจาคน้ันไมจำเปนท่ีหนวยงานท่ีรับบริจาคจะตองนำสง กระทรวงการคลังเปนรายไดแผนดินและการใชจายเงินดังกลาวไมจำเปนจะตองเปนกรณีท่ีเปน รายการที่เบิกจายจากเงินงบประมาณแผนดินไดเพียงแตจะตองนำเงินบริจาคไปใชจายในทางท่ี เปนประโยชนแกทางราชการโดยสวนรวมเทานั้น แมการใชจายเงินดังกลาวจะไมเปนไปตาม ระเบียบของทางราชการท่ีนำมาใชบังคับโดยอนุโลม แตหากเปนประโยชนแกทางราชการ โดยสวนรวมและมีพยานหลักฐานที่ช้ีแจงไดก็ไมอาจถือวาเปนความเสียหายของหนวยงาน ผูรับบริจาคแตอยางใด เมื่อพิจารณาจากหลักฐานการขอเบิกเงินบริจาคและการอนุมัติใชจายเงิน บรจิ าค เห็นวาการใชจ ายเงนิ เปน ไปเพ่ือประโยชนข องโรงเรยี นปทมุ ธานี “นันทมุนบี ำรุง” เพียงแต หลักฐานการเบิกจายและการอนุมัติไมสามารถนำมาเปนหลักฐานการจายเงินตามระเบียบของ ทางราชการได แตอยางไรก็ตาม การท่ีผูฟองคดีอนุมัติใหนำเงินท่ีมีผูบริจาคไปใชโดยไมปฏิบัติ ตามระเบียบของทางราชการ กรณีจึงถือไดวาผูฟองคดีกระทำละเมิดตอโรงเรียนปทุมธานี “นันทมุนีบำรุง” ตามมาตรา ๔๒๐ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณชิ ย สวนผูฟองคดีตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกโรงเรียนปทุมธานี “นันทมุนีบำรุง” หรือไม เพียงใด น้ัน เห็นวา จากหนังสือรายงานผลการสืบหาขอเท็จจริง ลงวันท่ี ๒๙ เมษายน ๒๕๔๕ กรณีไมนำเงินบริจาคเขาสูระบบของราชการของคณะตรวจสอบภายใน จังหวัดปทุมธานี ที่มีบันทึกเรียนผูอำนวยการสามัญศึกษาจังหวัดปทุมธานีวา หลักฐานการรับเงินบริจาคท้ังสอง สัญญา รวมเปนเงิน ๒๑๐,๐๐๐ บาท ไดนำไปใชเพื่อประโยชนของกิจการของโรงเรียนปทุมธานี “นันทมุนีบำรุง” ท้ังส้ิน โดยมีเงินซ้ำซอนที่นำมาเบิกเงินบำรุงการศึกษา ๑ รายการ เปนจำนวน ๑,๐๒๘ บาท โดยคณะตรวจสอบภายในจังหวัดปทุมธานีเห็นวา ผูฟองคดีไมมีเจตนา ที่จะไมนำเงินสงเขาบัญชีของทางราชการเพื่อประโยชนสวนตนแตอยางใด เพียงแตไมปฏิบัติ ตามระเบียบอยางเครงครัดเทานั้น เพราะจากหลักฐานการใชเปนจายเงินที่ถูกตองชัดเจนสามารถ ตรวจสอบไดและไมเบิกซ้ำซอนกับเงินของทางราชการท่ีจะทำใหทางราชการเสียหาย จึงเห็นไดวา ผูฟองคดีไดอนุมัติใหนำเงินท่ีบริษัท ซ. และนาย ก. บริจาคใหโรงเรียนไปใชจายลวนแตกอใหเกิด ประโยชนแกทางโรงเรียนและเปนไปตามวัตถุประสงคของผูบริจาค จึงถือไมไดวาการกระทำของ ผูฟองคดีเปนการกระทำโดยประมาทเลินเลออยางรายแรง เปนการกระทำโดยประมาท เลินเลอธรรมดา ดังนั้น ผูฟองคดีจึงไมตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกโรงเรียนปทุมธานี “นันทมุนีบำรุง” ตามมาตรา ๑๐ ประกอบกับมาตรา ๘ แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิด ของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ แตอยางใด สวนเงินบำรุงการศึกษา ๑ รายการ จำนวน ๑,๐๒๘ บาท

๑๓๑ ที่พบวามีการเบิกเงินซ้ำซอนนั้น ผูฟองคดีไดชดใชคืนใหกับทางราชการแลว ผูถูกฟองคดี จึงไมม อี ำนาจออกคำสั่งเรียกใหผูฟอ งคดชี ดใชคา สนิ ไหมทดแทนเพ่ือการละเมดิ ในการปฏิบตั ิหนา ที่ ตามมาตรา ๑๒ แหงพระราชบัญญัติฉบับเดียวกัน การที่ผูถูกฟองคดีมีคำส่ังตามหนังสือลงวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๔๙ ใหผูฟองคดีชดใชเงินคืนใหแกทางราชการจำนวน ๑๔๘,๑๙๑ บาท จึงเปนคำส่ัง ท่ีไมชอบดวยกฎหมาย ที่ศาลปกครองช้ันตนพิพากษาใหเพิกถอนคำส่ังของผูถูกฟองคดี ตามหนังสือลงวันท่ี ๒๕ มกราคม ๒๕๔๙ ที่สั่งใหผูฟองคดีชดใชเงินคืนแกทางราชการจำนวน ๑๔๘,๑๙๑ บาท นน้ั ศาลปกครองสงู สดุ เห็นพองดว ยในผล กรณีฟองขอใหเพิกถอนคำส่ังใหใชเงินกรณีอนุมัติใหขาราชการครูเบิกคาเชาบานในขณะที่ มีบานพักครูของทางราชการ ไมใชการกระทำดวยความจงใจหรือประมาทเลินเลออยาง รายแรง การออกคำส่งั ใหชดใชเงนิ ไมชอบดว ยกฎหมาย คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๖๒๑/๒๕๕๕ ผูฟองคดีฟองวา ผูถูกฟองคดีที่ ๑ (ผูอำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาลพบุรี เขต ๑ (ผูอำนวยการสามัญศึกษา จังหวัดลพบุรี เดิม)) ไดมีคำสั่งใหผูฟองคดีชดใชเงินจำนวน ๒๗,๐๐๐ บาท ตามหนังสือลงวันท่ี ๓ กุมภาพันธ ๒๕๔๘ เนอื่ งจาก ในขณะท่ผี ฟู อ งคดีเขารับตำแหนงผอู ำนวยการโรงเรียนหนองมวงวทิ ยา อนุมัติให นาย พ. ขาราชการครูท่ียายมาปฏิบัติราชการที่โรงเรียนหนองมวงวิทยาเบิกเงินคาเชาบานจากทาง ราชการตั้งแตเดือนกรกฎาคม ๒๕๔๒ ถึงเดือนมีนาคม ๒๕๔๔ ในขณะท่ีมีบานพักครูท่ีขาราชการครู ซึ่งไมมีสิทธิเบิกคาเชาบานพักอาศัยโดยมิไดจัดใหขาราชการครูท่ีไมมีสิทธิเบิกคาเชาบานดังกลาว ออกจากบานพักครูและจัดใหนาย พ. ซึ่งมีสิทธิเบิกคาเชาบานเขาพักอาศัยแทนเปนเหตุใหทาง ราชการไดรับความเสียหาย ผูฟองคดีจึงไดมีหนังสืออุทธรณคำส่ังเรียกใหชดใชเงินตอผูถูกฟองคดี ท่ี ๑ ตอมา ผูฟองคดีไดรับหนังสือของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ แจงผลการพิจารณาอุทธรณวา ผูถูกฟอง คดีที่ ๓ (รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ) พิจารณาแลวใหยกอุทธรณ ผูฟองคดีจึงนำคดีมา ฟองตอศาล เห็นวา การเบิกคาเชาบานของนาย พ. ไดดำเนินการมาต้ังแตป พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งเปน ชวงเวลาท่ีนาย ป. เปนผูอำนวยการโรงเรียนหนองมวงวิทยา เม่ือผูฟองคดียายมาดำรงตำแหนง ผอู ำนวยการโรงเรียนดังกลา วในเวลาตอมา ไดร ับรองเอกสารขอเบิกคาเชาบา นของนาย พ. วา ไมมี บานพักครูวาง ก็เน่ืองจากตามทะเบียนคุมการจัดการเขาอาศัยในบานพักเลขท่ี ๑๕๖/๑ ระบุวา วันท่ี ๑ พฤศจิกายน ๒๕๓๙ ไดใหนาย ส. ซ่ึงไมมีสิทธิเบิกคาเชาบานเขาพักอาศัยในบานพักที่วาง ประกอบกับนาย พ. ไดมีบันทึกช้ีแจงเพื่อขอเบิกเงินคาเชาบานโดยรับรองวาโรงเรียนหนองมวง วิทยาไมมีบานพักประเภทครอบครัวท่ีทางราชการจัดไวให จึงเปนกรณีที่ผูฟองคดีรับฟงตามท่ี คณะกรรมการบานพักและเจาหนาท่ีฝายธุรการเสนอวาบานพักหลังที่ ๘ ไมวาง เพราะมีครูซึ่งไมมี สิทธิเบิกคาเชาบานเขาอาศัยอยู ประกอบกับบานพักท่ีจะจัดใหนาย พ. เขาพักอาศัยตองเปน บานพักประเภทครอบครัว นาย พ. และครอบครัว จึงจะสามารถเขาพักอาศัยในบานพักของทาง ราชการได อีกทั้งผูอำนวยการโรงเรียนหนองมวงวิทยาคนกอนเคยรับรองไวแลว ผูฟองคดีจึงใช

๑๓๒ ดุลพินิจลงนามทายแบบ ๗๓ ก รับรองวาไดตรวจสอบเอกสารถูกตองตามระเบียบและเห็นสมควร อนุมัติใหเบิกจายเงินได ตอมา สำนักงานการตรวจเงินแผนดินภูมิภาคท่ี ๑ ไดต รวจสอบแลว ทักทวงวา นาย ส. เขาพักอาศัยในบานพักครูโดยไมมีสิทธิเขาพักอาศัย เนื่องจากไมมีสิทธิเบิกเงินคาเชาบาน ผู ฟองคดีก็ไดมีคำส่ังลงวันท่ี ๒๘ มีนาคม ๒๕๔๔ ใหนาย ส. ออกจากบานพักครูหลังที่ ๘ เลขท่ี ๑๕๖/๑ เม่ือพิจารณาถึงพฤติการณของผูฟองคดีแลวเห็นวา การท่ีผูฟองคดลี งนามในแบบขอเบิก เงินคาเชาบานแลวมีความเห็นวา สมควรอนุมัติใหเบิกจายเงินคาเชาบานใหแกนาย พ. ดังกลาว เปนการพิจารณาโดยมีข้ันตอนและวิธีการตรวจสอบขอเท็จจริงกอนใชดุลพินิจ และไดใชดุลพินิจ ตามขอเท็จจริงที่มีอยูในขณะนั้น พฤติการณดังกลาวยังรับฟงไมไดวา ผูฟองคดีกระทำไปดวย ความจงใจหรือประมาทเลินเลออยางรายแรง ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ จึงไมมีอำนาจเรียกใหผูฟองคดี ชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกทางราชการไดตามมาตรา ๑๐ แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิด ของเจาหนา ที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ การท่ีผูถูกฟองคดีท่ี ๑ มีคำสั่งเรียกใหผฟู องคดีชดใชเงินตามหนังสือลง วันที่ ๓ กุมภาพันธ ๒๕๔๘ จึงเปนคำสั่งที่ไมชอบดวยกฎหมายที่ศาลปกครองชั้นตนมีคำพิพากษายก ฟองนน้ั ศาลปกครองสูงสุดไมเห็นพองดวยพพิ ากษากลับเปนใหเพิกถอนคำสั่งของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ตามหนังสือลงวันท่ี ๓ กุมภาพันธ ๒๕๔๘ เฉพาะในสวนท่ีเรียกใหผูฟองคดีชำระเงินจำนวน ๒๗,๐๐๐ บาท โดยใหม ีผลนบั แตวันออกคำสัง่ ดังกลา ว คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๗๘๕/๒๕๖๓ ศาลปกครองสูงสุดวนิ ิจฉัยวา ผูฟอ งคดี เปนพนักงานขับรถยนต ซ่ึงปฏิบัติงานในตำแหนงท่ีตองอาศัยทักษะและความชำนาญในการขับข่ี รถยนตเชนเดียวกันกับวิญูชนที่ปฏิบัติงานในตำแหนงดังกลาว พึงจะตองมีความระมัดระวัง และใชความระมดั ระวังในการขับรถยนต ซึ่งรวมถึงการขับรถยนตถอยหลังเขาจอดดว ย โดยเฉพาะ อยางยิ่งเม่ือตองนำรถยนตเขาจอดในพื้นที่แคบและมีวัสดุกองอยเู ปนจำนวนมาก ผฟู องคดียอมจัก ตองระมัดระวังในการสังเกตวามีวัสดุหรือส่ิงของอื่นใดท่ีจะกอใหเกิดความเสียหายแกรถยนตท่ีตน ขับอยูหรือไม การที่ผูฟ อ งคดเี ขาจอดแลว เกิดเหตุเฉย่ี วชนกบั ทอพลาสติกที่วางล้ำเขามาในชอ งจอด รถดานหลังซาย ทำใหรถยนตไดรับความเสียหายเปนรอยบุบและครูดบริเวณประตูหลังดานซาย ยาวถึงบังโคลนลอหลังดังกลาว ยอมเกิดจากการท่ีผูฟองคดีมิไดใชความระมัดระวังอยางเพียงพอ ในการถอยรถยนตเขาจอด ท้ังที่โดยภาวะ วิสัย และพฤติการณแลวผูฟองคดีสามารถกระทำได กรณีดังกลาวจึงตองถือผูฟองคดีกระทำประมาทเลินเลอเปนเหตุใหรถยนตของผูถูกฟองคดีที่ ๑ เสียหาย อันเปนการละเมิดตอผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ตามมาตรา ๔๒๐ แหงประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย และโดยที่การขับรถของผูฟองคดีนั้นเปนการปฏิบัติหนาที่ตามท่ีไดรับมอบหมาย จากผบู งั คบั บัญชา เมื่อผูฟอ งคดไี ดกระทำละเมดิ ตอ หนวยงานของรัฐท่ีตนสังกดั อนั เปน การกระทำ ในการปฏิบัติหนาที่ ตามมาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ การเรียกรองคาสินไหมทดแทนจากผูฟองคดใี นกรณีนี้ จึงตองนำบทบัญญัติมาตรา ๘ แหงพระราชบัญญัติดังกลาว มาใชบังคับโดยอนุโลม เม่ือพิจารณาจากบันทึกถอยคำของผูฟองคดี ท่ีไดใหถอยคำตอคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด แลวเห็นไดวา ในขณะท่ี

๑๓๓ ผูฟองคดีจะนำรถยนตถอยหลังเขาจอดผูฟองคดีทราบอยูแลววาชองจอดรถที่ผูฟองคดีจะนำ รถยนตถอยหลังเขาจอด มีพ้ืนท่ีแคบ และมีเศษวัสดุกองอยูจำนวนมาก แตผูฟองคดีก็ยังคงท่ีจะ เสี่ยงภัยนำรถยนตเขาไปจอด และหากกรณีฟงไดตามถอยคำของผูฟองคดีวา พื้นที่จอดรถของ ผูถูกฟองคดีที่ ๑ เต็ม แตชองจอดรถ ท่ีผูฟองคดีจะนำรถยนตเขาจอดกลับวาง กรณีจึงเชื่อไดวา ชองจอดรถน้ีเปนชองจอดรถที่โดยวิสัยของผูที่ขับรถยนตโดยทั่วไปจะไมนำรถยนตของตน เขาไปจอด แตเม่ือผูฟองคดีซ่ึงมีทักษะความชำนาญและประสบการณในการขับรถยนตใหกับ ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ มาเปนเวลานานกวา ๑๕ ป เห็นวาชองจอดรถดังกลาวมีพ้ืนที่เหลือพอท่ีจะจอด รถยนตได ท้ังยังเคยนำรถยนตเขาจอดชองจอดรถนี้มาแลวหลายครั้ง ผูฟองคดีจึงควรตองใช ความระมัดระวัง และความละเอียดรอบคอบสูงกวาวิญูชนผูขับรถยนตโดยทั่วไป และเมื่อ กองวัสดุอยูทางดานซายของตัวรถ ในลักษณะเปนทอพลาสติกสีดำขดเปนมวนกลม ผูฟองคดี กลับไมไดใชความระมัดระวังและความละเอียดรอบคอบอยางเพียงพอที่จะบังคับรถยนตไมให เฉี่ยวชนกับทอพลาสติกดังกลาว แมผูฟองคดีจะมีความจำเปนท่ีตองนำรถยนตเขาจอดในชอง จอดรถนี้ และทำการตรวจดูดวยสายตากอนเขาจอดโดยไดมองกระจกซึ่งเปนอุปกรณมาตรฐาน ที่ติดมากับรถยนตเพื่อความปลอดภัย อีกทั้งทำการเขาจอดดวยความเร็วเพียงเล็กนอยเพ่ือให รถเคล่ือนที่อยางชาๆ เขาที่จอดรถก็ตาม แตหากกรณีมีความจำเปน ผูฟองคดีก็จะตองหยุดรถ และลงมาสำรวจพื้นที่จอดรถยนตอีกคร้ังเพื่อปองกันความเสียหายท่ีอาจจะเกิดขึ้น ซึ่งอยูในวิสัย และพฤตกิ ารณของผทู ่ีปฏบิ ตั หิ นา ทีใ่ นตำแหนง พนกั งานขับรถยนตจะพงึ กระทำ แตผ ฟู องคดี หาได กระทำไม การท่ีผูฟองคดียังคงทำการถอยหลังรถยนตตอไป โดยไมสังเกตวามีทอพลาสติกสีดำ วางล้ำเขามาในชองจอดรถ และไมหยุดรถเพ่ือลงมาตรวจสอบ ยอมเปนการกระทำการ โดยประมาทเลินเลอท่ีเบ่ียงเบนไปจากมาตรฐานท่ีบุคคลในภาวะเชนน้ันจักตองมี กรณีจึงฟงไดวา ความเสียหายท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดรับเกิดจากการท่ีผูฟองคดีปฏิบัติหนาท่ีดวยความประมาท เลินเลออยางรายแรง และผูฟองคดีจะตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ตามมาตรา ๑๐ วรรคหน่ึง ประกอบกับมาตรา ๘ แหงพระราชบัญญัติเดียวกัน เมื่อผูถูกฟองคดี ท่ี ๒ มีคำสั่งลงวันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๖ ใหผูฟองคดีรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูถูกฟอง คดีท่ี ๑ เปนเงินจำนวน ๘,๐๐๐ บาท ตามสำเนาใบเสนอราคาของหางหุนสวนจำกัด จ. ลงวันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๕๕ จึงเปนการกำหนดจำนวนเงินคาสินไหมทดแทนตามมาตรา ๘ วรรคสอง แหง พระราชบัญญตั ิขางตน แลว และไมมีเหตใุ หหักสวนแหงความรบั ผิดตามนัยมาตรา ๘ วรรคสาม แหงพระราชบัญญัตดิ ังกลาว ดังน้ัน คำส่ังลงวันท่ี ๒๑ มนี าคม ๒๕๕๖ ใหผูฟองคดีชดใชคา สินไหม ทดแทนเปนเงินจำนวน ๘,๐๐๐ บาท แกทางราชการ จึงเปนคำสั่งท่ีชอบดวยกฎหมาย ที่ศาลปกครองชั้นตนพิพากษายกฟอง และใหคืนคาธรรมเนียมศาลท้ังหมดแกผูฟองคดี นั้น ศาลปกครองสูงสุดเหน็ พองดวย พพิ ากษายนื

๑๓๔ การฟองเพิกถอนคำส่ังเรียกใหเจาหนาท่ีชดใชคาสินไหมทดแทน กรณีกรรมการและ เจาหนาที่การเงินไมปฏิบัติหนาท่ีโดยเครงครัดเปนเหตุใหมีการทุจริตยักยอกเงินของทางราชการ เมื่อหนวยงานใชสิทธิเรียกรองพนกำหนดระยะเวลา คำส่ังใหเจาหนาที่ชดใชคาสินไหมทดแทนจึง ไมชอบดวยกฎหมาย ซ่ึงปญหาดังกลาวเปนปญหาขอกฎหมาย อันเก่ียวดวยความสงบเรียบรอย ของประชาชน แมคูกรณีไมไดยกเรื่องดังกลาวข้ึนวากลาวในชั้นอุทธรณ ศาลปกครองสูงสุดก็มี อำนาจยกข้นึ วินิจฉยั ได คำพพิ ากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อ.๑๐๗๙-๑๐๘๐/๒๕๕๘ ผฟู องคดที ั้งสองเปนครูโรงเรียน บานไสสานไดรับความเดือดรอนเสียหายจากการที่ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ (เลขาธิการคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน) มคี ำส่ังใหชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกทางราชการ เน่ืองจากผูฟองคดที ี่ ๑ และ ท่ี ๒ ไดรับแตงต้ังเปนกรรมการและเจาหนาท่ีการเงิน แตไมปฏิบัติหนาที่โดยเครงครัด เปนเหตุให นาย ช. ใชโอกาสดังกลาวกระทำการทุจริตยักยอกเงินจำนวนดังกลาวของทางราชการไป พฤติการณของผูฟองคดีท้ังสองจึงเปนการประมาทเลินเลออยางรายแรงและตองรับผิดชดใช คาเสียหายใหแกทางราชการ ผูฟองคดีทั้งสองยื่นอุทธรณ คำส่ังดังกลาว ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ (รฐั มนตรวี าการกระทรวงศึกษาธกิ าร) ไดพิจารณาแลว ไดมหี นังสือลงวันที่ ๓ กุมภาพนั ธ ๒๕๔๙ ให ยกอุทธรณ และผูถ ูกฟอ งคดที ี่ ๑ มีคำสง่ั ตามหนงั สือลงวนั ที่ ๗ เมษายน ๒๕๔๙ ใหผ ฟู อ งคดที งั้ สองชดใช คา เสียหายใหกับทางราชการเปนเงินคนละ ๓๓,๑๒๔.๘๕ บาท ผูฟองคดีท้ังสองเห็นวาคำส่งั ดังกลาวไม ชอบดวยกฎหมาย จึงฟองคดีขอใหศาลเพิกถอนคำส่ังของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ตามหนังสือลงวันท่ี ๓ กุมภาพันธ ๒๕๔๙ เห็นวา แมวาผูฟองคดีท้ังสองมีคำขอใหเพิกถอนคำส่ังของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ลง วันท่ี ๓ กุมภาพันธ ๒๕๔๙ ที่แจงผลการพิจารณาอุทธรณของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ถึงความเห็นใหยก อุทธรณใหผูอำนวยการสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษานครศรีธรรมราช เขต ๒ ทราบ เพ่ือใหแจงผูฟอง คดีท้ังสองทราบ และใหเรียกใหผูฟองคดีท้ังสองชดใชคาเสียหาย ซ่ึงเปนเพียงการดำเนินการ ภายในที่ยังไมมีผลกระทบตอสถานภาพของสิทธิและหนาที่ของผูฟองคดีทั้งสอง จึงไมใชคำส่ัง ทางปกครองก็ตาม แตตอมาผูอำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษานครศรีธรรมราช เขต ๒ ไดมี หนังสือลงวันท่ี ๗ เมษายน ๒๕๔๙ แจงผูฟองคดีท้ังสองวา ผูถูกฟองคดีที่ ๒ ไดพิจารณาอุทธรณของ ผูฟ องคดีท้ั งสองแลว มีความเห็ นให ยกอุทธรณ โดยหนั งสือแจงดังกลาวไดอางถึงคำสั่งของ ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ลงวันท่ี ๓ กุมภาพันธ ๒๕๔๙ ดวย ดังน้ัน จึงพอเขาใจไดวาผูฟองคดีท้ังสอง มคี ำขอใหเพิกถอนคำวินิจฉยั อุทธรณข องผูถกู ฟองคดีที่ ๒ ดังกลาวดวย และเมอ่ื คำวินจิ ฉยั ยกอุทธรณ ดังกลาวมีผลทำใหคำสั่งท่ีเรียกใหผูฟองคดีท้ังสองชดใชคาเสียหายตามหนังสือลงวันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๔๖ ซึ่งอางคำสั่งของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ตามหนังสือลงวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๔๖ ยังคงดำรงอยู ทำ ใหผูฟองคดีท้ังสองตองรับผิดชดใชคาเสียหายตามคำส่ังดังกลาว ศาลจึงมีอำนาจวินิจฉัยวา คำส่ังท่ี ใหผูฟองคดีทั้งสองรับผิดชดใชคาเสียหาย และคำวินิจฉัยอุทธรณของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ใหยกอุทธรณ ของผฟู องคดีทัง้ สอง เปนคำสัง่ ทช่ี อบดว ยกฎหมายหรอื ไม

๑๓๕ เมื่อขอเท็จจริงปรากฏวา ผูวาราชการจังหวัดนครศรีธรรมราชซึ่งไดรับมอบอำนาจจาก เลขาธิการคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแหง ชาติ ไดม ีคำสั่งลงวนั ที่ ๓๐ ธนั วาคม ๒๕๔๑ แตง ต้ัง คณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด กรณีนาย ช. ยักยอกเงินของโรงเรยี น ซ่ึงผูว า ราชจังหวัดนครศรีธรรมราชไดมีหนังสือลงวันท่ี ๒๓ มิถุนายน ๒๕๔๒ ถึงผูถ ูกฟองคดที ี่ ๑ รายงาน ผลการสอบขอเท็จจริงโดยมีความเห็นวาความเสียหายเกิดจากการจงใจของนาย ช. และ ความประมาทเลินเลออยางรายแรงของนาง ส. ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ จึงมีหนังสือลงวันที่ ๒๓ ตุลาคม ๒๕๔๒ รายงานผลการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดใหกระทรวงการคลังทราบ ตอมา กรมบัญชีกลาง โดยไดรับมอบอำนาจจากกระทรวงการคลังมีหนังสือลงวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๔๓ ถึงผูถกู ฟองคดีที่ ๑ โดยมีความเห็นวาผูฟองคดีทั้งสองกระทำการโดยประมาทเลินเลออยางรายแรงและตองรับผิด ชดใชคาเสียหายแกทางราชการดวย จึงใหเรียกนาย ช. นางสาว ส. และผูฟองคดีทั้งสองชดใช คาเสียหายแกทางราชการ จึงเปนกรณีท่ีหนวยงานของรัฐเห็นวา เจาหนาที่ไมตองรับผิด แตกระทรวงการคลัง ตรวจสอบแลวเห็นวาเจาหนาที่ตองรับผิด อายุความการใชสิทธิเรียกรองคาสินไหมทดแทน จึ ง มี ก ำ ห น ด อ า ยุ ค ว า ม ห นึ่ ง ป นั บ แ ต วั น ที่ ห น ว ย ง า น ข อ ง รั ฐ มี ค ำ ส่ั ง ต า ม ค ว า ม เห็ น ข อ ง กระทรวงการคลังตามมาตรา ๑๐ วรรคสอง แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ เม่ือสวนกฎหมายวินัยและนิติการของผูถูกฟองคดที ี่ ๑ ไดรับหนังสือแจงของกรมบัญชีกลางดังกลาว แลวเม่ือวันท่ี ๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๓ การที่ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ มีหนังสือลงวันท่ี ๑๐ เมษายน ๒๕๔๖ แจงใหสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดนครศรีธรรมราชเรียกใหผูฟองคดีท้ังสองชดใชคาเสียหาย และตอมาผูอำนวยการการประถมศึกษาจังหวัดนครศรีธรรมราชไดมีหนังสือลงวันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๔๖ แจงผูฟองคดีท้ังสองใหนำเงินที่ตองรับผิดไปชำระโดยอางอำนาจตามหนังสือของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ดังกลาว จึงเปนการใชสิทธิเรียกรองใหผูฟองคดีท้ังสองชดใชคาสินไหมทดแทนเม่ือพนกำหนดอายุ ความหนึ่งปนับแตผูถูกฟองคดีที่ ๑ มีคำส่ังตามความเห็นของกระทรวงการคลังแลว ท้ังน้ี ปญหาที่วา การออกคำส่ังเรียกใหผูฟองคดีทั้งสองชดใชเงินภายในอายุความท่ีกฎหมายกำหนดหรือไม เปนปญหา ขอกฎหมายอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน แมคูกรณีไมไดยกเร่ืองดังกลาวข้ึนวากลาว ในช้ันอุทธรณ ศาลปกครองสูงสุดก็มีอำนาจยกข้ึนวินิจฉัยไดตามขอ ๙๒ แหงระเบียบของท่ีประชุม ใหญฯ วาดวยวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๓ เมื่อคำสั่งท่ีใหผูฟองคดีท้ังสองรับผิดชดใช คาเสียหาย เปนการออกคำสั่งเมื่อพนกำหนดอายุความตามกฎหมายแลว คำส่ังดังกลาวจึงเปน คำสั่งที่ออกโดยไมมีอำนาจอันเปนการไมชอบดวยกฎหมาย และเม่ือคำสั่งใหผูฟองคดีท้ังสองรับผิด ชดใชคาเสียหายไมชอบดวยกฎหมาย การท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๒ มีคำวินิจฉัยยกอุทธรณซึ่งมีผลทำให ผฟู องคดีท้ังสองมีหนาท่ีตองชดใชคาเสียหาย คำวินิจฉัยอุทธรณดังกลาวจึงเปนคำสั่งท่ีไมชอบดวย กฎหมายเชนกัน การท่ีศาลปกครองชั้นตนมีคำพิพากษาเพิกถอนคำสั่งผูถูกฟองคดีที่ ๑ และ คำวินิจฉยั อทุ ธรณของผูถูกฟองคดีที่ ๒ ยอนหลังไปต้ังแตวันทมี่ ีคำสั่งและคำวนิ ิจฉัยอทุ ธรณ ศาลปกครอง สูงสุดเห็นพองดวยในผล แตในสวนที่ใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ ดำเนินการพิจารณาและวินิจฉัยใหม ใหถูกตองตอไปนั้น เห็นวา เมื่อลวงเลยอายุความการใชสิทธิเรียกรองตามกฎหมายแลว ผูถูกฟอง

๑๓๖ คดีที่ ๑ ยอมไมมีอำนาจพิจารณาและวินิจฉัยใหมได ศาลปกครองสูงสุดจึงไมเห็นพองดวยกับคำ พิพากษาของศาลปกครองชั้นตนในสวนนี้ พิพากษาแกค ำพิพากษาของศาลปกครองช้ันตน เปน เพิกถอน คำส่ังของผูถ กู ฟองคดีท่ี ๑ ทีใ่ หผ ฟู อ งคดที ัง้ สองชดใชค าเสยี หาย และคำวินจิ ฉยั อทุ ธรณข องผูถูกฟอ ง คดที ี่ ๒ โดยใหมีผลยอ นหลังไปนบั แตวนั ออกคำสงั่ คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ. ๒๓๑/๒๕๔๙ เมื่อผูฟองคดีไดพาคณะเจาหนาที่ เดินทางกลับจากราชการ โดยเดินทางถึงศูนยฝกวิชาชีพฯ แลว ถือวาเปนการเสร็จสิ้นการ ปฏิบัติหนาที่ หลงั จากนั้น การท่ผี ูฟอ งคดีนดั แนะใหค ณะเจาหนาที่ไปรวมกันรับประทานอาหาร โดยใหนาย ส. ขับรถยนตของราชการไปที่รานอาหาร หลังจากรับประทานอาหารเสร็จแลว จึงขับรถยนตไปสงครูสตรีที่ไมมีพาหนะกลับบาน และนำรถยนตดังกลาวไปจอดเก็บไว ท่ีบานพักของนาย ส. จึงไมถือวาเปนการปฏิบัติหนาที่ เม่ือขณะท่ีรถยนตของทางราชการ สูญหายไมไ ดเกดิ ขนึ้ ในระหวางที่ผฟู อ งคดีและนาย ส. กระทำในการปฏิบัตหิ นาท่ี ผฟู อ งคดแี ละ นาย ส. ตองรวมกันรับผิดชดใชคาเสียหาย โดยตองบังคับตามบทบัญญัติแหงประมวล กฎหมายแพงและพาณิชย ทั้งนี้ ตามมาตรา ๑๐ แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของ เจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อ.๑๙๗/๒๕๖๒ กรณีฟองขอใหเพิกถอนคำสั่งใหชดใช คาสินไหมทดแทนและคำวินิจฉัยอุทธรณ การท่ีผูใตบังคับบัญชาจัดทำเอกสารเบิกเงินตามคำส่ัง ของผูบังคับบัญชาโดยไมถูกตองตามระเบียบน้ัน ผูใตบังคับบัญชายอมมีความวิตกกังวล และ คาดหมายไดวาหาก ไมป ฏิบตั ิตามคำส่ังดงั กลาวจะไดรับผลกระทบตอหนาท่ีราชการ กรณีจึงมีเหตุ ลดจำนวนคาสินไหมกรณีละเมิดอันเกิดจากการปฏบิ ัติหนาท่ี) (พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของ เจาหนา ท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๘ วรรคสอง คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อ. ๑๑๔๙/๒๕๖๓ เม่ือสาเหตุของการเกิดเหตุ เพลิงไหมหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร นาเช่ือวาเกิดจากวัตถุที่มีไฟติดอยูชนิดใดชนิดหนึ่ง เชน การสะสมความรอ นของเคร่อื งคอมพิวเตอร หรือสิ่งอ่ืนๆ ไปสมั ผสั กบั วตั ถุทเี่ ปนเชอ้ื เพลิงทำให เกิดการคุและลุกไหมขน้ึ จนทำใหเกิดเหตุเพลิงไหมและไดร ับความเสยี หาย กรณีจึงอาจเปนไป ไดวา สาเหตุของเพลิงไหมเกิดจากการท่ีผูฟองคดี ซึ่งเปนครูผูรับผิดชอบหองคอมพิวเตอร ไมไดใชความระมัดระวังสับสะพานไฟ (เบรกเกอร) ลงกอนปดหองเรียน เพราะหากทำการสับ สะพานไฟลงแลว กจ็ ะไมม ีกระแสไฟฟาผานเขาสู ในระบบวงจรไฟฟาภายในหองคอมพวิ เตอร และจะไมมีการสะสมความรอนของอุปกรณไฟฟาใดๆ จึงถือไดวาผูฟองคดีไดกระทำละเมิด ดวยความประมาทเลินเลอ แตยังก็ไมถึงขนาดไดกระทำดวยความจงใจหรือประมาทเลินเลอ อยางรายแรง คำสั่งผูฟองคดีชดใชคาสินไหมทดแทน จึงเปนคำสั่งท่ีไมชอบดวยกฎหมาย คำวินิจฉัยอุทธรณจงึ ไมชอบดวยกฎหมายเชนกัน

๑๓๗ กรณีนาสนใจเพื่อประกอบการพิจารณา คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ. ๑๑๗๖/๒๕๖๓ พฤติการณท่ีผูฟองคดีขับขี่รถยนต ของกรมปาไม แฉลบตกลงไปในรองระบายน้ำกลางถนน แลวพลิกคว่ำขามไปยังชองทางเดิน รถยนตฝงตรงขามจนเกิดเหตุเฉี่ยวชน กับบุคคลภายนอก เปนผลมาจากการท่ีผูฟองคดีไม สามารถควบคุมรถยนตใหมีความปลอดภัยได จึงถือไดวา เปนการกระทำโดยประมาทเลินเลอ อยางรายแรง อยางไรก็ตาม ขณะเกิดเหตุ ผูฟองคดีดำรงตำแหนงนักวชิ าการปาไม ๗ว. การท่ี ผูฟองคดีตองเดินทางไปราชการ ท่ีจังหวัดขอนแกนและตองขับขี่รถยนตของทางราชการไป ปฏิบัติราชการดวยตนเอง เปนเพราะกรมปาไมมิไดจัดใหมีพนักงานขบั รถยนต ความเสยี หายที่ เกิดข้ึนเปนผลมาจาก ความบกพรองของกรมปาไมดวยสวนหนึ่ง สมควรหักสวนความรับผิด ของกรมปาไม ออกรอ ยละ ๕๐ ของคาเสยี หาย ตามมาตรา ๘ วรรคสาม แหง พ.ร.บ. ความรับ ผิดทางละเมดิ ของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ. ๑๐๔๒/๒๕๖๓ แมวาจะไมมีหนวยราชการใดได กำหนดมาตรฐานราคากลางของมูลี่ไวก็ตาม แตคณะกรรมการกำหนดราคากลางก็ยอมมีหนาที่ใน การสบื ราคามูล ่ีทีเ่ ปนราคาปกติตามทองตลาดเพ่ือใหทราบราคาทีเ่ หมาะสมและเพื่อปองกนั การจัด จางในราคาท่ีสูงกวาความเปนจริงอันจะกอใหเกิดความเสียหายแกผูฟองคดี อีกท้ังยังเปนการชวย กลั่นกรองราคาท่ีเหมาะสมเพื่อประกอบการตัดสินใจในการวาจางโดยวิธีตกลงราคา ดังน้ัน การท่ี คณะกรรมการกำหนดราคากลางอาง แตเพียงวามูลี่ไมมีมาตรฐานราคากลาง และการท่ีเจาหนาท่ี พัสดุไดโทรศัพทสอบถามราคากับรานคาท่ีรับติดตั้งมูลี่ จำนวน ๒ ราน แลวถือวา เปนราคาปกติ ตามทองตลาด โดยไมไดจัดทำใบประมาณราคากลางหรือมีการตรวจสอบราคาอยางจริงจังหรือมี การตอรองราคาเพื่อใหไดราคาท่ีเปนธรรมและเหมาะสมท่ีจะจัดจาง จึงเปนการกระทำโดย ประมาทเลินเลออยางรายแรง เปนเหตุใหผูฟองคดีไดรับความเสียหาย ผูถูกฟองคดีในฐานะ ประธานกรรมการกำหนดราคากลางจึงตอ งรับผดิ ชดใชค า สนิ ไหมทดแทนใหแ กผฟู องคดี คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อ.๑๐๑๒/๒๕๖๓ การทคี่ ณะกรรมการเปดซองสอบ ราคาอางวา หางหนุ สวนจำกัด ส. ยน่ื เอกสารสอบราคาบกพรองคอื เสนอ ๒ ราคา ไมท ราบแนชดั วา จะเสนอราคาใด จึงไมถ กู ตอ งนัน้ เมอ่ื พจิ ารณาเอกสารใบแสดงรายละเอยี ดราคาคา วัสดุแรงงาน ประกอบการเสนอราคา คากอ สรางดังกลาวแลวเหน็ วา หางหนุ สวนจำกดั ส. ประสงคจะยนื ยัน ราคาสุดทา ยทรี่ าคา ๒๓๙,๐๐๐ บาท โดยใชคำวาคดิ ราคาเพยี ง ๒๓๙,๐๐๐ บาท เมอ่ื เปน การ เขียนกอ นยืน่ ซองเสนอราคา จงึ ไมม ีประเด็นวา มกี ารเสนอ ๒ ราคา ตามที่คณะกรรมการเปดซอง สอบราคากลา วอาง ประกอบกับคณะกรรมการทุกคนไดลงลายมือชอ่ื รบั รองความถกู ตอ งของ เอกสารดงั กลา วแลว จะอางวาไมทราบขอความในเอกสารหรือไมมเี อกสารหาไดไ ม ดงั นนั้ เมอื่ การ ปฏบิ ัติหนาทีข่ องผูฟอ งคดีในกระบวนการสอบราคาดังกลา วเหน็ ไดวา อาจทำใหเ ทศบาลตำบลคูเตา ไดร บั ความเสียหาย จึงเปนการปฏิบตั ิหนาทด่ี ว ยความประมาทเลินเลอ ตามมาตรา ๔๒๐ แหง ประมวลกฎหมายแพงและพาณชิ ย และโดยทก่ี ารเสนอความเห็นของผูฟองคดีดังกลา ว มีลกั ษณะ

๑๓๘ เปน การปฏบิ ัติหนาทท่ี เี่ บีย่ งเบนไปจากมาตรฐานปกติของผูท ่ปี ฏบิ ตั งิ านในฐานะเจาหนา ทพี่ ัสดุ จึง ตอ งถอื วาผูฟ องคดีปฏิบัตหิ นา ทดี่ ว ยความประมาทเลนิ เลออยางรายแรง จำตองใชค าสนิ ไหม ทดแทนใหแกห นวยงานของรัฐในความเสียหายน้ัน ตามบทบญั ญตั มิ าตรา ๘ แหง พ.ร.บ. ความรับ ผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๖๐๐/๒๕๖๓ เม่ือผูฟองคดีซ่ึงเปนผูอำนวยการ สวนรายไดในฐานะผูบังคับบัญชามิไดควบคุมดูแลการปฏิบัติหนาท่ีของผูใตบังคับบัญชาใหถูกตอง ตามระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนำเงินสงคลังของสวนราชการ พ.ศ. ๒๕๒๐ และระเบียบ ท่ีเกี่ยวของ เปนชองทางใหผูใตบังคับบัญชาทำการทุจริตและยักยอกเงินคาจองและลักเหรียญไป เพื่อประโยชนของตนไดโดยงาย อันเปนการปฏิบัติหนาที่ดวยความประมาทเลินเลออยางรายแรง เปน เหตใุ หกรมธนารักษ ไดรับความเสียหาย จงึ เปน การกระทำละเมิดตอกรมธนารกั ษจ ึงตอ งรบั ผิด ในผลแหงละเมิดตามมาตรา ๑๐ ประกอบมาตรา ๘ แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยจะตองคำนวณคา เสียหายทีเ่ กิดขน้ึ ในระหวา งทผ่ี ูฟองคดีดำรงตำแหนงผูอำนวยการสวน รายได เมื่อสาเหตุที่ทำใหเกิดการกระทำทุจริตไดโดยงายนั้น สวนหน่ึงเกิดจากการท่ีสำนักบริหาร เงนิ ตราไมม รี ะเบียบวิธีปฏิบัติในการมอบหมายกำหนดหนา ที่ความรับผดิ ชอบในตำแหนงน้ันๆ และ ไมมีการจัดทำคูมือการปฏิบัติงานหรือกำหนดรายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงานใหชัดเจน การ ปฏิบัติหนาท่ีของเจาหนาที่จึงอาศัยแนวปฏิบัติตอๆ กันมา การไมมีระบบการตรวจสอบสินคา คงเหลือที่เพียงพอและรัดกุม และการขาดแคลนอัตรากำลัง ประกอบกับสถานที่ในการจำหนาย สินคาของหนวยจำหนายมีลักษณะทำใหการจัดเก็บสินคาและการควบคุมการเบิกจายสินคาทำได ไมรัดกุม และไมสามารถจัดเก็บไดโดยปลอดภัย จึงเปนการเปดโอกาสใหมีการทุจริตไดงาย การกระทำละเมิดดังกลาวสวนหนึ่งจึงเกิดจากความบกพรองของหนวยงาน ของรัฐประกอบดวย จึงใหห กั สว นแหงความรบั ผดิ ดงั กลาวออกในอัตรารอยละ ๕๐ ของจำนวนคาเสยี หายท่เี กิดขึน้ ตาม มาตรา ๘ วรรคสาม แหงพระราชบัญญัติดังกลาว และกรณีน้ีมีเจาหนาท่ีผูตองรับผิดชดใชคา สินไหมทดแทนหลายราย เมื่อคำนึงถึงระดับ ความรายแรงแหงการกระทำและความเปนธรรมใน กรณีน้ีแลว ผูฟองคดีในฐานะผูอำนวยการสวนรายไดมิไดควบคุมดูแลการปฏิบัติหนาท่ีของ ผูใตบังคับบัญชาใหถูกตองตามกฎหมาย และมิไดกำหนดขั้นตอนรายละเอียดในการปฏิบัติงาน เพ่ือใหเกิดการควบคุมดูแลการ จัดจำหนายสินคา ควรรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนรอยละ ๒๐ ของความเสียหายหลังจาก หักสวนแหงความผิดของหนวยงานของรัฐ จำนวน ๒๓,๐๐๘.๗๓ บาท คิดเปนเงินจำนวน ๒,๓๐๐.๘๗ บาท ดังนน้ั คำส่ังที่เรยี กใหผูฟองคดีรับผิดชดใชคาสนิ ไหมทดแทน เปนเงินจำนวนเกินกวาจำนวนดังกลาวและคำวินิจฉัยอุทธรณทีว่ ินิจฉยั ยืนคำส่ังในสวนดังกลาว จึง ไมช อบดว ยกฎหมาย

๑๓๙ คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อ. ๑๗๓/๒๕๖๔ การท่ีผูฟองคดีไมใชความระมัดระวัง จอดรถยนตของทางราชการไวในลานจอดรถซ่ึงเปน ที่ลับตาคน โดยผูฟอ งคดีไมสามารถมองเหน็ รถยนตท ี่ จอดอยไู ด เน่ืองจากมีตึกบดบังการมองเห็น ทำใหลานจอดรถดังกลาวปลอดคนและงายตอการท่ีรถยนต ของทางราชการจะถกู โจรกรรมและใชเวลารบั ประทานอาหารนานถงึ ๓ ช่ัวโมง ซึ่งนานกวาปกติ และ อยูหางไกลจากจุดท่ีผูฟองคดีจะใชความระมัดระวังหรือมองเห็นไดงาย โดยไมมีผูใดเฝาดูแล พฤติการณดังกลาวถือไดวาเปนการกระทำดวยความประมาทเลินเลออยางรายแรง เปนเหตุใหทาง ราชการไดรับความเสียหายอันเปนการกระทำละเมิดตอกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพ ืช ผูฟองคดีจึงตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนตามมาตรา ๔๒๐ แหงประมวลกฎหมายแพงและ พาณิชย ประกอบกับมาตรา ๑๐ วรรคหน่ึง และมาตรา ๘ วรรคหน่ึง แหง พ.ร.บ. ความรับผิด ทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ คำส่ังใหชดใชคาสินไหมทดแทนและคำวินิจฉัยอุทธรณ จงึ ชอบดว ยกฎหมาย คำพพิ ากษาศาลปกครองสงู สุดท่ี อ. ๑๒๙/๒๕๕๙ เห็นวา คดีมีประเด็นท่จี ะตองวินจิ ฉัย วา คำอทุ ธรณข องผถู ูกฟองคดีท่ี ๓ ทคี่ ัดคา นคำพิพากษาของศาลปกครองช้ันตน มีเหตุผล ท่ศี าลรับ ไวพิจารณาไดหรือไม พิเคราะหแลวเห็นวา คดีน้ีขอเท็จจริงรับฟงไดวา ผูฟองคดีซ่ึงนอกจาก จะตองปฏิบัติหนาที่สอนหนังสือแลวยังไดรับมอบหมายจากผูอำนวยการโรงเรียนหวยสักวิทยาคม ใหปฏิบัติหนาที่เปนเจาหนาท่ีการเงินของโรงเรียนอีกหนาท่ีหน่ึงดวย โดยในการปฏิบัติหนาที่ เจาหนาที่การเงินของโรงเรียนดังกลาว ผูฟองคดีในฐานะที่เปนกรรมการผูมีอำนาจลงลายมือช่ือ เบิกจา ยเงนิ ตองไปติดตอเบิกเงินท่ีธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) สาขายอยหาแยกพอขุนเม็ง ราย กรณีจึงถือวาการขับรถยนตไปและกลับระหวางโรงเรียนกับธนาคารของผฟู องคดีเพ่ือเบิกเงิน เปนการปฏิบัติหนาท่ีของผูฟองคดีในฐานะเจาหนาที่การเงิน ดังนั้น การที่ผูฟองคดีกระทำละเมิด ตอ บุคคลภายนอกผูเสียหายอันเนื่องมาจากการขับรถยนตเพื่อไปปฏิบัติหนาท่ีดังกลาว จงึ เปนการ กระทำละเมิดในการปฏิบัติหนาท่ีตอบุคคลภายนอก คดีมีประเด็นท่ีจะตองพิจารณาตอไปวา การ กระทำของผูฟองคดีดงั กลาว เปนการปฏิบัติหนาท่ีดวยความประมาทเลนิ เลออยางรายแรงหรอื ไม เห็นวา การกระทำ ที่จะถือวาเปนการกระทำดวยความประมาทเลินเลออยางรายแรง หมายถึง การกระทำ โดยมิไดเจตนา แตเปนการกระทำซ่ึงบุคคลพึงคาดหมายไดวาอาจกอใหเกิดความ เสียหายข้ึนได และหากใชความระมัดระวังแมเพียงเล็กนอยก็อาจปองกันมิใหเกิดความเสียหายได แตกลับมิไดใชความระมัดระวังเชนวานั้นเลย ดังน้ัน การท่ีผถู ูกฟองคดีที่ ๓ จะมีคำสงั่ ปฏเิ สธคำขอ ของผูฟองคดีที่ขอใหชดใชคาสินไหมทดแทนใหผูฟองคดีไดน้ัน จะตองปรากฏวา ผูฟองคดีมี พฤติกรรมขับรถดวยความจงใจหรือประมาทเลินเลออยางรายแรงจนกอใหเกิดความเสียหาย เม่ือ พิจารณาจากพยานหลักฐานท่ีเกี่ยวของประกอบคำพิพากษาศาล ในสวนคดีอาญาแลว เห็นวา ผูฟองคดีไดขับรถยนตเดินทางไปปฏิบัติหนาที่ตามท่ีผูบังคับบัญชามอบหมาย โดยผูฟองคดีอางวา ขับรถยนตดว ยความเร็วประมาณ ๕๐ ถึง ๖๐ กิโลเมตรตอ ช่วั โมง แมขอเทจ็ จริงในคดีจะไมป รากฏ วา มรี องรอยของการหามลอที่จะรับฟงไดว าเปนการกระช้ันชดิ ที่ไมสามารถหยุดรถไดท ันซ่ึงจะเปน

๑๔๐ เหตุสุดวิสัยก็ตาม แตไมมีพยานหลักฐานอื่นชัดเจนพอท่ีจะรับฟงไดวา ผูฟองคดีไดขับรถยนต ดวยความเร็วสูงเกินกวาท่ีกฎหมายกำหนด อีกทั้ง ผูฟองคดีไมไดรับมอบหมายใหปฏิบัติหนาที่ พนักงานขับรถยนตประจำโรงเรียน ดังน้ัน แมจะขับรถยนตมานานแตความเช่ียวชาญในการขับ รถยนตยอมมีไมเทากับเจาหนาที่ท่ีมีหนาท่ีขับรถยนตโดยตรง ประกอบกับไมปรากฏขอ เท็จจริงวา ผฟู องคดีไดเสพสารเสพติดหรือด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอลที่จะเปนสาเหตุใหเกิดอุบัติเหตุดังกลาวได ดวยเหตุดังกลาว แมผลของอุบัติเหตุจะรายแรงถึงขนาดมีผูเสียชีวิต แตเม่ือพิจารณาวิสัยและ พฤติการณของผฟู อ งคดีแลวเหน็ วา ผฟู องคดขี บั รถยนตโ ดยปราศจากความระมัดระวัง ซงึ่ บคุ คลใน ภาวะเชนน้นั จักตองมีตามวสิ ัยและพฤติการณและผฟู องคดอี าจใชความระมัดระวงั เชนวาน้ันได แต หาไดใชใหเพียงพอไม อุบัติเหตุดังกลาวจึงเกิดจากความประมาทเลินเลอของผูฟองคดี แตยัง ไมอาจถือไดวาเปนการประมาทเลินเลออยางรายแรงแตอยางใด ที่ศาลปกครองช้ันตนวินิจฉัยวา ผูฟองคดีกระทำการโดยประมาทเลินเลออยางรายแรง ศาลปกครองสูงสุดไมเห็นพองดวย แตอยางไรก็ตาม ในชั้นพิจารณาของศาลปกครองสูงสุด คูกรณีไมไดโตแยง ในประเด็นท่ีวา การกระทำของผูฟองคดีดังกลาวเปนการปฏิบัติหนาที่ดวยความประมาทเลินเลอ อยางรายแรง หรือไม ผูถูกฟองคดีท่ี ๓ ไดอุทธรณคำพิพากษาของศาลปกครองชั้นตน โดยอางวา ไมเห็นพองกับ คำพิพากษาของศาลปกครองชั้นตนที่ไดหักสวนความรับผิด ของผูถูกฟองคดีที่ ๓ ออกรอยละ ๕๐ ของคาเสียหายท้ังหมด เน่ืองจากผูถูกฟองคดีที่ ๓ เห็นวา ความเสียหายที่เกิดข้ึนน้ันเกิดจากความ ไมช ำนาญในการขบั รถยนตแ ละการตัดสนิ ใจท่ีผิดพลาดของผูฟอ งคดโี ดยลำพัง ผูฟอ งคดีตอ งรับผิด เต็มจำนวนน้ัน เห็นวา พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๘ วรรคหน่ึง บัญญัติวา ในกรณีท่ีหนวยงานของรัฐตองรับผิดใชคาสินไหมทดแทน แกผูเสียหายเพื่อการละเมิดของเจาหนาที่ ใหหนวยงานของรัฐมีสิทธิเรียกใหเจาหนาที่ผูทำละเมิด ชดใชค าสินไหมทดแทนดงั กลาวแกห นวยงานของรฐั ได ถาเจา หนาท่ีไดก ระทำการนั้นไปดวยความ จงใจหรอื ประมาทเลินเลออยางรา ยแรง วรรคสอง บัญญัติวา สิทธิเรียกใหชดใชค าสินไหมทดแทน ตามวรรคหนึ่งจะมีไดเพียงใดใหคำนึงถึงระดับความรายแรงแหงการกระทำและความเปนธรรมใน แตล ะกรณเี ปนเกณฑโดยมิตองใหใ ชเต็มจำนวนของความเสียหายกไ็ ด วรรคสาม บัญญัตวิ า ถาการ ละเมิดเกิดจากความผิดหรือความบกพรองของหนวยงานของรัฐหรือระบบการดำเนินการงาน สวนรวม ใหหักสวนแหงความรับผิดดังกลาวออกดวย และวรรคสี่ บัญญัติวา ในกรณีท่ีการละเมิด เกิดจากเจาหนาที่หลายคน มิใหนำหลักเร่ืองลูกหนี้รวมมาใชบังคับและเจาหนาท่ีแตละคนตองรับ ผิดใชคา สินไหมทดแทนเฉพาะสวนของตนเทา นั้น คดีนี้แมจ ะตองรับฟงขอเท็จจริงตามคำพพิ ากษา ของศาลปกครองชั้นตนวา ผูฟองคดีไดกระทำละเมิดตอเด็กหญิงผูตายดวยความประมาทเลินเลอ อยางรายแรงก็ตาม แตเมื่อขอเท็จจริงปรากฏวา ผูฟองคดีไดรับมอบหมายจากผูบังคับบัญชาให ปฏิบัติหนาที่เจาหนาที่การเงินของโรงเรียนอีกหนาท่ีหนึ่งนอกเหนือจากการทำหนาท่ีสอนหนังสือ โดยไมไดมีการมอบหมายใหผูฟองคดีปฏิบัติหนาท่ีในการเปนพนักงานขับรถยนตประจำโรงเรียน แตอยางใด ดังน้ัน การท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๓ ไมจัดใหมีรถยนตราชการและพนักงานขับรถยนตไว

๑๔๑ ประจำโรงเรียนที่ผูฟองคดีปฏิบัติหนา ท่ี เปน เหตุใหผูฟ องคดีตองขับรถยนตสวนตัวไปปฏิบัตหิ นาท่ี เบิกเงินที่ธนาคารจนเกิดเหตุละเมิดดังกลาว ผูถูกฟองคดีท่ี ๓ ก็มีสวนในการเกิดความเสียหายใน ครัง้ นี้ดวย เมื่อการละเมดิ เกิดจากความผิดหรือความบกพรองของผถู กู ฟองคดีท่ี ๓ ดวยแลว ผูฟอ ง คดีจงึ มีสิทธิท่ีจะเรยี กใหผูถูกฟองคดีท่ี ๓ ชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูฟองคดี อุทธรณของผูถูก ฟองคดีที่ ๓ ไมอาจรับฟงได การท่ีศาลปกครองช้ันตนวินิจฉัยวา ผูถูกฟองคดีที่ ๓ มีสิทธิเรียก คาสินไหมทดแทน จากผูฟองคดี โดยตองหักสวนท่ีเปนความบกพรองของผูถูกฟองคดีท่ี ๓ ออกรอยละ ๕๐ ของคาเสียหายท้ังหมด เปนเงิน ๑๒๕,๐๐๐ บาท และมีคำพิพากษาเพิกถอน คำสั่งของ ผูถูกฟองคดีท่ี ๓ ตามหนังสือสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ที่ ศธ ๐๔๐๐๙/๗๙๔ ลงวันท่ี ๙ เมษายน ๒๕๕๒ ซึ่งแจงตามหนังสือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เชียงราย เขต ๑ ท่ี ศธ ๐๔๐๔๓/๒๒๖๕ ลงวันท่ี ๔ พฤษภาคม ๒๕๕๒ ที่ปฏิเสธคำขอของ ผูฟองคดี ลงวันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๕๐ เฉพาะในสวนท่ีไมชดใชคาสินไหมทดแทนจำนวน ๒๕๐,๐๐๐ บาท ใหผูฟองคดี และใหผูถูกฟองคดีท่ี ๓ ชดใชคาสินไหมทดแทนใหผูฟองคดีจำนวน ๑๒๕,๐๐๐ บาท ภายใน ๖๐ วันนับแตวันที่คำพิพากษาถึงที่สุด และใหคืนคาธรรมเนียมศาล ตามสวนแหงการชนะคดแี กผฟู องคดี นนั้ ศาลปกครองสูงสุดเหน็ พอ งดวย พพิ ากษายนื

๑๔๒ ๗. กรณีเก่ียวกับสทิ ธิการเบิกคาเชาบาน กรณีฟองขอใหเพิกถอนคำสั่งท่ีจัดใหเขาพักอาศัยในท่ีพักของราชการและใหงดเบิกคาเชา ซื้อบาน เม่ือขาราชการท่ีมีสิทธิไดนำหลักฐานการชำระคาเชาซ้ือบานมาเบิกคาเชาบานโดยชอบ ดวยกฎหมายแลว ยอมไมอาจนำขอเท็จจริงที่ทางราชการไดจัดที่พักอาศัยใหอยูภายหลังมาเปน เหตุตัดสทิ ธิดังกลา วได คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อ.๖๗/๒๕๖๐ คดีน้ีขอเท็จจริงรับฟงเปนยุติวา ผูฟองคดี เร่ิมรับราชการครั้งแรกตำแหนงอาจารย ๑ ระดับ ๓ สังกัดโรงเรียนบานเนินกรวด จังหวัด ประจวบคีรีขันธ ตอมาเมื่อวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๓๗ ไดรับคำสั่งใหโอนยายมาดำรงตำแหนง เจาหนาที่ฝกอบรม ๔ ฝายเทคโนโลยีการฝกอบรม สถาบันพัฒนาครู คณาจารย และบุคลากรทางการ ศึกษา (สถาบันพัฒนาผูบริหารการศึกษา เดิม) โดยไมไดจัดที่พักอาศัยให และผูฟองคดีไมมีเคหสถาน ของตนเองในทองท่ีดังกลาว จึงเชาเพ่ืออยูอาศัยในระหวางปฏิบัติราชการ ผูฟองคดีจึงมีสิทธิไดรับคา เชาบานขาราชการตามมาตรา ๗ แหง พ.ร.ฎ. คาเชาบานขาราชการ พ.ศ. ๒๕๒๗ ตั้งแตเวลาดังกลาว จากน้ันเม่ือวันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๔๗ ขณะผูฟองคดีดำรงตำแหนงเจาหนาที่ฝกอบรม ๖ ว ไดทำ สัญญากูเงินกับธนาคารเพื่อซื้อเปนของตนเองในทองที่ดังกลาว และไดรับอนุมัติจากผูถูกฟองคดีที่ ๑ ใหนำหลักฐานการชำระคาเชาซ้ือหรือคาผอนชำระเงินกูเพื่อชำระราคาบานมาเบิกคาเชาบาน ขาราชการไดต้ังแตวันท่ี ๑ พฤษภาคม ๒๕๔๗ จึงเปนการใชสิทธินำหลักฐานการชำระคาเชาซ้ือหรือ คาผอนชำระเงินกูเพื่อชำระราคาบานมาเบิกคาเชาบานขาราชการโดยชอบตามมาตรา ๗ ประกอบกับ มาตรา ๑๖ แหงพระราชกฤษฎีกาดังกลาว และไดรับการรับรองสิทธิดังกลาวตอมาตาม พ.ร.ฎ. คาเชา บานขาราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ ตอมาในขณะที่ผูฟองคดีดำรงตำแหนงนักทรัพยากรบุคคล ชำนาญการ พิเศษ ผูถูกฟองคดีที่ ๑ สามารถจัดที่พักท่ีวางลงใหแกผูฟองคดีได จึงมีคำส่ังตามหนังสือลงวันท่ี ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๕๕ ใหผูฟองคดีเขาอยูอาศัยในที่พักดังกลาว และใหผูฟองคดีงดเบิกคาเชาซ้ือบาน ตั้งแตวันท่ี ๑ เมษายน ๒๕๕๕ คำสั่งดังกลาวยอมเปนการสรางภาระและสรางความเดือดรอนใหแก ผูฟองคดีจนเกินสมควร อันไมใชความประสงคของกฎหมายวาดวยคาเชาบานขาราชการ และไมอาจ ถือไดวาเปนการจัดสรรท่ีพักใหแกขาราชการผูไดรับความเดือดรอนในเรื่องที่อยูอาศัยตามหลักเกณฑ และวิธีปฏิบัติในการจัดขาราชการเขาพักอาศัยในท่ีพักของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๑ การที่ผูฟองคดี ปฏิเสธเขาพักอาศัยในท่ีพักของทางราชการท่ีผูถูกฟองคดีท่ี ๑ จัดใหอยูอาศัยจึงไมมีผลใหสิทธิในการ นำหลักฐานการชำระคาเชาซื้อหรือคาผอนชำระเงินกูเพื่อชำระราคาบานมาเบิกคาเชาบานขาราชการ ของผูฟองคดีส้ินสุดลง ที่ศาลปกครองช้ันตนพิพากษาเพิกถอนคำสั่งของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ตามหนังสือ ลงวันท่ี ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๕๕ ท่ีใหผูฟองคดีเขาพักอาศัยในบานพักราชการ ตั้งแตวันท่ี ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๕๕ เปนตนไป และท่ีใหผูฟองคดีงดเบิกคาเชาซ้ือบานตั้งแตวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๕ เปนตนไป ทัง้ น้ี นบั แตวันทมี่ ีคำพิพากษาถึงทีส่ ุด นนั้ ศาลปกครองสูงสุดเห็นพอ งดวย พพิ ากษายืน

๑๔๓ คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๒๔๓/๒๕๔๙ เม่ือผูฟองคดีไดรับอนุมัติจาก ผูถูกฟองคดีใหมีสิทธินำหลักฐานการผอนชำระเงินกูมาเบิกคาเชาบานไดมาตลอด การท่ีตอมา เม่ือผูฟองคดีไดหยารางกับสามีเกาและสมรสใหมกับสามีใหม แลวตองไปพักอาศัยที่บานของสามี ใหมบางเปนคร้ังคราว เน่ืองจากสามีใหมยังปรับตัวเขากับมารดาของผูฟองคดีไมได จึงไมอาจมา พักอาศัยท่ีบานผูฟองคดีได แตผูฟองคดีก็ยังคงไปมาและกลับมาพักอาศัยท่ีบานของตนเองดวย เชนกันตามแตโอกาสจะเหมาะนั้น ยังไมอาจถือไดวาผูฟองคดีมิไดใชบานหลงั ดังกลาวพักอาศัยอยู จริง เพราะการพักอาศัยอยูจริงตามความหมายในมาตรา ๑๖ แหง พ.ร.ฎ.คาเชาบานขาราชการ พ.ศ. ๒๕๒๗ หาไดหมายความวา ตองมาพักอาศัยอยูเปนประจำทุกคืนวันไม สวนกรณีที่วาสามี ใหมของผูฟองคดี มีเคหสถานเปนของตนเองท่ีผูฟองคดีพออาศัยอยูรวมกันไดแลวน้ัน โดยท่ีบาน ของสามีใหมด ังกลา วมลี ักษณะเปนทาวนเฮาวช ัน้ เดยี วเน้ือทป่ี ระมาณ ๒๙ ตารางวา มี ๒ หองนอน โดยมีนาย ก. และภรรยาซึ่งเปนเพื่อนของสามีใหมพักอาศัยอยูดวยกอนแลว การท่ีจะตองให ผูฟองคดีขนยายทรัพยสินของตนรวมทั้งทรัพยสิน ของมารดา บุตรสาวและหลานชาย พรอมทั้ง นำบุคคลดังกลาวท้งั หมดทผี่ ูฟอ งคดี มหี นาที่ตองอุปการะเล้ียงดูยายไปอยทู ่บี านสามีใหมซ ง่ึ มีเน้อื ที่ อยางจำกัด ยอมเปนการไมสะดวกตอการพักอาศัยและการดำรงชีวิตอยูอยางปกติสุขของบุคคล ที่เกี่ยวของทั้งหมด การส่ังระงับสิทธิเบิกคาเชาบานขาราชการของผูฟองคดีจึงเปนการออกคำสั่ง โดยใชดุลพินิจท่ีไมชอบ ท่ีศาลปกครองช้ันตนพิพากษาใหเพิกถอนคำสั่งของผูถูกฟองคดีที่ ๒ ทส่ี งั่ ระงับสิทธกิ ารเบิกคาเชาบา นขา ราชการของผูฟ อ งคดีจงึ ชอบแลว คำพิพ ากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อ.๙๓๐/๒๕๖๓ เมื่อขอเท็จจริงปรากฏวา เดิมผูถูกฟองคดี(ขาราชการครู) เปนผูท่ีมีสิทธิไดรับคาเชาบาน ตามมาตรา ๗ วรรคหนึ่ง แหง พ.ร.ฎ. คาเชาบานขาราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และไดรับอนุมัติ ใหใชสิทธินำหลักฐานการผอน ชำระเงินกูเพื่อชำระราคาบานไปใชสิทธิเบิกคาเชาบาน ตามมาตรา ๑๗ แหงพระราชกฤษฎีกา ดังกลาวตอเนื่องมาโดยตลอด ตอมา ผูถูกฟองคดีไดรับคำส่ังใหไปประจำสำนักงานใหมในตาง ทองที่โดยท่ีไมไดยื่นคำขอ ผูถูกฟองคดีจึงเปนผูมีสิทธิไดรับคาเชาบานขาราชการ แตสิทธิในการ เบิกคาเชาบานไมอาจมีขึ้นซ้ำซอนกับสิทธิ ในการเขาพักอาศัยในที่พักของของทางราชการได ดั ง น้ั น ก า ร ที่ ผู ถู ก ฟ อ งค ดี ท ำ เรื่ อ ง ใช สิ ท ธิ ข อ เบิ ก ค า เช า บ า น จ า ก ท า งร า ช ก า ร ท้ังๆ ที่ไดเขาพักอาศัยในที่พักอาศัยของทางราชการ จึงเปนการขัดตอมาตรา ๗ วรรคหนึ่ง (๑) แหง พ.ร.ฎ. คาเชาบานขาราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ ผูถูกฟองคดีจึงตองคืนเงินคาเชาบานท่ีรับไปโดย ไมมีสทิ ธิพรอมดอกเบี้ยในระหวางเวลาผดิ นัดใหแกทางราชการ คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๙๐/๒๕๖๓ กรณีฟองขอใหเพิกถอนคำสั่งไมอนุมัติ ใหเบิกจายคาเชาบาน เม่ือขาราชการไดรับการบรรจุเขารับราชการคร้ังแรกเปนพนักงานเทศบาล สามัญ ในทองที่อำเภอแมทะ จังหวัดลำปาง ตอมาไดโอนยายมารับราชการในตำแหนง นัก ทรัพยากรบุคคลซึ่งเปนบุคลากรทางการศึกษาในทองท่ีอำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย ซ่ึงเปนคนละ ทองท่ีกับทองที่ท่ีผูฟองคดีเริ่มรับราชการครั้งแรก จึงถือวาขาราชการ ไดรับคำส่ังใหเดินทางไป

๑๔๔ ประจำสำนักงานในตางทองท่ีและการที่ขาราชการย่ืนคำขอ โอนยายเปลี่ยนสังกัดจากขาราชการ สว นทอ งถ่ินไปสังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานซ่ึงเปนราชการบริหารสว นกลาง ถอื ไมไ ดว า ขา ราชการไดร ับคำสัง่ ใหเ ดนิ ทางไปประจำสำนักงานใหมใ นตา งทองทีต่ ามคำรอ งขอของ ตนเอง จึงมีสิทธิ ไดรับคาเชาบานขาราชการ ดังนั้น คำส่ังไมอนุมัติใหเบิกคาเชาบานจึงไมชอบ ดวยกฎหมาย (พ.ร.บ. ระเบียบขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ มาตรา ๔ มาตรา ๓๘ วรรคหนึ่ง ค. (๒) และมาตรา ๕๘ วรรคสาม, พ.ร.บ. ระเบียบบริหารงานบุคคล สวน ทองถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๓, พ.ร.ฎ. คาเชาบานขาราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ มาตรา ๔ และมาตรา ๗ วรรคหน่ึง (๓) และกฎ ก.ค.ศ. วาดวยการกำหนดระดับตำแหนงและการใหไดรับเงินเดือนและ เงินประจำตำแหนงของตำแหนงบุคลากรทางการศึกษาอ่ืนตามมาตรา ๓๘ ค. (๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ ขอ ๑ (๑๘)) คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๖๗/๒๕๖๐ กรณีฟองขอใหเพิกถอนคำส่ังท่ีจัดใหเขา พักอาศัยในที่พักของราชการและใหงดเบิกคาเชาซื้อบาน เม่ือขาราชการท่ีมีสิทธิไดนำหลักฐาน การชำระคาเชาซ้ือบานมาเบิกคาเชาบานโดยชอบดวยกฎหมายแลว ยอมไมอาจนำขอเท็จจริงที่ ทางราชการไดจัดท่ีพักอาศัยใหอยูภายหลังมาเปนเหตุตัดสิทธิดังกลาวได) (พ.ร.ฎ. คาเชาบาน ขาราชการ พ.ศ. ๒๕๒๗ มาตรา ๗ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๑๖ พ.ร.ฎ. คาเชาบานขาราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ มาตรา ๗ วรรคหนึ่ง (๑) มาตรา ๑๔ มาตรา ๑๗ และมาตรา ๑๘, หลักเกณฑและวิธี ปฏบิ ัติในการจดั ขา ราชการเขา พักอาศยั ในที่พกั ของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๑) ผูมีสิทธิเบิกคาเชาบาน หลักเกณฑการเพิกถอนคำสั่งทางปกครองท่ีชอบดวยกฎหมาย คำส่ังอนุมัติใหเบิกคาเชาบานโดยชำระคาเชาซื้อหรือในลักษณะผอนชำระเงินกูเพ่ือชำระราคา บานทช่ี อบดว ยกฎหมาย ผฟู อ งคดีไมตอ งคืนเงนิ คาเชา บา นท่ีเบกิ ไป คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๗๒/๒๕๕๕ ผูฟองคดีไดรับอนุญาตใหเขาอาศัยอยูใน บานพักขาราชการต้ังแตป ๒๕๒๓ ตอมาในป ๒๕๓๓ หัวหนาฝายสถานท่ีไดรายงาน ผอ.ศูนย การศึกษานอกโรงเรียน ภาคใตวาบานหลังดังกลา วชำรุดไมสามารถพักอาศัยตอไปได เหน็ ควรใหผู ฟองคดีและครอบครัวออกจากบานพักต้ังแตวันท่ี ๑ กรกฎาคม ๒๕๓๓ และใหดำเนินการ ซอมแซม ผอ.ศูนยฯ เห็นชอบดวย และผูฟองคดีไดมีหนังสือลงวันท่ี ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๓๓ ขอ อนุมัติเบิกคาเชาบานโดยวิธีการเชาซื้อตั้งแตวันท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๓๓ เปนตนไป ผอ.ศูนยฯ อนุมัติ ใหเบิกคาเชาบานเฉพาะชวงท่ีซอมแซม แตเมื่อซอมแซมเสร็จ ผอ.ศูนยฯ กลับอนุมัติใหนาง ว. เขาพกั อาศัยในบานดงั กลาว ตอ มามีผรู องเรียนวาผูฟองคดีเบิกคาเชา บา นในขณะที่บานพกั วางจึงมี การแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนความรับผิดทางละเมิดกรณีการเบิกคาเชาบานมิชอบ และผูถูก ฟอ งคดีท่ี ๒ (สำนักงานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ) มีคำส่ังระงับการ เบิกคาเชาบานไวกอน ตอมาผูถูกฟองคดีท่ี ๑ (สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยภาคใต) จึงมีหนังสือลงวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๔๖ แจงเพกิ ถอนคำส่ังที่อนุมัตใิ หผุฟอง

๑๔๕ คดีเบิกคาเชาบานและใหผูฟองคดีคืนเงนิ คาเชาบา นท่ีเบิกไปโดยเห็นวา ผูฟองคดีสละสิทธิออกจาก บานพักเอง ตามทผ่ี ูถูกฟองคดที ่ี ๓ (กรมบัญชกี ลาง) มีหนงั สอื ลงวันท่ี ๒๗ มกราคม ๒๕๔๖ แจง ใหผ ถู ูก ฟองคดีท่ี ๑ ทราบ ผูฟองคดีจึงนำคดีมาฟอง เห็นวา คำส่ังอนุมัติใหผูฟองคดีเบิกคาเชาบานโดย ชำระคาเชาซื้อหรือในลกั ษณะผอนชำระเงินกูเพ่อื ชำระราคาบา น และคำส่ังเพิกถอนคำส่งั อนุมตั ใิ ห เบิกคาเชาบานดังกลาวตามหนังสือลงวันท่ี ๒๔ เมษายน ๒๕๔๖ เปนการใชอำนาจตามมาตรา ๗ วรรคหน่ึง แหง พ.ร.ฎ. คาเชาบานขาราชการ พ.ศ. ๒๕๒๗ จึงเปนคำสั่งทางปกครอง เมื่อไดความ วาผูฟองคดีมีหนังสือลงวันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๓๓ แจงวาบานทรุดโทรมจนไมอาจพักอาศัยได ขอใชสิทธิเบิกคาเชาบานและ ผอ.ศูนยฯ มีคำส่ังอนุมัติ ซ่ึงหากบานชำรุดมากจนไมอาจอาศัยได ผูฟองคดีก็ยอมมีสิทธิเบิกคาเชาบาน กรณีจึงถือไมไดวาผูฟองคดีสละสิทธิเขาพักอาศัยในบานพัก ขา ราชการ นอกจากนี้เมื่อซอมแซมบานเสร็จแลว ผอ.ศูนยฯ ซึ่งเปนผูมีอำนาจอนุมัติใหขาราชการ เขาพักอาศัยในบานพักกลับอนุมัติใหนาง ว. ซ่ึงมีสิทธิเบิกคาเชาบานเขาอยูอาศัย ดังน้ีก็หาเปน หนาท่ีของผูฟองคดีท่ีจะตองยื่นคำขอกลับเขาพักอาศัยแตประการใดไม เมื่อบานพักในขณะน้ัน มไิ ดว างอยู ผฟู องคดจี ึงมีสทิ ธิเบกิ คาเชา บานได คำสั่งอนุมัติใหเบกิ คาเชา บา นซึง่ เปน การใหเงินหรือ ใหทรัพยสินหรือใหประโยชนอื่นใดอันอาจแบงแยกไดจึงชอบดวยกฎหมาย สำหรับการพิจารณาวา คำสั่งเพิกถอนการอนุมัติใหเบิกคาเชาบานตามหนังสือลงวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๔๖ เปนคำสั่งที่ ชอบดวยกฎหมายหรือไมจึงตองพิจารณาตามมาตรา ๕๓ วรรคส่ี แหง พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการ ทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ เมื่อไมปรากฏในทางพิจารณาวาเขาหลักเกณฑตามบทบัญญัติของ มาตรา ๕๓ วรรคสี่ ที่คำสั่งที่ชอบดวยกฎหมายอาจถูกเพิกถอนได คือ เจาหนาที่มิไดปฏิบัติหรือ ปฏิบัติลาชาในอันท่ีจะดำเนินการใหเปนไปตามวัตถุประสงคหรือผูไดรับประโยชนมิไดปฏิบัติหรือ ปฏิบัติลาชาในอันที่จะดำเนินการใหเปนไปตามเง่ือนไขของคำสั่งทางปกครอง ดังนั้น คำสั่งเพิก ถอนคำส่ังที่อนุมัติใหผูฟองคดีเบิกคาเชาบานลงวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๔๖ จึงไมชอบดวยกฎหมาย สวนคำขอใหเพิกถอนคำสั่งของผูถูกฟองคดีท่ี ๓ ตามหนังสือลงวันที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๔๖ ที่แจงผล การพิจารณาความรับผิดทางละเมิดน้ัน เห็นวา การใชสิทธิเบิกคาเชาบานของขาราชการผูมีสิทธิ โด ย ช ำ ร ะ ค า เช า ซื้ อ ห รื อ ใน ลั ก ษ ณ ะ ผ อ น ช ำ ร ะ เงิ น กู เพื่ อ ช ำ ร ะ ร า ค า บ า น เป น ก า ร อ า ศั ย สิ ท ธิ ตาม พ.ร.ฎ. คาเชาบานขาราชการ พ.ศ. ๒๕๒๗ หาใชเปนการปฏิบัติหนาที่ หากมีการเบิก คา เชา บานมิชอบกไ็ มต องรบั ผิดชดใชคาเสียหายโดยละเมดิ คงมีหนาที่ตองคืนเงนิ ท่ีเบกิ ไป เมื่อผอู นุมัติ การเบิกคาเชาบานมีคำส่ังเพิกถอนการอนุมัติและหากมีการปฏิเสธท่ีจะคืนเงิน ก็ตองมีการบังคับ ตามมาตรการบังคับทางปกครองหรือลาภมิควรไดตอไป สวนคำส่ังของผูถูกฟองคดีที่ ๒ ลงวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๔๑ ที่ส่งั ระงับการเบิกจายคาเชาบานของผูฟ องคดีไวกอนจนกวาคดีจะถึงทสี่ ุดน้ัน เมอ่ื ศาลไดวินิจฉยั แลววา ผูฟ องคดีมสี ิทธิเบิกคาเชาบานคำสง่ั ของผูถกู ฟองคดที ี่ ๒ ดงั กลาว จงึ ไมชอบดวย กฎหมาย พิพากษากลับคำพิพากษาของศาลปกครองช้ันตนเปนใหเพิกถอนคำสั่งของผูถูกฟองคดี ที่ ๑ ลงวันท่ี ๒๔ เมษายน ๒๕๔๖ คำสั่งของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ลงวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๔๑ และคำสั่ง ของผูถ กู ฟอ งคดีท่ี ๓ ลงวันที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๔๖

๑๔๖ คำพพิ ากษาศาลปกครองสูงสดุ ท่ี อ.๑๐๓๘/๒๕๖๑ กรณฟี อ งขอใหเพิกถอนคำสั่งระงับ การใชสิทธิเบกิ คา เชาบา นของขา ราชการ ขาราชการไดรับคำสง่ั ใหเดินทางไปประจำสำนกั งาน ใหมในตางทองท่ีตามคำรองขอของตนเอง จึงถูกยกเวนไมใหไดรับคาเชาบาน คำสั่งพิพาทจึง ชอบดวยกฎหมายแลว เห็นวา ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ประสงคจัดใหมีการดำเนินการยายขาราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาเพื่อหาผูมาดำรงตำแหนงท่ีวาง ตำแหนงที่คาดวาจะวาง และการยายตอเนื่อง ซึ่งเปนการยายกรณีปกติ โดยแจงผูอำนวยการโรงเรียนทุกโรงเรียนในสังกัดทราบเปนการท่ัวไป ตามหนังสือลงวันท่ี ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๔๙ โดยกำหนดใหย่ืนคำรอง ขอยายตามแบบที่กำหนด ภายในวันท่ี ๑๕ สิงหาคม ๒๕๔๙ ซึ่งเปนการยายในคร้ังที่ ๒ ของป เม่ือพิจารณาความประสงค ของผูฟองคดีจากแบบคำรองขอยายของผูฟองคดี ซึ่งผูฟองคดีทำเคร่ืองหมายแสดงความประสงค ย่ืนคำรองขอยายวันท่ี ๑ ถึงวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๔๙ ขอยายภายในเขตพื้นท่ีการศึกษา นครนายก ๒ โรงเรียน คือ โรงเรียนอนุบาลนครนายกและโรงเรียนบานนานายกพิทยากร โดยทำเครื่องหมายในชองการขอยายกรณีปกติ อีกท้ังเหตุผลในการขอยายของผูฟองคดี ๓ ประการ คือ อยูโรงเรียนปจจุบันมานาน (๖ ป) เพ่ือพัฒนาตนเองและโรงเรียนใหม และเพื่อสะดวก ในการเดนิ ทาง น้ัน ก็ระบุเปน เหตุผลการขอยายกรณีปกติ ทั้งที่ผูฟอ งคดีอาจแสดงเหตผุ ลการขอยา ย กรณียายสับเปล่ียน หรือกรณีพิเศษ ซ่ึงแบบคำรองดังกลาวเปดชองใหผูฟองคดีเลือกระบุความ ประสงคไดแตผูฟองคดีก็หาไดระบุความประสงคเชนวานั้นไม และแมวาเหตุผลในการขอยาย ของผูฟองคดี ๓ ประการดังกลาว ไมใชการขอยายกรณีปกติตามขอ ๕ ของหลักเกณฑและ วิธกี ารยายขาราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ตำแหนง ผบู ริหารสถานศกึ ษา สงั กดั สำนกั งาน เขตพ้ืนท่ีการศึกษานครนายก พ.ศ. ๒๕๔๙ และตามขอ ๒.๑ ของหลักเกณฑและวิธีการยาย ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ลงวันท่ี ๕ กรกฎาคม ๒๕๔๙ ก็ตาม แตเหตุผลทั้งสามประการดังกลาวก็ไมใชการยายกรณีพิเศษหรือการยายเพื่อประโยชน ของทางราชการ ตามขอ ๗ และขอ ๒.๓ ของหลักเกณฑขางตน ตามลำดับ เชนกัน กรณีจึงแปลความ ความประสงคของผูฟองคดีจากแบบคำรองขอยายขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ของผูฟองคดีไดวา ผูฟองคดีแสดงความประสงคขอยายกรณีปกติ ตอมาผูถูกฟองคดีท่ี ๑ มีคำสั่งแตงต้ังผูฟองคดีใหดำรงตำแหนงผูอำนวยการโรงเรียนอนุบาลนครนายกต้ังแตวันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๔๙ ตรงตามความประสงคท่ีปรากฏตามคำรองขอยายของผูฟองคดี และ ผูฟองคดีไปปฏิบัติหนาท่ีท่ีโรงเรียนอนุบาลนครนายกต้ังแตวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๔๙ โดยไมไดมีขอขัดของแตอยางใด คำส่ังดังกลาวของผูถูกฟองคดีที่ ๑ จึงเปนคำสั่งใหเดินทาง ไปประจำสำนักงานใหมในตางทองที่ตามคำรองขอของตนเองตามมาตรา ๗ วรรคหนึ่ง (๔) แหง พ.ร.ฎ. คาเชาบานขาราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ ผูฟองคดีจึงถูกยกเวนไมใหไดรับคาเชาบาน ตามบทบัญญัติดังกลาว และเมื่อมาตรา ๑๗ แหงพระราชกฤษฎีกาเดียวกันเปนบทบัญญัติ ท่ีขยายสิทธิในการเบิกคาเชาบานขาราชการตามมาตรา ๗ ใหขยายความไปถึงการเชาซ้ือ หรือ

๑๔๗ การผอนชำระเงินกูเพื่อชำระราคาบานท่ีคางชำระ ผูฟองคดีจึงยอมหมดสิทธินำหลักฐาน การชำระคาเชาซ้ือมาเบิกเงินคาเชาบานดวยเชนกันตามมาตรา ๗ วรรคหน่ึง (๔) ประกอบ มาตรา ๑๗ แหงพระราชกฤษฎีกาดังกลาว โดยกรณีของผูฟองคดีเปนกรณีท่ีมีการยายท้ังตำแหนง และอัตราเงินเดือนตามไปซ่ึงตกอยูในบังคับท้ังมาตรา ๗ และมาตรา ๑๘ ดวย แตเม่ือผูฟองคดี ไมมีสิทธิไดรับคาเชาบานตามพระราชกฤษฎีกาน้ี เน่ืองจากเขาขอยกเวนตามมาตรา ๗ วรรคหนึ่ง (๔) แลว ผูฟองคดีจึงหมดสิทธิเบิกคาเชาบานในทองที่ใหมไดตามมาตรา ๑๘ อีกทั้ง ผูฟองคดี ก็ไมอาจไดรับประโยชนจากมาตรา ๒๐ ได เนื่องจากผูฟองคดีมิใชขาราชการซึ่งไดรับคำสั่ง ใหเดินทางไปประจำสำนักงานใหมตามคำรองขอของตนเองตาม พ.ร.ฎ. คาเชาบานขาราชการ พ.ศ. ๒๕๒๗ แตผูฟองคดีไดรับคำสั่งหลังจากที่ พ.ร.ฎ. คาเชาบานขาราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ ใชบังคับแลว การที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑ มีคำส่ังลงวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๐ วินิจฉัยวาผูฟองคดี ไมมีสิทธิเบิกคาเชาบานขาราชการและไมอนุมัติใหผูฟองคดีนำหลักฐานคาผอนชำระราคาบาน ในทองท่ีเดิมมาเบิกเปนคาผอนชำระเงินกูเพ่ือชำระราคาบานในทองที่ใหม จึงเปนคำสั่งท่ีชอบดวยกฎหมาย ที่ศาลปกครองชั้นตนมีคำพิพากษาใหเพิกถอนคำสั่งของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ท่ีไมอนุมัติใหผูฟองคดี นำหลักฐานคาผอนชำระราคาบานในทองที่เดิมมาเบิกเปนคาผอนชำระเงินกูเพ่ือชำระราคาบาน ในทองท่ีใหม โดยใหผูถูกฟองคดีท้ังสองถือปฏิบัติตอสิทธิของผูฟองคดีในการเบิกคาเชาบาน ขาราชการใหถูกตองตาม พ.ร.ฎ. คาเชาบานขาราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และดำเนินการเบิกจาย คาเชาบานขาราชการใหแกผูฟองคดีตามสิทธิท่ีไดรับ ทั้งนี้ ภายใน ๓๐ วัน นับแตวันทคี่ ดีถึงที่สุด นั้น ศาลปกครองสูงสุดไมเห็นพองดวย พพิ ากษากลบั เปน ใหย กฟอง กรณฟี องขอใหม ีคำสั่งใหข าราชการครเู ขา พักอาศยั ในที่พักของทางราชการ และชดใช คาเสียหาย : เม่ือขาราชการครูไดใชสิทธิเบิกคาเชาบานและหนวยงานไดมีคำส่ังใหเขาพัก อาศัยในบานพักของราชการแลว จงึ เปนกรณีที่ความเดือดรอนเสียหายไดรับการแกไขเยียวยา การออกคำสั่งปฏิเสธการขอใชสิทธิเขาพักอาศัยในบานพักของทางราชการ จึงไมเปนการ กระทำละเมิด คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๑๕๑/๒๕๖๓ ผูฟองคดีฟองวา ผูฟองคดียายมาดำรง ตำแหนงครู คศ. ๒ ท่ีโรงเรยี นวดั มงคลนิมิตร (มงคลพทิ ยาคาร) โดยไมมีบา นเปน ของตนเอง จึงไดเชา บา นเลขที่ ๑๒๖/๑๕๓ หมูท่ี ๑ ตำบลบางเสาธง อำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ เปนที่อยู อาศัย และไดม ีหนังสอื ถึงผถู ูกฟองคดีที่ ๑ (ผูอำนวยการโรงเรียนวัดมงคลนิมิตร (มงคลพิทยาคาร)) เพื่อขอเขาพักอาศัยในบานพักของทางราชการ (บานพักครู) โรงเรียนวัดมงคลนิมิตร แตไมไดรับ การพิจารณา ตอมา ผูฟองคดีไดมีหนังสือขอเขาพักอาศัยในบานพักครูอีกคร้ัง เน่ืองจากทราบวา บานพักวาง แตผูถูกฟองคดีที่ ๑ แจงวาตองรอแตงตั้งคณะกรรมการพิจารณากอน ตอมา ผูถูกฟองคดีที่ ๑ แจงวาไดพิจารณาใหนาง ร. ตำแหนงครู เขาพักอาศัยในบานพักครูดังกลาว กอนแลว บานพักครูจึงไมวาง ทำใหผูฟองคดีไดรับความเดือดรอนเสียหาย ผูฟองคดีจึงนำคดีมา

๑๔๘ ฟองขอใหศาลมีคำพิพากษาหรือคำส่ังใหผูถูกฟองคดีท่ี ๑ มีคำส่ังใหผูฟองคดีเขาพักอาศัยในท่ีพัก ของทางราชการตามสิทธิ และใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ ชดใชคาเสียหายเปนคาเชาบานตามท่ีผูฟองคดี ไดเชาอยูจริง ต้ังแตเดือนมกราคม ๒๕๕๔ จนถึงวันท่ีไดรับคำส่ังเขาพักอาศัยในบานพักของทาง ราชการ รวมเปนเงิน ๒๔,๐๐๐ บาท และคาเชาบานระหวางรอการจัดใหผูฟองคดีเขาพักอาศัย ในท่ีพักของทางราชการที่ผูฟองคดีไดยื่นคำขอตามสิทธิ ตั้งแตวันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๔ คาเดินทางมาปฏิบัติหนาท่ีชวงเดือนมกราคม ๒๕๕๔ วันละ ๕๐ บาท รวม ๒๒ วัน เปนเงิน ๑,๑๐๐ บาท และเดือนกุมภาพันธ ๒๕๕๔ จนถึงไดรับคำสั่งเขาพักอาศัยในที่พักของทางราชการ เดือนละ ๔๔๐ บาท คาเสียหายเนื่องจากบุตรชายซ่ึงปวยตามใบรับรองแพทยจากอาการเครียด ท่ีไมไดพักอาศัยอยูใกลผูปกครองตองเขาพักรักษาตัวที่สถาบันสุขภาพเด็กแหงชาติมหาราชินี จำนวน ๒ คร้ัง รวมเวลา ๑๐ วัน ตองเสียคาใชจายคาเดินทางวันละ ๖๙๐ บาท รวมเปนเงิน ๖,๙๐๐ บาท เห็นวา เมื่อผูฟองคดีไดมีหนังสือถึงผูถูกฟองคดีที่ ๑ เพ่ือขอเขาอยูอาศัยบานพักครู จึงเปนกรณีที่ผูฟองคดีมีความประสงคที่จะใชสิทธิเขาพักอาศัยในบานพักท่ีทางราชการจัดให โดยไมขอเบิกคาเชาบานขาราชการ อันเปนหนาที่ของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ซ่ึงไดรับมอบอำนาจจาก เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ตองดำเนินการจัดใหผูฟองคดีไดเขาพักอาศัยในท่ี พักของทางราชการตามที่ผูฟองคดีรองขอตามหลักเกณฑและวิธปี ฏิบัติในการจดั ขา ราชการเขา พัก อาศัยในท่ีพักของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๑ เมื่อปรากฏวา ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไดพิจารณาใหนาง ร. เขาอยูบานพักครูกอนแลว บานพักครูท่ีผูฟองคดีขอเขาพักอาศัยดังกลาวจึงไมวาง จึงเห็นวา เม่ือผูฟองคดีซึ่งเปนผูมีสิทธิเบิกคาเชาบานขาราชการไดขอใชสิทธิเขาพักอาศัยในบานพักครู ท่ีไมวางดังกลาว ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ จะตองดำเนินการจัดใหนาง ร. ซึ่งเปนผูไมมีสิทธิเบิกคาเชาบาน ออกจากบานพักครูดังกลาว และจัดใหผูฟองคดีเขาพักอาศัย ตามหลักเกณฑและวิธีปฏิบัติในการ จัดขาราชการเขาพักอาศัยในท่ีพักของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๑ ขอ ๓ (๖) อยางไรก็ดี เม่ือผูฟองคดีไดใชสิทธิเบิกคาเชาบานราชการตาม พ.ร.ฎ. คาเชาบานขาราชการ (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๔๑ ประกอบกบั ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไดมีคำส่ังใหผูฟองคดีเขาพักอาศัยในบานพักครูหลังที่ ๑ และ ผูฟองคดีไดเขาอาศัยในบานพักครูหลังดังกลาวแลว ความเดือดรอนเสียหายของผูฟองคดีไดรับ การแกไขเยียวยา ผูฟองคดีจึงไมไดรับความเสียหาย อันจะเปนการกระทำละเมิดตอผูฟองคดีตาม มาตรา ๔๒๐ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย การกระทำของผูถูกฟองคดีที่ ๑ จึงไมเปน การกระทำละเมิดตอผูฟองคดี ดังนั้น การท่ีผูถูกฟองคดีท่ี ๑ มีคำส่ังปฏิเสธการขอใชสิทธิเขาพัก อาศัยในบานพักของทางราชการของผูฟองคดี จึงไมเปนการกระทำละเมิดตอผูฟองคดี ผูถูกฟอง คดที ี่ ๒ (สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน) ซึ่งเปน หนว ยงานตน สังกัดของผูถ ูกฟองคดี ท่ี ๑ จงึ ไมตองรับผดิ ชดใชค า สินไหมทดแทนความเสียหายอันเกดิ จากผลแหงการละเมดิ แตอยา งใด ที่ศาลปกครองช้ันตนพิพากษาใหผูถูกฟองคดีที่ ๒ ชดใชคาสินไหมทดแทนความเสียหายใหแก ผูฟองคดีเปนเงิน ๘,๕๘๐ บาท ท้ังน้ี ใหดำเนินการใหแลวเสร็จภายใน ๖๐ วัน นับแตวันท่ีคดีถึงที่สุด

๑๔๙ และคืนคาธรรมเนียมศาลใหแกผูฟองคดีตามสวนแหงการชนะคดี คำขออ่ืนนอกจากนี้ใหยก น้ัน ศาลปกครองสูงสดุ ไมเ ห็นพอ งดว ย พิพากษากลบั เปน ยกฟอ ง คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๙๐/๒๕๖๓ กรณีฟอ งขอใหเพิกถอนคำสัง่ ไมอนุมัติให เบิกจายคาเชาบาน : เมื่อขาราชการไดรับการบรรจุเขารับราชการคร้ังแรกเปนพนักงานเทศบาล สามัญ ในทองที่อำเภอแมทะ จังหวัดลำปาง ตอมาไดโอนยายมารับราชการในตำแหนง นักทรัพยากรบุคคลซ่ึงเปนบุคลากรทางการศึกษาในทองที่อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย ซ่ึงเปนคน ละทองที่กับทองที่ที่ผูฟองคดีเริ่มรับราชการคร้ังแรก จึงถือวาขาราชการไดรับคำสั่งใหเดินทางไป ประจำสำนักงานในตางทองที่และการที่ขาราชการยื่นคำขอ โอนยายเปลี่ยนสังกัดจากขาราชการ สวนทองถิ่นไปสังกดั สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขน้ั พนื้ ฐานซึง่ เปนราชการบรหิ ารสวนกลาง ถือไมไดวา ขา ราชการไดร ับคำสั่ง ใหเดินทางไปประจำสำนักงานใหมใ นตางทองท่ตี ามคำรองขอของ ตนเอง จึงมีสิทธิ ไดรับคาเชาบานขาราชการ ดังนั้น คำสั่งไมอนุมัติใหเบิกคาเชาบานจึงไมชอบ ดวยกฎหมาย กรณีฟองขอใหเพิกถอนคำส่ังท่ีจัดใหเขาพักอาศัยในที่พักของราชการและใหงดเบิก คาเชาซื้อบาน เมอื่ ขาราชการที่มีสทิ ธิไดนำหลักฐาน การชำระคาเชาซื้อบานมาเบิกคาเชาบาน โดยชอบดวยกฎหมายแลว ยอมไมอาจ นำขอเท็จจริงท่ีทางราชการไดจัดท่ีพักอาศัยใหอยู ภายหลงั มาเปนเหตุตดั สทิ ธิดงั กลาวได คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อ.๖๗/๒๕๖๐ ขอเท็จจริงรบั ฟงเปนยุติวา ผูฟองคดีเริ่ม รับราชการครั้งแรกตำแหนงอาจารย ๑ ระดับ ๓ สังกัดโรงเรียนบานเนินกรวด จังหวัด ประจวบคีรีขันธ ตอมาเม่ือวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๓๗ ไดรับคำสั่งใหโอนยายมาดำรงตำแหนง เจาหนาที่ฝกอบรม ๔ ฝายเทคโนโลยีการฝกอบรม สถาบันพัฒนาครู คณาจารย และบุคลากร ทางการศึกษา (สถาบันพัฒนาผูบริหารการศึกษา เดิม) โดยไมไดจัดที่พักอาศัยให และผูฟองคดีไม มีเคหสถานของตนเองในทอ งทีด่ งั กลาว จึงเชาเพือ่ อยอู าศัยในระหวางปฏบิ ัตริ าชการ ผูฟองคดีจงึ มี สิทธิไดรับคาเชาบานขาราชการ ตามมาตรา ๗ แหง พ.ร.ฎ. คาเชาบานขาราชการ พ.ศ. ๒๕๒๗ ต้ังแตเวลาดังกลาว จากนั้น เม่ือวันท่ี ๓๐ มีนาคม ๒๕๔๗ ขณะผูฟองคดีดำรงตำแหนงเจาหนาท่ี ฝกอบรม ๖ ว ไดทำสัญญากูเงินกับธนาคารเพื่อซ้ือเปนของตนเองในทองท่ีดังกลาว และไดรับ อนมุ ัติจากผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ใหนำหลักฐานการชำระคาเชาซื้อหรือคาผอนชำระเงนิ กูเพื่อชำระราคา บานมาเบิกคาเชาบานขาราชการไดตั้งแตวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๔๗ จึงเปนการใชสิทธินำ หลักฐานการชำระคาเชาซ้ือหรือคาผอนชำระเงินกู เพื่อชำระราคาบานมาเบิกคาเชาบาน ขาราชการโดยชอบตามมาตรา ๗ ประกอบกับมาตรา ๑๖ แหงพระราชกฤษฎีกาดังกลาว และ ไดรับการรับรองสิทธิดังกลาวตอมาตาม พ.ร.ฎ. คาเชาบานขาราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ ตอมาในขณะ ท่ีผูฟองคดีดำรงตำแหนงนักทรพั ยากรบุคคล ชำนาญการพิเศษ ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ สามารถจัดท่ีพัก ทีว่ างลงใหแกผูฟอ งคดีได จึงมีคำสั่งตามหนังสือลงวนั ท่ี ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๕๕ ใหผ ูฟองคดีเขาอยู อาศัยในท่ีพักดังกลาว และใหผูฟองคดีงดเบิกคาเชาซ้ือบานต้ังแตวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๕ คำส่ัง