Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ถอดบทเรียน บ้านเขาสารภี New

ถอดบทเรียน บ้านเขาสารภี New

Published by learnoffice, 2021-02-05 03:39:01

Description: ถอดบทเรียน บ้านเขาสารภี New

Search

Read the Text Version

“หมูบ านตวั อยา ง 4 ดี วิถพี อเพียง” บา นเขาสารภี หมูที่ 3 ตำบลทับพริก อำเภออรญั ประเทศ จงั หวัดสระแกว จังหวัดสระแกว รวมกบั มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชปู ถัมภ สระแกว ภายใตโ ครงการสระแกว เมืองแหงความสขุ ดวยวถิ พี อเพียง กจิ กรรมพฒั นาศูนยก ารเรยี นรสู ระแกว 4 ดี วถิ พี อเพยี ง



บา้ นเขาสารภี

“หมบู่ ้านตัวอย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพียง” บา้ นเขาสารภี หมทู่ ี่ 3 ต�ำบลทบั พรกิ อำ� เภออรญั ประเทศ จังหวดั สระแกว้ ข้อมูลทางบรรณานกุ รมของหอสมุดแหง่ ชาติ เฉลิมพงษ์ จนั ทร์สุขา. หมบู่ ้านตัวอย่าง 4 ดี วิถีพอเพียง หมู่ท่ี 3 ต�ำบลทบั พริก อ�ำเภออรญั ประเทศ จงั หวัดสระแกว้ . -- พิมพ์ครง้ั ท่ี 2. -- สระแกว้ : มหาวทิ ยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ สระแก้ว, 2564. 116 หน้า. 1.การพฒั นาชุมชน. 2. เศรษฐกิจพอเพียง. I. ช่อื เร่อื ง. 307.14 ISBN 978-616-16-2498-9 สงวนลขิ สทิ ธิต์ ามราชบญั ญตั ิ ห้ามท�ำการลอกเลยี นแบบไมว่ า่ ส่วนใดสว่ นหนึ่งของหนงั สือเลม่ นี้ นอกจากจะได้รบั อนุญาต พมิ พ์ครง้ั ที่ 2 มกราคม 2564 บรรณาธกิ ารอำ� นวยการ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สพุ จน์ ทรายแก้ว รองศาสตราจารย์ ดร.นฤมล ธนานันต์ อาจารยป์ ยิ ะ สงวนสิน ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์เศกพร ตนั ศรปี ระภาศริ ิ ผู้จดั ท�ำ อาจารยเ์ ฉลมิ พงษ์ จันทร์สขุ า ศลิ ปกรรม พจิ ิตร พรมลี ออกแบบปก พิจิตร พรมลี ประสานงานการผลิต อาจารย์เฉลิมพงษ์ จนั ทร์สุขา จดั พมิ พ์โดย มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สระแก้ว เลขท่ี 1177 หม่ทู ี่ 2 ต�ำบลท่าเกษม อ�ำเภอเมืองสระแกว้ จังหวัดสระแกว้ 27000 โทรศัพท์ : 037-447-111 http://www.sk.vru.ac.th พมิ พท์ ่ี บริษทั ดไี ซน์ ดีไลท์ จ�ำกัด เลขที่ 69/18 หม่ทู ี่ 7 ถนนรตั นาธิเบศร์ ตำ� บลเสาธงหิน อ�ำเภอบางใหญ่ จังหวดั นนทบุรี 11140 โทรศพั ท์ 089-812-2140 “หมูบ่ ้านตวั อย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง”

บ้านเขาสารภี 1

สารบัญ 4 8 บทน�ำ 38 ประวตั ิบา้ นเขาสารภ ี 55 ขอ้ มลู พน้ื ฐานบ้านเขาสารภี 60 การวเิ คราะห์ SWOT ระดบั ต�ำบล 63 กระบวนการศึกษาบริบทชุมชน 64 ข้นั ตอนการส�ำรวจขอ้ มูลชมุ ชน 68 การศึกษาชมุ ชนด้วย เครอ่ื งมือตน้ ไมป้ ัญหา กระบวนการจัดท�ำธรรมนญู ชุมชน 70 ประเดน็ การถอดบทเรียน 72 - มิตดิ า้ นสงั คม 74 - มติ ดิ า้ นการเมอื ง 76 - มิติด้านเศรษฐกจิ 78 - มติ ิดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม 80 - มิติดา้ นเทคโนโลยี กระบวนการคน้ หาบคุ คลตน้ แบบ 2 “หมบู่ า้ นตวั อย่าง 4 ดี วิถพี อเพียง”

บทวเิ คราะหเ์ ชงิ พื้นที ่ 96 - ระดับบุคคล (คนด,ี สุขภาพดี) 96 - ระดบั ครวั เรือน (รายไดด้ ี) 100 - ระดับชุมชน (ส่ิงแวดล้อมดี) 102 กระบวนการจดั ทำ� แผนพฒั นาชมุ ชน 104 บทสรุป 106 ข้อเสนอแนะ 109 บ้านเขาสารภี 3

บทนำ� จังหวัดสระแก้ว มีนโยบายพัฒนา “สระแก้วเมืองแห่งความ สขุ ภายใต้ 4 ดี วิถพี อเพยี ง” (Sa Kaeo Happiness Model) โดยให้ ประชาชนเป็นศูนย์กลาง สร้างความสุข ด้วยการเป็น คนดี สุขภาพดี รายได้ดี และสงิ่ แวดล้อมดี ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง โดยนำ� หลักปรัชญาดังกล่าวมาใช้ขับเคลื่อนแบบสามเหล่ียมเขยื้อนภูเขา คือ 1. การใช้องค์ความรู้หรือวิชาการโดยภาคราชการและภาควิชาการ 2. การใชพ้ ลังประชาสังคม ทีเ่ ป็นภาคตี ่าง ๆ ได้แก่ บา้ น วัด โรงเรยี น สถานีอนามัย/โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล องค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ิน และ 3. การก�ำหนดเป็นนโยบายสาธารณะระดับองค์กร ปกครองส่วนทอ้ งถิน่ กระบวนการทำ� งานท่ีต้องเน้นการบูรณาการ งาน คน และการ จัดการร่วมกัน โดยเร่ิมด�ำเนินการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2556 มีพ้ืนท่ี น�ำร่อง เต็มรูปแบบอ�ำเภอละ 1 ต�ำบล ต�ำบลที่เหลือให้น�ำนโยบายไป ปรับใช้ตามบริบท และมีปรับปรุงกระบวนการพัฒนาแบบมีส่วนร่วม กับพ้ืนท่ีเพื่อให้สอดคล้องกับบริบทอย่างต่อเน่ือง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 เพ่มิ พน้ื ที่เปา้ หมายโดยความสมัครใจ รวมท้ังสิ้น 33 ตำ� บล และ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 มีนโยบายเน้นพัฒนาระบบให้มีคุณภาพ ในพ้ืนที่เป้าหมายเดิม และให้ต�ำบลที่เหลือน�ำรูปแบบไปพัฒนาตาม บรบิ ทของพนื้ ท่ี 4 “หมู่บ้านตวั อยา่ ง 4 ดี วิถพี อเพยี ง”

บ้านเขาสารภี 5

มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สระแก้ว ในฐานะที่เป็นภาคีภาควิชาการในพ้ืนที่จังหวัดสระแก้วตามแนวคิดการ ขับเคลื่อนแบบสามเหล่ียมเขย้ือนภูเขาที่กล่าวมาแล้วข้างต้น จึงร่วม ขับเคลื่อนนโยบาย “สระแกว้ เมอื งแหง่ ความสขุ ภายใต้ 4 ดี วิถพี อเพียง” (Sa Kaeo Happiness Model) ผ่านรูปแบบการด�ำเนินกิจกรรม เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน นอกจากนั้นยัง ส่งเสริมให้เกิด การวิจัยเพ่ือพัฒนาท้องถิ่น (Research and Development) ในเชิงพ้ืนท่ี 6 “หมู่บ้านตวั อย่าง 4 ดี วิถีพอเพยี ง”

อีกด้วย การด�ำเนินการดังกล่าวนั้น มีความสอดคล้องกับทิศทางและ ยุทธศาสตรด์ า้ นการวจิ ยั ของมหาวทิ ยาลัยฯ (2560 - 2564) ในเป้าหมายที่ 2 วิจัยนวัตกรรมเพ่ือการแก้ไขปัญหาท้องถิ่น ซึ่งถือเป็นพันธกิจส�ำคัญของ มหาวิทยาลัยที่จะต้องด�ำเนินการร่วมกันกับภาคีเครือข่ายต่าง ๆ เพ่ือให้ สามารถสร้างองค์ความรู้อันจะน�ำไปสู่การขยายผลสู่ชุมชนท้องถ่ินต่าง ๆ ทั้งในจังหวัดสระแก้วและจังหวัดอ่ืน ๆ ต่อไปเพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ “มั่งคง มั่งคั่ง ยงั ยืน” บา้ นเขาสารภี 7

ประวตั บิ า้ นเขาสารภี หมู่ที่ 3 ตำ� บลทับพริก อำ� เภออรญั ประเทศ จังหวดั สระแก้ว บา้ นเขาสารภี เร่ิมก่อตัง้ เมอื่ ปี พ.ศ. 2506 ข้นึ ตรงต่อ ต�ำบลคลองน�ำ้ ใส อ�ำเภออรัญประเทศ จงั หวัดปราจีนบรุ ี เดมิ ชาวบา้ นอาศยั อย่ทู บี่ ้านทับวงั มน แต่เน่ืองจากเกิดสงครามในกัมพูชาท�ำให้ชาวบ้านอพยพครัวเรือนมาต้ัง ถิ่นฐานอยู่ที่บ้านเขาสารภีในปัจจุบัน พ้ืนท่ีบริเวณป่าบนภูเขาใกล้หมู่บ้าน มีต้นไม้ที่มีรูปร่างคล้ายทัพพี จึงได้ตั้งช่ือหมู่บ้านว่าบ้านเขาสารภี ในปี พ.ศ. 2526 บ้านเขาสารภีได้ต้ังเป็นหมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง และในปี พ.ศ. 2527 ได้รบั รางวลั การประกวดหม่บู า้ น รองชนะเลศิ ระดับ จงั หวดั ปราจีนบรุ ี 8 “หมบู่ า้ นตัวอย่าง 4 ดี วถิ พี อเพียง”

ทตี่ ั้ง อาณาเขตติดตอ่ และสภาพทางกายภาพของหมู่บ้าน บา้ นเขาสารภี มอี าณาเขตตดิ ต่อกับพน้ื ทต่ี ่าง ๆ ดงั นี้ ทิศเหนือ จรด อ�ำเภออรญั ประเทศ ทิศใต้ จรด อ�ำเภอคลองหาด ทิศตะวันตก จรด อ�ำเภอคลองหาด ทศิ ตะวันออก จรด อ�ำเภอคลองหาด ลักษณะทางกายภาพของหมบู่ ้านโดยทว่ั เปน็ ท่ีราบสูงภูเขา การต้ัง บ้านเรือนของชาวบ้านจะตั้งบ้านเรือนตามเส้นทางคมนาคมสาย อรัญ – คลองหาด บา้ นเขาสารภี 9

10 “หม่บู ้านตวั อย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง”

บ้านเขาสารภีมีวัดเขาสารภีประจ�ำหมู่บ้านซึ่งเป็นท่ี เคารพของสมาชิกในชุมชนก่อตั้งปี พ.ศ. 2512 มีพระภิกษุ อยู่ท่ีวัดจ�ำนวน 5 รูป ปัจจุบัน วัดเขาสารภี อยู่ในช่วงของ การด�ำเนินการขออนุญาตจัดต้ังวัดให้ถูกต้องตามกฎหมาย คือโรงเรียนในชุมชน โรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดน บา้ นเขาสารภี หมู่ 3 ต.ทับพริก อ.อรัญประเทศ จ.สระแกว้ ก่อตั้งปี พ.ศ. 2513 โดยความร่วมมือระหว่างชาวบ้าน บ้านทับวังมนและกองก�ำกับต�ำรวจตระเวนชายแดนที่ 12 เดิมโรงเรียนแห่งนี้ต้ังอยู่ที่บ้านทับวังมน แต่เน่ืองจาก ทหารเวียดนามและเขมรแดงได้เข้ามาปล้นสะดมในหมู่บ้าน เป็นผลให้ชาวบ้านอพยพย้ายถิ่น จนกระทั่งได้มาต้ังถ่ินฐาน ที่บ้านเขาสารภี และต่อมาก็ได้ย้ายโรงเรียนมาต้ังที่บ้าน เขาสารภีในปัจจุบันน้ี ในชุมชนบ้านเขาสารภีมีสถานอี นามยั มี 1 แห่ง โดยมี เจ้าหน้าที่ให้บริการท่ีสถานีอนามัยบ้านคลองหว้า ทางด้าน สุขภาพของประชาชน ส่วนใหญ่มีปัญหาโรค ไข้เลือดออก และมาลาเรีย เน่ืองจากมีปัญหาเร่ืองการแพร่ระบาดของ ยุงลายและยุงก้นปล่อง ซ่ึงได้รับการสนับสนุนงบประมาณ จาก อบต. ในการด�ำเนินการเพ่ือควบคุมและป้องกันโรค นอกจากนี้ก็ยังมีปัญหาในเรื่องของยาเสพติดและโรคเอดส์ ทีก่ ำ� ลงั แพรร่ ะบาดเขา้ มาเปน็ จ�ำนวนมาก บา้ นเขาสารภี 11

อเปาน็ชอีพยแา่ ลงะไรร.า..ยไดข้ องบา้ นเขาสารภี อาชีพหลักของชาวบ้านสารภี ได้แก่ อาชีพรับจ้าง โดยมีรายได้ 13,000 บาท/คน/ปี ซ่ึงยังไม่ได้หักค่าใช้จ่ายใด ๆ นอกจากน้ียังท�ำการ เกษตรอ่ืน ๆ ได้แก่ การเล้ียงสุกร การเล้ียงไก่ ท�ำไร่ เล้ียงเป็ด เลี้ยงโค ซึ่ง รายไดโ้ ดยเฉล่ยี จากอาชพี เสรมิ ทั้งหมดของคนในหมู่บา้ นคือ 13,000 บาท/ คน/ปี ซง่ึ ยงั ไม่ไดห้ ักคา่ ใช้จา่ ยใด ๆ 12 “หมบู่ า้ นตวั อยา่ ง 4 ดี วถิ พี อเพยี ง”

การปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน บ้านเขาสารภี ก่อต้งั เมอ่ื ปี พ.ศ. 2506 ปจั จุบนั มบี คุ คลที่ดำ� รงตำ� แหนง่ ต่าง ๆ น้ี 1. ผ้ใู หญบ่ ้าน ไดแ้ ก่ นางประนอม ลือค�ำหาญ 2. อบต. ไดแ้ ก ่ นายบญุ เลิศ เงางาม และ นางคำ� เวยี ง จอมรตั น์ บ้านเขาสารภี 13

สงั คมและวฒั นธรรมบา้ นเขาสารภี บ้านเขาสารภีเป็นชุมชนที่มีความเข้มแข็ง มีการช่วยเหลือเก้ือกูลกัน แตใ่ นช่วงปี พ.ศ. 2526 มีการเปล่ยี นแปลงวิถชี ีวติ ท่สี �ำคญั ทำ� ใหช้ ีวิตเกษตร เปล่ียนจากเจ้าของที่ดินมาเป็นลูกจ้าง เน่ืองจากการหล่ังไหลของนายทุน เข้ามากวาดซ้ือที่ดินของชาวบ้านและจากการหลั่งไหลของวัฒนธรรมจาก ภายในและภายนอก ท�ำให้ในปัจจุบันชาวบ้านมีการช่วยเหลือเก้ือกูล กันน้อยลงมีการด้ินรนเพ่ือเล้ียงชีพมากขึ้น ชาวบ้านว่างงานกันมากขึ้น เน่ืองจากมีแรงงานต่างชาติราคาถูกเข้ามานอกจากนี้ก็ยังมีการแพร่หลาย 14 “หมบู่ ้านตวั อย่าง 4 ดี วถิ พี อเพยี ง”

ของยาเสพติดและโรคเอดส์ที่มีอัตราสูงขึ้นด้วยวิถีของชุมชน การด�ำเนิน ชีวิตของประชาชนเป็นวิถีชีวิตแบบของเกษตรกรรมและรับจ้างต้องด้ินรน ต่อสู้กับความยากจน ไม่มีการวางแผนในการจัดการทรัพยากร (ทุน) ของชุมชนที่มีประสิทธิภาพ วัฒนธรรมสมัยใหม่หล่ังไหลสู่ชุมชนส่งผลให้ ชาวบา้ นปรับตวั ไมท่ นั ส�ำหรับประเพณีและวฒั นธรรม ชว่ งวันสำ� คญั ตา่ ง ๆ มีการจัดกิจกรรมเวียนเทียนเป็นประจ�ำทุกปี นอกจากน้ีมีการแนะน�ำ สาธุชน ประจ�ำวนั พระ ขนึ้ 8 ค�่ำ, แรม 8 คำ�่ , ขึน้ 15 คำ่� และแรม 14 - 15 ค�่ำ บา้ นเขาสารภี 15

ประวัตคิ วามเปน็ มาของต�ำบลทับพริก เปน็ อยา่ งไร... ประวัติศาสตร์ต�ำบลทับพริก ได้มาจากค�ำบอกเล่าของคนในชุมชน ที่อยู่อาศัย ในพื้นที่ ตั้งแต่ช่วงเริ่มจัดต้ังหมู่บา้ นและชาวชุมชนท่ีเป็นคนรุ่น ลูกหลานที่ช่วยกันเล่าเรื่องราวของหมู่บ้าน ท้ังจากประสบการณ์ตรงและ จากท่ีได้ยินมา ประวัติศาสตร์ต�ำบลทับพริกแบ่งออกเป็นยุคต่าง ๆ ตาม การเปล่ียนแปลงท่ีเกดิ ขึน้ ในหมู่บ้าน เป็น 8 ยุค คือ 16 “หมู่บ้านตัวอย่าง 4 ดี วถิ พี อเพียง”

ยคุ ท่ี 1 “บกุ เบิก” (พ.ศ. 2503 - 2507) ยุคท่ี 2 “ต้ังชุมชน” (พ.ศ. 2507 - 2517) ยคุ ท่ี 3 “อพยพ” (พ.ศ. 2517 - 2520) ยคุ ที่ 4 “กลบั ถ่นิ - ฟนื้ ฟู - ต่อสู้ - พัฒนา” (พ.ศ. 2 5 2 1 - 2 5 3 0 ) ยุคที่ 5 “ยคุ สงครามสงบกลับสรู้ บเศรษฐกิจ” (พ.ศ. 2 5 3 1 - 2 5 3 7 ) ยคุ ที่ 6 “ร่วมใจพฒั นา - แก้ปัญหาสังคม” (พ.ศ. 2537 - ปจั จบุ ัน) ยคุ ที่ 7 “การจดั การตนเอง” (พ.ศ. 2546 - 2552) ยคุ ท่ี 8 “เปิดพ้นื ที่แหลง่ การเรียนรูส้ ู่สังคมสขุ ภาวะ” (พ.ศ. 2553 - ปจั จุบัน) บา้ นเขาสารภี 17

ยคุ ท่ี 1 “บุกเบิก” (พ.ศ. 2503 - 2507) ก่อนปี พ.ศ. 2503 บริเวณต�ำบลทับพริกเป็นป่าทึบ ต่อมาในปี พ.ศ. 2503 ชาวบ้านหมู่ 7 ต�ำบลคลอองน�้ำใส ซ่ึงเป็นชาวญ้อ ประมาณ 3-5 ครอบครวั โดยนายชา บญุ แถม (ผู้นำ� ชมุ ชนในยคุ นัน้ ) อพยพลงมาแล้ว ตั้งเป็นที่อยู่อาศัย และท�ำการเกษตรอยู่ในบริเวณนี้ ในช่วงเวลาท่ีใกล้เคียง กันนั้น บริษัทพานทองซ่ึงได้สัมปทานตัดไม้ในบริเวณนี้ เข้ามาพร้อมกับ ลูกจ้างตัดไม้ ซึ่งเป็นชาวส่วยจากหมู่ท่ี 12 ต�ำบลคลองน้�ำใส กลุ่มลูกจ้าง ท่ีเข้ามานี้ ได้มาสร้าง “ทับ” ซึ่งหมายถึงเพิงพักอาศัยและปลูกต้นพริกไว้ ทพี่ กั จงึ ได้ต้ังช่อื วา่ “ทบั พรกิ ” 18 “หมบู่ า้ นตวั อย่าง 4 ดี วิถพี อเพียง”

ผู้อพยพเข้ามาอยู่ในบริเวณน้ีมีมากขึ้นรวมประมาณ 22 ครัวเรือน ชาวบ้านเข้ามารับจ้างตัดไม้ท�ำไร่ข้าวโพดและปลูกฝ้าย เนื่องจากพื้นดิน บรเิ วณนี้ไมเ่ หมาะสมกบั การท�ำนา ชาวบ้านเอาฝ้ายไปขายและน�ำไปซือ้ ข้าว รวมทงั้ ปจั จัย 4 จากบริเวณทศิ เหนือของต�ำบลคลองนำ้� ใส บา้ นเขาสารภี 19

ยุคท่ี 2 “ตั้งชมุ ชน” (พ.ศ. 2507 - 2517) เมื่อมีผู้อยู่อาศัยในชุมชนมากข้ึนชาวบ้านจึงใช้ชื่อหมู่บ้านว่า “บ้านทับพริก” หมู่ที่ 12 ขึ้น ต�ำบลคลองน้�ำใส มีผู้ใหญ่บ้านคนแรกคือ นายพรม เชื้อค�ำศรี เน่ืองจากผลจากการตัดไม้ของบริษัทท่ีได้สัมปทาน ท�ำให้ป่าไม้หมดไปและชาวบ้านท�ำการเกษตรมากข้ึนพื้นที่ป่าถูกเปลี่ยน มาเป็นพน้ื ท่ีเกษตรกรรม มีคนอพยพเข้ามาในชุมชนมากขึ้น ในปี พ.ศ. 2508 มีการต้ังโรงเรียน 2 โรง คือโรงเรียนทับวังมนและ โรงเรียนทับพริก มีการสร้างส�ำนักสงฆ์ทับพริกผู้คนต้ังถ่ินฐานอยู่บริเวณ ทศิ ตะวนั ออกของตำ� บลในปัจจุบันซง่ึ ติดกบั ชายแดน 20 “หมูบ่ ้านตวั อย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง”

ปี พ.ศ. 2509 เม่ือวันที่ 9 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2509 สมเด็จ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงเสด็จพระราชด�ำเนินมา ณ ต�ำบล ทบั พรกิ บรเิ วณโรงเรยี นสระปทมุ (เดิม) ซ่งึ ขณะน้ันมเี น้อื ทป่ี ระมาณ 19 ไร่ 2 งาน พระองค์ทรงจารึกพระนามไว้บนป้ายทองเหลือง ซึ่งปัจจุบันอยู่ที่ โรงเรียนสระปทุม บา้ นเขาสารภี 21

ช่วงปี พ.ศ. 2515 - 2516 กลุ่มท่ีอพยพเข้ามาอยู่อาศัยและท�ำกิน ในต�ำบลทับพริกช่วงนี้คือ ญาติคนรู้จักของชาวต�ำบลทับพริกท่ีได้ข่าวแบบ ปากต่อปากว่า ท่ีนี่มีพื้นที่การเกษตรอยู่มาก ที่ยังไม่มีการจับจอง ผู้คนจาก จังหวัดต่าง ๆ ในภาคกลาง เช่น ลพบุรี สระบุรี และจากจังหวัดใกล้เคียง 22 “หมู่บา้ นตวั อยา่ ง 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง”

เช่น ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา นอกจากนี้ยังมีชาวบ้านจากภาคอีสาน เข้ามาอย่บู รเิ วณนีด้ ว้ ย หลังจากผูใ้ หญบ่ า้ นคนแรกเสียชีวิตประมาณปลายปี พ.ศ. 2518 นายช้อย ท�ำกิจการ เป็นผู้ใหญ่บ้านคนที่ 2 ต้ังแต่วันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2518 บ้านเขาสารภี 23

ยคุ ท่ี 3 “อพยพ” (พ.ศ. 2517 - 2520) พ.ศ. 2517 - 2518 ชาวบ้านเล่าว่ามีทหารจากกาญจนบุรี มาสร้าง ถนนลูกรังผ่านต�ำบลทับพริก ท�ำให้การเดินทางสะดวกข้ึนมีผู้คนอพยพ เข้ามาในพื้นที่เพิ่มข้ึน ส่วนอาชีพหลักของชาวชุมชนทับพริก ในช่วงแรก ชาวทับพริกนิยมปลูกข้าวโพดและฝ้าย ต่อมามีการเร่ิมปลูกพืชเศรษฐกิจ อื่น ๆ เช่น มันส�ำปะหลัง ถั่วเหลือง และถ่ังเขียว เป็นต้น ช่วงนี้เป็นอีก ช ่ ว ง ห นึ่ ง ที่ เ กิ ด ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ค ร้ั ง ส� ำ คั ญ ข อ ง ต� ำ บ ล ทั บ พ ริ ก คื อ เมื่อ 17 เมษายน พ.ศ. 2517 สงครามในประเทศกัมพชู า แบง่ เป็น 2 ฝา่ ย คือ ฝ่ายกัมพูชาหรือเขมรแดง และฝ่ายเวียดนาม โดยเขมรแดงได้ปกครอง กมั พชู าและในปนี ้นั มที หารเขมรแดงมากอ่ ต้งั กองทัพอยู่ฝัง่ เขมร ตรงกบั บา้ น ทับวังมน ประกอบกับขณะนั้นมีการก่อตัวของคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย 24 “หมบู่ า้ นตัวอย่าง 4 ดี วถิ พี อเพียง”

และได้เข้าร่วมมือกับเขมรแดง เขมรแดงได้เข้ามาตั้งฐานทัพตรงข้ามกับ ประเทศไทย ท่ีทับวังมน จนถึงปี พ.ศ. 2519 สถานการณ์ทวีความรุนแรง ขนึ้ มีทหารเขมรแดงบุกเข้ามาถึงชายแดนไทย 4 ชมุ ชน คือ บา้ นสแ่ี ยกทันใจ บ้านทับวังมน บ้านเขาสารภี บ้านคลองหว้า และบ้านทับพริก เหตุการณ์ ท่ชี าวบ้านจำ� ได้อยา่ งแม่นยำ� คอื วันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520 ทหารเขมรแดง เผาท�ำลายวัด ท่ีอยู่อาศัย ชาวบ้านต้องอพยพถอยออกจากบริเวณชายแดน บรเิ วณดงั กลา่ วเปน็ ทรี่ า้ งทมี่ ที หารตำ� รวจไทยเขา้ มารกั ษาความสงบหา่ งจาก ชายแดนและพื้นท่ีชายแดนตลอดแนวเป็นพื้นท่ีสู้รบในเขตแดนกัมพูชา มีการสู้รบกับทหารเวียดนาม ทหารเวียดนามตีเขมรแดงแตก หนีเข้ามาอยู่ ในหมู่ 4 บา้ นทับพริก ทำ� ให้เกิดศูนย์อพยพเกิดขึน้ ในหมนู่ ้ี บา้ นเขาสารภี 25

ยุคที่ 4 “กลบั ถ่นิ ฟ้นื ฟู - ต่อสพู้ ฒั นา” (พ.ศ. 2521 - 2530) ในปี พ.ศ. 2521 หน่วย กรป.กลาง เข้ามาจัดที่อยู่อาศัยให้แก่ ชาวบ้านในหมู่ท่ี 2 และหมู่ที่ 6 ให้ประชาชนอยู่อาศัยรายละ 2 งาน (โดยมีเอกสารสิทธิ์) มีการจัดแบ่งพื้นท่ีอาศัยไว้เป็น 310 ล็อก ในช่วงน้ัน มีคนเข้ามาอยู่ประมาณ 100 ล็อก ผู้ท่ีได้รับการจัดสรรส่วนใหญ่เป็นผู้ที่ เคยอยู่บริเวณนี้มาก่อน ส�ำหรับที่ท�ำกินในท่ีใดก็ให้ท�ำต่อไปได้ (โดยไม่มี เอกสารสิทธ์ิ) ในการจัดล็อคบ้านน้ัน ได้มีผู้ท่ีเสียสละที่ดินให้กับทาง ราชการเพื่อจัดสรรเป็นล็อกบ้านอีกคือ นายอ่อนสา กอนเกียน โดยเสีย สละที่ดินจ�ำนวน 50 ไร่ ซึ่งในขณะน้ันด�ำรงต�ำแหน่งผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 26 “หมบู่ ้านตวั อยา่ ง 4 ดี วถิ พี อเพยี ง”

นอกจากน้ี คุณลุงโสมและคุณป้าดา กอนเกียน ท�ำการเสียสละท่ีดิน ให้สร้างโรงเรียนในพื้นท่ีหมู่ 6 ส่วนวัดที่ถูกเผาท�ำลายก็ได้มีการย้ายเข้ามา สร้างในบริเวณหมู่บ้านที่มีการจัดล็อกเช่นเดียวกันโดยผู้ที่เสียสละท่ีดิน คือ นายโสม กอนเกียน และ นายอ่อนสา กอนเกียน เพื่อสร้างวัด ได้แก่ หลวงพ่อเต็ม สุริยวงค์ จนทุกวันนี้ ต�ำบลทับพริกได้แบ่งเขตการปกครอง ออกจากต�ำบลคลองน้�ำใส ในวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2521 ประกอบด้วย หมู่ที่ 2 บา้ นทับพริก หมทู่ ่ี 3 บา้ นเขาสารภี และ หมทู่ ี่ 4 บ้านคลองหว้า โดย มผี ู้ใหญ่บา้ น นายช้อย ท�ำกจิ การ เป็นกำ� นนั คนแรกของตำ� บลทับพรกิ บ้านเขาสารภี 27

การเปล่ียนแปลง คร้ังส�ำคัญอีกประการหนึ่งในช่วงน้ีคือ ประมาณ ปี พ.ศ. 2528 – 2529 มีการจัดสรรที่ดินให้ประชาชนในหมู่ท่ี 4 ก่อน โดยหน่วยทหารพัฒนาการเคลื่อนที่ เมื่อชาวบ้านท่ีเคยจับจองที่ดิน และท�ำการเกษตรบนที่ดินท่ีจับจองไว้ก่อนแล้ว ต่างก็พากันขายท่ีดินให้กับ นายทุน ที่มารับซ้ือ สาเหตุเพราะกลัวว่า ท่ีดินจะถูกจัดสรรเหมือนหมู่ที่ 4 (นายทุนมีข้อมูลจากทหารว่าที่ดินบริเวณใดบ้างที่จะถูกน�ำไปจัดสรร แต่ชาวบ้านไม่มีข้อมูล และนายทุนจะถือโอกาสกว้านซ้ือท่ีดินที่อยู่นอก พืน้ ทีจ่ ัดสรร) 28 “หมู่บา้ นตัวอยา่ ง 4 ดี วิถีพอเพยี ง”

ในคร้ังน้ี นับเป็นการจัดสรรที่ดินคร้ังท่ี 2 แบ่งเป็น ที่อยู่อาศัย 1 ไร่ และ พื้นที่การเกษตร 14 ไร่ ผู้ที่ขายที่ดินไปแล้วและไม่ได้รับการจัดสรร จึงกลายเป็นผู้ขายแรงงานรับจ้างนายทุนท่ีซ้ือท่ีดินปลูกอ้อยและข้าวโพด การสู้รบในเขมรยังคงด�ำเนินอยู่ในช่วงปี พ.ศ. 2529 – 2530 ผู้หญิง เด็ก คนชรา ต้องอพยพออกไปนอกชุมชนเป็นระยะ ๆ ครั้งละ 4-5 วัน ส�ำหรับ ผชู้ ายจะยงั คงอยใู่ นชุมชนและทำ� งานประกอบอาชีพในชมุ ชนต่อไป บ้านเขาสารภี 29

ยุคท่ี 5 “ยุคสงครามสงบสรู้ บเศรษฐกิจ” (พ.ศ. 2531 - 2537) หลังส้ินสุดสงคราม พ.ศ. 2531 - 2537 มีนายทุนจากจังหวัด ชลบุรีมากว้านซื้อที่ดินของชาวบ้านในราคาถูก โดยซ้ือท่ีดินผ่านนายหน้า ซ่ึงเป็นคนในต�ำบลทบั พรกิ 30 “หมู่บ้านตัวอย่าง 4 ดี วิถพี อเพียง”

โดยอาศัยสถานการณ์ปล่อยข่าวเรื่องการจัดสรรท่ีดินท�ำกิน ท�ำให้ ชาวบ้านขายท่ีดินในราคาถูก คนต�ำบลทับพริก ซ่ึงเป็นเจ้าของท่ีดิน กลับกลายเป็นลูกจ้างขายแรงงานบางส่วนประมาณ ร้อยละ 3% และ เป็นเจ้าของที่ดินท�ำกินประมาณ ร้อยละ 40% ท�ำให้ราษฎรในชุมชน มหี นี้สนิ เกิดขน้ึ บา้ นเขาสารภี 31

ยคุ ท่ี 6 “ร่วมใจพัฒนาแก้ปัญหาสงั คม” (พ.ศ. 2537 - ปัจจุบัน) ในปี พ.ศ. 2540 ได้มีการจัดสรรท่ีดินเป็นคร้ังท่ี 3 โดยกรมที่ดิน ในหมู่ท่ี 4 และหมู่ท่ี 7 จ�ำนวน 15 ครัวเรือนแบ่งเป็นพ้ืนที่ท�ำกิน 10 ไร่ ท�ำการเกษตร 15 ไร่ จ�ำนวน 15 ครัวเรือนซึ่งเป็นการจัดท่ีดินท�ำกิน ให้ชาวบ้านเป็นครั้งที่ 3 ในขณะท่ีต�ำบลทับพริกมีโครงการพัฒนาเกิดขึ้น หลายโครงการ การจดั ตง้ั กลมุ่ ในหมูบ่ า้ นเกิดขน้ึ ในช่วงปี พ.ศ. 2541 - 2544 โดยเฉพาะกลุ่มออมทรัพย์ และกลุ่มส่งเสริมอาชีพ มีงบประมาณมา สนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ในต�ำบล ขณะเดียวกันน้ันปัญหาสังคมเร่ิมเห็น 32 “หมบู่ า้ นตัวอยา่ ง 4 ดี วิถพี อเพยี ง”

ได้อย่างชัดเจนข้ึน เช่น ปัญหายาเสพติด โรคเอดส์ การลักขโมย เนื่องจาก ต�ำบลทับพริกเป็นเขตติดชายแดนมีแรงงานต่างถ่ินเข้ามาจาก 2 แหล่ง ได้แก่ ผู้ใช้แรงงานตัดอ้อยซึ่งเป็นแรงงานจากภาคอีสาน และ แรงงาน จากเขมร ในปี พ.ศ. 2545 หมู่ท่ี 3 ได้ขอขยายพ้ืนที่ท�ำกินเพ่ิมเติมอยู่ใน ระหว่างด�ำเนินการซึ่งหากได้รับการพิจารณาให้จัดสรรท่ีดินท�ำกินเสริม ให้ราษฎรอกี ถือเปน็ ครง้ั ท่ี 4 ทม่ี กี ารจัดพ้ืนทท่ี �ำกนิ ใหร้ าษฎรตำ� บลทบั พรกิ บ้านเขาสารภี 33

ยุคที่ 7 “การจัดการตนเอง” (พ.ศ. 2546 - 2552) ต�ำบลทับพริกได้รับการคัดเลือกเป็นพื้นที่การท�ำงานวิจัยเกี่ยวกับ การสร้างและการพัฒนาเครือข่ายองค์กรชุมชน โดยได้รับสนับสนุน งบประมาณจากประเทศออสเตรเลีย โดยมีกรมพัฒนาชุมชนเป็นเจ้าภาพ ในการด�ำเนินงานร่วมกับองค์การบริหารส่วนต�ำบลทับพริกด้วย จึงมี การท�ำงานแบบบูรณาการร่วมกันขององค์กรในชุมชน เกิดการพัฒนา กลุ่มองค์กรต่าง ๆ ในชุมชน เกิดการพัฒนากลุ่มองค์กรต่าง ๆ ในชุมชน เช่น กลุ่มเกษตรอินทรีย์ กลุ่มฌาปนกิจ เรื่องความปลอดภัยในชีวิตและ 34 “หมู่บ้านตวั อย่าง 4 ดี วิถีพอเพยี ง”

ทรัพย์สิน มีการจัดตั้งศูนย์ต่อสู้เพ่ือเอาชนะยาเสพติด องค์การบริหารส่วน ต�ำบลทับพริก ได้สนับสนุนให้กับสาธารณสุขมูลฐานชุมชน มีการจัดต้ัง อปพร. โดยท�ำงานบูรณาการร่วมกับ ชรบ. ต�ำรวจตระเวนชายแดน ได้เกิด กลุ่มเฝ้าระวังเกิดขึ้นและมีการต้ังกลุ่มเพื่อการฟื้นฟูอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติขึ้น เนื่องจากปัจจุบันการท�ำการเกษตรเป็นการปลูกพืชเศรษฐกิจ แปลงใหญ่ การใช้สารเคมเี พ่มิ มากข้นึ นน้ั เอง บา้ นเขาสารภี 35

ยุคท่ี 8 “เปิดพนื้ ที่แหลง่ การเรียนรู้สสู่ งั คมสุขภาวะ” (พ.ศ. 2553 - ปจั จบุ นั ) ผลจากการก�ำหนดยุทธศาสตร์เพ่ือการพัฒนาสู่การจัดการตนเอง เพื่อความเข้มแข็งของชุมชน เช่น การขับเคล่ือนโครงการต�ำบลสุขภาวะ ของต�ำบลทับพริก ท�ำให้ปี พ.ศ. 2556 กระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความม่ันคงของมนุษย์ ได้คัดเลือกพื้นท่ีในการจัดท�ำเวทีเพื่อการวิจัย ให้ความรู้เก่ียวกับการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ศูนย์ สาธารณสุขมูลฐานภาคกลาง ได้เข้ามาท�ำการศึกษาวิจัยเพื่อการพัฒนา ระบบสุขภาพชุมชนของต�ำบลทับพริก ท�ำให้ต�ำบลทับพริกได้กลายเป็น แหล่งศึกษาดูงานจากผู้คนทั่วประเทศโดยเฉพาะด้านการจัดการสุขภาพ และระบบสวัสดกิ ารชุมชน 36 “หม่บู ้านตัวอย่าง 4 ดี วิถีพอเพียง”

ปี พ.ศ. 2557 ต�ำบลทับพริก ได้รับการคัดเลือกจากจังหวัดสระแก้ว ให้เป็นพื้นที่น�ำร่องด�ำเนินการ โครงการต�ำบลแห่งความสุขด้วย 4 ดี วิถีพอเพียง (คนดี รายได้ดี สุขภาพดี ส่ิงแวดล้อมดี) ซึ่งจากการก�ำหนด ยุทธศาสตร์การพัฒนาต�ำบลท่ีเน้นประชาชนเป็นศูนย์กลางอย่างต่อ เนื่องท�ำให้ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) คัดเลือกต�ำบลทับพริก เป็นแม่ข่ายการด�ำเนินงานต�ำบลสุขภาวะ โดยมี นายณปภัช ลาน้อย นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลทับพริก คนปัจจุบัน เป็นหัวหน้าโครงการ บา้ นเขาสารภี 37

ที่ต้ังอาณาเขตตำ� บลทับพริก ทิศเหนือ ติดต่อต�ำบลผ่านศึก อ�ำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว โดยทีแ่ นวเขตเรมิ่ ตน้ จากหลักไมแ้ กน่ บรเิ วณหว้ ยไผ่ บริเวณพิกัด TA112035 ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวหลักไม้แก่นถนนสายบ้านไผ่ล้อม - บ้านป้ายเขียว ห่างหลักกิโลเมตรที่ 31 ทางทิศใต้ประมาณ 50 เมตรไป ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้สิ้นสุดที่หลักไม้แก่นบริเวณพิกัด TA 145015 ระยะทางด้านทิศเหนือประมาณ 4 กิโลเมตร ทิศใต้ ติดต่อต�ำบลคลอง หาด จังหวัดสระแก้วโดยมีแนวเขตเร่ิมต้นจากหลักไม้แก่นบริเวณพิกัด TA146918 ไปทางตะวันตก ตามแนวหลักไม้แก่นถึงคลองขุดห่างจาก โรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดนบ้านทับวังมน (บ้านเขาสารภี) ทางทิศใต้ ประมาณ 500 เมตร ไปทางทศิ ตะวนั ตกตามก่ึงกลางคลองสน้ิ สดุ ทีท่ างหลวง หมายเลข 3067 บริเวณพิกัด TV 100909 รวมระยะทางทิศใต้ประมาณ 6 กิโลเมตร ทิศตะวันตก ติดต่อกับต�ำบลเบญจขร อ�ำเภอคลองหาด 38 “หมู่บ้านตวั อย่าง 4 ดี วิถพี อเพยี ง”

จังหวัดสระแก้ว โดยมีแนวเขตเริ่มต้นจากทางหลวงแผ่นดินบริเวณ พิกัด TV100909 ไปทางทิศเหนือไปทางล�ำธารถึงล�ำรางสันปันน้�ำ เขาสารภี บริเวณพิกัด TA094937 ระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร ไปตามกึ่งกลางคลองสีเสียดถึงบริเวณคลองขุดบรรจบคลองสีเสียด ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ บ้านสามแยกทับพริกบริเวณพิกัด TA104907 ระยะทางประมาณ 3.5 กิโลเมตรไปทางทิศเหนือตามก่ึงกลางคลองขุด ถึงคลองห้วยไผ่บริเวณพิกัด TA 112018 ระยะทางประมาณ 5 กิโลเมตร ไปทางทิศตะวันตกตามก่ึงกลางคลองห้วยไผ่ ถึงบริเวณพิกัด TA104028 ระยะทางประมาณ 1 กิโลเมตร ไปทางทิศเหนือตามกึ่งกลางคลองห้วย ไผ่ส้ินสุดท่ีหลักไม้แก่นบริเวณห้วยไผ่บริเวณพิกัด TA112035 รวมระยะ ทางด้านทิศตะวันตกประมาณ 9.5 กิโลเมตร ทิศตะวันออก ติดต่อกับ สาธารณรฐั กมั พชู า พน้ื ท่ที ั้งหมด 68.96 ตารางกโิ ลเมตร หรือ 43,100 ไร่ บา้ นเขาสารภี 39

ขอ้ มลู ดา้ นประชากร หม่บู ้าน หลงั คาเรือน ประชากร รวม ชาย หญิง 313 หมู่ที่ 1 บา้ นสีแ่ ยกทันใจ 119 146 167 831 หมู่ที่ 2 บา้ นทบั พรกิ 380 234 หมทู่ ี่ 3 บา้ นเขาสารภี 202 416 415 388 หมทู่ ่ี 4 บ้านคลองหว้า 185 121 113 189 199 40 “หมู่บ้านตวั อยา่ ง 4 ดี วถิ ีพอเพียง”

หมูบ่ ้าน หลังคาเรอื น ประชากร รวม หม่ทู ่ี 5 บ้านปา้ ยเขยี ว 130 ชาย หญิง 387 195 192 หมทู่ ี่ 6 บา้ นทบั พริก 163 260 245 505 หมทู่ ี่ 7 บา้ นคลองหวา้ ใหม่ 325 529 543 1,072 รวม 1,504 1,856 1,874 3,730 (ขอ้ มูล ณ 22 เดอื น กนั ยายน พ.ศ. 2561) บา้ นเขาสารภี 41

ดา้ นเศรษฐกิจ โครงสรา้ งทางเศรษฐกิจ ประชาชนบ้านเขาสารภีมี รายได้เฉล่ีย 69,182 บาท/คน/ปี โดย ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม รองลงมาประกอบอาชีพรับจ้าง ในโรงงานอุตสาหกรรม อีกทั้งประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไปและท่ีไม่ได้ ประกอบอาชพี 42 “หมบู่ ้านตวั อยา่ ง 4 ดี วถิ พี อเพียง”

การเกษตรกรรมของบ้านเขาสารภี มีการท�ำเกษตรกรรม จ�ำนวน 794 ครัวเรือน ทั้งนี้มูลค่าผลผลิตทางการเกษตรรวมประมาณ 162 ล้านบาท/ปี การพาณิชยกรรมและบริการ (สถานประกอบการ) บ้านเขาสารภี ประกอบด้วย ร้านแผงลอยจ�ำหน่ายอาหาร ร้านขาย อาหารสด ลานมัน สถานีบริการน้�ำมัน ร้านค้าท่ัวไป รวมถึงการท่องเท่ียว (อ่างเก็บน�ำ้ บา้ นคลองหว้า, บา้ นเขากา้ นเหลอื ง, บ้านเขาสารภ)ี บ้านเขาสารภี 43

ดา้ นสังคม มติ ิทางศาสนา ประชาชนท้ังหมดนบั ถือศาสนาพทุ ธ ร้อยละ 100% ท้ังน้ี ภายในชุมชนมี วัด จ�ำนวน 3 แห่ง ส�ำนักสงฆ์ จ�ำนวน 2 แห่งและมี พระ/เณร/แมช่ ี จำ� นวน 14 รปู มิติทางวฒั นธรรม /ภาษา มภี าษาทีใ่ ช้มอี ยู่ 3 ภาษา คอื ภาษาญ้อ ภาษาลาว และภาษาไทยทใ่ี ช้กันส่วนมากคอื ภาษาญอ้ 44 “หมู่บ้านตัวอยา่ ง 4 ดี วิถพี อเพยี ง”

ประเพณี วัฒนธรรม มีงานส�ำคัญทางศาสนาส�ำคัญ เช่น วันสงกรานต์มีการรดน�้ำขอพรผู้ใหญ่ และยังมีประเพณีท้องถิ่นที่ท�ำเป็น ประจ�ำทุกปี ได้แก่ แห่ปราสาทผ้ึง บ้ังไฟ งานศาลตาปู่ทองค�ำ และยังมี การรวมกลุ่ม จดั หาผา้ ปา่ สามัคคที อดใหก้ ับวดั ในพ้ืนท่ี ขอ้ มลู อาสาสมัคร บ้านเขาสารภีมีการรวมกลุ่มเพ่ือพัฒนาชุมชนของตนเอง ประกอบ ด้วย กลุ่ม อสม. จ�ำนวน 125 คน กลุ่มอาสาสมัครปศุสัตว์ จ�ำนวน 2 คน กลมุ่ อปพร. จ�ำนวน 41 คน กลมุ่ อาสาสมคั รตำ� รวจชุมชน จำ� นวน 35 คน และกลุม่ อาสาสมคั รเกษตรหมู่บา้ น จ�ำนวน 7 คน บา้ นเขาสารภี 45

ดา้ นสาธารณสขุ ต�ำบลทับพริก มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล จ�ำนวน 2 แห่ง การเจ็บป่วยท่ีเข้ารับการรักษา 5 อันดับ แรก ได้แก่ 1. โรคระบบทางเดินหายใจ 2. โรคระบบกล้ามเนอื้ รวมโครงรา่ งและเนื้อยดึ 3. โรคผวิ หนัง และเน้ือยึดใต้ผิวหนงั 4. โรคติดเช้อื และปรสิต 5. สาเหตจุ ากภายนอกอนื่ ๆ ที่ทำ� ให้ป่วยหรือตาย ทั้งน้มี กี ลุ่มประชากรท่ีตอ้ งได้รับการดแู ลเปน็ พเิ ศษ - ผู้พกิ ารขน้ึ ทะเบียน 164 คน (ณ พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2561) - ผู้ป่วยเรอ้ื รังโรคความดันโลหติ สงู 100 คน - ผู้ปว่ ยเรอ้ื รังเบาหวาน 80 คน - ผปู้ ่วยโรคจติ ลมชกั ปญั ญาอ่อน 9 คน - เด็กอายรุ ะหว่าง 1 - 5 ป ี 367 คน - ผสู้ ูงอายุ 428 คน (ณ พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2561) 46 “หมบู่ า้ นตวั อย่าง 4 ดี วถิ พี อเพียง”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook