Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เมืองนครสวรรค์

เมืองนครสวรรค์

Published by boonkamon65, 2021-02-14 03:33:42

Description: เมืองนครสวรรค์

Search

Read the Text Version

วิถีชีวิต วฒั นธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จงั หวดั นครสวรรค ๓๕ วิถีชีวิต วัฒนธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จังหวดั นครสวรรค

๓๔ วถิ ชี ีวิต วฒั นธรรม อาํ เภอเมอื งนครสวรรค จังหวดั นครสวรรค

วถิ ีชีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอเมืองนครสวรรค จังหวดั นครสวรรค ๓๕ คาํ ปรารภ อธิบดีกรมสง เสริมวัฒนธรรม วัฒนธรรมเปนสิ่งท่ีแสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเปน ระเบียบ เรียบรอย เปน มรดกทางสังคมไทย ทบี่ รรพบรุ ุษไดสรางสรรค และสั่งสมมาต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบัน ถายทอดจากรุนสูรุน มีขนบธรรมเนียมประเพณีอันเปนที่ยอมรับรวมกันในสังคมนั้นๆ ศิลปวัฒนธรรมของไทย มีความแตกตางกันในแตละทองถ่ิน ทั้ง ขนบธรรมเนียมประเพณี ภาษาพูด ภาษาเขียน การแตงกาย อาหาร วิถีชีวิต และความเชื่อ ซึ่งมีเอกลักษณเฉพาะที่บงบอกถึงคานิยม ความเช่ือ ศาสนา วิถีชีวิตความเปนอยู ตลอดจนสภาพแวดลอมของ ผูคนในทองถน่ิ แสดงใหเหน็ ถึงความเจริญรุงเรืองทางวัฒนธรรมทแ่ี ฝง ไปดวยภูมิปญญา และความเปนชาติที่มีอารยธรรมเกาแกมาชานาน จนกลายเปน รากฐานขององคค วามรทู างศลิ ปวฒั นธรรม และภมู ปิ ญ ญา ในดานตางๆ ทม่ี ีคณุ คาของไทย ในการนี้ เพื่อประโยชนในการอนุรักษหรือฟนฟูจารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถ่ิน ศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของทองถ่ินและของชาติ และประสานการดาํ เนนิ งานวฒั ธรรมซง่ึ ภาคประชาสงั คม และประชาชน มสี ว นรว ม กรมสง เสรมิ วฒั นธรรม จงึ ไดใ หก ารสนบั สนนุ สภาวฒั นธรรม จังหวัดนครสวรรค ดําเนินการจัดทําหนังสือวิถีชีวิตวัฒนธรรมอําเภอ

๓๔ วถิ ชี ีวิต วัฒนธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จงั หวดั นครสวรรค ตางๆ ในจงั หวดั นครสวรรค เพ่ือรวบรวมและเผยแพรขอมูลซ่งึ เปน ทุน ทางวัฒนธรรมของจังหวดั นครสวรรค เพอ่ื ใหเกิดประโยชนสําหรบั เด็ก เยาวชน และบุคคลท่ัวไป ไดศึกษาและรวมภาคภูมิใจในวัฒนธรรม ทองถิ่น จนกอใหเกิดความรัก ความภาคภูมิใจในมรดกทางวัฒนธรรม ของตน ตระหนักและเห็นคุณคาของวัฒนธรรมทองถิ่น ปลูกจิตสํานึก ความรักชาติ รักถิ่น รักแผนดินนครสวรรค และรวมอนุรักษสืบสาน วฒั นธรรมเหลานี้ใหอนชุ นคนรุนหลังสืบตอไป (นายชาย นครชยั ) อธิบดีกรมสงเสริมวัฒนธรรม

วิถีชวี ติ วัฒนธรรม อาํ เภอเมอื งนครสวรรค จงั หวดั นครสวรรค ๓๕ คาํ นิยม ผูวาราชการจงั หวดั นครสวรรค การจัดทาํ หนงั สือ วิถีชีวิต วัฒนธรรมอาํ เภอตางๆ ของจงั หวดั นครสวรรค เปนการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม เพ่ือใหเกิด การสบื สาน และการสรา งองคค วามรทู างดา นวฒั นธรรมนบั เปน พนั ธกจิ ท่ีสําคัญของงานวัฒนธรรม การที่กรมสงเสริมวัฒนธรรม สนับสนุน ใหส ภาวฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรคร ว มกบั สาํ นกั งานวฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรค ดําเนินการจัดทําหนังสือวิถีชีวิต วัฒนธรรมอําเภอ ๑๕ อาํ เภอ ในจงั หวดั นครสวรรค เพอ่ื ดแู ลรกั ษา สบื สานมรดกทางวฒั นธรรม และเผยแพรขอมูล ซึ่งเปนทุนทางวัฒนธรรมของจังหวัดนครสวรรค ขอมูลดังกลาวไดมาจากการสังเคราะหและเรียบเรียงเนื้อหาจาก คณะกรรมการสภาวฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรค นกั วชิ าการสาํ นกั งาน วฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรค และผมู คี วามรทู ห่ี ลากหลาย โดยรวบรวม ประวัติ ตํานาน ชุมชนดั้งเดิมโบราณสถาน-โบราณวัตถุ ศาสนา และความเช่ือ บุคคลสําคัญทางศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมทองถ่ิน รกุ ขมรดก แหลงทองเท่ยี วเชิงวฒั นธรรม บุคคลผูทําคณุ ประโยชนดาน วฒั นธรรมทค่ี วรยกยอ งอนั สะทอ นถงึ วฒั นธรรมของจงั หวดั นครสวรรค ซ่ึงจะเปนประโยชนตอการสืบคน การเก็บรวบรวมเรื่องราวตางๆ ใน รูปแบบหนังสือ บนั ทึกลงแผนซีดี และจัดทาํ QR Code

๓๔ วถิ ชี ีวติ วัฒนธรรม อาํ เภอเมอื งนครสวรรค จงั หวดั นครสวรรค ในนามของจังหวัดนครสวรรค ขอแสดงความชื่นชมและขอ ขอบคุณคณะกรรมการสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค นักวิชาการ วัฒนธรรม สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค และผูเก่ียวของ ทไ่ี ดทุมเทแรงกาย แรงใจในการจดั ทาํ หนงั สือวิถีชีวิต วฒั นธรรมอาํ เภอ ๑๕ อําเภอ จงั หวดั นครสวรรค เพ่อื อนรุ กั ษและเผยแพรขอมูล อันจะ เปนประโยชนตอคนรุนหลงั ตอไป (นายอรรถพร สิงหวิชยั ) ผูวาราชการจังหวัดนครสวรรค

วิถชี ีวิต วัฒนธรรม อําเภอเมอื งนครสวรรค จงั หวัดนครสวรรค ๓๕ คํานิยม วัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค หนังสือวิถีชีวิต วฒั นธรรมของแตละอําเภอนี้ เปนการรวบรวม ขอมลู ความรตู างๆ ทเ่ี ปน เรอ่ื งราวของทองถนิ่ ทมี่ ีมาอยางยาวนาน ดาน ศิลปะและวัฒนธรรม วิถีชีวิต ประเพณี ชุมชนด้ังเดิม โบราณสถาน โบราณวตั ถุ ความเปน อยทู ส่ี อ่ื การรกั ษาอารยธรรมของบรรพบรุ ษุ ทเี่ ปน เอกลักษณของแตละอําเภอไว เพื่อใหคนรุนหลังไดเรียนรู ไดสืบทอด และตอยอดทางวฒั นธรรม กระผมตองขอขอบคุณและชื่นชมนักวิชาการวัฒนธรรม ผูประสานงานประจําอําเภอทุกทาน ผูเกี่ยวของทุกฝายทุกทานท่ีไดให ขอมูล คําแนะนํา ขอเสนอแนะ ที่เปนประโยชนในการจัดทําหนังสือ ในครง้ั นี้ เพอ่ื เกบ็ รวบรวมขอ มลู จนสาํ เรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงคข องโครงการ ทายน้ีหวังเปนอยางย่ิงวาหนังสือเลมนี้จะเปนประโยชนในการ ศึกษาคนควา สาํ หรับ นกั เรียน นักศึกษา ประชาชน และผูสนใจทั่วไป และขอใหทุกทานรวมอนุรักษสืบสานวัฒนธรรม ประเพณีของทองถิ่น นั้นไวใหคงอยูกบั ลูกหลานสืบไป (นายประสิทธ์ิ พุมไมชยั พฤกษ) วัฒนธรรมจังหวดั นครสวรรค

๓๔ วถิ ชี ีวิต วฒั นธรรม อาํ เภอเมอื งนครสวรรค จังหวดั นครสวรรค

วถิ ชี วี ิต วฒั นธรรม อําเภอเมอื งนครสวรรค จงั หวัดนครสวรรค ๓๕ คํานาํ ประธานสภาวฒั นธรรมจงั หวัดนครสวรรค วัฒนธรรม หมายถึงวิถีการดําเนินชีวิต ความคิด ความเชื่อ คานิยม จารีตประเพณี พิธีกรรม และมรดกภมู ิปญ ญา ซึง่ กลุมคนและ สังคมไดรวมกันสรางสรรค สั่งสม ปลูกฝง เรียนรู สืบทอด ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง เพ่ือใหเกิดความเจริญงอกงาม ท้ังดานจิตใจและวัตถุ ใหเกิดสนั ติสขุ และความยงั่ ยืนสืบไป หนังสือวิถีชีวิต วัฒนธรรมเลมน้ี มาจากการสังเคราะหและ เรยี บเรยี งเนอื้ หาจากนกั วชิ าการสาํ นกั งานวฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรค และคณะกรรมการสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค ซ่ึงแบงออก เปน เลม เลมละ ๑ อาํ เภอ รวม ๑๕ เลม ๑๕ อาํ เภอ เนื้อหาไดแก ประวตั ิ ตาํ นาน สภาพปจ จบุ ัน ชุมชนด้ังเดิม ศิลปะทองถิ่น วฒั นธรรมทองถ่นิ แหลงทองเทย่ี วเชิงวฒั นธรรม บคุ คลผูทําคณุ ประโยชนดานวัฒนธรรม ที่ควรยกยองในอําเภอตางๆ ของจังหวัดนครสวรรค จัดทําในรูปแบบ หนงั สอื แผน ซดี ี และจดั ทาํ QR Code ทงั้ นไ้ี ดร บั การสนบั สนนุ งบประมาณ จากกรมสงเสริมวัฒนธรรม โดยความรวมมือของจังหวัดนครสวรรค เปนอยางดีย่งิ หวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือวิถีชีวิตวัฒนธรรมอําเภอเลมนี้ จะเปนประโยชนแกนักเรียน นักศึกษา ประชาชนทั่วไป และขอใหเรา

๓๔ วิถีชีวิต วัฒนธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จงั หวัดนครสวรรค ชวยกันสงเสริม อนรุ ักษ วฒั นธรรมใหเจริญงอกงามย่งิ ขึ้น ขอขอบคุณ ผูเก่ียวของ ที่ใหขอมูลทุกทาน ลวนเปนผูกอใหเกิดความสําเร็จในการ จัดทําหนังสือในคร้ังนี้ หนังสือวิถีชีวิตวัฒนธรรม เลมนี้จึงถือไดวา มี คณุ คาอยางยงิ่ เปนสมบตั ิของเราชาวจงั หวัดนครสวรรคตอไป (นายนทั ธี พคุ ยาภรณ) ประธานสภาวฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรค

วถิ ีชีวติ วัฒนธรรม อาํ เภอเมอื งนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค ๓๕ สารบัญ หนา เร่อื ง ๑ ๔ บทท่ี ๑ ประวัติ ตาํ นาน คําขวญั และสภาพปจจุบัน ๒๑ ประวัติ ๓๑ ตาํ นาน คําขวัญ ๓๕ สภาพปจจุบนั ๓๙ บทที่ ๒ ชุมชนดง้ั เดิม ๔๓ ชุมชนดั้งเดิม ๔๙ บทที่ ๓ ศาสนาและความเชอ่ื ๖๙ ความเช่อื ๘๑ บคุ คลสาํ คัญทางศาสนา ศาสนสถาน บทที่ ๔ ศิลปะทองถ่นิ ศิลปกรรมสาขาตางๆ ศิลปะการแสดง

๓๔ วิถีชีวิต วฒั นธรรม อาํ เภอเมืองนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค บทที่ ๕ วฒั นธรรมทอ งถ่นิ ๙๑ วิถีชีวิต ๙๒ การแตงกาย ๙๙ อาชีพ ๑๑๒ รุกขมรดก ๑๑๕ บทที่ ๖ แหลงทอ งเท่ยี วเชิงวัฒนธรรม สถานท่ี ๑๒๓ ๑๒๕ บทที่ ๗ บคุ คลผูทําคณุ ประโยชนด านวัฒนธรรม ๑๒๗ ท่คี วรยกยอง ๑๒๘ นายกรุณา กุศลาสัย นายแพทย ขุนวิวรณสขุ วิทยา นายนทั ธี พุคยาภรณ นางชะเวง ออนละมาย บรรณานุกรม ภาคผนวก

วิถชี วี ติ วัฒนธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จงั หวัดนครสวรรค ๑๓๕ ๑บทท่ี ประวตั ิ ตาํ นาน คาํ ขวญั และสภาพปจ จบุ นั ประวตั ิอาํ เภอเมือง ประวัติ ประวตั ทิ วี่ า การอาํ เภอเมอื งนครสวรรคสรา งขน้ึ เมอื่ รตั นโกสนิ ทร ศก ๑๑๘ (พ.ศ. ๒๔๔๒) ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหต้ังเม่ือ พุทธศักราช ๒๔๔๐ โดยหลวงสรรพากร เปนผูกอสรางที่วาการ อําเภอเมืองนครสวรรค ข้ึนในหมูท่ี ๔ ตําบลบานแกง เรียกช่ือ อําเภอวา “อําเภอบานแกง” ผูดํารงตําแหนงนายอําเภอเมือง นครสวรรค คนแรก และเปน ผสู รา งทว่ี า การอาํ เภอเมอื งนครสวรรค คือ “ขนุ ทิพยบุรีรักษ” คร้นั เม่ือ พ.ศ. ๒๔๘๒ ทางราชการไดเ ปล่ยี น ช่ืออําเภอซึ่งเปนท่ีต้ังศาลากลางจังหวัดใหเปนช่ือเดียวกับจังหวัด จึงเรียกช่อื อาํ เภอนี้วา “อําเภอเมืองนครสวรรค”

๓๒๔ วิถชี วี ิต วัฒนธรรม อําเภอเมอื งนครสวรรค จังหวดั นครสวรรค ศาลากลางจังหวดั นครสวรรค เมอื่ พ.ศ. ๒๔๙๗ ทางราชการเหน็ วา ทต่ี ง้ั อาํ เภอเมอื งนครสวรรค คบั แคบ ไมเ หมาะสมและตวั อาคารชาํ รดุ ทรดุ โทรมมาก มอี ายปุ ระมาณ ๕๐ ปกวาแลว การคมนาคม ซ่ึงแตเดิมใชทางนํ้า ตอมาใชทางบก สะดวกกวา จึงไดยายมาสรางท่ีริมถนนมาตุลี ซ่ึงเปนที่วาการอําเภอ เมืองนครสวรรคในปจจุบัน ผูดํารงตําแหนงนายอําเภอและผูกอสราง ทวี่ า การอาํ เภอขณะนนั้ (ตอนวางศลิ าฤกษ) คือนายเกรนิ่ สขุ โี มกข และ นายกิตติ กรินทสุทธิ์ การกอสรางเปน อาคารตึกใชงบประมาณแผนดิน ดาํ เนนิ การ ๒๕๐,๐๐๐ บาท และราษฎรสมทบ จาํ นวน ๑๔๐,๐๐๐ บาท

วิถชี ีวติ วัฒนธรรม อาํ เภอเมืองนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค ๓๕ รวมใชง บประมาณในการกอ สรา งทงั้ สน้ิ เปน เงนิ ๓๙๐,๐๐๐ บาท สาํ หรบั การปรับปรุงที่วาการอําเภอ ไดมีการซอมแซมปรับปรุงมาโดยตลอด ในป ๒๕๓๒ ไดทําการทาสีท้ังอําเภอและหองประชุม ประจําอําเภอ ส้ินงบประมาณทั้งส้ิน ๑๔๓,๐๐๐ บาทและในป ๒๕๔๘ ไดทําการ ปรับปรุง ทีว่ าการอาํ เภอเมืองนครสวรรค อีกคร้ังหน่งึ ภาพทว่ี าการอําเภอเมืองปจจบุ นั

๓๔ วถิ ชี ีวติ วฒั นธรรม อาํ เภอเมืองนครสวรรค จงั หวดั นครสวรรค ตํานานอําเภอเมือง ตํานานเมืองปากนาํ้ โพ หรือเมืองนครสวรรค นามปากน้ําโพ เปนทร่ี ูจกั ของคนท่วั ไปเกือบเทา ๆ กับนามของ จังหวัดนครสวรรค ในฐานะที่ปากน้ําโพเปนศูนยกลางการคาท่ีสําคัญ แหงหน่ึงมาชานานนับไดเปนรอยปทีเดียว เปรียบเสมือนเปนประตู การคาระหวางทางเหนือกบั ทางใต เปน ศนู ยกลางการคา การคมนาคม การศึกษา ฯลฯ นามปากนา้ํ โพน้ี มที มี่ าหลายสถานซง่ึ กม็ เี หตผุ ลกนั คนละแงม มุ ประเด็นแรกกลาวกันวา ปากน้ําโพ มาจากคําวา “ปากน้ําโผล” ตาม สาํ เนียงทางเหนือแลวตอมาเพี้ยนเปน “ปากนํ้าโพ” อีกประเดน็ หน่งึ กลาววา “ปากนํ้าโพ” มาจากคําวา โพธ์ิ เพราะ มตี น โพธข์ิ นาดใหญอ ยตู รงปากแมน าํ้ เมอื่ ชาวเรอื ลอ งผา นมาจะตอ งมอง เหน็ ตนโพธ์ใิ หญตนนี้ ยืนทมึนอยู และมีวดั หน่งึ ต้ังอยู คือ “วดั โพธ์”ิ ใน สาสน สมเดจ็ กลา วไวว า เปน วดั ทท่ี าํ บญุ ของชาวเมอื งลอย (ชาวปากนาํ้ โพ) จึงมีชื่อตามช่ือตนโพธิ์หรือชื่อวัดโพธ์ิวา “ปากนํ้าโพธ์ิ” ตอมาไดกลาย เปน “ปากนาํ้ โพ” ในหนงั สอื อกั ขรานกุ รมภมู ศิ าสตรฉ บบั ราชบณั ฑติ ยสถาน กลาววา แมน้ําแควปง ต้ังแตตรงท่แี มน้ําวงั กบั แมนํ้าปงรวมกันทอ่ี ําเภอ สามเงา จังหวัดตากลงมาจนถึงแมน้ําเจาพระยา สมัยโบราณมีช่อื เรียก อีกอยางหนง่ึ วา “แมน้ําโพ” ฉะนัน้ ตรงที่แมนํ้าแควปง หรือแมนํ้าโพกบั

วถิ ีชวี ิต วฒั นธรรม อาํ เภอเมืองนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค ๓๕๕ แมนํ้าแควใหญเรียกวา “ปากนํา้ โพ” ปากน้ําโพเปน ศนู ยกลางการคามา ตั้งแตอดีตกาล ตามบนั ทกึ ของสมเดจ็ กรมพระเจา บรมวงศเ ธอกรมพระยาดาํ รง ราชานภุ าพ จะเหน็ ไดว า ปากนา้ํ โพเปน ศนู ยก ลางการคา ของทง้ั ทางเมอื ง เหนอื และทางเมอื งใต มาแตอ ดตี กาล เปน ทรี่ วมแลกเปลย่ี นสนิ คา ซงึ่ กนั และกัน แตเดิมทาํ การคาขายและอาศยั อยูในนา้ํ มีสภาพเปนเมืองลอย ตอมาจึงไดเกิดตลาดขึ้นบนบกกระทัง่ ปจ จบุ ัน รปู เมืองปากนํ้าโพ

๓๖๔ วถิ ชี ีวติ วัฒนธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จังหวดั นครสวรรค ตํานานเขากบ เขากบเปนชื่อภูเขาอยูในอําเภอเมืองนครสวรรค จังหวัด นครสวรรค สูง ๑๒๗ เมตรและเปนช่ือวัดเรียกวาวัดกบ หรือ วดั เขากบ ตามชอื่ ภเู ขาทวี่ ดั ตงั้ อยู ปจ จบุ นั เรียกชอ่ื “วดั วรนาถบรรพต” เปน วดั โบราณท่สี รางในสมยั สโุ ขทัย มีตํานานเรอ่ื งเขากบวา ครงั้ หนง่ึ เมอ่ื ประมาณ พ.ศ.๒๔๖๐ มพี ระภกิ ษรุ ปู หนง่ึ ชอ่ื “ทอง” คนทั่วไปเรียกกันวา “หลวงพอทอง” หลวงพอทองไดเดินธุดงคมา ปก กลดอยทู ขี่ า งหมบู า นแหง หนง่ึ ในบรเิ วณเชงิ เขา ทกุ เชา หลวงพอ ทอง จะออกบณิ ฑบาตเพอื่ โปรดสตั วท ว่ั ไป วนั หนง่ึ หลวงพอ ไดเ ดนิ ทางเขา ไป ในดินแดนซงึ่ มีเจดียใหญเกาแกมากสนั นิษฐานวาคงเปน เจดียทไี่ ดสราง

วถิ ีชวี ติ วัฒนธรรม อําเภอเมอื งนครสวรรค จงั หวดั นครสวรรค ๗๓๕ ขึ้นมาแตคร้ังกรุงสุโขทยั หลวงพอมีความสนใจในสถานที่แหงนี้มาก จึง ตรงไปในบา นหลงั เลก็ ๆ ในบริเวณนนั้ หลวงพอจงึ ถามวา “โยมชอื่ อะไร ที่ดินแปลงนี้เปนของใครละโยม” ตาจึงตอบวา “พระคุณเจา ตวั ฉันช่ือ ตากบ อยูดวยกนั กับ ยายเขียด ท่ีแหงนี้เปนของฉนั เอง มีอยูประมาณ รอยไรเศษ มีบริเวณกวางคลมุ ไปทั่วยอดเขา และเจดียน้ันเปน เจดียเกา แก ประชาชนในยานนี้นับถือกันมาก หากหลวงพอประสงคจะใชที่ดิน แหง นเ้ี ปน ทพ่ี าํ นกั อาศยั ฉนั กย็ นิ ดจี ะถวายใหเ ปน ทส่ี รา งวดั เพราะฉนั กบั ยายกแ็ กมากแลว”

๓๘๔ วถิ ชี ีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอเมอื งนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค หลวงพอทองไดรับถวายท่ีดินท้ังหมด จากตากบ ยายเขียด ตอมาไดขอแรงชาวบานบริเวณนั้นใหชวยกันปลูกสรางกุฏิหลังเล็กๆ เพอื่ จาํ พรรษาเปน การถาวร เมอื่ สรา งกฏุ เิ สรจ็ แลว ชาวบา นไดร ว มใจกนั สรางอุโบสถและศาลาข้ึนอีก เพ่ือใหญาติโยมใชประกอบกิจพิธีทาง พระพทุ ธศาสนาครน้ั เวลาตอ มา ตากบยายเขยี ดถงึ แกก รรม หลวงพอ ทอง นึกถึงคุณความดีของตากบยายเขียด จึงไดจัดการฌาปนกิจศพให พรอ มทง้ั ไดห าชา งมาปน รปู จาํ ลองของตากบ ยายเขยี ดตงั้ ไวห นา อโุ บสถ ซึ่งปรากฏใหเหน็ อยูทกุ วันนี้ ภาพรูปปนตากบ ภาพรูปปน ยายเขียด

วถิ ีชวี ิต วฒั นธรรม อําเภอเมอื งนครสวรรค จังหวดั นครสวรรค ๓๙๕ หลังจากตากบ ยายเขียด ถึงแกกรรมแลว จึงไดมีการกาํ หนด ท่ีดินทั้งหมดเปนที่ดินของวัดและต้ังช่ือวัดน้ีวา “วัดกบ” ตามช่ือของ เจาของท่ีดิน ท่ีดินแปลงน้ีมีคูนํ้าลอมรอบบนไหลเขาเต็มไปดวยไมรวก ถึงฤดูฝนชาวบานจะพากันข้ึนเขาเพื่อเก็บหนอไม เน่ืองจากเชิงเขากบ มีปาไมสักมากมาย หลวงพอจึงตั้งช่อื วดั ใหมวา “วดั กบทราวสีจอมคีรี

๑๓๐๔ วิถีชวี ติ วฒั นธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จงั หวดั นครสวรรค ณ ปาสัก” ตอมาในสมยั หลงั ๆ นี้ไดมีการเปล่ยี นชือ่ วัดใหมอีกครั้งหน่งึ วา ”วดั วรนาถบรรพต” ซ่ึงมาจากคําวา “วร” แปลวา ยอดเยีย่ ม , ประเสริฐ “นาถ” แปลวา ท่พี ง่ึ “บรรพต” แปลวา ภเู ขา รวมความแปล ไดวา “ภูเขาทเ่ี ปน ที่พ่ึงอนั ประเสริฐ” เน่อื งจากมีท่พี ึง่ ทางใจอยูหลายสิ่ง ดวยกัน ชื่อวัดวรนาถบรรพตไมติดปากประชาชน คงเรียกกันวา “วัดเขากบ” เรียกภเู ขา วา “ เขากบ” มาจนกระทั่งทุกวันนี้

วถิ ชี ีวิต วัฒนธรรม อําเภอเมอื งนครสวรรค จังหวดั นครสวรรค ๓๑๑๕ ตาํ นานเร่อื งโบสถเทวดาสราง โบสถเ ทวดาสรา งในอดีต สมัย ร. ๕ โบสถเทวดาสรางปจจุบันอยูบนภูเขา ที่วัดจอมคีรีนาคพรต อาํ เภอเมอื งนครสวรรค จงั หวดั นครสวรรค โบสถแ หง นเ้ี ปน รปู ศาลาโถง ไมม ผี นงั ทงั้ สดี่ า น ทรงแบบโบราณ เครอื่ งบนเปน ไมส กั ลว น มงุ กระเบอ้ื ง ยาว ๖ วา กวาง ๔ วา ๑ ศอก มีพะไลโดยรอบ ตาํ นานเรอ่ื งโบสถเ ทวดาสรา งน้ี เลา กนั ตอ ๆ มาวา เมอ่ื ชาวบา น ถน่ิ นเี้ รม่ิ สรา งพระอโุ บสถไดต ดิ ตงั้ เสาพรอ มเครอื่ งบนใหเ ปน รปู โครงของ อโุ บสถ ตอนกลางคืนก็ไดยินเสียงมโหรีปพาทยมีเสียงอึกทึกครึกโครม และแสงสวา ง ซงึ่ สวา งไปทวั่ บรเิ วณยอดเขา ชาวบา นตา งพากนั แปลกใจ

๑๓๒๔ วถิ ชี วี ติ วัฒนธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จังหวดั นครสวรรค จึงปลุกกันลุกขึ้นทุกคนไดยินเสียงนั้นเหมือนกัน ดวยความสงสัยจึงพา กันไปดู ก็ปรากฏแกตาวา งานท่ที าํ ไวน้ันสําเรจ็ หมด และก็ไมปรากฎวา มีใครแปลกปลอมเขาไปทําเลยแมแตคนเดียวคือไมพบผูใดในท่ีนั้นเลย จงึ เปน ทแ่ี ปลกประหลาดมหศั จรรยม าก พวกชาวบา นจงึ พกั การกอ สรา ง ไวเพียงเทาน้นั เพราะเหน็ วาเปน ของมหศั จรรยโดยมิไดตอเติมเลย ยังมีวัตถุประกอบเรื่องน้ีอีกแหงหนึ่งอยูทางเหนือของภูเขา ท่ีต้ังวัดน้ีประมาณ ๔๐๐ เมตรมีภูเขาลูกหน่ึงชาวบานเรียกกันวา “เขาโรงครวั ” วาเปน ทเี่ ทวดาทาํ ครวั เพราะมีหินเปน รปู ขนมจีน รปู ครก และเครื่องประกอบการทําครัวตาง ๆ ปรากฏอยู และที่เชิงเขา อีกดานหนง่ึ เรียกกนั วา “ทะเลนํ้าขาว” เพราะพื้นทบ่ี ริเวณนั้นเปน พื้นที่ เรียบ ไมมีหญาขึ้น ปรากฏอยูจนทุกวันนี้

วถิ ชี ีวิต วัฒนธรรม อําเภอเมอื งนครสวรรค จังหวดั นครสวรรค ๓๑๓๕ เร่ืองราวของตํานานน้ีเกิดขึ้นเม่ือกรุงศรีอยุธยาเปนราชธานี พมายกทัพมาตีไทยขณะท่ีทหารไทย ไดตั้งคายพักแรมอยูตามบริเวณ วัดเขาบวชนาค วันหน่ึงปรากฏวาเกิดพายุฝนตกหนักทหารท้ังกองทัพ ไดพากนั เขาไปอาศยั อยูบริเวณอโุ บสถนี้ ปรากฏวาทหารเขาพกั ไดหมด ทั้งกองทัพ ทง้ั ๆ ทอี่ ุโบสถไมไดใหญโตอะไรมากนกั โดยอภินิหารนี้เอง ชาวจังหวัดนครสวรรคจึงเช่ือวาเปนโบสถเทวดาสรางจริง เน่ืองจาก บรเิ วณวดั จอมครี นี าคพรตเปน ปา ทบึ รกรงุ รงั มาก บงั เอญิ เกดิ ไฟปา ไหม ถาวรวัตถุของวัด เชน หลังคาวิหาร และมณฑปถูกไฟไหมเกือบหมด คงเหลือแตโบสถหลังใหญเทวดาสรางเพียงหลังเดียวท่ีรอดพนจาก ไฟไหมอยางนาอศั จรรย ตอมาในสมัยกรุงรัตนโกสินทร สมเด็จพระพุทธเจาหลวง รัชกาลท่ี ๕ แหงราชวงศจักรีไดเสดจ็ ประพาสจังหวัดนครสวรรค ยงั ได ทดลองวา โบสถจ ะบรรจคุ นไดม ากจรงิ หรอื ไม โดยทรงนาํ ขา ราชบรพิ าร ทต่ี ามเสดจ็ ทง้ั หมดเขา ในอโุ บสถน ้ี กไ็ มเ ตม็ อกี ทาํ ใหช าวจงั หวดั นครสวรรค เช่ืออยางแนนแฟนวาเปนโบสถเทวดาสรางจริง ๆ จึงเช่ือวาเปนโบสถ เทวดาสรางจริง

๑๓๔ วิถชี วี ติ วัฒนธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค ตาํ นานเร่อื ง “แมน้าํ เจาพระยาและหนองสมบญุ ” แมน ้ําเจา พระยาอดีต แมน ้าํ เจาพระยาปจจุบนั แมน า้ํ เจา พระยาและอทุ ยานสวรรค (หนองสมบรู ณ, หนองสมบญุ ) ตั้งอยูในเขตตําบลปากนํ้าโพ อําเภอเมืองนครสวรรค เปนแหลงนํ้า ธรรมชาติท่สี าํ คญั มีตํานานการตั้งชอ่ื แหลงนํ้าดงั นี้ เมอื่ พทุ ธศกั ราช ๑๘๙๓ พระเจา อทู องทรงสรา งกรงุ ศรอี ยธุ ยา เปนราชธานี และไดข้ึนครองราชสมบัติ ทรงพระนามวา “สมเด็จ พระรามาธบิ ดที ่ี ๑” พระองคท รงขยายราชอาณาจกั ร เพอ่ื รวบรวมไทย ใหเปน ปกแผน โดยไดขยายราชอาณาจกั รขึ้นมาจดหัวเมืองฝายเหนือ ดว ยพระปรชี าสามารถ ทรงรผู อ นสนั้ ผอ นยาว ถงึ แมจ ะมพี ระเดชานภุ าพ กไ็ มท รงทจี่ ะรกุ รานเอาอาณาจกั รสโุ ขทยั ทด่ี อ ยดว ยกาํ ลงั มาไวใ นอาํ นาจ

วิถีชวี ิต วฒั นธรรม อาํ เภอเมืองนครสวรรค จงั หวดั นครสวรรค ๓๑๕ ดวยเกรงวาจะเปนการหักหาญกอศึกในหมูคนไทยดวยกันเอง และ เพื่อถนอมไมตรีระหวางอยุธยากับสุโขทัยไว ในขณะท่ีพระองคไดทรง ขนึ้ ครองราชยน นั้ ไดใ หพ ระราเมศวรราชบตุ รไปปกครองเมอื งลพบรุ ี และ ไดใ หข นุ หลวงพะงวั่ พระเชษฐาไปปกครองสพุ รรณบรุ ี พทุ ธศกั ราช ๑๙๑๒ พระเจา อทู องสวรรคต พระราเมศวรราชโอรสไดท รงขนึ้ ครองราชยแ ทน แตในเวลาตอมาก็จําตองถวายราชสมบัติใหขุนหลวงพะง่ัวพระปตุลา พทุ ธศกั ราช ๑๙๑๓ ขนุ หลวงพะงว่ั ไดข น้ึ ครองราชสมบตั ิ ทรงพระนาม วา “สมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี ๑” นบั เปนกษตั ริยองคท่ี ๓ ของ กรงุ ศรีอยธุ ยา พระองคทรงจดั เจนและใฝพระทยั ในการสงครามมาแต สมัยพระเจาอูทอง ในขณะนั้นกรุงสุโขทัยมีพระมหาธรรมราชาลิไทเปนกษัตริย ปกครอง พระองคท รงออ นแอมาก ประเทศราชทง้ั หลายตา งกแ็ ขง็ เมอื ง ทางกรุงสุโขทัยไมสามารถไปตีคืนมาครอบครองเหมือนดังเดิมได พทุ ธศักราช ๑๙๑๕ สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชท่ี ๑ เสวยราชสมบตั ิ ไดแลว ๒ ป พระองคทรงปรบั ปรงุ กิจการบานเมือง ทะนบุ าํ รุงทแกลว ทหาร สะสมเสบียงอาหารพรอมดวยแสนยานภุ าพ ทรงเหน็ วาถึงเวลา แลวท่ีจะรวบรวมไทยใหเปนบึกแผน ดังน้ันจึงยกกองทัพเขาตีแควน สุโขทัยตอนใต โดยยกกองทพั เขาตีเมืองจําปา (ชัยนาท) ไดกอน แลว ยกกองทพั มาตั้งมนั่ รายลอมเมืองพระบางไว

๑๓๖๔ วถิ ีชีวติ วฒั นธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จังหวดั นครสวรรค เมอื งพระบางเปน เมอื งหนา ดา นตอนใตข องสโุ ขทยั ตงั้ อยบู นฝง แมน า้ํ ใหญ มพี ระยาอนมุ านวจิ ติ รเกษตรเปน เจา เมอื งในขณะนน้ั มเี มอื ง อยูในความปกครองอีก ๔ เมือง คือ ๑. เมืองไตรตรึงษอยูทางเหนือเมืองพระบาง มีเจาพระยา อัษฎานุภาพเปนเจาเมือง (ปจจุบันอยูในเขตอําเภอเมืองกําแพงเพชร จังหวดั กําแพงเพชร) ๒. เมอื งไพศาลี อยทู างทศิ ตะวนั ออก มเี จา พระยาราชมณฑป เปน เจา เมอื ง (ปจ จบุ นั คอื บา นหนองไผอ าํ เภอไพศาลี จงั หวดั นครสวรรค) ๓. เมืองการุง อยูทางทิศตะวนั ตก มีเจาพระยาวิเศษสรไกร เปน เจาเมือง (ปจ จบุ นั คือ บานการงุ ตาํ บลวงั หนิ อาํ เภอบานไร จงั หวดั อุทยั ธาน)ี ๔. เมืองจําปา อยูทางทิศใต (ปจจบุ ัน คือ จงั หวัดชัยนาท) เจาพระยาอนุมานวิจิตรเกษตร เจาเมืองพระบางน้ันมีทหารเอกอยู ๒ คน คนหนึง่ ชื่อสมบุญเปน ทหารที่มีความแกงกลาสามารถมาก และ อีกคนหนึ่งช่ือ ศรี แตทวาศรีน้ันเอาใจออกหาง ไปเขากับฝายกรุง ศรีอยธุ ยา เพอ่ื หวงั จะไดเปน ใหญในแผนดินพระบาง ฝายเมืองหนาดานของเมืองพระบางท้ังสาม (เวนนครจําปา ซึ่งกรุงศรีอยุธยายึดไดแลว) ไดทราบขาวศึกวาเมืองพระบางถูกลอม จงึ ยกกองทพั มาชว ย เจา พระยาทงั้ สไี่ ดร วบรวมกาํ ลงั ปอ งกนั เมอื งพระบาง ไวเปน สามารถ อยธุ ยาลอมเมืองพระบางอยูถึง ๕ เดือนเตม็ และแลว

วถิ ชี วี ิต วัฒนธรรม อําเภอเมอื งนครสวรรค จงั หวดั นครสวรรค ๓๑๗๕ ศรีทหารเอกของเมืองพระบางผูทรยศ ซึ่งรูลูทางในเมืองพระบาง เปนอยางดี ก็สามารถนํากองทัพอยุธยาเขาตีเมืองพระบางไวได โดย วางอุบายใหกองทัพหลวงเขาตีหนาเมืองริมน้ํา ปกขวาและกําลังหนนุ ออมตีทางดานหลัง ถึงอยางไรก็ตามชาวพระบางท้ังชายหญิงตางก็ ทําการรบอยางสามารถ เจาพระยาทั้งสี่พรอมดวยสมบุญทหารเอก ถกู จบั ไดพ ระบรมราชาธริ าชท๑่ี ใหท หารนาํ ตวั เจา พระยาทง้ั สแ่ี ละสมบญุ เขาเฝาพระองค และตรัส ขอโทษทีต่ องเขาตีเมืองพระบาง เพราะเรา เหน็ วา สโุ ขทยั นบั วนั แตจ ะเสอ่ื มโทรมลง เปน ชอ งทางใหข า ศกึ ศตั รจู โู จม เขามาแยงย้ือถือปกครองเราจึงคิดรวบรวมไทยไวใหเปนปกแผน เรา เห็นวาพวกทานท้ังหาคนนี้เปนคนซื่อสัตย กตัญู เราจะขอใหทาน รบั ราชการกบั เราสืบไป สาํ หรบั พระมหาธรรมราชาลิไท เจากรงุ สโุ ขทยั กค็ งใหด าํ รงพระยศเปน กษตั รยิ ฝ า ยเหนือตามเดมิ แตร วมอยกู บั อยธุ ยา เจาพระยาท้ังส่ีและสมบุญ ตอบวาพวกตนไดถือน้ําพิพัฒนสัตยาใน พระเจาอยูหัวในราชวงศสุโขทัยเสียแลว มิอาจทรยศไดประหารชีวิต พวกตนเสียเถิด พระบรมราชาธิราชท่ี ๑ จึงตรัสวา เราก็จนใจ เม่ือ พวกทานทั้งหาตองการที่เชนนั้น แตเราจะใหพวกทานเลือกตายตาม สมคั รใจ

๑๓๘๔ วถิ ชี ีวติ วัฒนธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค หนองสมบญุ ในอดีต อุทยานสวรรคป จจบุ นั สมบญุ กราบทลู วา ขา พระพทุ ธเจา สมบญุ ทหารเอกเมอื งพระบาง เกดิ ทห่ี นองสาหรา ยเกดิ ทไี่ หนกอ็ ยากตายทนี่ น่ั เอารา งถมแผน ดนิ มาตภุ มู ิ ขอใหเอาขาพระพุทธเจาไปฆาเสียท่ีหนองสาหรายเถิด จะเปน พระมหากรุณาธิคุณอยางย่ิง” พระบรมราชาธิราชท่ี ๑ จึงตรสั แกทหารท้ังหลายวา “ทหาร จงดูไวเปนเย่ยี งอยาง จะหาคนท่ปี ระเสริฐอยางนี้ไดยากมาก เพื่อให ชาวพระบางมใี จระลกึ ถงึ ความดงี ามและวรี กรรมของเจา สมบญุ เราขอ ประกาศเปล่ยี นช่อื หนองสาหรายเสียใหมวา “หนองสมบญุ ” เพ่อื เปน อนุสรณแหงความกลาหาญของสมบญุ ทหารเอกแหงเมืองพระบาง สวนเจาพระยาท้ัง ๔ เปนศิษยรวมสํานักเดียวกัน ตางอยูยง คงกระพนั ยากทจ่ี ะฆา ได พระยาทง้ั สบี่ อกวา มที างเดยี วทจ่ี ะฆา ใหต ายได

วถิ ีชวี ติ วัฒนธรรม อาํ เภอเมืองนครสวรรค จงั หวดั นครสวรรค ๑๓๙๕ คือนาํ ไปกดใหจมน้ําตายในแมน้ําทห่ี นาเมือง พระบรมราชาธิราชท่ี ๑ เสียดายเจาพระยาทั้งส่มี าก จําตอง ตรสั สง่ั ทหารใหน าํ เจา พระยาทง้ั สไ่ี ปกดใหจ มนา้ํ ตายทห่ี นา เมอื งพระบาง ตามความประสงคก อ นตายเจา พระยาท้ังสไ่ี ดต ง้ั จติ อธษิ ฐานวา “ขา แต แมพระคงคาอันศักด์สิ ิทธ์ิ ที่สิงสถิตอยู ณ วังนํ้าอนั เยือกเย็นนี้ ขา พระพทุ ธเจา ทง้ั สไ่ี ดเ กดิ ในลมุ อกแมน าํ้ นี้ ลกู ไดอ าศยั ดม่ื กนิ มาชวั่ ลกู หลาน แมมิไดเคยเหือดแหง บัดนี้ขาพระพุทธเจาท้ังสี่สิ้นวาสนา ขอฝาก ดวงวิญญาณแหงชายชาติทหารของกรุงสุโขทัยไวกับแมพระคงคา ดว ยเดชะความชอ่ื สตั ยก ตญั กู ตเวทขี องขา ฯ ขอใหแ มน า้ํ สายนจ้ี งอยา มีวันไดเหือดแหงจงเปนสายธารชีวิตของชาวไทย ไดหลอเล้ียงพืชผล แหงไรนา พาเอางวนดินเหนืออันเกิดจากซากของผูกลาหาญ ท่ีเขา หลั่งเลือดเน้ือปกปองปฐพี ไปเปนอาหารแหงพืชท่ีแมพระคงคาไหล ผานไป ขอใชชาวไทยในลุมแมน้ําสายนี้ จงวัฒนาสถาพรตราบชั่วฟา ดินสลาย” และแลวแมน้ําสายนี้ก็ปรากฏช่ือวา “แมนํ้าเจาส่ีพระยา แตบดั นน้ั กาลเวลาผานมา ๕๐๐ ปเศษ คาํ วาสี่ก็จางหายไป เหลือแต “เจา พระยา” เพอื่ เปน อนสุ รณแ หง วรี กรรมในความกลา หาญและซอื่ สตั ย ของเจาพระยาทั้งส่ี ผูครองเมืองหนาดานตอนใตของสุโขทัย

๒๓๐๔ วถิ ีชวี ิต วัฒนธรรม อําเภอเมอื งนครสวรรค จงั หวดั นครสวรรค สัญลกั ษณจงั หวดั นครสวรรค ภาพธงประจาํ จังหวดั นครสวรรค มีลกั ษณะเปนรูปส่ีเหลย่ี มผืนผา ประกอบดว ยสีนํ้าเงินและสีขาว

วิถชี วี ติ วัฒนธรรม อาํ เภอเมอื งนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค ๓๒๑๕ คําขวัญอาํ เภอเมืองนครสวรรค เนื่องดวยอําเภอเมืองนครสวรรคไดสรางขึ้นมาชานาน ตาม ประวัติท่ีกลาวมาแลว แตยังไมมีคําขวัญของอําเภอเลย ดังน้ัน รองศาสตราจารยบุญเรือง อินทวรันต อดีตประธานสภาวัฒนธรรม จังหวัดนครสวรรค และนางสมจินตนา เทียมวิไล คนดีเมืองสี่แควสาขา วรรณศิลปป พ.ศ. ๒๕๔๔ ไดชวยกันประพันธคําขวัญอําเภอเมือง นครสวรรค พรอมอธิบายความหมายไว เม่อื ป พ.ศ. ๒๕๔๖ ดงั นี้ ตนแมน ํ้าเจา พระยา โบสถเทวดารงั สรรค หลวงพอ ศรีสวรรคเลิศภพ เขากบเดน งามตระการ มงั กรสยบภัยพาล อทุ ยานสวรรค เคียงคู เมืองประตูสูภาคเหนือ

๒๓๒๔ วถิ ชี ีวติ วัฒนธรรม อาํ เภอเมอื งนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค ตนแมน้ําเจา พระยา หมายถึง ตนแมน้ําเจาพระยา อยูในเขตเทศบาลนครนครสวรรค เปน บรเิ วณตน กาํ เนดิ หรอื จดุ เรม่ิ ตน ของแมน าํ้ เจา พระยา ทเ่ี กดิ จากแมน าํ้ ปง และแมน้ํานานไหลมาบรรจบกัน ทต่ี าํ บลปากน้ําโพ อําเภอเมือง นครสวรรค ณ จุดนี้จะมองเห็นถึงความแตกตางของสายน้ํา ท้ังสองสายไดอยางชัดเจน แมน้ํานานจะมีสีแดงขุน และแมนํ้าปงจะมี

วิถชี วี ติ วัฒนธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จงั หวัดนครสวรรค ๓๒๓๕ สีเขียวคล้ําใส สายนํ้าท้ังสองคอย ๆ รวมตัวกลมกลืนเปนสีเดียวกัน จนกลายเปน แมน าํ้ เจา พระยา แมน าํ้ สายสาํ คญั ของประเทศไทย บรเิ วณ ตนแมน้ําเจาพระยามีทัศนียาภาพอันสวยงามของแหลมเกาะยม และ ฝงตรงขามมีศาลเจาพอเทพารักษ ซ่ึงเปนตนกําเนิดของประเพณี แหเจาพอ-เจาแมปากนํ้าโพ และริมฝงแมน้ํานานก็มีเรือนแพใหไดชม วิถีชีวิตของชาวบานท้ัง ๒ ฝงแมนา้ํ ลกั ษณะการไหลมารวมกันของแมน้ําท้งั ๔ สาย คือ แมน้ําปง แมน้ําวัง แมน้ํายม และแมนํ้านาน นน้ั มีลักษณะการรวมกนั ดงั นี้ แมน า้ํ ปง คอื แมน า้ํ ปง กบั แมน าํ้ วงั ไดบ รรจบกนั ทอ่ี าํ เภอสามเงา จังหวัดตาก แลวแมนํ้าทั้งคูก็ไหลรวมกันลงสูจังหวัดนครสวรรค ถึง ปากน้ําโพ จึงไดบ รรจบกับแมน ้ํานา น (แมนํ้าปง = แมนํ้าปง +แมนํ้า วงั ) แมน้าํ นาน คือ แมนํ้านานกบั แมนํ้ายม ไดบรรจบกนั ที่ ตําบล เกยไชย อําเภอชุมแสง จังหวันครสวรรค แลวแมน้ําทั้งคูก็ไหลรวมกัน มาจนถึงปากนํ้าโพ จึงไดบ รรจบกบั แมน าํ้ ปง(แมน้ํานาน = แมน้ํานาน + แมนํ้ายม)แลวแมน้ําทั้ง ๔ สายก็ไหลมารวมกันท่ีปากนํ้าโพ เปน ตนกําเนิดของแมนํ้าเจาพระยาใหเห็นอยูทกุ วนั นี้

๒๓๔ วถิ ีชีวิต วฒั นธรรม อําเภอเมอื งนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค โบสถเทวดารงั สรรค หมายถึง โบสถเทวดาสราง ปจจุบันอยูบนยอดเขาในบริเวณวัดจอมคีรี นาคพรต (วดั เขา หรอื วดั เขาบวชนาค) ทกุ ๆ ป จะมกี ารจดั งานประเพณี ปดทองไหวพระท่ยี ิ่งใหญ เปน ทร่ี ูจกั ของคนทวั่ ไป ภาพโบสถเทวดาสรา ง

วถิ ีชวี ิต วฒั นธรรม อําเภอเมอื งนครสวรรค จังหวดั นครสวรรค ๒๓๕ หลวงพอ ศรีสวรรคเลิศภพ หมายถึง หลวงพอศรีสวรรค ซ่ึงเปนพระประธานในพระอุโบสถ วัดนครสวรรค เปน พระพุทธรูปปางมารวิชยั สรางในสมยั สุโขทยั เปน ท่เี คารพสักการะของพทุ ธศาสนิกชนโดยทัว่ ไป ภาพหลวงพอ ศรีสวรรค พระประธานในอุโบสถวดั นครสวรรค

๒๓๖๔ วถิ ชี ีวติ วฒั นธรรม อาํ เภอเมอื งนครสวรรค จังหวดั นครสวรรค เขากบเดนงามตระการ หมายถึง ภเู ขา ชอื่ เขากบอยบู รเิ วณใกลเ ทศบาลนครนครสวรรค เปน ภเู ขา ท่ีสูงเดนอยูใจกลางเมืองปากน้ําโพ ซึ่งผูท่ีผานไปมา สามารถมองเห็น ไดแตไกล บนยอดเขามีรอยพระพุทธบาทจําลอง สรางในสมยั สุโขทัย เขากบทอี่ ยูในเมืองปากนา้ํ โพ

วิถชี วี ิต วฒั นธรรม อาํ เภอเมืองนครสวรรค จังหวดั นครสวรรค ๓๒๗๕ มงั กรสยบภยั พาล หมายถึง มังกรสยบภัยพาล หมายถึง ในประเพณีแหเจาพอ-เจาแม ปากน้ําโพ จะมีขบวนมงั กรทอง รวมแหดวย ซ่งึ สรางความต่นื ตาตืน่ ใจ ความย่ิงใหญ และเปนที่โดดเดนท่ีสุดในเอเชีย เลื่องลือกันไปทั่วโลก ทกุ คนอยากเหน็ มงั กรทองเพราะเปน สญั ลกั ษณข องความอดุ มสมบรู ณ ความเจริญรุงเรือง และความมีอํานาจ ภาพมงั กรทองนครสวรรค

๒๓๘๔ วิถชี ีวิต วฒั นธรรม อาํ เภอเมอื งนครสวรรค จงั หวดั นครสวรรค อทุ ยานสวรรค เคียงคู หมายถึง อุทยานสวรรค หรือหนองสมบูรณ มีลักษณะเปนหนองน้ํา อยคู เู มอื งพระบาง แตเ ดมิ ชอ่ื หนองสาหรา ย เปลยี่ นชอ่ื เปน หนองสมบญุ ในสมยั อยธุ ยา ปจจบุ นั เรียกหนองสมบูรณ หรืออทุ ยานสวรรค อยูใน การดแู ล รับผิดชอบของเทศบาลนครนครสวรรค เปนสถานที่พักผอน และออกกาํ ลังกายท่สี าํ คญั จึงเปนเสมือนปอดของคนปากน้ําโพ อทุ ยานสวรรค

วิถีชีวิต วัฒนธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค ๓๒๙๕ เมืองประตสู ภู าคเหนือ หมายถึง เมืองปากนํ้าโพ หรือเมืองนครสวรรค ทมี่ ีเสนทางคมนาคมไปสู ภาคเหนือ ไดทั้งทางนํ้าและทางบก ซ่ึงสมัยกอนนิยมใชทางนํ้า ตอมา มีการเปล่ียนใชทางบกเพราะสะดวก รวดเร็วกวา ทําใหการคมนาคม ทางบกเจรญิ มากขนึ้ จงึ ไดส รา งสะพานขา มแมน า้ํ เจา พระยา ชอื่ วา สะพาน เดชาติวงศ เพื่อใชเปนเสนทางขนสงสายหลักของประเทศ ผูสัญจร จะเดินทางบกไปเหนือ หรือลองใต จะตองใชสะพานแหงนี้ ทําใหเกิด การจราจรตดิ ขดั บา งในชว งเทศกาลสาํ คญั แตไ ดแ กไ ขปญ หาการจราจร โดยการสรางทางเล่ียงเมืองใหบริการแลว สามารถลดปญหาลงมาก เนื่องดวยสาเหตุท่ีวา จังหวัดนครสวรรคตั้งอยูระหวางภาคเหนือ ตอนลา ง และภาคกลางตอนบน ผจู ะสญั จรขน้ึ ไปภาคเหนือ จะตอ งผา น สะพาน

๓๐๔ วิถีชีวติ วฒั นธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จงั หวดั นครสวรรค สะพานเดชาติวงศ สะพานเดชาติวงศ จึงไดขนานนามวาเปน ประตูสภู าคเหนือ

วถิ ีชีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอเมืองนครสวรรค จังหวดั นครสวรรค ๓๑๕ สภาพปจจุบัน ภาพแผนทแ่ี สดงท่ตี ั้งจังหวัดนครสวรรค แผนท่ตี ัง้ อาํ เภอเมืองนครสวรรค

๓๒๔ วิถชี วี ิต วฒั นธรรม อาํ เภอเมืองนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค ที่วา การอาํ เภอเมืองนครสวรรค สภาพปจจุบันอําเภอเมืองนครสวรรคมีที่ตั้งและอานาเขต ดงั ตอไปนี้ ท่ีตั้งและอาณาเขต อําเภอเมืองนครสวรรค มีพื้นทป่ี ระมาณ ๗๔๘.๒๗ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ๔๖๗,๖๖๘.๗๕ ไร คิดเปน รอ ยละ ๗.๘๐ ของพน้ื ทจี่ งั หวดั นครสวรรค มอี าณาเขตตดิ ตอ กบั อาํ เภอ ตาง ๆ ดงั นี้ ทิศเหนือ ติดตอกบั อาํ เภอบรรพตพิสัย และอาํ เภอเกาเลี้ยว ทิศใต ติดตอกับอําเภอพยหุ ะคีรี และอําเภอโกรกพระ ทิศตะวันออก ติดตอกับ อําเภอชุมแสง – ทาตะโก ทิศตะวันตก ติดตอกบั อาํ เภอลาดยาว

วถิ ชี วี ติ วัฒนธรรม อําเภอเมอื งนครสวรรค จงั หวดั นครสวรรค ๓๓๕ ลักษณะภมู ิประเทศ ลกั ษณะภมู ิประเทศของอําเภอเมืองนครสวรรค โดยทว่ั ไปเปน ท่รี าบลุมแมน้ํา ๓ สาย คือ แมน้ําปง แมน้ํานาน และแมนํ้าเจาพระยา สงู จากระดบั น้ําทะเลเฉลยี่ ๙๒ ฟตุ ตามทรี่ าบลมุ ตาง ๆ จะมีหวย หนอง คลอง บึง อยูท่ัวไป ท่ีสําคัญไดแกบึงบอระเพ็ด (อยูในพื้นท่ีดานทิศ ตะวันออกของอําเภอ) นอกจากนี้ยังมีภูเขาขนาดเล็กบาง ในบริเวณ ตอนกลาง และดานตะวนั ตกของอาํ เภอดวย การคมนาคมระหวา ง ตาํ บล อาํ เภอ ใชไ ดห ลายเสน ทางเชน โดย ทางรถไฟ รถยนต เรือสภาพการคมนาคม อยใู นสภาพทสี่ ามารถใชก าร ไดตลอดป เปน ถนนลาดยาง และคอนกรีตเสริมเหล็ก

๓๔ วถิ ีชีวิต วฒั นธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค เสน ทางคมนาคมจากอาํ เภอเมอื งนครสวรรค มเี สน ทางทสี่ าํ คญั หลายสาย เชอ่ื มตดิ ตอ ไดส ะดวกระหวา งอาํ เภอ และตา งจงั หวดั ทสี่ าํ คญั มี ๖ สายคือ ๑. ถนนพหลโยธิน ๒. ถนนสายนครสวรรค – ชมุ แสง, หนองบัว ๓. ถนนสายนครสวรรค – โกรกพระ ๔. ถนนสายนครสวรรค – เกาเลี้ยว, บรรพตพิสยั ๕. ถนนสายนครสวรรค – ลาดยาว ๖. ถนนสายนครสวรรค - ทาตะโก,ไพศาลี

วิถีชวี ิต วฒั นธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จงั หวัดนครสวรรค ๓๕ ๒บทท่ี ชุมชน/ กลุมชนดั้งเดิม ชุมชนดั้งเดิม จากหลักฐานตาง ๆ พบวา ชุมชนสมัยประวัติศาสตรตอนตน เปน ชมุ ชนระดบั เมอื งทม่ี รี ะบบโครงสรา งทางสงั คม วฒั นธรรมทซ่ี บั ซอ น ซ่ึงแสดงถึงการรับอิทธิพลจากอินเดียเขามาปรุงแตงจนกลายเปน วัฒนธรรมทเ่ี รียกกนั วา วฒั นธรรมทวารวดี (ประมาณพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๑ - ๑๖) ในสมยั อยธุ ยาน้ีนอกจากจะเปน “ชมุ ทางสนิ คา ” แลว นครสวรรค ยงั ปรากฏบทบาทในฐานะเมอื งยทุ ธศาสตรส าํ คญั ทเ่ี รยี กวา “เมอื งประชมุ พล” ซงึ่ เกดิ ขนึ้ พรอ ม ๆ กบั การเกดิ สงครามระหวา งอยธุ ยากบั พมา ตาม เสนทางท่พี มายกกองทัพเขามาทางตําบลระแหง แขวงเมืองตาก ลงมา ทางกําแพงเพชรถึงนครสวรรค แตเปนเมืองประชุมพลท่ีเอื้อประโยชน ใหกบั ฝายพมามากกวาไทยเพราะพมาจะยึดเอานครสวรรคเปน ฐานตง้ั ทพั ทป่ี ระชมุ พลทส่ี าํ คญั ซง่ึ ทาํ ใหพ มา กาํ หนดใหไ ทยตอ งดาํ เนนิ ยทุ ศาสตร ในฐานะเมอื งประชมุ พลปรากฏใหเ หน็ ครง้ั แรกในคราวสงครามชา งเผอื ก พ.ศ. ๒๑๐๖

๓๖๔ วถิ ชี ีวิต วัฒนธรรม อําเภอเมอื งนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค ภาพชุมชนในอดีต ท่สี าํ คญั ของอําเภอเมืองนครสวรรค สมยั กรงุ รตั นโกสนิ ทร นครสวรรคจ ะเปน “รฐั กงึ่ กลาง” ทเี่ จรญิ รุงเรืองอยางมากทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอยางย่ิงเม่ือมีการทําสนธิ สัญญาบาวริงในสมัยรัชกาลท่ี ๔ ซึ่งกอใหเกิดการคาในระบบทุนนิยม หรือเสรีนิยมขึ้น นครสวรรคก็กลายเปนแหลงรวมสินคาท่ีสําคัญ โดย เฉพาะขา ว และไมส กั ทมี่ าจากภาคเหนอื เพอ่ื สง ตอ ไปยงั กรงุ เทพมหานคร ภาพความเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจของนครสวรรค ภายหลังสนธิ สัญญาบาวริงนี้ จะเห็นไดจากการท่ีบานเมืองทางตะวันออก คือ ฝง แมนํ้านาน (แควใหญ) เจริญรุงเรืองขึ้น (กอนทจ่ี ะยายมาฝงตะวันตกดัง เชนปจ จบุ นั ) มีโรงสีเหนือ โรงสีกลาง โรงสีใต บริษทั คาไมอีสตเอเซียติก บริษัทแมเงาหางไมมิสหลุยส มีโรงเลื่อย โรงน้ําแข็ง และโกดังสินคา ตาง ๆ มากมาย ปจ จยั ที่สาํ คัญสงเสริมความเจริญนี้ คือ ขาว ซึง่ สงมา ลงทแ่ี มน าํ้ นา นเปน จาํ นวนมาก โดยอาศยั การขนสง ทางเรอื ยนตเ ปน หลกั

วิถีชวี ิต วฒั นธรรม อําเภอเมืองนครสวรรค จงั หวัดนครสวรรค ๓๗๕ และตามมาดวยทางรถไฟ ในสมัยรชั กาลท่ี ๕ การขยายตัวทางการคา ดังกลาวทําใหมีชาวจีนหลั่งไหลเขามาขายแรงงานและประกอบการคา ตาง ๆ ในนครสวรรคมากขึ้น คนจีนเหลานี้เปนสวนสาํ คญั ในการสราง ความเจริญทางเศรษฐกิจของนครสวรรคในฐานะรัฐก่ึงกลาง ซึ่งมาใน สมยั ใหมน กี้ ารคา ของเมอื งนครสวรรค ไดย า ยศนู ยก ลางจากฝง ตะวนั ออก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook