Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Ebook4

Ebook4

Published by supaneeprachan, 2021-09-08 13:56:38

Description: Ebook4

Search

Read the Text Version

ศูนยอ์ าชีวศึกษาทวิภาคี สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 4 เทคนคิ การสอนงาน กรอบแนวคดิ แนวคิดการสอนงาน คอื การที่ครฝู กึ ทาหน้าทถ่ี ่ายทอดความรู้ หรือแนะนาวธิ ีการปฏบิ ัตงิ าน ท่ีถูกต้องให้แก่นักเรียนนักศึกษาทวิภาคี เพื่อให้เข้าใจข้ันตอนการปฏิบตั ิงาน จนสามารถปฏิบัติงานได้ อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการควบคุม ดูแล เพื่อให้การปฏิบัติงานน้ันเป็นไปตาม เป้าหมายของการจดั การเรียนรแู้ ละเปา้ หมายปฏิบัตงิ านขององคก์ รไปพร้อมกัน จุดประสงค์ท่ัวไป เพื่อให้ครูฝึกในสถานประกอบการมีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะการสอนงาน ให้กับ นักเรยี นนกั ศกึ ษา ระบบทวภิ าคี จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม เพอ่ื ใหค้ รฝู ึกสามารถ 1. อธิบายหลกั การจดั การเรยี นรู้ ในศตวรรษท่ี 21 ได้ 2. อธบิ ายเทคนิคการสอนแบบต่างๆ ได้ 3. วิเคราะห์ประเด็นปัญหางานเพอื่ กาหนดกรอบปัญหาการสอนแบบโครงการ 4. วางแผนการสอนงานได้เหมาะสม 5. สาธิตการสอนงานได้ถกู ต้อง สาระการเรยี นรู้ 1. การเรยี นรู้ ในศตวรรษท่ี 21 เพ่อื พฒั นาศกั ยภาพนักเรยี นนักศึกษาระบบทวภิ าคี การจัดการเรียนรู้ในปัจจุบัน จะต้องเน้นท่ีการพัฒนาศักยภาพของนักเรียนนักศึกษา ที่สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ 21 ท่ีต้องการให้ผู้เรียนมีวิธีการเรียนรู้ท่ีเป็นระบบ การเรียนร้เู พื่อสรา้ งสรรค์ด้วยปญั หา (Constructionism) 2. เทคนิคการสอนงานด้วยวธิ กี ารสอนแบบต่างๆ แนวคดิ การสอนงาน ความสาคัญ ความจาเปน็ หลกั การเบื้องตน้ ในการสอนงาน หลกั การ วางแผนการสอนงาน การจัดทาแบบซอยงาน วิธีการสอนงาน 4 ขั้นตอน เทคนิคการสอนแบบต่างๆ ได้แก่ การสอนแบบฝึกปฏิบัติจริง (On the job training) การสอนแบบ (Coaching) การสอน แบบพี่เลี้ยง (Mentoring) การสอนแบบสาธิต (Demonstration) เทคนิคการสอนงานตาม ลักษณะนิสัยและการเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ปัญหา (Constructionism) ซึ่งได้แก่ การจัดการเรียนรู้

แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning) การจัดการเรียนรู้แบบโครงการ (Project Based Learning) 3. การออกแบบการเรียนรู้ ลาดับข้ันในการถ่ายทอดความรู้และฝึกปฏิบัติการสอนงาน ได้แก่ ลาดับข้ันในการถ่ายทอดความรู้ในการสอนงาน และบุคลิกภาพในการสอนงานและการ สอดแทรกกจิ นิสยั ท่ดี ีในการทางาน แนวทางการจดั กิจกรรม 1. บรรยายใหค้ วามรู้ 2. อภิปรายกลุม่ ย่อย 3. แลกเปล่ียนเรยี นรู้ 4. สาธติ การสอนงาน 5. สรุปและสะท้อนความคดิ องค์ความรรู้ ่วมกนั สอ่ื นวตั กรรมหรอื แหล่งเรยี นรู้ 1. powerpoint - Powerpoint ประกอบการบรรยาย เรือ่ ง การจดั การเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี 21 - Powerpoint ประกอบการบรรยาย เรื่อง เทคนิคการสอนงานด้วยวิธีการสอน แบบตา่ งๆ - Powerpoint ประกอบการบรรยาย เร่อื ง การออกแบบการเรยี นรู้ลาดับขัน้ ในการ ถา่ ยทอดและสอนงาน 2. VDO - VDO เรอ่ื ง วิถีการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 - VDO เรอื่ ง Coaching 3. เอกสารเน้ือหาประกอบการบรรยายชุดที่ 4 เทคนคิ การสอนงาน 4. ใบงาน - ใบงานกิจกรรมที่ 1 สะท้อนความคิดจากการชม VDO เรื่อง วิถีการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 และการนาความร้ไู ปใช้ประโยชน์ - ใบงานกิจกรรมที่ 2 แลกเปลย่ี นเรยี นรู้เทคนิคการสอนงานวเิ คราะหป์ ระเด็นปัญหา เพื่อทาโครงการและบทบาทการเปน็ ครทู ่ีปรึกษาโครงการ - ใบงานกิจกรรมท่ี 3 การประยุกต์ความรู้สู่การออกแบบการจัดการเรียนรู้ในการ สาธิตการสอนงาน

5. แบบบนั ทกึ การสอนงานรายหนว่ ย 6. ตัวอยา่ งแผนการสอนงานรายหนว่ ย การวดั และประเมนิ ผล 1. งานเด่ยี ว จากแผนการสอนรายหนว่ ย 2. งานกลุ่ม จากการสาธติ การสอน 3. เกณฑก์ ารผา่ น รอ้ ยละ 70 (งานกลุ่มและงานเดีย่ ว ) ระยะเวลาในการพฒั นา จานวน 6 ชัว่ โมง กจิ กรรมการฝึกอบรม กิจกรรมที่ 1 แบ่งกลุ่มแลกเปล่ียนเรียนรู้เก่ียวกับการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 และ การนามาประยุกต์ใชใ้ นการจัดการเรียนการสอนนักเรียนนกั ศกึ ษาระบบทวภิ าคี กิจกรรมที่ 2 แบ่งกลุ่มแลกเปล่ียนเรียนรู้เกี่ยวกับเทคนิคการสอนงานและการวิเคราะหง์ าน และปัญหาในงานส่กู ารทาโครงการและบทบาทเป็นครูทป่ี รึกษาโครงการ กิจกรรมที่ 3 การประยุกต์ใช้ความรู้จากการบรรยายมาวางแผนการสอนของตนไป แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ในกลุ่มและสมาชิกในกลุ่มเลือกเรื่องที่น่าสนใจเป็นเร่ืองท่ีกลุ่มร่วมกันสาธิตการสอน โดยให้ผู้เข้ารับการอบรมทุกคนสวมบทบาทเป็นนักศึกษา และวิทยากรร่วมสะท้อนและประเมินการ สอนของครฝู ึก รายละเอยี ดการจดั กจิ กรรม กิจกรรม จดุ ประสงค์ แนวทางการจัดกจิ กรรม สอ่ื เวลา เชงิ พฤตกิ รรม 1 ชม. แลกเปล่ยี น 1. ppt. 1.1 เรอื่ งการ เรียนร้เู กยี่ วกบั อธบิ ายหลกั การ 1. บรรยายให้ความรู้เก่ยี วกับ จัดการเรียนร้ใู น การจดั การ ศตวรรษท่ี 21 เรียนรู้ใน จดั การเรยี นรู้ใน การจัดการเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 2. VDO เรือ่ งวถิ กี าร ศตวรรษท่ี 21 เรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 ศตวรรษท่ี 21 21 3. เอกสารประกอบการ บรรยายหนว่ ยที่ 1 ได้ 2. แบง่ กลมุ่ แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ 4. ใบงานที่ 1 เกี่ยวกบั การจดั การเรียนร้ใู น ศตวรรษที่ 21

กิจกรรม จุดประสงค์ แนวทางการจดั กจิ กรรม สอ่ื เวลา เชงิ พฤตกิ รรม แลกเปลยี่ น 1. อธิบายหา 1. บรรยายใหค้ วามรู้เก่ียวกับ 1. ppt. 1.2 เรื่อง 2 ชม. เรยี นรู้เก่ยี วกับ เทคนิควธิ กี าร เทคนิคการสอนงาน เทคนคิ การสอนงานด้วย เทคนคิ การ สอนแบบต่างๆ 2. แบ่งกลุม่ แลกเปล่ยี นเรียนรู้ วิธกี ารสอนแบบตา่ งๆ สอนงาน ได้ เทคนคิ การสอนงานรปู แบบ 2. VDO เร่ือง Coaching 2. วเิ คราะห์ ต่างๆ 3. เอกสารประกอบการ ประเดน็ ปัญหา 3. การวิเคราะห์ประเด็น บรรยาย หน่วยท่ี 2 งานเพ่ือกาหนด ปัญหางานเพ่ือกาหนดกรอบ 4. ใบงานที่ 2 กรอบปัญหา ปัญหาการสอนแบบโครงการ การสอนแบบ โครงการได้ การประยุกต์ใช้ 1. วางแผนการ 1. บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับ 1. ppt. 1.3 เร่ืองการ 3 ชม. ความรูจ้ ากการ สอนงานได้ ลาดับขั้นการสอนงานพร้อม ออกแบบการเรยี นรู้ บรรยายมาวาง เหมาะสม ยกตัวอยา่ งให้เหน็ ชัดเจน ลาดับข้นั ในการ แผนการสอน 2. สาธิตการ 2. ให้ครูฝึกแต่ละคนประยุกต์ ถ่ายทอดและการสอน และสาธติ การ สอนงานได้ ความรู้ วางแผนการสอนงาน งาน สอน ถูกต้อง เรือ่ งทตี่ นสนใจ 2. เอกสารประกอบการ 3. แบง่ กลมุ่ ออกเป็น 4 กล่มุ ให้ บรรยายหนว่ ยท่ี 3 ครฝู ึกแต่ละคนเล่าเรื่องที่ตน 3. ใบงานท่ี 3 สอน แลกเปล่ยี นกันในกลุม่ 4. แบบบนั ทกึ การสอน แล้วให้กลุ่มทาการโหวตเร่อื งท่ี งานรายหนว่ ย น่าสนใจมาเปน็ ตวั แทนกลุ่ม 5. ตัวอยา่ งแผนการ เพ่อื สาธิตการสอนโดยให้ สอนรายหน่วย สมาชิกทุกคนในกลุ่มมสี ว่ นรว่ ม ในการเตรยี มการสอนและสอน เปน็ ทีม ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสวม บทบาทเป็นนักศกึ ษาทวิภาคี ใหม้ กี ารซักถามและตอบ คาถามเพื่อสร้างบรรยากาศให้

กจิ กรรม จดุ ประสงค์ แนวทางการจัดกิจกรรม สอ่ื เวลา เชงิ พฤตกิ รรม สนกุ สนาน เม่ือสิ้นสุดการสอน แต่ละกล่มุ วทิ ยากรร่วม สะท้อนผลการสอนเพอ่ื การ พฒั นา

ใบเน้อื หาท่ี 4.1 การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 เพ่ือพฒั นาศกั ยภาพ การจัดการเรียนรู้ในปัจจุบันให้ความสาคัญกับการพัฒนาศักยภาพนักเรียนนักศึกษา จาเป็น จะต้องจัดการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงและการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ท่ีเน้นผู้เรียนมี วิธีการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ และส่งเสริมให้นักเรียนนักศึกษาเกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติงานจริง ดังน้ันเพ่ือพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาในการจัดการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย โดยเฉพาะอย่าง ยงิ่ การจัดการศึกษาระบบทวิภาคี เปน็ การจัดการศึกษาร่วมกับสถานประกอบการ ทง้ั นีเ้ น่อื งจากปัจจุบัน เป็นยุคที่โลกมีความเจริญก้าวหน้าและมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว เน่ืองมาจากการใช้เทคโนโลยี ในการเช่ือมโยงข้อมูลต่างๆ ของทุกภูมิภาคของโลกเข้าด้วยกัน ทาให้เกิดกระแสการปรับเปล่ียนทาง สังคม ส่งผลต่อวิถีการดารงชีพของคนในสังคม พร้อมเสริมสร้างความม่ันคงทางเศรษฐกิจสังคมของ ประเทศอย่างยั่งยืน ครูและครูฝึกจึงต้องมีความต่ืนตัวและเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียม ความพร้อมให้นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีมีทักษะสาหรับการออกไปดารงชีวิตในโลก และโลกอาชีพ อย่างย่ังยืน สามารถพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันท้ังด้านการผลิตและบริการของประเทศ โดยทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ท่ีสาคัญที่สุด คือ ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) ส่งผลให้มีการ เปลยี่ นแปลงการจดั การเรยี นรู้ ซง่ึ เปน็ ผลจากการปฏิรูปเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการเตรยี มความพรอ้ มดา้ นต่างๆ ทีเ่ ปน็ ปจั จัยสนับสนุนทจี่ ะทาใหเ้ กดิ การเรยี นรดู้ งั กลา่ ว ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) วิจารณ์ พานิช (2555: 16-21) ได้กล่าวถึง ทักษะเพือ่ การดารงชวี ิตในศตวรรษท่ี 21 ดังน้ี สาระวิชาหลัก (Core Subjects) ประกอบด้วย ภาษาแม่ และภาษาสาคัญของโลก ศิลปะ คณิตศาสตร์ การปกครองและหน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ โดยวิชาแกนหลกั นีจ้ ะนามาสู่การกาหนดเป็นกรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์สาคัญต่อการจัดการเรียนรู้ ในเนื้อหาเชงิ สหวิทยาการ (Interdisciplinary) หรอื หัวขอ้ สาหรับศตวรรษท่ี 21 โดยการส่งเสรมิ ความ เข้าใจในเนื้อหาวิชาแกนหลกั และสอดแทรกทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เขา้ ไปในทุกวชิ าแกนหลัก ดงั น้ี ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ความรู้เกยี่ วกบั โลก (Global Awareness) ความรู้เก่ยี วกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ (Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy) ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองท่ีดี (Civic Literacy) ความรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ความร้ดู ้านส่ิงแวดล้อม (Environmental Literacy)

ทกั ษะดา้ นการเรียนรแู้ ละนวัตกรรม จะเป็นตวั กาหนดความพร้อมของนักเรยี นเขา้ สโู่ ลกการ ทางานท่ีมีความซับซ้อนมากข้ึนในปัจจุบัน ได้แก่ ความริเร่ิมสร้างสรรค์และนวัตกรรม การคิดอย่างมี วิจารณญาณและการแก้ปญั หา การสอื่ สารและการรว่ มมอื ทักษะด้านสารสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยี เน่ืองด้วยในปัจจุบันมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ผ่านทางสื่อและเทคโนโลยีมากมาย ผู้เรียนจึงต้องมีความสามารถในการแสดงทักษะการคิดอย่างมี วิจารณญาณและปฏบิ ัติงานไดห้ ลากหลาย โดยอาศัยความรใู้ นหลายด้าน ดังนี้ ความร้ดู ้านสารสนเทศ ความรู้เกยี่ วกบั สือ่ ความรูด้ ้านเทคโนโลยี ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ ในการดารงชีวิตและทางานในยุคปัจจุบันให้ประสบความสาเร็จ นักเรียนจะต้องพัฒนาทักษะชวี ิตทสี่ าคญั ดังต่อไปน้ี ความยดื หยุน่ และการปรบั ตวั การริเริม่ สรา้ งสรรค์ และเปน็ ตวั ของตัวเองทักษะสงั คมและสังคมขา้ มวฒั นธรรม การเปน็ ผ้สู ร้างหรือผผู้ ลติ (Productivity) และความรบั ผิดชอบเชอื่ ถือได้ (Accountability) ภาวะผนู้ าและความรับผดิ ชอบ (Responsibility) ทกั ษะของคนในศตวรรษที่ 21 ที่ทุกคนจะต้องเรียนรตู้ ลอดชีวิต คอื การเรยี นรู้ 3R x 7C 3R คอื Reading (อ่านออก), (W)Riting (เขยี นได้), และ (A)Rithemetics (คิดเลขเปน็ ) 7C ได้แก่ Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมี วิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา) Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม) Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความแตกต่างวัฒนธรรม กระบวนทัศน์) Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทางาน เป็นทีม และภาวะผู้นา) Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะด้านการ ส่ือสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันส่ือ) Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการ เรียนรู้) แนวคิดทักษะแห่งอนาคตใหม่ : การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และกรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ ในศตวรรษท่ี 21 การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 เป็นการกาหนดแนวทางยุทธศาสตร์ในการจัดการเรียนรู้ โดย ร่วมกันสร้างรูปแบบและแนวปฏิบัติในการเสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษ ท่ี 21 โดยเน้นท่ีองค์ความรู้ ทักษะ ความเช่ียวชาญและสมรรถนะที่เกิดกับตัวผู้เรียน เพ่ือใช้ในการ ดารงชีวิตในสังคมแห่งความเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน โดยจะอ้างถึงรูปแบบ (Model) ที่พัฒนามาจาก เครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership For 21st Century Skills) (www.p21.org) ท่ีมีชื่อย่อว่า เครือข่าย P21 ซึ่งได้พัฒนากรอบแนวคิดเพ่ือการ

เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะเฉพาะด้าน ความชานาญการและความรู้เท่า ทนั ดา้ นตา่ งๆ เขา้ ด้วยกัน เพ่อื ความสาเรจ็ ของผู้เรยี นทั้งดา้ นการทางานและการดาเนนิ ชวี ติ กรอบแนวคดิ เพื่อการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 กรอบแนวคิดในการจัดการเรียนรู้แห่งศตวรรษท่ี 21 ท่ีแสดงผลลัพธ์ของนักเรียนและปัจจัย สง่ เสรมิ สนบั สนุนในการจัดการเรียนร้เู พอ่ื รองรบั ศตวรรษท่ี 21 ภาพ กรอบแนวคดิ เพ่ือการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 (21st Century Learning Framework) (http://www.qlf.or.th/) กรอบแนวคิดเชิงมโนทัศน์สาหรับทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 เป็นท่ียอมรับในการสร้างทักษะ การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 (Model of 21st Century Outcomes and Support Systems) ซ่ึงเป็นท่ี ยอมรับอย่างกว้างขวางเนื่องด้วยเป็นกรอบแนวคิดที่เน้นผลลัพธ์ที่เกิดกับผู้เรียน (Student Outcomes) ท้ังในด้านความรู้สาระวิชาหลัก (Core Subjects) และทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ที่จะ ช่วยผู้เรยี นได้เตรียมความพรอ้ มในหลากหลายดา้ น รวมทั้งระบบสนับสนุนการเรียนรู้ ได้แก่มาตรฐาน และการประเมิน หลักสูตรและการเรียนการสอน การพัฒนาครู สภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมต่อการ เรียนในศตวรรษท่ี 21 การเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี 21 ต้องก้าวข้าม “สาระวิชา” ไปสู่การเรียนรู้ “ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21” (21st Century Skills) ซ่ึงครูจะเป็นผู้สอนไม่ได้ แต่ต้องให้นักเรียนเป็นผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง โดยครูจะ ออกแบบการเรียนรู้ ฝึกฝนให้ตนเองเป็นโค้ช (Coach) และอานวยความสะดวก (Facilitator)

ในการเรียนรู้แบบ PBL (Problem-Based Learning) ของนักเรียน ซึ่งส่ิงท่ีเป็นตัวช่วยของครูในการ จัดการเรียนรู้คือ ชุมชนการเรียนรู้ครูเพื่อศิษย์ (Professional Learning Communities : PLC) เกิดจากการรวมตวั กนั ของครูเพอื่ แลกเปลีย่ นประสบการณก์ ารทาหน้าทีข่ องครแู ตล่ ะคนนัน่ เอง

ใบเน้อื หาท่ี 4.2 วิธกี ารสอนงาน แนวคิดในการสอนงาน เดิมการเรียนรู้ของคนไทยเราจะเป็น การเรียนรู้ แบบเชิงรับ (passive learning experience) โดยเรียนรู้ จากการบอก การสอนของผู้ใหญ่ ของครู ของผู้บังคับ บัญชา หรือจากการจัดอบรมใหค้ วามรู้ ตามหลักสูตรต่างๆ แต่มีข้อมูลสะท้อนการเรียนรู้ ลักษณะน้ีออกมาว่าไม่ว่าจะสอน จะอบรมได้ดีเพียงใด ผ้เู รยี น หรือผูเ้ ข้ารับการอบรม ก็ไม่ สามารถนาความรู้ ไปใชไ้ ด้ทง้ั หมด ปัจจุบันมีการนาแนวคิดสาคัญของ ทฤษฎี Constructionism หรือ การเรียนรู้เพื่อ สร้างสรรค์ด้วยปัญญา คือ หลักการที่ผู้เรียนได้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง โดยให้ผู้เรียนลงมือ ประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเอง หรือได้ปฏิสัมพันธ์กับส่ิงแวดล้อมภายนอกที่มีความหมาย ซ่ึง จะรวมถึงปฏิกิริยาระหว่างความรู้ในตัวของผู้เรียนเอง ประสบการณ์และสิ่งแวดล้อมภายนอก การเรียนรจู้ ะได้ผลดี ถา้ หากวา่ ผ้เู รียนเข้าใจในตนเอง มองเหน็ ความสาคัญในส่ิงที่เรียนรู้ และสามารถ เช่ือมโยงความรู้ระหว่างความรู้ใหม่กับความรู้เก่า (รู้ว่าตนเองได้เรียนรู้อะไรบ้าง) และสร้างเป็นองค์ ความรู้ใหม่ขนึ้ มา แนวคดิ สาคัญของทฤษฎี Constructionism หรือ การเรยี นรเู้ พ่ือสร้างสรรคด์ ้วยปัญญา คือ 1. เร่ิมท่ีผู้เรียนต้องอยากจะรู้ อยากจะเรียน อยากจะทาก่อน จึงจะเป็นตัวเร่งให้เขา ขับเคล่อื นเกดิ ความรสู้ ึกเปน็ เจา้ ของ (ownership) 2. ใช้ความผิดพลาดเป็นบทเรียน เป็นแรงจูงใจภายใน (internal motivation) ใหเ้ กดิ การสร้างสรรคค์ วามรู้ 3. การเรียนร้เู ปน็ ทมี (team learning) จะดกี วา่ การเรยี นรู้คนเดียว 4. เปน็ การเรียนรวู้ ิธกี ารเรยี นรู้ (Learning to learn) ไมใ่ ชก่ ารสอน ดังนั้น การท่ีครูฝึกทาหน้าที่ถ่ายทอดความรู้ หรือแนะนาวิธีการทางานท่ีถูกต้อง ให้แก่ นักเรยี นนักศึกษาระบบทวภิ าคี เพื่อให้เขา้ ใจข้นั ตอนการทางาน จนสามารถทางานได้เองอย่างถูกต้อง และมีประสิทธภิ าพ ตลอดจนการควบคุม ดแู ล เพ่ือให้การปฏิบัติงานนั้นเป็นไปตามเป้าหมายของการ จัดการเรียนรู้และเป้าหมายการปฏิบัติงานขององค์กรไปพร้อมกัน ครูฝึกสามารถบูรณาการ แนวคิด

ทฤษฎีการเรียนรู้ การถ่ายทอดความรู้ เทคนิคการสอนงาน เพ่ือนาไปใช้ในการสอนงานให้เหมาะสม กับนักเรยี นนักศึกษาระบบทวภิ าคี ตามลักษณะงาน และระดบั การศกึ ษา วัตถปุ ระสงค์ ของการสอนงาน 1. เพอื่ ถา่ ยทอดเทคนคิ และวธิ ีการทางานให้ กบั นักเรยี นนกั ศกึ ษาระบบทวิภาคี 2. เพอื่ ให้นักเรียนนกั ศกึ ษาระบบทวภิ าคีเข้าใจ วิธกี ารทางานทถี่ ูกต้องสามารถปฏบิ ตั งิ านได้ทนั ที 3. เพ่อื ให้นกั เรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี มหี ลักการทางานท่ีเป็นมาตรฐานเดียวกนั 4. เพือ่ ลดและป้องกันการทางานผดิ พลาดของนักเรยี นนกั ศึกษาระบบทวภิ าคี ความสาคญั ของการสอนงาน การสอนงาน เป็นวิธีการพัฒนานักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี ซึ่งเปรียบเสมือนพนักงาน ฝึกหัด ส่งผลดีในด้านการเสริมสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ และประสบการณ์ในการปฏิบัติงานใน สถานการณ์จริง เป็นการช่วยเพิ่มศักยภาพให้แก่นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี และพนักงานทุก ระดับ เปน็ การลดคา่ ใชจ้ า่ ยซ่งึ เป็นต้นทนุ ในการพฒั นาทรัพยากรบคุ คล ความสาคัญของการสอนงานไว้ดงั นี้ ลดความผดิ พลาดเสียหาย และเวลาในการทางาน 1. ลดความผิดพลาดเสียหาย และเวลาในการทางาน ถา้ การสอนงานเป็นไป อย่างถกู ตอ้ งและมปี ระสิทธภิ าพ การถา่ ยทอดงานและเทคนิคการปฏิบตั ิงานจากครูฝึก จะไม่เกิดการลองผิดลองถูก 2. เกดิ ความรู้ในการทางานทีถ่ กู ต้อง การปฏบิ ตั ิงานเป็นไปอย่างราบรื่น รวดเรว็ และปลอดภัย การถ่ายทอดงานและเทคนิคการปฏบิ ัติงานจาก ครฝู ึกไปสู่นกั เรยี นนักศกึ ษาระบบทวภิ าคี ทาใหเ้ กิดการเรียนรู้เปน็ ไปอย่างถกู ต้องสมบูรณ์ ผลผลิตทมี่ ีคุณภาพสม่าเสมอและได้มาตรฐานเดียวกัน 3. การปฏบิ ัติงานเป็นไปอย่างราบรืน่ รวดเร็ว และปลอดภัย ไดผ้ ลผลิตท่ีมีคณุ ภาพ สม่าเสมอและได้มาตรฐานเดยี วกัน 4. ไม่เสียเวลาในการกลบั ไปแกไ้ ขงานทีผ่ ดิ พลาด และบกพร่อง 5. มกี ารแลกเปล่ยี นความคิดเห็นร่วมกนั ระหว่างครฝู กึ กบั นกั เรยี นนกั ศึกษาระบบทวภิ าคี

6. ทาให้องคค์ วามรู้ไม่ติดกับบุคคล เมื่อมกี ารเขา้ ออกจากงาน กม็ ีผสู้ บื ตอ่ งานได้ ความจาเป็นในการสอนงาน การสอนงานเป็นส่ิงที่มีความจาเป็นและเกิดข้ึนได้ทุกโอกาสโดยทั่วไป ความจาเป็นในการ สอนงานจะเกิดข้นึ ในกรณีตอ่ ไปน้ี เปลี่ยนงาน เปลีย่ น เร่มิ ทางาน เปลยี่ นกระบวนการ เทคโนโลยใี หม่ ลดการ เครือ่ งจักร อุปกรณ์ เพมิ่ ขีดความสามารถ 1. เมือ่ รบั นกั เรยี นนกั ศกึ ษาระบบทวภิ าคีเขา้ มาใหม่มาฝกึ ประสบการณ์ทางาน 2. เม่อื นักเรียนนกั ศึกษาระบบทวภิ าคเี ปลย่ี นไปฝึกประสบการณใ์ นแผนกงานใหม่ 3. เม่อื มกี ารเปลย่ี นแปลงระบบงาน หรอื กระบวนการผลิต 4. เม่ือมีการนาเคร่ืองจักรกล เครือ่ งมือ หรืออปุ กรณ์การทางานใหม่เข้ามาใช้ 5. เม่อื ครูฝกึ พบวา่ นักศึกษาปฏิบตั ิงาน ลา่ ช้า และ ผิดวธิ ี

6. เม่อื ครฝู ึกพบวา่ นักศึกษาใชเ้ คร่อื งมอื หรืออปุ กรณ์ไม่ตรงกบั งาน 7. เมอ่ื ครูฝกึ พบวา่ นักศึกษากระทาสิง่ ทขี่ า้ มขน้ั ตอนการปฏบิ ัตงิ านและไมป่ ลอดภัย 8. เมอ่ื เกดิ ปัญหางานผดิ พลาดผลงานไม่ไดม้ าตรฐานมีการสูญเสยี วสั ดุเพม่ิ มากขนึ้ 9. เม่ือเกดิ อุบตั ิเหตจุ ากความประมาทในการทางานของนักศึกษา 10. เม่ือตอ้ งการพฒั นาขดี ความสามารถในการทางานของนกั ศกึ ษาใหส้ ูงขึ้น หลักเบ้อื งตน้ ในการสอนงาน เพ่อื ใหก้ ารสอนงานเป็นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ ครฝู ึกจึงตอ้ งทาให้บุคคลนัน้ รเู้ รอื่ งและเข้าใจในงาน ที่จะต้องปฏิบัตคิ ืออะไร มจี ุดมงุ่ หมายเพอื่ ใหบ้ รรลผุ ลอะไร ผปู้ ฏบิ ตั จิ ะตอ้ งทาอยา่ งไร และมขี ้ันตอนการปฏิบัตอิ ยา่ งไร ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ตอ้ งชแ้ี จงใหน้ กั เรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีเข้าใจวตั ถปุ ระสงคข์ องการสอนทุกครงั้ 2. ตอ้ งทาให้นกั เรยี นนักศกึ ษาระบบทวภิ าคมี คี วามสนใจ ใคร่จะเรยี นร้งู านทจ่ี ะสอน 3. ตอ้ งมุ่งผลของการสอนงาน โดยคานงึ ถึงนักเรยี นนกั ศึกษาระบบทวภิ าคเี ป็นสาคัญ 4. ตอ้ งให้นักเรยี นนักศึกษาระบบทวิภาครี วู้ า่ งานท่ีจะสอนอยู่ในขัน้ ตอนใดของงานทัง้ หมด 5. ตอ้ งจดั การสอนโดยทาให้เหมือนสภาพในขณะปฏบิ ตั งิ านจริง 6. ต้องทาให้นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีมีสว่ นร่วมในกระบวนการเรยี นรู้อยา่ งสมบูรณ์ 7. ต้องจัดโปรแกรมการสอนงานให้เหมาะกับความสามารถในการเรียนรู้ของนักเรียน นักศกึ ษาระบบทวภิ าคีแตล่ ะคน ประโยชนข์ องการสอนงาน องคก์ ร ครฝู กึ นักเรยี นนักศึกษา ระบบทวิภาคี การสอนงานถือว่า เป็นรูปแบบของการสื่อสารอย่างหน่ึง ท่ีเป็นทางการและไม่เป็นทางการ ระหว่างครูฝึก และนักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี ที่เรียกว่า การสื่อสารแบบสองทาง (Two Way Communication) ท่ีครูฝึกใช้ในการแจ้งและรับฟังความต้องการของนักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี และใช้เป็นช่องทางในการสอบถามปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน รวมทั้งเป็นโอกาส อันดีในการที่จะช่วยกันแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในการทางานร่วมกัน การสอนงานที่ถูกต้องจะ ส่งผลประโยชน์โดยตรงต่อนักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี ต่อครูฝึก และต่อองค์การดังต่อไปนี้

ประโยชนต์ ่อนกั เรยี นนกั ศึกษาระบบทวิภาคี เขา้ ใจถงึ ขอบเขตหนา้ ท่ีงาน เปา้ หมายของงาน รู้จกั วางแผนและจัดลาดับความสาคญั ก่อนหลงั ของ งาน รับรูเ้ ทคนคิ วธิ ีการในการทางาน สร้างขวญั และกาลงั ใจท่ีดีในการทางาน ทางานสาเรจ็ ตามเป้าหมายและเวลาทก่ี าหนด มคี วามกระตือรือรน้ และความพรอ้ มทีจ่ ะเรียนรสู้ ่งิ ใหม่ๆ

 ทาให้นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีเข้าใจถึงขอบเขตหน้าที่งาน เป้าหมายของงาน ความต้องการหรอื สิ่งที่ครูฝึกคาดหวัง  ทาให้นกั เรียนนักศึกษาระบบทวภิ าคีท่ีเป็นพนักงานฝกึ หัดมโี อกาสรับรู้ถงึ สถานะและการ เปลย่ี นแปลงขององค์การ รวมถงึ ปญั หาและอปุ สรรคทเี่ กิดขึ้น ตลอดจนภารกิจต่างๆท่ีองค์กรจะทาใน ปัจจุบัน และตอ่ ไปในอนาคต  ทาให้นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี รับรู้ปัญหาหรืออุปสรรคที่เกิดขึ้น ในการทางาน รว่ มกบั ครูฝกึ รวมทงั้ มสี ว่ นร่วมกับครูฝึกพจิ ารณาทางเลอื กที่เหมาะสมที่สุดเพื่อแกไ้ ขปญั หาทีเ่ กิดขึน้  ทาให้นักเรยี นนักศึกษาระบบทวภิ าคมี ีโอกาสรับรู้จุดแขง็ หรอื ขอ้ ดขี องตน รวมถงึ จุดออ่ น หรือส่ิงท่ตี ้องพฒั นาปรบั ปรุงเพื่อให้สามารถทางานได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพมากยิ่งขน้ึ  ทาให้นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีรู้จักวางแผน และจัดลาดับความสาคัญก่อนหลังของ งาน รับรู้เทคนิควิธกี ารในการทางานให้ประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย และระยะเวลาท่ีครูฝึกกาหนด  สร้างขวัญและกาลังใจท่ีดีในการทางาน ซึ่งนักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีจะไม่รู้สึกว่า ตนเองทางานเพียงลาพัง หรือมีความรู้สึกว่าครูฝึกไม่ทอดทิ้ง และพร้อมท่ีจะช่วยจะพัฒนาความสามารถ และศักยภาพในการทางานของนกั เรียนนักศึกษาระบบทวภิ าคี  เป็นแรงจูงใจหรือส่ิงกระตุ้นให้นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีต้องปรับตัวเอง มีความ กระตอื รือรน้ และความพรอ้ มทจี่ ะเรยี นรสู้ ิ่งใหมๆ่ อยู่เสมอ  ส่งเสริมให้นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีมีมูลค่า (Value) ในการทางานเพ่ิมข้ึน เนื่องจากการสอนงานที่ถูกต้องโดยพิจารณาตามความต้องการของนักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี แต่ละคน จะมีส่วนช่วยตอบสนองให้นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีบรรลุเป้าหมาย (End Goal) ของตนเองท่ีกาหนดไว้ ประโยชน์ตอ่ ครฝู กึ ผลงานถูกต้อง ได้มาตรฐาน มอบผลงานไดต้ รงตามเวลาที่กาหนด ปรบั ปรงุ ระบบงาน ขั้นตอน วิธีการทางานให้มปี ระสทิ ธิภาพมากยิง่ ขน้ึ ส่งเสริมการทางานรว่ มกันเป็นทีม (Team Working)

• การสอนงานจะช่วยแบ่งเบาภาระงานของครูฝึกเนื่องจากนักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี สามารถทางานไดอ้ ยา่ งถูกต้อง และนาสง่ มอบผลงานไดต้ รงตามเวลาที่กาหนด ทาใหค้ รูฝกึ มเี วลาเพียง พอทจี่ ะคดิ พจิ ารณาปรับปรุงระบบงาน ขั้นตอน และวิธกี ารทางานให้มปี ระสทิ ธิภาพมากยิง่ ข้ึน • เป็นช่องทางหรือโอกาสท่ีครูฝึกสามารถช้ีแจงจุดเด่น หรือจุดท่ีอยากให้นักเรียนนักศึกษา ระบบทวภิ าคพี ัฒนาปรบั ปรงุ การทางานให้ดขี ึ้น • เป็นช่องทางหน่ึงที่ครูฝึกสามารถแจ้งให้นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีรับรู้ถึงวิสัยทัศน์ (Vision) ภารกิจ(Mission) กลยุทธ์ (Strategy) และเป้าหมาย (Goal) รวมทั้งการเปล่ียนแปลง และ การเตรียมความพร้อมในดา้ นตา่ งๆ ทั้งขององค์การและหนว่ ยงาน • ทาให้ครูฝึกมีโอกาสรับรู้ความต้องการหรือส่ิงที่นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีคาดหวัง รวมทั้งรับรปู้ ัญหาหรืออปุ สรรคทเี่ กิดขน้ึ ในการทางานของนักเรยี นนักศึกษาระบบทวิภาคี • สร้างสัมพันธภาพท่ีดีในการทางานระหว่างครูฝึกและ นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี เนื่องจากมีการพูดคุยและปรึกษาหารือกันมากข้ึน เป็นการลดอัตราการลาออกของนักเรียนนักศึกษา ระบบทวิภาคใี ห้น้อยลง • การสอนงานเป็นหนทางหนึ่งท่ีครูฝึกนามาใช้ในการผลักดันและสนับสนุนให้นักเรียน นกั ศกึ ษาระบบทวิภาคที างานให้บรรลเุ ปา้ หมายตามแผนงานที่กาหนด • ส่งเสริมให้เกิดบรรยากาศของการทางานรว่ มกันเปน็ ทีม (Team Working) ระหวา่ งนกั เรียน นักศึกษาระบบทวิภาคีภายในกลุ่ม ซงึ่ จะทาให้นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีรว่ มแรงรว่ มใจ และร่วม คิดที่จะหาแนวทางปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาตา่ งๆท่เี กดิ ขน้ึ ในการทางาน

ประโยชน์ตอ่ องคก์ ร ข้อผดิ พลาดในการทางานน้อยลง ผลงานของหน่วยงานเพิม่ ขนึ้ งานไดม้ าตรฐานและเป้าหมายทก่ี าหนด ลกู ค้าพอใจ ผลกาไรเพ่ิมข้ึน การสอนงานนอกจากจะส่งผลโดยตรงไปยังนักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี เกิดการเรียนรู้ ของตนเองและการสอนงานทถ่ี ูกวิธจี ะส่งผลต่อเน่ืองไปยังระดบั องค์การเกิดการเรียนรู้ขององค์กร นน่ั คือองค์การจะมีผลการปฏิบัติงาน (Organizational Performance) ท่ีเป็นไปตามเป้าหมายหรือ มากกว่า ความคาดหวังท่ีต้องการ ไม่ว่าจะเป็นกาไร รายได้ ยอดขาย ส่วนแบ่งทางการตลาด ผลผลติ และจานวนลูกค้าท่ีเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งต้นทุนหรือค่าใช้จ่าย ในการดาเนินงาน และข้อร้องเรียนของ ลูกค้าท่ลี ดลง ซง่ึ การสอนงานทีด่ ีจะกอ่ ให้เกิดประโยชน์ ดงั นี้ 1. ผลงานของหน่วยงานเพิ่มขึ้นงานที่รับผิดชอบเป็นไปตามมาตรฐานหรือเป้าหมายท่ี กาหนดไว้ 2. ขอ้ ผดิ พลาดในการทางานน้อยลง 3. นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีเกิดการเรียนรู้จะทาให้มีความเข้าใจในงานเพ่ิมมากขึ้นมี ฝีมอื ในการทางานเพม่ิ ขน้ึ สามารถทางานไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งตามวธิ ีการ 4. อบุ ัติเหตใุ นการทางานลดน้อยลง 5. ผลผลิตมีคณุ ภาพดี ตรงตามมาตรฐาน เปน็ ท่พี อใจของลูกคา้ 6. หนว่ ยงานและองค์กรมกี าไรเพิ่มมากขน้ึ การเรียนร้ขู ององคก์ ร การเรียนรขู้ องตนเอง

หลกั ในการวางแผนการสอนงาน (Coaching Model) การสอนงาน (Coaching) เป็นเทคนิคที่นิยมใช้ในการพัฒนาบุคลากร เพ่ือสอนให้เข้าใจวิธีการ ทางาน และสามารถปฏิบัติงานในหน้าที่ได้ทันที โดยจะเรียกผู้ที่ทาหน้าที่สอนงานว่า “Coach” และเรียก ผู้ท่ีถูกสอนงาน ว่า “Coachee” โดยมีการดาเนินงานหลักๆ อยู่ 4 ขั้นตอน (อาภรณ์ ภู่วิทยพันธ์ุ, 2538:182-223) ดงั ไดแ้ สดงไว้ ในภาพประกอบ ต่อไปน้ี ขั้นตอนที่ 1 วางแผนการสอนงาน ข้นั ตอนที่ 4 ขน้ั ตอนที่ 2 ปรบั เปลย่ี น ปฏิบตั ิตามแผน ข้นั ตอนท่ี 3 การติดตามและประเมินผล วงจรการวางแผนการสอนงาน เปน็ ขน้ั ตอนในการวางแผนการสอนงานเพ่ือให้เกดิ ประสิทธภิ าพ มีลาดบั ขนั้ ตอน ดงั ต่อไปนี้ ขัน้ ตอนที่ 1 การวางแผนการสอนงาน 1.1 กาหนดวตั ถุประสงคข์ องการสอน - การสอนงานต้องเฉพาะเจาะจงเปน็ เรอ่ื งๆ (Specific) ตอ้ งการสอนอะไร ตอ้ งการให้รู้ เรือ่ งอะไรเป็นเร่ืองๆ ไป และครูฝึกต้องบอกให้นักเรียนนักศึกษาระบบทวภิ าคีได้ทราบถึงวัตถุประสงค์ ในการสอน และความคาดหวังทีต่ อ้ งการใหเ้ กิดข้ึนภายหลังเสร็จสนิ้ การสอนงานไปแลว้

- การสอนงานต้องวัดผลสาเรจ็ ได้ (Measurable) ครูฝึกตอ้ งกาหนดผลสาเร็จท่ีเกิดขึ้น จากการสอนงานให้ชัดเจนเป็นตวั เลขท่ีวัดได้ หรอื เป็นพฤติกรรมที่สามารถสงั เกตเห็นผลลัพธ์ทเ่ี กิดขึ้น ได้ตามความตอ้ งการ - การสอนงานจะต้องตอบสนองเป้าหมายหลักขององค์กรได้ (Relevant) ครูฝึกควร แจ้งให้นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีทราบว่าเร่ืองทสี่ อนน้ีจะตอบสนองต่อเปา้ หมายหลกั ขององค์กร ในเร่ืองใด เพ่ือนักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีจะเข้าใจเหตุผลในการสอนของครูฝึกว่าเป็นเรอื่ งสาคญั ท่ีองคก์ รตอ้ งการใหเ้ กดิ ขน้ึ - การสอนงานต้องกาหนดเวลาให้ชัดเจน (Timetable) ครูฝึกควรกาหนดระยะเวลาใน การสอนงานแต่ละคร้ังให้เหมาะสม และรักษาเวลาในการสอนงานไม่ให้ยืดเยื้อหรือละเลยเวลาที่ได้ จัดสรรไว้เพื่อการสอนงาน นอกจากนี้จะต้องกาหนดระยะเวลาในการปฏิบัติงานที่ครูฝึกต้องการ เห็นผลงานจากนักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี 1.2 กาหนดกลุ่มเปา้ หมายจะสอนงานใหก้ บั ใครโดยการแบง่ กลมุ่ เปา้ หมาย - แบ่งตามระยะเวลาการฝกึ อาชีพในสถานประกอบการ - แบ่งตามระดับการศึกษา และประสบการณ์ - แบ่งตามผลการปฏิบตั ิงาน - แบ่งตามการเรียนรูแ้ ละการรับรู้ ซง่ึ ครูฝกึ สามารถประเมินไดจ้ ากการตอบคาถาม การนาเสนอความคดิ หรือการอธิบายช้ีแจงข้อมลู ต่าง ๆ - แบง่ ตามลกั ษณะนสิ ัย 1.3 จดั ทาข้นั ตอนงาน/ซอยงาน ครูฝึกควรจัดทาขัน้ ตอนการทางาน โดยการซอยงานออกเปน็ สว่ นยอ่ ยๆ คือ - ขั้นตอนการทางาน (Flow Chart) หรือ เขียน บรรยายเป็นรายละเอยี ด ของงานเปน็ ข้อๆ ต้ังแต่ขน้ั ตอนแรก จนถึงขนั้ ตอนสดุ ทา้ ยของการทางาน - จุดเน้นท่ีสาคัญ - ขอ้ ควรระวังในการปฏบิ ตั ิงาน - จุดอันตรายที่ต้องระมดั ระวัง 1.4 ตรวจสอบอุปกรณ์/เอกสาร/สถานท่ี

ก่อนเรมิ่ สอนงานครูฝึกควรตรวจสอบอปุ กรณ์ทจี่ าเป็นต้องใชป้ ระกอบการสาธิต รวมถึง การทดสอบวธิ ีการใช้และความพร้อมของของอปุ กรณแ์ ละเครอื่ งมือต่างๆ ให้พร้อมตลอดจนการ เตรียมเอกสารประกอบการสอน หรือเอกสารที่กล่าวถงึ เป้าหมายนโยบาย หรือแผนงานต่างๆ ท่ี เกีย่ วข้องทน่ี ักเรียนนักศึกษาระบบทวภิ าคีควรได้รบั รู้ สถานท่ีในการสอนงาน เป็นสิ่งสาคัญที่ครู ฝึกควรต้องจัดเตรียมให้เหมาะสมกับเรื่องท่ีจะ สอนประเภทของกลุ่มเป้าหมาย และจานวนของ กลุ่มเป้าหมาย ซึ่งไม่ควรเป็นสถานท่ีใหญ่หรือเล็ก เกนิ ไป ขัน้ ตอนที่ 2 ขน้ั ปฏิบตั ติ ามแผน 2.1 การแจ้งวตั ถุประสงคแ์ ละเปา้ หมาย แจ้งวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ในการสอนงานให้นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี ทราบทุกคร้ัง ซ่ึงเป็นความคาดหวังและความต้องการท่ีครูฝึกต้องการให้เกิดขึ้นภายหลังเสร็จส้ินการ สอนงาน 2.2 นาเสนอตัวอยา่ งเพื่อให้เหน็ ภาพ เพ่ือให้เกดิ ความเข้าใจมากยงิ่ ข้ึน ครูฝกึ อาจนาประสบการณ์ของตนหรอื ของผู้อน่ื ที่เปน็ ประสบการณท์ ่ดี ี และที่ไม่ดี หรือ อาจเป็นตัวอย่างท่ีบรรลุผลสาเร็จจากองค์กรอื่นมาให้นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีเห็นภาพชัดเจน มากขน้ึ 2.3 การสงั เกตพฤตกิ รรมเพอ่ื ปรับเปลีย่ นรูปแบบในการสอน ครูฝึกควรสังเกตสีหน้า พฤติกรรมการแสดงออกของนักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีใน ระหว่างการสอนงาน เน่ืองจากจะสะท้อนให้เห็นถึงความสนใจ ความเข้าใจในเรื่องที่ครูฝึกสื่อสาร ไดม้ ากน้อยแค่ไหน เพ่ือจะได้หาวิธีปรับเปล่ียนแนวทางในการสอนให้เหมาะสม เพือ่ ชกั จูง หรือเพ่ือให้ นกั เรียนนกั ศึกษาระบบทวิภาคีมสี ว่ นรว่ มในการแสดงความคดิ เห็น 2.4 การจดั ลาดบั ข้นั ตอนในการอธิบาย ครูฝึกเองก็ควรศึกษาและทาความเข้าใจ ในขั้นตอนงานท่ีจะสอน เพราะการสอนงาน จากความเขา้ ใจจะทาให้ครูฝึกเกิดความมั่นใจ มีเหตผุ ลและสามารถตอบข้อซักถามได้ชดั เจนมากยิ่งข้ึน ครูฝึกควรพูด หรืออธิบายขั้นตอนในการทางานอย่างเป็นระบบไม่ควรรีบร้อนพูด หรืออธิบายข้ามขั้น เพราะคดิ ว่าร้แู ล้ว

2.5 การให้ความสาคัญ กบั นกั เรียนนกั ศึกษาระบบทวิภาคอี ย่างเทา่ เทียมกันทกุ คน การสอนงานท่ดี ี ครูฝึกควรให้ความสนใจ และใหค้ วามสาคญั กบั นกั เรยี นนกั ศึกษาระบบ ทวิภาคีทุกคนไม่ว่าจะเป็นการชักชวนให้มีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็น การกวาดสายตาไปยังทุกคน การ พูดหรือกล่าวถึงเพียงคนใดคนหนึ่ง เป็นสิ่งที่ไม่ควรทา เพราะจะทาให้เกิดความรู้สึกว่า ครูฝึกลาเอียง หรอื ไมเ่ อาใจใส่คนอ่ืน 2.6 ทบทวนความเข้าใจเป็นระยะโดยการตัง้ คาถาม เพื่อทดสอบความเข้าใจและรับรู้ในส่ิงที่ได้สอนผ่านไปแล้ว การต้ังคาถามต้องให้ตรง ประเด็น ไม่ควรตั้งคาถามแบบประชดประชนั หรือเป็นการลองภูมปิ ัญญาของนักเรียนนกั ศึกษาระบบ ทวิภาคี 2.7 การสร้างความม่ันใจและให้กาลังใจ ครูฝึกควรใช้คาพูดในทางบวก เพ่ือส่งเสริม สนับสนุนการปฏิบัติงานตามท่ีได้รับ มอบหมาย และหากนักเรยี นนกั ศึกษาระบบทวิภาคี มีนสิ ัยไม่ม่ันใจในตัวเอง ครฝู ึกแสดงออกถงึ การให้ กาลงั ใจ สร้างความม่ันใจ ในความรู้ ความสามารถที่มี สามารถทางานท่ีไดร้ บั มอบหมายได้ 2.8 การเปิดโอกาสให้ซักถามปัญหา ในระหว่างท่ีนักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีรับฟังการสอน อาจจะไม่เข้าใจหรือสงสัย ครู ฝึกไม่ควรสรุปว่า ทุกคนเข้าใจในส่ิงท่ีสอน จะต้องเปิดโอกาสให้ซักถามข้อสงสัย และครูฝึกไม่ควรดูถูก หรือสบประมาทนกั เรียนนกั ศกึ ษาระบบทวภิ าควี ่าเรียนร้ชู า้ จากการตัง้ คาถามนน้ั ขึ้นมา ข้นั ตอนท่ี 3 การติดตามและประเมนิ ผล ภายหลังจากการสอนงานแล้ว ครูฝึกควรติดตามและประเมินผลนักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี ด้วยว่ามคี วามเขา้ ใจในสงิ่ ทส่ี อนไปหรอื ไม่ด้วยวธิ กี ารประเมนิ ดังตอ่ ไปน้ี - การสังเกต (Observation) การสงั เกตเป็นวิธีการที่ครูฝึกจะต้องใส่ใจและค่อยๆ กระทาโดยไมด่ ว่ นสรปุ จากเหตกุ ารณเ์ พยี งเฉพาะช่วงเวลาใดเวลาหน่ึงเทา่ น้ัน - การพูดคุย (Talking) ครฝู กึ ควรพูดคุยหรือสอบถามถึงผลที่เกิดจากการสอนงาน ไปแลว้ โดยทไี่ ม่ต้องใชเ้ วลามากนกั เพอ่ื สอบถามถงึ พฤติกรรมหรือผลงานที่เกดิ ข้ึนตามมา - พฤติกรรม หรือ ความสามารถ (Competency) ควรมุ่งเน้นไปท่ีการวัดพฤติกรรม ที่สะท้อนให้เห็นถึงความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะส่วนบุคคลของนักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี ที่เปลี่ยนไป อันแสดงออกให้รูว้ า่ มคี วามสามารถในการทางานเพ่ิมขึ้นเพยี งใด - ผลการปฏบิ ตั ิงาน (Performance) ครูฝกึ ควรสงั เกตผลงานของนักเรยี นนกั ศึกษา ระบบทวิภาคี เปน็ ไปตามเป้าหมายที่กาหนดหรือไม่ อาจใช้ระยะเวลาในการสังเกตและตรวจสอบผลงาน

ซึ่งอาจจะจัดทาเป็นตาราง Checklist การติดตาม สรุป และประเมินผลพฤติกรรม และผลงานของ นักเรียนนกั ศกึ ษาระบบทวิภาคี ขัน้ ตอนท่ี 4 การปรับเปลี่ยนแนวทางในการสอน เมื่อการได้ข้อมูลย้อนกลับ พบว่า นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี ไม่เข้าใจงาน ไมป่ ระสบผลสาเร็จในการปฏบิ ตั ิงานเทา่ ทคี่ วรจะตอ้ งคน้ หาสาเหตใุ ห้ไดว้ า่ เปน็ เพราะเหตุใด เชน่ - ครูฝึกอธิบายไมช่ ดั เจน - การนาเสนอตัวอยา่ งไมด่ ี - มเี วลาน้อยเกนิ ในการสอนงาน - สอนงานไมเ่ ป็น ถา่ ยทอดความรู้ไมไ่ ด้ ครูฝึกจะต้องหา วิธีการ ปรับเปล่ียนรูปแบบแนวทางในการสอนงาน และการถ่ายทอด ข้อมูล รวมถึงการนาวิธีการพัฒนาบุคลากรด้านอ่ืนๆ มาใช้ควบคู่ไปกับการสอนงาน เช่น ทักษะการ นาเสนอ การใชส้ ่อื การศึกษาดงู าน เปน็ ตน้

การจดั ทาแบบซอยงาน (Operation Breakdown) Sheet) “การซอยงาน” คืออะไร ? การซอยงาน คือ การนาเอางานที่จะสอนมาทาการวิเคราะห์ แยกรายละเอียดออกเป็น ส่วนๆ ให้พอเหมาะกับการปฏิบัติงาน ส่วนที่แยกออกมาน้ีเรียกว่า “ข้ันของการปฏิบัติงาน” (Steps in the Operation) ซึ่งส่วนสาคัญของการปฏิบตั ิงานที่ได้จัดแบ่งไว้เป็นตอนๆ เพื่อแสดงลาดับ การ ทางานชิ้นนั้นๆ ให้ลุล่วงไป โดยแต่ละส่วนจะต้องพิจารณาถึง “จุดสาคัญ” (Key Points) อัน หมายถึง คาช้ีแจง หรือคาอธิบาย เพ่ือให้การปฏิบัติในแต่ส่วนตามขั้นตอนต่างๆ เป็นไปอย่างถูกต้อง สะดวก รวดเร็วและปลอดภัย พร้อมทั้งได้ผลงานที่เกิดประสิทธิผล การซอยงาน จึงเป็นการจัดลาดับ ขั้นตอนการทางาน เพ่ือให้ทราบว่า ในแต่ละงานมีอะไรแต่ละข้ันตอนมีการปฏิบัติงานอย่างไร และมี มาตรฐานการทางานในแต่ละขั้นตอนอย่างไร ความสาคญั ของการซอยงาน การสอนงานทุกคร้ังจะต้องอาศัยการซอยงาน เป็นแนวทางท่ีสาคัญ และจาเป็นอย่างยงิ่ มฉิ ะน้นั นกั เรยี นนักศกึ ษาระบบทวิภาคีจะตามการสอนไม่ทนั และจะทาใหไ้ ม่บรรลวุ ัตถปุ ระสงคใ์ นการ สอนแบบซอยงานจึงเป็น “คู่มือ” ท่ีมีความสาคัญ และจาเป็นจะต้องนามาใช้ในการสอนงานเสมอ โดยมีวตั ถุประสงค์ในการจดั ทาดงั น้ี 1. เพอ่ื เป็นการเตรยี มการสอนที่เปน็ ระบบ เปน็ แบบฉบับและการสอนทส่ี มเหตผุ ล 2. เพื่อแบง่ ลาดับข้นั ตอนการอธบิ าย และการสาธติ ใหผ้ ปู้ ฏิบัตงิ านเข้าใจไดง้ า่ ยย่ิงข้ึน 3. เพือ่ สรา้ งข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน และมาตรฐานในการทางาน ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ นการจัดทาแบบซอยงาน 1. การกาหนดชือ่ งาน ต้องระบชุ ่ืองานใหช้ ดั เจน 2. การระบุขั้นตอนการปฏิบัติงาน ต้องซอยงานออกเป็นขั้นๆ เรียงตามลาดับ กอ่ นหลงั ใหค้ รบถ้วน โดยเขียนใหส้ นั้ กระชบั และชัดเจน 3. การเขียนจุดสาคัญ ต้องระบุข้ันตอนของการปฏิบัติงานให้ครบถ้วน ก่อนเขียน จุดสาคัญโดยเริ่มเขียนด้วยคาว่า “ต้อง” ทาอย่างไร และอธิบายวิธีทางานในแต่ละขั้นของ การปฏิบัตงิ านใหส้ ามารถทางานได้อยา่ งถกู ต้อง ปลอดภัย สะดวก และรวดเรว็ ตามลกั ษณะของงาน 4. การตรวจสอบ ต้องทดลองทางานชิ้นนั้นโดยใช้แบบซอยงานที่ได้ทาขึ้นโดยต้อง ทดสอบทุกๆ ขั้นตอนของการปฏิบัติงานตามลาดับ และต้องทดสอบคาอธิบายในจุดสาคัญว่ามี ความเขา้ ใจอยา่ งถกู ตอ้ งและชดั เจน

แบบซอยงาน (Operation Breakdown Sheet) ช่อื งาน : การทดลองการผลิตงานขนึ้ รูปโลหะ (ชน้ิ สว่ น) ลาดับขน้ั ของการปฏบิ ัตงิ าน จดุ สาคญั 1. การเตรยี มวตั ถดุ บิ 1.1 ตอ้ งตรวจสอบวตั ถุดิบก่อนนามาผลิต 1.2 ตอ้ งตรวจสอบวัตถดุ ิบวา่ ได้คณุ ภาพหรือไม่ 1.3 ตอ้ งเกบ็ ขอ้ มูลการส่งมอบวัตถดุ บิ 2. การตรวจสอบเครอ่ื งจักร 2.1 ต้องตรวจสอบเครื่องจักรกอ่ นการผลติ ตามจุดสาคัญ 2.2 ต้องหยอดนา้ มนั เพอื่ หล่อลืน่ เคร่ืองจักร 2.3 ตอ้ งทดสอบการทางานของเครื่องจักรกอ่ นลงมอื 3. การตรวจสอบแม่พิมพ์ 3.1 ต้องตรวจสอบแมพ่ ิมพ์กอ่ นนามาปั๊มวา่ ชารุดหรอื ไม่ 3.2 ตอ้ งทาการตรวจเช็คแม่พิมพ์หลังการผลติ ทุกคร้ังวา่ มี จุดบกพร่องหรือไม่กอ่ นจัดเก็บ 3.3 ตอ้ งซ่อมส่วนที่ชารดุ เพ่ือความสะดวกในการใชง้ านครั้งต่อไป 4. การตรวจสอบคุณภาพ 4.1 ตอ้ งทาการตรวจสอบคุณภาพของชิ้นงานทุกจุด 4.2 ตอ้ งไม่ใหผ้ ิวชน้ิ งานมรี อยยุบ 4.3 ตอ้ งไม่ใหผ้ วิ ช้นิ งานมีรอยเบยี ด สรุป การซอยงานเป็นการแบ่งขั้นตอนการทางานในแต่ละงานมีอะไร แต่ละขั้นตอน ปฏิบัติงานอย่างไรบ้าง และมีจุดสาคัญที่ต้องเน้นย้าในแต่ละขั้นเพียงใด อย่างไร ซึ่งเป็นแนวทางท่ี สาคัญและจาเป็นอย่างยิ่ง ในการสอนงาน หากครูฝึกไม่ทาการวิเคราะห์งาน และจัดทาแบบ ซอยงาน จะทาให้นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีตามขั้นตอนต่างๆ ไม่ทัน และทาให้ไม่บรรลุ วัตถุประสงค์ในการสอน วธิ ีการสอนงาน 4 ข้นั ตอน แนวคดิ เก่ยี วกบั การสอนงานไว้ว่า เปน็ การสอนวธิ กี ารปฏบิ ัตงิ านให้กบั นักเรยี นนักศึกษา ระบบทวิภาคี ในหน้าที่ใดหน้าที่หน่ึงโดยเฉพาะ เพ่ือให้รู้วิธีการทางาน สามารถเริ่มต้นการทางานได้ อยา่ งถูกต้อง การสอนงานจะมลี กั ษณะทีเ่ ฉพาะเจาะจงและเปน็ ระบบ เปน็ กลวิธีทตี่ อ้ งใชก้ ารวเิ คราะห์ ทักษะ และทฤษฎกี ารเรยี นรู้ โดยสามารถทจี่ ะสอนเป็นรายบุคคล หรือสอนเป็นกลุ่มก็ได้ วิธีการสอนงาน 4 ข้ันตอน (Four Steps Method) เป็นวิธีการสอนงานท่ีให้ผลดีมาก วิธีหน่ึง และเปน็ ทีน่ ยิ มใชใ้ นสถานประกอบการ โดยหลักการน้ี มีแนวคิดในการสอนงานไว้ ดังตอ่ ไปนี้ 1. การสอนงานควรจะทา โดยครฝู ึก ซง่ึ ได้รบั การฝกึ อบรมด้านวธิ กี ารสอน

2. การสอนงาน เป็นกล่มุ ๆ ละประมาณไมเ่ กนิ 10 คน 3. จะต้องมีการวิเคราะห์งานและจดั ทาแบบซอยงานก่อนการสอนงาน 4. การสอนงานทเี่ ป็นการพฒั นารายบคุ คล จะทาใหเ้ กิดความรสู้ ึกจงรกั ภกั ดตี อ่ องค์กร วธิ ีการสอนงาน 4 ขั้นตอน มีกระบวนการจัดลาดบั ขัน้ ตอนของการสอนงานไว้ ดังตอ่ ไปนี้ (สมติ สัชฌุกร, 2537:53-58) (1) (2) (3) (4) ข้ันเตรยี ม ขน้ั สอน ข้นั ให้ลงมอื ขัน้ ตรวจสอบ ความพร้อม วิธกี ารทางาน ปฏบิ ตั งิ าน ตดิ ตามผล (Preparation) (Practice) (Testing and (Presentation) Follow-up) ภาพแสดงขนั้ ตอนในการสอนงานแบบ Four Steps Method 1. ขั้นเตรยี มความพร้อม (Preparation) เป็นขั้นเตรียมการในแต่ละช่วงเวลาการสอน ครูฝึกจะต้องวางแผนการสอนว่าจะ เสนอเนื้อหาวิธีสอนที่เหมาะสมได้อย่างไร ใช้สื่อการสอนและการสาธิตการสอนชนิดใด รวมทั้งการ เตรียมนักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีด้วยว่าจะให้ปฏิบัติตามอย่างไรบ้าง นักเรียนนักศึกษาระบบ ทวิภาคีจะต้องรับรู้ว่าสิ่งที่เรียนไปเกี่ยวข้องและมีประโยชน์กับตนหรือไม่ อย่างไร และควรจะ กระตุ้นให้นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี เกิดความภาคภูมิใจในงาน และมีความพึงพอใจในงานท่ี ได้ทาไปด้วย 1.1 ต้องทาความรจู้ กั นกั เรยี นนักศกึ ษาระบบทวิภาคี ศึกษาภูมิหลัง อุปนิสัย และประสบการณ์ทางานของนักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี ว่าเป็นเช่นไร เคยทางานในหน้าที่ใดมาบ้าง มีความรู้ความชานาญในด้านใด มีขีดความสามารถใน ระดับใดและมีระดับความรู้พื้นฐานในเรื่องที่จะสอนอย่างไร 1.2 ต้องศึกษาและวิเคราะห์ความร้เู ดมิ ของนกั เรยี นนกั ศึกษาระบบทวภิ าคี การสารวจความรู้เดิมได้ถูกต้อง จะเป็นประโยชน์ต่อครูฝึกให้รู้ว่าควรจะเริ่มสอนจาก ตอนไหน ให้มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกัน เพื่อจะได้ไม่สอนซ้าในสิ่งที่มีความรู้และทาได้ดีแล้วเพราะ อาจจะเกิดความเบ่ือหน่าย แต่หากสอนข้ามไปก็อาจจะทาให้ต่อไม่ติดได้

- สอบถามความรู้เดิมในงานที่จะสอนว่า นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีมีความรู้ใน งานท่ีสอนมากหรือนอ้ ยเพียงใดรแู้ ละเข้าใจงานทีจ่ ะสอนมาแล้วอยา่ งไร - ให้นักเรยี นนกั ศึกษาระบบทวิภาคี ทดลองทางานทแี่ จ้งวา่ รูม้ าก่อน เพอื่ ให้เห็นจรงิ ว่า สามารถทางานในข้ันตอนน้ันๆ ได้ - ให้นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี แสดงความเข้าใจด้วยตนเอง โดยครูฝึกไม่ควร กล่าวนา หรือชิงพูดก่อนมิฉะน้ันจะไม่รู้ว่านักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีมีความรู้ ความเข้าใจในงาน มากนอ้ ยเพียงใด - ต้องไม่สรุปว่านักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีน่าจะรู้งานมาแล้ว หรือสรุปจากช่ือ ตาแหน่งงานท่ีนักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีเคยทาว่าควรจะรู้งาน หรือเป็นงานอะไรน้ีมาแล้ว และไมด่ ่วนสรปุ เอาจากอายงุ านเดมิ ว่าน่าจะมคี วามชานาญเพราะทางานลกั ษณะเดียวกนั นี้มาหลายปี 1.3 ตอ้ งกาหนดเปา้ หมายการสอน ว่าจะให้รู้อะไร และจะต้องทาอะไรให้ได้ภายในระยะเวลาท่ีกาหนด โดยจัดแบ่งการสอน เปน็ ออกขัน้ ตอน และมเี วลากากบั ไวด้ ้วยเสมอ 1.4 สรา้ งบรรยากาศให้เห็นประโยชน์จากการเรยี น มีความสบายใจ ไม่เครียด เป็นกันเอง ต้ังใจเรียน โดยชี้ให้เห็นความสาคัญต่องานท้ังระบบ รวมถงึ ชใ้ี หเ้ หน็ ถงึ ผลของการทางานที่ไมถ่ กู ต้อง 1.5 กระตุ้นความสนใจ ให้นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีเกิดความสนใจและให้ความร่วมมือในการเรียน ดว้ ยเทคนคิ การเร้าความสนใจ ความตอ้ งการทีจ่ ะเรียนรู้ 2. ขัน้ สอน วิธีการปฏบิ ตั ิงาน (Presentation) การอธบิ าย คว3รจ.ะใช้คาที่งา่ ย ตรงไปตรงมา สัน้ กะทดั รดั ใช้ภาพส่ือ ต่างๆ ประกอบการอธบิ าย การสาธติ เปน็ การสอนงานดว้ ยการกระทา หรอื แสดงใหด้ เู ป็นตวั อย่าง แนวทางการสอนงาน เปน็ สว่ นสาคญั ของการสอนงานโดยมุ่งครฝู ึกจดั ลาดับเรื่องในการสอน งานใหค้ รอบคลมุ เนอื้ หาที่ต้องการให้เรียนรู้ ลาดับในการสอนงาน มีแนวทางดังนี้ - จากส่งิ ทรี่ ู้ ไปหาสิ่งทไี่ ม่รู้ - จากงา่ ย ไปหายาก - จากรปู ธรรม ไปหานามธรรม - จากกว้าง ไปหาแคบ

- จากส่งิ ท่ีสังเกตได้ ไปสสู่ งิ่ ท่ีใช้เหตุใช้ผล - จากส่วนรวม ไปหาสว่ นย่อแลว้ กก็ ลบั ไปหาสว่ นรวมใหม่ 2.1 จัดสถานที่ที่เหมาะสม ให้นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี สามารถมองเห็นวิธีปฏิบัติ ทุกขน้ั ตอนอย่างชดั เจน มีมุมมองไดท้ ่ัวถึง โดยไมม่ ีสงิ่ ขวางก้นั เพ่อื ใหเ้ ขา้ ใจได้อยา่ งชัดแจง้ 2.2 แจ้งวัตถุประสงค์ของการสอนงาน เพ่ือให้นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีได้ร้เู ป้าหมาย เล็งเห็นความสาคัญ และประโยชนท์ ีจ่ ะได้รบั จากการเรยี นรงู้ าน 2.3 สอนงานตามลาดับ ครูฝึกอธิบายลักษณะของงาน และวิธีการปฏิบัติงานตามลาดับ ขั้นตอน พร้อมท้ังเหตุผลท่ีต้องทาอธิบายเน้นย้าจุดสาคัญและข้อควรระวัง ที่ระบุไว้ในแบบซอยงาน อย่างครบถ้วน ต้องบอกให้รู้ถึงจุดอันตรายในการทางาน (ถ้ามี) ให้คาแนะนา และบอกวิธีการป้องกัน ให้ชัดเจน

2.4 สาธิตหรือแสดงวิธีการทางาน การสาธิต เป็นสว่ นสาคญั ของการสอนงาน การกระทา หรอื แสดงใหด้ ูเปน็ ตัวอย่าง มีจงั หวะการพดู ท่ดี ี ฟงั แล้ว เขา้ ใจงา่ ย การใช้อปุ กรณ์หรอื ใช้หุน่ จาลอง ประกอบ คาอธิบาย เปิดโอกาสให้นกั เรียนนกั ศึกษาระบบทวิภาคี ได้สมั ผสั และซกั ถามได้ การสาธติ จะประกอบด้วยสามระยะ คือ ระยะที่ 1 เป็นการแสดงให้ดูในความเรว็ ปกติที่นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีจะไดเ้ ข้าใจ สภาพทีเ่ ป็นจริงของการทางานนน้ั ระยะท่ี 2 เป็นการแสดงให้ดูช้าๆ และเน้นข้ันตอนท่ีถูกต้อง เพื่อให้นักเรียนนักศึกษา ระบบทวิภาคไี ด้เรยี นรอู้ ยา่ งชัดเจน ระยะท่ี 3 แสดงให้ดูอย่างช้าๆ ซ้าอย่างน้อย 2 – 3 คร้ัง โดยเน้นให้เห็นว่า ทาอย่างไร ทาเม่ือไรและทาทาไม 2.5 ทดสอบความเข้าใจเปน็ ระยะ ครูฝกึ สงั เกตการรับรู้ ความสนใจ มีการตงั้ คาถามเป็นระยะ ในระหว่างการสอนงานเพือ่ ทดสอบความเขา้ ใจ 2.6 เวลาในการสอนอยา่ งเพยี งพอ ไม่รบี เร่งสอนจนเกินไป ไมเ่ รง่ สอนจนเกินความสามารถ ของนกั เรยี นนักศกึ ษาระบบทวภิ าคีที่จะรับได้ 3. ข้ันให้ลงมือปฏิบัตงิ าน (Practice) 4. ขนั้ ใหล้ งมอื ปฏิบตั งิ าน เปน็ การให้นักเรยี นนักศึกษาระบบทวภิ าคไี ด้ลองเลยี นแบบครูฝึก และ ทาซ้าๆ ภายใต้การแนะนา ดูแลของครูฝึก จุดมุ่งหมายก็เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายในงานอย่างแท้จริง ทง้ั น้ีครูฝึกจะตอ้ งช่วยพัฒนาทักษะและการทางานร่วมกันอยา่ งเหมาะสม และทส่ี าคัญจะตอ้ งพยายาม ผสมผสานการทางานในลกั ษณะต่างๆ เข้าด้วยกนั จนไดร้ ปู แบบของการทางานที่ครบถ้วนสมบูรณ์ 3.1 ทดลองทา เพอ่ื ใหร้ ้ขู ้อบกพร่องและให้คาแนะนาแก้ไขเปน็ ข้นั ๆ 3.2 แก้ไข เม่ือมีการปฏิบัติที่ผิดพลาดของนักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี ต้องแก้ไขในทันที มิฉะนนั้ จะกลายเปน็ ความเคยชินที่ไม่ถกู ต้อง และตดิ ตัวตลอดไป 3.3 ทบทวนขั้นตอน สังเกตการปฏิบัติที่แสดงถึงความเข้าใจและการเรียนรู้ในจุดสาคัญ โดยให้นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี ทบทวนขั้นตอนการปฏิบัติให้ดู และให้บอกจุดสาคัญในแต่ละ ข้นั ตอนให้ครูฝกึ ฟัง

3.4 อธิบายจุดสาคัญ ต้องให้นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีทดลองอธิบายจุดสาคัญใน ขณะทีฝ่ ึกปฏิบัติ เพ่ือใหแ้ นใ่ จว่ามีความเขา้ ใจท่ีถกู ตอ้ งเพยี งใด 3.5 ทาซ้า ให้ทดลองทาซ้าต้ังแต่ต้น จนแน่ใจว่านักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีทางานได้ อยา่ งถกู ตอ้ ง 3.6 กระตุ้นความมั่นใจ ให้คาชมเชยเมื่อนักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีสามารถทางานได้ ถูกต้องตามเวลาที่กาหนด เกดิ ความพอใจในการเรยี นรดู้ ้วยการปฏิบตั ิจริง มคี วามมนั่ ใจในการทางาน 4. ข้ันตรวจสอบ ติดตามผล (Testing and Follow-up) 5. ขน้ั ตรวจสอบ ติดตามผล เปน็ การตรวจสอบนักเรยี นนักศึกษาระบบทวภิ าคีในระหวา่ งการฝึก การทางานนั้นๆ จนกว่าจะสามารถทาได้ในระดับปกติ หรือมีประสบการณ์พอเพียงท่ีสามารถจะ ทางานไดอ้ ย่างมคี ณุ ภาพ มคี วามเรว็ ปกติ และมคี วามปลอดภยั 3.1 ครูฝกึ มอบหมายใหน้ กั เรียนนักศึกษาระบบทวภิ าคี ทางานด้วยตนเองทนั ทีทไี่ ดเ้ รยี นงานแลว้ 3.2 ครูฝึก หรือพเ่ี ลี้ยง ดแู ล แนะนาหรอื ชว่ ยเหลอื เมือ่ มคี วามจาเป็น 3.3 ครูฝึก สอนงานเพิ่มเติมทันที หากพบว่าการทางานยังมีขอ้ บกพร่อง หรือมีความเข้าใจท่ี ไม่ถูกต้อง 3.4 ครฝู ึก ติดตามการทางานจนแน่ใจวา่ ทาได้ถูกตอ้ ง ครบถว้ นสมบูรณโ์ ดยแทจ้ ริง จึงให้ทา ตามลาพัง ในขั้นน้ีนักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี อาจต้องการความช่วยเหลือ ในกรณีท่ีเกิดปัญหาหรอื พบอุปสรรคในการทางาน ซึ่งครูฝึกควรจะทบทวนให้จนกระทั่งนักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี มคี วามม่นั ใจและสามารถดาเนินงานน้ันไดเ้ อง การสอนงาน เป็นหน้าที่สาคัญประการหน่ึงของ ค รู ฝึ ก ที่ ต้ อ ง ท า ค ว า ม เ ข้ า ใ จ แ ล ะ พ ย า ย า ม น า ไ ป ประยุกต์ใช้ให้ถูกต้องเพื่อพัฒนานักเรียนนักศึกษา ระบบทวิภาคีให้มีความรู้ ความสามารถ และความ ชานาญในการทางานเพ่มิ มากขึน้

การสอนงานทีด่ ี - เปน็ การเพ่ิมผลผลติ ให้กับองค์กร - เพ่มิ ศรัทธาทมี่ ตี ่อครูฝึก ในการเปน็ ผูน้ า - มนี ักเรยี น นักศกึ ษาระบบทวิภาคี ทมี ีความสามารถ ทางานไดเ้ ต็มประสิทธิภาพ - เปน็ การลดภาระการตดิ ตาม แกไ้ ขข้อบกพร่องของงาน - มเี วลาในการพัฒนาและบรหิ ารงานมากย่ิงข้ึน ดงั น้นั การสอนงานจึงถือเปน็ เคร่ืองมือที่สาคญั ในการทางานของครฝู กึ ซึง่ จะต้องรจู้ ักนาออกมาใช้ เพ่อื เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการทางานใหก้ ับตนเอง

เทคนคิ การสอนงาน Training Coaching การเลือกวธิ กี ารสอนและสอนงาน ครูและครฝู ึก ต้องเลอื กวิธสี อนใหเ้ หมาะสมกับเนือ้ หาและระดับการศกึ ษา ของนกั เรยี นนกั ศึกษาระบบทวภิ าคี เทคนิคการสอนงาน ให้มีประสทิ ธภิ าพด้วยวิธีการสอนแบบตา่ งๆ เทคนิคการการสอน มรี ูปแบบตา่ งๆ ไดแ้ ก่ - การสอนแบบฝึกปฏิบตั ิจรงิ (On the Job Training) - การสอนแบบโค้ช (Coaching) - การสอนแบบพี่เลี้ยง (Mentor) - การสอนแบบสาธิต (Demonstration) - เทคนิคการสอนงานตามลักษณะนสิ ัย - การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning) - การจดั การเรียนรู้แบบโครงการ/โครงงาน (Project Based Learning) - ฯลฯ การสอนแบบการฝึกปฏิบตั งิ านจริง On the job training เป็นการสอนงาน ท่ีนิยมใช้กันมากในสถานประกอบการ ในการสร้างความรู้ความเข้าใจในการ ปฏิบัติงานในสถานการณ์การทางานจริง เพราะเห็นผลได้อย่างรวดเร็ว ค่อนข้างชัดเจน ต้นทุนต่า โดยมีผู้ชานาญงานน้ันเป็นครูฝึก คอยดูแลนักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี ในการฝึกปฏิบัติงานจริง แต่ไม่ควรมีจานวนมากเกินไป เพราะครฝู กึ อาจดูแลไมท่ ั่วถงึ

หลักการสอนงานมีขัน้ ตอนอยู่ 4 ข้นั ตอนท่ีครูฝกึ ควรตระหนักรบั ทราบ ดงั นี้ ขัน้ เตรียม 1. ให้ความรู้สึกเป็นกันเอง เพราะนักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีที่จะเรียนรู้งานน้ัน มีความ กังวล หากไดร้ ับการตอ้ นรับและใหค้ วามเป็นกนั เองได้ จะลดการเกิดอาการต่ืนเต้นได้ 2. แจ้งขอบเขตงาน และไต่ถามว่าได้รู้งานมาแล้วเพียงใด เพื่อลดการสอนงานที่ไม่จาเป็น หรือเพื่อให้แน่ใจว่ามีความรู้ในงานนัน้ จริงๆ เพื่อสามารถวางแผนการสอนได้ถูกต้องว่าต้องเน้นย้าตรง ส่วนไหน 3. สร้างความสนใจ ทาให้เกิดความสนใจในการเรียนรู้ในสิ่งที่กาลังสอน เพราะครูฝึก ไม่สามารถสอนในส่งิ ท่คี นไม่ตอ้ งการเรียนรู้ได้ 4. จัดสถานท่ี ให้นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีอยู่ในตาแหน่งท่ีถูกต้อง ไม่ว่าการนั่งหรือยืน ด้านหน้า ดา้ นหลงั ครูฝึก ซึ่งรวมทง้ั สถานทที่ ่ีจะสอนงาน ขัน้ สาธติ 1. การบอก การทาให้เห็นเป็นตัวอย่าง การอธิบายเหตุผล เป็นข้ันตอนที่สาคัญอย่างมากต่อ ความสาเรจ็ ในการสอนงาน 2. ในการสอนตอ้ งมีการเน้นยา้ ในจดุ ท่สี าคัญ (key point) อยูเ่ สมอ จุดที่สาคัญ (key point) หมายถึงส่ิงที่หากทาไม่ถูกต้องจะทาให้งานนั้นเสียหายหรือใช้ เวลานานกวา่ 3. การสอนงานในแตล่ ะจุด ต้องทาให้ชัดเจนสมบรู ณ์ โดยต้องทาการอธิบายช้าๆ ในประเดน็ ทีส่ าคัญ 4. การแสดงให้เห็นนี้ ต้องมีการวางแผนเป็นอย่างดี เพราะว่านักเรียนนักศึกษาระบบทวภิ าคี มีความสามารถในการเรียนรู้จากัด ต้องมีการพักและตอกย้าเป็นระยะๆ – อย่าสอนเกินกว่า ความสามารถในการเรยี นรู้ไดใ้ นช่วงเวลานนั้ ๆ ขน้ั ทดลองปฏิบัติ 1. ก่อนให้นักเรยี นนักศกึ ษาระบบทวภิ าคที าการทดลองปฏบิ ตั ิ ใหน้ กั เรยี นนกั ศึกษาระบบทวภิ าคี ทาการทบทวนจุดสาคญั สรุปวา่ ตอ้ งทาอะไรบา้ งและอยา่ งไร 2. ให้นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีทดลองทา เมื่อนักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีทาไม่ถูกต้อง ให้ทาการแก้ไขขอ้ ผิดพลาดโดยทันที 3. ให้นกั เรยี นนกั ศึกษาระบบทวิภาคีอธิบายในแตล่ ะจุดสาคัญ (key point) 4. ทาใหแ้ นใ่ จว่า นกั เรยี นนักศึกษาระบบทวภิ าคีมีความเข้าใจในจุดทีส่ าคัญ (key point) 5. ฝึกอยา่ งต่อเน่ืองจนมั่นใจว่านกั เรียนนกั ศึกษาระบบทวภิ าคีสามารถปฏบิ ตั ิได้

ตดิ ตามผล ครูฝึก ทาการตรวจสอบความเข้าใจบ่อยๆ และเปิดโอกาสให้นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี สอบถามในส่ิงท่ีไมเ่ ขา้ ใจ กาหนดการเรยี นรู้งานต่อไป การสอนแบบ Coaching การสอนแบบ Coaching หมายถึง การปลดปล่อยศักยภาพของบุคคล เพ่ือให้สามารถ พัฒนาประสทิ ธภิ าพการทางานจนสดุ ความสามารถ โดยการช่วยให้เขาเกดิ การ เรยี นรู้ (learning) วัตถุประสงค์ 1. มุ่งพัฒนาให้นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี มีความรู้ (knowledge) ทักษะ (skills) และมีคุณลักษณะเฉพาะตัว (Personal Attributes) เพ่ือให้การทางานนั้นๆ ประสบความสาเร็จตาม เป้าหมายทกี่ าหนด 2. เพ่ือถ่ายทอดเทคนิค และวิธีการทางานเพ่ือให้นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี มศี กั ยภาพ (Potential) ในการทางานท่ีสงู ข้นึ มคี วามกา้ วหนา้ ในฝึกการทางาน อันนามาซ่งึ สมรรถนะ ในการทางานทส่ี งู ขึน้ ตอ่ ไปในอนาคต วิธีการและรปู แบบการสอนแบบ(Coaching) 1. ใหค้ าแนะนาแบบตวั ต่อตวั หรือกลุ่มย่อย 2. เปน็ การสอนอยา่ งตอ่ เน่อื งตลอดการปฏิบตั งิ าน ในตาแหน่งน้นั ๆ 3. ระยะเวลาขนึ้ อยู่กบั ลกั ษณะงานและความสะดวกของครูฝึก 4. อาจจะเป็นรูปแบบท่ีเป็นทางการและไม่เป็นทางการ ระหว่างครูฝึกกับนักเรียน นักศึกษาระบบทวิภาคี ซึ่งเป็นการส่ือสารแบบสองทาง (Two Way Communication) คือ ครูฝึก อธิบาย และรับฟังส่ิงท่ีคาดหวัง และต้องการจากนักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี อีกช่องทางหน่ึงจะ เปน็ การสอบถามถึงปัญหา และอปุ สรรคทีเ่ กดิ ข้นึ ในการทางาน และเป็นโอกาสดีทีค่ รฝู กึ และนักเรียน นกั ศึกษาระบบทวิภาคี ไดร้ ่วมกันแกไ้ ขปญั หาต่างๆ ทีเ่ กิดข้นึ จากฝกึ ปฏิบตั กิ ารทางาน การสอนงานแบบพ่ีเล้ียง (Mentoring)

Mentor หมายถงึ พ่เี ลยี้ ง ที่เป็นผูท้ ่ีมคี วามรู้ ความสามารถเปน็ ท่ยี อมรบั ทส่ี ามารถดูแล ใหค้ าปรกึ ษา แนะนาช่วยเหลอื นักเรียนนกั ศึกษาระบบทวภิ าคี - ให้พัฒนาศักยภาพสงู ขึ้น - เพอ่ื สามารถปฏิบตั ิงานไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ บางองค์กรจะเรียกระบบพี่เลี้ยง หรือ Mentoring System นี้ว่า Buddy System เป็นระบบ ท่ีพี่จะต้องดูแลเอาใจใส่น้อง คอยให้ความช่วยเหลือและให้คาปรึกษาแนะนา นักเรียนนักศึกษาระบบ ทวิภาคี จะได้รบั การดูแลจากพ่เี ล้ยี ง เรยี กวา่ Mentee สถานประกอบการ สามารถกาหนดใหม้ ีระบบการเปน็ พี่เลยี้ ง ให้กับนกั เรียนนกั ศกึ ษาระบบทวิภาคี ทเี่ ข้ามาฝกึ อาชพี ในสถานประกอบการ ผู้เป็น Mentor จะเป็นพนักงาน หรือหัวหน้างาน ซึ่งเป็นผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์ ในการทางาน คุณสมบัติหลักท่ีสาคัญทบ่ี คุ คลที่เปน็ Mentor คือ - มีทัศนคติ หรอื ความคิดในเชิงบวก (Positive Thinking) - มคี วามประพฤตดิ ี สามารถปฏิบัตติ นใหเ้ ป็นตัวอยา่ งทดี่ ีแก่ Mentee ได้ บทบาทและหน้าทีท่ ่สี าคญั ของ Mentor ได้แก่ - ถ่ายทอดความรู้ และประสบการณต์ า่ งๆ ในการทางาน ใหแ้ ก่นักเรียนนกั ศกึ ษาระบบทวิภาคี - เป็นผู้ใหค้ าปรึกษาและชี้แนะแนวทางในการปฏิบัติตน เพ่อื ปรบั ตวั ให้เข้ากับวัฒนธรรมองคก์ ร - ตรวจสอบและติดตามผลการใหค้ วามรู้ ความเขา้ ใจ กบั นักเรยี นนักศกึ ษาระบบทวภิ าคี การสอนแบบสาธติ (Demonstration ) การสาธิต หมายถึง การแสดง หรือ การกระทา สิ่งตา่ งๆ ให้ดเู ป็นตวั อย่าง

จุดประสงคข์ องวธิ กี ารสอนแบบสาธิต 1. เพ่อื กระต้นุ ความสนใจให้นกั เรยี นนักศึกษาระบบทวภิ าคมี คี วามสนใจบทเรียนย่ิงขึ้น 2. เพอ่ื ช่วยอธบิ ายเน้อื หาทีย่ าก 3. เพื่อพฒั นาการฟังการสังเกตและการสรปุ ทาความเขา้ ใจ 4. เพือ่ แสดงวธิ กี ารหรือกลวิธีในการปฏิบตั ิงาน 5. เพ่อื สรปุ ประเมนิ ผลความเข้าใจในบทเรยี น และทบทวนบทเรียน แนวทางในการสาธติ 1. การสาธติ แบบบอกความรู้ - แจ้งใหท้ ราบก่อนการสาธิต ว่า จะทาอะไร อย่างไร และจะมอี ะไรเกดิ ข้นึ บ้าง - ให้นกั เรียนนกั ศึกษาระบบทวิภาคี สงั เกตการสาธติ พรอ้ มอธิบายตามไปด้วย 2. การสาธติ แบบคน้ พบความรู้ - ครูฝึกตั้งคาถามให้นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี คาดคะเนคาตอบ เพ่ือเป็นการเร้า ความสนใจ - ใหน้ กั เรยี นนกั ศกึ ษาระบบทวภิ าคี สงั เกตจาการสาธิต วา่ มอี ะไรเกดิ ข้ึนบา้ ง อย่างไร เทคนคิ การสาธิต การสาธติ ในเรื่องทแี่ ปลกใหม่ จะเนน้ ใหน้ ักเรยี นนักศึกษาระบบทวิภาคีเหน็ กระบวนการอย่าง ชัดเจน โดยมีส่วนร่วมในการสาธิต ตั้งคาถาม ซ่ึงช่วยในการสอนแบบสาธิตได้ผลดีย่ิงขึ้นเทคนิคการ สาธติ มดี งั น้ี 1. เลือกสาธิตเรือ่ งที่สนใจและเป็นสงิ่ ที่แปลกใหมส่ าหรบั นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี 2. ไมค่ วรบอกผลการสาธติ ให้นกั เรยี นนกั ศึกษาระบบทวภิ าคีทราบลว่ งหน้า 3. พยายามใหน้ กั เรยี นนกั ศกึ ษาระบบทวภิ าคมี ีสว่ นร่วมในการสงั เกตซักถามและตอบคาถาม 4. ในระหว่างสาธิต ไมค่ วรบรรยายมากเกนิ ไป 5. ไมค่ วรเร่งการสาธติ อาจทาใหน้ ักเรยี นนักศึกษาระบบทวิภาคีตามไมท่ ัน และไม่เข้าใจ 6. ควรให้นกั เรียนนักศกึ ษาระบบทวภิ าคีทุกคนมองเหน็ ได้ทวั่ ถึง และครูฝึกควรเอาใจใส่ ตอ่ นกั เรียนนักศึกษาระบบทวิภาคที กุ คน 7. การสรุปผล ควรใหน้ กั เรียนนักศกึ ษาระบบทวิภาคเี ป็นผู้สรปุ 8. ตอ้ งประเมินผลการสาธติ ทกุ คร้งั ว่านกั เรียนนกั ศึกษาระบบทวิภาคเี ขา้ ใจหรือไม่ ขั้นตอนการสอนแบบสาธติ วิธีการสอนแบบสาธิตมขี ั้นตอนการสอนด้ังนี้ 1. ขั้นเตรยี มการสาธิต เปน็ ข้นั ตอนการทาการสาธิต ซ่งึ ครูฝกึ ควรเตรียมตวั ดงั นี้

1.1 ศึกษาบทเรียนท่ีจะสาธิตให้เขา้ ใจแจม่ แจ้ง 1.2 เตรยี มอปุ กรณ์ทจ่ี ะสาธิตให้พรอ้ ม 1.3 ทดลองการสาธิตดูกอ่ น 1.4 จดั ช้ันเรยี นใหเ้ หมาะสมกับการสาธิตบทเรยี น 1.5 เขียนแผนภูมแิ สดงขัน้ ตอนของการสาธิตไว้ 2. ขั้นสาธติ ดาเนินการตามลาดบั ดังน้ี 2.1 เรา้ ความสนใจของนกั เรียนนักศกึ ษาระบบทวภิ าคี 2.2 ทาการสาธิตให้นักเรยี นนกั ศึกษาระบบทวภิ าคีดู โดยยึดหลักในการสาธติ ดังน้ี 2.2.1 สาธิตตามลาดับขัน้ 2.2.2 สาธิตชา้ ๆ พรอ้ มกับบรรยายเพ่อื ให้นักเรยี นนกั ศกึ ษาระบบทวิภาคีติดตามไดท้ นั 2.2.3 สาธติ เฉพาะเรื่องบทเรียนน้ันๆ 2.2.4 เหน็ ทัว่ ถึง หรืออาจใหอ้ อกมาสังเกตสาธิตทล่ี ะกลุ่ม 2.2.5 สังเกตความสนใจและความตัง้ ใจของนักเรยี นนกั ศึกษาระบบทวิภาคี 2.2.6 ครฝู กึ ใหน้ ักเรียนนักศกึ ษาระบบทวิภาคมี าร่วมทาการสาธติ ด้วยได้ 2.2.7 เน้นข้นั ตอนสาคัญๆ ของการสาธติ และเขยี นสรปุ 3. ขนั้ สรปุ และวดั ผล 3.1 ใหน้ กั เรียนนักศกึ ษาระบบทวภิ าครี ่วมกนั เล่าสรปุ เปน็ ตอนๆ 3.2 ใหน้ ักเรียนนกั ศกึ ษาระบบทวภิ าคที กุ คนเขยี นข้อสรุปสง่ ครูฝึกเพื่อให้คะแนน 3.3 ใหน้ กั เรยี นนกั ศึกษาระบบทวิภาคีสาธติ เพ่อื สงั เกตดูวา่ ทาไดแ้ ละเข้าใจ 3.4 ทดสอบ ข้อดขี องการสอนแบบสาธติ 1. นักเรียนนักศกึ ษาระบบทวิภาคีมองเหน็ ตัวอย่าง แบบอยา่ ง ขนั้ ตอน ของการปฏิบตั ิทาให้เขา้ ใจ ลกึ ซงึ้ มเี หตุผล 2. ประหยัดเวลา เพราะเหน็ ตัวอย่างชดั เจน 3. ประหยดั วัสดุ 4. การสาธติ ใหด้ แู ล้วปฏิบัติย่อมปลอดภยั ขอ้ จากดั 1. อาจมีปัญหาเร่ืองความสงบเรียบร้อยในช้ันเรียน

2. หากการเตรียมตัวไมด่ ีพออาจเกดิ อุบตั ิเหตุหรอื ผิดพลาด 3. หากการสาธิตไม่เป็นไปตามข้ันตอนอาจทาใหเ้ สียเวลามาก เทคนิคการสอนงานตามลักษณะนสิ ัย 1. เขา้ ทางานใหม่ 1.1 เปน็ ผทู้ ยี่ งั ไม่เคยทางานมากอ่ น - ขาดความม่ันใจเนื่องจากไม่มีความรู้ และประสบการณ์ อาจรูส้ ึกสบั สนว่าชอบงานท่ีทาอยู่หรอื ไม่ - อาจทางานไมจ่ ริงจัง 1.2 เคยผา่ นงานจากองคก์ รอน่ื มากอ่ น จะพบวา่ - มกั ยึดตดิ อย่กู ับระบบงาน หรือวฒั นธรรมองค์กรเดมิ - บางคนเป็นพวกชอบเปรียบเทียบไม่พอใจในสภาพแวดล้อมต่างๆท่ีดูแล้ว ไม่เหมือนกับ องค์กรเดมิ ท่เี คยปฏิบตั ิ - บางคนกม็ ีความมนั่ ใจในการทางานมากจนเกินไป

 ครูฝกึ - เร่ิมต้นด้วยการอธิบายถึงภาพรวมขององค์กรก่อน ผังโครงสรา้ งธุรกิจ ผู้บริหาร กลุ่มงาน วิสยั ทศั น์ ภารกจิ นโยบาย กลยุทธ์การดาเนนิ งาน - เชื่อมโยงภารกิจของแผนกงาน กับการตอบสนองต่อความต้องการหรือความคาดหวัง ขององค์กร - ควรแจง้ ถึงความตอ้ งการและความคาดหวังในภาระหนา้ ที่งานและผลลัพธท์ ี่ตอ้ งการ 2. คดิ เล็กคดิ นอ้ ยในเรอ่ื งไม่สาคัญ (Sensitive) ชอบเกบ็ เอาคาพูดของครฝู ึกมาคิด และมกั แสดงปฏิกิริยาตอบโต้ด้วยการนิ่งเงยี บ ไมย่ อม พดู คยุ บ้างก็รอ้ งไห้เสยี ใจกับคาพดู เล็กๆ น้อยๆ ของครฝู กึ และก็อาจจะมบี างคนท่ีแสดง พฤติกรรมตรงกนั ข้าม คือ แสดงออกด้วยความกา้ วรา้ ว และขึ้นเสียงกับครฝู กึ  ครูฝกึ - สังเกตว่า คิดมากแล้วนงิ่ เฉย หรอื คิดมาก แล้วกา้ วร้าว - เข้าใจถึงความคดิ และความรู้สกึ ของนกั เรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี - สามารถปรบั เปล่ียนวธิ กี าร นา้ เสียง คาพดู และการแสดงออกตา่ งๆ ได้อยา่ ง เหมาะสม 3. เอะอะโวยวาย มกั จะแสดงออกอย่างเปดิ เผย โตต้ อบครูฝึกด้วยสีหนา้ และแววตาแขง็ กระดา้ ง ใชค้ าพดู และน้าเสียงท่ีฟังดูแลว้ เหมอื นไม่ใหเ้ กียรติกบั ครฝู กึ ใชเ้ สียงพูดที่ดงั ทาใหค้ นอน่ื มีความคิดเหน็ คล้อยตาม หรือเช่ือในสิง่ ที่เขากาลังพูดอยู่  ครฝู ึก - สงบนิ่ง ใจเยน็ และไมแ่ สดงพฤตกิ รรมตอบโต้ในการสอนงาน - พูดดว้ ยเหตุผล อย่าใช้อารมณ์ - ปรามถึงพฤติกรรมกา้ วรา้ วที่แสดงออกมา - ไม่กลัวพฤตกิ รรมท่เี อะอะโวยวายจนไม่กล้าท่ีจะสอนงานให้ 4. ชา่ งสงสยั ชอบซกั ถาม ชา่ งสงสยั ชอบจะถามที่มา ท่ีไป ถามรายละเอียดหรือข้อมลู ต่างๆ ท่ีเกิดขนึ้

เพอ่ื ความเขา้ ใจที่ตรงกันระหว่างตนเองกบั ครูฝกึ ถามเกง่ แตป่ ฏบิ ัตงิ านไมเ่ กง่ ไมส่ ามารถจัดการกบั งานทตี่ น ไดร้ บั มอบหมายจากครูฝกึ ให้ปฏิบตั ิได้ ครูฝกึ - อธบิ าย หรอื ใหข้ ้อมลู ท่ีชดั เจน - สามารถนาเสนอตวั อย่าง หรอื ประสบการณ์จริงท้งั ของครฝู กึ เองและของผ้อู น่ื ได้ - ถามตนเองว่านักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีต้องการอยากรู้หรือ สอบถามเรื่อง อะไรบ้าง - ใชค้ วามอดทน อดกล้ันในการตอบข้อซักถามต่างๆ จากนกั เรยี นนักศึกษาระบบทวภิ าคี - ไม่ควรแสดงกริ ิยาหรือน้าเสยี งไม่พอใจ เมือ่ ถูกซกั ถามข้อมลู บ่อยๆ 5. นิ่งเงียบ ที่ไม่ชอบแสดงออก เป็นคนน่ิงเฉย รู้หรือไม่รู้ก็จะเฉยไว้ก่อน ไม่ซักถามหรือสอบถาม จากครูฝึกอาจจะมาจาก : เป็นพวกท่ีรู้แต่ไมพ่ ูด, ไมร่ ้แู ละไม่พดู , นง่ิ เฉย ชอบฟังมากกว่าชอบพดู  ครฝู กึ - ต้งั คาถามในการตรวจสอบ และทบทวนความรู้ความเขา้ ใจท่ีได้เรยี นรจู้ ากการสอนงาน - ให้นกั เรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี ไดม้ สี ่วนร่วมในการสอนงาน - มสี ่วนรว่ มในการนาเสนอความคิดเห็นต่างๆ 6. ขาดความม่ันใจในตวั เอง มีความวิตกกงั วลสูง ไม่เช่อื มัน่ หรอื ยอมรบั ความสามารถของตนเอง ดว้ ยความคดิ ทตี่ อกย้าจิตสานึก ของตนเองวา่ ทาไม่ได้ ไม่มคี วามสามารถ ทาไปกไ็ มม่ ีใครยอมรบั ในผลงาน หรืองานท่ีมอบหมายนนั้ ยากกว่าท่คี ดิ ไว้มาก  ครูฝึก - ไม่ควรจะตอ่ ว่า หรอื ตาหนใิ นผลงาน ใช้คาพดู ในทางบวก ให้กาลงั ใจทจ่ี ะสรา้ งความเชอ่ื มั่นวา่ เขาสามารถทางานนี้ได้ - ส่งเสรมิ สนับสนนุ ผลงาน ชี้แนะสงิ่ ท่คี วรจะตอ้ งพฒั นาปรบั ปรงุ ให้ดีขน้ึ 7. มีความมัน่ ใจในตนเองสูงมาก เป็นคนที่มคี วามมน่ั ใจในตนเอง สูงมาก มกั จะยึดติดอยู่กบั ความคิด หรอื วิธกี ารปฏิบตั ิของตน เหตเุ พราะ คิดวา่ ส่ิงที่ตนคิดนนั้ ต้องถูกตอ้ ง และใชไ้ ดเ้ สมอ ไมม่ ีความผิดพลาด ผลงาน

ทุกอย่างที่ทาข้ึนจะต้องไดร้ บั การยอมรบั และไดร้ ับความร่วมมอื จากทุก ฝ่ายทเ่ี ก่ยี วข้องเปน็ พวกทีไ่ มค่ อ่ ยจะรบั ฟงั หรอื ยอมรับในความคิดเหน็ และคาวิพากษว์ ิจารณจ์ ากผูอ้ ืน่  ครฝู ึก - แสดงความสามารถในการปฏบิ ัตงิ าน อยา่ งชัดเจน - นาเสนอตัวอยา่ ง หรอื ประสบการณข์ องตนทีป่ ระสบผลสาเรจ็ มาใช้เปน็ กรณศี ึกษา - สร้างศรัทธา ความเชื่อมั่น ยอมรับความสามารถของครูฝึก และเช่ือฟังปฏิบัติตาม คาสอน - กล้าท่ีจะให้คาแนะนา คาชมเชย หรือตาหนิ ผลงานที่ยังไม่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ ท่กี าหนด 8. ชอบฟังเหตุผล มักจะมีเหตุผลในการคิด และการกระทา ท่ีแสดงออกมาเสมอ โดยจะคอยหา ข้อมูลต่างๆ มายืนยัน และสนับสนุนแนวคิดของตน นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีประเภทนี้ มักจะ ไม่เชื่อฟัง และไม่ปฏิบัติตามในสิ่งที่ครูฝึกสอนและเสนอแนะ จนกว่าพวกเขาจะได้รับฟังเหตุผลที่ ชัดเจนและมีน้าหนกั พอ แต่หากนักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีประเภทนี้ จาเป็นต้องปฏิบัติตามใน สิ่งที่ครูฝึกมอบหมายให้ทา โดยยังไม่ได้รับฟังเหตุผล มักจะมีการตั้งประเด็นคาถามหรือมีข้อโต้แย้ง เกิดข้ึนเสมอ  ครูฝกึ - หาขอ้ มลู หาเหตุผลมาสนบั สนุนให้ชัดเจนว่า ใคร ทาอะไร ท่ไี หน อยา่ งไร และทาไม เพราะข้อมูลต่างๆ เหล่าน้ี จะเป็นเหตผุ ลสนับสนนุ เนือ้ หาหรือประเดน็ เสนอแนะให้ นาไปปฏบิ ัติ - ตอบขอ้ ซกั ถามต่างๆ อย่างมเี หตผุ ลเพื่อชีแ้ จงให้ เข้าใจ ยอมรับ และปฏิบตั ติ ามในทสี่ ดุ 9. มผี ลการปฏบิ ัตงิ านต่ามากๆ หากครฝู กึ มนี กั เรียนนักศึกษาระบบ ทวิภาคที ่มี ีผลการทางาน ตา่ มากจาพวกนี้ ควรจะเอาใจใส่ดูแลและพัฒนาเป็นพิเศษ เนื่องจากมีผลการทางานไม่ดี โดยส่วนใหญ่จะ เป็นผู้ที่เรียนรู้และรับรู้ช้า ไม่ค่อยเอาใจใส่หรือสนใจในการทางานมากนัก เป็นพวกที่มีทัศนคติในเชิง ลบ ไม่มีเป้าหมายในการทางาน ไมส่ นใจทจ่ี ะพัฒนาและปรบั ปรงุ ตนเอง  ครูฝึก - ใจเย็น ค่อยๆ สอน พยายามทบทวนความรู้และความเข้าใจบ่อยๆ โดยการตงั้ คาถาม เพื่อสอบถามถึงสิง่ ทนี่ ักเรียนนกั ศึกษาระบบทวภิ าคีได้คดิ

- สอนด้วยวิธีการฝึกให้รู้จักคิด ซ่ึงอาจใช้วิธีการตั้งคาถามนา เช่น มีความคิดอย่างไร กบั เหตุการณ์ที่เกดิ ขน้ึ น้ี - ให้นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีได้ฝึกปฏิบัติ หรือสาธิตวิธีการทางาน เพ่ือจะได้ ตรวจสอบความเข้าใจที่ตรงกัน ไม่เป็นไปตามเป้าหมายหรือความคาดหวังทกี่ าหนดขึ้น - ครฝู กึ ไม่ควรที่จะเพกิ เฉยหรอื ละเลยนักเรียนนักศกึ ษาระบบทวิภาคี การเรยี นรูเ้ พื่อการสร้างสรรค์ด้วยปัญญา ทฤษฎีคอนสตรัคช่ันนิสซึ่ม (Constructionism) หรือ ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เปน็ ทฤษฎีการเรยี นรู้ท่เี นน้ ผูเ้ รียนเป็นผสู้ รา้ งองค์ความรู้ด้วยตนเอง ทฤษฎีคอนสตรัคชั่นนิสซึ่ม มีสาระสาคัญท่ีว่า ความรู้ไม่ใช่มาจากการสอนของครู หรือผู้สอน เพียงอย่างเดียว แต่ความรู้จะเกิดข้ึนและถูกสรา้ งขึ้นโดยผู้เรียนเอง การเรียนรู้จะเกิดข้ึนได้ดี ก็ต่อเม่ือ ผ้เู รยี นได้ลงมือกระทาด้วยตนเอง (Learning by doing) มพี ืน้ ฐานอยู่บนกระบวนการสร้าง 2 กระบวนการ ดว้ ยกนั 1. การสรา้ งความรใู้ หม่ขนึ้ ดว้ ยตวั ผูเ้ รียนเอง ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยการสร้างความรู้ใหม่ข้ึนด้วยตนเอง ความรู้จะเกิดขึ้นจากการ แปลความหมายของประสบการณ์ท่ีได้รับ หากเป็นประสบการณ์ตรงที่ผู้เรียนเป็นผ้กู ระทาด้วยตนเอง จะทาใหเ้ กดิ การเรียนรู้อยา่ งมคี วามหมาย 2. มีความหมายกบั ผเู้ รยี น กระบวนการการเรียนรจู้ ะมปี ระสิทธภิ าพมากทสี่ ดุ หากกระบวนการนน้ั มี ความหมายกบั ผเู้ รยี น ดังนั้น กระบวนการสอนของครู จึงควรให้ผู้เรียนได้สร้างองค์ความรู้ จากส่ิงท่ีเขามีอยู่และ พัฒนาต่อยอดไปด้วยตัวของเขาเอง การสอนแบบครูเป็นศูนย์กลาง ควรจะต้องปรับเปล่ียนให้ เหมาะสมกับเนื้อหาสาระ และเน้นที่ตัวผู้เรียนเป็นหลักการสอนแบบยัดเยียดความรู้จะทาให้ผู้เรียน เรยี นรู้ไดน้ อ้ ยกวา่ การให้ผูเ้ รียนสร้างความรดู้ ้วยตนเอง การเรียนรู้แบบ Constructionism เป็นรูปแบบที่มุ่งเน้นให้ นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคี เป็นผู้สร้างความรู้ขึ้นด้วยตนเอง ผ่านการลงมือสร้างสิ่งใดส่ิงหนึ่งข้ึนมา เช่น การเขียนหนังสือสักเล่ม ทาการทดลองการแสดงละครหรือการเขียนคาสั่งควบคุมการทางานด้วยคอมพิวเตอร์ หรือทา ส่ิงประดิษฐ์ ช้นิ งาน โครงการ เป็นต้น ครูจะทาหน้าที่เป็น ผู้อานวยใหเ้ กิดกระบวนการเรียนรู้ หรอื ที่ เรียกว่า Facilitator นั้น โดยสร้างบรรยากาศที่ให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิด มีความกระตือรือร้น และมี

แรงจงู ใจในการเรียน มีการสะทอ้ นความคิดให้กับครูและเพ่ือนเพื่อปรับปรุงชิ้นงานหรือผลงานให้ดีข้ึน และมกี ารปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมการเรียนร้ขู องตนเอง ให้มีประสทิ ธิภาพมากขึน้ อยู่ตลอดเวลา สังเกตวา่ ในขณะท่ีเรา สนใจทาสง่ิ ใดสงิ่ หน่งึ อยา่ งตงั้ ใจ เราจะไม่ลดละความพยายาม เราจะคดิ หาวธิ กี ารแกไ้ ขปัญหาน้นั จนได้ ตวั อยา่ งการประยกุ ตใ์ ช้ในการเรียนการสอน เพ่ือท่ีจะทาให้เกิดหลักการดังกล่าว ครูควรจะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ หรือได้ สร้างสิ่งที่ผู้เรียนสนใจอยากจะทาด้วยตัวของเขาเอง โดยการมอบหมายงานให้เขาทา และ ให้โอกาส กับผู้เรียนในการตัดสินใจว่าเขาจะทาอะไร ส่ิงน่ีคือ จุดเร่ิมต้นที่สาคัญมาก ของกระบวนการเรียนรู้ ตามแนวทางของ Constructionism ครสู มชาย เคยมีประสบการณ์ในการสอนเก่ยี วกับ การเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน ซ่ึงแต่เดิมจะใช้เทคนิคการสอน แบบ Step by Step คือ ครูสมชายทาให้ดูและผู้เรียนทาตามทีละ Step ไปเรื่อยๆ วิธีการน้ี ครูสมชายสงั เกตว่า ผู้เรียนจะเรยี นรู้เฉพาะเนอ้ื หาที่สอนเท่านั้น และบางคน ท่รี ู้คาส่งั เหลา่ นี้มาแล้วเกดิ ความรู้สึกเบ่ือหนา่ ย  ครสู มชายได้ลองเปลี่ยนวิธีการสอน โดยนาหลกั การของ Constructionism มาใช้ ครสู มชาย สอนด้วย วธิ ี Step by Step เฉพาะพ้ืนฐานทผี่ ู้เรียนจาเป็นตอ้ งรู้ ครสู มชาย ใหผ้ ู้เรยี นเขียนโปรแกรม เปดิ โอกาสใหผ้ ูเ้ รียนได้คดิ เองวา่ จะทาอะไร ที่ผูเ้ รียนสนใจคนละ 1 โปรแกรม และบอกผเู้ รยี นว่าเปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รียนซกั ถามกันเองได้  พฤตกิ รรมการเรียนรแู้ ละบรรยากาศในห้องเรยี นที่สังเกตเห็นกค็ ือ ผ้เู รียนเริ่มคิดวา่ จะเขียนโปรแกรมอะไร ผู้เรยี นกเ็ ร่มิ มองตัวเองวา่ อยากจะเขยี นโปรแกรมอะไร โดยพิจารณาควบคไู่ ปกับคาสั่งในโปรแกรมท่ีเขารใู้ นขณะนนั้ ผ้เู รียนสร้างเปา้ หมายดว้ ยตัวเอง - ผู้เรียนก็คดิ หวั ข้อได้ทกุ คน - บางคนคดิ ได้เอง - บางคนกเ็ ดนิ ไปดูเพอ่ื นแลว้ เกิดไอเดยี (Idea) - งานของแต่ละคนจะไม่เหมือนกัน

ผู้เรยี นสรา้ งงานของตนเอง - สามารถประยกุ ต์ทฤษฏสี กู่ ารปฏิบตั จิ รงิ ได้ - ผูเ้ รยี นโดยรวมจะมคี วามตง้ั ใจในการเรียนร้มู าก - บางคร้ังตัง้ ใจมากกวา่ การสอนแบบเดมิ (Step by Step) - มีแรงจงู ใจภายใน ที่พยายามเอาชนะอปุ สรรคต์ า่ งๆ เพอื่ ไปสู่จดุ หมายทตี่ นเองไดต้ งั้ ไว้ ผู้เรยี นบางคน เรมิ่ จะติดปัญหาบางอยา่ ง - บางคนพยายามแก้ปัญหาดว้ ยตวั เอง จากการลองผดิ ลองถกู - บางคนกถ็ ามเพือ่ น มกี ารสอนคาสั่งใหม่ๆเกดิ ขนึ้ โดยคนท่มี ี ความรูม้ ากกว่าสอนหรือบอกเพื่อน (ห้องเรียนเรม่ิ มชี ีวติ ) - ไมน่ านคาสงั่ นกี้ ถ็ กู ถ่ายทอดไปให้กบั ผู้เรียนคนอ่นื ๆ

ผ้เู รียนเรมิ่ เรยี นรู้ว่า คนเปน็ แหลง่ ความรู้ - ครสู มชายสอนคาสงั่ ใหก้ ับผู้เรียนบางคนทอี่ ยากเขยี น ทสี่ าคญั อีกแหล่งหน่ึง โปรแกรม แตไ่ มร่ ู้คาส่งั (บางคาส่งั ท่ีครูยังไม่เคยสอน) - ไมน่ านคาสัง่ นกี้ ถ็ กู ถา่ ยทอดไปให้กับผเู้ รียนคนอนื่ ๆ ผูเ้ รยี นบางคนเปลยี่ นหวั ขอ้ งาน - ดดั แปลงเปน็ หัวขอ้ อนื่ - ครสู มชายสอนคาสงั่ ตา่ งๆหนา้ ชน้ั เรียน ให้นกั เรียนทสี่ นใจ - เปล่ียนหัวขอ้ ใหม่หมด ไดน้ าไปประยุกตใ์ ช้ในการเขียนโปรแกรม ผูเ้ รียนนาเสนองาน - หลงั จากนน้ั ทุกคนกเ็ ขียนโปรแกรมของตนเองไดส้ าเร็จ การต้งั คาถามเพอื่ ดงึ ความรู้ของผเู้ รยี น ตามความตอ้ งการของเขา ผเู้ รยี นรูว้ ่าตนเองรู้อะไร - ขนั้ ตอนทส่ี าคัญ เพราะจะทราบว่า ผู้เรียนได้เรียนรูอ้ ะไรจาก ผู้เรียนเกบ็ เปน็ องค์ความรู้ของตนเอง การปฏบิ ัตงิ าน - ครูสมชายจะต้องคอยถาม เพอ่ื ดงึ ความรูข้ องผเู้ รียนออกมาให้ได้ และเพอื่ ใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ การเรยี นรู้ ตามวัตถุประสงค์ ที่ไดต้ งั้ ไว้ - ข้ันตอนทไี่ มง่ า่ ยนกั สาหรบั ผสู้ อนมือใหม่เพราะหากถาม ไม่ชัดเจน อาจทาใหไ้ ม่สามารถดงึ ความรู้ ที่มอี ยูใ่ นตวั ผู้เรยี นออกมาได้ - ผู้เรียนบางคนสามารถทาได้ แต่ไม่สามารถอธิบายถึงสิ่งท่ีเขา ไดเ้ รยี นรู้ น่ันกค็ อื ผู้เรียนไมร่ ูว้ า่ ตนเองได้เรยี นรูอ้ ะไร - ครูสมชายมหี นา้ ท่ีถาม เพื่อใหผ้ ูเ้ รยี นประจกั ษแ์ ก่ใจตนเองว่า เขาได้เรยี นรอู้ ะไร นาไปใชป้ ระโยชนอ์ ะไร สมั พนั ธก์ ับสง่ิ อ่นื อย่างไร - เมื่อผเู้ รยี นได้ประจักษแ์ ก่ใจตนเองแล้วว่าความรู้ที่เกิดขึน้ มคี วามหมายกบั ผ้เู รียน - ความรูน้ น้ั จะถกู เกบ็ เปน็ องคค์ วามร้ขู องผเู้ รียนผู้นน้ั

จากตัวอยา่ งขา้ งตน้ จะเห็นว่าส่ิงท่ีสาคัญและนับเปน็ จดุ เริ่มต้นของกระบวนการ Constructionism ก็คือ การใหโ้ อกาสกบั ผ้เู รียนสรา้ งงานดว้ ยตัวเอง โด เปน็ ผูส้ รา้ งเป้าหมายเอง ย เรียนร้กู ารไปสู่เปา้ หมายดว้ ยวธิ ขี องเขาเอง การเรียนรู้แบบ Constructionism ได้มีการพัฒนามา ต่อยอดมาเป็นการจัดการเรียนรู้แบบใหม่เช่น การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน(Problem-based learning) และการจัดการเรียนรู้ด้วย โครงการ/โครงงาน (Project Based Learning) ซ่ึงมรี ายละเอยี ดดังนี้ การจัดการเรยี นรู้แบบใชป้ ัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning) การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เร่ิมต้นจาก ปัญหาท่ีเกิดข้ึนโดยการสร้างความรู้จากกระบวนการทางานกลุ่ม เพื่อแก้ปัญหาหรือสถานการณ์ เกีย่ วกับชวี ิตประจาวันทมี่ ีความสาคัญต่อผู้เรียน มงุ่ พฒั นาผ้เู รียนในด้านทกั ษะและกระบวนการเรียนรู้ สามารถเรยี นรโู้ ดยการช้นี าตนเอง สร้างองคค์ วามรู้ โดยผา่ นกระบวนการคดิ ดว้ ยการแกป้ ัญหา สงิ่ สาคัญในการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปญั หาเป็นฐาน คือ ปญั หา เพราะปัญหาที่ดจี ะเป็น ส่ิงกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจใฝ่หาความรู้ ในการเลือกศึกษาปัญหาท่ีมีประสิทธิภาพ จะต้อง คานึงถงึ พน้ื ฐานความรู้ ความสามารถของผูเ้ รียน ประสบการณ์ความสนใจและภมู ิหลัง เพราะคนเรามี แนวโน้มที่สนใจเรื่องใกล้ตัวมากกว่าเร่ืองไกลตัว สนใจส่ิงที่มีความหมาย มีความสาคัญต่อตนเองและ เปน็ เรอ่ื งท่ตี นเองใครร่ ู้ ขน้ั ตอนการจดั การเรียนรู้ ขน้ั ท่ี 1 กาหนดปัญหา จัดสถานการณ์ต่างๆ กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ และมองเห็น ปัญหาสามารถกาหนดส่ิงท่ีเป็นปัญหาท่ีผู้เรียนอยากรู้ อยากเรียนเกิดความสนใจท่ีจะ คน้ หาคาตอบ ขน้ั ที่ 2 ทาความเข้าใจกับปัญหา ปัญหาที่ต้องการเรียนรู้ ต้องสามารถอธิบายสิ่งต่างๆ ท่เี กยี่ วข้องกบั ปญั หาได้ ข้นั ที่ 3 ดาเนินการศกึ ษาค้นควา้ ผู้เรยี นศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเองดว้ ยวิธีการหลากหลาย ขนั้ ที่ 4 สงั เคราะห์ความรู้ ผ้เู รียนนาความรทู้ ่ไี ด้ค้นควา้ มาแลกเปล่ยี นเรยี นรู้รว่ มกนั

ข้ันท่ี 5 สรุปและประเมินค่าหาคาตอบ ผู้เรียนแต่ละกลุ่ม สรุปผลงานของกลุ่มตนเอง และ ประเมินผลงาน ว่าข้อมูลที่ศึกษาค้นคว้ามีความเหมาะสมหรือไม่เพียงใด โดยพยายาม ตรวจสอบแนวคิดภายในกลุ่มของตนเองอย่างอิสระทุกกลุ่มชว่ ยกันสรปุ องค์ความรู้ ใน ภาพรวมของปัญหาอีกครง้ั ขน้ั ท่ี 6 นาเสนอและประเมินผลงาน ผู้เรียนนาข้อมูลที่ได้มาจัดระบบองค์ความรู้ และนาเสนอ เป็นผลงานในรูปแบบท่ีหลากหลาย ผู้เรียนทุกกลุ่ม ทั้งผู้ที่เก่ียวข้องกับปัญหาร่วมกัน ประเมนิ ผลงาน ลกั ษณะทีส่ าคญั ของ การเรยี นรู้แบบใชป้ ญั หาเป็นฐาน กค็ ือ ผู้เรียนเป็นศูนยก์ ลางของการเรียนรู้อยา่ งแท้จริง การเรยี นร้เู กิดข้นึ ในกลุ่มผเู้ รยี นท่มี ขี นาดเล็ก ครูเปน็ ผู้อานวยความสะดวก (facilitator) หรือผู้ให้คาแนะนา (guide) ใช้ปัญหาเปน็ ตัวกระตุ้นให้เกดิ การเรยี นรู้ ปญั หาที่นามาใชม้ ลี ักษณะคลมุ เครอื ไม่ชดั เจน ปญั หา 1 ปัญหาอาจมคี าตอบไดห้ ลายคาตอบหรอื แก้ไขปัญหาได้หลายทาง ผเู้ รยี นเปน็ คนแกป้ ญั หาโดยการแสวงหาข้อมลู ใหม่ๆ ดว้ ยตนเอง (self - directed learning) ประเมนิ ผลจากสถานการณ์จรงิ โดยดูจากความสามารถในการปฏิบัติ หากมองโดยภาพรวมแล้ว การเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน เป็นรูปแบบการสอนที่ สามารถนามาใช้ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ดีมากท่ีสุดวิธีหน่ึง คือ ทาให้ผู้เรียน เกิดทักษะในการคิดวิเคราะห์คิดแก้ปัญหา และคิดอย่างสร้างสรรค์ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียน และได้ลงมือปฏิบัติมากข้ึนนอกจากน้ียังมีโอกาสออกไปแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากแหล่ง ทรัพยากรเรียนรู้ ทงั้ ภายในและภายนอกสถานศกึ ษาในสว่ นของผสู้ อนก็จะลดบทบาทของการเป็น ผู้ควบคุมในชั้นเรียนลงแต่ผู้เรียนจะมีอานาจในการจัดการควบคุมตนเองส่วนจ ะหาความรู้ใหม่ ได้มากหรือน้อยแค่ไหนก็แล้วแต่ความประสงค์ของผู้เรียนเน่ืองจากผู้เรียนเป็นฝ่ายรับผิดชอบ การเรียนรู้ของตนเอง การที่ผู้เรียนต้องหาความรู้อย่างต่อเน่ือง ทาให้การเรียนรู้ตลอดชีวิต (life long learning) เพราะความรู้เก่าท่ีผู้เรียนมีอยู่แล้วจะถูกนามาเช่ือมโยงให้เข้ากับความรู้ใหม่ตลอดเวลาจึงทาให้ ผ้เู รยี นเป็นคนไมล่ ้าหลัง ทันเหตุการณ์ทันโลก และสามารถปรับตัวใหเ้ ขา้ กบั สงั คมโลกในอนาคตได้ อยา่ งดที ี่สุด

การจัดการเรียนร้แู บบโครงการ/โครงงาน (Project Based Learning) การจัดการเรียนรู้แบบโครงการ/โครงงาน (Project Based Learning) เป็นการสอนโดยให้ นักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีได้ใช้กระบวนการคิดในการแก้ปัญหาที่ตนสนใจและค้นคว้าหาข้อมูล จากแหล่งการเรียนรู้ด้วยตนเอง ลงมือแก้ไขปัญหา และนาเสนอข้อมูลท่ีเกิดจากการแก้ปัญหาน้ัน ซ่ึงครูฝึกจะทาหน้าที่เป็นพ่ีเล้ียงกระตุ้นนักเรียนนักศึกษาระบบทวิภาคีให้เกิดการเรียนรู้และทางาน ร่วมกันอยา่ งมีประสิทธภิ าพ ความหมายของโครงงาน/โครงการ โครงงานหมายถึงกิจกรรมการเรียนในรายวิชาทักษะชีวิตหรือ รายวิชาพ้ืนฐาน การเรียนรู้ ต่างๆ ท่ีครูเปิดโอกาสให้นักเรียนนักศึกษาได้ศึกษาค้นคว้า และลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ภายใต้การ ดูแลและให้คาปรึกษาของครูประจาวิชา (เช่นโครงงานวิทยาศาสตร์ โครงงานคณิตศาสตร์และอ่ืนๆ เป็นต้น) โครงการหมายถึงกิจกรรมในรายวิชาหน่ึง ในระดับ ปวช. และ ปวส. ปีสุดท้าย ท่ีเน้นให้ นกั เรยี นนักศึกษาได้บรู ณาการความรู้ในสาขาวชิ าชีพของตนเพื่อสร้างผลงาน ช้ินงานหรือโครงการ ได้ ศึกษาค้นคว้าและลงมือปฏิบัติด้วยตนเองภายใต้การดูแลและให้คาปรึกษาของครูท่ีปรึกษาโครงการ และใช้กระบวนการวจิ ยั เปน็ เครือ่ งมอื ในการเรยี นรู้ในการหาประสิทธภิ าพประสิทธผิ ล

กจิ กรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน/โครงการเป็นฐาน เป็นการจัดการเรียนรู้ รูปแบบหน่ึงที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้เริ่มต้ังแต่ปัญหา ท่ีสนใจ และอยากรู้คาตอบจึงได้ทาการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล รวบรวมข้อมูลต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง โดยอาศัย ความรู้ความเข้าใจจากเรื่องต่าง ๆ ท่ีได้เรียนมาใช้กระบวนการและทักษะต่างๆ ในวิชาหรือสาขา วิชาชีพเป็นพื้นฐานในการสร้างชิ้นงานโครงงาน โครงการ โดยมีครูผู้สอนหรือผู้เช่ียวชาญเป็นผู้ให้ คาปรึกษา กาหนดเนื้อหาทส่ี นใจจะศกึ ษาอยา่ งกว้าง ตรวจเอกสาร กาหนดคาถามวจิ ัย ประสบการณ์ตรง เขยี นโครงการวจิ ยั สรา้ งเคร่ืองมือรวบรวมข้อมูล รวบรวมข้อมูล วิเคราะหข์ อ้ มูล แปลความหมายผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล เขยี นรายงานการวิจัย เผยแพร่ผลการวจิ ยั

ประเภทของโครงงาน/โครงการ บุญเรียง ขจรศิลป์. (2539 : 3) ได้จาแนกการวิจยั ที่เหมาะสมกับการทาโครงงาน/โครงการ ไว้ 3 ประเภท คอื การวิจยั เชิงสารวจ การวิจัยเชงิ ทดลอง และการวิจัยและพฒั นา 1. การวิจัยเชิงสารวจ เป็นการวิจัยที่เน้นการศึกษารวบรวมข้อมูลต่างๆ ที่เกิดข้ึนในปัจจบุ นั เป็นการสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อเรื่องใดเร่ืองหน่ึง หรือต่อเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นอยู่แล้ว เช่น ความคดิ เหน็ ของนกั ศึกษาตอ่ การตัดสนิ ใจซ้อื ผลติ ภัณฑเ์ บเกอรี่ 2. การวิจัยเชิงทดลอง เป็นการวิจัยท่ีมุ่งสร้างสถานการณ์ใหม่แล้วศึกษาผลที่ตามมา เช่น การสร้างสูตรอาหารพืช (ปุ๋ย) สูตรใหม่ที่ทาให้พืชมีการเจริญเติบโตมากกว่าสูตรอาหารท่ีมีขายตาม ท้องตลาด ตัวแปรอิสระ ท่ีสร้างสถานการณ์ใหม่ก็คือปุ๋ยสูตรใหม่ ตัวแปรตาม คือ น้าหนักหรือ ความสูงของตน้ พชื 3. การวิจัยและพัฒนา เป็นการวิจัยท่ีมุ่งสร้างองค์ความรู้ ผลิตภัณฑ์ หรือเทคโนโลยีใหม่ ๆ โดยอาศัยวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ และมีการพฒั นาปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง โดยมีจุดเนน้ การนาผลลัพธ์ ไปสู่ผู้ใช้ ดังน้ันจึงก่อให้เกิดกระบวนการร่วมมือระหว่างนักวิจัย และผู้ใช้ผลการวิจัย หรือ กลุ่มเป้าหมาย เช่น การประดิษฐ์เครอ่ื งกวนสบั ปะรด เป็นเคร่ืองท่ีชว่ ยให้ผอ่ นแรงการทางานของกลุ่ม แมบ่ า้ น OTOP ทาใหม้ กี าลังผลิตสบั ปะรดกวนได้ปรมิ าณมากขนึ้ การเขียนโครงงาน/โครงการวจิ ัย การเขียนโครงการวิจัยเป็นข้ันตอนหน่ึงในการวิจัยที่มีความสาคัญมาก เพราะเป็นการ วางแผนการวิจัยท่ีผู้วิจัยใช้เป็นตัวกากับทิศทางและข้ันตอนในการดาเนินการวิจัยและช่วยให้ผู้วิจัย สามารถติดตามและประเมินผลการดาเนินงานในแต่ละขั้นตอนได้อย่างถูกต้อง เน่ืองจากการเขียน โครงการวจิ ัย ผูว้ จิ ยั จะตอ้ งการวางแผนการวจิ ยั ต้งั แตต่ ้นจนจบว่า ผู้วิจยั มวี ตั ถปุ ระสงค์ทจี่ ะทาอะไร มี ขอบเขตแค่ไหน จะศึกษาตัวแปรอะไรบ้าง จะใช้เครื่องมืออะไรในการวัดค่าตัวแปรเหล่าน้ัน จะใช้ วิธีการอย่างไรในการรวบรวมข้อมูล รวมทั้งวิเคราะห์ข้อมูลอย่างไรเพื่อตอบคาถามหรือวัตถุประสงค์ ของการวิจัย การดาเนินการวิจัยแต่ละขั้นตอนอย่างไรเพ่ือตอบคาถามหรือวัตถุประสงค์ของการวิจัย การดาเนินการวิจัยแต่ละข้ันตอนจะทาเม่ือไรและจะต้องใช้งบประมาณในการดาเนินการมากน้อย ทั้งนี้ถ้าผู้วิจัยสามารถเขียนโครงการวิจัยมีความชัดเจนมากเท่าใดก็จะส่งผลให้เกิดความสาเร็จในการ วิจัยตามมาด้วย การเขยี นขอ้ เสนอการจดั ทาโครงการโดยใชก้ ระบวนการวจิ ยั ประกอบดว้ ยหวั ข้อต่อไปน้ี 1. ชื่อโครงการ การตั้งช่ือควรระบุถึงปัญหาที่สาคัญในการวิจัย ใช้คาท่ีมีความชัดเจน เฉพาะเจาะจง การเขยี นชื่อโครงการควรครอบคลุมวตั ถปุ ระสงค์ของการจดั ทาโครงการคาบางคาที่ใส่ ลงไปแลว้ ไมไ่ ด้ช่วยขยายความหมายหรือวัตถปุ ระสงค์ของการทาโครงการ ไม่จาเป็นต้องใส่ เชน่ คาว่า


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook