Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใกล้กรุง ชมทุ่ง วิถีคลองพระอุดม

ใกล้กรุง ชมทุ่ง วิถีคลองพระอุดม

Published by learnoffice, 2020-05-19 02:28:02

Description: ใกล้กรุง ชมทุ่ง วิถีคลองพระอุดม

Search

Read the Text Version

ใกล้กรุง ชมทุ่ง วิถีคลองพระอุดม วษิ ชญะ ศลิ าน้อย สำ� นักส่งเสรมิ การเรียนรู้และบริการวิชาการ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ (Office of Learning Support and Academic Services)

ใกล้กรุง ชมทงุ่ วิถีคลองพระอุดม สงวนลิขสทิ ธติ์ ามพระราชบัญญัติ หา้ มทำ� การลอกเลยี นแบบไม่วา่ สว่ นใดสว่ นหนึง่ ของหนงั สอื เล่มน้ี นอกจากจะได้รับอนญุ าต พมิ พ์ครง้ั ท่ี 1 กุมภาพนั ธ์ 2563 ขอ้ มูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแหง่ ชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data ใกลก้ รงุ ชมท่งุ วถิ ีคลองพระอุดม.-- ปทุมธานี : ส�ำนักส่งเสรมิ การเรยี นรู้และบริการวชิ าการ มหาวิทยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 2563. 105 หนา้ . 1. ชุมชน. 2. การพัฒนาชมุ ชน. I. วษิ ชญะ ศลิ าน้อย. II. ชือ่ เรอื่ ง. 307.14 ISBN 978-974-337-253-7 บรรณาธิการอ�ำนวยการ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สพุ จน์ ทรายแก้ว รองศาสตราจารย์ ดร.นฤมล ธนานนั ต์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารยเ์ ศกพร ตันศรปี ระภาศริ ิ คณะผูจ้ ดั ทำ� อาจารย์วิษชญะ ศลิ าน้อย อาจารย์รวิธร ฐานสั สกลุ อาจารยป์ รยี าภา เมืองนก อาจารยภ์ ัทรเวช ธาราเวชรกั ษ์ อาจารย์วณิ ากร ที่รัก ศลิ ปกรรม อาจารยว์ ิษชญะ ศิลานอ้ ย ออกแบบปก อาจารย์วิษชญะ ศิลานอ้ ย พสิ จู น์อกั ษร เมธี ถูกแบบ ประสานงานการผลติ อาจารยว์ ิษชญะ ศลิ านอ้ ย จดั พิมพโ์ ดย สำ� นักส่งเสรมิ การเรียนรู้และบริการวชิ าการ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ เลขที่ 1 หม่ทู ี่ 20 ถนนพหลโยธิน ตำ� บลคลองหนึ่ง อำ� เภอคลองหลวง จังหวดั ปทุมธานี 13180 โทรศพั ท์ 02-909-3026 http://www.vru.ac.th E-mail: [email protected] ด�ำเนนิ การผลิตโดย บริษัท ซติ พี้ ริ้นท์ จำ� กดั เลขที่ 1/50 หมทู่ ่ี 20 ถนนพหลโยธิน ตำ� บลคลองหนึ่ง อำ� เภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 13180 โทรศัพท์ 08-1839-2719

สารบัญ 08 ลดั เลาะรมิ คลองพระอดุ ม 22 วัดทองสะอาด ศูนย์รวมใจคนคลองพระอดุ ม 32 แหลง่ นาฏศิลป์ ถิน่ รำ� มอญ 48 พฒั นาพันธข์ุ ้าว เพื่อความยง่ั ยนื 58 การเกษตรกบั สารชวี ภาพ 74 บ้านต้นแบบความพอเพยี ง 84 เรยี นรวู้ ิถชี ุมชนคลองพระอดุ ม



เกร่นิ น�ำ ใ น ข ณ ะ ที่ โ ล ก ยุ ค ป ัจ จุ บั น มี ก า ร เคล่ือนตัวไปอยา่ งรวดเร็วตามแรงผลักดัน ของเทคโนโลยสี มยั ใหม่ ดเู หมอื นวา่ กระแส การฟน้ื ฟู “ความเปน็ ท้องถน่ิ ” กก็ ลายเป็น ทีน่ ยิ มคขู่ นานกันไปเช่นกัน ส่วนหนง่ึ สบื เนอ่ื งมาจากนโยบายของ ภาครัฐท่ีสนับสนุนให้ชุมชนพึ่งพาตนเอง และมีการรวมกลุม่ กันอยา่ งเขม้ แข็ง เชน่ โครงการไทยนิยมยั่งยืน โครงการชุมชน ทอ่ งเท่ียว OTOP นวตั วิถี ฯลฯ ซงึ่ สง่ เสรมิ ใหช้ าวบ้านร้จู กั ประยกุ ตใ์ ชภ้ มู ปิ ัญญาระดบั ท้องถิ่นและจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง เกิดประโยชน์มากท่สี ดุ 5

“ ชมุ ชนคลองพระอดุ ม เป็นอีกหนงึ่ พื้นท่ที ่ีมกี าร พฒั นาภูมิปัญญาท้องถ่ิน จนเกดิ เป็นอัตลักษณ์ ”

ท้ังยังตอ่ ยอดองคค์ วามรู้ดังกลา่ วใหเ้ ปน็ ต้นทุน ทางเศรษฐกิจท่ีส�ำคัญตอ่ คนในพ้ืนที่ ท�ำให้เกิดการ กระจายรายได้ภายในชมุ ชน ขณะเดยี วกนั ยงั สรา้ งความ รสู้ ึกผกู พันตอ่ ถิ่นอาศัยของตนเองอกี ด้วย “ชุมชนคลองพระอุดม” เป็นอีกหนึ่งพ้ืนท่ีท่ีมี การพัฒนาภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นจนเกิดเปน็ อัตลักษณ์ ที่มีความโดดเดน่ ในดา้ นตา่ งๆ อาทิ การเกษตร การทอ่ งเท่ียว ศิลปหัตถกรรม นาฏศิลป์ ฯลฯ ซึ่งใน หนังสือเล่มน้ีจะไดห้ ยิบยกแงม่ ุมตา่ งๆ ท่ีน่าสนใจและ เปน็ องคค์ วามรูส้ �ำคัญที่ชุมชนอ่ืนๆ สามารถศึกษาไว้ เป็นแนวทางในการบริหารจัดการชุมชนของตนเอง ได้ โดยขอบเขตเนื้อหาจะเร่ิมต้นจากการท�ำความรู้จัก ชมุ ชนคลองพระอดุ มเสยี ก่อน แล้วจงึ นำ� พาไปสู่ “บคุ คล ต้นแบบ” ในชุมชน ไดแ้ ก่ คณุ ครูมนัญชยา เพชรูจี กบั องคค์ วามรูด้ ้านนาฏศิลป์, กำ� นนั สามารถ อดั ทอง กับ แนวคิดการพัฒนาพันธุ์ข้าว, คุณลุงเสน่ห์ ช่ืนจิตร ปราชญ์ชาวบ้านและนกั เกษตรอนิ ทรยี ์, ปา้ สวง เกสทอง ผยู้ ดึ หลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง และคณุ ครพู เยาว์ สดุ รกั กบั บ้านวถิ ชี มุ ชนคลองพระอดุ ม เร่ืองราวในชุมชนแหง่ น้ีจะมีความนา่ สนใจและ สนุกสนานสกั แคไ่ หน ลองเปดิ อ่านกันเลย... 7



ลัดเลาะริมคลองพระอุดม ต�ำบลคลองพระอุดมต้ังอยูใ่ นอ�ำเภอ ลาดหลมุ แก้ว จงั หวดั ปทมุ ธานี มเี นอื้ ทป่ี ระมาณ 22.5 ตารางกิโลเมตร (14,000 ไร)่ เดิมที ชาวบา้ นเรียกล�ำคลองพระอุดมว่า “คลอง บ้านแหลม” เนื่องจากเปน็ ล�ำธารสาธารณะ ท่ีเกิดข้ึนตามธรรมชาติ คนในชุมชนมักจะใช้ เปน็ เสน้ ทางสญั จรและใชน้ ำ�้ ในการทำ� นา ขณะ ท่ีชุมชนบริเวณนี้ถูกเรียกวา่ “บ้านลาดชะโด” เน่ืองจากมีปลาชะโดอาศัยอยู่อย่างชกุ ชมุ 9

ใน พ.ศ.2482-2485 พลตรพี ระอดุ มโยธาธยิ ทุ ธ (นามเดิม สด รัตนาวด)ี อธบิ ดกี รมชลประทานขณะนนั้ ได้ด�ำเนินการขุดลอกล�ำคลองเพื่อใหใ้ ชส้ �ำหรับสัญจร ไดใ้ นหนา้ แลง้ ชาวบ้านและขา้ ราชการจึงพรอ้ มใจกัน เปลยี่ นชอื่ คลองและตำ� บลใหม่ตามชอื่ ของท่าน ซง่ึ กค็ อื “ตำ� บลคลองพระอดุ ม” อย่างท่ีเรียกกนั ในปัจจุบนั เนื่องจากมีพ้ืนท่ีราบลุ่มประกอบกับมีแหลง่ น�้ำ ไหลผา่ นกลางพ้ืนท่ี ท�ำให้ชุมชนแห่งนี้มีน้�ำส�ำหรับใช้ ท�ำการเกษตรไดต้ ลอดท้ังปี อาชีพหลักของชาวบา้ น จึงเปน็ เกษตรกรรม ท�ำนา ท�ำสวน เล้ียงสัตว์ เมื่อถึง ฤดูน้�ำหลาก ชาวบ้านจะจับปลาในล�ำคลองเพ่ือน�ำมา ประกอบอาหารและจ�ำหน่ายบา้ ง มีการแปรรูปอาหาร เช่น ปลาร้า กะปิ กงุ้ แหง้ เปน็ ตน้ 10

ชาวบา้ นคลองพระอุดมนับถือศาสนาพุทธกัน เปน็ หลัก ประเพณีของท่ีน่ีจึงมีลักษณะคลา้ ยกับพ้ืนที่ ตำ� บลอน่ื ๆ เชน่ ประเพณสี งกรานต์ ประเพณเี ขา้ พรรษา วนั วสิ าขบชู า วนั สารทไทย การทำ� ขวญั ข้าวหรอื ทำ� ขวญั แมโ่ พสพ ซงึ่ เมอื่ ถงึ เทศกาลสำ� คญั ชาวบา้ นจะไปทำ� บญุ ทีว่ ดั ทองสะอาด (วัดประจำ� หม่บู า้ น) และวดั ป่าปทมุ รัฐ (สำ� นกั ปฏิบตั ธิ รรม) 11

เกรด็ นา่ ร้ขู องชมุ ชน ความเช่ือของคนมอญ ในอดีตมีชาวมอญอพยพมาต้ังถ่ินฐานบริเวณ ชมุ ชนแห่งนี้ ทำ� ใหม้ คี ตคิ วามเชอ่ื ทน่ี า่ สนใจมากมาย เชน่ - เม่ือมีทารกเกิดใหม่จะตอ้ งน�ำทารกไปใส่ใน กระดง้ รอ่ นแล้วพูดวา่ “สามวันลูกผี ส่ีวันลูกคน” - ห้ามเด็กเลน่ ตุก๊ ตาที่เปน็ รูปคน รูปชา้ ง รูปมา้ เพราะเช่อื ว่าผีมอญไมช่ อบ - หากลูกสาวแต่งงานออกเรือนแล้ว ห้ามนอน เรือนเดียวกับบดิ ามารดาโดยเด็ดขาด - บ้านชาวไทยมอญจะตอ้ งมที ต่ี งั้ บชู าผบี รรพบรุ ษุ มีการเซ่นผี และพิธรี �ำผี - มีความเช่ือวา่ บรรพบุรุษท่ีลว่ งลับไปแล้วน้ัน ยงั หิวโหยอยู่ และชอบรบั ประทานอาหารตามเทศกาล เชน่ ขนมกาละแม (สงกรานต)์ ขนมกระยาสารท (ออก พรรษา) ข้าวเม่าทอด (ทอดกฐนิ ) ขา้ วต้มลกู โยนนำ้� ผง้ึ (วันเพ็ญเดือนสบิ ) 12

การท�ำขวญั ข้าว การท�ำขวัญข้าวหรือท�ำขวัญแมโ่ พสพ เป็น ประเพณีท่ีสืบทอดกันมาอยา่ งยาวนาน เนื่องจากวา่ ชาวบ้านท�ำนากนั เปน็ สว่ นใหญ่ จึงตอ้ งมกี ารเรยี กขวญั แม่โพสพเพื่อเปน็ สิริมงคล โดยเช่ือกันวา่ แม่โพสพเปน็ มนษุ ย์หรอื สงิ่ มชี วี ติ เมอ่ื ขา้ วตงั้ ทอ้ งจงึ ต้องจดั หาอาหาร คาวหวานมาเป็นเครื่องไหว้ มักจะท�ำกันในชว่ งเดือน ตลุ าคม - พฤศจิกายนของทุกปี เมื่อนวดขา้ วเสร็จก็จะก�ำหนดใหว้ ันพฤหัสบดี หรือวันศุกรเ์ ป็นวันน�ำข้าวข้ึนยุ้ง ชาวบา้ นจะมารวมตัว ท�ำขวัญข้าวและร้องเพลงท�ำขวัญแม่โพสพ เป็นการ สรา้ งความสามัคคีภายในชุมชน ประเพณีท�ำขวัญขา้ ว ของบางจังหวัดอาจทำ� อยู่ 2 ชว่ ง คอื ช่วงทีข่ า้ วต้ังทอ้ ง และชว่ งขา้ วพร้อมเก่ยี ว เชอ่ื กันวา่ จะท�ำให้ไดผ้ ลผลิตท่ี อุดมสมบูรณ์ 13

การต่อยอดความรู้ ทา่ นสมหมาย เกสทอง รองนายกเทศมนตรตี ำ� บล คลองพระอดุ ม อธบิ ายว่า ปัจจบุ นั ชมุ ชนคลองพระอดุ ม ไดม้ กี ารพฒั นาจนกลายเปน็ แหล่งทอ่ งเทย่ี ววถิ ชี มุ ชนทมี่ ี ความหลากหลายและประสานงานกนั เป็นเครอื ขา่ ย โดย การแบง่ ส่วนงานที่คอ่ นข้างชัดเจน หากสนใจเร่ืองใดก็ สามารถไปหาบุคคลนั้นๆ ไดเ้ ลย เชน่ ก�ำนันสามารถ อดั ทอง มอี งคค์ วามรเู้ รอ่ื งพนั ธข์ุ ้าวและการเลย้ี งไก่ ส่วน คุณลงุ เสนห่ ์ ชนื่ จิตร ปราชญ์ชาวบา้ น จะมอี งค์ความรู้ เร่อื งสารบิวเวอร์เรยี ส�ำหรับไลแ่ มลง ฮอร์โมนบ�ำรงุ พืช และปุย๋ ขณะท่ีคุณครูพเยาว์ สุดรัก ไดม้ ีการพัฒนา บ้านเปน็ แหลง่ เรียนรูเ้ ก่ียวกับอุปกรณก์ ารเกษตรและ ศูนย์จ�ำหน่ายสนิ คา้ ชุมชน 14

“ เราจะเชื่อมโยงกัน อ ย า่ ง ก ลุ ม่ ที่ ส น ใ จ เ ร่ื อ ง เกษตรจะไปทางบ้านก�ำนัน หรอื ตรงหม่ทู ี่ 6 จะเป็นศนู ย์ การเรยี นรู้เกย่ี วกับชีวภาพ ” 15

จะเห็นได้ว่าหลักการส�ำคัญ คือ ใครถนัด อะไรกท็ ำ� สงิ่ นนั้ และทำ� ให้ดที สี่ ดุ แลว้ จงึ ถ่ายทอด องคค์ วามรูใ้ หแ้ กค่ นในชุมชนตอ่ ไป ที่ส�ำคัญคือ ตอ้ งมีการทดลองและประเมนิ ผล ดังเชน่ กรณีของคุณครูพเยาว์ สุดรัก ก็ได้เร่ิมต้นจากความชอบสว่ นตัวในการสะสม อุปกรณก์ ารเกษตร น�ำไปสู่การเปิดบ้านให้เปน็ แหลง่ เรียนรใู้ หเ้ ด็กๆ เขา้ มาชม จากนัน้ กท็ ดลอง เปดิ ตลาดขนาดเล็กในวันเสาร-์ อาทิตย์ บริเวณ หน้าบ้าน และทำ� สวนผกั ผลไมต้ ามหลกั เศรษฐกิจ พอเพียงทห่ี ลงั บา้ น ปรากฏว่าไดร้ ับผลตอบรบั ที่ ดี จงึ มกี ารตอ่ ยอดเปน็ กิจกรรมนำ� ผลผลติ ในสวน มาประกอบอาหารใหน้ กั ท่องเท่ยี วชิม 16

ขณะเดียวกันก็ตอ้ งพัฒนาสินค้าในชุมชนให้ โดดเดน่ และแตกตา่ งจากทอี่ น่ื ๆ โดยเรมิ่ ดว้ ยการผลติ ตะกร้าสานจากเชือกสังเคราะห์ แล้วพัฒนาเปน็ สินค้า อ่นื ๆ อกี มากมาย เช่น แจกัน โคมไฟ ฝาชี นอกจากนี้ ยังมีโครงการ OTOP นวัตวิถี ที่เข้ามาชว่ ยพัฒนา บรรจุภัณฑ์ของสินคา้ ในแตล่ ะหมู่บ้าน ซึ่งสินค้าประจ�ำ ชุมชนคลองพระอุดมท่ีถูกคัดเลือกมีทั้งหมด 10 ชนิด เชน่ โอง่ ผ้าไหม หม่ี สบู่ พวงมาลยั ทชิ ชู่ ตะกร้า ฯลฯ โดย ในชว่ งแรกจดั จำ� หนา่ ยแค่ในชมุ ชน กอ่ นจะขยบั ขยายไป สู่งานอเี วนต์ต่างๆ ภายนอกชุมชน 17

18

การด�ำเนินงานเหลา่ น้ีเกิดขึ้นด้วยความรว่ มมือ รว่ มใจของคนในชุมชน ไม่วา่ จะเปน็ กลุม่ แมบ่ ้าน กลุม่ ผูป้ กครอง ตลอดจนคณะครูโรงเรียนเทศบาล คลองพระอดุ ม ซง่ึ นอกจากจะเผยแพร่องค์ความร้ใู หแ้ ก่ กลมุ่ เครอื ข่ายอ่ืนๆ ภายนอกชุมชนแล้ว ยงั มกี ารอาศัย ชอ่ งทางสื่อมวลชนในการกระจายข้อมลู ขา่ วสารตอ่ ไป อกี เช่น รายการตลาดสดพระราม 4 (ชอ่ ง 3) รายการ ท่ัวถิ่นแดนไทย (ไทยพีบีเอส) ได้ลงมาถา่ ยท�ำและ ท�ำกิจกรรมต่างๆ ไมว่ า่ จะเป็นการชมวิถีชีวิตริมคลอง การปั่นจกั รยาน และการเรยี นรู้จากนาขา้ ว 19

นอกจากน้ี ทางเทศบาลกไ็ ด้มกี ารวางแผนต่อยอด กิจกรรมในอนาคต คอื การท�ำถนนส�ำหรบั ป่นั จกั รยาน จากคลองพระอดุ มถงึ ประตทู ดนำ�้ และการล่องเรอื ขา้ ม จงั หวดั เพอื่ ใหน้ กั ท่องเทยี่ วได้ชมวถิ ชี วี ติ และทศั นยี ภาพ ริมคลองพระอดุ ม อย่างไรก็ตาม ไดม้ ีการสะทอ้ นปญั หาการ ขาดแคลนงบประมาณ ทำ� ให้การพฒั นาพนื้ ทลี่ ่าช้าและ การประชาสมั พนั ธย์ งั ไม่ไดผ้ ลอยา่ งเตม็ ท่ี รวมทง้ั ทกั ษะ ในการพฒั นาสนิ คา้ ของแตล่ ะคนกไ็ มเ่ ทา่ กนั แมจ้ ะไดร้ บั การอบรมเหมอื นกัน แต่จะเหลือผทู้ ตี่ ้ังใจทำ� และมฝี ีมือ ดเี พียงไมก่ ี่คนเท่านั้น 20

21



วดั ทองสะอาด ศนู ย์รวมใจคนคลองพระอดุ ม อีกหนึ่งจุดหมายส�ำคัญเม่ือมาเยือน ชุมชนริมคลองพระอุดม น่ันก็คือ “วัดทอง สะอาด” วัดเก่าแก่ที่อยู่คู่กับต�ำบลแหง่ น้ีมา อยา่ งยาวนานและเป็นพุทธสถานอันศักด์ิสิทธ์ิ ทชี่ าวบ้านในละแวกนตี้ ่างให้ความเคารพนบั ถอื เปน็ อยา่ งย่ิง 23

วัดทองสะอาดตั้งอยูห่ มู่ท่ี 2 ริมคลองพระอุดม ไดร้ ับการกอ่ สรา้ งต้งั แต่ พ.ศ.2436 (สมยั รชั กาลที่ 5) โดยเจ้าฟา้ กรมพระจกั รพรรดพิ งศภ์ วู นาถทรงมอบทดี่ นิ และหน้าทใ่ี นการดแู ลงานกอ่ สรา้ งแกห่ ลวงนรนาถภกั ดี ซงึ่ ขณะนน้ั ดำ� รงตำ� แหนง่ ‘จางวางขนุ ทอง’ และดว้ ยชอื่ ของทา่ นประกอบกบั รปู ลกั ษณ์ของวดั ทดี่ คู ล้ายกระโจม ท�ำใหช้ าวบ้านตา่ งพากนั เรียกวา่ “วัดกระโจมทอง” 24

ในเวลาต่อมา ทางวดั ได้ เปลี่ยนชอื่ ใหม่ โดยนำ� ชือ่ ของ พระอธิการเล็ก งามสะอาด เจ้าอาวาสวัดในขณะนั้นรวม เขา้ ไปด้วย (พ.ศ.2484- 2491) จนกลายเป็น “วดั ทอง สะอาด” อยา่ งที่เรียกขานกัน ในปัจจุบัน 25

เมอื่ เดนิ เข้าไปในวดั จะสัมผัสไดถ้ ึงบรรยากาศท่ี เต็มไปด้วยความสงบร่มเย็นและยังพบกับปูชนียวัตถุที่ นา่ สนใจอกี มากมาย ไม่วา่ จะเปน็ หลวงพ่อพระประธาน สโุ ขทยั ทปี่ ระดษิ ฐานอย่ภู ายในพระอุโบสถ สว่ นท่ีวิหาร มพี ระพทุ ธโสธรจำ� ลอง รปู หล่อสมเดจ็ พระพฒุ าจารย์โต หลวงพ่อดำ� หลวงป่ทู วด หลวงพ่อวัดไรข่ ิง หลวงปจู่ วน และหลวงพ่อครรู ตั นกาสุมาภริ ักษ์ 26

นอกจากนี้ยังมีหอระฆังไมส้ ัก อายุกว่าร้อยปี และที่บริเวณหนา้ วัดจะเห็นผู้คนนิยมน�ำปลามาปล่อย ในล�ำคลอง เนื่องจากเป็นเขตอภัยทานจึงเต็มไปปลา และสัตว์น�้ำนานาสายพันธ์ุ 27

วดั ทองสะอาดไดเ้ ปดิ สอนพระปรยิ ตั ธิ รรม ใน พ.ศ. 2502 และได้มีพระบรมวงศานุวงศ์ หลายพระองค์เสดจ็ มา ณ ทแ่ี หง่ นี้ โดยสมเด็จ พระเจ้าภคนิ ีเธอเจา้ ฟ้าเพชรรตั นราชสุดา เสดจ็ ถวายผ้าพระกฐนิ ใน พ.ศ. 2539 ต่อมา วดั ไดร้ บั พระราชทานวสิ งุ คามสมี า (ทดี่ นิ พระราชทานจากพระเจา้ แผ่นดนิ เพอ่ื ใชใ้ น การสรา้ งพระอุโบสถ) ในวันท่ี 10 กรกฎาคม 2515 และผูกพัทธสีมาในวันท่ี 15 มีนาคม 2525 ซ่ึงสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา้ กรม สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารีได้เสด็จมาทรงเปน็ ประธานตัดลูกนิมิต ดว้ ยพระองค์เอง นอกจากน้ี พระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกลา้ เจ้าอยู่หัววชิราลงกรณ บดินทรเทพยางกูร (ขณะน้ันเปน็ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกฎุ ราชกมุ าร) กย็ งั เคยเสดจ็ มาทรงหลอ่ พระพุทธรปู องค์ดำ� ท่วี ัดด้วยเช่นกัน 28

จากการพูดคยุ กบั ชาวบ้านท�ำใหท้ ราบ วา่ วัดทองสะอาดในปัจจุบันมีช่ือเสียงในดา้ น พระบูชา กุมารทอง และเครื่องรางของขลัง รวมทั้งเปน็ แหล่งรวมตัวของชาวบ้านในวัน สำ� คญั ตา่ งๆ เชน่ วนั วสิ าขบชู า วนั เข้าพรรษา วนั สารทไทย วนั สงกรานต์ ฯลฯ 29

เมื่อถึงวันส�ำคัญในทาง พุทธศาสนาหรืองานประเพณี ตา่ งๆ วัดทองสะอาดก็จะกลาย เป็นจุดรวมตัวของชาวบา้ นท่ีได้ หลั่งไหลกันเขา้ มาท�ำบญุ 30

ประเพณีวันสงกรานตท์ ่ีวัดทองสะอาดมีท้ังการ ทำ� บญุ และการแขง่ ขนั ก่อพระเจดยี ท์ ราย ซง่ึ จะมที งั้ เดก็ วัยรุ่นหนุม่ สาวและคนเฒ่าคนแก่มารว่ มกิจกรรมอยา่ ง อบอนุ่ โดยในชว่ งเช้าจะเปน็ การขนทรายเข้าวดั ซึ่งถอื เปน็ การทำ� บญุ อยา่ งหนง่ึ ส่วนในชว่ งบ่ายจะมกี ารละเลน่ “อีซ้อน” ท่ใี ห้หนุม่ สาวยืนซ้อนกนั เปน็ คู่ คนหนึ่งจะคอย วิ่งไลแ่ ตะตัว อีกคนตอ้ งวิ่งหนีไปซ้อนคู่อ่ืนๆ ซ่ึงสรา้ ง เสยี งหวั เราะและความสนกุ สนานอย่างมาก นอกจากนี้ยังมีการละเล่นอ่ืนๆ ท่ีน่าสนใจ เชน่ มอญซ่อนผา้ ไม้ห่งึ การร�ำวง รวมถึงการกวนกาละแม และการรดน้�ำด�ำหัวญาติผู้ใหญภ่ ายในชุมชน โดยจะมี การแห่กลองยาวไปตามบ้านต่างๆ แตล่ ะบ้านก็จะจัด อาหารไวค้ อยตอ้ นรบั 31



แหล่งนาฏศิลป์ ถน่ิ รำ� มอญ ส่ิงหน่ึงที่ท�ำใหป้ ทุมธานีมีความแตกต่าง จากจังหวัดอ่ืนๆ น่ันก็คือ ศิลปะการร�ำมอญ ซ่ึงถือเปน็ ศาสตร์นาฏศิลป์แขนงหน่ึงอันเป็น เอกลกั ษณ์ของทนี่ ่ี และชมุ ชนคลองพระอดุ มเอง ก็มีการถา่ ยทอดองค์ความรู้ดังกลา่ วที่โรงเรียน วรราชาทนิ ดั ดามาตุวิทยา 33

โรงเรียนแหง่ น้ีเปดิ สอนเมอื่ วนั ท่ี 18 กุมภาพันธ์ 2536 เดิมทีชื่อว่าโรงเรียนมัธยมวัดทองสะอาด เนอื่ งจากใชก้ ฏุ แิ ละศาลาการเปรยี ญของวดั ทองสะอาด เปน็ ที่เรียนชั่วคราว ดว้ ยการสนับสนุนของพระครูรัตน กาสมุ าภิรักษ์ (แฉล้ม อาจิณโณ) มนี ายพิชญ์ สขุ เจรญิ เป็นครใู หญ่คนแรก จากนนั้ พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองค์ เจา้ โสมสวลี พระวรราชาทนิ ดั ดามาตุ ไดท้ รงรบั โรงเรยี น ไว้ในพระอปุ ถมั ภแ์ ละประทานนามใหม่วา่ “โรงเรยี นวร ราชาทินดั ดามาตุวิทยา“ เมอ่ื วันท่ี 4 เมษายน 2538 34

หลงั จากนน้ั พระองค์เสด็จเปิดปา้ ยโรงเรยี น และ ทรงปลกู ตน้ ปารชิ าตซง่ึ เป็นต้นไม้ประจำ� โรงเรยี น ทง้ั ยงั ได้ประทานพระด�ำรัสให้กบั นกั เรยี น ใจความว่า “นักเรียนท้ังหลายไม่ควรที่จะลดละความเพียร พยายามท่ีจะขวนขวายศึกษาวิทยาการต่างๆ ให้ แตกฉาน และกวา้ งขวางย่ิงๆ ข้ึนไป เพ่อื วา่ จะได้เป็นผู้ เพยี บพูนดว้ ยวิชาความรู้ คุณธรรม และสตปิ ญั ญา” ซึ่งนักเรียนทั้งหลายตา่ งก็นอ้ มน�ำพระด�ำรัสของ พระองคท์ า่ นมายึดถือปฏิบัติเปน็ หลักในการศึกษา หาความรู้ ณ โรงเรยี นแหง่ นีต้ ง้ั แตอ่ ดีตจนถงึ ปัจจุบนั “ ปทุมธานีมีชาติพันธุท์ ี่คอ่ นขา้ ง หลากหลาย จีน มอญ ไทย ซ่ึงเรื่อง ความเป็นคนปทุมธานีกับความเป็น นาฏศลิ ป์เหมอื นถกู ปลกู ฝงั หลอ่ หลอม ให้รู้สึกว่าเราอยากรู้ ” 35

คณุ ครมู นญั ชยา เพชรูจี คนปทมุ ธานโี ดยกำ� เนดิ กบั ความเป็นเลศิ ด้านศลิ ปกรรม นาฏศลิ ป์ 36

จุดเริ่มตน้ ของแม่พิมพ์ เสน้ ทางการเปน็ แม่พิมพ์ดา้ นนาฏศิลป์และการ รำ� มอญให้แก่เดก็ ๆ โรงเรียนวรราชาทนิ ัดดามาตุวทิ ยา ของคณุ ครมู นญั ชยา เพชรจู ี หรอื ครมู ารช์ เรม่ิ จากความ เปน็ คนปทุมธานีโดยก�ำเนิดและมีคุณยายเปน็ คนมอญ ทำ� ใหเ้ กดิ การซมึ ซบั วฒั นธรรมประจำ� ท้องถน่ิ โดยไม่รตู้ วั จากความชอบสว่ นตัวกค็ อ่ ยๆ พฒั นาเปน็ องค์ความร้ทู ี่ อยากส่งตอ่ ให้คนรนุ่ ใหม่ คุณครูมาร์ชจบจากจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ดว้ ยเกียรตินิยมอันดบั 1 ก่อนจะไปเป็นครูอาสาทีเ่ มอื ง ลอสแอนเจลสิ สหรัฐอเมริกา 1 ปี เม่ือกลับมาไทยได้ มีโอกาสไปแสดงนาฏศิลป์ในงานหนึ่งและได้รับการ ชกั ชวนให้ไปเปน็ ครทู โ่ี รงเรยี นวรราชาทนิ ดั ดามาตวุ ทิ ยา จนปัจจุบันเขา้ สปู่ ที ่ี 6 แลว้ ส�ำหรับการสอนนาฏศิลป์น้ัน ในชว่ งแรกยังเป็น เพียงวิชาเลือกให้แกเ่ ด็กท่ีสนใจ จนกระท่ังกระทรวง ศึกษาธิการมีโครงการ “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” นาฏศลิ ป์จงึ ถกู บรรจไุ วใ้ นชว่ั โมงดงั กลา่ ว เมอื่ พฒั นาไป ได้ 4-5 ปี ก็ได้รับโอกาสจากผ้บู รหิ ารโรงเรยี นโดยการ ยกใหเ้ ป็น “Best Practice” (กิจกรรมหรอื โครงงาน 37

ซ่ึงเปน็ จดุ เดน่ ทส่ี ดุ ประจ�ำโรงเรยี น) ประจ�ำปีล่าสดุ เพอื่ เชอื่ มโยงกบั เอกลกั ษณ์ของโรงเรยี นทวี่ ่า “แต่งกายดี วจี ไพเราะ บม่ เพาะคณุ ธรรม อนรุ กั ษ์ศลิ ปวฒั นธรรมไทย” จะเห็นได้วา่ การพัฒนาองคค์ วามรูเ้ ร่ิมต้นจาก ความสนใจและความรู้สกึ ร่วมไปกบั สง่ิ นน้ั จนเม่ือเรามี พนื้ ฐานทด่ี ีกจ็ ะสามารถแสดงออกมาใหค้ นอ่ืนประจกั ษ์ และเกิดการยอมรบั ทงั้ นี้ ต้องอาศยั เวลาและการฝกึ ฝน ดังเชน่ การสอนนาฏศิลป์และร�ำมอญท่ีใชเ้ วลาหลายปี กว่าจะกา้ วส่กู ารเปน็ กิจกรรมเดน่ ของโรงเรยี น “ คนปทุมธานีมีวัฒนธรรม ท่ีอาจจะแตกต่างจากท่ีอื่น คือ เวลามีงานศพหรืองานร่ืนเริง เขาจะเลน่ ร�ำมอญ จนท�ำให้ กลายเป็นอาชีพได้ ” 38

การถ่ายทอดวิชา หลักการงา่ ยๆ คือ เคยไดร้ ับการถา่ ยทอดวิชา มาอยา่ งไร ก็สง่ ตอ่ ความรูท้ ั้งหมดใหแ้ กเ่ ดก็ ๆ โดยไม่มี ปดิ บงั ไมว่ า่ จะเป็นเรอื่ งของกระบวนท่ารำ� วธิ ปี ฏบิ ตั ติ น เมอื่ อย่บู นเวทแี สดง ตลอดจนการแก้ปัญหาเฉพาะหนา้ แต่เนอ่ื งจากพนื้ ฐานของเดก็ แต่ละคนไม่เทา่ กนั ครมู ารช์ จงึ วางแนวทางในการสอน 2 ลักษณะ ไดแ้ ก่ 1) เด็กท่ัวไปท่ีเรียนในวิชาพื้นฐาน อาจจะ ไม่มีความสามารถท่ีโดดเด่นมากนัก ก็จะเน้นเร่ือง คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ เชน่ ความเป็นไทย มวี ินัย ความใฝ่รใู้ ฝเ่ รียน ความคิดสร้างสรรค์ ฯลฯ 2) เด็กทมี่ ีความสามารถพเิ ศษทางนาฏศลิ ป์ ยิง่ หากมคี วามอดทน ฉลาด พร้อมทจี่ ะเรยี นรู้ มีความรกั และอยากจะไปในดา้ นนี้ใหส้ ุด ครูมารช์ ก็จะผลักดันให้ ไดม้ ากทีส่ ุด ในขั้นน้ีจะเห็นกระบวนการทดลองและประเมิน ผล ซึ่งถูกดงึ มาใชเ้ ปน็ เคร่ืองมือวดั ระดบั ความสามารถ ของผูเ้ รียน แล้วไปสู่ข้ันตอนการถา่ ยทอดองค์ความรู้ ท่ีเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายแตล่ ะกลุ่ม ซึ่งแน่นอนวา่ ผลลพั ธ์ทไ่ี ด้ก็ย่อมแตกตา่ งกันไปดว้ ย 39

นอกจากงานสอนในโรงเรียนแลว้ ครูมารช์ ยัง ไดร้ ับแสดงตามงานตา่ งๆ เพื่อเก็บเกี่ยวประสบการณ์ แสดงใหเ้ ห็นว่าแม้จะมีวิชาความรูแ้ ลว้ ก็ตาม แต่ตอ้ ง ไมห่ ยุดพัฒนา เพ่ือเพ่ิมพูนสิ่งที่มีอยู่แล้วให้ดีย่ิงขึ้นไป อีก ทั้งยังเปดิ โอกาสใหม่ๆ ท่ีจะเปน็ ประโยชนใ์ นดา้ น ตา่ งๆ ท�ำให้ครูมารช์ มีโอกาสไดถ้ า่ ยทอดความรู้ใหแ้ ก่ คุณน้�ำฝน-พัชรินทร์ ศรีวสุภิรมย์ (นักแสดง) อีกดว้ ย เทา่ กับได้กระจายความรใู้ หก้ ว้างขวางย่ิงขน้ึ “ เดก็ ไมต่ อ้ งร�ำสวยมาก แตต่ ้อง เป็นคนเกง่ ดี มีความสุข รู้จักงาน ศิลปะ และภูมิใจที่เราเป็นคนไทย ยิ่งเปน็ คนปทุมก็จะย่ิงภูมิใจวา่ เรามี ”ชาติพันธทุ์ แี่ ข็งแกรง่ เร่อื งร�ำมอญ 40

“ เราเป็นครู ความสุขที่สุดคือการ ไดเ้ ห็นเด็กอยูบ่ นเวที งามเพียบพร้อม เหมือนที่เราคิดไว้ หรือท่ีเราได้รับการ ถา่ ยทอด มันเปน็ ความรู้สึกภูมิใจ ” 41

42

43

ขยายผลและตอ่ ยอด เมอ่ื ทำ� การสอนและฝึกหดั เดก็ แลว้ กไ็ ปส่ขู นั้ ตอน การต่อยอดความรู้ ซง่ึ แบ่งเป็น 3 ลกั ษณะด้วยกัน คอื 1) การแขง่ ขนั ชงิ รางวลั เชน่ การแขง่ ขนั นาฏศลิ ป์ ไทยสรา้ งสรรคห์ รือนาฏศิลปไ์ ทยอนุรักษ์ ในงานศิลป หัตถกรรมนักเรียน ซ่ึงเคยไดร้ ับรางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 2 ประจ�ำปี พ.ศ.2561 ในระดับประเทศ รวมถงึ ตดิ อันดับ 1 ใน 10 ระดบั ภูมิภาคอยา่ งตอ่ เนือ่ ง แม้จะไมใ่ ชก่ ารประกวดร�ำมอญโดยตรง แต่ครูมาร์ชก็ พยายามสอดแทรกรำ� มอญเข้าไปเปน็ ส่วนหนง่ึ ของการ แสดงอยเู่ สมอ 2) การหารายไดเ้ สรมิ เมอ่ื เดก็ มฝี ีมอื มากพอแลว้ ครูมารช์ ก็พาไปร�ำมอญในงานตา่ งๆ เช่น งานเฉลิม ฉลองครบรอบ 200 ปี ของจงั หวดั ปทมุ ธาน,ี งานเฉลมิ พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษกทศ่ี าลากลางจงั หวดั ปทมุ ธานี ตลอดจนงานของเครอื ข่ายร�ำมอญในจงั หวัด เช่น งาน อีเวนต์ ร�ำสลับสวด รำ� หนา้ ไฟ งานสงกรานต์ ฯลฯ ซึง่ เด็กก็จะมีคอนเนคช่ันและไดร้ ับการติดตอ่ ใหแ้ สดงใน งานตอ่ ๆ ไป โดยทีไ่ ม่ต้องผา่ นครมู ารช์ 44

3) การศึกษาตอ่ ในสาขาที่เก่ียวขอ้ ง เช่น คณะ ศิลปกรรมศาสตร์ ซึ่งเด็กส่วนใหญจ่ ะมีประสบการณ์ และผลงานส�ำหรับย่ืนตอ่ สถาบันอุดมศึกษาอยูแ่ ล้ว แน่นอนวา่ เด็กสว่ นหนึ่งก็มุ่งมั่นท่ีจะเปน็ ครูนาฏศิลป์ ท�ำให้กระบวนการถา่ ยทอดและตอ่ ยอดองคค์ วามรู้ ดำ� เนนิ ไปแบบไมม่ ที ี่ส้ินสดุ 45

“ นาฏศิลป์ไทยเป็นส่ิงท่ีโชว์ ได้ อวดได้ สามารถน�ำไปพูดกับ ใครก็ไดว้ ่าเราเปน็ คนไทย เรามี ของแบบนอี้ ย่ใู นตวั กอ็ ยากให้เกิด ความภาคภูมิใจและชว่ ยกันท�ำนุ บ�ำรุงรักษานาฏศิลปไ์ ทยไว้ ” 46

47



พัฒนาพันธ์ขุ า้ ว เพอื่ ความยงั่ ยนื “เมล็ดพันธุท์ ่ีดีก็เริ่มต้นจากสายพันธุ์ดี ก่อน มกี ระบวนการทดี่ ใี นการนำ� ไปส่เู มลด็ พนั ธ์ุ ทีด่ ี และมรี ะบบจดั การขยายเมลด็ พันธ์ทุ ดี่ ”ี 49

กำ� นนั สามารถ อัดทอง (คนกลาง) ก�ำนันดีเดน่ ผพู้ ฒั นาพันธุข์ า้ ว หากเอย่ ชื่อก�ำนันสามารถ อัดทอง ก็เชื่อได้วา่ ชาวบา้ นส่วนใหญร่ ้จู กั กนั เปน็ อยา่ งดี เพราะนอกจากเขา จะเป็นกำ� นนั ดเี ด่นประจำ� ปี พ.ศ. 2561 ของตำ� บลคลอง พระอดุ มแลว้ เขายงั เป็นผพู้ ฒั นาพนั ธ์ขุ ้าวคนสำ� คญั ของ ชุมชนแห่งน้ีดว้ ย โดยเขาไดก้ ่อต้ังแบรนด์สมารท์ ไรซ์ (Smart Rice) เปน็ ศูนย์กลางการจำ� หนา่ ยเมล็ดพนั ธุ์ ทีด่ ีใหแ้ กเ่ กษตรกร มาเป็นเวลากว่า 10 ปีแลว้ 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook