Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา วิทยาการคำนวณ2 ม.2 ปีการศึกษา 2-2563

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา วิทยาการคำนวณ2 ม.2 ปีการศึกษา 2-2563

Published by Thitiyaporn Keebsantia, 2021-03-28 03:30:13

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา วิทยาการคำนวณ2 ม.2 ปีการศึกษา 2-2563

Search

Read the Text Version

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 บทนา ตวั ชี้วดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 นไ้ี ดก้ าหนด สาระการเรยี นรู้ออกเปน็ 4 สาระ ได้แก่ สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ สาระท่ี 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ สาระท่ี 3 วิทยาศาสตรโ์ ลกและ อวกาศ และสาระที่ 4 เทคโนโลยี มีสาระเพ่มิ เตมิ 4 สาระ ไดแ้ ก่ สาระชวี วิทยา สาระเคมี สาระฟสิ กิ สส์ าระโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ และสาระเทคโนโลยี ซงึ่ องค์ประกอบของหลกั สูตร ทงั้ ในดา้ นของเน้ือหาการจดั การเรียน การสอน และการวัดและประเมินผลการเรยี นรนู้ ั้น มคี วามสาคญั อยา่ งยง่ิ ในการวางรากฐานการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ ของผู้เรียนในแตล่ ะระดบั ชั้น ใหม้ ีความตอ่ เนื่องเชื่อมโยงกนั ตงั้ แตช่ ัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 จนถึงชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6 สาหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ไดก้ าหนดตวั ชวี้ ัดและสาระการเรียนร้แู กนกลางที่ผูเ้ รียน จาเป็นต้องเรียน เป็นพน้ื ฐาน เพื่อใหส้ ามารถนาความรู้นไี้ ปใช้ในการดารงชีวิต หรือศึกษาตอ่ ในวิชาชพี ทีต่ ้องใชว้ ทิ ยาศาสตรไ์ ด้ โดย จัดเรียงลาดับความยากง่ายของเนือ้ หาแต่ละสาระในแต่ละระดับชน้ั ให้มีการเช่ือมโยงความรู้กับกระบวนการเรียนรู้ และการจัดกิจกรรมการเรียนร้ทู ่ีส่งเสริมให้ผู้เรยี นพัฒนาความคดิ ทง้ั ความคดิ เป็นเหตุเปน็ ผล คิดสรา้ งสรรค์ คิด วเิ คราะหว์ จิ ารณ์มที ักษะท่ีสาคัญ ทง้ั ทกั ษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละทักษะในศตวรรษท่ี 21 ในการ ค้นควา้ และสรา้ งองค์ความรู้ดว้ ย กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ สามารถแกป้ ัญหาอยา่ งเป็นระบบ สามารถ ตัดสนิ ใจโดยใช้ข้อมูลหลากหลาย และประจกั ษพ์ ยานท่ีตรวจสอบได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย(ี สสวท.) ตระหนักถึงความสาคญั ของการจดั การ เรียนรวู้ ิทยาศาสตรท์ ม่ี งุ่ หวังใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธ์ิต่อผู้เรียนมากท่สี ดุ จงึ ไดจ้ ัดทาตัวชวี้ ัด และสาระการเรียนร้แู กนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐานพทุ ธศักราช 2551 ข้ึน เพ่อื ให้สถานศึกษา ครผู ้สู อน ตลอดจนหน่วยงานตา่ งๆ ได้ใช้เปน็ แนวทางในการ พฒั นาหนงั สือเรยี น ค่มู ือครู ส่อื ประกอบการเรยี นการสอน ตลอดจนการวัดและประเมนิ ผล โดยตัวชว้ี ัดและสาระ การเรียนรูแ้ กนกลาง กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู ร แกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานพทุ ธศกั ราช 2551 ที่จัดทาข้นึ นไี้ ด้ปรับปรุง เพอื่ ใหม้ ีความสอดคลอ้ งและเชือ่ มโยง กนั ภายในสาระการเรียนรเู้ ดียวกันและระหว่างสาระการเรยี นรู้ในกลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตลอดจนการเชอ่ื มโยงเนือ้ หาความรทู้ างวทิ ยาศาสตรก์ บั คณิตศาสตร์ดว้ ย นอกจากนยี้ ังไดป้ รบั ปรงุ เพ่อื ใหม้ ีความ ทนั สมยั ตอ่ การเปล่ยี นแปลง และความเจริญก้าวหนา้ ของวทิ ยาการต่างๆ และทัดเทียมกับนานาชาติกลุ่มสาระการ เรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีสรปุ เป็น แผนภาพได้ดงั นี้

วทิ ยาศาสตรเ์ พ่มิ เตมิ  สาระฟิสกิ ส์  สาระชีววิทยา  สาระเคมี  สาระเทคโนโลยี  สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เปา้ หมายวทิ ยาศาสตร์ ในการเรยี นการสอนวิทยาศาสตรม์ ุง่ เนน้ ให้ผเู้ รยี นไดค้ ้นพบความรู้ดว้ ยตนเองมากทส่ี ุด เพ่ือใหไ้ ด้ท้ัง กระบวนการและความร้จู ากวธิ กี ารสงั เกต การสารวจตรวจสอบ การทดลอง แล้วนาผลท่ไี ด้ มาจัดระบบเปน็ หลักการ แนวคิด และองคค์ วามรกู้ ารจดั การเรียนการสอนวทิ ยาศาสตรจ์ ึงมีเป้าหมาย ที่สาคัญ ดังนี้ 1. เพื่อให้เข้าใจหลักการ ทฤษฎีและกฎทเ่ี ป็นพืน้ ฐานในวิชาวิทยาศาสตร์ 2. เพอ่ื ให้เข้าใจขอบเขตของธรรมชาติของวิชาวทิ ยาศาสตร์ และขอ้ จากัดในการศกึ ษาวชิ าวิทยาศาสตร์ 3. เพื่อใหม้ ีทกั ษะทสี่ าคญั ในการศึกษาค้นคว้า และคิดคน้ ทางเทคโนโลยี

4. เพ่อื ใหต้ ระหนกั ถึงความสมั พนั ธร์ ะหว่างวชิ าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยมี วลมนุษย์ และสภาพแวดล้อม ในเชิงท่ีมอี ิทธิพลและผลกระทบซ่ึงกันและกัน 5. เพอื่ นาความรู้ความเข้าใจ ในวิชาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ ต่อสังคมและการด ดารงชวี ิต 6. เพื่อพัฒนากระบวนการคดิ และจินตนาการ ความสามารถในการแกป้ ัญหา และการจัดการทกั ษะในการ ส่อื สาร และความสามารถในการตัดสนิ ใจ 7. เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ผู้ทมี่ ีจติ วทิ ยาศาสตรม์ คี ุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มในการใชว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อยา่ งสร้างสรรค์ เรียนรอู้ ะไรในวทิ ยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ มุง่ หวังใหผ้ เู้ รียนได้เรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ท่เี น้นการเช่ือมโยงความรู้กับ กระบวนการ มีทกั ษะสาคัญในการค้นควา้ และสรา้ งองคค์ วามรูโ้ ดยใชก้ ระบวนการในการสบื เสาะหาความรู้และ แกป้ ัญหาที่หลากหลาย ให้ผ้เู รยี นมีสว่ นรว่ มในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน มีการทากิจกรรมดว้ ยการลงมือปฏิบัติจริง อย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับช้ัน โดยกาหนดสาระสาคญั ดงั นี้ ✧ วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ เรียนรเู้ กีย่ วกับชวี ติ ในสิ่งแวดลอ้ ม องค์ประกอบของสิ่งมชี ีวิต การดารงชีวติ ของ มนุษย์และสตั ว์การดารงชีวติ ของพืช พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ และวิวฒั นาการของสิง่ มชี วี ิต ✧ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ เรยี นรเู้ ก่ยี วกบั ธรรมชาตขิ องสาร การเปล่ยี นแปลงของสาร การเคลื่อนที่ พลังงาน และคลืน่ ✧ วทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรยี นรเู้ กย่ี วกบั องคป์ ระกอบของเอกภพ ปฏิสัมพันธ์ภายใน ระบบสรุ ยิ ะ เทคโนโลยอี วกาศ ระบบโลก การเปลย่ี นแปลงทางธรณวี ิทยา กระบวนการเปล่ยี นแปลงลม ฟา้ อากาศ และผลต่อ ส่ิงมชี ีวิตและส่ิงแวดล้อม ✧ เทคโนโลยี  การออกแบบและเทคโนโลยี เรยี นรเู้ กยี่ วกบั เทคโนโลยเี พ่อื การดารงชีวติ ในสังคมทมี่ ี การเปลย่ี นแปลงอย่างรวดเรว็ ใช้ความรูแ้ ละทกั ษะทางด้านวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์และศาสตรอ์ ื่นๆ เพ่อื แกป้ ัญหาหรอื พฒั นางานอยา่ งมีความคดิ สรา้ งสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลอื กใช้เทคโนโลยี อย่างเหมาะสมโดยคานึงถงึ ผลกระทบตอ่ ชวี ติ สงั คม และสิ่งแวดลอ้ ม  วิทยาการคานวณ เรยี นรู้เกี่ยวกับการคดิ เชงิ คานวณ การคดิ วเิ คราะหแ์ กป้ ญั หาอยา่ งเปน็ ขัน้ ตอนและเป็นระบบ ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรดู้ า้ นวทิ ยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสื่อสาร ในการแก้ปญั หาที่พบในชวี ิตจริงไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี 1 วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงไมม่ ชี วี ิต กับสิ่งมีชีวติ และความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชวี ิตกบั ส่ิงมีชีวติ ตา่ ง ๆ ในระบบนเิ วศ การถ่ายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบทม่ี ีตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ ม แนวทางในการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติและการแกไ้ ขปญั หาสิ่งแวดล้อม รวมท้งั นาความรไู้ ปใช้ ประโยชน์ มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบัตขิ องส่ิงมชี วี ิต หนว่ ยพ้นื ฐานของสิ่งมีชวี ิต การลาเลยี งสารเข้าและ ออกจากเซลล์ ความสัมพันธข์ องโครงสรา้ ง และหน้าท่ขี องระบบตา่ งๆ ของสตั ว์และมนษุ ยท์ ท่ี างานสมั พนั ธก์ ัน ความสัมพันธข์ องโครงสรา้ งและหน้าทข่ี องอวยั วะต่างๆ ของพชื ทีท่ างานสมั พันธก์ นั รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ มาตรฐาน ว 1.3 เขา้ ใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธุกรรมสาร พันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธกุ รรมท่ีมีผลตอ่ สิ่งมชี วี ิต ความหลากหลายทางชวี ภาพและววิ ัฒนาการของ สิง่ มีชีวติ รวมทัง้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสมั พันธ์ระหว่างสมบัตขิ อง สสารกับโครงสรา้ งและแรงยดึ เหนี่ยวระหวา่ งอนุภาค หลักและธรรมชาตขิ องการเปล่ยี นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี มาตรฐาน ว 2.2 เขา้ ใจธรรมชาติของแรงในชีวติ ประจาวัน ผลของแรงทกี่ ระทาต่อวัตถุ ลักษณะ การเคลื่อนที่แบบตา่ ง ๆ ของวตั ถุ รวมท้ังนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว 2.3 เขา้ ใจความหมายของพลังงาน การเปลย่ี นแปลงและการถ่ายโอนพลงั งาน ปฏิสมั พนั ธร์ ะหว่างสสารและพลงั งาน พลังงานในชีวติ ประจาวัน ธรรมชาตขิ องคลืน่ ปรากฏการณท์ ่ีเก่ียวขอ้ งกับ เสยี ง แสง และคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟ้า รวมทง้ั นาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ สาระท่ี 3 วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ มาตรฐาน ว 3.1 เขา้ ใจองคป์ ระกอบ ลักษณะ กระบวนการเกดิ และววิ ฒั นาการของเอกภพ กาแลก็ ซดี าวฤกษ์ และระบบสรุ ยิ ะ รวมท้งั ปฏิสัมพนั ธภ์ ายในระบบสุรยิ ะทีส่ ่งผลต่อสง่ิ มชี ีวติ และการประยุกตใ์ ช้ เทคโนโลยีอวกาศ มาตรฐาน ว 3.2 เขา้ ใจองคป์ ระกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลย่ี นแปลง ภายในโลก และบนผิวโลก ธรณพี ิบัติภยั กระบวนการเปล่ยี นแปลงลมฟ้าอากาศและภมู อิ ากาศโลก รวมท้ังผลต่อ สิ่งมีชวี ิตและสิง่ แวดลอ้ ม

สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.1 เขา้ ใจแนวคิดหลกั ของเทคโนโลยี เพอื่ การดารงชีวติ ในสังคมทม่ี กี าร เปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเรว็ ใช้ความรูแ้ ละทักษะทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตรอ์ ่นื ๆ เพือ่ แก้ปัญหา หรอื พฒั นางานอย่างมคี วามคิดสร้างสรรค์ดว้ ยกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม เลือกใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ ง เหมาะสมโดยคานงึ ถึงผลกระทบตอ่ ชวี ิตสงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใช้แนวคิดเชงิ คานวณในการแกป้ ัญหาทพี่ บในชวี ิตจริงอย่างเป็น ขั้นตอนและเป็นระบบ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรยี นรู้ การทางาน และการแกป้ ญั หาไดอ้ ย่าง มปี ระสิทธภิ าพ รู้เทา่ ทัน และมีจริยธรรม วิสัยทศั น์ พันธกิจ และเป้าประสงค์ของกลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิสยั ทัศน์ มงุ่ พฒั นาผู้เรยี นด้านวทิ ยาศาสตร์ ให้มีคุณภาพตามเกณฑม์ าตรฐานการศึกษา พนั ธกจิ พฒั นาการจัดการเรยี นการสอนด้านวทิ ยาศาสตร์พฒั นางานในกล่มุ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ให้เปน็ ระบบและมีประสิทธภิ าพ เป้าประสงค์ 1. นกั เรยี นมีความรู้ ความสามารถดา้ นวิทยาศาสตรต์ ามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษา 2. การปฏิบัติงานของกล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ดาเนินไปอยา่ งเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน มุ่งใหผ้ ูเ้ รียนเกิดสมรรถนะสาคัญ 5 ประการ ดังนี้ 1. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรบั และสง่ สาร มีวัฒนธรรมในการ ใชภ้ าษา ถา่ ยทอดความคดิ ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปลยี่ นขอ้ มลู ขา่ วสารและ ประสบการณ์อนั จะเปน็ ประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทัง้ การเจรจาต่อรอง เพื่อขจัดและลดปัญหา ความขดั แยง้ ต่าง ๆ การเลอื กรับหรือไม่รับขอ้ มูลข่าวสารด้วยหลกั เหตุผล และความถูกต้อง ตลอดจนการเลอื กใช้ วิธีการสื่อสาร ทีม่ ปี ระสิทธิภาพโดยคานงึ ถึงผลกระทบทม่ี ตี อ่ ตนเองและสังคม 2. ความสามารถในการคิด เปน็ ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ การคิดสงั เคราะห์ การคดิ อยา่ ง สรา้ งสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพอ่ื นาไปส่กู ารสรา้ งองคค์ วามรู้ หรือสารสนเทศเพ่อื การตัดสนิ ใจเก่ียวกับตนเองและสงั คมไดอ้ ย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอปุ สรรคต่างๆ ทีเ่ ผชญิ ไดอ้ ยา่ ง อยา่ งถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คณุ ธรรมและข้อมลู สารสนเทศ เขา้ ใจความสมั พนั ธแ์ ละการ

เปลยี่ นแปลงของเหตกุ ารณต์ ่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความรูม้ าใช้ในการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หา และมกี ารตัดสนิ ใจท่ีมีประสทิ ธภิ าพโดยคานึงถึงผลกระทบทีเ่ กิดขน้ึ ต่อตนเอง สงั คมและสิ่งแวดล้อม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่างๆ ไปใช้ในการดาเนนิ ชวี ติ ประจาวนั การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง การเรียนร้อู ย่างต่อเน่ือง การทางาน และการอยูร่ ่วมกนั ในสังคมด้วยการสรา้ ง เสรมิ ความสัมพันธ์อนั ดรี ะหวา่ งบคุ คล การจดั การปญั หาและความขดั แยง้ ตา่ งๆ อยา่ งเหมาะสม การปรับตวั ให้ทนั กับการเปลย่ี นแปลงของสงั คมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤตกิ รรมไม่พึงประสงค์ท่ีสง่ ผลกระทบ ตอ่ ตนเองและผูอ้ ืน่ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลอื ก และใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมี ทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพอ่ื การพฒั นาตนเองและสงั คม ในด้านการเรยี นรู้ การสือ่ สาร การทางาน การ แก้ปญั หาอยา่ งสร้างสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมีคุณธรรม คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน มุง่ พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี ุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เพ่อื ให้สามารถ อยู่รว่ มกบั ผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสขุ ในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ดงั น้ี 1. รกั ชาตศิ าสน์ กษัตริย์ 2. ซือ่ สัตย์สจุ ริต 3. มีวนิ ัย 4. ใฝเ่ รียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. ม่งุ มั่นในการทางาน 7. รกั ความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ คุณภาพผู้เรยี น จบชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 1) เขา้ ใจลกั ษณะและองค์ประกอบที่สาคัญของเซลลส์ งิ่ มชี วี ติ ความสมั พนั ธข์ องการทางานของระบบ ต่างๆ ในรา่ งกายมนษุ ย์ การดารงชีวติ ของพืช การถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธุกรรม การเปลย่ี นแปลงของยีนหรอื โครโมโซมและตัวอยา่ งโรคทีเ่ กดิ จากการเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรม ประโยชน์และผลกระทบของสงิ่ มีชวี ิตดดั แปร พันธุกรรมความหลากหลายทางชวี ภาพ ปฏสิ ัมพนั ธ์ขององคป์ ระกอบของระบบนเิ วศ และการถา่ ยทอดพลงั งานใน ส่ิงมชี ีวิต

2) เข้าใจองค์ประกอบและสมบตั ขิ องธาตุ สารละลาย สารบริสุทธิ์ สารผสม หลกั การแยกสาร การเปลี่ยนแปลงของสารในรปู แบบของการเปลีย่ นสถานะ การเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมแี ละสมบัติ ทางกายภาพและการใช้ประโยชนข์ องวัสดุประเภทพอลเิ มอร์ เซรามิก และวัสดผุ สม 3) เขา้ ใจการเคลอ่ื นท่ี แรงลพั ธแ์ ละผลของแรงลัพธ์กระทาต่อวตั ถุ โมเมนต์ของแรง แรงทป่ี รากฏใน ชีวติ ประจาวนั สนามของแรง ความสมั พันธข์ องงาน พลงั งานจลน์ พลังงานศกั ย์โนม้ ถว่ ง กฎการอนุรกั ษพ์ ลังงาน การถา่ ยโอนพลังงาน สมดุลความร้อน ความสมั พันธข์ องปริมาณทางไฟฟ้า การตอ่ วงจรไฟฟา้ ในบ้านพลงั งานไฟฟา้ และหลักการเบ้อื งต้นของวงจรอิเล็กทรอนกิ ส์ 4) เขา้ ใจสมบตั ขิ องคล่นื และลกั ษณะของคล่นื แบบต่าง ๆ แสง การสะทอ้ น การหักเหของแสงและ ทัศนอุปกรณ์ 5) เขา้ ใจการโคจรของดาวเคราะหร์ อบดวงอาทิตย์ การเกดิ ฤดู การเคลือ่ นที่ปรากฏของดวงอาทติ ย์การ เกิดขา้ งข้ึนขา้ งแรม การขนึ้ และตกของดวงจนั ทร์ การเกดิ นา้ ขึ้นน้าลง ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศและ ความกา้ วหน้าของโครงการสารวจอวกาศ 6) เขา้ ใจลักษณะของชั้นบรรยากาศ องคป์ ระกอบและปจั จยั ทมี่ ีต่อลมฟ้าอากาศ การเกิดและ ผลกระทบของพายุฟา้ คะนอง พายุหมุนเขตร้อน การพยากรณอ์ ากาศ สถานการณ์การเปลย่ี นแปลงภูมอิ ากาศโลก กระบวนการเกิดเช้ือเพลงิ ซากดึกดาบรรพแ์ ละการใชป้ ระโยชน์ พลังงานทดแทนและการใช้ประโยชน์ ลกั ษณะ โครงสรา้ งภายในโลก กระบวนการเปลีย่ นแปลงทางธรณีวิทยาบนผวิ โลก ลักษณะชนั้ หนา้ ตัดดิน กระบวนการเกดิ ดิน แหล่งนา้ ผิวดิน แหล่งนา้ ใต้ดิน กระบวนการเกดิ และผลกระทบของภยั ธรรมชาตแิ ละธรณีพิบตั ภิ ัย 7) เข้าใจแนวคิดหลกั ของเทคโนโลยี ไดแ้ ก่ ระบบทางเทคโนโลยี การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งเทคโนโลยกี ับศาสตรอ์ ื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรอื คณติ ศาสตร์ วิเคราะห์ เปรียบเทยี บ และตดั สนิ ใจเพ่ือเลอื กใชเ้ ทคโนโลยี โดยคานึงถงึ ผลกระทบต่อชีวติ สังคม และสงิ่ แวดลอ้ ม ประยกุ ต์ใชค้ วามรู้ ทักษะ และทรพั ยากรเพือ่ ออกแบบและสร้างผลงานสาหรบั การแกป้ ญั หาในชวี ติ ประจาวันหรือการประกอบอาชพี โดยใชก้ ระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม รวมท้งั เลือกใช้วัสดุ อปุ กรณ์ และเครอ่ื งมือได้อยา่ งถกู ต้อง เหมาะสม ปลอดภัย รวมทง้ั คานงึ ถึงทรพั ย์สนิ ทางปัญญา 8) นาขอ้ มูลปฐมภูมเิ ข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ วเิ คราะห์ ประเมิน นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศได้ตาม วัตถปุ ระสงค์ ใช้ทกั ษะการคิดเชิงคานวณในการแก้ปญั หาทพ่ี บในชีวติ จริง และเขยี นโปรแกรมอย่างง่ายเพอ่ื ช่วยใน การแก้ปญั หา ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอยา่ งรู้เท่าทันและรับผิดชอบตอ่ สงั คม 9) ตัง้ คาถามหรอื กาหนดปญั หาที่เชอ่ื มโยงกบั พยานหลักฐานหรือหลกั การทางวิทยาศาสตร์ ที่มกี ารกาหนดและควบคุมตัวแปร คดิ คาดคะเนคาตอบหลายแนวทาง สรา้ งสมมติฐานท่ีสามารถนาไปสู่การสารวจ ตรวจสอบ ออกแบบและลงมอื สารวจตรวจสอบโดยใช้วัสดุและเครอ่ื งมือท่เี หมาะสม เลือกใชเ้ ครื่องมือและ เทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเหมาะสมในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล ทงั้ ในเชงิ ปริมาณและคุณภาพทไี่ ดผ้ ลเที่ยงตรงและ ปลอดภยั

10) วิเคราะหแ์ ละประเมนิ ความสอดคล้องของข้อมูลทไ่ี ด้จากการสารวจตรวจสอบจากพยานหลกั ฐานโดย ใชค้ วามรแู้ ละหลักการทางวิทยาศาสตรใ์ นการแปลความหมายและลงขอ้ สรุปและส่ือสารความคิด ความรู้ จากผล การสารวจตรวจสอบหลากหลายรูปแบบ หรอื ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือให้ผู้อนื่ เขา้ ใจได้อย่างเหมาะสม 11) แสดงถงึ ความสนใจ มงุ่ มนั่ รบั ผิดชอบ รอบคอบ และซือ่ สัตย์ ในส่งิ ท่ีจะเรียนรู้ มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ เก่ียวกบั เร่ืองทีจ่ ะศึกษาตามความสนใจของตนเอง โดยใช้เครื่องมือและวิธกี ารท่ใี หไ้ ด้ผลถูกต้อง เชอื่ ถอื ได้ ศึกษา คน้ ควา้ เพิม่ เตมิ จากแหล่งความรู้ต่าง ๆ แสดงความคดิ เห็นของตนเอง รบั ฟังความคิดเห็นผู้อื่น และยอมรับการ เปล่ยี นแปลงความรู้ที่คน้ พบเม่ือมขี อ้ มูลและประจักษ์พยานใหม่เพิม่ ขนึ้ หรือแย้งจากเดมิ ตระหนักในคณุ ค่าของ ความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทใ่ี ช้ในชวี ิตประจาวัน ใช้ความรูแ้ ละกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยใี นการดารงชวี ิต และการประกอบอาชีพ แสดงความช่นื ชม ยกย่องและเคารพสิทธิในผลงานของผูค้ ดิ คน้ เข้าใจผลกระทบท้งั ดา้ นบวกและด้านลบของการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์ตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มและต่อบรบิ ทอ่นื ๆ และ ศกึ ษาหาความรเู้ พ่ิมเตมิ ทาโครงงานหรือสร้างช้ินงานตามความสนใจ 12) แสดงถึงความซาบซ้ึง หว่ งใย มีพฤติกรรมเกีย่ วกับการดแู ลรักษาความสมดลุ ของระบบนิเวศและ ความหลากหลายทางชวี ภาพ

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ รำยวชิ ำ ว20112 วิทยำกำรคำนวณ 2 กลมุ่ สำระกำรเรยี นร้วู ทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศึกษำปที ่ี 2 ภำคเรียนที่ 2 เวลำ 20 ชว่ั โมง จำนวน 0.5 หน่วยกติ ศึกษาวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้แนวคิดเชิงคานวณ การออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ีมีการใช้ตรรกะ และฟังก์ชัน การออกแบบอัลกอริทึมเพื่อการแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ การใช้ซอฟต์แวร์ในการเขียน โปรแกรม องค์ประกอบและหลักการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ การใช้สื่อเทคโนโลยี การประยุกต์ใช้งาน และการแกป้ ญั หาเบ้ืองต้น แนวทางการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัย การเลอื กแนวทางปฏบิ ัติเม่ือพบ ข้อมูลที่ไม่เหมาะสม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ การสร้างและแสดงสิทธ์ิความเป็น เจา้ ของผลงาน การกาหนดสิทธกิ ารใชข้ ้อมลู วเิ คราะห์เปรียบเทียบตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยี โดยนาแนวคิด เชิงนามธรรมและขั้นตอนการแก้ปัญหา ปฏบิ ตั ิการประยุกต์ใชก้ ารเขียนโปรแกรมหรือการแก้ปัญหาในชีวิตจริง เลือกใช้ซอฟต์แวร์และบริการ บนอินเตอร์เน็ตเพ่ือใช้ในการจัดการข้อมูลสารสนเทศให้ปลอดภัย เลือกใช้เทคโนโลยีและแนวทางปฏิบัติเพื่อ ปอ้ งกันขอ้ มลู และป้องกนั การเข้าถึงเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อการจัดการข้อมูลสารสนเทศและประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสม ตระหนักถึงการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ และไม่สร้างความ เสียหายใหแ้ ก่ผู้อ่ืน ตวั ช้ีวัด ว4.2 ม.2/1 ออกแบบอัลกอรทิ มึ ทีใ่ ชแ้ นวคิดเชงิ คานวณในการแกป้ ัญหา หรือการทางานที่พบในชีวิตจรงิ ว4.2 ม.2/1 ออกแบบและเขียนโปรแกรมทใ่ี ช้ตรรกะและฟังกช์ นั ในการแกป้ ญั หา ว4.2 ม.2/3 อภปิ รายองค์ประกอบและหลกั การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยกี ารส่ือสาร เพ่อื ประยุกตใ์ ชง้ านหรอื แก้ปัญหาเบ้ืองต้น ว4.2 ม.2/4 ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความรับผิดชอบ สรา้ งและแสดงสิทธใิ นการเผยแพร่ ผลงาน รวม 4 ตวั ช้ีวัด

โครงสร้างรายวชิ า รายวชิ า ว20112 วิทยาการคานวณ 2 กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 2 เวลาเรียน 20 ชั่วโมง/ภาคเรยี น จานวน 0.5 หน่วยกิต หน่วย ชื่อหน่วย มาตรฐานการ สาระการเรยี นรู้ เวลาเรียน น้าหนกั ท่ี การเรยี นรู้ เรียนรู้/ตวั ช้ีวัด (ช่ัวโมง) คะแนน 1 อลั กอรทิ ึมและการ ว4.2 ม.2/1 แก้ปญั หา • กระบวนการออกแบบวธิ กี าร 4 10 2 การประยกุ ตใ์ ช้ ว4.2 ม.2/2 โปรแกรม ในการ แก้ปัญหา แก้ปัญหา • การเขยี นโปรแกรมเพอ่ื การแกป้ ญั หา 10 30 • ซอฟตแ์ วรท์ ีใ่ ชใ้ นการเขยี นโปรแกรม 3 การทางานของระบบ ว4.2 ม.2/3 • องคป์ ระกอบและหลกั การทางาน 2 10 คอมพวิ เตอร์ ของระบบคอมพิวเตอร์ 2 10 • เทคโนโลยีการสอื่ สารและการ 1 20 1 20 ประยุกตใ์ ชง้ านเพือ่ การแกป้ ัญหา 20 100 เบอื้ งต้น 4 ความปลอดภยั ในการ ว4.2 ม.2/4 • การเลือกแนวทางปฏิบตั ิเพ่ือใช้ ใช้เทคโนโลยี เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง สารสนเทศ รบั ผดิ ชอบ เหมาะสม และปลอดภัย • การสร้างและแสดงสทิ ธิค์ วามเป็น เจ้าของผลงาน • การกาหนดสทิ ธิการใชข้ ้อมูล กลางภาค ปลายภาค รวม

กำหนดกำรสอนตำมโครงสร้ำงรำยวิชำ ว20112 วทิ ยำกำรคำนวณ 2 ช้ันมธั ยมศึกษำปที ี่ 2 จำนวน 20 ชว่ั โมง/ภำคเรียน จำนวน 0.5 หน่วยกิต ท่ี ชือ่ หน่วยกำรเรยี นรู้ เร่ือง มำตรฐำนกำรเรยี นร/ู้ ตวั ช้วี ดั จำนวน นำ้ หนัก ชั่วโมง คะแนน 1 อลั กอริทึมและการ 1. แนวคิดเชงิ คานวณ ว4.2 ม.2/1 ออกแบบ 4 10 แกป้ ัญหา 2. การแก้ปัญหาโดยใช้ อลั กอริทึมท่ีใชแ้ นวคดิ เชิง แนวคดิ เชงิ คานวณ คานวณในการแกป้ ัญหา หรือ การทางานทพ่ี บในชีวิตจรงิ 2 การประยุกตใ์ ช้ 3. การออกแบบข้นั ตอนการ ว4.2 ม.2/2 ออกแบบและเขยี น 10 30 โปรแกรม ในการ ทางานของโปรแกรม โปรแกรมทใ่ี ช้ตรรกะและ แก้ปัญหา 4. ตวั แปรภาษา Python ฟังก์ชนั ในการแกป้ ญั หา 5. ตวั ดาเนนิ การในภาษา Python 6. การเขยี นโปรแกรมดว้ ย ภาษา Python 7. การใช้งานฟงั กช์ ันใน ภาษา Python 3 การทางานของระบบ 8. การทางานของระบบ ว4.2 ม.2/3 อภิปราย 2 10 คอมพวิ เตอร์ คอมพวิ เตอร์ องค์ประกอบและหลกั การ ทางานของระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีการสื่อสารเพ่ือ ประยุกตใ์ ชง้ านหรือแกป้ ัญหา เบ้อื งตน้ 4 ความปลอดภัยในการ 9. ความปลอดภัยในการใช้ ว4.2 ม.2/4 ใชเ้ ทคโนโลยี 2 10 ใช้เทคโนโลยี เทคโนโลยีสารสนเทศ สารสนเทศอย่างปลอดภัย มี สารสนเทศ ความรบั ผิดชอบ สรา้ งและ แสดงสิทธิในการเผยแพรผ่ ลงาน

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ - รายวิชา ว20112 วทิ ยาการคานวณ 2 เรอ่ื ง แผนปฐมนเิ ทศ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 เวลา 1 ชวั่ โมง กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้สอน นางฐติ ิยาภรณ์ ทวี ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 1. มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวช้ีวัด - 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ (เรยี ง K P A) 2.1 นักเรยี นมคี วามเข้าใจเกย่ี วกบั รายวิชา ตวั ช้วี ัดและวิธีการปฏิบตั ิตนในการเรยี นรายวชิ า ว20112 วทิ ยาการคานวณ 2 (K) 2.2 สามารถสมคั รและเขา้ ระบบ Gmail ของตนเองได้ (P) 2.3 มคี วามม่งุ ม่ันและมีความรบั ผิดชอบในการทางาน (A) 3. สมรรถนะท่สี าคญั 3.1 ความสามารถในการสือ่ สาร 3.2 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต 3.3 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 4. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (ตามหลกั สตู ร) (ให้บูรณาการกับแนวคิดเศรษฐกจิ พอเพยี ง) 4.1 มวี ินัย 4.2 ใฝ่เรียนรู้ 4.3 มุง่ มน่ั ในการทางาน 5. สาระสาคัญ การปฐมนิเทศกอ่ นเรียนเป็นการแนะนาเกย่ี วกบั วธิ ีเรยี น ขอบข่ายเนือ้ หาสาระ การวดั และประเมนิ ผล รายวชิ า ว20112 วทิ ยาการคานวณ 2 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 เพื่อใหน้ กั เรียนทราบและเข้าใจถึงวิธีการเรียนรู้ จดุ ประสงคข์ องการเรียนรู้ รวมถึงการแบ่งกลุม่ เพื่อทางานรว่ มกบั ผู้อ่นื รบั ผดิ ชอบงานสว่ นรวมซึ่งเป็นแนวทาง ในการท่ีจะทาใหน้ กั เรียนบรรลุวตั ถุประสงคท์ ่ีต้งั ไวแ้ ละทาให้ครแู ละนกั เรยี นเกดิ ความคนุ้ เคยมีปฏิสัมพนั ธ์ซง่ึ กนั และกัน

6. สาระการเรยี นรู/้ เนอื้ หายอ่ ย 6.1 คาอธบิ ายรายวิชา รายวชิ า ว20112 วทิ ยาการคานวณ 2 6.2 เกณฑ์การวดั และประเมนิ ผลรายวชิ า รายวชิ า ว20112 วิทยาการคานวณ 2 6.3 การสมคั รและเข้าระบบ Gmail 7. ภาระงาน/ชิ้นงาน สมัคร Gmail เขา้ สูร่ ะบบ และกรอกขอ้ มูลในแบบฟอรม์ ข้อมูลนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 8. เกณฑ์การประเมินภาระงาน/ชนิ้ งาน (Rubric Scoring) สมัคร Gmail เข้าสรู่ ะบบ และขอ้ มลู นักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 2 ครบ 100 % 9. กิจกรรมการเรยี นรู้ ชัว่ โมงที่ 1 9.1 ครูแนะนาตวั ใหน้ ักเรยี นทราบรวมถึงหนา้ ท่ีท่ีได้รับมอบหมายและทาความคนุ้ เคย กบั นักเรยี น 9.2 นักเรยี นแนะนาตัวเปน็ รายบุคคล โดยบอกชื่อ-นามสกุล ชอ่ื เล่น 9.3 ครูอธบิ ายวธิ ีการสมคั ร Gmail และเข้าระบบ Gmail 9.4 นักเรียนเข้าไปกรอกขอ้ มลู ในแบบฟอร์มขอ้ มูลนกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ที่เวบ็ ไซต์ http://www.gg.gg/comsic-2 คลกิ ที่ แบบบนั ทึกข้อมูลผู้เรยี น แล้วกรอกข้อมูลให้เรยี บรอ้ ย 9.5 ครใู หน้ กั เรยี นเข้าไปอา่ นคาอธบิ ายรายวิชาและจุดประสงค์การเรยี นรู้ ท่เี ว็บไซต์ http://www.gg.gg/comsic-2 ตรงหวั ขอ้ คาอธบิ ายรายวิชาและจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 9.6 ครูและนักเรียนรว่ มกันสรุป เนือ้ หาท่ีเรยี นในรายวชิ า ว20112 วิทยาการคานวณ 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2562 10. สือ่ การเรยี นร/ู้ แหล่งเรยี นรู้ 10.1 เว็บไซต์ http://www.gg.gg/comsic-2 สรา้ งโดย นางฐติ ิยาภรณ์ ทวี 11. การวัดและประเมนิ ผล -





หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 เร่ือง อลั กอรทิ ึมและการแกป้ ญั หา

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 อลั กอริทึมและการแกป้ ัญหา รายวชิ า ว20112 วทิ ยาการคานวณ 2 เรือ่ ง แนวคิดเชงิ คานวณ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 2 เวลา 1 ช่ัวโมง กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 ผสู้ อน นางฐิตยิ าภรณ์ ทวี 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รเู้ ท่าทัน และมจี ริยธรรม ตวั ชว้ี ดั ว 4.2 ม.2/1 ออกแบบอลั กอริทมึ ท่ใี ชแ้ นวคิดเชิงคานวณในการแกป้ ญั หา หรอื การทางานที่ พบในชวี ติ จรงิ 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 2.1 นกั เรยี นบอกความหมายของแนวคดิ เชงิ คานวณได้ (K) 2.2 นกั เรียนอธิบายองคป์ ระกอบของแนวคดิ เชิงคานวณได้ (K) 2.3 นกั เรียนเขยี นภาพการทางานขององค์ประกอบแนวคดิ เชงิ คานวณได้ (P) 2.4 นักเรียนมคี วามรบั ผดิ ชอบงานท่ีได้รับมอบหมาย (A) 3. สมรรถนะที่สาคญั 3.1 ความสามารถในการสอื่ สาร 3.2 ความสามารถในการคิด 3.3 ความสามารถในการแกป้ ัญหา 3.4 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 4. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 4.1 มวี นิ ยั 4.2 ใฝ่เรียนรู้ 4.3 มุ่งมัน่ ในการทางาน 5. สาระสาคญั แนวคิดเชงิ คานวณ คอื แนวคดิ ในการแกป้ ัญหาต่างๆ อยา่ งเป็นระบบ และเปน็ กระบวนการทม่ี ีลาดบั ขนั้ ตอนชัดเจน โดยกระบวนการแก้ปัญหาดงั กลา่ วนเ้ี ป็นกระบวนการท่มี นษุ ย์ และคอมพิวเตอร์ สามารถ เข้าใจรว่ มกนั ได้ ซ่งึ แนวคดิ เชิงคานวณน้ีเปน็ แนวคดิ ที่สาคญั สาหรับการพฒั นาซอฟต์แวรค์ อมพวิ เตอร์ เพราะการเขียนโปรแกรมถา้ ไม่ได้เกดิ ขึ้นจากแนวคิดเชงิ คานวณ จะทาใหโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอรท์ างานชา้ ไม่ตรงตามทตี่ ้องการ ดงั น้ันจงึ ควรนาแนวคิดเชิงคานวณเข้ามาใชใ้ นการแกป้ ัญหาเพอื่ ใหเ้ กิดผลลพั ธ์ของ

การแกป้ ัญหาทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ 6. สาระการเรยี นร/ู้ เนอ้ื หายอ่ ย 6.1 ความหมายของแนวคิดเชงิ คานวณ 6.2 องคป์ ระกอบของแนวคิดเชิงคานวณ 7. ภาระงาน/ชิน้ งาน ใบงานท่ี 1.1 องคป์ ระกอบของแนวคิดเชิงคานวณ 8. เกณฑก์ ารประเมินภาระงาน/ชน้ิ งาน แนบทา้ ยแผน 9. กิจกรรมการเรยี นรู้ ช่ัวโมงที่ 1 9.1 แจ้งจุดประสงคก์ ารเรยี นรใู้ หน้ ักเรยี นทราบ 9.2 นักเรียนเข้าบทเรียนออนไลน์ทาแบบทดสอบก่อนเรียนใน Goggle Forms เร่ือง แนวคิดเชิง คานวณกบั การแก้ปญั หา จานวน 10 ข้อ 9.3 ครถู ามคาถามประจาหวั ขอ้ วา่ “นักเรยี นคิดวา่ มนษุ ยน์ าแนวคดิ เชงิ คานวณมาประยกุ ต์ใช้ ในชีวติ ประจาวนั ได้อยา่ งไร” 9.4 นักเรียนศกึ ษาค้นคว้าหาความรูเ้ กีย่ วกับความหมายและองค์ประกอบของแนวคิดเชิงคานวณ ใน เว็บไซต์ http://gg.gg/comsci-2 ท่ีครูสร้างขึ้น เพ่ือศึกษาความรู้เร่ือง ความหมายของแนวคิดเชิงคานวณ และองคป์ ระกอบของแนวคิดเชงิ คานวณ 9.5 ครูนานกั เรยี นอภิปรายเกยี่ วกบั องคป์ ระกอบของแนวคิดเชิงคานวณ เพ่ือตรวจสอบความรู้ ความ เข้าใจ โดยใหน้ ักเรียนแสดงความคดิ เหน็ ครแู นะนาเพม่ิ เติม 9.6 นักเรยี นทาใบงานท่ี 1.1 เรื่อง องค์ประกอบของแนวคิดเชิงคานวณ เพื่อทดสอบความรู้ความ เข้าใจ 9.7 ครูอภปิ รายและสรุปความรู้ เรือ่ ง ความหมายและองค์ประกอบของแนวคดิ เชิงคานวณ 10. ส่อื การเรยี นรู้/แหล่งเรียนรู้ 10.1 ใบงานท่ี 1.1 องคป์ ระกอบของแนวคิดเชงิ คานวณ 10.2 บทเรียนออนไลน์ http://gg.gg/comsci-2 10.3 โปรแกรม Google doc 10.4 โปรแกรม Google Classroom 10.5 โปรแกรม Google forms

11. การวัดและประเมินผล 11.1 วิธีการประเมนิ 1) ทดสอบกอ่ นเรยี น 2) ประเมนิ ใบงาน 3) สงั เกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ 11.2 เคร่อื งมอื 1) แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 2) แบบประเมินใบงาน 3) แบบสังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ 11.3 เกณฑ์การประเมนิ 1) มีการตอบคาถามตามใบงาน ผา่ นเกณฑ์ระดับคุณภาพดี 2) มพี ฤตกิ รรมการเรยี นร้ผู า่ นเกณฑ์ระดบั คณุ ภาพดี





แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 เร่ือง แนวคดิ เชิงคานวณกบั การแกป้ ญั หา *********************** รายวิชา ว20112 วิทยาการคานวณ 2 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 จานวน 10 ขอ้ 10 นาที ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- คาชี้แจง ใหน้ ักเรยี นเลือกคาตอบที่ถูกตอ้ งทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว 1. ข้อใดหมายถึงแนวคดิ เชิงคานวณ 6. แนวคิดการแยกยอ่ ยเปน็ องคป์ ระกอบของแนวคิดใด ก. Computer Thinking ก. แนวคิดเชงิ คานวณ ข. Computational Thinking ข. แนวคดิ เชิงตรรกะ ค. Complete Thinking ค. แนวคดิ เชิงรวบยอด ง. Calculator Thinking ง. แนวคดิ เชงิ นามธรรม 2. ข้อใด ไม่ใช่ องค์ประกอบของแนวคดิ เชิงคานวณ 7. ขอ้ ใดกลา่ วถึงแนวคิดเชงิ คานวณปด้ถกู ตอ้ ง ก. แนวคดิ เชงิ นามธรรม ก. เป็นการแกป้ ญั หาจากใหญป่ ปยอ่ ย ข. แนวคดิ การแยกย่อย ข. เปน็ ทกั ษะการแก้ปญั หาทีซ่ ับซอ้ น ค. แนวคิดการหารูปแบบ ค. เป็นทักษะทใี่ ชใ้ นการประดิษฐห์ ่นุ ยนต์ ง. แนวคดิ เชิงรูปธรรม ง. เปน็ ทักษะสาคญั ทน่ี ักพัฒนาซอฟต์แวร์ควรมี 3. แนวคดิ เชงิ คานวณท่ีแตกปัญหาใหญอ่ อกเป็นปญั หาย่อย 8. เมอ่ื พบกองเสอื้ ผ้าทป่ี ะปนกันอยู่เป็นจานวนมาก หมายถงึ คือข้อใด จะเลอื กแนวทางในการแกป้ ัญหาอยา่ งปรจึงจะถกู ต้อง ก. แนวคดิ การแยกย่อย ก. จัดเรยี งเส้ือผ้าตามกลุ่ม / แบง่ กลมุ่ เส้ือผ่า / จัดเขา้ ตเู้ ส้ือผา้ ข. แนวคิดการหารปู แบบ ข. แบง่ กล่มุ เส้อื ผา้ / จดั เรยี งเสื้อผ้าตามกลุ่ม / จัดเขา้ ตู้เส้ือผ้า ค. แนวคิดเชิงนามธรรม ค. แบง่ กลมุ่ เส้ือผา้ / แยกสเี สอ้ื ผา้ / แยกประเภทเสอ้ื ผา้ ง. แนวคิดเชิงรปู ธรรม / จดั เข้าตู้เสอื้ ผา้ 4. เมอ่ื ครูสงั่ ให้เขา้ แถวตามลาดับความสงู ของนักเรียน ง. หาวัตถปุ ระสงคห์ ลักในการค้นหาเสอื้ ผา้ / แบง่ กลุ่มเสอ้ื ผา้ ให้เรว็ ทีส่ ดุ ส่ิงแรกทค่ี วรทาคอื ข้อใด ตามวัตถุประสงคห์ ลัก / จดั เรียงเส้ือผา้ ตามกลุ่ม ก. เรยี งลาดับตามความสูงจากน้อยปปหามาก 9. เมอ่ื ต้องการแกป้ ญั หาตามแนวคิดเชงิ คานวณ ข. เรียงลาดบั ตามความสูงจากมากปปหาน้อย ควรทาองคป์ ระกอบใดเปน็ ขน้ั ตอนแรก ค. กาหนดนักเรยี นคนแรกใหเ้ ปน็ นกั เรยี นตาแหนง่ หลัก ก. ทาปญั หาน้ันใหม้ ีขนาดเลก็ ลง เพือ่ ให้สามารถจดั การ ง. แบ่งกลมุ่ ออกเปน็ 2 กลุ่มโดยกาหนดเง่ือนปข ปัญหาแต่ละส่วนปด้ง่ายขน้ึ ให้ละเอียด ข. เปล่ียนรปู แบบปญั หาให้แก้ปขปัญหาปดง้ ่ายข้ึน 5. ข้อใดคอื ประโยชนข์ องการแกป้ ญั หาโดยใชแ้ นวคดิ ค. กาหนดหลักการในการแก้ปัญหา เชงิ คานวณ ง. ออกแบบข้นั ตอนวธิ ใี นการแกป้ ญั หา ก. สามารถแกป้ ัญหาปด้อยา่ งรวดเร็ว 10. แนวคิดในขอ้ ใดใช้สญั ลักษณ์ Flowchart แสดงลาดบั ข. สามารถบนั ทึกแนวทางการแกป้ ญั หาปด้ ข้ันตอนในการแกป้ ัญหา ค. สามารถแก้ปญั หาปดอ้ ยา่ งเป็นระบบ ก. แนวคดิ เชิงนามธรรม ง. สามารถแก้ปญั หาโดยใชก้ ารคานวณจากคอมพิวเตอร์ ข. แนวคิดการแยกยอ่ ย ค. แนวคิดการออกแบบข้นั ตอนวิธี ง. แนวคิดการหารปู แบบ เฉลย 1. ข 2. ง 3. ก 4. ค 5. ค 6. ก 7. ง 8. ง 9. ก 10. ค

บทเรียนออนไลน์ รายวชิ า ว20112 วิทยาการคานวณ 2 ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี *********************** แหล่งเรยี นรู้ เวบ็ ไซต์ http://gg.gg/comsci-2 สร้างโดย นางฐิตยิ าภรณ์ ทวี

ใบงานท่ี 1.1 เรอ่ื ง องคป์ ระกอบของแนวคดิ เชงิ คานวณ *********************** หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 อลั กอรทิ มึ และการแกป้ ัญหา รายวชิ า ว20112 วทิ ยาการคานวณ 2 ประกอบแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 แนวคดิ เชิงคานวณ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 เวลา 1 ชวั่ โมง จานวน 0.5 หน่วยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- คาช้ีแจง : ใหน้ ักเรียนเขียนภาพการทางานตามแนวคิดตา่ งๆ ขององค์ประกอบแนวคดิ เชงิ คานวณ เพื่อแก้ปญั หาจากสถานการณ์ท่กี าหนดให้ สถานการณ์ ให้นักเรียนเขยี นภาพการทางาน ตามแนวคดิ การแยกยอ่ ย (Decomposition) ณ หมบู่ า้ นแสนสขุ ผู้ใหญ่บา้ นกาลงั คดิ หาวิธกี าร ประกาศครอบครวั ตวั อยา่ ง ทจี่ ะทาให้ชาวบา้ นเข้าใจ โดยมีครอบครวั ตัวอยา่ งจานวน 2 ครอบครัว ครอบครัวแรก คอื ครอบครวั ของนายมงิ่ และนางแยม้ มลี ูกสาว 1 คนช่อื สรอ้ ย ส่วนครอบครวั ทส่ี อง คือ ครอบครัวของนายขวัญ และนางเรยี ม มลี กู ชายช่ือกลา้ สถานการณ์ ให้นกั เรียนเขียนภาพการทางาน ครูนกกาลังคดิ หาวธิ กี ารทาสรปุ จากการสารวจงาน ตามแนวคดิ การหารปู แบบ (Pattern Recognition) อดิเรกของนักเรยี นจานวน 100 คน โดยผลการสารวจ มดี งั นี้ มนี ักเรยี นที่ชอบชมภาพยนตรอ์ ยู่ 28 คน ชอบฟงั เพลง 46 คน ชอบเล่นเกม 6 คน และชอบออก กาลังกาย 20 คน

สถานการณ์ ใหน้ ักเรยี นเขียนภาพการทางาน ตามแนวคดิ เชิงนามธรรม (Abstraction) ครูฟา้ ใสมอบหมายให้วีระแยกสว่ นภาพวาดโดยตัดส่วน ที่เปน็ รายละเอยี ดต่างๆ ออกไป ซึง่ วีระไมเ่ ขา้ ใจ และ ภาพวาดทคี่ รฟู า้ ใสมอบหมายใหว้ รี ะคือรูปภาพ ดังต่อไปนี้ สถานการณ์ ให้นักเรียนเขยี นภาพการทางาน เขียวไมเ่ ข้าใจขนั้ ตอนการทอดไขเ่ จียวทีแ่ ดงอธบิ าย ตามแนวคดิ การออกแบบขั้นตอนวธิ ี (Algorithm Design) โดยขั้นตอนการทอดไข่เจียวท่ีแดงอธบิ ายมีดังนี้ ขั้นแรกตอกไขใ่ ส่ชามและใสเ่ ครื่องปรุงรส ตไี ข่ผสมให้ เข้ากนั ตงั้ กระทะเทน้ามนั นาไข่ลงในกระทะ จากน้นั กลบั ดา้ นไข่และตรวจสอบวา่ ไขส่ ุกหรือไม่ ถา้ สกุ แลว้ ให้ ตกั ใส่จานเสริ ์ฟ แต่ถ้ายังไมส่ กุ ใหท้ อดต่อจนกระทัง่ สกุ จงึ คอ่ ยทาการตกั ใสจ่ านเพอ่ื เสิร์ฟ

ใบงานที่ 1.1 เรื่อง องค์ประกอบของแนวคิดเชิงคานวณ *********************** หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 อลั กอริทึมและการแกป้ ัญหา รายวชิ า ว20112 วิทยาการคานวณ 2 ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 แนวคิดเชงิ คานวณ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 เวลา 1 ชวั่ โมง จานวน 0.5 หน่วยกติ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- คาช้ีแจง : ใหน้ ักเรียนเขยี นภาพการทางานตามแนวคิดต่างๆ ขององค์ประกอบแนวคิดเชงิ คานวณ เพ่อื แก้ปัญหาจากสถานการณ์ท่กี าหนดให้ สถานการณ์ ใหน้ กั เรยี นเขียนภาพการทางาน ตามแนวคิดการแยกยอ่ ย (Decomposition) ณ หมู่บ้านแสนสุข ผใู้ หญบ่ ้านกาลังคิดหาวิธกี าร ประกาศครอบครวั ตัวอยา่ ง ที่จะทาให้ชาวบา้ นเข้าใจ ครอบครัว นายมง่ิ ด.ญ.สร้อย โดยมีครอบครัวตัวอย่างจานวน 2 ครอบครวั 1 นางแยม้ ครอบครัวแรก คือ ครอบครวั ของนายมิ่ง และนางแย้ม มลี ูกสาว 1 คนชื่อสร้อย สว่ นครอบครวั ท่ีสอง คือ หม่บู า้ น ครอบครัวของนายขวญั และนางเรียม มีลูกชายช่ือกล้า แสนสขุ ครอบครวั นายขวญั ด.ช.กลา้ 2 นางเรยี ม สถานการณ์ ให้นักเรยี นเขยี นภาพการทางาน ครนู กกาลังคิดหาวิธกี ารทาสรปุ จากการสารวจงาน ตามแนวคดิ การหารปู แบบ (Pattern Recognition) อดิเรกของนักเรียนจานวน 100 คน โดยผลการสารวจ มดี งั นี้ มนี กั เรียนทช่ี อบชมภาพยนตรอ์ ยู่ 28 คน ออก ชมภาพยนตร์ ชอบฟังเพลง 46 คน ชอบเลน่ เกม 6 คน และชอบออก กาลงั กาย 28% กาลงั กาย 20 คน 20% เลน่ เกม 13% ฟังเพลง 39%

สถานการณ์ ให้นกั เรยี นเขียนภาพการทางาน ตามแนวคดิ เชิงนามธรรม (Abstraction) ครูฟ้าใสมอบหมายให้วรี ะแยกส่วนภาพวาดโดยตัดส่วน ทีเ่ ปน็ รายละเอียดต่างๆ ออกไป ซ่ึงวีระไม่เข้าใจ และ ภาพวาดทค่ี รฟู า้ ใสมอบหมายให้วรี ะคือรปู ภาพ ดงั ต่อไปนี้ สถานการณ์ ใหน้ ักเรยี นเขยี นภาพการทางาน เขียวไม่เข้าใจขัน้ ตอนการทอดไขเ่ จยี วท่ีแดงอธบิ าย ตามแนวคดิ การออกแบบข้นั ตอนวธิ ี (Algorithm Design) โดยขน้ั ตอนการทอดไข่เจยี วท่แี ดงอธบิ ายมีดังน้ี ขัน้ แรกตอกไขใ่ สช่ าม และใส่เครอื่ งปรุงรส ตีไข่ผสมให้ เรมิ่ ต้น เข้ากนั ตง้ั กระทะเทนา้ มันนาไข่ลงในกระทะ จากนัน้ กลบั ด้านไข่และตรวจสอบวา่ ไขส่ กุ หรือไม่ ถา้ สุกแล้วให้ ตอกไข่ใสช่ าม ตักใสจ่ านเสิร์ฟ แต่ถ้ายงั ไมส่ กุ ใหท้ อดต่อจนกระท่งั สุก จงึ ค่อยทาการตักใส่จานเพ่อื เสิร์ฟ ใส่เคร่ืองปรงุ ตไี ข่ผสมให้เขา้ กนั ต้งั กระทะเทน้ามัน นาไขล่ งในกระทะ กลบั ดา้ นไข่ ทอดไขเ่ จยี วต่อ ไมส่ กุ สุกหรือไม่ สุก ตักใสจ่ านเสริ ์ฟ สนิ้ สดุ

แบบประเมินใบงานท่ี 1.1 เร่อื ง องคป์ ระกอบของแนวคดิ เชิงคานวณ *********************** หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 อัลกอริทึมและการแก้ปัญหา รายวิชา ว20112 วิทยาการคานวณ 2 ประกอบแผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 แนวคิดเชงิ คานวณ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 เวลา 1 ชวั่ โมง จานวน 0.5 หนว่ ยกิต --------------------------------------------------------------------------------------- ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 /............... ขอ้ ท่ี ขอ้ ที่ ข้อท่ี ขอ้ ที่ รวม ระดบั เลขท่ี ชอ่ื -สกลุ 12 34 คะแนน คุณภาพ 55 55 20 ลงชือ่ ผู้ประเมิน (........................................................) เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ระดับคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ดีมาก 16 – 20 ดี 11 – 15 พอใช้ 6 – 10 ปรับปรงุ 0–5

แบบสงั เกตพฤติกรรมผู้เรียน ชน้ั ...............................................จำนวน...................คน สงั เกตพฤติกรรมกำรเรียนรู้ วนั ท่.ี .............เดอื น....................................................พ.ศ........................ พฤตกิ รรม ความ ความ การตอบ ทางานทัน มีสว่ นร่วม ตั้งใจใน สนใจ คาถาม ตาม ในกจิ กรรมหรอื รวม (20) เลขท่ี ชือ่ -สกลุ การเรยี น และการ (4) กาหนดเวลา งานกลุ่ม (4) ซกั ถาม (4) (4) (4) 1. 2. 3. 4. 5. ลงชื่อ ......................................ผู้ประเมิน ............/............/.......... เกณฑ์การประเมนิ ในการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ มีดังนี้ คะแนน 18 – 20 ดมี ำก คะแนน 14 – 17 ดี คะแนน 10 – 13 พอใช้ คะแนน 0 – 9 ควรปรบั ปรุง เกณฑ์ให้คะแนนจากการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ คอื เกณฑก์ ำรให้คะแนน 4 คะแนน เมื่อนกั เรียนแสดงพฤติกรรมตำมที่ตอ้ งกำรเปน็ ประจำสม่ำเสมอ เกณฑ์กำรให้คะแนน 3 คะแนน เม่ือนักเรียนแสดงพฤตกิ รรมตำมท่ตี ้องกำรค่อนข้ำงจะสม่ำเสมอ เกณฑก์ ำรใหค้ ะแนน 2 คะแนน เมอ่ื นักเรยี นแสดงพฤตกิ รรมตำมทตี่ อ้ งกำรคอ่ นขำ้ งน้อย เกณฑ์กำรใหค้ ะแนน 1 คะแนน เมือ่ นกั เรียนแสดงพฤติกรรมตำมทต่ี อ้ งกำรนอ้ ย

เกณฑก์ ารประเมนิ การสงั เกตพฤตกิ รรมผเู้ รียน เกณฑ์การใหค้ ะแนน รายการประเมนิ ดีมาก(4) ดี(3) พอใช(้ 2) ต้องปรบั ปรงุ (1) 1. ความต้ังใจในการเรยี น สนใจในกำรเรียนไม่ สนใจในกำรเรียน สนใจในกำรเรยี น ไม่สนใจในกำร 2. ความสนใจและการ ซักถาม คยุ หรือเลน่ กัน คยุ กันเลก็ นอ้ ย คุยกนั และเล่นกนั เรยี นคยุ และเล่น 3. การตอบคาถาม ในขณะเรยี น ในขณะเรยี น ในขณะเรยี นเปน็ กนั ในขณะเรียน 4. ทางานทนั ตาม บำงครง้ั กาหนดเวลา มกี ำรถำมในหวั ขอ้ ท่ี มกี ำรถำมใน มีกำรถำมใน ไมถ่ ำมในหวั ข้อท่ี 5. มีส่วนรว่ ม ในกจิ กรรมหรืองานกลมุ่ ตนไมเ่ ข้ำใจทกุ เร่อื ง หวั ขอ้ ทต่ี นไม่ หวั ขอ้ ทตี่ นไม่ ตนไมเ่ ข้ำใจและ และกลำ้ แสดงออก เขำ้ ใจเปน็ เขำ้ ใจเปน็ บำงคร้ัง ไมก่ ลำ้ แสดงออก ส่วนมำกและกล้ำ และไมค่ ่อยกล้ำ แสดงออก แสดงออก รว่ มตอบคำถำมใน ร่วมตอบคำถำม ร่วมตอบคำถำม ไมต่ อบคำถำม เรอ่ื งท่คี รถู ำมและ ในเรอื่ งท่ีครูถำม ในเรื่องทีค่ รถู ำม ตอบคำถำมถูกทุกขอ้ และตอบคำถำม เป็นบำงครงั้ และ ส่วนมำกถกู ตอบคำถำมถูก เปน็ บำงครง้ั ทำงำนสง่ ตำมเวลำที่ ทำงำนส่งตำม สง่ งำนช้ำและไม่ สง่ งำนช้ำและไม่ กำหนดและถูกต้อง เวลำทก่ี ำหนด ค่อยถกู ต้อง ถูกตอ้ ง ชัดเจน และส่วนใหญ่ ชดั เจน ถูกตอ้ ง ร่วมมอื และชว่ ยเหลือ รว่ มมือและ รว่ มมือและ ไมม่ ีควำมรว่ มมอื เพอ่ื นในกำรทำ ช่วยเหลอื เพ่ือน ชว่ ยเหลอื เพ่ือนใน ในขณะทำ กจิ กรรม เป็นสว่ นใหญใ่ น กำรทำกิจกรรม กิจกรรม กำรทำกิจกรรม เปน็ บำงครัง้

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 2 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 อัลกอรทิ มึ และการแก้ปัญหา รายวิชา ว20112 วิทยาการคานวณ 2 เร่ือง การแก้ปัญหาโดยใช้แนวคดิ เชงิ คานวณ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 เวลา 3 ชัว่ โมง กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 ผ้สู อน นางฐิตยิ าภรณ์ ทวี 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน และเปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ รู้เท่าทัน และมจี รยิ ธรรม ตัวช้ีวดั ว 4.2 ม.2/1 ออกแบบอัลกอรทิ ึมทใี่ ชแ้ นวคิดเชิงคานวณในการแก้ปญั หา หรือการทางานที่ พบในชีวติ จรงิ 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 2.1 นักเรยี นบอกวธิ กี ารแกป้ ญั หาการเข้าแถวตามลาดบั ความสูงของนักเรียนให้เร็วทีส่ ดุ ได้ (K) 2.2 นกั เรียนบอกวธิ กี ารแกป้ ญั หาการจัดเรยี งเสอ้ื ผ้าใหห้ าง่ายที่สุดได้ (K) 2.3 นักเรยี นเขียนวธิ ีการแก้ปญั หาโดยใชแ้ นวคิดเชิงคานวณได้ (P) 2.4 นักเรียนมีความรับผดิ ชอบงานท่ไี ด้รบั มอบหมาย (A) 3. สมรรถนะท่สี าคัญ 3.1 ความสามารถในการสอ่ื สาร 3.2 ความสามารถในการคดิ 3.3 ความสามารถในการแกป้ ัญหา 3.4 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 4. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 4.1 มีวนิ ัย 4.2 ใฝ่เรยี นรู้ 4.3 มงุ่ มั่นในการทางาน 5. สาระสาคัญ แนวคิดเชิงคานวณเป็นกระบวนการท่มี ีลาดับขนั้ ตอนชัดเจนถูกนามาใช้เพ่ือแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดข้ึน ในชีวิตประจาวนั อย่างเปน็ ระบบ ไม่วา่ จะเป็นปญั หาการเข้าแถวตามลาดบั ความสงู ของนักเรียน หรือปัญหา การจัดเรียงเสื้อผา้

6. สาระการเรียนร/ู้ เนอ้ื หายอ่ ย 6.1 แนวคิดเชิงคานวณ 6.2 การแก้ปัญหาโดยใช้แนวคิดเชงิ คานวณ 7. ภาระงาน/ช้ินงาน ใบงานที่ 1.2 การแก้ปัญหาโดยใช้แนวคิดเชงิ คานวณ 8. เกณฑ์การประเมินภาระงาน/ชน้ิ งาน แนบทา้ ยแผน 9. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชวั่ โมงท่ี 2 9.1 แจ้งจุดประสงคก์ ารเรียนร้ใู ห้นักเรียนทราบ 9.2 ครถู ามคาถามประจาหัวขอ้ เพ่อื กระต้นุ ความสนใจของนักเรียนว่า“แนวคิดเชงิ คานวณมสี ่วน ชว่ ยการเรยี งลาดับข้อมูลอย่างไร” 9.3 นักเรยี นศึกษาตวั อย่างปัญหาการเข้าแถวตามลาดับความสูงของนักเรียนให้เร็วที่สุด ในเว็บไซต์ http://gg.gg/comsci-2 ทค่ี รูสร้างข้นึ เพอ่ื ทาความเขา้ ใจขน้ั ตอนการเขา้ แถวของแตล่ ะแนวคดิ เชิงคานวณ 9.4 นักเรยี นแก้ปัญหาโดยใช้องค์ประกอบของแนวคดิ เชงิ คานวณท้ัง 4 แนวคิด ช่ัวโมงท่ี 3 9.5 นักเรียนศกึ ษาตวั อยา่ งปญั หาการจัดเรยี งเสือ้ ผา้ ใหห้ าง่ายท่สี ดุ โดยใช้องค์ประกอบของแนวคิดเชิง คานวณตามลาดับการวิเคราะห์ท้ัง 4 ข้อ ในเว็บไซต์ http://gg.gg/comsci-2 ท่ีครูสร้างขึ้น เพ่ือทาความ เข้าใจขน้ั ตอนการจดั เรียงเสอ้ื ผ้าของแตล่ ะแนวคดิ เชิงคานวณ 9.6 ครสู ุ่มนักเรยี น 2-3 คน เพ่ือสรุปการเข้าแถวตามลาดับความสูงของนักเรียนให้เร็วที่สุด และการ จัดเรียงเสอื้ ผา้ ให้หางา่ ยทสี่ ดุ ตามขั้นตอนการวิเคราะหโ์ ดยใช้แนวคดิ เชิงคานวณ ชั่วโมงที่ 4 9.7 นักเรียนทาใบงานท่ี 1.2 เร่ือง การแก้ปัญหาโดยใช้แนวคิดเชิงคานวณ เพื่อทดสอบความรู้ ความเข้าใจ 9.8 ครูอภปิ รายและสรปุ ความรู้ เร่ือง การแกป้ ัญหาโดยใช้แนวคดิ เชิงคานวณ 9.9 นักเรียนเข้าบทเรียนออนไลน์ทาแบบทดสอบหลังเรียนใน Goggle Forms เร่ือง แนวคิดเชิง คานวณกับการแก้ปัญหา จานวน 10 ข้อ 10. สอ่ื การเรยี นร/ู้ แหลง่ เรียนรู้ 10.1 ใบงานที่ 1.2 การแกป้ ัญหาโดยใชแ้ นวคดิ เชิงคานวณ 10.2 บทเรยี นออนไลน์ http://gg.gg/comsci-2 10.3 โปรแกรม Google doc 10.4 โปรแกรม Google Classroom

10.5 โปรแกรม Google forms 11. การวัดและประเมนิ ผล 11.1 วธิ กี ารประเมนิ 1) ทดสอบหลงั เรยี น 2) ประเมินใบงาน 3) สังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ 11.2 เคร่อื งมอื 1) แบบทดสอบหลงั เรียน 2) แบบประเมนิ ใบงาน 3) แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ 11.3 เกณฑก์ ารประเมนิ 1) มีคะแนนหลงั เรียน ผา่ นเกณฑร์ อ้ ยละ 80 2) มกี ารตอบคาถามตามใบงาน ผา่ นเกณฑร์ ะดับคุณภาพดี 3) มีพฤตกิ รรมการเรยี นรผู้ า่ นเกณฑ์ระดบั คุณภาพดี





แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1 เรอ่ื ง แนวคดิ เชิงคานวณกบั การแกป้ ญั หา *********************** รายวิชา ว20112 วิทยาการคานวณ 2 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 จานวน 10 ขอ้ 10 นาที ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- คาชี้แจง ให้นักเรยี นเลือกคาตอบที่ถกู ตอ้ งทส่ี ดุ เพียงขอ้ เดยี ว 1. ข้อใดหมายถงึ แนวคิดเชิงคานวณ 6. แนวคิดการแยกยอ่ ยเปน็ องคป์ ระกอบของแนวคิดใด ก. Computer Thinking ก. แนวคิดเชงิ คานวณ ข. Computational Thinking ข. แนวคดิ เชิงตรรกะ ค. Complete Thinking ค. แนวคดิ เชิงรวบยอด ง. Calculator Thinking ง. แนวคดิ เชงิ นามธรรม 2. ข้อใด ไม่ใช่ องคป์ ระกอบของแนวคิดเชงิ คานวณ 7. ขอ้ ใดกลา่ วถึงแนวคิดเชงิ คานวณปด้ถกู ตอ้ ง ก. แนวคิดเชงิ นามธรรม ก. เปน็ การแกป้ ญั หาจากใหญป่ ปยอ่ ย ข. แนวคิดการแยกย่อย ข. เป็นทกั ษะการแก้ปญั หาทีซ่ ับซอ้ น ค. แนวคดิ การหารูปแบบ ค. เป็นทักษะทใี่ ชใ้ นการประดิษฐห์ ่นุ ยนต์ ง. แนวคดิ เชงิ รูปธรรม ง. เปน็ ทักษะสาคญั ทน่ี ักพัฒนาซอฟต์แวร์ควรมี 3. แนวคิดเชงิ คานวณท่ีแตกปญั หาใหญอ่ อกเป็นปัญหาย่อย 8. เมอื่ พบกองเสอื้ ผ้าทป่ี ะปนกันอยู่เป็นจานวนมาก หมายถงึ คอื ข้อใด จะเลือกแนวทางในการแกป้ ัญหาอยา่ งปรจึงจะถกู ต้อง ก. แนวคิดการแยกยอ่ ย ก. จัดเรยี งเส้ือผ้าตามกลุ่ม / แบง่ กลมุ่ เส้ือผ่า / จัดเขา้ ตเู้ ส้ือผา้ ข. แนวคดิ การหารปู แบบ ข. แบ่งกล่มุ เส้อื ผา้ / จดั เรยี งเสื้อผ้าตามกลุ่ม / จดั เขา้ ตู้เส้ือผ้า ค. แนวคดิ เชงิ นามธรรม ค. แบง่ กลมุ่ เส้ือผา้ / แยกสเี สอ้ื ผา้ / แยกประเภทเสอ้ื ผา้ ง. แนวคิดเชงิ รปู ธรรม / จดั เข้าตู้เสอื้ ผา้ 4. เมอ่ื ครสู งั่ ให้เข้าแถวตามลาดบั ความสูงของนักเรียน ง. หาวัตถปุ ระสงคห์ ลักในการค้นหาเสอื้ ผา้ / แบง่ กลุ่มเสอ้ื ผา้ ให้เรว็ ทส่ี ุด ส่งิ แรกทค่ี วรทาคือขอ้ ใด ตามวัตถุประสงคห์ ลัก / จดั เรียงเส้ือผา้ ตามกลุ่ม ก. เรยี งลาดับตามความสงู จากนอ้ ยปปหามาก 9. เม่อื ตอ้ งการแกป้ ญั หาตามแนวคิดเชงิ คานวณ ข. เรยี งลาดบั ตามความสงู จากมากปปหาน้อย ควรทาองคป์ ระกอบใดเปน็ ขน้ั ตอนแรก ค. กาหนดนักเรยี นคนแรกให้เปน็ นกั เรียนตาแหนง่ หลัก ก. ทาปญั หาน้ันใหม้ ีขนาดเลก็ ลง เพือ่ ใหส้ ามารถจดั การ ง. แบง่ กลมุ่ ออกเป็น 2 กลมุ่ โดยกาหนดเงื่อนปข ปัญหาแต่ละส่วนปด้ง่ายขน้ึ ให้ละเอียด ข. เปล่ียนรปู แบบปญั หาให้แก้ปขปัญหาปดง้ ่ายข้ึน 5. ข้อใดคือประโยชน์ของการแกป้ ญั หาโดยใชแ้ นวคิด ค. กาหนดหลักการในการแก้ปัญหา เชงิ คานวณ ง. ออกแบบข้นั ตอนวธิ ใี นการแกป้ ญั หา ก. สามารถแกป้ ญั หาปดอ้ ย่างรวดเรว็ 10. แนวคิดในขอ้ ใดใช้สญั ลักษณ์ Flowchart แสดงลาดบั ข. สามารถบนั ทึกแนวทางการแก้ปัญหาปด้ ข้ันตอนในการแกป้ ัญหา ค. สามารถแกป้ ญั หาปดอ้ ยา่ งเป็นระบบ ก. แนวคดิ เชิงนามธรรม ง. สามารถแกป้ ัญหาโดยใช้การคานวณจากคอมพิวเตอร์ ข. แนวคิดการแยกยอ่ ย ค. แนวคิดการออกแบบข้นั ตอนวิธี ง. แนวคิดการหารปู แบบ เฉลย 1. ข 2. ง 3. ก 4. ค 5. ค 6. ก 7. ง 8. ง 9. ก 10. ค

บทเรียนออนไลน์ รายวชิ า ว20112 วิทยาการคานวณ 2 ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี *********************** แหล่งเรยี นรู้ เวบ็ ไซต์ http://gg.gg/comsci-2 สร้างโดย นางฐิตยิ าภรณ์ ทวี

ใบงานที่ 1.2 เรอ่ื ง การแกป้ ัญหาโดยใช้แนวคดิ เชิงคานวณ *********************** หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 อลั กอรทิ มึ และการแก้ปญั หา รายวิชา ว20112 วิทยาการคานวณ 2 ประกอบแผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 2 การแกป้ ัญหาโดยใชแ้ นวคิดเชิงคานวณ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 เวลา 3 ชั่วโมง จานวน 0.5 หนว่ ยกติ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- คาช้ีแจง : ให้นกั เรยี นบอกวิธีการแก้ปญั หาจากสถานการณท์ ี่กาหนดให้ โดยใชแ้ นวคดิ เชิงคานวณ สถานการณ์ที่ 1 : คณุ ครฉู ววี รรณสง่ั ให้นายแดงจัดแถวเพ่ือนร่วมชัน้ ตามลาดบั ความสงู ปรากฏวา่ นายแดง จดั แถวได้ชา้ มากทาให้เสยี เวลาในการเรียน นักเรยี นมวี ิธีการแกป้ ญั หาใหน้ ายแดงอย่างไร วิธีการแกป้ ัญหาโดยใช้แนวคดิ เชงิ คานวณ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

สถานการณท์ ี่ 2 : ฟา้ ใสตอ้ งการหาชุดกระโปรงสีชมพูในต้เู สอื้ ผา้ แต่ปรากฏวา่ ฟา้ ใสหาไมเ่ จอ จึงต้องร้อื เส้อื ผ้าออกมากองไว้ข้างนอกตู้เสือ้ ผา้ ท้งั หมด นกั เรียนมีวธิ ีการจัดเรียงเสือ้ ผา้ ให้ฟ้าใส อย่างไร เพื่อใหฟ้ า้ ใสหาเส้อื ผ้าได้งา่ ยที่สุด วิธีการแก้ปญั หาโดยใช้แนวคิดเชงิ คานวณ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

ใบงานท่ี 1.2 เรื่อง การแกป้ ัญหาโดยใช้แนวคิดเชงิ คานวณ *********************** หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 อลั กอริทึมและการแกป้ ญั หา รายวิชา ว20112 วิทยาการคานวณ 2 ประกอบแผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 การแกป้ ญั หาโดยใช้แนวคิดเชิงคานวณ ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 เวลา 1 ช่ัวโมง จานวน 0.5 หนว่ ยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- คาช้แี จง : ให้นักเรยี นบอกวธิ กี ารแกป้ ัญหาจากสถานการณ์ที่กาหนดให้ โดยใช้แนวคิดเชิงคานวณ สถานการณท์ ี่ 1 : คุณครูฉววี รรณส่งั ให้นายแดงจัดแถวเพื่อนร่วมช้นั ตามลาดับความสูง ปรากฏวา่ นายแดง จดั แถวได้ช้ามากทาใหเ้ สยี เวลาในการเรยี น นักเรยี นมวี ธิ ีการแก้ปญั หาใหน้ ายแดงอยา่ งไร วิธกี ารแก้ปญั หาโดยใชแ้ นวคิดเชิงคานวณ 1. แนวคิดการแยกย่อย (Decomposition) ข้นั ตอนท่ี 1 กาหนดนักเรยี นคนแรกเปน็ นกั เรียนตาแหน่งหลกั ขน้ั ตอนท่ี 2 แบง่ นักเรียนออกเปน็ 2 กลุ่ม ดังน้ี กลมุ่ ท่ี 1 นกั เรียนท่ีสงู น้อยกวา่ ตาแหนง่ หลกั ให้ตง้ั แถวอยู่ทางซ้ายของตาแหน่งหลกั กลมุ่ ท่ี 2 นักเรียนทสี่ งู มากกว่าหรอื เท่ากับตาแหน่งหลักใหต้ ้ังแถวอยทู่ างขวาของตาแหน่งหลัก ขั้นตอนท่ี 3 ทง้ั 2 กล่มุ ทาซ้าจนแบ่งกลุม่ ไมไ่ ดอ้ ีกและนักเรยี นเขา้ แถวเรียงตามลาดับความสงู ไดถ้ กู ต้อง 2. แนวคิดการหารูปแบบ (Pattern Recognition) กลุม่ นักเรียนท่มี คี วามสงู นอ้ ยกวา่ ตาแหนง่ หลัก ตาแหนง่ หลัก กล่มุ นักเรียนทม่ี ีความสูงมากกว่า หรอื เท่ากบั ตาแหน่งหลัก 3. แนวคดิ เชงิ นามธรรม (Abstraction) การเรยี งลาดบั ความสูงของนกั เรยี นจะสนใจแคล่ าดับความสงู เท่านัน้ และไม่สนใจสงิ่ ท่ไี ม่จาเปน็ ต่อการจดั แถวของนกั เรยี น เช่น ชือ่ นามสกุล เพศ อายุ น้าหนกั เป็นตน้ 4. แนวคิดการออกแบบข้นั ตอนวิธี (Algorithm Design) ลาดับขั้นตอนในการแก้ปญั หามีดังน้ี 1. กาหนดนกั เรยี นคนแรกทางซา้ ยสุดเปน็ ตาแหน่งหลัก 2. ทาการแบ่งกลุ่มนักเรยี นโดยนักเรยี นทมี่ คี วามสูงน้อยกวา่ ตาแหนง่ หลกั ใหต้ ้งั แถวอย่ทู างซ้ายของ ตาแหนง่ หลัก และนกั เรยี นทมี่ คี วามสูงมากกวา่ หรือเท่ากบั ตาแหนง่ หลักให้ตัง้ แถวอยู่ทางขวาของ ตาแหน่งหลกั 3. ทาซา้ ขัน้ ตอนที่ 1 และขนั้ ตอนที่ 2 ไปเรอ่ื ยๆ จนกระทัง่ ไมส่ ามารถแบ่งกลุ่มไดอ้ กี และไดแ้ ถวที่เรียงลาดับความสงู จากนอ้ ยไปหามาก

สถานการณ์ท่ี 2: ฟา้ ใสต้องการหาชุดกระโปรงสชี มพูในตูเ้ ส้ือผ้าแต่ปรากฏวา่ ฟ้าใสหาไม่เจอ จึงตอ้ งรือ้ เสือ้ ผ้าออกมากองไว้ข้างนอกตเู้ สื้อผา้ ทง้ั หมด นกั เรียนมวี ธิ กี ารจัดเรียงเสอื้ ผ้าให้ฟ้าใส อยา่ งไร เพอ่ื ใหฟ้ ้าใสหาเสื้อผ้าไดง้ ่ายท่ีสุด วธิ ีการแกป้ ญั หาโดยใช้แนวคดิ เชงิ คานวณ 1. แนวคิดการแยกย่อย (Decomposition) ขั้นตอนท่ี 1 ต้ังวัตถุประสงคห์ ลักในการคน้ หาวา่ จะคน้ หาเสือ้ ผา้ จากอะไร เชน่ ค้นหาจากสี หรือประเภท เพอื่ กาหนดเปน็ เกณฑ์ในการแบ่งกล่มุ เส้ือผ้า ขั้นตอนท่ี 2 แบง่ กลุ่มเสือ้ ผ้าตามวตั ถุประสงค์ที่ได้ตัง้ ไว้ ขัน้ ตอนที่ 3 จัดเรียงเสื้อผ้าตามที่ไดแ้ บง่ กลมุ่ ไว้ 2. แนวคิดการหารปู แบบ (Pattern Recognition) หาวัตถุประสงคใ์ นการคน้ หา แบ่งกล่มุ เส้ือผ้าตามวัตถุประสงค์ จัดเรยี งเสือ้ ผ้าตามทแ่ี บง่ กลมุ่ 3. แนวคิดเชิงนามธรรม (Abstraction) การจัดเรียงเสอื้ ผ้าจะสนใจแค่การแบง่ กลมุ่ เสอ้ื ผา้ ตามวตั ถปุ ระสงค์ ส่งิ ท่สี นใจคือ ประเภทของเสื้อผ้า สี และสง่ิ ท่ีไมส่ นใจ และไม่จาเปน็ ต่อการจดั เรียงเสือ้ ผา้ คอื ขนาด ยห่ี ้อ เปน็ ต้น 4. แนวคดิ การออกแบบข้ันตอนวิธี (Algorithm Design) ลาดบั ขั้นตอนในการแกป้ ัญหามีดังนี้ 1. หาวตั ถปุ ระสงคใ์ นการค้นหาเส้อื ผ้า 2. แบ่งกล่มุ เสื้อผ้าตามวัตถุประสงค์ 3. จดั เรียงเสือ้ ผา้ ตามท่ีแบง่ กล่มุ เสื้อผ้า 4. จัดเข้าตเู้ ส้อื ผา้ ใหเ้ รยี บร้อย

แบบประเมนิ ใบงานท่ี 1.2 เรือ่ ง การแก้ปญั หาโดยใชแ้ นวคดิ เชงิ คานวณ *********************** หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 อัลกอริทึมและการแก้ปญั หา รายวชิ า ว20112 วิทยาการคานวณ 2 ประกอบแผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 1 การแกป้ ัญหาโดยใช้แนวคิดเชิงคานวณ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563 เวลา 1 ชวั่ โมง จานวน 0.5 หนว่ ยกิต --------------------------------------------------------------------------------------- ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 /............... ข้อท่ี ข้อที่ รวม ระดับ เลขท่ี ชอื่ -สกลุ 1 2 คะแนน คณุ ภาพ 10 10 20 ลงชื่อ ผู้ประเมิน (........................................................) เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ระดับคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ดมี าก 16 – 20 ดี 11 – 15 พอใช้ 6 – 10 ปรบั ปรงุ 0–5

แบบสงั เกตพฤติกรรมผู้เรียน ชน้ั ...............................................จำนวน...................คน สงั เกตพฤติกรรมกำรเรียนรู้ วนั ท่.ี .............เดอื น....................................................พ.ศ........................ พฤตกิ รรม ความ ความ การตอบ ทางานทัน มีสว่ นร่วม ตั้งใจใน สนใจ คาถาม ตาม ในกจิ กรรมหรอื รวม (20) เลขท่ี ชือ่ -สกลุ การเรยี น และการ (4) กาหนดเวลา งานกลุ่ม (4) ซกั ถาม (4) (4) (4) 1. 2. 3. 4. 5. ลงชื่อ ......................................ผู้ประเมิน ............/............/.......... เกณฑ์การประเมนิ ในการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ มีดังนี้ คะแนน 18 – 20 ดมี ำก คะแนน 14 – 17 ดี คะแนน 10 – 13 พอใช้ คะแนน 0 – 9 ควรปรบั ปรุง เกณฑ์ให้คะแนนจากการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ คอื เกณฑก์ ำรให้คะแนน 4 คะแนน เมื่อนกั เรียนแสดงพฤติกรรมตำมที่ตอ้ งกำรเปน็ ประจำสม่ำเสมอ เกณฑ์กำรให้คะแนน 3 คะแนน เม่ือนักเรียนแสดงพฤตกิ รรมตำมท่ตี ้องกำรค่อนข้ำงจะสม่ำเสมอ เกณฑก์ ำรใหค้ ะแนน 2 คะแนน เมอ่ื นักเรยี นแสดงพฤตกิ รรมตำมทตี่ อ้ งกำรคอ่ นขำ้ งน้อย เกณฑ์กำรใหค้ ะแนน 1 คะแนน เมือ่ นกั เรียนแสดงพฤติกรรมตำมทต่ี อ้ งกำรนอ้ ย

เกณฑก์ ารประเมนิ การสงั เกตพฤตกิ รรมผเู้ รียน เกณฑ์การใหค้ ะแนน รายการประเมนิ ดีมาก(4) ดี(3) พอใช(้ 2) ต้องปรบั ปรงุ (1) 1. ความต้ังใจในการเรยี น สนใจในกำรเรียนไม่ สนใจในกำรเรียน สนใจในกำรเรยี น ไม่สนใจในกำร 2. ความสนใจและการ ซักถาม คยุ หรือเลน่ กัน คยุ กันเลก็ นอ้ ย คุยกนั และเล่นกนั เรยี นคยุ และเล่น 3. การตอบคาถาม ในขณะเรยี น ในขณะเรยี น ในขณะเรยี นเปน็ กนั ในขณะเรียน 4. ทางานทนั ตาม บำงครง้ั กาหนดเวลา มกี ำรถำมในหวั ขอ้ ท่ี มกี ำรถำมใน มีกำรถำมใน ไมถ่ ำมในหวั ข้อท่ี 5. มีส่วนรว่ ม ในกจิ กรรมหรืองานกลมุ่ ตนไมเ่ ข้ำใจทกุ เร่อื ง หวั ขอ้ ทต่ี นไม่ หวั ขอ้ ทตี่ นไม่ ตนไมเ่ ข้ำใจและ และกลำ้ แสดงออก เขำ้ ใจเปน็ เขำ้ ใจเปน็ บำงคร้ัง ไมก่ ลำ้ แสดงออก ส่วนมำกและกล้ำ และไมค่ ่อยกล้ำ แสดงออก แสดงออก รว่ มตอบคำถำมใน ร่วมตอบคำถำม ร่วมตอบคำถำม ไมต่ อบคำถำม เรอ่ื งท่คี รถู ำมและ ในเรอื่ งท่ีครูถำม ในเรื่องทีค่ รถู ำม ตอบคำถำมถูกทุกขอ้ และตอบคำถำม เป็นบำงครงั้ และ ส่วนมำกถกู ตอบคำถำมถูก เปน็ บำงครง้ั ทำงำนสง่ ตำมเวลำที่ ทำงำนส่งตำม สง่ งำนช้ำและไม่ สง่ งำนช้ำและไม่ กำหนดและถูกต้อง เวลำทก่ี ำหนด ค่อยถกู ต้อง ถูกตอ้ ง ชัดเจน และส่วนใหญ่ ชดั เจน ถูกตอ้ ง ร่วมมอื และชว่ ยเหลือ รว่ มมือและ รว่ มมือและ ไมม่ ีควำมรว่ มมอื เพอ่ื นในกำรทำ ช่วยเหลอื เพ่ือน ชว่ ยเหลอื เพ่ือนใน ในขณะทำ กจิ กรรม เป็นสว่ นใหญใ่ น กำรทำกิจกรรม กิจกรรม กำรทำกิจกรรม เปน็ บำงครัง้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรือ่ ง การประยุกตใ์ ช้โปรแกรมในการแกป้ ญั หา

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 การประยุกตใ์ ชโ้ ปรแกรมในการแกป้ ญั หา รายวิชา ว20112 วิทยาการคานวณ 2 เรื่อง การออกแบบขน้ั ตอนการทางานของโปรแกรม ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 เวลา 2 ชวั่ โมง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 ผสู้ อน นางฐติ ิยาภรณ์ ทวี 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงอย่างเป็นข้ันตอน และเปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รเู้ ท่าทนั และมจี รยิ ธรรม ตวั ช้วี ดั ว 4.2 ม.2/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ีใช้ตรรกะและฟังก์ชนั ในการแก้ปัญหา 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 2.1 นักเรียนอธิบายความหมายของการออกแบบขั้นตอนการทางานแตล่ ะแบบได้ถกู ต้อง (K) 2.2 นักเรยี นออกแบบข้ันตอนการทางานโดยใชภ้ าษาธรรมชาตไิ ด้ถกู ต้อง (P) 2.3 นกั เรยี นออกแบบข้นั ตอนการทางานโดยใช้รหัสจาลองไดถ้ กู ตอ้ ง (P) 2.4 นักเรียนออกแบบขั้นตอนการทางานโดยใช้ผงั งานได้ถูกต้อง (P) 2.5 นักเรยี นมคี วามรบั ผดิ ชอบงานท่ไี ด้รับมอบหมาย (A) 3. สมรรถนะท่ีสาคญั 3.1 ความสามารถในการส่อื สาร 3.2 ความสามารถในการคดิ 3.3 ความสามารถในการแก้ปญั หา 3.4 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 4. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 4.1 มีวินยั 4.2 ใฝเ่ รยี นรู้ 4.3 มุ่งมั่นในการทางาน 5. สาระสาคญั การออกแบบขั้นตอนการทางานของโปรแกรมหรือการออกแบบอัลกอริทึม เป็นการออกแบบลาดับ ข้ันตอนการทางานของโปรแกรม ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ คือ การใช้ภาษาธรรมชาติ การใช้รหัส จาลอง และการใช้ผงั งาน

6. สาระการเรยี นร/ู้ เนอ้ื หาย่อย 6.1 ความหมายของการออกแบบขนั้ ตอนการทางาน 6.2 ขน้ั ตอนการทางานโดยใช้ภาษาธรรมชาติ 6.3 ขนั้ ตอนการทางานโดยใชร้ หัสจาลอง 6.4 ขน้ั ตอนการทางานโดยใชผ้ งั งาน 7. ภาระงาน/ชน้ิ งาน ใบงานที่ 2.1 การออกแบบขน้ั ตอนการทางาน 8. เกณฑ์การประเมนิ ภาระงาน/ชิน้ งาน แนบท้ายแผน 9. กจิ กรรมการเรียนรู้ ชัว่ โมงท่ี 5 9.1 แจ้งจดุ ประสงค์การเรียนรใู้ หน้ กั เรยี นทราบ 9.2 นักเรยี นเข้าบทเรยี นออนไลน์ทาแบบทดสอบก่อนเรยี นใน Goggle Forms เรื่อง การประยุกต์ใช้ โปรแกรมในการแก้ปญั หา จานวน 10 ข้อ 9.3 ครถู ามคาถามประจาหวั ข้อว่า“นกั เรยี นคิดวา่ การออกแบบข้นั ตอนการทางานของโปรแกรม มีความสาคญั อยา่ งไรตอ่ การเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์” เพอ่ื กระตุน้ การเรียนรู้ 9.4 นักเรียนศกึ ษาค้นควา้ หาความร้เู ก่ยี วกับการออกแบบข้ันตอนการทางานของโปรแกรม ในเวบ็ ไซต์ http://gg.gg/comsci-2 ที่ครสู รา้ งขึ้น เพือ่ ศกึ ษาความรู้เรอื่ ง ความหมายของการออกแบบ ข้นั ตอนการทางาน และการออกแบบขั้นตอนการทางานของโปรแกรม 9.5 ครูอธิบายเพ่ิมเตมิ เพ่อื ให้นักเรียนเขา้ ใจเพิม่ ข้ึนว่า“การออกแบบลาดับขน้ั ตอนการทางาน ของโปรแกรม สามารถแบ่งไดเ้ ป็น 3 ลักษณะ คอื 1) การออกแบบลาดับขน้ั ตอนการทางานโดยใชภ้ าษาธรรมชาติ เปน็ การบรรยายขนั้ ตอนการ ทางานของโปรแกรมโดยใชภ้ าษามนษุ ยท์ เ่ี ข้าใจงา่ ย เพื่ออธิบายลาดบั ข้นั ตอนการทางานของโปรแกรม ตามลาดบั การทางานก่อนหลัง 2) การออกแบบลาดับขน้ั ตอนการทางานโดยใช้รหัสจาลอง เปน็ รปู แบบภาษาทีม่ โี ครงสรา้ ง ที่ชดั เจนและกระชบั เพ่ือใชอ้ ธิบายขั้นตอนการทางานของโปรแกรม 3) การออกแบบลาดบั ขนั้ ตอนการทางานโดยใชผ้ ังงาน เป็นการใช้แผนภาพสัญลกั ษณ์เพอ่ื แสดงลาดับขนั้ ตอนการทางานของโปรแกรม” ชว่ั โมงท่ี 6 9.6 ครยู กตวั อยา่ งการออกแบบขัน้ ตอนการทางานโดยใช้ภาษาธรรมชาติ เพ่ืออธบิ ายลาดบั ข้ันตอน การทางานของโปรแกรมตามลาดบั การทางานก่อน-หลัง จากตัวอย่างต้องการคานวณหาพ้ืนทีข่ องรปู สี่เหล่ียมผนื ผ้า มีขนั้ ตอนการทางานดังน้ี

ข้นั ตอนที่ 1 เริ่มการทางาน ขั้นตอนท่ี 2 นาเข้าขอ้ มลู ความกวา้ งของรปู ส่ีเหลี่ยม ข้ันตอนที่ 3 นาเข้าข้อมลู ความยาวของรูปส่ีเหล่ียม ขน้ั ตอนที่ 4 คานวณพื้นทีร่ ูปสเ่ี หลีย่ ม = ความกว้าง x ความยาว ขน้ั ตอนที่ 5 แสดงผลพน้ื ทข่ี องรูปส่เี หลี่ยม ข้ันตอนที่ 6 จบการทางาน 9.7 การออกแบบขนั้ ตอนการทางานโดยใช้รหัสจาลอง การคานวณหาพนื้ ทีข่ องรปู สีเ่ หลย่ี มผนื ผา้ มขี ั้นตอนการทางานดงั น้ี START INPUT width INPUT length COMPUTE area = width * length OUTPUT area STOP 9.8 การออกแบบข้ันตอนการทางานโดยใช้ผังงาน การคานวณหาพน้ื ที่ของรปู สี่เหลี่ยมผืนผ้า มีข้นั ตอนการทางานดังนี้ START width length area = width * length area STOP 9.9 นักเรยี นทาใบงานท่ี 2.1 เรือ่ ง การออกแบบข้นั ตอนการทางาน เพื่อทดสอบความรู้ความเข้าใจ 9.10 ครอู ภปิ รายและสรุปความรู้ เรอ่ื ง การออกแบบขั้นตอนการทางาน