Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน

การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน

Published by อนุชา กัณหะบุตร, 2023-07-30 09:10:06

Description: การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน

Search

Read the Text Version

ก คาํ นํา สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ไดดําเนนิ การจัดการแขง ขันงานศลิ ปหัตถกรรม นักเรียนมาอยางตอเน่ือง เพื่อสืบสานพระราชปณิธานพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 6 ท่ีมุงหวังใหเยาวชนไทยสนใจและฝกฝนทักษะฝมือตนเองใหมีความเปนเลิศและรอบรูในวิชาชีพท่ีตนเองถนดั ท่ีเปนรากฐานสาํ คัญในการประกอบอาชีพในอนาคต รวมทั้งเปนการเปดเวทีใหนกั เรียนไดแสดงออกถึงความรู ความสามารถ และความสําเร็จของการจัดการศึกษาสูสาธารณชน โดยจากการจัดการแขงขันงาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ครั้งท่ี 70 ปการศึกษา 2565 ที่ผานมา ผูบริหารและคณะทํางานไดลง พ้ืนท่ีใหกําลังใจและตรวจเย่ยี มการแขงขัน พบวา จากสถานการณและปจจัยตาง ๆ ทีเ่ ปล่ียนแปลงไป มีหลาย กิจกรรมที่ควรไดรับการพัฒนาเพื่อเปนประโยชนกับนักเรียนในการพัฒนาตอยอดสูเสนทางการศึกษาตอ และการประกอบอาชีพ จึงไดมีการพิจารณาและปรับปรุงเกณฑการประกวดกิจกรรมประเภทวิชาการ เพื่อให เกิดการพัฒนาและเติมเต็มกิจกรรมการประกวดในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ใหมีความชัดเจนสอดคลอง และเปน ปจ จุบัน สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ขอขอบคุณผูบริหาร ศึกษานิเทศก ครู นักวิชาการ ศึกษา ขาราชการบํานาญ และคณะทํางาน ที่ไดรวมจัดทําเกณฑการแขงขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 7๑ ปการศึกษา 2566 ใหสําเร็จลุลวงดวยดี มีความสมบูรณในเนื้อหาและรูปเลม สามารถนํา เกณฑการประกวดงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนประจําปการศึกษา 2566 มาใชในเกณฑการแขงขัน งานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี น ปตอไป สํานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา

สารบัญ ข ประเภท หนา 1 1. ระดบั ปฐมวยั 2 การศกึ ษาระดบั ปฐมวัย 8 2. ระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน 9 2.1 กจิ กรรมแยกตามกลุมสาระการเรียนรู 29 2.1.1 กลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 58 2.1.2 กลมุ สาระการเรยี นรูค ณิตศาสตร 66 2.1.3 กลมุ สาระการเรียนรภู าษาตางประเทศ 2.1.4 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย 95 2.2 กจิ กรรมสงเสริมการเรยี นรตู ามหลกั สูตร 102 2.2.1 การจดั ทําหนังสือเลมเล็ก 2.2.2 การจดั กจิ กรรมยุวบรรณารักษเ พื่อสงเสรมิ การอาน 106 2.3 กิจกรรมพัฒนาผเู รยี น 121 กิจกรรมนักเรยี นเพื่อนที่ปรึกษา (YC : Youth Counselor) 122 ภาคผนวก คณะทํางาน

1

2 เกณฑก ารแขงขันงานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรียน คร้งั ที่ 71 ปก ารศึกษา 2566 กลุมการศึกษาปฐมวัย สรุปกิจกรรมการแขง ขันกลุม การศึกษาปฐมวัย ช่ือกิจกรรม ระดับช้นั ประเภท 1.การปนดินนํา้ มัน 2.การสรางภาพดว ยการฉีก ตัด ปะ กระดาษ ปฐมวัย ทีม 3 คน รวม ๒ กิจกรรม ปฐมวัย ทีม 3 คน ๒ รายการ

3 1.การปนดนิ นา้ํ มนั 1. คุณสมบตั ิของผเู ขา แขงขัน 1.1 นกั เรยี นช้ันอนุบาลปที่ ๓ โรงเรียนสงั กัด สพฐ. โรงเรียนเอกชน หรือหนว ยงานอ่ืน ๑.๒ มีบัตรผูแ ขง ขนั ตดิ รูปถา ยหนาตรง ออกใหโ ดยหนวยงานตนสงั กัดที่สงเขา แขงขัน 2. ประเภทและจาํ นวนผูเขา แขง ขนั ประเภททมี ๆ ละ 3 คน 3. วิธดี ําเนินการและรายละเอยี ดหลักเกณฑก ารแขงขัน 3.1 สงรายชื่อผูเ ขาแขงขัน และครูผคู วบคุม 3.2 หวั ขอการปน - คณะกรรมการเปน ผูกาํ หนดหัวขอ ในวนั แขง ขนั จาํ นวน 5 หัวขอ - หัวขอควรสื่อความหมายไดชดั เจน ไมมลี ักษณะเปนนามธรรมทเ่ี ด็กเขา ใจไดย าก - ใหต วั แทนเด็กท่เี ขา แขง ขนั เปนผูจับฉลากหัวขอ การแขงขัน 3.๓ วสั ดอุ ปุ กรณผเู ขา แขงขันนาํ มาเอง - ดนิ น้ํามันไรสารชนดิ กอ น ผิวเรยี บ ไมสะทอนแสง และไมผา นการใช * หา ม แกะกระดาษ/พลาสติกหุม หอดินน้ํามัน กอนใหค ณะกรรมการสนามตรวจอปุ กรณการแขงขัน * หาม นวดดินนา้ํ มันหรือทําสง่ิ ใด ๆ กับดนิ นํ้ามนั กอ นเขาแขง ขัน * หาม ใชดนิ นํ้ามนั ชนิดเสน/แทงกลม เขา แขงขัน * หา ม ใชอ ุปกรณใ นการยดึ ติด พิมพลาย อุปกรณต กแตง เศษไม/ แทงไมทกุ ชนิดและอปุ กรณต ัดดนิ น้ํามนั - ฐานรองใชไมอัดขนาดกวาง 10 น้วิ ยาว 15 นวิ้ ไมมีกรอบและขาตั้ง ไมม ีการตกแตง - แผนรองนวด 3.๔ ครูผคู วบคมุ แสดงวสั ดอุ ุปกรณการแขง ขนั ทเ่ี ตรียมมาและแกะกระดาษหรือพลาสติกทห่ี อกอน ดินน้ํามนั กอนการแขงขนั ตอ หนาคณะกรรมการเทา นนั้ ๓.๕ เวลาทีใ่ ชใ นการแขงขัน 3 ชั่วโมง (ไมร วมเวลาในการสัมภาษณเด็ก ทัง้ น้ีหากเด็กทํางานเสร็จ กอนเวลากรรมการสามารถเขาสัมภาษณเด็กได) 3.6 แตงกายดว ยชดุ นกั เรียน หรอื ชุดกีฬาประจําโรงเรยี น 3.7 ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเปน ท่ีสน้ิ สดุ 4. เกณฑก ารใหค ะแนนการปน ดนิ นาํ้ มนั 100 คะแนน 25 คะแนน ๔.1 กระบวนการทาํ งาน 5 คะแนน 1) วางแผนการทํางานรว มกัน 10 คะแนน 2) มสี วนรว มในการทํางาน 5 คะแนน 3) ทาํ งานเสรจ็ ตามเวลาท่ีกําหนด 5 คะแนน 4) จัดเกบ็ วัสดุอปุ กรณ 25 คะแนน ๔.๒ จินตนาการและความคดิ สรางสรรค 10 คะแนน 1) มอี งคป ระกอบหลากหลาย 15 คะแนน 2) มรี ายละเอยี ดแปลกใหม

4 ๔.๓ การจัดองคประกอบ 25 คะแนน 1) มคี วามละเอียด ประณตี สวยงาม 10 คะแนน 2) ใชสีดนิ นํ้ามันหลากหลาย 5 คะแนน 3) มคี วามสมดุลของการจัดองคประกอบ 10 คะแนน ๔.๔ เนื้อหา 25 คะแนน 1) มคี วามสอดคลอ งกบั หวั ขอทก่ี ําหนด 10 คะแนน 2) อธบิ ายรายละเอยี ดเก่ียวกบั ชน้ิ งานเปนเรอื่ งราวสอดคลองกบั หวั ขอที่กาํ หนด 15 คะแนน (สัมภาษณเ จา ของช้นิ งาน) ๕. เกณฑการตดั สิน รอยละ ๘๐ – ๑๐๐ ไดร บั รางวลั เกยี รติบตั รระดับเหรยี ญทอง รอยละ ๗๐ – ๗๙ ไดรับรางวลั เกยี รติบัตรระดบั เหรยี ญเงนิ รอ ยละ ๖๐ – ๖๙ ไดรบั รางวลั เกียรตบิ ัตรระดบั เหรียญทองแดง ๖. คณะกรรมการการแขง ขัน จํานวน ๓ - ๕ คน คุณสมบัตขิ องคณะกรรมการ - เปน ศึกษานเิ ทศกท่รี ับผิดชอบงานการศึกษาปฐมวยั - เปนครผู ูสอนระดับปฐมวัย - เปน ผทู รงคณุ วฒุ ิดานการศกึ ษาปฐมวยั หมายเหตุ - กรรมการควรชแ้ี จงกตกิ าการแขงขนั และเกณฑการใหคะแนน กอ นทําการแขงขนั - กรรมการตอ งไมต ดั สนิ ในกรณสี ถานศึกษาของตนเขา แขงขนั 7. สถานทจ่ี ดั แขง ขนั หอ งทไี่ มมีเสียงหรอื ส่งิ รบกวนจากภายนอก ๘. การเขา แขง ขันระดบั เขตพน้ื ทแี่ ละระดบั ภาค กรณีที่มที ีมชนะลําดบั สงู สุดไดคะแนนเทากัน 2 ทีมขนึ้ ไป ใหพิจารณาตัดสินจากคะแนนในหวั ขอ 4.2 จินตนาการและความคิดสรางสรรค เปนหลัก ทีมใดมีคะแนนมากกวาถือเปนผูชนะ หากมีคะแนนเทากัน ใหพิจารณาตัดสินจากคะแนนในหัวขอ 4.3 การจัดองคประกอบ กรณีคะแนนเทากันทุกขอให ประธานกรรมการตดั สินเปน ผชู ้ีขาด 9. ผปู ระสานงานประจําสนาม

5 2. การสรา งภาพดวยการฉกี ตดั ปะ กระดาษ ๑. คณุ สมบัติผเู ขา แขงขัน ๑.๑ นกั เรยี นชัน้ อนบุ าลปที่ ๓ โรงเรียนสังกัด สพฐ. โรงเรยี นเอกชน หรอื หนว ยงานอน่ื ๑.๒ มีบตั รผแู ขงขันตดิ รปู ถายหนา ตรง ออกใหโ ดยหนวยงานตนสงั กัดท่สี ง เขา แขงขัน ๒. ประเภทและจาํ นวนผูเขาแขง ขนั ประเภททีม ๆ ละ ๓ คน ๓. วิธดี ําเนนิ การและรายละเอียดหลักเกณฑการแขง ขนั ๓.๑ สง รายชื่อผเู ขาแขงขัน และครผู ูควบคุม ๓.๒ หัวขอ การฉกี ตดั ปะ กระดาษ - คณะกรรมการเปน ผกู าํ หนดหวั ขอ ในวนั แขงขนั จาํ นวน 5 หัวขอ - หัวขอควรสื่อความหมายไดชดั เจน ไมม ีลักษณะเปน นามธรรมทเี่ ด็กเขา ใจไดย าก - ใหต วั แทนเดก็ ทเ่ี ขาแขงขัน เปน ผูจบั ฉลากหัวขอการแขงขนั ๓.๓ วสั ดอุ ุปกรณผ ูเขาแขงขนั นํามาเอง - กระดาษขาว–เทา อยา งหนา ขนาดกวา ง ๑๐ นวิ้ ยาว ๑๕ นิ้ว ไมมีกรอบ และขาตั้ง ไมมกี ารตกแตง - กระดาษทใี่ ชใ นการฉีก ตดั ปะ ใชก ระดาษมันปูและกระดาษโปสเตอรสหี นาเดยี วเทาน้ัน และไมเ ปนกระดาษสสี ะทอนแสง - ผา เชด็ มือ - กรรไกรปลายมน - กาวลาเท็กซพ รอมท่ีทากาว หาม ฉีก ตดั กระดาษที่ใชในการแขง ขัน ใหม ขี นาดเลก็ กวา ขนาดกระดาษ A ๔ หรอื ขนาด ๒๑ X 29.7 ซม. หาม ตดั พบั กระดาษเปนรูปรา ง เสน หรอื เปนแถบ มาลวงหนา หา ม รางภาพดวยดนิ สอ หรือใชอ ปุ กรณใดๆ ในการขดี หรอื ทาํ ใหเ กดิ รอย บนกระดาษเทา – ขาว กระดาษมันปูและกระดาษโปสเตอรสีหนาเดยี ว กอ นและระหวา งการแขง ขัน หาม มวน พบั ขยาํ บิด และหนนุ กระดาษ เพื่อสรา งชิ้นงานเปน ๓ มติ ิ หา ม ใชก าวน้าํ ชนิดหลอด และชนิดแทง ๓.๔ ครผู ูค วบคมุ แสดงวสั ดุอุปกรณก ารแขงขนั ทเี่ ตรยี มมาตอ หนาคณะกรรมการกอนการแขงขนั ๓.5 เวลาทใี่ ชใ นการแขงขัน ๓ ชวั่ โมง (ไมรวมเวลาในการสัมภาษณเ ด็ก ทัง้ น้ีหากเด็กทํางานเสร็จ กอ นเวลากรรมการสามารถเขาสัมภาษณเ ด็กได) ๓.6 แตงกายดว ยชุดนักเรยี นหรือชดุ กฬี าประจาํ โรงเรยี น ๓.7 ผลการตัดสนิ ของคณะกรรมการถือเปนท่สี ิน้ สุด

6 ๔. เกณฑการใหคะแนนการสรางภาพดว ยการฉกี ตัด ปะ กระดาษ ๑๐๐ คะแนน ๔.1 กระบวนการทํางาน 25 คะแนน 1) วางแผนการทาํ งานรว มกัน 5 คะแนน 2) มสี ว นรวมในการทาํ งาน 10 คะแนน 3) ทาํ งานเสรจ็ ตามเวลาที่กาํ หนด 5 คะแนน 4) จัดเกบ็ วสั ดุอปุ กรณ 5 คะแนน ๔.๒ จินตนาการและความคิดสรา งสรรค 25 คะแนน 1) มอี งคประกอบหลากหลาย 10 คะแนน 2) มรี ายละเอยี ดแปลกใหม 15 คะแนน ๔.๓ การจัดองคป ระกอบ 25 คะแนน 1) มคี วามละเอยี ด ประณีตสวยงาม 10 คะแนน 2) ใชส ีของกระดาษทห่ี ลากหลาย 5 คะแนน 3) มคี วามสมดุลของการจดั องคป ระกอบ 10 คะแนน ๔.๔ เนอื้ หา 25 คะแนน 1) มีความสอดคลอ งกบั หวั ขอที่กาํ หนด 10 คะแนน 2) อธบิ ายรายละเอยี ดเกยี่ วกับชิ้นงานเปนเรอื่ งราวสอดคลองกับหัวขอที่กาํ หนด 15 คะแนน (สัมภาษณเ จาของช้นิ งาน) ๕. เกณฑก ารตัดสนิ รอยละ ๘๐ - ๑๐๐ ไดรับรางวลั เกียรตบิ ัตรระดบั เหรยี ญทอง รอ ยละ ๗๐ - ๗๙ ไดรบั รางวัลเกยี รตบิ ตั รระดบั เหรยี ญเงิน รอ ยละ ๖๐ - ๖๙ ไดร บั รางวลั เกยี รติบัตรระดับเหรียญทองแดง ๖. คณะกรรมการการแขง ขัน จาํ นวน ๓ - ๕ คน คณุ สมบตั ิของคณะกรรมการ - เปน ศึกษานิเทศกที่รับผิดชอบงานการศึกษาปฐมวัย - เปน ครผู ูสอนระดบั ปฐมวัย - เปนผทู รงคณุ วุฒิดา นการศกึ ษาปฐมวยั หมายเหตุ - กรรมการควรชแ้ี จงกติกาการแขงขันและเกณฑการใหคะแนน กอ นทําการแขง ขนั - กรรมการตอ งไมตัดสินในกรณสี ถานศึกษาของตนเขาแขงขนั 7.สถานที่จดั แขง ขนั หอ งทไี่ มมเี สยี งและส่ิงรบกวนจากภายนอก

7 ๘. การเขา แขง ขนั ระดบั เขตพื้นท่ีและระดบั ภาค กรณีท่ีมีทีมชนะลําดับสูงสุดไดคะแนนเทากัน 2 ทีมขึ้นไป ใหพิจารณาตัดสินจากคะแนน ในหัวขอ ๔.2 จินตนาการและความคิดสรางสรรค เปนหลัก ทีมใดมีคะแนนมากกวาถือเปนผูชนะ หากมีคะแนนเทากัน ใหพิจารณาตัดสินจากคะแนนในหัวขอ ๔.3 การจัดองคประกอบ กรณีคะแนน เทา กันทกุ ขอใหป ระธานกรรมการตัดสินเปน ผชู ข้ี าด 9. ผูประสานงานประจาํ สนาม -

8

9 เกณฑการแขงขนั งานศิลปหตั ถกรรมนกั เรียน ครง้ั ที่ 7๑ ปการศึกษา ๒๕๖๖ กลุมสาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สรปุ กจิ กรรมการแขงขนั กลุม สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (วทิ ยาศาสตร) ชื่อกจิ กรรม เขตพืน้ ที/่ ระดบั ชน้ั สพป. สพม. ประเภท หมายเหตุ 1. การแขง ขนั อัจฉรยิ ภาพทางวทิ ยาศาสตร ป.1-3 ป.4-6 ม.1-3 ม.1-3 ม.4-6 2. การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร ประเภททดลอง √ √ √ √ ทีม ๓. การแขงขนั การแสดงทางวทิ ยาศาสตร 3 คน (Science Show) √ √ √ √ ทมี รวม 3 คน รวม ๓ กิจกรรม √ √ √ √ ทมี 3 คน 3333 ๖ ๖ 12 รายการ

10 1. การแขง ขนั อัจฉรยิ ภาพทางวิทยาศาสตร 1. คุณสมบตั ิผเู ขาแขง ขนั 1.1 นกั เรียนระดับชน้ั ป. 4-6 1.2 นักเรยี นระดบั ช้นั ม. 1-3 1.3 นกั เรยี นระดับช้นั ม. 4-6 2. ประเภท และระดับช้นั (โรงเรียนมสี ิทธิส์ งไดโ รงเรยี นละ ๑ ทีม โดย ๑ ทีมประกอบดว ยนกั เรียน ๓ คนและ ครผู ูฝก สอนไมเ กนิ ทมี ละ 2 คน) 2.1 ระดับชั้นประถมศกึ ษา ป. 4-6 สังกัด สพป. และ สงั กดั อ่นื ๆ ทกุ สงั กดั 2.2 ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน ม. 1-3 สังกัด สพป. และ อบจ.ทีม่ ชี ้นั เรยี น ป.1-ม.3 2.3 ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาตอนตน ม. 1-3 สังกัด สพม. และสังกัดอ่นื ๆ ทุกสงั กดั ยกเวนในกลมุ 2.2 2.4 ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ม. 4-6 สงั กดั สพม. และ สงั กดั อน่ื ๆ ทุกสังกัด 3. วธิ ดี าํ เนินการและรายละเอียดหลักเกณฑการแขงขนั 3.1 สง รายชื่อนกั เรียนผเู ขา แขงขนั พรอมช่อื ครูผูฝก สอน ตามแบบฟอรม ทีก่ ําหนด 3.2 ขอบขายการดาํ เนินการแขง ขนั การแขงขัน ระดบั กลุมเครอื ขาย เขตพ้ืนท่ี และระดับภาค (ระดับชาต)ิ แบง การแขง ขันออกเปน 2 รอบ ดังน้ี 3.2.1 รอบที่ 1 กิจกรรมการตอบปญหาทางวิทยาศาสตร (ภาคเชา) - ขอบขายของเน้ือหา ความรูเก่ียวกับสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในแตละระดับช้ัน ความรทู ว่ั ไปเก่ยี วกับวิทยาศาสตรเ ทคโนโลยีและสง่ิ แวดลอ ม เหตกุ ารณปจ จุบนั - ผูเขาแขงขันทําขอสอบแบบปรนัย 40 ขอ และขอสอบแบบโจทยสถานการณตามแนว การประเมนิ ผลนักเรยี นนานาชาติ (PISA) จํานวน 2 ขอ (เวลาท่ีใชแขงขนั 60 นาที) แบงเนือ้ หา ดังนี้ 1) เนอ้ื หาท่วั ไป แบบปรนัย 20 ขอ (ครอบคลมุ สาระวทิ ยาศาสตรช วี ภาพ วทิ ยาศาสตรก ายภาพ วิทยาศาสตรโลก และอวกาศ และเทคโนโลยี อยางละเทา ๆ กนั ) 2) ความสามารถทางดา นทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรท บี่ รู ณาการกับ สาระวิชาวทิ ยาศาสตร 20 ขอ 3) โจทยส ถานการณต ามแนวการประเมนิ ผลนกั เรียนนานาชาติ 2 ขอ (โจทยส ถานการณ ตามแนวการประเมินผลนักเรียนนานาชาติท้ัง 2 ขอนั้น แตละขอประกอบดวยขอคําถามยอยแบบเขียน อธบิ ายคําตอบ และแบบเลือกตอบในรูปแบบตา ง ๆ ไดต ามความเหมาะสม) - ผูเ ขาแขงขนั ตอบปญ หาสดบนเวทจี ํานวน 20 ขอ คณะกรรมการเปน ผูอานขอ คาํ ถามโดยไมม ี ขอคําถามปรากฏ หากมีรปู ภาพประกอบขอคาํ ถามจะแสดงบนจอหรือในกระดาษคําตอบ ใหผเู ขาแขงขันฟงและ ตอบคาํ ถามลงในกระดาษคําตอบ (เวลาทใี่ ชแ ขงขัน 30 นาที เวลาท่ใี ชในแตละขออาจจะไมเทากันขึ้นอยูกับ ความยากงา ยของขอคําถาม) - ผเู ขาแขงขนั ที่ทาํ คะแนนไดลําดับที่ 1 – 12 ไดส ทิ ธเิ์ ขา แขงขันรอบที่ 2 ในกรณที ี่มที มี ได คะแนนรวมเทากนั ใหพ จิ ารณาจัดลําดบั ดงั น้ี 1) คะแนนโจทยส ถานการณตามแนวการประเมนิ ผลนักเรียนนานาชาติ 2) คะแนนการตอบปญ หาสดบนเวที 3) คะแนนความสามารถทางดา นทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร 4) คะแนนในสวนของเนอื้ หาทั่วไป

11 3.2.2 รอบท่ี 2 กจิ กรรมแขง ขันกระบวนการแกปญหาทางวิทยาศาสตร (ภาคบา ย เวลาทใ่ี ชแขงขัน 2 ชั่วโมง) คณะกรรมการเปนผกู าํ หนดสถานการณป ญ หา 1 สถานการณที่บรู ณาการกบั สาระวิชาวิทยาศาสตร และผเู ขา แขง ขนั ดาํ เนินการแกปญ หาตามสถานการณ โดยเลอื กใชว สั ดุอุปกรณต ามความจําเปน 3.2.3 ในกรณที ีท่ มี ผชู นะไดค ะแนนเทากนั ใหพจิ ารณาจดั ลําดบั ดงั น้ี 1) คะแนนกระบวนการแกปญหาทางวทิ ยาศาสตร 2) คะแนนการตอบปญหาสดบนเวที 3) คะแนนความสามารถทางดา นทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร 4) คะแนนในสวนของเน้อื หาทั่วไป 3.2.4 สอื่ วสั ดอุ ปุ กรณ ขอสอบ สถานการณปญหา กระดาษคําตอบ คณะกรรมการเปน ผจู ัดเตรยี ม โดยขอสอบและกระดาษคําตอบ แจกผูเขาแขงทุกทีมในวันแขงขัน ทีมละ 1 ฉบับ และไมอนุญาตใหนํา เครอื่ งคดิ เลขหรอื อุปกรณช ว ยคาํ นวณอื่น ๆ เขา ไปในหองแขงขัน 4. เกณฑการใหคะแนน (คะแนนเต็ม 200 คะแนน) ดังนี้ 4.1 กจิ กรรมการตอบปญหาทางวทิ ยาศาสตร (คะแนนเต็ม 100 คะแนน) 4.1.1 เน้อื หาท่ัวไป แบบปรนยั 20 ขอ ขอ ๆ ละ 1 คะแนน รวม 20 คะแนน 4.1.2 ความสามารถทางดา นทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรท บี่ รู ณาการกับสาระวิชา วทิ ยาศาสตร 20 ขอ ๆ ละ 1 คะแนน 4.1.3 โจทยส ถานการณตามแนวการประเมินผลนกั เรยี นนานาชาติ 2 ขอๆ ละ ๑๐ คะแนน รวม 20 คะแนน 4.1.4 ผเู ขา แขงขนั ตอบปญ หาสดบนเวทจี ํานวน 20 ขอ ๆ ละ 2 คะแนน รวม 40 คะแนน 4.2 กจิ กรรมแขงขนั กระบวนการแกปญ หาทางวิทยาศาสตร (คะแนนเตม็ 100 คะแนน) 4.2.1 การเตรียมวัสดุอุปกรณ 10 คะแนน 1) เลือกใชว ัสด/ุ อุปกรณ/ เครอ่ื งมอื ตามความจําเปน 2 คะแนน 2) เลอื กใชว ัสดุ/อปุ กรณ/ เคร่อื งมอื เหมาะสมกบั ประเภท 3 คะแนน 3) เลอื กใชว ัสดุ/อุปกรณ/ เครอ่ื งมือถูกตองตามวตั ถปุ ระสงคข องการใชง าน 3 คะแนน 4) จดั วางอปุ กรณเ ปนระเบยี บ รักษาความสะอาดตลอดเวลา 2 คะแนน 4.2.2 การวางแผนและการออกแบบการทดลอง 10 คะแนน 1) ระบปุ ญ หา 2 คะแนน 2) ตง้ั สมมติฐาน เขา ใจงา ย เปน แนวทางท่ีนําไปสกู ารปญหา 2 คะแนน 3) ระบุตวั แปรไดถ กู ตอ ง สอดคลอง เหมาะสม 3 คะแนน 4) ออกแบบขน้ั ตอนการแกป ญหาไดสอดคลองเหมาะสม 3 คะแนน 4.2.3 การปฏบิ ัตกิ ารทดลอง 30 คะแนน 1) คลองแคลวในการทํางาน เสร็จภายในเวลาท่กี ําหนด 5 คะแนน 2) เทคนิคการทดลอง การใชเคร่ืองมอื อานคา จากเครอื่ งมอื 5 คะแนน 3) ปฏบิ ัติตามขน้ั ตอนการแกป ญหาทีว่ างแผนไว 5 คะแนน 4) มีการทดลองซ้าํ 5 คะแนน 5) บันทึกผล โดยคาํ นึงถึงหนวย และเลขนยั สาํ คญั 5 คะแนน 6) การจัดกระทาํ ขอมลู เหมาะสม ชัดเจน 5 คะแนน

12 4.2.4 การเขียนรายงานการทดลอง 50 คะแนน แบง เปน 1) ต้ังช่ือเร่อื ง ๓ คะแนน 2) กาํ หนดวตั ถปุ ระสงค 5 คะแนน 3) ตงั้ สมมติฐาน 4 คะแนน 4) กําหนดตวั แปร 4 คะแนน 5) วัสดุอุปกรณ ๒ คะแนน 6) วธิ กี ารทดลอง 12 คะแนน 7) บันทึกผลการทดลอง 10 คะแนน 8) อภปิ รายและสรปุ ผลการทดลอง 10 คะแนน 4.3 นาํ คะแนนในขอ 4.1 และ 4.2 รวมกันเปนคะแนน 200 คะแนน แลว คิดคา เฉล่ียรอยละ 5. เกณฑก ารไดร ับรางวัล ๕.๑ ทีมที่ผานเขารอบที่ ๒ (ลําดับท่ี ๑ - ๑๒) ใหนําคะแนนการแขงขันในรอบท่ี ๑ และรอบที่ ๒ มารวมกัน แลวคิดเปน รอ ยละ รอ ยละ 80 - 100 ไดร บั รางวลั ระดบั เหรยี ญทอง รอ ยละ 70 – 79 ไดร บั รางวลั ระดบั เหรยี ญเงนิ รอ ยละ 60 – 69 ไดร บั รางวลั ระดบั เหรียญทองแดง ต่าํ กวารอ ยละ 60 ไดรับเกียรตบิ ัตรชมเชย หมายเหตุ กรณที ีมใดไดคะแนนในรอบที่ ๑ มากกวาหรอื เทากบั รอยละ ๖๐ จะไดร บั เหรยี ญทองแดง ๕.๒ นักเรยี นทีไ่ มผานเขา รอบ ๑๒ ทีมสดุ ทา ย ทีมใดไดคะแนนในรอบที่ ๑ มากกวาหรอื เทา กบั รอยละ ๖๐ จะไดร บั เหรียญทองแดง ถาไดคะแนน นอยกวา รอ ยละ ๖๐ ไดร บั เกียรตบิ ตั รเขา รว ม ผลการตดั สนิ ของคณะกรรมการถอื เปนส้ินสุด 6. คณะกรรมการการแขง ขนั 6.1 จํานวนระดับชั้นละ 1 ทีม ทมี ละอยางนอ ย 5 คน ประกอบดวย ครู ศกึ ษานเิ ทศกห รอื บคุ ลากรอนื่ ท่เี หมาะสม 6.2 คณุ สมบตั ิของคณะกรรมการตองมีความรูดานวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยคี รอบคลุมทุกสาขาวิชา ๖.๓ ครทู ี่มีรายชอื่ เปนผูฝก สอนไมมสี ิทธิ์เปนคณะกรรมการการแขงขนั 7. สถานท่แี ขง ขนั 7.1 การสอบปรนัย จดั สอบในหองเรียน 7.2 การตอบสดบนเวทีจัดเวทีสําหรับพิธีกรดําเนินการอานคําถามเปนรายขอ มีเวลาใหผูเขาแขงขัน แตละทีมตอบคาํ ถาม และจัดใหมกี ารแสดงคะแนนเปน รายขอ (real time) 7.3 การแขงขนั กระบวนการแกปญหาทางวทิ ยาศาสตรจ ดั แขงขนั ในหอ งปฏบิ ตั ิการวทิ ยาศาสตร 8. การเขา แขงขันระดับภาค (ระดับชาติ) ทีมทีเ่ ปนตวั แทนของเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาตองไดคะแนนระดับเหรียญทอง ลําดบั ท่ี 1 (คะแนนรอ ยละ 80 ขึ้นไป) เขา แขงขนั ในระดับภาค (ระดบั ชาติ) 9. การเผยแพรผลงานท่ไี ดรบั รางวลั คณะกรรมการ หนว ยงานท่จี ดั การแขงขัน และสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน มีสทิ ธ์ิในการนํา ผลงานของนักเรยี นท่ีสง เขารว มการแขง ขันในทุกช้ินงานและทุกระดบั ช้นั ไปเผยแพรป ระชาสมั พันธไ ด

13 ใบสงรายช่ือผเู ขาแขงขัน 1. กจิ กรรม “การแขงขนั อจั ฉริยภาพทางวทิ ยาศาสตร” 2. ระดบั ชัน้ ......................................................... 3. ช่อื -นามสกุล นักเรยี นผูเ ขา แขง ขนั คนที่ 1 ................................................................................... ช้ัน……………………................... เกดิ วนั ที่……....เดอื น…………........………พ.ศ………………...อาย…ุ ………………...ป คนที่ ๒ ................................................................................... ชน้ั ……………………................... เกิดวันท่ี……....เดอื น…………........………พ.ศ………………...อาย…ุ ………………...ป คนที่ ๓ ................................................................................... ชนั้ ……………………................... เกดิ วนั ที่……....เดือน…………........………พ.ศ………………...อาย…ุ ………………...ป 4. ครูผูฝ ก สอน คนท่ี ๑ ................................................................................... ตาํ แหนง................................. เบอรม อื ถือ................................... E-mail .........................................โทรสาร…………............ คนท่ี ๒ ................................................................................... ตําแหนง................................. เบอรม ือถือ................................... E-mail .........................................โทรสาร…………............ 5. ช่อื โรงเรียน ............................................................................................................................. 6. สาํ นักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา .................................. ภูมภิ าค.................................................

14 2. การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร ประเภททดลอง ๑. คณุ สมบตั ิผูเ ขา ประกวด ๑.๑ นักเรียนระดับชั้น ป. ๔-๖ ๑.๒ นกั เรียนระดับช้ัน ม. ๑-๓ ๑.๓ นกั เรยี นระดบั ช้นั ม. ๔-๖ ๒. ประเภทและจํานวนผเู ขา ประกวด (ประเภททีม ๒ - ๓ คน) ๒.๑ ระดบั ชั้นประถมศกึ ษา ป. ๔-๖ สงั กัด สพป. และ สงั กดั อน่ื ๆ ทุกสังกัด ๒.๒ ระดับชน้ั มัธยมศึกษาตอนตน ม. ๑-๓ สังกดั สพป. และ อบจ.ทีม่ ชี ้ันเรยี น ป.๑-ม.๓ ๒.๓ ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนตน ม. ๑-๓ สงั กดั สพม. และสงั กดั อื่น ๆ ทุกสงั กัดยกเวนในกลุม ๒.๒ ๒.๔ ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย ม. ๔-๖ สังกดั สพม. และ สังกัดอ่นื ๆ ทกุ สงั กัด ๓. วิธีดําเนินการและรายละเอยี ดหลักเกณฑก ารประกวด ๓.๑ สงรายชื่อนักเรียนผูเขาประกวด ทีมละ ๒ - ๓ คน พรอมชื่อครูที่ปรึกษา ทีมละไมเกิน ๒ คน ตามแบบฟอรม ทกี่ ําหนด ๓.๒ โครงงานท่สี ง เขาประกวดตองเปนโครงงานวทิ ยาศาสตรป ระเภททดลอง ทเี่ ก่ียวขอ งกับกลมุ สาระ การเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มีการทดลองทางวิทยาศาสตรท่ีใชวิธีการทางวิทยาศาสตร หรือเทคโนโลยี ในการศึกษาหาความรูเพ่ือใหไดค ําตอบในเร่ืองที่ศึกษา ๓.๓ การประกวดระดบั ภาค (ระดับชาติ) ตอ งสงเอกสารตอไปน้ี ๑) รูปเลมรายงานโครงงานวิทยาศาสตร จํานวน ๖ ชุด และไฟลรูปเลมรายงานโครงงาน วทิ ยาศาสตร (.pdf) สงลวงหนา ๗ วนั กอ นการประกวด (นบั วันประทับตราไปรษณียากร หรือการลงเวลาแสดง การสง ในแบบฟอรม ณ สนาม/ศูนยก ารแขง ขนั ) รปู แบบการสงไฟลใ ชร ูปแบบทสี่ นาม/ศูนยก ารแขง ขันกําหนด ๒) ไฟลนําเสนอโครงงานวิทยาศาสตร (.ppt และ .pdf) สําหรับนําเสนอในวันแขงขันตอ คณะกรรมการ ลว งหนา ๗ วนั กอนการประกวดหรอื ตามท่ศี นู ยก ารแขงขัน/สนามการแขงขันเห็นวาเหมาะสม รปู แบบการสงไฟลใชรปู แบบท่ีสนาม/ศูนยก ารแขงขนั กําหนด ๓.๔ การจัดทาํ ไฟลนําเสนอโครงงานวิทยาศาสตร ใหจ ัดทําโดยใชโปรแกรมนําเสนอ เปน ไฟล .ppt และ .pdf เพ่ือใชรวมกับการนําเสนอปากเปลา ตอคณะกรรมการในวันแขงขัน (ไมนาํ เสนอในลักษณะของวิดิโอทั้งหมด) สามารถใสรปู หรอื วดี โิ อเพ่ือนําเสนอขอมูลประกอบในบางชว งได ๓.๕ นําเสนอโครงงานปากเปลาตอคณะกรรมประกอบไฟลนาํ เสนอโครงงานวิทยาศาสตร (.ppt หรือ .pdf) ประมาณ ๗ นาที และตอบขอ ซักถามใชเวลาประมาณ ๘ นาที รวมเวลาการนําเสนอ และตอบขอ ซักถาม ใชเ วลาประมาณ ๑๕ นาที ๓.๖ อุปกรณอ่ืน ๆ ท่ีนํามาสาธิตประกอบการนําเสนอ อาจวางบนโตะ โดยไมยื่นออกมาจากโตะ เกิน ๖๐ ซม. หากไมสามารถวางบนโตะไดใหอยูในดุลยพินิจของคณะกรรมการ อุปกรณท่ีไมเก่ียวของกับ โครงงานวิทยาศาสตร เชน อปุ กรณต กแตง ตาง ๆ ไมน ํามาคดิ เปนคะแนน ๓.๗ ใหเจาภาพหรือคณะกรรมการดําเนินงานจัดเตรียมโตะสําหรับวางอุปกรณท่ีผูเขาแขงขันนํามา ประกอบการนําเสนอหรอื สาธติ โดยจัดใหเ ทากนั ขนาดไมเ กนิ ๑.๕๐ ม. × ๑.๒๐ ม.

15 ๓.๘ สือ่ วสั ดอุ ุปกรณผ สู ง โครงงานเขา ประกวดจัดเตรียมมาเอง ๓.๙ แนวทางในการจัดการแขง ขัน (ระดับชาติ) - การจัดกิจกรรมการแขงขันโครงงานวิทยาศาสตรแบงเปนชว งการแขงขันวันละไมเ กิน ๒๕ ทีมตอวัน - อปุ กรณอื่น ๆ ทีน่ ํามาสาธิตประกอบการนําเสนอ ตองจัดวางบนโตะ เพือ่ เตรยี มความพรอมกอน ลาํ ดับการนาํ เสนอตอคณะกรรมการ - ไฟลนาํ เสนอโครงงานวิทยาศาสตร ใชไ ฟลท ่ผี ูประกวดแขงขันสงมายังศูนยการแขงขัน/สนามแขงขัน ไมส ามารถเปลี่ยนแปลงได - เริ่มการนําเสนอโครงงานเวลาประมาณ ๐๙.๐๐ น. และควรเลิกการนําเสนอโครงงาน ไมเกินเวลา ๑๗.๐๐ น. หมายเหตุ ครผู ฝู กสอนสามารถชวยเหลือในการจดั เตรียมและเคลอื่ นยายโตะอุปกรณเทา นัน้ ไมสามารถ ชว ยเหลอื ในการนาํ เสนอใด ๆ เชน ชว ยคลกิ สไลดน าํ เสนอ ๔. เกณฑการใหคะแนน ๑๐๐ คะแนน ดงั นี้ ๓๕ คะแนน ๔.๑ เปา หมาย/ปญหาในการทาํ โครงงาน และการออกแบบการทดลอง - ความคิดรเิ ร่มิ สรางสรรคแ ละมีการสรา งวัตกรรมหรือองคค วามรใู หม (๑๐ คะแนน) • ปญหา (แนวคิด) หรอื วธิ ีการแกป ญหามีความนาสนใจและแปลกใหม ๕ คะแนน • การทําโครงงานมีการสรา งนวัตกรรมหรือองคค วามรูใ หม ๕ คะแนน - คณุ คาของโครงงาน (๑๐ คะแนน) • มีความคมุ คา สามารถนําไปใชป ระโยชนไดจ ริง หรือนําไปพัฒนาแนวคิด ๕ คะแนน หรือใชเ ปน แนวทางในการแกป ญ หาในชมุ ชน ทองถน่ิ สงั คม • การทําโครงงานมีการฝกกระบวนการทีก่ อใหเกดิ ความรู ทกั ษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรและจติ วทิ ยาศาสตรกับผูเขาประกวดแขงขัน ๕ คะแนน - การออกแบบการทดลอง (๑๕ คะแนน) • ปญหา สมมตฐิ าน การกําหนดตัวแปร วิธกี ารทดลอง ผลการศกึ ษาและสรปุ ผลการศึกษามีความสอดคลองกัน ๕ คะแนน • มีการแบง กลมุ การทดลอง ๕ คะแนน • ขอมลู มีความนาเชอ่ื ถือ มีการทาํ การทดลองซา้ํ ๒.๕ คะแนน • เลอื กใชเ ครอ่ื งมอื ไดถกู ตอง เหมาะสม ๒.๕ คะแนน ๔.๒ ความสมบรู ณของรายงานโครงงานวทิ ยาศาสตร ๓๐ คะแนน - ความถูกตองตามแบบฟอรม มีหัวขอครบถวน ถกู ตอง และเรียงลําดับตามแบบฟอรม ท่ีกําหนด (๓ คะแนน) - วัตถปุ ระสงคและสมมตฐิ านมคี วามถกู ตอง ครบถว น และสอดคลองปญ หา (๓ คะแนน) - การกําหนดตัวแปร มีความถกู ตอ ง ครบถวน และสอดคลองกับส่ิงทีศ่ ึกษา (๔ คะแนน)

- การอางถึงความรทู ี่เกี่ยวขอ งไดอ ยา งถูกตองเหมาะสม 16 ขอมูลทีอ่ า งองิ สอดคลองกบั ปญหา และรูปแบบการเขียนอางองิ ถูกตอ ง (๓ คะแนน) - การนาํ เสนอขอมลู มกี ารจดั กระทาํ ขอมูล (๕ คะแนน) และเลือกใชร ปู แบบการนําเสนอขอมลู ท่เี หมาะสม (๒ คะแนน) - การใชภ าษา ศัพทท างวทิ ยาศาสตร มคี วามถูกตองชดั เจน ครอบคลมุ สามารถส่ือสารขอมูลใหผูอ ืน่ เขาใจและใชศพั ททางวิทยาศาสตร (๑๐ คะแนน) ไดอ ยางถกู ตองและเหมาะสม - สรุปผลและอภิปรายผลไดอยา งมีเหตผุ ล เปรยี บเทยี บผลทไี่ ดกบั รายงาน ทีเ่ คยมีการศึกษาไว หรืองานที่มีความเก่ยี วขอ งกบั เรื่องท่ีศึกษา รวมทั้งมีขอเสนอแนะในการศึกษาตอ ไป ๔.๓ การนาํ เสนอปากเปลา ๓๕ คะแนน - ภาพรวม องคป ระกอบในไฟลนําเสนอโครงงานวทิ ยาศาสตรมคี วามชัดเจน (๕ คะแนน) และมสี อ่ื อุปกรณ ชน้ิ งาน ประกอบการนําเสนอท่ีเหมาะสม (๑๐ คะแนน) - การนําเสนอปากเปลา ระยะเวลา บุคลิกภาพ ภาษาท่ีใช (๑๕ คะแนน) - การตอบคําถาม (๕ คะแนน) ความถูกตอ ง ความรูความเขา ใจในเรื่องที่ทํา ความมั่นใจในการตอบคําถาม การมีสวนรวมของสมาชิก - หลกั ฐานทมี่ าของขอ มูล (เชน สมุดบันทึกการทําโครงงาน, log book) ๕. เกณฑก ารไดร บั รางวลั รอยละ ๘๐ - ๑๐๐ ไดรับรางวลั ระดบั เหรียญทอง รอยละ ๗๐ – ๗๙ ไดรบั รางวัลระดบั เหรียญเงิน รอยละ ๖๐ – ๖๙ ไดรบั รางวลั ระดบั เหรยี ญทองแดง ตํ่ากวา รอ ยละ ๖๐ ไดร ับไดรับเกยี รตบิ ัตร* เวนแตกรรมการจะเห็นเปน อยางอืน่ * การประกวดระดับเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา ไดร บั เกียรตบิ ัตรเขารว มการประกวด การประกวดระดับชาติ ไดร บั เกียรตบิ ัตรชมเชย ผลการตดั สนิ ของคณะกรรมการถอื เปน ท่สี ้ินสดุ หมายเหตุ ๑. โครงงานที่ไดรบั รางวัลตอ งมีคะแนนตามเกณฑแ ละควรมีลกั ษณะเพ่ิมเติมดังตอไปนี้ ๑) โครงงานท่ีไดรับรางวัลระดับเหรียญทองแดง เปนโครงงานท่ีมีเน้ือหาสาระทางวิชาการ ท่ีถูกตองสมบรู ณและทันสมัย มแี นวคิดและการนําเสนอทีช่ ดั เจน ๒) โครงงานที่ไดรับรางวัลระดับเหรียญเงิน ใชเกณฑเดียวกับเหรียญทองแดง และมี แนวโนม สามารถนําไปใชอ า งอิง หรอื นาํ ไปปฏิบตั ิได

17 ๓) โครงงานที่ไดรับรางวัลระดับเหรียญทอง ใชเกณฑเดียวกับเหรียญเงิน และมีการ กระตุนใหเกิดความคิดและการคนควาตอเนื่อง เปนที่เชื่อถือและยอมรับต้ังแตระดับสถานศึกษา ทองถิ่น เขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา ภมู ภิ าค ประเทศ ถึงระดบั นานาชาติ อยางนอ ยหนึ่งระดบั ๒. กรณีท่ีสมาชิกในทีมไมสามารถเขารวมการแขงขันได ถาเปนทีมที่มีสมาชิก ๓ คน อนุญาตใหเปล่ียนสมาชิกในทีมได ๑ คน หรือใหสมาชิก ๒ คนท่ีเหลือเขารวมการแขงขันได ถาเปนทีมที่มี สมาชกิ ๒ คน ไมอนุญาตใหเ ปลย่ี นสมาชกิ ในทมี และไมอ นญุ าตใหสมาชิกท่ีเหลือ ๑ คน เขา รวมการแขงขัน ๖. คณะกรรมการการประกวด จํานวนระดับชน้ั ละ ๑ ทมี ทมี ละ ๕ คน คณุ สมบัติของคณะกรรมการ ๑) ครูหรือบุคลากรทางการศึกษาหรือบุคลากรอื่น ๆ ที่มีความรูดานวิทยาศาสตร หรือมี ความสามารถเฉพาะทางเหมาะสมกับกิจกรรม (ในกรณีคณะกรรมการระดับชาติ ควรมีผลงานเปนที่ยอมรับ ในระดบั ภูมิภาคข้ึนไป) ๒) บุคลากรท่มี ีความเชยี่ วชาญดานกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรในทองถน่ิ หรือในสถาบันการศึกษา หมายเหตุ ไมแตง ต้ังบุคคลที่มสี ว นไดส วนเสยี กบั ผลการประกวดเปน กรรมการ เชน แตง ต้ังครูในโรงเรยี น ทส่ี งทีมเขารวมประกวดเปนคณะกรรมการ เปน ตน ๗. สถานที่ประกวด หองประชุม ท่ีมีเคร่ืองเสียง คอมพิวเตอร เคร่ืองฉายโปรเจคเตอร (Projecter) หรือจอแสดงผล และควรจัดเตรียมพอยเตอร (Pointer) หรืออุปกรณอํานวยความสะดวกในการเปลี่ยนสไลดนําเสนอ หองประชุมสามารถรองรบั ผูแ ขง ขันและผูส นใจเขารบั ฟงการนําเสนอได ๘. การเขา ประกวดระดับภาค (ระดบั ชาติ) ๘.๑ ใหท มี ทเ่ี ปน ตวั แทนของของเขตพนื้ ท่ีการศึกษาเขา ประกวดในระดบั ชาติทกุ กิจกรรมตองได คะแนน ระดับเหรียญทอง ลาํ ดบั ที่ ๑ (คะแนนรอ ยละ ๘๐ ขึ้นไป) ๘.๒ ในกรณปี ระกวดระดับเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา และระดบั ชาติที่มีทมี ชนะลาํ ดบั สูงสดุ ไดค ะแนนเทา กัน มีมากกวา ๑ ทมี ใหพจิ ารณาลําดบั ทต่ี ามลาํ ดับขอ ของเกณฑการใหค ะแนน เชน มีทมี ทีไ่ ดคะแนน ขอที่ ๔.๑ เทา กันใหด ูขอท่ี ๔.๒ ทีมที่ไดคะแนนขอ ที่ ๔.๒ มากกวา ถือเปนผูชนะแตถาขอที่ ๔.๒ เทา กนั ใหด ูในขอถดั ไป กรณีคะแนนเทา กนั ทุกขอ ใหคณะกรรมการตดั สนิ เปน ผชู ้ขี าด ๙. การเผยแพรผลงานทไ่ี ดรบั รางวลั ผลงานของนักเรียนทส่ี งเขารว มการประกวดในทุกช้ินงานและทุกระดับช้นั คณะกรรมการ/ หนว ยงาน ทีจ่ ัดการประกวดและสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน มีสิทธใิ นการนําไปเผยแพรป ระชาสัมพันธได

18 ๑๐. รูปแบบการเขยี นรายงาน รายงานโครงงานวทิ ยาศาสตร ประเภททดลอง เรอื่ ง......................................................................................................................... โดย ๑......................................................................................................................................... ๒.......................................................................................................................................... ๓......................................................................................................................................... ครทู ่ีปรึกษา ๑. ...................................................................................................................................... ๒. ...................................................................................................................................... โรงเรยี น........................................สํานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษา............................. รายงานฉบับนเ้ี ปนสว นประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร ประเภททดลอง ระดับช้นั ....................................... เนอ่ื งในงานงานมหกรรมความสามารถทางศลิ ปหัตถกรรม วิชาการ และเทคโนโลยีของนักเรยี น ปการศึกษา…………… วันที่ ..............เดอื น...............พ.ศ. …….

19 (ปกใน) เรือ่ ง........................................................................................................................ โดย ๑. ......................................................................................................................................... ๒. ......................................................................................................................................... ๓. ......................................................................................................................................... ครูทปี่ รึกษา ๑. ...................................................................................................................... ๒. ...................................................................................................................... บทคดั ยอ ความยาวไมเกิน 20 หนา กิตติกรรมประกาศ สารบญั สารบัญตาราง สารบญั รูปภาพ บทท่ี ๑ บทนํา บทท่ี ๒ เอกสารทเี่ กยี่ วขอ ง บทท่ี ๓ อปุ กรณแ ละวธิ กี ารดําเนนิ การ บทท่ี ๔ ผลการดําเนินการ บทท่ี ๕ สรปุ ผลการดําเนนิ การ/อภปิ รายผลการดาํ เนินการ การอางอิง ภาคผนวก จํานวนไมเกนิ ๑๐ หนา หมายเหตุ ขนาดของกระดาษเขียนรายงานใหใชก ระดาษพมิ พ ขนาดเอ ๔ พิมพห นาเดียว ความยาวไมเ กิน ๒๐ หนา เฉพาะบทที่ ๑-๕ รวมสรุปผลการดําเนนิ การ อาจมีภาคผนวกไดอีกไมเ กิน ๑๐ หนา ขนาดตวั อกั ษร TH SarabunPSK ขนาด ๑๖ **สง รปู เลม รายงานโครงงานวทิ ยาศาสตรพรอมซีดกี ารนําเสนอโครงงานไมเกิน 7 นาทแี ละไฟล บทคัดยอ จํานวน ๖ ชุด โดยสงลวงหนา ๗ วัน กอนการประกวด (นับวันประทับตราไปรษณียากร)

20 ดานบน 3.81 ซม. ดานซา ย 3.81 ซม. (รูปแบบบทคัดยอ) ดา นขวา 2.54 ซม. ชื่อโครงงาน…………………………………………………………………………………………………………………………………........ ชอ่ื ผูจดั ทําโครงงาน……………………………………………………………………………………………………………………………… ชอื่ ครทู ี่ปรึกษา……………………………………………………………………………………………………………………………………. อีเมลครูท่ีปรึกษา………………………………………………………………………………………………………………………………… โรงเรยี น......................................................... อาํ เภอ.......................... จังหวัด .................................................. ปการศึกษา………………………… บทคัดยอ …………………………………………………………………………………………………………………………………………….… …….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …….………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… คาํ สําคญั …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. หมายเหตุ ความยาวของบทคัดยอ ไมเกิน ๑ หนากระดาษเอ ๔ - หวั กระดาษดานบน 3.81 ซม. - หัวกระดาษดานลาง 2.54 ซม. - ดา นซาย 3.81 ซม. - ดา นขวา 2.54 ซม. ตัวอักษร TH SarabunPSK ขนาด ๑๖

21 ใบสงรายชื่อนักเรียนเขาประกวด ๑. กิจกรรม “โครงงานวิทยาศาสตร ประเภททดลอง” เร่ือง............................................... ๒. ระดบั ช้นั ......................................................... ๓. ช่ือ/นามสกุล นักเรยี น คนที่ ๑............................................................. ช้ัน……………………....................... เกิดวันที่……....เดือน…………………พ.ศ………………...อายุ…………………...ป คนที่ ๒...............................................................ช้ัน……………………....................... เกิดวันที่……....เดือน………………….พ.ศ………………...อาย…ุ ………………...ป คนที่ ๓...............................................................ช้นั ……………………....................... เกิดวนั ท่ี……....เดือน………………….พ.ศ………………...อาย…ุ ………………...ป ๔. ครผู ฝู กสอน ๑. ช่อื -นามสกุล................................................. ตําแหนง..................................... เบอรมือถือ................................... E-mail ..................................…………....... ๒. ชื่อ-นามสกุล................................................. ตําแหนง..................................... เบอรมือถือ................................... E-mail ..................................…………....... ๕. ช่ือโรงเรยี น ........................................................................................................................... ๖. สาํ นักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา .................................. ภมู ภิ าค.................................................

22 ๓. การแขง ขนั การแสดงทางวิทยาศาสตร (Science Show) การแขงขนั การแสดงทางวิทยาศาสตร (Science Show) เปนกจิ กรรมการสื่อสารทางวทิ ยาศาสตร ท่สี รา งแรงบันดาลใจ และปลูกฝง เจตคติทีด่ ีตอการเรียนรวู ิทยาศาสตร 1. คณุ สมบัตผิ ูเขา แขงขัน 1.1 นักเรียนระดบั ชั้น ป. 4-6 1.2 นักเรียนระดบั ช้นั ม. 1-3 1.3 นักเรียนระดับช้ัน ม. 4-6 2. ประเภท และระดับช้นั (ประเภททีม 3 คน 1 โรงเรียน มีสทิ ธิสงได 1 ทีม) 2.1 ระดบั ชั้นประถมศึกษา ป. 4-6 สังกัด สพป. และ สังกัดอ่ืน ๆ ทุกสังกัด 2.2 ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาตอนตน ม. 1-3 สงั กัด สพป. และ อบจ.ทมี่ ชี น้ั เรยี น ป.1-ม.3 2.3 ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาตอนตน ม. 1-3 สังกัด สพม. และ สงั กัดอื่น ๆ ทุกสังกัด ยกเวนในกลุม 2.2 2.4 ระดับช้ันมธั ยมศึกษาตอนปลาย ม. 4-6 สังกัด สพม. และ สังกัดอืน่ ๆ ทุกสงั กดั 3. วิธีดําเนินการและรายละเอยี ดหลักเกณฑก ารแขงขนั 3.1 สง รายชือ่ นักเรียนผูเขา แขง ขนั ทีมละ 3 คน พรอ มชือ่ ครูผูฝกสอนทมี ละ 2 คน ตามแบบฟอรมท่กี ําหนด 3.2 ระดับกลุมเครือขายและเขตพ้ืนที่ ใหแตละทีมที่เขาแขงขันสงรายช่ือนักเรียน พรอมรายงานการแสดง ตอ กรรมการในวันรายงานตวั เขาแขง ขนั จาํ นวน 6 ชุด 3.3 ระดับภาค/ระดบั ชาติใหแตล ะทีมท่ีเขา แขงขันสงรายช่ือนักเรียนพรอมรายงานการแสดง ลว งหนา 7 วัน กอนการแขงขัน จาํ นวน 6 ชดุ 3.4 กาํ หนดใหม ผี ูแสดงบนเวทจี าํ นวน 3 คน เทา นนั้ ไมอ นญุ าตใหใชบ ุคคลประกอบฉาก หรอื ทําหนาที่ใด ๆ ประกอบการแสดงบนเวทีกิจกรรมการแสดงทางวทิ ยาศาสตร( ยกเวน ผชู มที่ถูกเชิญขน้ึ ไป ในชวงเวลาทเ่ี ชญิ ผูชมเขาไปมี สว นรว มในการแสดง) 3.5 เวลาที่ใชใ นการแสดง 3.5.1 เวลาที่ใชในการแสดง ทีมละ 13 - 15 นาที กรณีท่ีใชเวลาเกินหรือขาด จะถูกหักคะแนนนาที ละ 1 คะแนน (เศษวินาทีที่เกินหรือขาดตั้งแต 30 วินาทีขึ้นไปใหปดเปน 1 นาที) ท้งั นี้การหักคะแนน เรอ่ื งการใช เวลาแสดง หกั ไดสงู สุดไดไมเกิน 5 คะแนน ดงั ตาราง แสดงเกินเวลา 15 นาที แสดงจบกอ นเวลา 15 นาที หักคะแนน 1 นาที 1 นาที 1 2 นาที 2 นาที 2 3 นาที 3 นาที 3 4 นาที 4 นาที 4 5 5 นาทีข้ึนไป 5 นาทขี ้นึ ไป 3.5.2 เวลาในการจัดเตรียมอุปกรณเพ่ือใชใ นการแสดง 5 นาที และเวลาในเก็บอุปกรณ การทํา ความสะอาดเวทีหลังการแสดง 5 นาที (กรรมการจับเวลาเปนผูใหสัญญาณในการเริ่มจัดเตรียมอุปกรณและ เร่ิมเก็บอุปกรณ) ทัง้ นกี้ ารหักคะแนนเวลาในการจัดเตรียม, เก็บอุปกรณและการทําความสะอาดเวทหี ักไดส ูงสุดได ไมเ กนิ 1 คะแนน

23 4. เกณฑก ารใหค ะแนน (คะแนนเตม็ 100 คะแนน) 4.1 สาระทางวิชาการ 35 คะแนน 4.1.1 เนือ้ หาทางวิทยาศาสตร (15 คะแนน) - อธิบายเนื้อหาไดถ ูกตองตามหลักการทางวทิ ยาศาสตร 5 คะแนน - อธิบายเนื้อหาทางวิทยาศาสตรไดกระชบั ชัดเจนเขา ใจงา ย 5 คะแนน - เนือ้ หาท่ีนาํ เสนอสอดคลองตรงตามเลมรายงาน 5 คะแนน 4.1.2 การเช่อื มโยงกิจกรรม (5 คะแนน) - มกี ารเชอ่ื มโยงความสมั พันธข องกิจกรรมไดส อดคลองกัน 4.1.3 ความสาํ เรจ็ ของการทดลอง (10 คะแนน) - มีการแสดงขน้ั ตอนการทดลองทช่ี ดั เจน 5 คะแนน - ทําการทดลองไดป ระสบผลสาํ เรจ็ 5 คะแนน 4.1.4 รายงานการแสดง (5 คะแนน) - รายงานการแสดง มีเนือ้ หาถกู ตอง และมีองคประกอบครบถวนตามรูปแบบทกี่ ําหนด 4.2 ความคดิ รเิ ริ่มสรา งสรรค 30 คะแนน 4.2.1 ความแปลกใหมในการนําเสนอ (5 คะแนน) - ใชเ ทคนิคการนาํ เสนอทแี่ ปลกใหมแ ละนาสนใจ 4.2.2 การนําความรูไปประยุกตใชในชีวติ ประจําวัน (15 คะแนน) - อธบิ ายหลักการทางวิทยาศาสตรเ พ่อื นําไปประยุกต ใชใ นการเรียนรวู ิทยาศาสตรไ ด 10 คะแนน - เชอ่ื มโยงความรจู ากหลกั การทางวิทยาศาสตรมาประยกุ ต ใชใ นชีวิตประจาํ วนั และยกตัวอยางไดช ดั เจน นา สนใจ 5 คะแนน 4.2.3 ความสามารถในการกระตนุ ความสนใจ (10 คะแนน) - กระตุนความสนใจของผูชมใหเกิดขอสงสัยท่นี าํ ไปสูการหาคําตอบ ของการทดลองได 5 คะแนน - การทดลองสนกุ สนาน ต่ืนเตน เรา ใจ หรือ ชวนตดิ ตาม 5 คะแนน 4.3 การแสดง 35 คะแนน 4.3.1 ความตอ เน่อื งและปฏิภาณไหวพรบิ ในการแสดง (10 คะแนน) - การแสดงมีความตอ เนื่องไมตดิ ขัด 5 คะแนน - ผแู สดงมปี ฏิภาณไหวพริบหรือแกปญหาเฉพาะหนาได อยางถูกตองเหมาะสม 5 คะแนน 4.3.2 การสือ่ สารและการใชภาษา (5 คะแนน) - มีการพดู ชดั ถอย ชัดคาํ ออกเสยี งถูกอักขระวิธี สุภาพและเหมาะสม โดยเนน บคุ ลกิ ภาพที่มีลกั ษณะเชงิ นกั วทิ ยาศาสตร ทม่ี คี วามนา เช่ือถือ 4.3.3 การมีสวนรวมของผชู ม (5 คะแนน) - ผชู มมีสว นรว มในการทํากิจกรรมหรอื มีสว นรวมในการทาํ การทดลอง 4.3.4 ความปลอดภัยในการแสดง (5 คะแนน) - มีการทดลองท่ีปลอดภยั ไมกอใหเกดิ อันตราย ตอผูแสดงและผูชม หลังการแสดง ตองทาํ ความสะอาดเวทีใหอ ยใู นสภาพพรอมสาํ หรับการแขงขันลําดบั ตอไป

24 4.3.5 วสั ดอุ ปุ กรณในการแสดง (5 คะแนน) - วสั ดทุ ่นี าํ ขนึ้ มาบนเวทีจะตองนาํ มาใชป ระกอบการแสดง มีความประหยัด และเปนมิตรกับสิ่งแวดลอ ม 4.3.6 เวลาในการแสดง (5 คะแนน) - เวลาในการแสดง 13-15 นาที 5. เกณฑการไดรบั รางวัล คะแนน 80 - 100 คะแนน ไดร ับรางวลั ระดับเหรียญทอง คะแนน 70 - 79 คะแนน ไดร บั รางวัลระดับเหรียญเงิน คะแนน 60 - 69 คะแนน ไดร บั รางวลั ระดับเหรียญทองแดง ตา่ํ กวารอ ยละ ๖๐ ไดรบั ไดร บั เกียรตบิ ตั ร** เวนแตก รรมการจะเหน็ เปนอยา งอนื่ ผลการตัดสนิ ของคณะกรรมการถอื เปนท่ีสิน้ สุด หมายเหตุ ** การประกวดระดบั เขตพื้นทกี่ ารศึกษา ไดร ับเกยี รตบิ ัตรเขารวมการประกวด การประกวดระดบั ชาติ ไดรับเกียรตบิ ัตรชมเชย 6. คณะกรรมการการแขง ขัน 6.1 จาํ นวนคณะกรรมการ คณะกรรมการระดบั ช้ันละ 1 ชดุ ชุดละ 6 คน ประกอบดว ย คณะกรรมการตดั สินการแสดง 5 คน และคณะกรรมการจับเวลา 1 คน 6.2 คณุ สมบตั ขิ องคณะกรรมการ 6.2.1 บุคลากรในทองถ่ินท่ีมีความรูความสามารถเฉพาะทางเหมาะสมกับกิจกรรม 6.2.2 ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาทมี่ ีความรูความสามารถเฉพาะทางเหมาะสมกับกิจกรรม (การแขง ขนั มัธยมศึกษาตอนตนและปลาย ควรมคี ณะกรรมการทม่ี คี วามรใู นสาขาวิชา ฟส ิกส เคมีและชีววทิ ยา และเทคโนโลยี ครบท้ัง 4 สาขาวิชา) และไมแตง ตงั้ บคุ คลท่ีมสี ว นไดส ว นเสยี กบั ผลการแขงขนั เปนกรรมการ เชน ครใู นโรงเรียนทีส่ งทีมเขารว มแขงขัน เปนตน 6.2.3 บุคลากรสงั กัดอืน่ ๆ ที่มีความรคู วามสามารถเฉพาะทางเหมาะสมกับกจิ กรรม เชน อาชวี ศกึ ษา/ วทิ ยาลยั /มหาวิทยาลัย เปนตน 7. สถานที่แขง ขนั 7.1 เวทีการแขงขัน มีพ้ืนท่ีหรือขนาดของเวที 8 เมตร * 6.5 เมตร (พ้ืนของเวทีตองเรียบ แข็งแรง และอยใู นระดบั เดยี วกนั ท้ังหมด) มจี ดุ เชื่อมตอปลก๊ั ไฟ ไมน อยกวา 2 จดุ จัดเตรียมโตะการแสดง (มีขนาดไมนอย กวา60*120 เซนติเมตร) และมีพ้ืนท่ีบริเวณใหผูสนใจเขาชมการแขงขันไดไมนอยกวา 70 ท่นี ่ัง ในกรณีที่ไม สามารถจัดเตรียมเวทีขนาดดังกลาวไดใหใชพ้ืนที่โลงโดยตีเสนหรือใชเ ทปกาวกําหนดขอบเขตพ้ืนท่ีในการแสดง 8 เมตร * 6.5 เมตร แทนได 7.2 สถานท่จี ดั การแขง ขันตองจดั เตรยี มระบบเครอื่ งเสยี ง เชน เคร่อื งขยายเสยี ง ลําโพง ไมคล อย (ควรมี 2 ชุด ชดุ ละ 3 ตัว) ถานไฟฉาย ฯลฯ 7.3 สถานท่จี ดั การแขง ขนั ตอ งจดั เตรยี มอุปกรณเ พ่ือความปลอดภยั เชน ถงั ดบั เพลงิ และอปุ กรณ ทําความสะอาด เชน ไมก วาด ไมถูพน้ื ถงั ขยะ ถุงดํา 8. การเขา แขงขนั ระดับภาคและระดับชาติ 8.1 ใหท ีมทเ่ี ปนตัวแทนของเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาเขา แขงขนั ในระดับชาติทกุ กิจกรรมตองไดคะแนน ระดบั เหรียญทอง ลาํ ดบั ท่ี 1 โดยตอ งไดค ะแนนรอยละ 80 ขึน้ ไป

25 8.2 ในกรณที ี่ผลการแขง ขันระดับเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา ระดบั ภาค/ระดบั ชาตมิ ีทีมชนะลําดับสูงสดุ ได คะแนนเทากนั การตดั สินในการเรียงลําดับที่ดงั กลาวใหพ ิจารณาตัดสินจากทีมที่มีคะแนนสูงทีส่ ุดในเกณฑ การใหค ะแนน ขอ 4.1 สาระทางวิชาการ ถา (4.1) เทา กัน ใหพจิ ารณาตดั สนิ จากทมี ท่มี ีคะแนนสงู ที่สุด ขอ 4.2 มีความคดิ รเิ ริ่มสรางสรรคแ ละถา (4.2) เทากันอีกใหพ ิจารณาตัดสินจากทมี ทม่ี คี ะแนนสูงทสี่ ุด ขอ 4.3 การแสดง และถา (4.3) เทา กันอีก ใหพิจารณา ตัดสินจากทีมที่มีคะแนนสงู ทีส่ ดุ ใหค ณะกรรมการ รวมกนั พจิ ารณาตัดสินชข้ี าดการเรยี งลําดับ ท่ีดังกลา ว 9. การเผยแพรผลงานท่ไี ดร ับรางวัล ผลงานของนกั เรียนทสี่ งเขารวมการแขงขนั ในทุกช้นิ งานและทุกระดับชน้ั คณะกรรมการ/ หนวยงานท่ีจัดการแขงขัน และ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีสิทธิใน การนาํ ไปเผยแพรป ระชาสมั พนั ธไ ด

26 10. รูปแบบการเขียนรายงาน (ปกนอก) รายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร (Science Show) เรื่อง......................................................................................................................... โดย 1......................................................................................................................................... 2.......................................................................................................................................... 3......................................................................................................................................... ครทู ป่ี รึกษา 1. ...................................................................................................................................... 2. ...................................................................................................................................... โรงเรยี น........................................สํานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา............................. รายงานฉบบั นเ้ี ปนสว นประกอบของการแขงขนั การแสดงทางวิทยาศาสตร (Science Show) ระดบั ชน้ั ....................................... เนือ่ งในงานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรียน ครั้งท.่ี .. วันที่ ..............เดือน...............พ.ศ. …….

27 (ปกใน) เร่อื ง........................................................................................................................ โดย 1. ......................................................................................................................................... 2. ......................................................................................................................................... 3. ......................................................................................................................................... ครูท่ปี รกึ ษา 1. ....................................................................................................................................... 2. ......................................................................................................................................

28 สว นประกอบรายงานการแสดง 1. คาํ นาํ 2. สารบัญ 3. มูลเหตุจงู ใจ 4. เน้อื หาโดยยอ - ชื่อการทดลอง - วัสดอุ ปุ กรณ - วิธกี ารทดลอง/ขน้ั ตอนการทดลอง - ผลการทดลอง - การนําหลักการทางวทิ ยาศาสตรเขามาใช - การนาํ ความรไู ปประยุกตใ ช 5. บรรณานุกรม (ไมจ าํ กัดจาํ นวนหนา ) 6. ภาคผนวก จํานวนไมเกิน 5 หนา หมายเหตุ ขนาดของกระดาษเขยี นรายงานใหใ ชก ระดาษ ขนาดเอ 4 พิมพหนาเดยี ว ความยาว ไมเกิน 5 หนา (จากขอ 1 - 4 ) อาจมีภาคผนวกไดอีกไมเกนิ 5 หนา และบรรณานกุ รมไมจ าํ กัด จํานวนหนา และสงรายงาน จํานวน 6 ชุด - ระดับเขตพนื้ ทส่ี งเอกสารใหคณะกรรมการในวนั รายงานตวั เขาแขง ขัน - ระดบั ภาค/ระดับชาติสงเอกสารใหคณะกรรมการลว งหนา 7 วนั กอ นการแขง ขัน

29 เกณฑการแขง ขันงานศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี น ครั้งท่ี ๗๑ ปการศึกษา 256๖ กลมุ พฒั นากระบวนการเรยี นรู สรุปกจิ กรรมการแขง ขันกลุมพัฒนากระบวนการเรยี นรู ชอ่ื กจิ กรรม เขตพ้นื ท่ี/ระดับช้นั ประเภท หมาย สพป. สพม. ทีม 3 คน เหตุ ทีม 3 คน ป.1-3 ป.4-6 ม.1-3 ม.1-3 ม.4-6 ลานโลง / เดย่ี ว หอ งเรียน 1. การประกวดโครงงานคณิตศาสตร  เดี่ยว ลานโลง/ ประเภทสรา งทฤษฏหี รือคาํ อธิบาย หองเรยี น ทางคณิตศาสตร หอ งเรยี น/หอง ประชมุ 2. การประกวดโครงงานคณติ ศาสตร  หองเรียน ประเภทบรู ณาการความรูในคณติ ศาสตร ไปประยุกตใ ช 3. การแขงขันคดิ เลขเร็ว  4. การแขงขนั เวทคณติ  รวม 24443 10 7 รวม 4 กจิ กรรม 17 รายการ

30 การประกวดโครงงานคณติ ศาสตร ประเภทสรา งทฤษฎีหรือคําอธิบายทางคณิตศาสตร 1. คณุ สมบัติผูเ ขาแขง ขนั การแขงขันแบงเปน 3 ระดับ ดังน้ี 1.1 ระดบั ประถมศกึ ษาตอนปลาย : ผเู ขา แขง ขันตอ งเปน นกั เรยี นในชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 4 - 6 เทานน้ั 1.2 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน : ผูเขา แขง ขนั ตอ งเปน นักเรียนในชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ 1 - 3 เทา นัน้ 1.3 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย : ผูเขา แขงขนั ตองเปน นักเรียนในชนั้ มธั ยมศึกษาปที่ 4 - 6 เทา นัน้ 2. ประเภทและจํานวนผูเขา แขง ขนั 2.1 แขง ขนั ประเภททมี ทีมละ 3 คน 2.2 เขา แขงขนั ระดบั ละ 1 ทมี เทา นั้น 3. หลกั เกณฑก ารแขง ขันและวธิ ดี าํ เนนิ การ 3.1 หลักเกณฑการแขงขันการประกวดโครงงานคณิตศาสตร ประเภทสรางทฤษฎีหรือคําอธิบายทาง คณติ ศาสตร มีการพจิ ารณาระดบั การแขงขันและตัดสนิ โครงงาน แยกเขตพ้นื ที่/ระดบั ชั้น ดงั นี้ 3.1.1 ระดับสํานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษา (สพป.) - ระดบั ชั้นประถมศึกษาปท่ี 4 - 6 - ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท่ี 1 - 3 3.2.2 ระดับสาํ นักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา (สพม.) - ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท่ี 1 - 3 - ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 - 6 3.2 วธิ ดี ําเนนิ การ 3.2.1 กอ นการแขงขนั 1) สงรายชื่อนักเรียนผูเขาแขงขัน ทีมละ 3 คน พรอมชื่อครูท่ีปรึกษาโครงงาน คณิตศาสตร ทีมละไมเกิน 2 คน ตามแบบฟอรมที่กาํ หนด 2) สงรายงานโครงงานคณิตศาสตรเปนรูปเลมลวงหนา (ตามที่ระดับเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา/ ระดับภาค/ระดับชาติ กาํ หนดกอนการแขงขัน ไมเกนิ ๒ สปั ดาห) จํานวนชดุ ตามที่กําหนดในการแขงขนั ในแต ละระดบั 3.2.1 วันทดี่ าํ เนนิ การแขง ขนั 1) นาํ บอรด/โปสเตอร พรอมขาต้งั มาแสดงตามขนาดมาตรฐาน ดังนี้ 80 ซม. (แนวตัง้ ) 120 ซม. บอรด /โปสเตอร

31 ๒) นําเสนอโครงงานคณติ ศาสตรตอคณะกรรมการ ใชเ วลาไมเกนิ 10 นาที และตอบขอซักถาม ใชเวลาไมเกิน 10 นาที 3) สื่อท่ีใชใ นการนําเสนอโครงงานคณติ ศาสตร ผสู ง โครงงานเขาแขงขันจดั เตรยี มมาเอง 4) พ้ืนท่ีจัดวางบอรด /โปสเตอรโ ครงงานคณิตศาสตร คณะกรรมการจัดใหไมเกิน 1.50 ม. x 1.00 ม. และใหจ ัดภายในพน้ื ท่ีท่กี ําหนดเทา น้นั 4. การใหค ะแนน พจิ ารณาตามเกณฑ (100 คะแนน) ดังนี้ สวนที่ 1 เลม รายงาน (40) คะแนน 1.1 การกําหนดหวั ขอ โครงงาน 3 1.2 ความสําคัญและความเปนมาของโครงงาน 4 1.3 วตั ถุประสงค/ สมมติฐาน/ตัวแปร (ถา มี) 3 1.4 เนอ้ื หาสาระและเอกสารท่เี ก่ียวของ 10 1.5 วธิ ีดาํ เนินงาน และผลท่ีไดรับ 5 1.6 การนําไปใชประโยชน 5 1.7 ความคดิ ริเร่ิมสรา งสรรค 5 1.8 การเขียนรายงานโครงงานถูกตองตามรปู แบบ 5 สวนท่ี 2 การนาํ เสนอ (40) คะแนน 2.1 การจัดแสดงโครงงานเปนไปตามเกณฑม าตรฐาน 10 2.2 การนําเสนอปากเปลา 30 - ความสมบูรณข องเน้อื หา (10 คะแนน) - ทกั ษะการนําเสนอ (10 คะแนน) - การใชภาษาในการสื่อสารเขาใจงา ย ถูกตอง และมีความกระชบั (5 คะแนน) - การมีสว นรวมของสมาชิกภายในกลุม (5 คะแนน) สว นท่ี 3 การตอบขอซกั ถาม (๒0) คะแนน 3.1 ความถูกตองของเนื้อหาทางคณิตศาสตร 5 3.2 มปี ฏภิ าณไหวพริบ และการแกป ญหาเฉพาะหนา 5 3.3 การใชภ าษาในการสื่อสารเขาใจงา ย ถูกตอ ง และมีความกระชับ 5 3.4 การมีสว นรว มของสมาชิกภายในกลมุ 5 5. การตัดสนิ พิจารณาตามเกณฑ ดงั น้ี รอ ยละ 80 – 100 ไดรับรางวลั ระดับเหรียญทอง รอยละ 70 – 79 ไดรบั รางวัลระดับเหรยี ญเงนิ รอ ยละ 60 – 69 ไดรับรางวัลระดับเหรยี ญทองแดง ตา่ํ กวา รอยละ 60 ไดร ับเกยี รติบตั ร เวนแตก รรมการจะเห็นเปน อยางอนื่ ผลการตัดสนิ ของคณะกรรมการถอื เปน ท่ีส้ินสุด

32 คณะกรรมการการแขง ขัน ระดับละ 3 – 5 คน คุณสมบตั ิของคณะกรรมการ - เปนผูทรงคุณวุฒใิ นดา นคณิตศาสตร - เปน ศกึ ษานิเทศกทร่ี ับผิดชอบกลุมสาระการเรียนรคู ณิตศาสตร - เปนครูผูสอนกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรและมีประสบการณการทําโครงงาน คณิตศาสตร (ถาเปนกรรมการระดับชาติตองเคยเปนกรรมการตัดสินโครงงานในระดับภาค หรือระดับชาตมิ า กอน) หนาท่ี - ตรวจสอบการคัดลอก ดัดแปลง แกไขผลงานของทีมที่เขาแขงขัน หากพบกรณีดังกลาว การตดั สินใหอยูในดลุ ยพนิ จิ ของคณะกรรมการ - ใหค ะแนนตามเกณฑการตดั สนิ ดว ยความบรสิ ทุ ธิ์ยุติธรรม - กรรมการควรใหขอเสนอแนะเตมิ เต็มใหก บั นักเรียนท่ีเขา แขงขนั ขอควรคาํ นงึ - กรรมการตอ งไมต ัดสนิ ในกรณสี ถานศึกษาของตนเขา แขงขนั - กรรมการทีม่ าจากครผู ูส อนควรแตงตง้ั ใหต ดั สนิ ในระดับชัน้ ที่ทาํ การสอน - กรรมการควรมาจากเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาอน่ื อยา งหลากหลาย 7. สถานทที่ าํ การแขงขนั ควรใชล านโลง/หอ งเรยี น หรอื สถานท่ีที่มโี ตะ เกาอ้ี ทีส่ ามารถดําเนนิ การแขงขนั ไดพรอ มกนั 8. การเขา แขงขนั ระดับภาค และระดบั ชาติ 8.1 ทีมที่ชนะเลิศ (เหรียญทอง อันดับ 1) ของแตละเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เปนตัวแทนของเขตพื้นท่ี การศกึ ษาในการแขง ขันระดบั ภาค 8.2 ทีมท่ีชนะเลิศ อันดับ 1 – 3 (เหรียญทอง อันดับ 1 – 3) ของแตละภาค เปนตัวแทนเขาแขงขัน ในระดับชาติ ๘.๓ กรณนี ักเรียนท่ีเปนตัวแทนเขารวมแขงขันระดับภาค และระดบั ชาติ ในประเภททีม ทมี ละ 3 คน ไมส ามารถเขา รวมการแขงขนั ได ทมี สามารถเลอื กดาํ เนินการ ดงั น้ี 8.3.1 เปลี่ยนตวั ผเู ขา แขงขนั ได 1 คน หรอื ๘.3.2 ใหสมาชิกในทมี ทเี่ หลอื 2 คน ทําการแขง ขนั ตอ 8.4 กรณกี ารแขง ขันระดับเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามีทีมชนะลําดบั สูงสุดไดค ะแนนเทา กัน และในระดบั ภาค มมี ากกวา 3 ทมี ใหพิจารณาจากการใหคะแนนตามเกณฑก ารใหคะแนน (ขอ 4) เรยี งตามลาํ ดบั ดังน้ี สวนที่ 2 การนําเสนอ สวนที่ 1 เลม รายงาน และสวนท่ี 3 การตอบขอซักถาม คะแนนของทีมใดสูงกวา ถือวาเปนทีมที่ ชนะ เชน มีทมี ที่ไดคะแนนในสวนท่ี ๒ การนําเสนอ เทา กัน ใหพิจารณาสวนท่ี 1 เลมรายงาน ทีมที่ไดคะแนน มากกวา ถอื เปน ผชู นะ แตถาสว นท่ี 1 เลม รายงาน ยังมีคะแนนเทา กนั ใหพิจารณาในสวนท่ี 3 การตอบขอ ซกั ถาม ถาคะแนนเทา กันในทุกสว น ใหป ระธานกรรมการตัดสินเปน ผชู ข้ี าด

33 9. การเผยแพรผ ลงานที่ไดรับรางวัล ผลงานของนักเรียนที่ไดรับคะแนนสูงสุดในระดับชาติ อันดับท่ี 1 – 3 คณะกรรมการพิจารณาและ นําไปเผยแพรใ นเว็บไซตต อ ไป ซึ่งผลงานของผเู ขาแขงขนั ถอื เปน ลขิ สิทธ์ขิ องสาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษา ข้นั พน้ื ฐาน เพ่อื ใชในการเผยแพรและประชาสมั พนั ธ 10. รูปแบบการเขียนรายงานโครงงานคณติ ศาสตร 10.1 รูปแบบปก โครงงานคณติ ศาสตร เรอื่ ง........................................................................................................................... โดย 1................................................................................................................................ 2................................................................................................................................ 3................................................................................................................................ ครูที่ปรึกษา 1................................................................................................................................ 2................................................................................................................................ โรงเรียน.................................................. สาํ นักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา................................... รายงานฉบับนี้เปน สว นประกอบของโครงงานคณติ ศาสตร ประเภทสรา งทฤษฎแี ละคําอธบิ ายทางคณิตศาสตร ระดับ…………………………………………………….. เน่อื งในงานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรียนคร้งั ท่ี ๗๑ ประจาํ ปการศึกษา 256๖ 10.2 รายละเอียดในเลม ประกอบดวย บทคดั ยอ กิตตกิ รรมประกาศ สารบญั สารบัญตาราง สารบัญรูปภาพ บทที่ 1 บทนํา บทที่ 2 เอกสารที่เกีย่ วของ บทที่ 3 วธิ ีการดาํ เนินการ บทที่ 4 ผลการดําเนนิ การ บทท่ี 5 สรุป อภปิ รายผล และขอเสนอแนะ บรรณานกุ รม ภาคผนวก ไมเกิน 10 หนา หมายเหตุ ๑. ขนาดของกระดาษเขยี นรายงานใหใ ชก ระดาษพมิ พ ขนาด A4 ๒. ตัวอักษรไมต าํ่ กวา 16 point พิมพหนาเดียว

34 3. ระยะขอบกระดาษ - หัวกระดาษดา นบน ๓.81 ซม. - หัวกระดาษดา นลาง 2.54 ซม. - ดา นซา ย ๓.81 ซม. - ดา นขวา 2.54 ซม. 4. จาํ นวนหนา เฉพาะบทที่ 1 – 5 มคี วามยาวไมเกนิ 30 หนา ภาคผนวกมีความยาวไมเ กิน 10 หนา (รายงาน ฉบบั ใดท่มี ีความยาวเกนิ กวาทก่ี าํ หนดจะถูกตดั คะแนน)

35 (ตัวอยาง) แบบประเมินโครงงานคณิตศาสตรประเภทสรา งทฤษฎแี ละคาํ อธบิ ายทางคณิตศาสตร ระดบั  ประถมศึกษา  มัธยมศกึ ษาตอนตน  มัธยมศกึ ษาตอนปลาย สังกดั  สพป. ......................................................  สพม. ...................................................... ชอ่ื โครงงาน………………………………………………………………………………………………………………………………………… โรงเรียน…………………………………………………..………… จังหวดั …………………………………………………………………… สว นท่ี รายการ คะแนนเตม็ คะแนนทไี่ ด ๑. เลม รายงาน (40) 1.1 การกําหนดหวั ขอ โครงงาน 3 1.2 ความสําคัญและความเปนมาของโครงงาน 4 1.3 วตั ถุประสงค/ สมมตฐิ าน/ตัวแปร (ถามี) 3 1.4 เนอื้ หาสาระและเอกสารทเ่ี ก่ยี วของ 10 1.5 วธิ ีดาํ เนินงาน และผลท่ีไดรับ 5 1.6 การนําไปใชประโยชน 5 1.7 ความคิดริเริม่ สรา งสรรค 5 1.8 การเขียนรายงานโครงงานถกู ตองตามรูปแบบ 5 2. การนาํ เสนอ (40) 2.1 การจัดแสดงโครงงานเปนไปตามเกณฑมาตรฐาน 10 2.2 การนาํ เสนอปากเปลา 30 - ความสมบรู ณของเนอ้ื หา (10 คะแนน) - ทักษะการนําเสนอ (10 คะแนน) - การใชภาษาในการสือ่ สารเขาใจงา ย ถูกตอง และมีความกระชบั (5 คะแนน) - การมสี วนรว มของสมาชิกภายในกลมุ (5 คะแนน) ๓. การตอบขอซักถาม (20) 3.1 ความถกู ตอ งของเน้อื หาทางคณิตศาสตร 5 3.2 มีปฏภิ าณไหวพรบิ และการแกปญหาเฉพาะหนา 5 3.3 การใชภ าษาในการส่ือสารเขาใจงา ย ถูกตอ ง และมคี วามกระชับ 5 3.4 การมสี วนรวมของสมาชิกภายในกลุม 5 คะแนนรวม 100

36 ขอ คิดเห็น เพ่มิ เตมิ ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ลงช่ือ ...................................................กรรมการ (..........................................)

37 การประกวดโครงงานคณิตศาสตรท ีบ่ รู ณาการความรูในคณติ ศาสตรไปประยกุ ตใช 1. คณุ สมบตั ผิ เู ขาแขงขัน การแขงขนั แบง เปน 3 ระดับ ดังน้ี 1.1 ระดบั ประถมศึกษาตอนปลาย : ผูเขาแขง ขันตอ งเปน นักเรยี นในช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 - 6 เทาน้นั 1.2 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน : ผูเขา แขงขนั ตอ งเปนนกั เรียนในช้ันมธั ยมศึกษาปที่ 1 - 3 เทานนั้ 1.3 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย : ผเู ขาแขง ขนั ตอ งเปน นักเรยี นในชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 4 - 6 เทา นน้ั 2. ประเภทและจํานวนผูเ ขาแขง ขนั 2.1 แขง ขันประเภททมี ทมี ละ 3 คน 2.2 เขา แขงขนั ระดับละ 1 ทมี เทานัน้ 3. หลกั เกณฑการแขง ขันและวธิ ดี ําเนนิ การ 3.1 หลักเกณฑการแขงขันการประกวดโครงงานคณิตศาสตรที่บูรณาการความรูในคณิตศาสตรไป ประยกุ ตใ ชมกี ารพิจารณาระดับการแขงขันและตัดสนิ โครงงาน แยกเขตพื้นที/่ ระดับชนั้ ดงั นี้ 3.1.1 ระดบั สํานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา (สพป.) 1) โครงงานคณิตศาสตรทบ่ี รู ณาการความรูในคณิตศาสตรไปประยุกตใช ระดับชัน้ ประถมศึกษา ปท่ี 4 – 6 ไดแ ก - โครงงานคณติ ศาสตรป ระเภทสาํ รวจเก็บรวบรวมขอ มลู - โครงงานคณิตศาสตรป ระเภททดลอง - โครงงานคณิตศาสตรประเภทพฒั นาหรอื ประดิษฐ 2) โครงงานคณติ ศาสตรที่บูรณาการความรูในคณิตศาสตรไปประยุกตใช ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษา ปท่ี 1 – 3 ไดแ ก - โครงงานคณิตศาสตรป ระเภททดลอง - โครงงานคณติ ศาสตรประเภทพฒั นาหรอื ประดิษฐ 3.2.2 ระดบั สาํ นกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา (สพม.) โครงงานคณติ ศาสตรที่บรู ณาการความรใู นคณติ ศาสตรไปประยกุ ตใช ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษา ปที่ 1 – 6 ไดแก - โครงงานคณิตศาสตรประเภททดลอง - โครงงานคณิตศาสตรประเภทพฒั นาหรอื ประดิษฐ 3.2 วธิ ีดําเนินการ 3.2.1 กอ นการแขง ขนั 1) สงรายช่ือนักเรียนผูเขาแขงขัน ทีมละ 3 คน พรอมชื่อครูท่ีปรึกษาโครงงาน คณติ ศาสตรทมี ละไมเกนิ 2 คน ตามแบบฟอรม ทก่ี ําหนด 2) สง รายงานโครงงานคณิตศาสตรเปนรูปเลมลวงหนา (ตามท่ีระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา/ ระดบั ภาค/ระดับชาติ กาํ หนดกอนการแขงขัน ไมเ กนิ ๒ สัปดาห) จํานวนชุดตามที่กําหนดในการแขงขนั ในแต ละระดบั

38 3.2.2 วันทด่ี ําเนินการแขง ขนั 1) นาํ บอรด /โปสเตอร พรอ มขาตัง้ มาแสดงตามขนาดมาตรฐาน ดังนี้ 80 ซม. (แนวตง้ั ) 120 ซม. บอรด /โปสเตอร 2) นาํ เสนอโครงงานคณติ ศาสตรต อ คณะกรรมการ ใชเวลาไมเ กิน 10 นาที และตอบขอ ซักถามใชเ วลาไมเกนิ 10 นาที 3) สอ่ื ท่ใี ชในการนําเสนอโครงงานคณติ ศาสตร ผูสง โครงงานเขา แขงขันจัดเตรยี มมาเอง 4) พ้นื ทีจ่ ัดวางบอรด/โปสเตอรโ ครงงานคณติ ศาสตร คณะกรรมการจดั ใหไมเกิน 1.50 ม. x 1.00 ม. และใหจ ัดภายในพื้นทที่ ี่กําหนดเทานั้น 4. การใหคะแนน พจิ ารณาตามเกณฑ (100 คะแนน) ดังน้ี สวนท่ี 1 เลม รายงาน (40) คะแนน 1.1 การกาํ หนดหัวขอ โครงงาน 3 1.2 ความสําคัญและความเปนมาของโครงงาน 3 1.3 วตั ถปุ ระสงค/ สมมตฐิ าน/ตวั แปร (ถา มี) 3 1.4 เนือ้ หามีความเชอ่ื มโยงความรแู ละทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร 5 กับศาสตรอ ื่น ๆ/บรู ณาการความรคู ณิตศาสตร 1.5 วธิ ีดาํ เนินงาน และผลท่ีไดรบั 3 1.6 การนําไปใชป ระโยชน 10 1.7 ความคดิ รเิ ริม่ สรางสรรค 10 1.8 การเขียนรายงานโครงงานถกู ตองตามรูปแบบ 3 สวนที่ 2 การนาํ เสนอ (40) คะแนน 2.1 การจัดแสดงโครงงานเปนไปตามเกณฑมาตรฐาน 10 2.2 การนาํ เสนอปากเปลา 30 - ความสมบรู ณข องเนือ้ หา (10 คะแนน) - ทกั ษะการนําเสนอ (10 คะแนน) - การใชภ าษาในการสื่อสารเขาใจงา ย ถูกตอง และมีความกระชับ (5 คะแนน) - การมสี ว นรว มของสมาชิกภายในกลุม (5 คะแนน) สว นท่ี 3 การตอบขอซกั ถาม (๒0) คะแนน 3.1 เนนการเชอื่ มโยงบรู ณาการคณติ ศาสตรไปประยกุ ตใช 5 3.2 มีปฏภิ าณไหวพริบ และการแกป ญหาเฉพาะหนา 5 3.3 การใชภาษาในการสื่อสารเขา ใจงา ย ถูกตอง และมีความกระชับ 5 3.4 การมสี วนรวมของสมาชิกภายในกลุม 5

39 5. การตดั สิน พจิ ารณาตามเกณฑ ดังนี้ รอยละ 80 – 100 ไดร ับรางวัลระดบั เหรยี ญทอง รอ ยละ 70 – 79 ไดรับรางวัลระดบั เหรียญเงิน รอยละ 60 – 69 ไดร ับรางวัลระดบั เหรยี ญทองแดง ตํา่ กวา รอยละ 60 ไดร ับเกียรติบตั ร เวน แตกรรมการจะเห็นเปน อยางอน่ื ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเปนท่ีสิ้นสุด 6. คณะกรรมการการแขง ขนั ระดับละ 3 – 5 คน คุณสมบตั ขิ องคณะกรรมการ - เปน ผูทรงคุณวุฒใิ นดา นคณิตศาสตร - เปน ศกึ ษานิเทศกทร่ี บั ผิดชอบกลุม สาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร - เปนครูผูสอนกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรและมีประสบการณการทําโครงงาน คณติ ศาสตร (ถา เปนกรรมการระดบั ชาตติ อ งเคยเปนกรรมการตัดสนิ โครงงานในระดบั ภาค หรอื ระดบั ชาตมิ ากอน) หนา ที่ - ตรวจสอบการคัดลอก ดัดแปลง แกไขผลงานของทีมท่ีเขาแขงขัน หากพบกรณีดังกลาว การตัดสนิ ใหอยใู นดลุ ยพนิ ิจของคณะกรรมการ - ใหค ะแนนตามเกณฑการตดั สิน ดวยความบรสิ ทุ ธยิ์ ตุ ธิ รรม - กรรมการควรใหขอเสนอแนะเตมิ เต็มใหก ับนักเรียนทีเ่ ขาแขงขนั ขอควรคํานึง - กรรมการตอ งไมตดั สินในกรณีสถานศึกษาของตนเขา แขงขนั - กรรมการที่มาจากครูผสู อนควรแตง ตง้ั ใหตดั สนิ ในระดบั ชัน้ ทีท่ าํ การสอน - กรรมการควรมาจากเขตพื้นท่ีการศึกษาอืน่ อยางหลากหลาย 7. สถานทีท่ าํ การแขงขนั ควรใชลานโลง /หอ งเรยี น หรอื สถานที่ ท่ีมโี ตะ เกาอ้ี ที่สามารถดําเนินการแขง ขันไดพ รอมกัน 8. การเขา แขง ขนั ระดบั ภาค และระดับชาติ 8.1 ทีมที่ชนะเลิศ (เหรียญทอง อันดับ 1) ของแตละเขตพื้นท่ีการศึกษา เปนตัวแทนของเขตพื้นที่ การศกึ ษาในการแขงขนั ระดบั ภาค 8.2 ทีมที่ชนะเลิศ อันดบั 1 – 3 (เหรียญทอง อันดบั 1 – 3) ของแตละภาค เปนตัวแทนเขาแขงขัน ในระดับชาติ ๘.๓ กรณนี กั เรียนที่เปนตัวแทนเขารว มแขงขันระดับภาค และระดบั ชาติ ในประเภททีม ทมี ละ 3 คน ไมสามารถเขารวมการแขงขันได ทีมสามารถเลือกดําเนินการ ดังน้ี 8.3.1 เปลย่ี นตัวผเู ขา แขง ขันได 1 คน หรอื ๘.3.2 ใหสมาชิกในทมี ทีเ่ หลือ 2 คน ทาํ การแขง ขันตอ 8.4 กรณีการแขงขนั ระดบั เขตพืน้ ท่ีการศึกษามีทีมชนะลําดบั สูงสดุ ไดค ะแนนเทากัน และในระดบั ภาค มีมากกวา 3 ทีม ใหพจิ ารณาจากการใหคะแนนตามเกณฑก ารใหคะแนน (ขอ 4) เรียงตามลาํ ดับ ดงั น้ี สว นที่ 2 การนําเสนอ สวนท่ี 1 เลมรายงาน และสวนที่ 3 การตอบขอซักถาม คะแนนของทีมใดสูงกวา ถือวาเปนทีมท่ี ชนะ เชน มีทมี ที่ไดคะแนนในสวนท่ี ๒ การนําเสนอ เทา กัน ใหพิจารณาสวนที่ 1 เลมรายงาน ทีมที่ไดค ะแนน มากกวา ถือเปนผูชนะ แตถาสวนท่ี 1 เลมรายงาน ยงั มีคะแนนเทากัน ใหพิจารณาในสวนท่ี 3 การตอบขอ ซักถาม ถาคะแนนเทากนั ในทุกสว น ใหประธานกรรมการตัดสนิ เปนผูช ข้ี าด

40 9. การเผยแพรผลงานทไ่ี ดรบั รางวลั ผลงานของนักเรียนที่ไดรับคะแนนสูงสุดในระดับชาติ อันดับท่ี 1 – 3 คณะกรรมการพิจารณาและ นําไปเผยแพรในเว็บไซตต อ ไป ซ่งึ ผลงานของผเู ขา แขง ขัน ถือเปนลิขสิทธิ์ของสํานกั งานคณะกรรมการการศึกษา ข้นั พื้นฐาน เพอื่ ใชใ นการเผยแพรแ ละประชาสมั พันธ 10. รปู แบบการเขียนรายงานโครงงานคณติ ศาสตร 10.1 รูปแบบปก โครงงานคณิตศาสตร เรอื่ ง........................................................................................................................... โดย 1................................................................................................................................ 2................................................................................................................................ 3................................................................................................................................ ครูที่ปรึกษา 1................................................................................................................................ 2................................................................................................................................ โรงเรยี น.................................................. สาํ นักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา................................... รายงานฉบับน้เี ปน สวนประกอบของโครงงานคณิตศาสตร ประเภทบูรณาการความรคู ณติ ศาสตรไปประยุกตใช ระดับ…………………………………………………….. เนื่องในงานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี นครง้ั ท่ี ๗๑ ประจาํ ปการศึกษา 256๖ ๑0.2 รายละเอียดในเลม ประกอบดว ย บทคดั ยอ กติ ตกิ รรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญรูปภาพ บทที่ 1 บทนํา บทที่ 2 เอกสารที่เกย่ี วของ บทท่ี 3 วิธกี ารดาํ เนินการ บทที่ 4 ผลการดาํ เนนิ การ บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผล และขอเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ไมเ กนิ 10 หนา

41 หมายเหตุ ๑. ขนาดของกระดาษเขยี นรายงานใหใชกระดาษพิมพ ขนาด A4 ๒. ตวั อกั ษรไมตาํ่ กวา 16 point พิมพหนา เดยี ว 3. ระยะขอบกระดาษ - หัวกระดาษดา นบน ๓.81 ซม. - หัวกระดาษดา นลาง 2.54 ซม. - ดา นซา ย ๓.81 ซม. - ดา นขวา 2.54 ซม. 4. จาํ นวนหนา เฉพาะบทที่ 1 – 5 มคี วามยาวไมเกิน 30 หนา ภาคผนวกมคี วามยาวไมเกนิ 10 หนา (รายงานฉบบั ใดท่ีมีความยาวเกนิ กวา ทก่ี าํ หนดจะถูกตดั คะแนน)

42 (ตวั อยาง) แบบประเมนิ โครงงานคณิตศาสตรป ระเภทบูรณาการความรใู นคณติ ศาสตรไ ปประยกุ ตใ ช ระดับ  ประถมศกึ ษา  มธั ยมศกึ ษาตอนตน  มัธยมศกึ ษาตอนปลาย สงั กดั  สพป. ......................................................  สพม. ...................................................... ชอ่ื โครงงาน………………………………………………………………………………………………………………………………………… โรงเรยี น…………………………………………………..………… จังหวดั …………………………………………………………………… สวนท่ี รายการ คะแนนเตม็ คะแนนท่ไี ด ๑. เลมรายงาน (40) 1.1 การกําหนดหัวขอโครงงาน 3 1.2 ความสาํ คัญและความเปนมาของโครงงาน 3 1.3 วตั ถปุ ระสงค/ สมมติฐาน/ตวั แปร (ถาม)ี 3 1.4 เนอื้ หามีความเชื่อมโยงความรแู ละทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร 5 กบั ศาสตรอืน่ ๆ/บูรณาการความรูคณติ ศาสตร 1.5 วธิ ดี าํ เนินงาน และผลที่ไดรับ 3 1.6 การนําไปใชป ระโยชน 10 1.7 ความคิดริเริ่มสรา งสรรค 10 1.8 การเขยี นรายงานโครงงานถกู ตองตามรูปแบบ 3 2. การนําเสนอ (40) 2.1 การจดั แสดงโครงงานเปนไปตามเกณฑม าตรฐาน 10 2.2 การนาํ เสนอปากเปลา 30 - ความสมบูรณของเนื้อหา (10 คะแนน) - ทกั ษะการนาํ เสนอ (10 คะแนน) - การใชภ าษาในการส่อื สารเขา ใจงาย ถูกตอง และมคี วามกระชับ (5 คะแนน) - การมสี วนรวมของสมาชิกภายในกลุม (5 คะแนน) ๓. การตอบขอ ซักถาม (20) 3.1 เนนการเชือ่ มโยงบูรณาการคณติ ศาสตรไปประยกุ ตใช 5 3.2 มปี ฏภิ าณไหวพริบ และการแกป ญหาเฉพาะหนา 5 3.3 การใชภาษาในการสอื่ สารเขาใจงาย ถกู ตอง และมคี วามกระชับ 5 3.4 การมสี วนรวมของสมาชิกภายในกลุม 5 คะแนนรวม 100

43 ขอ คิดเห็น เพ่มิ เตมิ ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ลงช่ือ ...................................................กรรมการ (..........................................)

44 การแขง ขันคดิ เลขเร็ว 1. ระดับและคณุ สมบตั ิผูเขาแขง ขัน การแขงขันแบงเปน 4 ระดบั ดงั น้ี 1.1 ระดับประถมศกึ ษาตอนตน : ผเู ขา แขงขนั ตองเปน นักเรียนในชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ 1 – 3 เทานัน้ 1.2 ระดับประถมศกึ ษาตอนปลาย : ผูเขาแขงขันตอ งเปน นักเรยี นในชัน้ ประถมศึกษาปท่ี 4 – 6 เทา น้ัน 1.3 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน : ผเู ขาแขงขนั ตองเปนนกั เรยี นในชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ 1 – 3 เทานั้น 1.4 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย : ผูเ ขาแขงขันตองเปน นักเรยี นในชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 – 6 เทา นน้ั 2. ประเภทและจาํ นวนผูเขาแขง ขัน 2.1 ประเภทเดี่ยว 2.2 จาํ นวนผูเขา แขง ขนั ระดับละ 1 คน 3. วิธดี ําเนนิ การและหลักเกณฑก ารแขงขนั 3.1 การสงรายช่อื นกั เรยี นผูเขาแขง ขนั สง รายชื่อนกั เรียนผเู ขาแขง ขัน พรอ มช่อื ครผู ูฝกสอนระดบั ละ 1 คน ตามแบบฟอรมท่ีกําหนด 3.2 การจดั การแขง ขัน การแขงขันทุกระดบั มกี ารแขง ขนั 2 รอบ ดังนี้ รอบที่ 1 จํานวน 30 ขอ ใชเวลาขอละ 30 วินาที โดยสมุ เลขโดดเปนโจทย 4 ตวั เลข ผลลัพธ 2 หลกั รอบท่ี 2 จาํ นวน 20 ขอ ใชเวลาขอ ละ 30 วนิ าที โดยสมุ เลขโดดเปน โจทย 5 ตัวเลข ผลลพั ธ 3 หลกั เม่ือเสร็จส้ินการแขงขนั รอบท่ี 1 ใหพัก 20 นาที 3.3 วิธกี ารแขง ขัน 3.3.1 ช้ีแจงระเบียบการแขงขัน และหลักเกณฑการแขงขัน ในขอ 3.4 ใหนักเรยี นผูเขาแขงขนั และครูผูฝก สอนเขาใจตรงกันกอ นเร่มิ การแขงขัน 3.3.2 ใชโปรแกรมสมุ ตัวเลขพรอ มแสดงเวลา 3.3.3 ใชก ระดาษคาํ ตอบ ขนาด ของกระดาษ A4 ดังตวั อยา ง ในการแขงขนั ทุกระดับ ช่อื -สกุล..................................................โรงเรียน................................................เลขท่ี ............... ขอ ........ วธิ กี ารและคาํ ตอบ พืน้ ท่ีสาํ หรบั ทดเลข ๓.๓.๔ แจกกระดาษคาํ ตอบตามจํานวนขอ ในการแขงขันแตละรอบ 3.3.5 ใหนักเรียนเขียนช่ือ – สกุล โรงเรียน เลขท่ีน่ัง และหมายเลขขอ ใหเรียบรอยกอนเร่ิม การแขงขนั ในแตล ะรอบ และหามเขียนขอ ความอืน่ ๆ จากทก่ี ําหนด 3.3.6 เร่ิมการแขงขันโดยสุมเลขโดดจากโปรแกรม เปนโจทยและผลลัพธ ซึ่งเลขโดดในโจทยท่ี สมุ ไดต อ งไมซํา้ เกนิ กวา 2 ตัว หรอื ถาสมุ ไดเ ลข 0 ตองมเี พียงตัวเดยี วเทา นน้ั เชน สุม เลขโดดเปน โจทย 4 ตวั สมุ ไดเ ปน 6616 มี 6 ซา้ํ เกนิ กวา 2 ตัว ตองสุมใหม หรอื สุมไดเปน 0054 มี 0 ซํา้ เกนิ 1 ตัว ตอ งสมุ ใหม

45 สุมเลขโดดเปนโจทย 5 ตัว สมุ ไดเปน 43445 มี 4 ซา้ํ เกินกวา 2 ตวั ตอ งสุมใหม หรอื สมุ ไดเปน 20703 มี 0 ซาํ้ เกนิ 1 ตวั ตอ งสุมใหม 3.3.7 เร่ิมจับเวลา หลังจากกรรมการสุมเลขโดดจากโปรแกรม เปนโจทยแ ละผลลพั ธเรียบรอ ย แลว กรรมการไมอานออกเสียงโจทยและผลลัพธ 3.3.8 เม่ือหมดเวลาในแตละขอ ใหกรรมการเก็บกระดาษคําตอบ และดําเนินการแขงขัน ตอเน่ือง จนครบทุกขอ (ไมมกี ารหยุดพักในแตล ะขอเพ่ือตรวจใหคะแนน/ไมมีการเฉลยทีละขอ ใหนักเรียน ผเู ขา แขงขนั รับทราบกอนเสร็จสิน้ การแขงขนั ) 3.4 หลักเกณฑการแขงขัน 3.4.1 ระดับประถมศกึ ษาตอนตน (ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี 1 – 3) ใชก ารดาํ เนินการทางคณิตศาสตร บวก ลบ คูณ หาร หรอื ยกกําลังเทา นั้น เพื่อหาผลลัพธ และใหเขียนแสดงวิธีคดิ ทีละขั้นตอน หรอื เขียนแสดงความสมั พนั ธข องวธิ ีการและคาํ ตอบในรปู ของสมการก็ได เชน สุม เลขโดดเปน โจทย 4 ตัวเลข ผลลัพธ 2 หลกั ตวั อยา งท่ี 1 โจทยท ส่ี ุม ผลลัพธ 4957 88 วิธคี ดิ 9 × 7 = 63 5 × 4 = 20 63 + 20 = 83 หรอื นักเรยี น เขียน (9 × 7) + (5 × 4) = 63 + 20 = 83 ก็ได ไดคาํ ตอบ 83 ซึง่ ไมตรงกับผลลพั ธท สี่ มุ ได ในกรณีน้ีถาไมม ีนักเรียนคนใดไดคําตอบทต่ี รงกับผลลัพธท ่สี ุมได ถา 83 เปนคาํ ตอบที่ใกลเ คียงที่สุด จะไดคะแนน ตัวอยางที่ 2 โจทยท่ีสุม ผลลัพธ 2123 99 วธิ คี ิด (32 + 1)2 = (9 + 1)2 = 100 ไดคาํ ตอบ 100 ซ่ึงไมตรงกับผลลัพธท ่ีสุมได ในกรณนี ถี้ าไมมีนกั เรยี นคนใดไดคาํ ตอบทต่ี รงกบั ผลลพั ธที่สุมได ถา 100 เปน คาํ ตอบท่ใี กลเ คยี งทสี่ ุด จะไดค ะแนน ตัวอยางท่ี 3 โจทยท ่ีสุม ผลลัพธ 4836 13 วธิ คี ดิ (8 + 6) − (4 − 3) = 13 ไดคาํ ตอบตรงกบั ผลลัพธท ่สี ุมไดพ อดี จะไดคะแนน

46 สุมเลขโดดเปนโจทย 5 ตวั เลข ผลลัพธ 3 หลกั ตัวอยาง โจทยท่สี ุม ผลลพั ธ 19732 719 วิธคี ดิ 93 − (7 + 2) − 1 = 719 ไดค าํ ตอบตรงกับผลลัพธท สี่ ุม ไดพ อดี จะไดคะแนน 3.4.2 ระดบั ประถมศกึ ษาตอนปลาย (ชัน้ ประถมศึกษาปท่ี 4 – 6) ใชก ารดําเนินการทางคณิตศาสตร ไดแก บวก ลบ คูณ หาร ยกกาํ ลงั หรอื ถอดรากอันดับ ท่ี n ที่เปนจํานวนเต็มบวกเทาน้ัน เพ่ือหาผลลัพธ ในการถอดรากตองใสอันดับที่ของรากจากตัวเลขที่สุม จากโจทย ยกเวนรากอันดับท่ีสอง ในการถอดรากอันดบั ที่ n อนุญาตใหใชเพียงชั้นเดียว และไมอนุญาตใหใช รากอนันต และใหเขียนแสดงวิธีคิดทีละข้ันตอน หรือเขียนแสดงความสัมพันธของวิธีการและคําตอบในรูป ของสมการกไ็ ด เชน สมุ เลขโดดเปน โจทย 4 ตัวเลข ผลลัพธ 2 หลัก ตวั อยา งท่ี 1 โจทยทีส่ ุม ผลลพั ธ 4957 88 วธิ ีคดิ 9 × 7 = 63 √4 = 2 52 = 25 63 + 25 = 88 หรือ นักเรียน เขยี น (9 × 7) +5 4 = 63 + 25 = 88 กไ็ ด สุม เลขโดดเปนโจทย 5 ตัวเลข ผลลัพธ 3 หลัก ตัวอยางที่ 2 โจทยท ่สี มุ ผลลัพธ 28439 757 วธิ คี ิด (√4 ) × 3 − (9 + 2) = 768 – 11 = 757 ตวั อยา งท่ี 3 โจทยท ส่ี ุม ผลลพั ธ 22453 182 วธิ คี ดิ (3 × 2) 4 × 5 + 2 = 182 3.4.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 – 3) และระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย (ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 4 – 6) ใชการดําเนินการทางคณิตศาสตร บวก ลบ คูณ หาร ยกกําลัง ถอดรากอันดับท่ี n ที่เปน จํานวนเต็มบวก เพ่ือหาผลลัพธ สามารถใชแฟคทอเรียลและซิกมาได โดยมีขอตกลงดังนี้ ในการถอดราก อันดับที่ n จะถอดไดไมเกิน 2 ช้ัน ถาไมใชรากอันดับท่ีสองตองใสอันดับที่ของรากจากตัวเลขท่ีสุมมาเทาน้ัน และไมอ นุญาตใหใชร ากอนันต การใชแ ฟคทอเรยี ลจะใช ! กคี่ ร้งั ก็ได แตต อ งใสว งเลบ็ ใหชดั เจนทกุ ครั้ง เชน (3!)! = (6)! = 720

47 หากมกี ารใชซิกมาตองเขยี นใหถ ูกตองตามหลักคณติ ศาสตร โดยอนญุ าตใหใ ช i ทปี่ รากฏหลัง  ไดไมเ กิน 2 ตวั และตวั เลขท่ปี รากฏอยูกับ  ตอ งเปน ตัวเลขท่ีไดจ ากโจทยที่สุมเทาน้ัน และผลรวมตองเปนจาํ นวนเต็มบวก เชน 1) (������ + ������) = 2������ = 2 ������ = 2 × 15 = 30 i ii (ตอ งมีตัวเลข 1 และ 5 ในโจทยท ส่ี มุ ) 2) (������ × ������) = ������ = 1 + 2 + 3 + 4 + 5 = 55 ii (ตองมตี วั เลข 1 และ 5 ในโจทยท่ีสมุ ) 5 i i1 15 i  i  1 2  3  ...  15  120  3) i1 i1 (ตองมตี ัวเลข 1, 1 และ 5 ในโจทยท่ีสมุ ) n และn n i! i1 i ii ii! i 1 i 1   สามารถใช การเขยี นแสดงวธิ คี ดิ ใหเขยี นแสดงความสัมพันธข องวธิ ีการและคาตอบในรูปของสมการเทา นัน้ เชน สุมเลขโดดเปนโจทย 4 ตวั เลข ผลลัพธ 2 หลัก ตัวอยางที่ 1 โจทยทสี่ มุ ผลลพั ธ 0582 27 วิธีคดิ 58 +2+0 = 27 หรอื ( 58 +2)+0 = 27 ตวั อยางท่ี 2 โจทยท ส่ี ุม ผลลัพธ วิธีคดิ 4837 69 7 + √4 × 8 − 3 = 69 ตัวอยางท่ี ๓ โจทยที่สุม ผลลัพธ วิธีคดิ 1257 35 7 2  i  5  35 i1 ตัวอยางที่ ๔ โจทยท ่สี ุม ผลลัพธ วธิ คี ดิ 0227 30 77 2   i  2   i  30 i20 i 1


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook