Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เมืองนครสวรรค์

เมืองนครสวรรค์

Published by boonkamon65, 2021-02-14 03:33:42

Description: เมืองนครสวรรค์

Search

Read the Text Version

๓๘๔ วถิ ชี วี ิต วัฒนธรรม อําเภอเมอื งนครสวรรค จงั หวัดนครสวรรค มาฝงตะวันตกของแมนํ้าเจาพระยา การขยายตัวทางฝงตะวันตกนี้เร่ิม มาตั้งแตสมัยรัชกาลที่ ๕ โปรดฯ ใหยายตัวเมืองมาตั้งบนฝงตะวันตก ของแมน้ําเจาพระยา เปนฐานเศรษฐกิจที่สําคัญของรัฐก่ึงกลาง ไมวา จะเปนกิจการคารายยอยหรือการคารายใหญ การคาในนครสวรรค ไดเ จรญิ สงู สดุ ในสมยั รชั กาลท่ี ๖ และตน รชั กาลท่ี ๗ หรอื บรเิ วณปากนาํ้ โพ มีสภาพเปนชุมทางการคา เปนที่ชุมนุมของเรือคาขาวที่ใหญที่สุด นอกเหนือจากกรงุ เทพมหานคร ไมสกั จากภาคเหนือเปน จาํ นวนหมน่ื ๆ แสน ๆ ทอนจะถกู สงมาตามกระแสน้ํามารวมกนั ทีป่ ากนํ้าโพ กอนทีจ่ ะ แยกสงไปตามท่ีตาง ๆ บรรดาพอคาจากทุกสารทิศโดยเฉพาะพอคา ที่สําคัญๆ จากกรุงเทพฯจะมาชุมนุมกันท่ีปากน้ําโพเพื่อเลือกซื้อสินคา หรือทําการประมูลสินคา นครสวรรคจึงเปน ตลาดท่คี ึกคัก มีศนู ยกลาง การคา อยทู ี่ ตลาดลาว อยบู รเิ วณฝง ตะวนั ตกของแมน า้ํ ปง เปน ศนู ยก ลาง การคาระหวางนครสวรรคกบั เมืองทางเหนือ และตลาดสะพานดาํ อยู บริเวณฝงแมน้ําเจาพระยา เปนศูนยกลางการคาระหวางอําเภอตาง ๆ ในจงั หวดั นครสวรรค

วถิ ีชีวติ วฒั นธรรม อาํ เภอเมืองนครสวรรค จังหวดั นครสวรรค ๓๙๕ ๓บทท่ี ศาสนาและความเช่อื ความเช่อื ศาสนา ความเชอ่ื พิธีกรรม อาํ เภอเมอื งนครสวรรค ไดร บั อทิ ธพิ ลทางพทุ ธศาสนาจากเมอื ง สุโขทัย ตั้งแตอดีต เพราะเปนจุดรวมของแมน้ําสายหลักท่ีไหลมาจาก ภาคเหนือสส่ี าย ปง วัง ยม นาน ซง่ึ เปรียบเสมือนเสนเลือดของปวงชน และเปนเสนทางเดินเรือเพ่ือสัญจรคาขายแลกเปล่ียนกันขึ้น จึงทําให สองฝง แมน า้ํ ทง้ั สสี่ าย มกี ระแสวฒั นธรรมมากมาย ทง้ั ทเี่ ปน วฒั นธรรม ดงั้ เดมิ และทถ่ี กู นาํ มาโดยนกั เดนิ เรอื จะสงั เกตเหน็ วา ตลอดแนวแมน า้ํ จึงมีวัด โบสถคริสต, อิสลาม และศาลเจามากมายตลอดแนวสองฝง แมน้ําจึงเปนแหลงกําเนิดทางวัฒนธรรมที่มีคุณคา ซ่ึงไดรับอิทธิพล มาจากศาสนา ลทั ธิ ความเชอื่ ของตนอยางหลากหลาย โดยมีแนวทาง ของความเชอื่ ทเี่ กดิ ขน้ึ สามารถแยกประเภทไดพ อสงั เขปดงั ตอ ไปน้ี คอื ๑. ความเชือ่ ทม่ี องไมเหน็ เชน อาํ นาจของกรรม (ตามคติแหง พุทธศาสนา) อํานาจของเทพเจา (ตามคติศาสนาท่ีนับถือพระเจา) อํานาจความลึกลบั อภินิหาร (ตามคติทีเ่ ช่ือแหงไสยเวทย) เปน ตน

๔๓๐๔ วิถีชีวิต วัฒนธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค ๒. หลักศีลธรรม คือใหเวนความชั่ว ใหประพฤติความดี ซ่ึง แตล ะพทุ ธศาสนา กม็ คี าํ สอนทั้งทเ่ี หมือนกนั และแตกตา งกนั บา งในราย ละเอียดและขอบญั ญัติแตโดยรวมจะเนนใหศาสนิกชนของตนเปน คนดี ๓. จดุ หมายสงู สดุ แหง ชวี ติ เชน พระนพิ าน ความดบั เพลงิ กเิ ลส ของกองทุกข ไดอยางหมดจด ตามคติแหงพุทธศาสนา, สวรรคการมี ชีวิตอยูกับพระเจาในสวรรค ตามคติแหงศาสนาคริสตและอิสลาม เปนตน

วิถชี ีวติ วัฒนธรรม อาํ เภอเมืองนครสวรรค จงั หวดั นครสวรรค ๔๓๑๕ ๔. พิธีกรรมทางศาสนา เชน การบรรพชา (บวชเปนสามเณร) การอปุ สมบท (บวชเปน พระ) ตามคตแิ หง พทุ ธศาสนา การรบั ศลี ลา งบาป การรับศีลมหาสนิทการรับศีลกําลัง ตามคติแหงคริสตศาสนา นิกาย คาทอลิก การทําละหมาด คือ สวดนมัสการพระอัลลอฮวนั ละ ๖ เวลา ตามคติแหงศาสนาอิสลาม การไหวเจาตามเทศกาลตางๆ ของชาวจีน เปนตน ความเช่อื ในพระพทุ ธศาสนา ประชาชนชาวอําเภอเมืองนครสวรรค สวนใหญนับถือศาสนา พุทธมีวัดและพระสงฆซึ่งมีบทบาทเก่ียวของกับความเปนอยูทุกอยาง และทุกระยะเวลาของประชาชน วดั เปน ที่ชุมนมุ ของชาวบานในการจดั งานร่นื เริงตาง ๆ สถานพยาบาล ตลอดจนทพ่ี กั คนเดินทางและพกั ผอน หยอนใจ และยังรับบริการประชาชนในดานพิธีกรรมอีกดวย ดังน้ัน วัดจึงเปนศูนยรวมจิตใจของประชาชน และเปนศูนยกลางแหงความ เคารพนบั ถอื พธิ กี รรมทางศาสนา ประกอบดว ยพธิ หี ลวง และพธิ รี าษฎร ซึง่ ไดปฏิบตั ิจัดทําสืบตอกนั มา และเนอ่ื งจากอิทธิพลในดานตาง ๆ จึง ทาํ ใหพิธีกรรมประกอบไปดวย พิธีสงฆ พิธีพราหมณ และอิทธิพลของ วฒั นธรรมอ่นื ๆ ผสมผสานกนั ไป พระพุทธศาสนาไดเขามามีบทบาท ในการดาํ เนินชีวิตของชาวอาํ เภอเมืองนครสวรรคมาชานาน ต้ังแตสมยั ยคุ กอ นสโุ ขทยั จงึ เปน เหตใุ หพ ระพทุ ธศาสนาในอาํ เภอเมอื งนครสวรรค ไดรับอิทธิพลจากยุคสุโขทัยดวย โดยหลักฐานหลงเหลืออยูในปจจุบัน

๔๓๒๔ วิถีชีวติ วัฒนธรรม อําเภอเมอื งนครสวรรค จังหวดั นครสวรรค ซึ่งแสดงใหรูถึงประวัติความเปนมาของพระพทุ ธศาสนา เชน หลักศิลา จารกึ หลกั ที่ ๑ ซงึ่ จารกึ ในสมยั พอ ขนุ รามคาํ แหง และหลกั ที่ ๒ ซงึ่ จารกึ ในสมยั พระเจา ลไิ ทย กษตั รยิ อ งคท ่ี ๕ แหง กรงุ สโุ ขทยั หลวงพอ ศรสี วรรค ซึ่งเปนพระพุทธรูปศิลปะสมัยสุโขทัย เจดียวัดเขากบหรือวัดวรนาถ บรรพตเปน เจดียศิลปะในยุคสโุ ขทัยเชนเดียวกัน เปน ตน เจดียว ัดเขากบหรือวดั วรนาถบรรพต พทุ ธศาสนาในอาํ เภอเมอื งนครสวรรค สงั กดั อยใู นเขตปกครอง คณะสงฆจังหวัดนครสวรรค มีวัดในการปกครอง จํานวน ๘๕ วัด จําแนกเปน - มหานกิ าย จาํ นวน ๘๓ วดั ไดร บั พระราชทานวสิ งุ คามสมี า จาํ นวน ๘๓ วดั - สาํ นกั สงฆ จํานวน ๙ แหง - ธรรมยตุ ินิกาย มีวดั จาํ นวน จํานวน ๒ วัด

วิถีชีวิต วัฒนธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จังหวดั นครสวรรค ๓๔๕๓ บคุ คลสําคัญทางศาสนา พระสงฆท ม่ี ีบทบาทฝายอนรุ ักษธ รรมชาติ *พระครูจอย จนทสวณโณ ทานเปนภูมิปญญาไทย ประวัติพระครูจอย จนทสวณโณ นามสกลุ เดิม : ปานสีทา หลวงพอจอย เกิดวนั ที่ ๘ เมษายน ๒๔๕๖ ภูมิลําเนา ตําบลหลวงสองนาง อําเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี ที่อยู ปจ จบุ นั วัดศรีอุทมุ พร หมู ๙ ตําบลหนองกรด อาํ เภอเมืองนครสวรรค บิดาชอ่ื นายแหยม ปานสีทา มารดาช่ือ นางบุญ ปานสีทา ผลงานทาน เปน ภมู ิปญ ญาทองถนิ่ มีชอ่ื เสียงในดานการอนรุ กั ษธรรมชาติ กิจกรรม ทที่ า นทาํ คอื เปน ผนู าํ และชกั ชวนชาวบา นรว มพฒั นากอ สรา งฝายนาํ้ ลน

๔๓๔ วิถชี วี ิต วฒั นธรรม อําเภอเมอื งนครสวรรค จงั หวดั นครสวรรค ขุดเหมือง กอสรางประตูน้ํา * สรางถนน คลองสงนํ้า อางเก็บนํ้า สรา งสะพาน สรา งอาคารเรยี นและหอสมดุ ใหแ กโ รงเรยี น วดั ศรอี ทุ มุ พร สรางถนนตัดเขาในหมูบาน อนั เปนประโยชนตอสวนรวม *และทานยัง เปน ผทู าํ คณุ ประโยชนต อ พระพทุ ธศาสนา จนไดร บั พระราชทานเสาเสมา ธรรมจักร จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในป ๒๕๓๔ พระสงฆทร่ี ักษาโรคโดยใชว ิธีการเหยียบฉา พระครูใบฎีกาบญุ ชู อินทสโร เปน พระสงคทร่ี กั ษาโรคโดยใชวิธีการเหยียบฉา ประวตั ิพระครู ใบฎีกาบญุ ชู (หมอพระ) เหยียบฉา แหงวัดเกาะหงษ บานเลขที่ ๓๑

วถิ ชี ีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอเมอื งนครสวรรค จังหวดั นครสวรรค ๓๔๕ ตําบลหนองกรดอาํ เภอเมืองนครสวรรค จังหวดั นครสวรรค บิดาช่อื นายช้ืน นคร มารดาช่ือ นางลมาย นคร การศึกษา จบช้ัน ม.๖ อาชีวศึกษา ชางไม อุปสมบทเม่ือวันท่ี ๑๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๔ ณ พทั ธสีมา วดั เกาะหงส ตาํ บลตะเคียนเลอ่ื น อาํ เภอเมืองนครสวรรค อปุ ช ฌายค อื หลวงพอ อนิ ทร ไดศ กึ ษาธรรมจนสามารถสอบไดน กั ธรรม เอก พระครใู บฎีกาบุญชู อินทสโร เริม่ ศึกษาวิธีการรกั ษาโรคอมั พาต โรคอมั พฤกษ ปวดเมือ่ ย ตามรางกาย โดยวิธีการเหยียบฉา และรักษา โรคกระดกู ตั้งแต พ.ศ. ๒๕๐๔ จากหลวงพออินทร (หลวงพออินทร ซึ่งสืบทอดวิธีการเหยียบฉาและรักษาโรคกระดูก มาจากหลวงพอกัน หลวงพอ กนั สบื ทอดวธิ กี ารเหยยี บฉา มาจากพระทเ่ี ปน ชาวเขมร)พระครู ใบฎกี าบญุ ชู อนิ ทสโร จาํ พรรษาอยู ณ วดั เกาะหงษ ตาํ บลตะเคยี นเลอื่ น อําเภอเมืองนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค ในแตละวันจะมีผูปวย ดวยโรคดังกลาวเดินทางมาใหทานรักษาเปนจํานวนมากทางวัดจึงได สรางเรือนคนไขไวสาํ หรบั เปน ทพี่ กั ของคนไข ซง่ึ เดินทางมาจากทไี่ กล ๆ ดวยวิธีการเหยียบฉา ทําดังน้ี พระครูใบฎีกาบุญชูจะใชเทาแตะใน นํ้ามนั ,สมุนไพร แลวไปแตะท่ี แผนเหล็กซง่ึ รอนจัดท่อี ยูบนเตาไฟ และ ทาํ การเหยียบที่รางกายของ ผูปวยตรงบริเวณท่เี ปน อมั พฤกษ อมั พาต หรือปวดเม่ือย ซึ่งในขณะที่พระครูใบฎีกาบุญชู เหยียบแผนเหล็กน้ัน จะมีเสียงดัง “ฉา” และเปลวมีไฟลุกข้ึน จึงเรียกวิธีการน้ีวา “การเหยียบฉา”

๔๓๖๔ วิถีชวี ติ วัฒนธรรม อาํ เภอเมืองนครสวรรค จงั หวัดนครสวรรค พระสงฆท ่มี ีบทบาทในการอนุรกั ษมรดกทางวัฒนธรรม พระครนู ิวิฐวรคุณ กตสาโร พระครนู ิวิฐวรคณุ กตสาโรนามเดิม คือ ชอุม สงั ขเดช เกิดเมอื่ วนั ที่ ๒๙ เมษายน ๒๔๗๒ ณ ตําบลเจาอาวาสวดั ตะเคียนเล่อื น อาํ เภอ เมืองนครสวรรค จงั หวดั นครสวรรค อุปสมบทเมือ่ วนั ที่ ๕ กรกฎาคม ๒๔๙๒ ณ วัดตะเคียนเลอ่ื น อาํ เภอเมืองนครสวรรค ปจจุบนั ทานเปน เจา อาวาสวดั ตะเคยี นเลอ่ื น ผลงานดา นการอนรุ กั ษม รดกทางวฒั นธรรม คือ การอนุรักษเผยแพร สงเสริมการสืบทอด ประเพณีการแขงเรือยาว ซึ่งเดิม ประเพณีน้ีชาวมอญที่มาตั้งถ่ินฐานอยู (อาศัยอยูในบริเวณน้ี) ไดเลนแขงเรือยาวกันเปนประจําทุกป ตอมาจึงมีการสืบทอดประเพณี

วถิ ีชวี ิต วฒั นธรรม อําเภอเมอื งนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค ๓๔๗๕ แขงเรือ โดยคนไทยรวมแขงขันดวย จึงเปนที่นิยมกันมา ประเพณี แขง เรอื นจี้ ดั ขน้ึ ในเทศกาลปด ทองไหวพ ระประจาํ ปข องวดั ตะเคยี นเลอ่ื น วดั นี้จะจดั ใหมีประเพณี แขงเรือท่มี ีช่อื เสียงมา ตั้งแตโบราณกาลจนถึง ปจจุบันและผูท่ีอยูเบื้องหลังการจัดงานประเพณีแขงเรือทุก ๆ ป คือ พระครูนิวิฐวรคุณ เจาอาวาสวัดตะเคียนเล่ือน นอกจากจัดงานแขง เรือยาวขึ้นทว่ี ดั ตะเคียนเลอ่ื นแลว ทานฝกฝพายใหมีความแกรง แลว ฝพ ายทมี่ ีฝม ือดี ๆ ใหลงแขง ขนั ในงานอน่ื ๆ ดว ย เพอื่ ฝก ซอมเพอื่ ใหเกดิ ความเชย่ี วชาญ สรา งความเขม แขง็ อยเู สมอ ฝพ ายทกุ คนมคี วามพรอ ม นอกจากนน้ั ทา นยงั สง เสรมิ สนบั สนนุ ใหน าํ เรอื ของวดั ออกไปรว มแขง ขนั ในงานที่อ่ืน จัดขึ้นทั้งประจําทุกป ทั้งในและนอกจังหวัดนครสวรรค อีกดวย นอกจากทานจะสงเสริมใหเรือรวมลงแขงขันในงานตาง ๆ แลว ตวั ทานยังรวมไปเปน กาํ ลงั ใจใหแกฝพายของทานดวยมิเคยขาด จึงนับ ไดวาทานเปนผูมีบทบาทสําคัญในการอนุรักษ เผยแพร และสงเสริม มรดกทางวัฒนธรรมมาตลอด จนเปนทท่ี ราบของคนท่วั ไป

๔๓๘๔ วิถชี ีวติ วฒั นธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จงั หวัดนครสวรรค พระสงฆท ่ที ําคณุ ประโยชนตอ พระพุทธศาสนา *หลวงพอ ทอง ประวตั ิหลวงพอทอง หรือหลวงปทู อง ทานเปน อดีตเจาอาวาส องคแรกของวัดวรนาถบรรพต เปนพระเถระสุปฏิปนโนท่ีเครงครัด ในพระธรรมวนิ ยั และมชี อื่ เสยี งมากในดา นมวี ชิ าอาคมขลงั รปู หนง่ึ ของ จงั หวดั นครสวรรคต ลอดมา หลงั จากทา นมรณภาพแลว ทางวดั ไดห ลอ รปู เหมือนขนาดเทาองคจริงของทานไวในวิหาร ทกุ ๆ วนั จะมีประชาชน ทั้งใกลและไกล พากันมากราบไหวขอพรความศักด์ิสิทธิ์ จากทาน อยมู ขิ าด หลวงพอ ทองทา นเปน ชาวทงุ ยง้ั อาํ เภอลบั แล จงั หวดั อตุ รดติ ถ ทา นไดเ ดนิ ธดุ งคผ า นมาพบวดั รา งเขา จงึ ปก กลดพกั ทา นไดร บั การขอรอ ง และนิมนตใหอยูบูรณะวัดรางนี้ และในที่สุดวัดรางก็ไดกลับคืนสภาพ มาเปน วดั มพี ระสงฆอ กี ครง้ั ดงั ไดก ลา วมาตอนตน แลว วา หลวงพอ ทา น มีอาคมขลัง และเครงครัดในขอวัตรปฏิบัติมาก จึงจะขอนํามากลาว

วถิ ชี วี ติ วัฒนธรรม อาํ เภอเมืองนครสวรรค จงั หวัดนครสวรรค ๔๓๙๕ เพ่ือเชิดชูเกียรติคุณของทานพอสังเขปดังตอไปนี้อาคมขลังและความ ศกั ดิส์ ิทธ์ิ หลวงพอทองเปน พระสันโดด ชอบสงบ สนใจดานกอสราง และมกั จะลงมือทาํ ดวยมือของทานเอง มีเรอื่ งเลาวา คร้ังหนงึ่ หลวงพอ ทานกําลังพอกปูนเจดียอยูบนน่ังรานแลวก็เกิดพลัดตกลงมาจากที่น่ัง รานยอดเจดียลงมาถึงพ้ืนดินแทนที่จะไดรับบาดเจ็บ ทานกลับลุกข้ึน ปดฝุนที่เปอนจีวร แลวกลับขึ้นไปพอกปูนตอ เร่ืองนี้เปนท่ีโจษขานกัน มากวาทานมีวิชาทําใหตวั เบาได ศาสนสถาน วดั ท่ีสําคญั วดั วรนาถบรรพต วัดกบ หรือวัดวรนาถบรรพต หรือวัดปากพระบางตั้งอยูบน เขากบ เขตเทศบาลนครนครสวรรค ทางฝง ซา ยของแมน า้ํ ปง เชน เดยี วกบั

๕๓๐๔ วถิ ชี ีวติ วฒั นธรรม อําเภอเมอื งนครสวรรค จงั หวัดนครสวรรค เมืองพระบางท่ีต้ังอยูเชิงเขา สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยา บาํ รงุ ราชานภุ าพ ทรงพบศลิ าจารกึ เมอื่ พ.ศ. ๒๔๖๔ บนเขากบใกลใ กล กับรอยพระบาทของ พระมหาธรรมราชาท่ี ๑ (ลิไทย) ซ่งึ ในศิลาจารึก นครชุมกลาววา“พระยาธรรมิกราชใหไปพิมพเอารอยตีนพระเปน เจาเถิงสิงหลอันเหยียบเหนือจอมเขาสุมนกูฎบรรพต ประมานเทาใด เอามาพมิ พไ วจ งุ คนทงั้ หลายเหน็ แท อนั หนง่ึ ประดษิ ฐานไวเ หนอื จอมเขา ทป่ี ากพระบาง”สวนศิลาจารึกหลกั ที่ ๑๑ พ.ศ.๑๙๖๓ (วดั กบ) กลาวถึง การสรางพระเจดียวิหารอุทิศใหพระยารามผูนอง ซ่ึงสอดคลองกับ พระราชพงศาวดารกรงุ ศรอี ยธุ ยาฉบบั หลวงประเสรฐิ ความวา “ศกั ราช ๗๘๑ (พ.ศ. ๑๙๖๒) พระมหาธรรมราชาธิราชเจานฤพานเมืองเหนือ ท้ังปวงเปน จลาจล เสด็จขึ้นไปถึงพระบาง พระยาบาลเมืองและพระยา รามออกถวายบงั คม” ภายในวดั มีส่งิ สาํ คัญคือเจดียทรงลังกาหรือทรง ระฆงั กออิฐถือปนู ลกั ษณะองคระฆังต้ังอยูบนฐานเปน เจดียในรุนหลงั ราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๒๐–๒๑ ลกั ษณะบลั ลงั กไ มม เี สาหานแบบศลิ ปะสโุ ขทยั พระพทุ ธรปู ศลิ าปางนาคปรก ศลิ ปะลพบรุ ไี ดร บั การซอ มแซมแลว อายุ ราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๘ คลายกบั พระพทุ ธรปู นาคปรกทีพ่ บบริเวณเขา ตาคลี รอยพระพทุ ธบาท (หินชนวน) ลายดอกบัวตรงกลางมีขนาดเล็ก กวา รอยพระพทุ ธบาทเขาหนอ อาํ เภอบรรพตพสิ ยั และลกั ษณะรอ งรอย ตนื้ กวา เขากบ ขน้ึ ทะเบยี นโบราณสถานโดยประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม ๕๒ ตอนท่ี ๗๕วันท่ี ๘ มีนาคม ๒๔๗๘

วถิ ีชีวิต วัฒนธรรม อําเภอเมอื งนครสวรรค จงั หวดั นครสวรรค ๕๓๑๕ วัดนครสวรรค วัดนครสวรรคเดิมมี นามวา “วัดหัวเมือง” เปน วัดเกาแกคูบานคูเมืองมาแต โบราณ จากหลักฐานโบราณ วัตถุ นาเชื่อวาสรางข้ึน ในตอนปลายสมัยกรุงสุโขทัย วัดหัวเมืองไดรับพระราชทาน วิสงุ คามสีมาเมอื่ พ.ศ. ๑๙๗๒ หลวงพอ ศรีสวรรค ต ร ง กั บ รั ช ส มั ย ข อ ง ส ม เ ด็ จ พระบรมราชาธิราชท่ี ๒ (พระเจาสามพระยา) อันเปน รชั กาลที่ ๗ แหง กรงุ ศรอี ยธุ ยา วัดนครสวรรค เปน พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิด สามัญ ตั้งอยูเลขที่ ๗๐๒ วัดนครสวรรค ถนนโกสีย ตําบลปากนํ้าโพ อําเภอเมืองนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค สังกัดคณะสงฆมหานิกาย พนื้ ทต่ี งั้ วดั เปน ทรี่ าบ มลี กั ษณะเปน รปู สเี่ หลย่ี มคางหมู มกี าํ แพงโดยรอบ

๕๓๒๔ วิถีชวี ติ วัฒนธรรม อาํ เภอเมืองนครสวรรค จงั หวัดนครสวรรค ท้ัง ๔ ดาน และมีประตเู ขาออกไดสะดวกทั้ง ๔ ดาน เชนกัน ท่ีดินตั้งวดั นไี้ ดถ กู ถนนสวรรคว ถิ ตี ดั ผา นแบง เนอ้ื ทอ่ี อกเปน ๒ แปลงเปน เขตสงั ฆาวาส และเขตพทุ ธาวาสในสว นทอี่ ยทู างดา นทศิ ตะวนั ออกซงึ่ มเี นอื้ ท่ี ๑ ไร ๒๕ ตารางวา อีกแปลงหนึ่งอยูทางทิศตะวันตกใชเปนเขตฌาปนสถาน มี เนื้อท่ี ๙ ไร ๑ งาน ๑๑ ตารางวา ภายในบริเวณวดั มีถนนติดตอระหวาง อาคารเสนาสนะตาง ๆ ถึงกันหมด มีพระประธานในพระอุโบสถ ขนาด พระเพลากวาง ๒.๕๐ เมตร สรางดวยทองเหลือง มีพระนามเรียกกัน วา “หลวงพอศรีสวรรค” พระพุทธรปู ใหญ ๒ องคในพระวิหาร เรียกวา “พระผูใหอภัย” พระพุทธรูปอื่นอีก ๒ องคในพระวิหาร พระพุทธรูป เนื้อสาํ ริดสมยั สุโขทัย ปางมารวิชยั อยูท่กี ุฏิเจาอาวาสจํานวน ๔ องค พระเจดียเกาอยูดานหนาพระอโุ บสถ ๓ องค พระปรางคซ่งึ ปรกั หกั พัง มีเพียงซากและรากฐานปรากฏอยู

วิถชี วี ติ วฒั นธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค ๕๓๓๕ วดั โพธาราม วัดโพธาราม ไดรับการสถาปนาเปนพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ นับต้ังแตวันท่ี ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๖ สาเหตุ คือ เปน วดั ทมี่ สี าํ นกั เรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม ทงั้ นกั ธรรมและบาลี ซง่ึ เปน สาํ นกั เรียนดีเดนและตัวอยาง อีกท้ังมีพระภิกษุ สามเณรเปนจํานวนมาก มีที่ธรณีสงฆครอบคลุมต้ังแตโรงพยาบาลสวรรคประชารักษถึงแมน้ํา เจาพระยา มีความสวยงามเปนระเบียบ มี “พระโพธานชุ นิ ราช” สราง ขนึ้ ทว่ี ดั ระฆงั โฆสติ าราม กรงุ เทพมหานคร เมอื่ พ.ศ. ๒๔๕๖ โดยสมเดจ็ พระพุทธโฆษาจารย (ม.ร.ว.เจริญ อิศรางกูร) พรอมเจาคณะมณฑล

๕๓๔ วถิ ีชวี ติ วัฒนธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จงั หวัดนครสวรรค นครสวรรคส มยั ทด่ี าํ รงสมณศกั ดท์ิ พี่ ระพมิ ลธรรมเปน ผดู าํ เนนิ การหลอ ขึ้นพรอมกบั พระอัครสาวก วัดโพธาราม เดิมสันนิษฐานวาสรางขึ้นกอนสมัยรัตนโกสินทร ทตี่ ง้ั วดั เดมิ อยรู มิ แมน าํ้ ปง หมกู ฏุ สิ งฆอ ยทู างดา นทศิ ตะวนั ออกของทตี่ งั้ วดั ปจ จุบันคือ บริเวณที่ทําการไปรษณียโทรเลขปจ จุบนั ไดขึ้นทะเบียน

วิถชี วี ติ วฒั นธรรม อาํ เภอเมอื งนครสวรรค จงั หวัดนครสวรรค ๕๓๕ เปน วดั นบั ตงั้ แต พ.ศ.๒๔๒๐ คงเปน ระยะการบรู ณะปรบั ปรงุ วดั ครง้ั ใหม เม่ือคราวตลาดปากนํ้าโพประสบอัคคีภัยคร้ังใหญ เม่ือ พ.ศ. ๒๔๕๗ วัดโพธาราม ไดประสบภัยดังกลาวนั้นดวย หลังจากนั้นพระครูสวรรค นคราจารย (ชวง) เปน เจาอาวาสจึงไดวางแผนการพัฒนาวัดใหม ไดรบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาคร้ังหลังวนั ท่ี ๒๗ กนั ยายน พ.ศ.๒๔๘๑ วดั โพธาราม ไดเ ปด สอนพระปรยิ ตั ธิ รรมแผนกธรรม พ.ศ.๒๔๖๖ แผนกบาลี พ.ศ.๒๔๙๕ โรงเรียนพุทธศาสนาวนั อาทิตย พ.ศ. ๒๕๐๑ มีภิกษุอยูจําพรรษาประมาณปละไมต่าํ กวา ๕๐ รปู สามเณรไมตาํ่ กวา ๑๕๐ รปู เนอื่ งจากเปน สาํ นกั เรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรมจงึ มพี ระภกิ ษสุ ามเณร มาก

๕๓๖๔ วถิ ชี วี ิต วัฒนธรรม อาํ เภอเมอื งนครสวรรค จงั หวัดนครสวรรค วัดคีรีวงค ตั้งอยูบนเขาดาวดึงส อ.เมือง จ.นครสวรรค วัดคีรีวงศมีองค มหาเจดียศักด์ิสิทธ์ิคือพระจุฬามณีเจดีย ซ่ึงเปนทองเหลืองอราม เนอื่ งจากวดั ทต่ี งั้ อยบู นภเู ขา ทาํ ใหส ามารถจะมองเหน็ ภมู ทิ ศั นอ นั สวยงาม ของเมืองนครสวรรคไ ดอ ยา งดงาม ถา มองไปทางทศิ ตะวนั ออก จะมอง เหน็ เขากบ บึงบอระเพด็ ตนแมนํ้าเจาพระยา และเขาจอมคีรีนาคพรต หนั ไปทางทิศตะวนั ตก จะเหน็ ภูเขานอยใหญ ทอดตวั ตระหงาน อยูเปน ชวง ๆ ยิ่งในชวงเวลายามพระอาทิตยตก จะเปนภาพที่งดงามชวนให หลงใหลในภาพทีธ่ รรมชาติตกแตงขึ้น ภายในวดั มีส่งิ ทน่ี าสนใจ คือ พระจฬุ ามณีเจดีย เปนองคเจดีย ขนาดใหญต งั้ อยบู นยอดเขาดา นในเจดยี  มที งั้ หมดสช่ี น้ั ดา นหนา บนฐาน ชั้นแรกเปนท่ีจุดธูปเทียนบูชา ช้ันท่ีสองจะมี รูปหลอเหมือนขนาดเทา องคจริงของพระช่ือดังหลายองค เชน รอยพระพุทธบาทจําลอง ๑๒ ราศี, พระพุฒาจารยโตวดั ระฆงั หลวงปูทวดวดั ชางไห หลวงพอสด

วถิ ชี ีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอเมอื งนครสวรรค จงั หวดั นครสวรรค ๓๕๗๕ วดั ปากนํ้าและอีกหลายองค ใหประชาชนกราบไหวและปด ทองเพอื่ เปน สิริมงคลใหกับตนเองถือวา มีรูปหลอพระเกจิที่สําคัญเกือบทุกรูปเลย กว็ าไดและ ทางดานขางในช้ันสองนี้ กม็ ีวตั ถมุ งคลทท่ี างวดั จดั สรางวาง ไวภายในตูใหผูท่ีสนใจ เชาบูชาติดตัวกลับไปที่บานมีหลายอยางหลาย พุทธคุณ ชั้นท่ีสามพระจุฬามณีเจดีย ประดิษฐานพระพุทธรูปจําลอง ท่ีสําคัญของเมืองไทยไวไห ประชาชนไดกราบไวบูชามีพระแกวมรกต พระพุทธชินราช พระพทุ ธโสธร พระพทุ ธรูปวดั ไรขิง นอกจากน้ันยงั มี การทําบุญถวายสังฆทานกับพระอาจารย ทางดานในอีกดวย

๕๓๘๔ วถิ ชี ีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอเมืองนครสวรรค จงั หวดั นครสวรรค ขน้ึ ไปทางชนั้ บนสดุ ของมหาเจดยี  ภายในโดมเจดยี  จะมภี าพวาด จิตรกรรมฝาผนัง เก่ียวกับพุทธประวัติสวยงามมาก ๆตรงกลาง จะ ประดษิ ฐานพระบรมสารรี กิ ธาตไุ วบ นแทน เจดยี อ งคเ ลก็ เพอื่ ใหผ คู น ไดก ราบไหวบ ชู านอกจากนภ้ี ายในวดั ครี วี งศย งั มสี งิ่ ศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิ ทป่ี ระดษิ ฐาน อยูดานนอก ไดแก พระพุทธศิวฤทธน์ิ ิมิตธรรมโฆษ พระพทุ ธรูปสาํ คัญ อีกองคหนึ่งของวัดคีรีวงศ เปนพระพุทธรูปปางลีลาพระพุทธชินสีห วัดคีรีวงศ เปน พระพุทธรปู ปูนปน ปางสมาธิ เปนลกั ษณะผสมเชียงแสน สุโขทัยและรัตนโกสินทร คือ ขัดสมาธิเพชร, เกตุดอกบัวตูม สังฆาฏิสั้น แบบพระพุทธรปู สมยั เชียงแสน พระพักตร สวนองคและพระพาหาเปน สมัยสุโขทยั สวนแทนพระเปน สมัยรตั นโกสินทร

วิถีชีวิต วฒั นธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จงั หวดั นครสวรรค ๓๕๙๕ วัดพุทธมงคลนิมิตร เริ่มกอตั้งเมอ่ื ป พ.ศ. ๒๔๙๙ วัดแหงนี้มีความสาํ คญั เนอื่ งจาก เปน วดั ทท่ี า วอนิ ทรส รุ ยิ า หรอื แมช คี ณุ ทา วอนิ ทรส รุ ยิ าสมาหาร พระพเ่ี ลย้ี ง ในรชั กาลที่ ๘ และรชั กาลที่ ๙ ไดใ หก ารอปุ ถมั ภใ นฐานะอบุ าสกิ าสาํ คญั ของวัด ซ่ึงทานไดบวชเปนชีมาถือศีลปฏิบัติธรรมท่ีวัดแหงนี้ ดังน้ัน สงิ่ กอ สรา งสาํ คญั ในวดั จงึ ไดร บั พระมหากรณุ าธคิ ณุ จากพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหัว อาทิ อุโบสถจัตุรมุข ภปร. มณฑปประดิษฐานรอย พระพุทธบาท ภปร.

๖๓๐๔ วิถีชีวติ วัฒนธรรม อาํ เภอเมืองนครสวรรค จงั หวดั นครสวรรค วดั ศรีสวรรคสงั ฆาราม (วัดถือน้ํา) ตั้งอยูตําบลนครสวรรคออก หางจากตัวเมือง ๔ กิโลเมตรไปตามถนนพหลโยธิน(นครสวรรค-กรงุ เทพฯ) เขาไปทางคาย จริ ประวตั ิ ซงึ่ เปน สถานทส่ี าํ หรบั ขา ราชการ กระทาํ พธิ ถี อื นาํ้ พพิ ฒั นส ตั ยา โดยมีใบหอก ใบพาย มีดาบสมัยโบราณ พระพุทธรูปปางปฐมเทศนา

วถิ ีชวี ิต วฒั นธรรม อําเภอเมอื งนครสวรรค จงั หวัดนครสวรรค ๓๖๕๑ และพระพทุ ธรปู เนือ้ เงนิ บรรจอุ ยภู ายในพระประธาน ในอโุ บสถหลงั เกา ประมาณอายุได ๑๐๐ ปเศษ ในป พ.ศ. ๒๕๑๙ พระบาทสมเด็จ พระเจา อยหู วั สมเดจ็ พระนางเจา พระบรมราชนิ นี าถ และสมเดจ็ พระเจา ลูกเธอท้ังสองพระองคเสด็จมาทรงตัดลูกนิมิตพระอุโบสถหลังใหญ วดั ถือนาํ้ วาเปน วัดเกาแกทม่ี ีคณุ คาแกการศึกษาในทางประวตั ิศาสตร อยางยง่ิ แหงหนง่ึ ศาสนสถานอน่ื ๆ ศาลพอ เจา แมป ากน้าํ โพ ศาลเจาแมหนาผา เรียกท่วั ไปวา ศาลเจาปงเถามา หรือ ศาล เจาแม ต้ังอยูริมฝงแมนํ้าปงดานทิศตะวันตก บริเวณริมฝงเปนโขดหิน สูงชันจึงเรียกวา หนาผา หางจากตลาดปากน้ําโพขึ้นไปตามถนนโกสีย

๖๓๒๔ วถิ ชี ีวติ วัฒนธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค ประมาณ ๒ กโิ ลเมตร ภายในศาลเจา มี ปง เถา มา เปน เทพประธานรว มกบั ปงเถากง (เจาพอ) ทสี่ รางจาํ ลองเจาพอเทพารกั ษ และมีเทพเจาอน่ื ๆ อีกหลายองค ซึง่ ประชาชนนิยมมาสักการะเพื่อเปน สิริมงคล ปงเถากง และปงเถามา เปนเทพเจาท่ีเคารพกราบไหวในหมูคนจีนโพนทะเล เปน ชือ่ ตาํ แหนงของเทพเจาผูเปนใหญ ในหนงั สอื ทร่ี ะลกึ พธิ เี ปด ศาลเจา พอ เจา แมห นา ผา ๑๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๕ ของมลู นธิ สิ ง เสรมิ งานประเพณแี หเ จา พอ -เจา แมป ากนา้ํ โพ ไดก ลา วถงึ ประวตั เิ จา แมห นา ผาวา ประมาณ ป พ.ศ. ๒๔๙๐ สองตายาย ซง่ึ ปลกู บา นอยบู รเิ วณศาลเจา พอ จยุ เจา พอ จุ ไดฝ น เหน็ เจา แมม าบอกวา ทานอยูที่จังหวัดอยุธยา ลอยทวนนํ้ามาถึงหนาผาเมืองปากนํ้าโพ ถา อยากม่ังมีศรีสขุ ก็ใหเชิญขึ้นมาต้ังแตบนศาล เพื่อใหผูคนไดสักการบชู า พอต่ืนขึ้นมาสองตายายก็พากันไปดูที่หนาผาตามความฝน พบแผนไม

วิถีชวี ิต วฒั นธรรม อาํ เภอเมืองนครสวรรค จังหวดั นครสวรรค ๓๖๓๕ จันทรดําสลักรูปเจาแมลอยอยูใกลริมฝง จึงไดอัญเชิญขึ้นประดิษฐาน บนศาลเจารวมกบั เจาพอจุยเจาพอจุ จากน้ันสองตายายก็เร่มิ มีฐานะดี จนรํ่ารวย ประกอบกิจการงานใดก็มักจะประสบความสําเร็จ ตั้งแต ตงั้ แผน ไมส ลกั รปู เจา แมห นา ผาขน้ึ ประดษิ ฐานในศาล กม็ ชี าวเรอื ชาวแพ ตลอดจนชาวจีนในตลาดศรัทธาในความศักดิ์สิทธ์ิของเจาแม พากัน มากราบไหวบูชา จนถึง ปมะโรง พ.ศ.๒๔๙๕ นายฮวงโพว แซไน (พ.ศ. ๒๔๒๖-๒๕๑๒) หรือทช่ี าวตลาดมกั เรยี กวา องั่ ผห่ี ลงจไู ดศ รทั ธา จัดสราง กิมซิง เปนไมแกะสลักลงรักปดทองทรงเครื่องแตงกาย อยา งจนี มือขวาถือไมเ ทา แทนแผน ไมจ นั ทรแ กะสลกั โดยจดั สรา งจาก วัดเลงเนยยี่ (วัดมังกรกมลาวาส) เถาแกเซงหมงไดรวบรวมเงินจาก ชาวจีนในตลาด มาสรางศาลเจาเปนอาคารศิลปะจีน ติดถนนโกสีย ใชเวลาจัดการกอสรางประมาณปเศษ ภายในศาลเจามีเจาแมหนาผา หรือท่ีคนจีนเรียก ปงเถามาเปนเทพประธานเบื้องซายประดิษฐาน เทพกวนเสี่ยต้ีกุง (เจาพอกวนอู) เบื้องขวาประดิษฐาน เทพเทียนโหว เซียบอ (เจาแมสวรรค) และไดเชิญรูปเคารพเจาพอจุยเจาพอจุ มา ประดษิ ฐานในศาลเจา ดว ยภายหลงั ไดเ พมิ่ เทพเจา แหง โชคลาภไฉส งิ่ เอย๊ี คูกับเจาพอจุยพอจุ ศาลเจาที่เห็นปจจุบันเปนศาลเจาที่สรางขึ้นใหม ในป พ.ศ. ๒๕๓๕

๖๓๔ วิถชี ีวติ วัฒนธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จังหวดั นครสวรรค ศาลเจาพอ เทพารักษ ทต่ี งั้ ศาลเจา พอ เทพารกั ษ ตง้ั อยเู ลขท่ี ๙ ถนนสายนครสวรรค –ชุมแสง ตําบลปากนํ้าโพ อําเภอเมืองนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค องคเจาพอ เจาแม และเทพเจาตาง ๆ ภายในศาลเจาพอเทพารักษ ประกอบดวย ๑. เจาพอเทพารักษ หรือ บึงเกากง ๒. เจาพอกวนอู ๓. เจา แมท บั ทมิ หรอื จยุ ปว ยเนย้ี หรอื ตยุ โปย เหนยี่ ว (ตยุ ปว ย เตงเหนีย่ งในภาษาไหหลํา) ๔. เจาแมสวรรค

วิถีชวี ติ วัฒนธรรม อาํ เภอเมืองนครสวรรค จงั หวดั นครสวรรค ๓๖๕ ตวั ศาลหนั หนา ไปทางแมน า้ํ ประวตั คิ วามเปน มาของศาลนไ้ี มม ี หลักฐานปรากฏแนชัดวาสรางข้ึนสมัยใด ใครเปนผูสรางมีเพียงระฆัง โบราณ ซ่ึงจารึกเปนภาษาจีนวานายหงเขียว แซภู แหงหมูบาน เคอจี้ยซัน อําเภอวุนอี้ (ปจจุบันคือวุนซัง) มณฑลไหหนําประเทศ สาธารณรฐั ประชาชนจีน นํามาถวายในป ค.ศ. ๑๘๗๐ ซงึ่ ตรงกับป พ.ศ. ๒๔๑๓ ปลายราชวงศชิง ตรงกบั ตนรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหวั (รัชกาลท่ี ๕) วัดคาทอลิก พระคุณเจามารี มีแชล ลงั เยร (Marie Michel Langer) ได ปกครองดูแลสังฆมณฑลนครสวรรคเปนเวลา ๙ ป จึงไดขอลาพัก เนอ่ื งจากมีปญ หาดานสุขภาพ ประกอบกับสภาสังคายนาวาติกนั ที่ ๒ มีเจตนารมณที่มุงสงเสริมประมุขเขตมิสซังใหเปนคนพื้นเมือง

๖๓๖๔ วิถชี ีวิต วัฒนธรรม อําเภอเมอื งนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค พระคณุ เจามารี มีแชล ลงั เยร (Marie Michel Langer) มีความ ภาคภูมิใจเปนอยางย่ิง กับการไดทําพิธีบวชพระสงฆสังฆมณฑล องคแรก เมอ่ื วนั ท่ี ๑๐ ธนั วาคม ค.ศ.๑๙๗๕ (ซง่ึ ตรงกับวันคลาย วันเกิดของพระคุณเจามารี มีแชล ลงั เยร Marie Michel Langer) คือ คุณพอเบเนดิกต มนัส ศุภลกั ษณ สตั บุรษุ วัดนกั บญุ อันนา นครสวรรค เมอ่ื พระคณุ เจามารี มีแชล ลงั เยร (Marie Michel Langer) ขอลาออก จากตาํ แหนง หนา ท่ี ในป ค.ศ.๑๙๗๖ สภาพระสงั ฆราชแหง ประเทศไทย ไดส นองเจตนารมณโ ดยดาํ เนนิ การทลู เสนอแดอ งคส มเดจ็ พระสนั ตะปาปา เปาโล ที่ ๖ ใหทรงแตงตง้ั คณุ พอยอแซฟ บรรจง อารีพรรค ขณะดาํ รง ตาํ แหนงอธิการสามเณราลยั แสงธรรม สามพราน (Lux Mundi) เปน ประมุขสงั ฆมณฑลนครสวรรค สืบภารกิจตอมา

วิถชี วี ิต วฒั นธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จงั หวัดนครสวรรค ๓๖๗๕ มัสยิด มสั ยิดปากีสถาน จงั หวดั นครสวรรค สถานท่ีตั้งมัสยิด จังหวัดนครสวรรค อยูเลขท่ี ๑๕๔ ตําบล ปากน้ําโพ อําเภอเมืองนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค มีอิหมาม ช่อื นายฮัจญีเปม ปาทาน มีคอเต็บช่อื นายอบั ดุลฮามิ อิบราฮิม มีบิหรั่น ชื่อ นายเมดาร อิสลาม และคณะกรรมการมุสลิมในจังหวดั นครสวรรค

๖๓๘๔ วิถีชวี ติ วฒั นธรรม อาํ เภอเมืองนครสวรรค จังหวดั นครสวรรค มีประมาณ ๘๕ ครอบครัว มีประชากรท่นี บั ถือศาสนาอิสลาม ๑,๒๑๖ คน กระจายอยูในอําเภอตาง ๆ ของจังหวัด แตสวนใหญจะอยูในเขต อําเภอเมืองนครสวรรค ชาวมุสลิมจะเดินทางมารวมกันทําละหมาด วนั ศกุ ร และวนั สาํ คญั ทางศาสนาทม่ี สั ยดิ ปากสี ถานนครสวรรคเ ปน ประจาํ คือ วันฮีดละศีลอด หรือวนั สิ้นสุดการถือศีลอดในเดือนรอมฎอน และ วันอีดกุรบาน คือวันเชือดสตั วพลี

วิถีชวี ิต วัฒนธรรม อําเภอเมอื งนครสวรรค จังหวดั นครสวรรค ๓๖๙๕ ๔บทท่ี ศิลปะทอ งถิน่ ศิลปกรรมสาขาตา งๆ สถาปต ยกรรมอาํ เภอเมือง ๑. จิตรกรรม ภาพเขียนท่เี พดาน ฝาผนัง วิหาร และศาลาวดั เกรียงไกรกลาง เปนภาพท่ีเขียนไดสวยงามมากท่ีสุดแหงหน่ึง ชางท่ีเขียนนาจะเปน ชา งหลวงเพราะดกู ารระบายสี การออกแบบลวดลายมชี อ งไฟสมบรู ณม าก การตัดเสนมีความชํานาญมีพลังออนชอย สมบูรณแบบ ลวดลายนี้ เปนลวดลายไทยผสมผสานกลมกลืนกับลวดลายฝร่ังตะวันตกได สวยงามมาก เปน ลักษณะเดนของลายในสมยั รัชกาลท่ี ๕ เขียนดวย สฝี นุ บนพนื้ ดนิ สอพอง เมด็ มะขาม กาวกะถนิ (กาวหนงั ) ตามอตั ราสว น ตามตองการ

๗๓๐๔ วถิ ีชีวิต วฒั นธรรม อาํ เภอเมอื งนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค ภาพจิตรกรรมฝาผนงั ในศาลาวัดเกรียงไกรกลาง ภาพจิตกรรมบนเพดานในโบสถเ กาวัดเกาะหงส

วถิ ีชวี ิต วฒั นธรรม อาํ เภอเมืองนครสวรรค จงั หวัดนครสวรรค ๗๓๑๕ ภาพจิตรกรรมในพระจุฬามณีเจดีย วัดคีรีวงศ ภาพจิตรกรรมที่บานประตูศาลหลกั เมืองจังหวดั นครสวรรค

๓๗๔๒ วิถชี วี ิต วฒั นธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จงั หวัดนครสวรรค สถาปต ยกรรม ศาลาลม ในวดั ศรสี วรรคส งั ฆาราม(วดั ถอื นาํ้ ) บานไมเ กาแถวตลาดบอ นไก เปน สถาปต ยกรรมทส่ี ถาปนกิ สมยั เกา ของอาํ เภอเมอื งนครสวรรค ไดออกแบบไวเปนบานไมแถวเกา ซึ่งสรางมาเมื่อสมัยรัตนโกสินทร ประมาณป พ.ศ. ๒๔๗๕ ซง่ึ มีโครงสรางเปนบานไม ๒ ชน้ั มีความสูง ประมาณ ๖ เมตร ทางดานหนาชองชั้นบนมีลกู กรงไมทาํ เปน ระเบียบ

วิถชี วี ิต วฒั นธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จงั หวัดนครสวรรค ๓๗๓๕ ย่ืนออกมา ซง่ึ เปน แถวมีแนวยาว หลังคามงุ ดวยสังกะสี โครงสราง สวนใหญจะทํามาจากไม และปจจุบันไดมีการตอเติมบางเล็กนอย ทางดา นหลงั แตจ ากคาํ บอกเลา ของผทู เ่ี ชา อาศยั อยู และเจา ของบา นไม บอกวา ประวตั คิ วามเปน มานนั้ ไมแ นน อน เพราะวา ไดซ อ้ื ขายกนั ตกทอด มาหลายชวงจึงสรุปไมไดวาเจาของเดิมคือใคร ประติมากรรม วัดจอมคีรีนาคพรต ท่ตี ง้ั อําเภอเมืองนครสวรรค จังหวดั นครสวรรค วัดจอม คีรีนาคพรต เปนวดั โบราณ เดิมชอ่ื “วดั ล่นั ทม” ชาวบานเรียกกันวา วัดเขาบาง วัดเขาบวชนาคบาง เพราะเดิมในจังหวดั นี้มีบวชนาคกนั ได เพียงวัดเดียวเทาน้ัน ตอมาพระบาทสมเด็จพรจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี ๕ ทรงพระราชทานนามวัดน้ีใหมวา “วัดจอมคีรีนาคพรต” วัดนี้มีวัตถุโบราณที่เกาแกและมหัศจรรย พรอมทั้งความศักด์ิสิทธิ์ ทขี่ จรขจายไปท่ัว

๗๓๔ วถิ ชี ีวิต วฒั นธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค โบสถเทวดาสราง พระประธานในอโุ บสถวัดจอมคีรีนาคพรต

วิถีชีวิต วัฒนธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค ๗๓๕ หนาบันไมส กั แกะสลัก รปู พระราชรัญจกรประจําพระองค รชั กาลท่ี ๔ ภาพหนาบนั ไมส กั แกะสลัก รปู พระสัญลกั ษณป ระจาํ พระองค พระบาทสมเด็จพระปนเกลา เจาอยหู ัว

๓๗๖๔ วถิ ีชีวิต วฒั นธรรม อาํ เภอเมอื งนครสวรรค จงั หวดั นครสวรรค วดั วรนาถบรรพต วัดวรนาถบรรพต อยูในเขตเทศบาลนครนครสวรรค เปน พระอารามหลวง มีโบราณสถานและโบราณวัตถุ และศิลปกรรม ทีห่ ลากหลายเชน ลายไมล ักแกะสลักทําเปนชองลม ในกุฏิ กาํ ปน นาคประเสริฐ อนุสรณ วดั วรนาถบรรพต

วถิ ีชีวติ วัฒนธรรม อาํ เภอเมืองนครสวรรค จังหวดั นครสวรรค ๓๗๕๗ ภาพไมล ักแกะสลักลวดลายงดงาม ปจจบุ นั อยใู นกฏุ ิ วดั วรนาถบรรพต ภาพแกะสลกั ไมประดู ทําเปนบานประตูวิหาร วดั บา นมะเกลือ

๓๗๔๘ วถิ ชี วี ติ วัฒนธรรม อําเภอเมอื งนครสวรรค จงั หวดั นครสวรรค วัดเกาะหงส อยใู นเขตตาํ บลตะเคยี นเลอ่ื น อาํ เภอเมอื งนครสวรรค ภายในวดั มีแหลงโบราณสถานเชน โบสถเกา เจดีย มีส่งิ แปลกคือพระสงั กัจจาย ยืน และมีการรักษาโรคดวยวิธีการเหยียบฉา ประตมิ ากรรมนารายณท รงครฑุ บนหนา บนั โบสถเ กา วดั เกาะหงส พระพุทธบาทส่รี อย ประติมากรรมบนผนังโบสถเกา วัดเกาะหงส

วิถชี ีวติ วัฒนธรรม อาํ เภอเมอื งนครสวรรค จังหวดั นครสวรรค ๗๓๙๕ วัดนครสวรรค พระพุทธรปู องคใ หญ ๒ องค น่ังหันหลังใหก ัน วดั นครสวรรค ทตี่ งั้ อาํ เภอเมอื งนครสวรรค จงั หวดั นครสวรรค เจาอาวาส (ปจ จบุ ัน) พระราชปริยัติ วัดนครสวรรค เปนวัดโบราณ เดิมชอ่ื “วัดหวั เมือง” ประติมากรรม : แบบรปู ปน ลอยตัว

๘๓๐๔ วิถีชีวิต วัฒนธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค วดั เข่อื นแดง วดั เขอ่ื นแดงทต่ี งั้ บา นตะเคยี นเลอื่ น ตาํ บลตะเคยี นเลอ่ื น อาํ เภอ เมอื งนครสวรรค จงั หวดั นครสวรรค เจา อาวาส (ปจ จบุ นั ) พระครนู ทิ ศั น สริ วิ รรณ ประติมากรรมลอยตวั หนา บันวิหารวดั เขอื่ นแดง ประติมากรรมบนซุมเสมาวัดเขอ่ื นแดง

วถิ ีชวี ติ วัฒนธรรม อําเภอเมอื งนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค ๓๘๕๑ ศิลปะการแสดงพ้นื บาน ลิเก การแสดงลิเกในเขตอําเภอเมืองนครสวรรค ต้ังแตอดีตจนถึง ปจจุบัน โดย นายไพศาล เข็มกลัด ประธานชมรมอนุรักษลิเกไทย จังหวดั นครสวรรค อายุ ๗๘ ป อยูบานเลขท่ี ช. ๓๙/๗๒ ซอยสวรรค วิถี ๑๘ ตําบลปากนํ้าโพ อําเภอเมืองนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค เลาวาในซอยสวรรควิถี ๑๘ ตําบลปากนํ้าโพ อาํ เภอเมืองนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค เปนแหลงที่อยูอาศัยของคณะลิเกเปนจํานวนมาก นเี่ อง จึงเรียกชอ่ื ซอยนี้วา “ตรอกลิเก” ทช่ี าวบานเรียกขานจนติดปาก และเปน ทรี่ จู กั วา ตรอกลเิ กมากกวา ทจ่ี ะเรยี กซอยสวรรคว ถิ ี ๑๘ ในซอย ดังกลาว อดีตเคยเปนท่ีต้ังของสนามมวยภาค ตรอกลิเกนี้มีคณะลิเก อาศยั อยูประมาณ ๓๐ คณะ เปนชุมชนใหญ อยูกลางเมืองปากนํ้าโพ

๓๘๒๔ วถิ ชี วี ิต วัฒนธรรม อาํ เภอเมอื งนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค ลิเกยุคพัฒนาปจจุบันการแสดงลิเกมีคนนิยมนอยลงเพราะ มีสื่อการบันเทิงอื่น ๆ มากขึ้นเชนโทรทัศน คอมพิวเตอรสามารถดูได ตลอดเวลา สะดวกสบาย ลงทุนนอย การแสดงลิเกเริ่มซบเซาลงกวา ในอดีต แตลิเกกม็ ิไดหยุดนง่ิ ยังพฒั นาการแสดง การแตงกาย พฒั นา รปู แบบการสรา งเวทลี เิ ก ตกแตง ฉาก ใหท นั สมยั ตามยคุ กระแสโลกาภวิ ตั น โดยปจจุบันมีการสรางเวทีลอยฟา ตกแตงฉากมีภาพทิวทัศนตาม สถานการณแ ตล ะทอ ง ซง่ึ ยงิ่ ใหญอ ลงั การณม ากขน้ึ มที ง้ั ฉากนามคณะ ฉากบน ฉากลาง และฉากตั้ง เปนการละเลนท่ีมีมาตั้งแตสมัยรัชกาล ที่ ๕ ในอดีตมีผูนิยมชมลิเกกนั มาก แตปจจบุ นั มีสอ่ื และเทคโนโลยีอ่นื ๆ ที่สามารถใหการบันเทิงไดหลายรูปแบบ ทําใหประชาชนนิยมชมลิเก ลดลงไปบาง สําหรับอําเภอเมืองนครสวรรค นับวาเปนอําเภอที่มี คณะลิเกมากท่ีสุดในจังหวัดนครสวรรค ผูที่เปนประธานชมรมลิเก จงั หวดั นครสวรรค คือ นายไพศาล เขม็ กลดั หวั หนาลิเกคณะไพศาล เพียรศิลป

วิถีชีวติ วฒั นธรรม อาํ เภอเมอื งนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค ๓๘๕๓ เวทีการแสดงลิเก นิยมเรียกวาเวทีลอยฟา ซงึ่ มีความกวางและ ยาวมาก ชดุ นาฎดนตรีจะอยชู ้นั บน ผแู สดงอยูช ัน้ ลาง

๓๘๔ วถิ ีชวี ิต วัฒนธรรม อําเภอเมอื งนครสวรรค จังหวดั นครสวรรค การแสดงหุน กระบอก หนุ กระบอกทม่ี ชี อื่ เสยี งของจงั หวดั นครสวรรค ไดแ ก หนุ กระบอก ของแมรําไพ รุงรัตน และ หุนกระบอกของแมเชวง ออนละมาย แมร าํ ไพ รงุ รตั นไ ดเรม่ิ หดั เชดิ หนุ กระบอกมาตง้ั แตเ ดก็ ๆ กบั มารดา คอื นางสาย รุงรัตน มีความพยายามมานะอดทนและขยันขันแข็งในการ ทาํ งาน อกี ทงั้ ยงั มเี ลอื ดศลิ ปน และมพี รสวรรคใ นการเชดิ หนุ ไมว า มารดา จะไปเชดิ หนุ กระบอกทไ่ี หน แมร าํ ไพจะเปน ผใู กลช ดิ และตดิ ตามเปน ประจาํ ซ่ึงขณะนั้นมีช่ือคณะวา “หุนกระบอกแมสาย” การที่แมรําไพติดตาม ผูเปน มารดาออกแสดงเปน ประจาํ นน้ั จึงทําใหเกิดความชํานาญในการ เชิดหุนเพิ่มมากขึ้นเร่อื ย ๆ

วิถีชีวิต วัฒนธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จงั หวัดนครสวรรค ๓๘๕ หลังจากมารดาเสียชีวิตแลว แมรําไพซ่ึงเปนบุตรและมีใจรัก ศิลปะการแสดงการเชิดหุนกระบอกไดสืบทอดการแสดงหุนกระบอก จากมารดาตอ มาภายหลงั ไดเ ปลย่ี นชอ่ื เปน “หนุ กระบอกคณะแมร าํ ไพ” จึงถือไดวานางราํ ไพ รุงรตั น เปน ศิลปนผูหนงึ่ ที่มีจิตใจมุงมัน่ ในอนั ทจี่ ะ รักษามรดกอันลํ้าคาในการเชิดหุนกระบอกไว หุนกระบอกคณะแมเชวง ออนละมาย เปนหุนกระบอก คณะแรกของเมืองไทย ท่ีมีประวัติสืบทอดมาตั้งแตสมัยรัชกาลท่ี ๕ ประมาณกวา รอ ยปม าแลว โดยนายเหนง เปน เจา ของหนุ และไดถ า ยทอด แกลูกหลาน ปจจุบันไดเปล่ียนช่ือคณะตามเจาของหุนผูไดรับสืบทอด เปน “หุนกระบอกคณะแมเชวง ออนละมาย” ตั้งแตเมือ่ คราวไปแสดง ทศ่ี นู ยว ฒั นธรรมแหง ประเทศไทย ในงานมหรสพหนุ ไทยเมอื่ วนั ท่ี๒๕- ๓๑ มีนาคม ๒๕๓๕ เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

๓๘๖๔ วถิ ชี ีวติ วฒั นธรรม อาํ เภอเมอื งนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค สยามบรมราชกุมารี เนื่องในวันอนรุ ักษมรดกไทย ผูทเี่ ชิดหุนรวมกนั มา โดยตลอด มีดวยกัน ๓ คน คือ แมองุน เอี่ยมวิไล แมสะอาด คุมเขต และแมเลก็ หงสทอง หุนกระบอกคณะแมเชวง กค็ ือมหรสพชนิดหนง่ึ ซ่ึงแสดงในทุกโอกาสและแสดงมาแลวเกือบทุกจังหวัด ทั้งงานพิธีการ และท่ัวไป โดยเฉพาะถาผูจัด(เจาภาพ) มีความมุงหมายจะจัดแสดง มหรสพที่มีครบทุกประเภท เรื่องที่แสดงสวนมากจะเปนพระอภัยมณี เปนอนั ดบั แรก เรือ่ งอื่น ๆ ไดแก ขุนชางขนุ แผน แกวหนามา สังขทอง เปนตน ละคร การแสดงละคร ในเขตอาํ เภอเมอื งนครสวรรค มกี ารแสดงละคร มาตั้งแตสมัยรัชกาลท่ี ๕ ซงึ่ ชาวบานท่มี ากราบไหวหลวงพอศรีสวรรค แลว นิยมบนบานสานกลาว ขอใหหลวงพอศรีสวรรคชวยดลบนั ดาลให ประกอบกิจทีต่ นปรารถนาไดสาํ เร็จ เมื่อสมใจนึกแลว ชาวบานจึงกลับ มาแกบนโดยนาํ พวงมาลัยมาถวาย หรือใหแสดงละครถวาย ตามที่ตน ไดขอไว ละครจะมีแสดงทุกวัน

วิถีชีวติ วฒั นธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จงั หวดั นครสวรรค ๘๓๗๕ ภาพโรงละครในวดั นครสวรรค ภาพนางละครกาํ ลงั ทาํ พิธีไหวค รู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook