Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 4552110

4552110

Description: 4552110

Search

Read the Text Version

\" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \"186 ประเภทของเครอ่ื งแขวนพวงดอกไม้ เครื่องแขวนพวงดอกไม้สดมหี ลากหลายประเภท โดยแบ่งเป็นตามขนาดของการประดิษฐ์ และแบ่งตามรูปแบบการประดิษฐซ์ ึง่ มีรายละเอียดดงั นี้ 1. แบ่งตามขนาดของการประดิษฐ์ ซึ่งแบง่ ได้ 4 ขนาดดงั น้ี 1.1 เครื่องแขวนขนาดจ๋ิว เป็นเครื่องแขวนที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 6-15 เซนติเมตร ความยาว 8-45 เซนติเมตร โดยใช้โครงลวดร้อยเป็นรูปวงกลม วงรี สามเหลี่ยม ส่ีเหลี่ยม พวงดอกไม้ รปู ดาว รูปปลา 1.2 เครื่องแขวนขนาดเล็ก เป็นเคร่ืองแขวนท่ีมีขนาดใหญ่กว่าเคร่ืองแขวนขนาดจิ๋ว มี เสน้ ผา่ ศูนยก์ ลางต้ังแต่ 8-12 น้วิ ความยาว 15-40 นว้ิ ซึง่ แบง่ ตามรูปร่างเปน็ 2 แบบคือ 1.2.1 เครือ่ งแขวนขนาดเล็กรูปร่างแบน ซึ่งจะเป็นรูปสามเหล่ียม รูปสี่เหลี่ยม รูป บนั ไดรูปดาว รูปจรเขแ้ ละรปู พดั เช่น ตาขา่ ยหน้าช้าง บันไดแก้ว กลน่ิ ตะแคง กลิ่นจนี 1.2.2 เคร่ืองแขวนขนาดเล็กท่ีมีรูปร่างต่างๆ เช่น กลิ่นคว่ํา พู่กลิ่น เครื่องแขวน ดอกไม้แบบไทยสากล 1.3 เครอ่ื งแขวนขนาดกลาง มีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 13-18 น้ิว ความยาว 40-50 นิ้ว เช่น ระยา้ น้อย ระยา้ ใหญ่ พวงแกว้ แปลง 1.4 เคร่ืองแขวนขนาดใหญ่ (พเิ ศษ) มเี ส้นผา่ ศนู ยก์ ลางตงั้ แต่ 19-30 น้ิว ความยาว 50- 100 น้ิว เชน่ ระย้าใหญ่ พวงแก้ว ระยา้ แปลง 2. แบง่ ตามรูปแบบการประดษิ ฐ์ ซง่ึ แบง่ ได้ 3 ประเภทดังน้ี 2.1 แบบไทยประณตี ศิลปห์ รอื แบบโบราณ เปน็ แบบทม่ี ีการตกแต่งเครือ่ งแต่งตัวเต็มที่ มีอุบะ เฟื่องและดอกทัดหู มีเย็บแบบ ร้อยกรองดอกไม้ประดิษฐ์ทุกส่วน เช่น ตาข่ายหน้าช้าง พู่กล่ิน กลน่ิ ควาํ่ ระย้านอ้ ย 2.2 แบบไทยประยุกต์หรือการแต่งประทีปโคมไฟจากโคมไฟจริงแบบต่างๆ ลดเคร่ือง แต่งตัวลงบ้าง ลดการประดิษฐ์ดอกไม้ในการเย็บหรือร้อยกรองเป็นส่วนต่างๆ ลงเพ่ือให้สะดวกและ รวดเร็วขนึ้ ไดแ้ ก่ โคมไฟทรงกลม โคมจนี โคมฝรัง่ 2.3 แบบไทยสากลหรือแบบธรรมชาติ ซ่ึงได้แก่การจัดแต่งดอกไม้เคร่ืองแขวนจาก ดอกไม้สดตามลักษณะธรรมชาติไม่มีการประดิษฐ์หรือร้อยกรองดอกไม้ก่อนนํามาจัดซึ่งได้แก่เคร่ือง แขวนดอกไมท้ รงกลม ทรงรี ใช้แขวนเพดาน ซ้มุ ประตูและข้างฝา สว่ นประกอบของเครอ่ื งแขวน เคร่ืองแขวนพวงดอกไม้แต่ละแบบแต่ละพวงประกอบด้วยส่วนต่างๆ ที่ประดิษฐ์โดย วิธีการเย็บ ร้อยกรอง การปัก การติดแบบ ซึ่งส่วนประกอบเหล่านี้มีช่ือเรียกที่แตกต่างกันไปซึ่งแบ่ง ออกเป็น 2 สว่ น ดงั น้ี 1. ลาตัว ส่วนสําคญั ของลําตัวเครอื่ งแขวนประกอบด้วย 1.1 โครง ถอื เปน็ สว่ นสําคัญท่ีจะทาํ ให้เกดิ รูปร่างหรือรปู ทรงของโครงเคร่ืองแขวน เชน่ ใช้เข็มมาลัย ไม้ไผ่ เสน้ ลวด เส้นเหลก็

187 1.2 ตาขา่ ย เป็นการนําดอกไมข้ นาดเลก็ เชน่ ดอกรัก ดอกพดุ ตูมมารอ้ ยสอดสานกัน เปน็ ตาขา่ ยใหเ้ กดิ ลวดลายต่างๆ ตามแบบโบราณมี 11 ลายคือ 1.2.1 ลายเกล็ด 1.2.7 ลายอกแมลงมมุ 1.2.2 ลายพระจนั ทค์ ร่ึงซีก 1.2.8 ลายสามกา้ นสามดอก 1.2.3 ลายสก่ี า้ นส่ีดอก 1.2.9 ลายหกก้านหกดอก 1.2.4 ลายกระเบื้อง 1.2.10 ลายดาวล้อมเดือน 1.2.5 ลายแก้วชิงดวง 1.2.11 ลายวิมานแปลง 1.2.6 ลายดอกดาวกระจาย \" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \" 1.2.1 หนา้ ที่และประโยชน์ของตาขา่ ย ซงึ่ มหี นา้ ดงั ต่อไปนี้ 1) เป็นส่วนประกอบสําคัญในการหุ้มโครงเครื่องแขวนพวงดอกไม้ ทําหน้าที่เป็นลําตัวสําหรับจะนําไปแต่งตัวด้วยเครื่องประดับอ่ืนๆ เช่น กลิ่นคว่ํา ระย้าน้อย โคมจีน โคมไฟแบบตา่ งๆ ฯลฯ 2) ใชเ้ ปน็ ผืนตาขา่ ยในตวั เคร่ืองแขวนพวงดอกไม้ เช่น ตาขา่ ยหนา้ ช้าง กลนิ่ จระเข้ กลน่ิ จีน กลน่ิ ตะแคง พัดจีน ฯลฯ 3) ใช้ตกแตง่ เปน็ แบบเฟ่ืองระบาย 1.2.2 หลกั ทั่วไปในการรอ้ ยตาข่าย มรี ายละเอยี ดดังน้ี 1) โครงต้องมีขนาดและรูปทรงท่ีดี ถ้าเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัสก็ต้องมีด้าน เทา่ กันทกุ ด้าน มีมมุ ทกุ มุมเปน็ มมุ ฉากเป็นตน้ และตอ้ งพันโครงให้แน่นเรยี บตงึ ดี 2) แบ่งช่องลายตามขนาดโครง โดยสร้างแบบบนกระดาษ ขนาด เท่ากับตวั โครง 3) คัดดอกไม้ให้มีขนาดดอกเท่าๆ กัน วัดความยาวของก้านดอกให้ เท่ากนั ตามแบบในกระดาษ ถ้าก้านยาวเกนิ ไปตาข่ายจะหยอ่ น 4) ควรหัดร้อยลายง่ายก่อน เชน่ ลายเกลด็ ลายกระเบอื้ ง ฯลฯ 5) ซอ่ นปมและรอยตอ่ ดา้ ยไว้ท่รี อยพบั ผ้าและซอ่ นไว้ในก้านดอกไม้ 6) พิจารณาลายก่อนร้อย ให้ดูว่าร้อยจากจุดใดไปจุดใด พยายาม เลือกรอ้ ยโดยการแทงเขม็ จากก้านไปหายอด 7) ควรทาวาสลนี ทีเ่ ข็ม เพื่อช่วยไมใ่ หก้ ารรูดดอกไมฝ้ ดื ดอกพุดจะได้ ไมค่ ลี่กลีบขยายออก 8) ลายตาข่ายที่ใช้เป็นพื้น ที่ต้องการตกแต่งด้วยส่ิงอื่นต้องเลือกลาย เรียบง่าย เช่น หน้าช้างที่วิมานพระอินทร์ ควรเลือกลายท่ีเหมาะกับรูป และเรียบง่าย เช่น ลายสามกา้ นสามดอก ฯลฯ เพราะจะมแี บบดอกกระหนก แบบพระอินทรป์ ระดับบนตาข่ายอกี ที 9) ลายตาข่ายท่ีใช้เป็นจุดเด่นให้สะดุดตา ต้องเลือกลายท่ีสวยงาม เป็นพเิ ศษเช่น การร้อย กลิ่นตะแคง กลิน่ จีน วิมานแท่น ฯลฯ 1.2.3 ลักษณะตาขา่ ยทสี่ วยงาม ควรพจิ ารณาดังนี้ 1) ผืนตาขา่ ยเรยี บตึงเสมอตลอดผืน ไม่ตงึ หรือหยอ่ นเกินไป

\" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \"188 2) ลายตาข่ายเป็นเส้นตรงตามลายไม่คดโคง้ ผิดลาย 3) ดอกไม้ได้ขนาด ลายได้ขนาดสม่าํ เสมอกนั 4) ไม่มีปมและรอยตอ่ ปรากฏให้เหน็ 5) ดอกไม้สด ไมเ่ หีย่ วแห้ง หรือเหี่ยวเฉา 6) ดอกไม้แหง้ ต้องเรยี บร้อย ไมม่ เี ศษกระดาษตดั หรอื ดึงเปดิ รุง่ รัง 7) ลายไมแ่ น่นทึบ หรอื โปร่งบางจนเกินไป 2. เครอ่ื งแต่งตัว เคร่ืองแต่งตัวถือเป็นส่วนสําคัญในงานเคร่ืองแขวนพวงดอกไม้ซ่ึงเรียกว่า แบบ ซ่ึง หมายถึง การนําใบตองมาซ้อนกนั 6 ชน้ั วางสลับทางใบตอง เย็บตรึงให้ติดกันจากนั้นตัดเป็นรูปต่างๆ ตามแบบ เช่น เสน้ ตรง ตวั กระหนก แบบดอกกลม ดอกสี่กลีบ ดอกหา้ กลบี ดอกหกกลีบ จากน้ันจึงใช้ กลีบดอกไม้ ใบไม้ มาพับจับจีบและเย็บตรึงตามแบบสลับสีดอกไม้ แบบที่ใช้เป็นเคร่ืองแต่งตัว แบ่ง ออกเปน็ 5 ประเภทตามลักษณะรูปรา่ งดงั นี้ 2.1 แบบเส้น เป็นการมัดหรือเย็บเป็นเส้นยาวมีหน้าท่ีในการปิดของโครงเครื่องแขวน เส้นมขี นาดความกว้าง 1-1.75 เซนติเมตร ซ่ึงมีวิธีการทํา 5 วธิ ดี ังนี้ 2.1.1 การผูกหรือมัด ใชด้ อกไม้ใบไมม้ ดั เขา้ กบั ทางมะพรา้ ว กา้ นลาน 2.1.2 การเย็บหรือตรึง ใช้ด้ายเข็มเย็บดอกไม้ใบไม้ติดกับกาบกล้วย ใบตองซ้อน กนั หลายๆ ชนั้ 2.1.3 การร้อย เป็นแบบเส้นที่ใช้ด้ายเข็มร้อย เช่น เส้นดอกรักท่ีปิดโครงระย้า ระย้านอ้ ย ฯลฯ 2.1.4 การติด เป็นวิธีการสําหรับดอกไม้เทียม เช่น ดอกไม้จากกระดาษ หรือเศษ วสั ดุทแ่ี ห้งๆ จะใชว้ ธิ ที ากาวหรือปะลงไปบนแบบกระดาษแข็ง 2.1.5 การปกั ดอกไมต้ ่อกา้ นให้แขง็ ปกั บนโฟม ข้ีเลือ่ ย หรือดินเหนยี ว หนา้ ท่แี ละประโยชน์ 1. ชว่ ยปดิ บงั ขอบโครงเครอื่ งแขวนทไี่ มเ่ รียบร้อย 2. ช่วย เพ่ิมสสี นั ให้มีความกลมกลืนและสวยงามยิง่ ขน้ึ 3. ช่วยใหเ้ ห็นรปู ทรงโครงสรา้ งของเครื่องแขวนไดช้ ดั เจนขนึ้ วิธีเยบ็ แบบสวน 1. ตดั ใบตองกว้าง 1.50 เซนตเิ มตร ยาวเท่ากับขอบโครงตามตอ้ งการ 2. พับกลบี กล้วยไม้เยบ็ เรยี งสามกลบี จํานวน 2 ชนั้ 3. ช้ันทีส่ าม กลีบกลว้ ยไม้ 1 กลบี ดอกพุด 1 กลีบและกลว้ ยไม้ 1 กลบี 4. ชนั้ ทสี่ ี่ เยบ็ กลีบกล้วยไม้1กลบี ดอกพดุ 2 ดอก และดอกกลบี กล้วยไมอ้ ีก 1 ดอก 5. ชนั้ ท่ีหา้ เยบ็ ดอก 1 ดอก ดอกเบญจมาศนํ้า1 ดอก และดอกพุด 1 ดอก 6. ชั้นท่ีหก เย็บกลีบกลว้ ยไม้1กลบี ดอกพุด2 ดอกและดอกกลบี กลว้ ยไม้อีก1 ดอก 7. ช้ันท่ีเจด็ กลีบกล้วยไม้ 1 กลบี ดอกพุด 1 กลบี และกลว้ ยไม้ 1 กลีบ

\" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \" 189 8. ช้ันท่ีแปด เย็บกลีบกล้วยไม้ 3 กลีบเป็นแถวสุดท้ายของลายหน่ึงลาย ลายต่อไป ต้ังตน้ ใหมเ่ ชน่ เดียวกนั น้ีทุกๆ ลายจนยาวเทา่ กับความตอ้ งการ ตัวอยา่ งดงั ภาพ ภาพท่ี 9.1 แบบสวน ที่มา : พรยพุ รรณ พรสขุ สวสั ดิ์, 2543, หน้า 184 2.2 แบบเฟื่อง มีลักษณะเป็นสายโยงเช่ือมระหว่างอุบะซ่ึงถือเป็นเครื่องแต่งตัวของ งานดอกไม้สดที่ช่วยให้ผลงานดูอ่อนช้อยหรูหรา ซึ่งรูปแบบเฟ่ืองในหนังสือเคร่ืองแขวนไทยดอกไม้ (มณีรัตน์ จันทนะผะลนิ , 2527:118) ไดแ้ บง่ แบบเฟ่อื งออกเปน็ 6 ประเภท ตามลกั ษณะวิธดี ังนี้ 2.2.1 เฟื่องลายเปน็ เฟื่องที่รอ้ ยด้วยดา้ ยเรียงดอกทลี ะดอก 2.2.2 แบบเฟ่อื ง เปน็ แบบที่ใชว้ ธิ ีการเยบ็ แบบบนใบตองใหเ้ ป็นรปู กนกแบบต่างๆ 2.2.3 แบบเฟ่อื งตงุ้ ตงิ้ เป็นแบบเฟือ่ งท่ีมตี ุ้งติ้งผูกดา้ นล่างแบง่ เป็นระยะๆ 2.2.4 แบบเฟอื่ งระบาย เป็นแบบเฟือ่ งทีม่ กี ารร้อยตาข่ายติดดา้ นลา่ งและผูกตุ้งต้ิง 2.2.5 เฟ่ืองลูกโซ่ เป็นเฟื่องที่ร้อยเป็นรูปมาลัยโซ่ ร้อยต่อปลายทั้งสองข้างลูกโซ่ เมอื่ ผูกกับมุม 2.2.6 เฟื่องแบบผสม เป็นเฟื่องที่ใช้วิธีการต่างๆ ผสมกันทําให้เกิดรูปแบบท่ีต่าง ไปจากรูปแบบเดิม หลกั ทว่ั ไปในการรอ้ ยเฟื่อง 1. ทาเขม็ ดว้ ยน้าํ มันวาสลนิ รดู นํา้ มันไปจนสุดดา้ ยเพ่ือให้ลื่น ดอกไมไ้ มช่ าํ้ 2. ถ้าร้อยดอกไมไ้ ปทางเดียวให้แทงปลายเข็มจากก้านดอกไปหายอด 3. ระยะหา่ งระหว่างช้ันเฟื่องดใู หเ้ กิดชอ่ งไฟพองาม 4. ความโค้งหย่อนของสายเฟื่องดูให้เหมาะกับอุบะและต้องไม่หย่อนเกินไปหรือตึง เกินไปจะทาํ ใหด้ ูไมน่ ุ่มนวล 5. รอ้ ยสองหรอื สามสายข้ึนอยกู่ ับความเหมาะสม 2.3 ดอกทดั หู หรือดอกประจาํ ยามเปน็ เคร่อื งประดับท่ีสําคญั ทส่ี ุด เนือ่ งจากเป็นสว่ นที่ ชว่ ยปิดรอยต่อของเครอื่ งแขวนไทย ดอกทัดหูแบง่ ออกเป็น 2 แบบคือ 2.3.1 ดอกทัดหูแบบธรรมชาติ เป็นดอกทัดหูที่ใช้ดอกไม้ตามลักษณะตาม ธรรมชาติทม่ี ีลกั ษณะดอกขนาดใหญ่ เชน่ ดอกดาวเรือง ดอกแอสเตอร์ ดอกคารเ์ นชั่น

\" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \"190 2.3.2 ดอกทัดหูแบบประดิษฐ์ เป็นดอกทัดหูที่นํากลีบดอกไม้ใบไม้มาพับและเย็บ ตงึ บนแบบใบตอง เปน็ รปู วงกลม ดอกสามกลีบ ดอกส่ีกลีบ ดอกห้ากลบี ดอกหกกลีบ ภาพที่ 9.2 แบบดอกทดั หู ท่มี า : มณรี ัตน์ จนั ทนะผะลนิ , 2543, หนา้ 23 หลักการเย็บดอกทัดหู 1. ซ้อนใบตอง 6 ชั้น วางใบตองสลับทางใบตอง ตรึงดอกจันตรงกลาง นําไปจุ่มน้ํา แล้วตัดเปน็ ขนาดตามต้องการ ห่อดว้ ยผ้าช้นิ การเยบ็ 2. วางกลีบให้ยาวเลยแปูนออกไปครึ่งกลางเย็บจากส่วนริมแปูนเข้าไปหาตรงกลาง ดอก ถา้ เปน็ ดอกทีม่ ีกลบี เยบ็ จากปลายกลบั ไปถึงโคนกลีบก่อน แล้วจึงเย็บเชื่อมวงกลม เข้าไปทีละช้ัน จนถงึ ศนู ย์กลางเหลอื ไวพ้ อใสเ่ กสร 3. กอ่ นใส่เกสรต้องรอ้ ยดา้ ยหรอื ลวดทบดา้ นหลังสาํ หรับผกู หรอื ตรึง 4. ตรึงเกสรให้แน่น อย่าให้เห็นรอยเย็บ บางแบบใส่เกสรโดยวิธีปักด้วยเข็มหมุด ลวดตวั ยู (U) หลักจากมัดดอกทัดหูตดิ กับผลงาน การเย็บแบบดอกทัดหแู ตล่ ะแบบมวี ิธแี ละขัน้ ตอนการเยบ็ ดงั นี้ 1.วธิ ีการเย็บดอกทัดหดู อกกลม 1.1 รอบนอกสุดใชก้ ลีบดอกรกั เยบ็ โดยรอบ 1.2 รอบทส่ี องนําดอกเล็บมอื นาง มามัดรอบใหเ้ ปน็ ทรงกลมแลว้ เย็บโดยรอบ 1.3 รอบทีส่ ามและสีน่ ํากลีบดอกลั่นทมสีชมพูมาพับกลีบเย็บโดยรอบ ให้เหลือเนื้อท่ี ตรงกลางขนาดพอดี เกสร 1.4 ตรึงดอกบานไม่รูโ้ รยเป็นเกสรตรงกลาง ภาพท่ี 9.3 ทัดหแู บบวงกลม ทีม่ า : พรยุพรรณ พรสขุ สวสั ดิ์, 2541, หน้า 26

191 2. วธิ ีการเย็บดอกทัดหูส่กี ลบี 2.1 ตัดใบตองเป็นแบบกลบี ดอกส่ีกลีบ 2.2 เยบ็ ดอกพดุ โดยรอบแบบใบตอง 2.3 พับจมูกกล้วยไมส้ เี หลอื งเย็บติดบนแบบสามช้ัน 2.4 เยบ็ ตรงึ ดอกบานไม่รู้โรยตรงกลาง \" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \"ภาพท่ี 9.4 ทดั หแู บบส่กี ลบี ท่ีมา : พรยุพรรณ พรสุขสวสั ดิ,์ 2541, หน้า 27 3. วิธีการเย็บดอกทัดหหู กกลีบ 3.1 ซ้อนใบตอง 6 ช้ัน ตัดแบบรปู ดาว 3.2 พบั กลีบกล้วยไม้เยบ็ ติดแบบรปู ดาว 6 แฉก เยบ็ ดอกพุดรมิ ขอมแบบโดยรอบ 3.3 ปกั ดอกบานไมร่ ู้โรยตรงกลางแบบ ภาพที่ 9.5 ทดั หูแบบหกกลีบ ทีม่ า : พรยุพรรณ พรสขุ สวสั ดิ,์ 2541, หนา้ 28

\" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \"192 4. วธิ ีการเยบ็ ดอกทดั หูหา้ กลบี ดอกห้ากลีบถือได้ว่าเป็นแบบท่ีเย็บยากกว่าการเย็บดอกหกกลีบเนื่องจากการแบ่ง กลบี ให้เท่ากนั นอกนนั้ ใชว้ ิธเี ย็บแบบเดยี วกัน 1. เย็บดอกพุดเรยี งจากยอดกลบี ลงมาหาหยกั ทกุ กลบี จนรอบ 2. ชน้ั ที่สอง สาม สแี ละห้า ใชก้ ลีบกล้วยไมส้ ีแดง เย็บสับหวา่ งลงมา 3. ตรงึ ดอกบานไมร่ ู้โรยเป็นเกสรตรงกลาง ภาพที่ 9.6 ทดั หูแบบห้ากลบี ท่ีมา : พรยุพรรณ พรสขุ สวัสด,์ิ 2541, หนา้ 29 2.4 แบบพู่กล่นิ ใช้เปน็ ลาํ ตวั เครือ่ งแขวนไทยท่มี ีขนาดเล็กที่เรียกว่า พู่กล่ิน นอกจากน้ี ยังใชร้ ้อยปิดปมทีผ่ กู รวมกบั สายโยงหรือรวบในลกั ษณะของก้นกระเช้าซึง่ จะเห็นอยใู่ นรูปของกลิน่ คว่ํา วิธีการเยบ็ แบบพกู่ ลน่ิ ดอกพุด 1. ตัดใบตองซ้อนกัน 6 ชั้น สลับทิศทางต่างๆ กัน ตรึงตรงกลาง ตัดเป็นวงกลม ขนาดตามที่ตอ้ งการ (ตัดเผอื่ นไว้อกี 4 ช้ิน) 2. คัดดอกพดุ ใชข้ นาดเท่าๆ กนั ตัดก้าน 1/2 ของดอก 3. สอดก้านดอกพุดเข้าระหว่างใบตองช้นั ที่สามกับชัน้ ที่ส่ีจนชิดโคนดอก แล้วเย็บข้ึน ลงหนึง่ ฝเี ขม็ เรียงรอบริมแบบใบตองให้ตรงที่ปุองของดอกพุดชนกันพอดี ถ้าเบียดกันแน่นเกินไปแถว จะคด ถา้ ห่างเกินไปดอกไม้จะเห่ยี วงา่ ย เย็บไปจนครบรอบชัน้ ทหี่ นงึ่ 4. ตรงึ ใบตองอกี สองช้ันซอ้ นทับลงไปแล้วสอดเรียงดอกพุดใต้ใบตอง ให้สับหว่างกับ ดอกพดุ แถวแรกเยบ็ ไปรอบๆ ทลี ะดอก จากน้นั กลบี อกี ดา้ นหนึง่ เยบ็ ในลักษณะเดียวกนั ดงั ภาพท่ี 7.7

\" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \" 193 ภาพที่ 9.7 แบบพกู่ ลิ่น ทีม่ า :พรยพุ รรณ พรสขุ สวสั ดิ์, 2541, หนา้ 30 2.5 แบบกนก แบบกระหนกทีใ่ ช้ในงานดอกไม้สด จะมีรูปรา่ งแตกต่างกันดังภาพ ภาพท่ี 9.8 แบบกนก ท่มี า : มณรี ัตน์ จันทนะผะลิน, 2543, หน้า 122 2.6 แบบเฟอ่ื ง ใชใ้ นงานดอกไม้สด เชน่ งานเคร่ืองแขวนพวงดอกไม้ งานดอกไมค้ ลมุ ไตร พานดอกไม้ ซ่งึ จะมีรปู รา่ งแตกตา่ งกนั ดงั ภาพ ภาพที่ 9.9 แบบเฟื่อง ที่มา : มณีรัตน์ จันทนะผะลิน, 2543, หนา้ 122 หลกั ท่ัวไปในการเยบ็ แบบกระหนกและแบบเฟื่อง 1. เขียนลายบนกระดาษ กะให้ความกว้างของตัวกระหนกเล็กกว่าแบบ เผ่ือไว้ สาํ หรบั กลบี ดอกไมท้ จ่ี ะเยบ็ 2. วางใบตองสลับทางใบตอง 6 ชน้ั ตรงึ ตามแบบให้แนน่

194 3. วาดลายลงบนแบบใบตอง แล้วตัดตามแบบใบตองนําไปจุ่มน้าํ ห่อดว้ ยผ้าขาว 4. ดามลวดตามแบบเย็บตรงึ โดยรอบ ปล่อยลวดยาว 3 น้วิ 5. เรม่ิ เยบ็ จากปลาย ยอดหรอื หัวกระหนกมาหาโคนด้านลา่ ง 6. แบบเฟ่ืองเย็บจากกลางแบบออกไปทั้งสองข้าง ยกเว้นแบบพระจันทร์เสี้ยวท่ี จะต้องเย็บไปทางเดยี วตลอด 7. ขณะเย็บพรมนํ้าเพื่อให้สดชื่นอยู่เสมอ และเม่ือเย็บเสร็จพรมน้ําให้ท่ัว ใส่ถาด คลมุ ดว้ ยผา้ ขาวบาง ในการเยบ็ แบบเฟอ่ื งมลี ักษณะคลา้ ยกนั ตวั อยา่ งเชน่ การเย็บเฟื่องปีกนก วธิ เี ย็บเฟื่องปีกนก มีวิธกี ารเยบ็ ดงั น้ี 1. ตัดแบบเฟื่องปีกนกบนใบตอง เยบ็ ตรึงตามแบบ 2. เยบ็ ดอกพดุ ตรงปลายแหลมของแบบ โดยสอดดอกพุดตรงกลางแบบใบตองชน้ั ท่ี สามและสเ่ี ยบ็ จากหยักแหลมไปหาปลายปกี ทําทง้ั สองข้าง 3. ตรงึ สนฉัตร หนั ปลายชอ่ สนกันตรงหยักแหลม 4. พับกลีบกล้วยไม้ เรม่ิ เยบ็ ตรงกลางแบบ วา่ งสบั หวา่ งลงจนถงึ ด้านล่าง 5. เย็บอีกดา้ นในลักษณะเดยี วกัน \" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \" ภาพที่ 9.10 แบบเฟ่ืองปีกนก ทมี่ า : พรยพุ รรณ พรสุขสวสั ด์ิ, 2541, หนา้ 34 2.7 อุบะ คือ ดอกไม้ท่ีร้อยเป็นเส้นสําหรับห้อยให้เกิดชายที่แกว่งไกว ทําให้รู้สึกนุ่มนวล ซึง่ อุบะท่ีมมี าแต่โบราณมี 8 ชนดิ ดังน้ี 1. อุบะขาเดยี ว หรอื ตงุ้ ตงิ้ 5. อุบะพู่ 2. อุบะแขกหรือพวงเต่าร้าง 6. อุบะแตระหรืออุบะสร้อยสน 3. อุบะไทยธรรมดา 7. อบุ ะจนี 4. อบุ ะไทยทรงเครอ่ื ง 8. อบุ ะพวงคณู หรือพวงราชฟฤกษ์ 2.7.1 หนา้ ทีแ่ ละประโยชนข์ องอบุ ะมีดงั น้ี 1. ใชผ้ กู ชายของมาลยั 2. ผกู ตามมุมดอกไม้คลุมไตร และช่วงมุมเฟอ่ื ง

\" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \" 195 3. ปกั ใหห้ อ้ ยในพานดอกไม้ตา่ งๆ 4. ผกู ช่วงมมุ หยักของเฟ่ืองแต่งขอบโต๊ะ 5. ผูกทีส่ ว่ นลา่ งของเฟอ่ื งระบายแบบตา่ ง ๆ 6. ผูกตามมุมของงานเคร่ืองแขวนดอกไม้ ถือเป็นส่วนสําคัญที่ช่วยเพ่ิม ความงดงามใหก้ บั งานดอกไมส้ ด 2.7.2 สว่ นประกอบของอบุ ะ 1.ส่วนปลายล่างสุดเรียก ดอกตมุ้ 2. ถัดข้นึ มาเรยี ก กลบี เลี้ยงดอกรกั และกลบี พลาสตกิ 3. เหนอื กลีบเล้ยี งเรยี ก ดอกสวม ซ่งึ อบุ ะหนงึ่ สายเรยี กวา่ หนึ่ง ขา ภาพที่ 9.11 อุบะ ท่ีมา : พรยพุ รรณ พรสขุ สวสั ด์,ิ 2541, หนา้ 36 2.7.3 หลักท่วั ไปในการรอ้ ยอบุ ะ 1. เลือกดอกตุม้ ใหม้ ีขนาดเท่ากัน 2. ตุ้งต้ิง ใช้ด้ายคู่เพื่อง่ายแก่การผูก ส่วนอุบะอ่ืนๆ ต้องใช้หลายขาใน 1 พวง ดังนั้นจึงควรใช้ด้ายเด่ียว เม่ือผูกรวมเป็นพวงจะได้ปมด้ายขนาดเล็กง่ายแก่การปิดบังพราง สายตา 3. ทาํ ปมขนาดใหญ่กวา่ กน้ เขม็ จงึ จะไมห่ ลดุ ง่าย 4. ซอ่ นปมไว้ในซอกกลีบดอกไม้อย่าให้มองเห็น 5. ร้อยดอกสวมเรียงจากดอกใหญไ่ ปหาดอกเลก็ 6. อยา่ รดู ดอกสวมเบียดกนั แนน่ เพราะจะทําให้อุบะแข็งไมท่ ิ้งตวั

\" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \"196 ภาพที่ 9.12 อุบะไทยธรรมดา ท่มี า : พรยุพรรณ พรสขุ สวัสด,ิ์ 2541, หนา้ 36 2.8 การประดิษฐ์ดอกตุ้ม ดอกตุม้ คือ ส่วนปลายสดุ ของอบุ ะ ซ่ึงใชท้ ง้ั ดอกไม้ตามธรรมชาตแิ ลว้ ยังมีดอก ตุ้มทีป่ ระดิษฐ์ขึน้ ซ่ึงมรี ายละเอยี ดดังน้ี ดอกตุ้มดอกไมส้ ด ซงึ่ ได้แก่ ดอกบานไม่รู้โรย จาํ ปา จาํ ปี ชบารม่ ชบาหนู ดอกตุ้มประดิษฐ์สด ไดแ้ ก่ ดอกข่าจาก กุหลาย มะลิ พุด กล้วยไม้ ฯลฯ ดอกตุ้มประดิษฐ์เทียน ได้แก่ ดอกต้มุ กุหลาบ ดอกชบารม่ ดอกจําปาซ่งึ ใช้ผา้ หรอื กระดาษประดษิ ฐ์ ดังน้ันในหนังสือเล่มนี้จึงแนะนําวิธีการประดิษฐ์ดอกตุ้มจากกลีบกล้วยไม้เพ่ือ นาํ มาใชใ้ นการร้อยเครอ่ื งไทยดอกไมส้ ด ซง่ึ มขี ้ันตอนดังนี้ ภาพที่ 9.13 ดอกตมุ้ กลว้ ยไม้ ทม่ี า : พรยพุ รรณ พรสขุ สวสั ด,์ิ 2541, หน้า 37

197 2.8.1 นาํ กลบี กลว้ ยไมก้ ลบี มนเย็บดอกตุ้มดังน้ี \" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \"1) ฉกี ใบตองกว้าง 1 นว้ิ ว่างกลีบกล้วยไม้2 ) ม้วนใบตองใหแ้ นน่ ตรงกลางใบตอง 3) พับกระพุ้งกลีบกลว้ ยไม้เย็บตดิ กบั แกน 4) เย็บกลีบกลว้ ยไม้กลบี ท่ีสองตรงกบั กลบี แรก ใบตอง 5) เยบ็ กลีบกลว้ ยไม้สับหวา่ งลงมา 6) เย็บกลีบกลว้ ยไม้สองกลบี รอบดอกตุ้ม 7) เยบ็ กลีบกลว้ ยไม้สบั หว่าง 1 กลบี 8) เย็บกลบี กลว้ ยไมส้ ามกลบี รอบดอกตุม้

198 วธิ ีการและขน้ั ตอนการประดิษฐเ์ ครอื่ งแขวนพวงดอกไม้ การประดิษฐ์เคร่ืองแขวนพวงดอกไม้ ท่ีนิยมประดิษฐ์ในปัจจุบันแบ่งตามรูปแบบของการ ประดษิ ฐ์ได้ 3 รูปแบบ ซึ่งมีรายละเอียดดงั น้ี 1. การประดิษฐเ์ ครอ่ื งแขวนพวงดอกไม้แบบไทยประณตี ศิลป์ การประดษิ ฐ์เคร่ืองแขวนพวงดอกไม้แบบไทยประณีตศิลป์ เป็นแบบเครื่องแขวนท่ีมีการ ประดิษฐ์เครื่องแต่งตัวเพ่ือใช้ตกแต่งพวงเครื่องแขวนเต็มท่ีมี ซึ่งประกอบด้วย อุบะ เฟ่ืองหรือแบบ กนกและดอกทดั หู ซ่งึ แต่ละสว่ นจะมีการเยบ็ แบบ รอ้ ยกรองดอกไมป้ ระดษิ ฐท์ ุกส่วนอย่างประณีตส่วน งามในส่วนที่จะให้ได้ทดลองประดิษฐ์จะเน้นเฉพาะเครื่องแขวนขนาดเล็ก เช่น กล่ินตะแคง ตาข่าย หนา้ ชา้ ง พู่กลน่ิ และกลนิ่ คว่าํ ซ่งึ แต่ละแบบมีวิธีการและขั้นตอนการประดิษฐด์ ังน้ี 1.1 กล่นิ ตะแคง กล่ินตะแคงมีรูปร่างเปน็ ดาว 6 แฉก หรือรูปหกเหล่ียม ตกแต่งอุบะตามมุมมีมาแต่ โบราณ นิยมร้อยท้ังดอกรักและดอกพุดใช้แขวนประดับสถานท่ีตามช่องประตูหรือหน้าต่างเพ่ือเพ่ิม ความสวยงามและความสดชื่น ในการประดิษฐ์สามารถเลือกใช้สีสันได้ตามความเหมาะสม ในการ การประดิษฐ์กล่นิ ตะแคง มวี ิธีการและขนั้ ตอนดังน้ี \" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \" ภาพที่ 9.14 กลนิ่ ตะแคง ทม่ี า : พรยพุ รรณ พรสขุ สวัสด,ิ์ 2541, หนา้ 39 1.1.1 การเตรยี มวัสดุอุปกรณ์ มกี ารเตรียมวัสดุและอปุ กรณ์ดงั น้ี ½ กโิ ลกรมั 1) ดอกรักสขี าว 26 ดอก 2) ดอกขา่ จากกลว้ ยไม้ 3 เลม่ 3) เข็มมาลัยขนาดเลก็ 1 หลอด 4) ด้ายขาวเบอร์ 40 สาํ หรบั รอ้ ยลายตาขา่ ยและสายโยง

199 1 หลอด 1 ห่อ 5) ดา้ ยขาวเบอร์ 60 สําหรับร้อยอุบะ 26 อนั 6) เข็มมือ เบอร์ 9 7) กลีบเลีย้ งพลาสติก 1.1.2 ขั้นตอนและวิธกี ารรอ้ ย มขี ั้นตอนการรอ้ ยดังน้ี \" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \" 1) มดั เข็มมาลัยสามเขม็ ไขว้กันตรงกลางให้แนน่ 2) รอ้ ยดอกรักขนาดใหญ่เทา่ ๆ กันจากกลางเขม็ ละ 4 คู่ 3) ร้อยดอกรักทุกเข็ม ๆละ 4 คู่ 4) รอ้ ยโยงปลายเข็มแต่ละชว่ งๆ ละ 4 คู่ 5) ร้อยโยงปลายเข็มที่ 3 และ 4 ลักษณะ 6) รอ้ ยรูปดาวซ้อนสนั หว่ งแฉกดาวแรกดว้ ยดอก เหมือนกนั รกั 2 คู่ ดงึ ใหร้ มิ นอกหยักเข้าไปได้

200 \" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \"7) ร้อยรูปดาวซ้อนสันห่วงทุกแฉกดาวใน 8) รอ้ ยต่อสายโยงสว่ นบน 10 คู่ ลกั ษณะเดยี วกนั 9) รอ้ ยสายโยงส่วนล่าง 10 คู่ 10) มัดดอกต้มุ จากกลีบกล้วยไม้ 11) รอ้ ยตุง้ ต้งิ โดยร้อยดอกรัก 3 ดอก 12) ร้อยตุง้ ต้งิ โดยร้อยดอกรัก 2 ดอก

201 \" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \"13) นําตุง้ ต่ิง 2 ขา ผกู รวมกนั14) ร้อยดอกรกั อีก 3 ดอก 15) นาํ อุบะในขอ้ 14 ผกู รวมกัน 16) ร้อยต่อด้วยดอกรกั 3 ดอก 17) นาํ ต้งุ ตงิ้ ผูกดา้ นบน 1 ขา 18) ผกู ตงุ้ ตง้ิ ด้านล่าง 1 ขา

202 \" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \"19) ผูกอบุ ะไทยธรรมดาท้งั 4 มมุ20) รอ้ ยตมุ้ ดอกข่าปดิ ปลายเข็มทุกมมุ 1.2 ตาขา่ ยหน้าช้าง ตาข่ายหน้าช้าง สันนิฐานว่า เป็นเคร่ืองแขวนท่ีคิดข้ึนเป็นแบบแรก เพราะ ลักษณะโครงเป็นแบบเส้นตรงเส้นเดียว ไม่สลับซับซ้อน ใช้แขวนประดับตกแต่งสถาน และใช้คลุม หน้าผากช้างทรงหรือช้างสําคัญเวลาเข้าพิธี เช่น พิธีถวายช้างสําคัญ หรือสมโภชช้าง เป็นต้น ในการ การประดิษฐ์ตาข่ายหนา้ ชา้ ง มวี ิธีการและข้ันตอนดงั น้ี ภาพท่ี 9.15 ตาข่ายหนา้ ชา้ ง ทม่ี า : พรยุพรรณ พรสุขสวัสด์,ิ 2541, หนา้ 44

203 1.1.1 การเตรียมวัสดอุ ุปกรณ์ มกี ารเตรยี มวสั ดุและอุปกรณ์ดังนี้ ½ กโิ ลกรมั 1) ดอกรกั สีขาว 36 ดอก 2) ดอกขา่ จากกล้วยไม้ 2 เส้น 3) เย็บแบบสวน 2 เส้น ความยาวเทา่ กับตวั โครง 1 หลอด 4) ด้ายขาวเบอร์ 40 สาํ หรบั ร้อยลายตาข่ายและสายโยง 1 หลอด 5) ด้ายขาวเบอร์ 60 สาํ หรับรอ้ ยอบุ ะ 1 หอ่ 6) เขม็ มือ เบอร์ 9 36 อนั 7) กลีบเลยี้ งพลาสติก 1 อนั 8 ไมไ้ ผ่เหลายาว 10 น้วิ กวา้ งประมาณ ¼ น้ิว 4 ดอก 9 ดอกทดั หูแบบสีก่ ลบี ขนาดเส้นผา่ ศนู ยก์ ลาง 2 นวิ้ 1 อัน 10 ปากคบี \" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \" 1.1.2 ข้นั ตอนและวธิ ีการจัด มีขัน้ ตอนการจดั ดงั น้ี 1) เหลาไม้ไผย่ าว 10 น้ิว กว้างประมาณ ¼ นิว้ 3) แบง่ ช่วงลายชอ่ งๆ ละ 1.5 นวิ้ เหลาให้แบนติดผวิ ไม่ไผ่ 4) รอ้ ยลายสี่กา้ นส่ดี อกด้วยดอกรัก 2) ตดั ผา้ สขี าวลักษณะเฉลียง กวา้ ง 1 น้ิว 5) ร้อยดอกรักแถวท่ี 2 คล้องด้ายจากยอดดอก สาํ หรับพันโครง รักคูแ่ รกไปคูท่ ่ีสอง

204 \" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \"6) รอ้ ยตาข่ายดอกรักลงมาใหเ้ หลือคูเ่ ดียว7) รอ้ ยสายหิว้ ตาข่าย จํานวน 32 ดอก 8) ซอ้ นใบตอง 6 ชน้ั ตดั แบบกลีบสี่แฉก 10) พับกระพุ้งกลบี เย็บติดปลายกลีบใบตอง 9) พบั กลีบกล้วยไม้ดา้ นขวาลงมาตง้ั ฉาก ส่วนดา้ นซา้ ยพับทบด้านหลงั ลงมาตั้งฉาก 11) เยบ็ กลีบกล้วยไม้สบั หวา่ งลงมา 4 แถว 12) เยบ็ อกี 3 กลีบในลักษณะเดียวกนั

205 \" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \"13) เย็บกลบี กล้วยไม้ที่มมุ ท้ัง 4 ดา้ น14) เย็บกลบี กล้วยไม้สับหว่างโดยรอบแบบสี่กลบี 15) ซ้อนใบตอง 6 ชั้นตัดกว้าง 1.5 ซม ด้ามลวด 16) จบั จบี ใบว่านด้านซ้ายไขว้ทางขวา เบอร์ 24 17) จับจีบด้านขวาไขว้มาทางด้านซา้ ย 18) พบั รมิ ด้านซ้ายทแยงมาทางดา้ นขวา

206 \" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \"19) พบรมิ ดา้ นขวาทแยงมาทางด้านซ้าย20) นาํ กลบี ดอกจอกเย็บติดบนแบบใบตอง 2 กลีบ 21) เย็บกลีบดอกจอกลงมา 2 ช้นั 22) พบั กลีบกลว้ ยไม้เย็บตดิ ตรงกลาง 23) พับกลีบกล้วยไม้เย็บติด 2 กลีบและสับลงมา 24) เย็บกลบี ดอกจอกลงมา 3 ชน้ั อกี 1 กลีบ

207 \" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \"25) เยบ็ กลบี กลว้ ยไมใ้ นลักษณะเดยี วกัน26) เย็บแบบสวนความยาว 12 น้วิ 27) มัดดอกตุ้มจากกลบี กล้วยไม้ 28) รอ้ ยอุบะไทยธรรมดา 4 พวง 29) ร้อยตงุ้ ตงิ จํานวน 12 ขา

208 \" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \"30) ผกู ตุ้งติงในผืนตาข่ายดา้ นละ 6 ขา31) ผกู อุบะไทยธรรมดาดา้ นละ 1 พวง 32) ผูกอุบะไทยธรรมดาด้านบน 1 พวง ด้านล่าง 32) เย็บสวนตดิ ขอบโครงทัง้ สองด้าน 1 พวง 33) เยบ็ ดอกทัดหูตดิ ทั้ง 2 ดา้ น 34) ปกั ดอกบานไมร่ ้โู รยตรงกลางดอกสี่กลบี

209 1.3 กลิ่นควา่ กลน่ิ ควํ่า จะมลี ักษณะโครงคลา้ ยกลนิ่ ตะแคงจะมีรปู รา่ งเปน็ ดาวหกแฉก รอ้ ยสาย รวบดา้ นบนและด้านลา่ งแต่งมุมทกุ มมุ ดว้ ยพวงอบุ ะ \" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \"ภาพที่ 9.16 กลน่ิ ควา่ํ ที่มา : พรยพุ รรณ พรสขุ สวัสด,์ิ 2541, หน้า 59 1.4.1 การเตรยี มวัสดอุ ุปกรณ์ มกี ารเตรยี มวสั ดแุ ละอุปกรณด์ งั น้ี 1) ดอกรกั สขี าว ½ กิโลกรัม 2) ดอกขา่ จากกลว้ ยไม้ 36 ดอก 3) เย็บแบบสวน 2 เส้น ความยาวเทา่ กับตวั โครง 2 เสน้ 4) ด้ายขาวเบอร์ 40 สาํ หรับรอ้ ยลายตาข่ายและสายโยง 1 หลอด 5) ดา้ ยขาวเบอร์ 60 สําหรบั ร้อยอุบะ 1 หลอด 6) เข็มมือ เบอร์ 9 1 ห่อ 7) กลีบเล้ียงพลาสตกิ 26 อัน 8) ไม้ไผ่เหลายาว 10 นวิ้ กวา้ งประมาณ ¼ นวิ้ 1 อัน 9) ดอกทดั หแู บบส่กี ลีบ ขนาดเส้นผ่าศูนยก์ ลาง 2 นวิ้ 4 ดอก 10) ปากคีบ 1 อนั 11) ใบหมากผูห้ มากเมยี 1 กํา

\" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \"210 1.4.2 ข้นั ตอนและวิธีการจัด มขี น้ั ตอนการจัดดังนี้ 1) เหลาไม้ยาว 10 นิ้ว จํานวน 3 อัน มัดให้แน่น 2) ร้อยดอกรักตามโครงดา้ นละ4 คู่ พันดว้ ยผา้ ก้นุ สขี าว 3) ร้อยเสน้ ดอกรกั โยงระหวา่ งซี่ๆ 4 คู่ ทงั้ 6 ซ่ี 4) รอ้ ยสายโยงหวิ้ ขนึ้ ข้างบนดอกรกั 20 ดอก 5) ร้อยสายรวบก้นกระเช้า ร้อยดอกรัก 17 ดอก 6) ร้อยเฟอื่ งดอกรกั สายแรกใช้ดอกรัก 6 คู่ ผูกสายโยงที่มุมรวบก้นและร้อยสายตรงกลาง ดอกรกั 9 ดอก

\" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \" 211 7) ร้อยเฟื่องสายที่ 2 ร้อยดอกรัก 2 ดอก ดอกพดุ 2 ดอกสลบั กนั 5 คู่ 8) ซ้อนใบตอง 6 ช้ัน ตัดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 9) ตดั ใบหมากผู้หมากเมยี พบั กลบี ดอกจอก นิว้ 10) เย็บกลีบดอกจอกติดรอบแบบใบตอง 11) เย็บกลบี ดอกกล้วยไม้ตดิ รอบแบบ

212 \" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \"12) เย็บกลีบกล้วยไม้ช้ันที่ 2 สับหว่างกับชั้น 13) ตรงึ ดอกบานไม่รโู้ รยตรงกลาง แรก 14) ตดั ใบตองเสน้ ผ่าศนู ย์กลาง 2 นิ้ว 15) สอดดอกพดุ ตรงกลางใบตองเย็บโดยรอบ 16) เย็บดอกพุดช้ันที่ 2และ3 สับหว่างด้านบน 17) เย็บดอกตุ้มจากกลีบกล้วยไม้สีส้มจํานวน 36 กบั ดา้ นลา่ งให้ตรงกนั ดอก

213 \" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \"18) รอ้ ยตุง้ ตง้ิ โดยรอ้ ยดอกรกั 3 ดอก19) นําตงุ้ ติ้ง 2 ขา ผกู รวมกนั 20) รอ้ ยดอกตมุ้ กลว้ ยไม้ 1 ดอก 21) ร้อยดอกรกั 3 ดอก 22) นําอุบะในข้อ 21 ผูกรวมกนั 23) รอ้ ยดอกตุม้ อีก 1 ดอก

214 \" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \"24) รอ้ ยดอกรักต่ออีก 2 ดอก25) ผูกอุบะตรงกลาง จากน้ันร้อยแบบพู่กล่ิน มาลยั ตุ้มและรอ้ ยดอกรัก มดั ห่วงสําหรบั แขวน 26) ร้อยแบบพู่กล่ิน มาลัยตุ้มและมัดอุบะ1 27) นําอบุ ะไทยทรงเคร่ืองผูกตามมุม ทัง้ 6 มุม พวง

\" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \" 215 28) นาํ ดอกทดั หูมดั ตามมุมเครอื่ งแขวนทั้ง 6 มุม 2. เครอื่ งแขวนแบบไทยประยุกต์ เคร่ืองแขวนแบบไทยประยุกต์ เป็นการนําโคมไฟจริงมาร้อยดอกไม้ตกแต่งโดย ลด เคร่ืองแต่งตัวในส่วนของการประดิษฐ์ดอกไม้ท่ีมีการเย็บแบบหรือร้อยกรองเป็นส่วนต่างๆ ลงเพ่ือให้ สะดวกและรวดเร็วขึ้น เช่น โคมไฟแบบต่างๆ หรือตะเกียงแบบต่างๆ ดังภาพ 7.18 ท่ี ศาสตราจารย์ มณรี ตั น์ จนั ทนะผะลิน ไดอ้ อกแบบไวใ้ นหนังสือเคร่อื งแขวนไทย ภาพที่ 9.17 เครื่องแขวนแบบไทยประยกุ ต์ ทม่ี า : มณีรัตน์ จันทนะผะลนิ , 2527, หนา้ 394

\" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \"216 3. เคร่อื งแขวนแบบไทยสากลหรือแบบธรรมชาติ เครื่องแขวนแบบไทยสากลหรือแบบธรรมชาติ ซึ่งได้แก่ การจัดแต่งเคร่ืองแขวนไทย ดอกไม้สดตามลักษณะธรรมชาติ โดยไม่มีการประดิษฐ์ร้อยกรองดอกไม้ก่อนนํามาจัดเคร่ืองแขวน ดอกไม้ทรงกลม ทรงรี รูปหัวใจ โดยใช้วัสดุอุ้มน้ําอย่าง ฟลอร่าโฟม (Flora Foam) หรือโฟมท่ีมี น้ําหนักเบา นํามาตัดให้มีลักษณะรูปทรงต่างๆ จากนั้นจึงปักดอกไม้รอบๆ ฟลอร่าโฟม ลักษณะ เหมือนลูกบอลดอกไม้ ดอกไม้ที่เลือกใช้สําหรับคนที่เร่ิมจัดแล้วง่ายที่สุด ได้แก่ ดอกกุหลาบ ดอก เบญจมาศ ในการปักเริ่มจากจุดบนสุดแล้วค่อยๆ ปักเป็นแถววนรอบฟลอร่าโฟม โดยไม่ปักให้ดอกไม้ ชดิ หรอื หา่ งจนเห็นเนื้อฟลอร่าโฟม เพิ่มสีสันต์ด้วยสายริบบ้ินห้อยลงมา ใช้แขวนเพดาน นํามาตกแต่ง ท่ีซุ้มดอกไม้หน้างานหรือนํามาประดับตามจุดต่างๆ แซมไปกับพุ่มดอกไม้ นอกจากนี้นักจัดดอกไม้ยัง นํามาจดั แจกนั ทรงสูง โดยการปักไม้ยาวทําเป็นก่ิงแล้วปัก Flower Ball ที่ส่วนปลายจะได้ดอกไม้ทรง กลมทส่ี วยงามอีกรูปแบบ การจัดดอกไม้ทรงกลมที่ใช้ดอกรกั หรอื ดอกบานไม่รู้โรยนิยมใช้ตกแต่งสถานท่ีในพิธีแบบ ไทยๆ เพราะให้ความหมายท่ดี ี ภาพที่ 9.18 เครื่องแขวนแบบไทยสากล ท่มี า : Kapook, 2009, หนา้ 5 3.1 เครอื่ งแขวนดอกไมร้ ูปทรงกลม เครอื่ งแขวนดอกไม้รปู ทรงกลม ถือเปน็ รปู แบบหน่ึงทน่ี ยิ มจัด เม่ือนาํ มาประดบั ใน งานยังชว่ ยให้งานเล้ยี งดไู ม่มพี ิธีรีตองมากนัก

217 \" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \"ภาพท่ี 9.19 เคร่อื งแขวนดอกไม้รูปทรงกลม ท่ีมา : Kapook, 2009, หนา้ 6 3.1.1 การเตรียมวสั ดุอุปกรณ์ มกี ารเตรยี มวัสดุและอปุ กรณ์ดังน้ี 12 ดอก 1) ดอกกุหลาบสีชมพู 5 ดอก 2) ดอกกุหลาบสีมว่ ง ½ กํา 3) ดอกแสตตสี สีมว่ ง 1 ก้อน 4) ฟลอร่าโฟม 1/8 เมตร 5) ลวดตาขา่ ย 2 เมตร 6) เชือกหรือริบบ้ิน 1 ขด 7) ลวดเบอร2์ 4 1 อนั 8) กรรไกรตัดกงิ่ ไม้ 1 อนั 9) กรรไกรตัดลวด 1 กํา 10) ใบเฟร์ินขนนก โดยรอบ 3.1.2 ขน้ั ตอนและวิธกี ารจัด มีขั้นตอนการจดั ดงั น้ี กุหลาบสีม่วง 1) ตัดฟลอรา่ โฟมเกลาให้กลม ใช้ลวดตาข่ายหอ่ มัดดว้ ยลวดให้แนน่ 2) นาํ ฟลอรา่ โฟมแชใ่ นกาละมังนาํ้ 3) นาํ ดอกกุหลาบสีชมพูตัดก้านยาว 3 นิว้ ปกั ตรงกลางฟลอร่าโฟมวน 4) ตัดก้านดอกกหุ ลาบสีม่วงกา้ นยาว 3 นิว้ ปกั ตรงกลางฟลอรา่ โฟอีกดา้ น 5) ปักดอกแสตตีสสมี ว่ งโดยรอบจากนั้นปักดอกกหุ ลาบสชี มพูสลบั กับดอก 6) ปักเฟร์นิ ขนนกแซมรอบด้านลา่ ง 7) ผูกเชอื กสําหรับแขวน

218 3.2 เคร่ืองแขวนดอกไมร้ ูปหัวใจ \" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \"ภาพท่ี 9.20 เครอื่ งแขวนดอกไม้รปู หัวใจ ที่มา : พรยพุ รรณ พรสุขสวสั ดิ์, 2541, หน้า 98 3.2.1 การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ มกี ารเตรยี มวสั ดุและอุปกรณด์ งั นี้ 20 ดอก 1) ดอกกหุ ลาบสีโอรส 15 ดอก 2) ดอกกหุ ลาบสีสม้ 20 ดอก 3) ดอกกุหลาบสีเหลอื ง ½ กาํ 4) ดอกเบญจมาศสมี ่วง ½ กาํ 5) ดอกมนิ ิคัดเตอร์ 1 ก้อน 6) ฟลอร่าโฟม 1/8 เมตร 7) ลวดตาข่าย 2 เมตร 8) เชือกหรือริบบิน้ 1 ขด 9) ลวดเบอร2์ 4 1 อัน 10) กรรไกรตัดกิง่ ไม้ 1 อนั 11) กรรไกรตัดลวด ลวดให้แน่น 3.2.2 ขนั้ ตอนและวิธกี ารจัด มขี น้ั ตอนการจัดดงั นี้ ดา้ น 1) ตดั ฟลอรา่ โฟมตดั เป็นรปู หวั ใจ เกลาลบเหลีย่ ม ใช้ลวดตาข่ายหอ่ มัดดว้ ย 2) นาํ ฟลอรา่ โฟมแชใ่ นถังน้ํา 3) ตดั ดอกกุหลาบสีสม้ ยาว 3 นวิ้ ปกั ขอบด้านข้างรูปหวั ใจโดยรอบ 4) นาํ ดอกกหุ ลาบสีเหลอื งตดั ก้านยาว 3 นิว้ ปักตรงกลางฟลอรา่ โฟมทง้ั สอง

219 โฟมท้งั สองดา้ น 5) ตัดกา้ นดอกกุหลาบสโี อรสกา้ นยาว 3 นิว้ ปักสบั หวา่ งตรงกลางฟลอรา่ หวั ใจทัง้ สองด้าน 6) ปกั ดอกดอกเบญจมาศสีม่วงโดยรอบจากนั้นปกั ดอกมินิตดั เตอร์รอบๆรูป 7) ผกู เชอื กสําหรบั แขวน ตรงกลางรูปหวั ใจ 8) ผกู ริบบ้นิ ปลอ่ ยชายให้ห้อยลง ประโยชนแ์ ละโอกาสการใชเ้ คร่อื งแขวนพวงดอกไม้\" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \" เครื่องแขวนพวงดอกไม้ทปี่ ระดษิ ฐ์ขึน้ สามารถนาํ ไปใช้ในโอกาสตา่ งๆ ดงั นี้ 1. ใชเ้ ป็นพุทธบูชาในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา ชาวไทยพุทธจะนิยมประดิษฐ์โคม ประทีปที่มีลักษณะเป็นดวงไฟอยู่ตรงกลางพวงดอกไม้นําไปแขวนไว้ท่ีกําแพงแก้วรอบพระอุโบสถ 2. ใช้ในศาสนาพิธีตามประเพณีนิยมของไทย เช่น ใช้ประดับเมรุในงานเผาศพ ใช้ แขวนกลางเพดานพระอุโบสถในงานอปุ สมบท สว่ นชาวไทยภาคอีสาน และชาวไทยภาคเหนือนิยมทํา ตุง (ธุง หรือ ธง เป็นการออกเสียงที่เพี้ยนไป) ซ่ึงดัดแปลงมาจากบันไดเงิน บันไดทอง บันไดแก้ว เพื่อให้รําลกึ ถึงครั้งทพ่ี ระพทุ ธเจ้าเสด็จลงจากสวรรคช์ นั้ ดาวดงึ ส์ 3. ใช้ประดับตกแต่งอาคารสถานท่ีในโอกาสสําคัญเป็นกรณีพิเศษ ใช้แขวนกลางช่อง ประตู ซุ้มประตู ช่องหน้าต่างระหว่างม่านแหวก กลางเพดาน แขวนฝาผนัง ช่องกลางหน้าเมรุ คล้อง หัวเรือพระที่นั่ง แขวนตามช่อง มุมหรือหน้ามุขเพื่อให้เป็นจุดเด่น เช่น มุมรอบเมรุเผาศพหรือมุม ชายคารอบพระอุโบสถ ปัจจุบันน้ีนิยมใช้ตกแต่งในห้องจัดเลี้ยงใหญ่ๆ ในโรงแรม เม่ือมีการต้อนรับ แขกชาวต่างประเทศ 4. เป็นเครื่องแสดงให้เห็นถึงศิลปวัฒนธรรมไทยแขนงงานช่างฝีมือสตรีไทยที่ประณีต บรรจง แสดงใหเ้ ห็นถึงความงดงามของศิลปวฒั นธรรมของไทย 5. เป็นการฝกึ สมาธิและทําให้เกิดความเพลดิ เพลนิ เจรญิ ตา

220 สรปุ การประดิษฐ์เคร่ืองแขวนพวงดอกไม้ ถือเป็นงานประดิษฐ์ที่ทําขึ้นเพ่ือใช้ในการประดับ ตกแต่งอาคาร สถานที่ และสิ่งที่เคารพบูชา เคร่ืองแขวนพวงดอกไม้มีรูปร่างเป็นเป็นพวงดอกไม้ที่ สร้างสรรค์ขึ้นจากการนําดอกไม้ขนาดเล็ก มาเรียงร้อยรวมกันด้วยเส้นด้าย ประดิษฐ์เป็นเส้น เฟื่อง ลวดลายตาข่ายรูปต่างๆ การประดิษฐ์เครื่องแขวนพวงดอกไม้มี 2 ลักษณะคือ แบบสองมิติและแบบ สามมติ ิ แบง่ ตามขนาดของการประดิษฐ์ แบ่งได้ 4 ขนาดคือ เคร่ืองแขวนขนาดจิ๋ว เคร่ืองแขวนขนาด เล็กมี 2 แบบคือ เคร่ืองแขวนขนาดเล็กรูปร่างแบน เคร่ืองแขวนขนาดเล็กที่มีรูปร่างต่างๆ เคร่ือง แขวนขนาดกลาง และเครื่องแขวนขนาดใหญ่ เคร่ืองแขวนพวงดอกไม้แต่ละแบบแต่ละพวง ประกอบด้วยลําตัว เคร่ืองแต่งตัว ในท่ีน้ีให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติ ตาข่ายหน้าช้าง ซ่ึงเป็นเครื่อง แขวนที่คิดขึ้นเป็นแบบแรก เพราะลักษณะโครงเป็นแบบเส้นตรงเส้นเดียว ไม่สลับซับซ้อน ใช้แขวน ประดับตกแต่งสถาน และใช้คลุมหน้าผากช้างทรงหรือช้างสําคัญเวลาเข้าพิธีและกล่ินควํ่า จะมี ลักษณะโครงคล้ายกล่ินตะแคงจะมีรูปร่างเป็นดาวหกแฉก ร้อยสายรวบด้านบนและด้านล่างแต่งมุม ทกุ มุมด้วยพวงอบุ ะ \" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \"

221 แบบฝึกหัดท้ายบท 1. แบบใบตองสาํ หรับเยบ็ แบบพู่กลน่ิ ใชใ้ บตองกีช่ น้ั 2. อุบะไทยทรงเครื่องต่างกับอุบะไทยธรรมดาอย่างไร 3. ดอกทดั หูทาํ หน้าที่อะไร 4. เม่ือเย็บแบบพู่กล่นิ 3 ช้นั เสร็จแล้จะตอ้ งปดิ ใบตอง ดา้ นละกี่ช้นั 5. ลาํ ดับขนั้ ตอนการแตง่ ตัวเคร่ืองแขวนที่ถูกต้องคอื อยา่ งไร \" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \"

222 เอกสารอา้ งอิง พรยพุ รรณ พรสุขสวัสดิ์. (2546). การจดั ดอกไม้.หลักสูตรคหกรรมศาสตร์ คณะมนุษยศาตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนดสุ ิต. . (2542). เอกสารประกอบการสอนเครื่องแขวนไทย. กรงุ เทพฯ :มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ิต. มณีรตั น์ จันทนะผะลนิ . (2525). งานใบตอง. กรุงเทพฯ :อมรนิ ทรพ์ ร้ินต้ิงแอนด์พบั ลิชชง่ิ . . (2528). เครอ่ื งแขวนไทย.กรุงเทพฯ :อมรินทร์การพิมพ์. \" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \"

223 บรรณานุกรม กีรตี ชนา (2543) จัดดอกไม้แบบสากล ข้นั พื้นฐาน กรุงเทพมหานคร อมรินทรบ์ ุค๊ เซนเตอร์\" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \" . (2551). ศลิ ปะการจดั ชอ่ ดอกไม.้ กรงุ เทพมหานคร : ทวกิ ิตสิ์ านักพมิ พ์. จรัส พรหมอยู่. (2528). สังคมและวัฒนธรรมไทย. กรงุ เทพฯ : โอเดยี นสโตร.์ จันทนา สวุ รรณมาลี. (2533). มาลยั . กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. . (2534). การจดั ดอกไมใ้ นประเพณีไทย. กรงุ เทพฯ : มติ รสยาม. . (2539). การจดั พาน. กรงุ เทพฯ : โอเดียนสโตร.์ จลุ จอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั , พระบาทสมเด็จพระ. (2516). พระราชพิธสี บิ สองเดือน. พิมพ์ครง้ั ที่ 14 กรงุ เทพฯ : รุ่งวัฒนา. ชะลดู นม่ิ เสมอ. ( 2539). องคป์ ระกอบของศิลปะ. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. ชวลิต ศริ ิภริ มย์. (2009). พานพุ่ม. ใน www [online]. Available: http:// www. article.dra.go.th/ [2009, November, 4] ชมุ สาย สวนสิร.ิ (2534). ดอกไมส้ ด. ตาราเลม่ พิเศษในเครือนติ ยสารขวัญเรือนและงานฝมี อื , ศรีสยามการพมิ พ์ จากัด, กรุงเทพมหานคร. . (2553) เรยี งรอ้ ยมาลัย, รวมมาลัยดอกไม้สดแบบต่างๆ. กรุงเทพมหานคร. ขวัญเรือน – งานฝมี ือ. วัฒนธรรมฝา่ ยหญงิ .วัฒนธรรมทางประณตี ศลิ ปะการจดั ดอกไม้สด.กรุงเทพฯ: มปส, 2499. สานกั งาน ปรชี า คุวนิ ทรพ์ ันธ์. (2538). สังคมและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. ปิยพรรณ เสรีพงศ์ . (2551). มองเศรษฐกิจ. กรุงเทพฯ :ศนู ย์วิจยั กสิกรไทย. พวงผกา ประเสริฐศิลป์. (2542). ประเพณกี บั การเปล่ียนแปลงตามกระแสวัฒนธรรมโลก. กรุงเทพฯ : ราชภฎั สวนดสุ ิตมหาวทิ ยาลยั . พรยพุ รรณ พรสุขสวสั ดิ์. (2549). งานดอกไม้สด กรงุ เทพฯ : ศรสี ยามการพิมพ์. . (2548). การจดั ดอกไมใ้ นพธิ มี งคลสมรส. กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัย ราชภฏั สวนดสุ ิต. . (2543). หลักการจดั แจกันดอกไม้สด.กรุงเทพฯ :สานักพมิ พ์แมบ่ า้ น. . (2542). เอกสารประกอบการสอนเคร่ืองแขวนไทย.กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดสุ ิต. . (2546). การจัดดอกไม้.หลกั สตู รคหกรรมศาสตร์ คณะมนุษยศาตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนดสุ ติ . . (2547). เอกสารประกอบการสอนการจัดดอกไมใ้ นพิธีมงคล สมรส. โปรแกรมวชิ าคหกรรมสาสตร์ท่วั ไป คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนดสุ ติ .

\" มหาวิทยา ัลยสวน ุด ิสต เพื่อการ ึศกษาเ ่ทานั้น \"224 มณีรตั น์ จนั ทนะผะลนิ . (2521) มะลิสัญลกั ษณ์วันแมข่ องไทยหนงั สือชุด มรดกไทยเล่ม 2, เอกสารนเิ ทศ การศึกษา ฉบับที่ 224 หนว่ ยศกึ ษานิเทศก์ กรมการฝึกหัดครวู ทิ ยาลยั ครู สวนดสุ ติ . . (2525). งานใบตอง. กรงุ เทพฯ :อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. . (2528). เครื่องแขวนไทย.กรุงเทพฯ :อมรินทร์การพิมพ์. . (2542). การจัดดอกแบบธรรมชาติอภิวาทจอมราชัน. กรงุ เทพฯ : อมรินทร์พร้ินต้ิงแอนดพ์ บั ลิชชิง่ . มาโนช กงกะนันทน.์ (2538). ศลิ ปะการออกแบบ. กรงุ เทพฯ: ไทยวฒั นาพานชิ . รัตนลกั ษณ์ ปญั จวุฒพิ ัฒน์. (2547)งานดอกไมส้ ดในวฒั นธรรมไทย. กรงุ เทพมหานคร : เศรษฐศิลป์. วริ ุณ ต้งั เจริญ. (2526). การออกแบบ. กรงุ เทพฯ : กรุงสยามการพิมพ์. วันเพ็ญ พงษ์เก่า. (2548) เอกลักษณ์ไทยมาลัยดอกไมส้ ด. สานักพิมพแ์ มบ่ ้าน จากัด, กรุงเทพมหานคร. สิทธิศกั ด์ิ ธญั ศรีสวัสดกิ์ ุล. การออกแบบลวดลาย. กรงุ เทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2529. อฤชร พงษ์ไสว. (2544). ไม้ดอกแสนสวย. กรุงเทพฯ : บา้ นและสวน. Deenee Solution Co. Ltd. (2009). รเู้ รอ่ื งสสี ัน.[Online] Available: http//www.deenee. Com/htm//toa_01. Php. [2009, November 5]. ดอกไม้. (2009). Flower-Ball.[Online] Available: http//www.hilight.kapook.com. [2009, November, 5] ดอกไม้.(2557).การจัดช่อดอกไม้. [Online] Available: http// www dekbaba.brinkster.net/E.htm/.สืบค้นเมื่อวนั ที่ 20 กุมภาพนั ธ์. ศนู ย์วจิ ัยกสกิ รไทย (2009).รา้ นจดั ดอกไม:้ ธุรกจิ จะสดใส...หากอยใู่ กลล้ กู ค้า. .[Online] Available: http//www .tfrc.co.th. พานกลบี บวั .(20017). Deebrass. [Online] Available: www.deebrass.com. พานกลีบบัว.(20017). Dict.longdo. [Online] Available: https://dict.longdo.com/search. โตกอสี าน. (20017). Oknation nationtv. [Online] Available: Oknation.nationtv tv/blog/yongyoot. ขาสงิ ห์ (20017). Somrerk. [Online] Available : www.somrerk.com/ Wood_Wedding_tool.html พานแวนฟ้า.(20017). Priceza. [Online] Available : https://www.priceza.com .


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook