Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ไพศาลี

ไพศาลี

Published by boonkamon65, 2021-02-13 04:29:25

Description: ไพศาลี

Search

Read the Text Version

วถิ ชี วี ติ วฒั นธรรม อาํ เภอไพศาลี จงั หวดั นครสวรรค ๓๕ วิถีชีวิต วัฒนธรรม อําเภอไพศาลี จังหวดั นครสวรรค

๓๔ วถิ ชี วี ิต วัฒนธรรม อําเภอไพศาลี จังหวดั นครสวรรค

วถิ ชี ีวติ วัฒนธรรม อําเภอไพศาลี จงั หวัดนครสวรรค ๓๕ คาํ ปรารภ อธิบดีกรมสงเสริมวฒั นธรรม วัฒนธรรมเปนส่ิงท่ีแสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเปน ระเบียบ เรียบรอย เปนมรดกทางสงั คมไทย ทบ่ี รรพบรุ ุษไดสรางสรรค และส่ังสมมาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ถายทอดจากรุนสูรุน มีขนบธรรมเนียม ประเพณีอันเปนที่ยอมรับรวมกันในสังคมนั้นๆ ศิลปวัฒนธรรมของไทย มีความแตกตางกันในแตละทองถ่ิน ท้ัง ขนบธรรมเนียมประเพณี ภาษาพูด ภาษาเขียน การแตงกาย อาหาร วิถีชีวิต และความเชื่อ ซึ่งมีเอกลักษณเฉพาะที่บงบอกถึงคานิยม ความเช่ือ ศาสนา วิถีชีวิตความเปนอยู ตลอดจนสภาพแวดลอมของ ผูคนในทองถ่นิ แสดงใหเห็นถึงความเจริญรุงเรืองทางวัฒนธรรมท่แี ฝง ไปดวยภูมิปญญา และความเปนชาติที่มีอารยธรรมเกาแกมาชานาน จนกลายเปน รากฐานขององคค วามรทู างศลิ ปวฒั นธรรม และภมู ปิ ญ ญา ในดานตางๆ ท่มี ีคุณคาของไทย ในการนี้ เพ่ือประโยชนในการอนุรักษหรือฟนฟูจารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น ศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของทองถ่ินและของชาติ และประสานการดาํ เนนิ งานวฒั ธรรมซงึ่ ภาคประชาสงั คม และประชาชน มสี ว นรว ม กรมสง เสรมิ วฒั นธรรม จงึ ไดใ หก ารสนบั สนนุ สภาวฒั นธรรม จังหวัดนครสวรรค ดําเนินการจัดทําหนังสือวิถีชีวิตวัฒนธรรมอําเภอ

๓๔ วถิ ชี วี ิต วฒั นธรรม อําเภอไพศาลี จงั หวัดนครสวรรค ตางๆ ในจังหวัดนครสวรรค เพือ่ รวบรวมและเผยแพรขอมลู ซ่งึ เปนทุน ทางวฒั นธรรมของจังหวัดนครสวรรค เพื่อใหเกิดประโยชนสําหรบั เด็ก เยาวชน และบุคคลทั่วไป ไดศึกษาและรวมภาคภูมิใจในวัฒนธรรม ทองถน่ิ จนกอใหเกิดความรัก ความภาคภมู ิใจในมรดกทางวัฒนธรรม ของตน ตระหนักและเห็นคุณคาของวัฒนธรรมทองถิ่น ปลูกจิตสํานึก ความรักชาติ รักถ่ิน รักแผนดินนครสวรรค และรวมอนุรักษสืบสาน วฒั นธรรมเหลานี้ใหอนชุ นคนรุนหลงั สืบตอไป (นายชาย นครชัย) อธิบดีกรมสงเสริมวัฒนธรรม

วิถีชีวติ วัฒนธรรม อําเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค ๓๕ คํานิยม ผวู า ราชการจงั หวัดนครสวรรค การจัดทําหนังสือ วิถีชีวิต วัฒนธรรมอาํ เภอตางๆ ของจังหวัด นครสวรรค เปนการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม เพ่ือใหเกิด การสบื สาน และการสรา งองคค วามรทู างดา นวฒั นธรรมนบั เปน พนั ธกจิ ท่ีสําคัญของงานวัฒนธรรม การที่กรมสงเสริมวัฒนธรรม สนับสนุน ใหส ภาวฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรคร ว มกบั สาํ นกั งานวฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรค ดําเนินการจัดทําหนังสือวิถีชีวิต วัฒนธรรมอําเภอ ๑๕ อาํ เภอ จงั หวดั นครสวรรค เพอื่ ดแู ลรกั ษา สืบสานมรดกทางวฒั นธรรม และเผยแพรขอมูล ซึ่งเปนทุนทางวัฒนธรรมของจังหวัดนครสวรรค ขอมูลดังกลาวไดมาจากการสังเคราะหและเรียบเรียงเนื้อหาจาก คณะกรรมการสภาวฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรค นกั วชิ าการสาํ นกั งาน วฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรค และผมู คี วามรทู หี่ ลากหลาย โดยรวบรวม ประวัติ ตํานาน ชุมชนด้ังเดิมโบราณสถาน-โบราณวัตถุ ศาสนา และความเช่ือ บุคคลสําคัญทางศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมทองถ่ิน รกุ ขมรดก แหลงทองเทีย่ วเชิงวฒั นธรรม บคุ คลผูทาํ คุณประโยชนดาน วฒั นธรรมทค่ี วรยกยอ งอนั สะทอ นถงึ วฒั นธรรมของจงั หวดั นครสวรรค ซึ่งจะเปนประโยชนตอการสืบคน การเก็บรวบรวมเรื่องราวตางๆ ใน รูปแบบหนงั สือ บนั ทึกลงแผนซีดี และจดั ทาํ QR Code

๓๔ วถิ ชี วี ติ วฒั นธรรม อําเภอไพศาลี จงั หวดั นครสวรรค ในนามของจังหวัดนครสวรรค ขอแสดงความชื่นชมและขอ ขอบคุณคณะกรรมการสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค นักวิชาการ วัฒนธรรม สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค และผูเก่ียวของ ทไี่ ดทุมเทแรงกาย แรงใจในการจดั ทาํ หนงั สือวิถีชีวิต วฒั นธรรมอาํ เภอ ๑๕ อาํ เภอ จงั หวดั นครสวรรค เพ่ืออนรุ ักษและเผยแพรขอมูล อนั จะ เปนประโยชนตอคนรุนหลังตอไป (นายอรรถพร สิงหวิชัย) ผูวาราชการจังหวดั นครสวรรค

วถิ ชี วี ติ วฒั นธรรม อาํ เภอไพศาลี จงั หวดั นครสวรรค ๓๕ คาํ นิยม วฒั นธรรมจังหวดั นครสวรรค หนงั สือวิถีชีวิต วฒั นธรรมของแตละอาํ เภอนี้ เปน การรวบรวม ขอมลู ความรตู างๆ ทเ่ี ปน เรอ่ื งราวของทองถนิ่ ทมี่ ีมาอยางยาวนาน ดาน ศิลปะและวัฒนธรรม วิถีชีวิต ประเพณี ชุมชนดั้งเดิม โบราณสถาน โบราณวตั ถุ ความเปน อยทู ส่ี อ่ื การรกั ษาอารยธรรมของบรรพบรุ ษุ ทเ่ี ปน เอกลักษณของแตละอําเภอไว เพื่อใหคนรุนหลังไดเรียนรู ไดสืบทอด และตอยอดทางวัฒนธรรม กระผมตองขอขอบคุณและชื่นชมนักวิชาการวัฒนธรรม ผูประสานงานประจําอําเภอทุกทาน ผูเกี่ยวของทุกฝายทุกทานท่ีไดให ขอมูล คําแนะนํา ขอเสนอแนะ ท่ีเปนประโยชนในการจัดทําหนังสือ ในครง้ั นี้ เพอ่ื เกบ็ รวบรวมขอ มลู จนสาํ เรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงคข องโครงการ ทายนี้หวังเปนอยางย่ิงวาหนังสือเลมนี้จะเปนประโยชนในการ ศึกษาคนควา สําหรบั นักเรียน นักศึกษา ประชาชน และผูสนใจท่ัวไป และขอใหทุกทานรวมอนุรักษสืบสานวัฒนธรรม ประเพณีของทองถิ่น นั้นไวใหคงอยูกบั ลกู หลานสืบไป (นายประสิทธ์ิ พุมไมชยั พฤกษ) วัฒนธรรมจงั หวดั นครสวรรค

๓๔ วถิ ชี วี ิต วัฒนธรรม อําเภอไพศาลี จังหวดั นครสวรรค

วถิ ีชีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอไพศาลี จังหวดั นครสวรรค ๓๕ คาํ นํา ประธานสภาวฒั นธรรมจังหวดั นครสวรรค วัฒนธรรม หมายถึงวิถีการดําเนินชีวิต ความคิด ความเชื่อ คานิยม จารีตประเพณี พิธีกรรม และมรดกภูมิปญ ญา ซึง่ กลุมคนและ สังคมไดรวมกันสรางสรรค ส่ังสม ปลูกฝง เรียนรู สืบทอด ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง เพ่ือใหเกิดความเจริญงอกงาม ท้ังดานจิตใจและวัตถุ ใหเกิดสันติสุขและความยัง่ ยืนสืบไป หนังสือวิถีชีวิต วัฒนธรรมเลมนี้ มาจากการสังเคราะหและ เรยี บเรยี งเนอ้ื หาจากนกั วชิ าการสาํ นกั งานวฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรค และคณะกรรมการสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค ซ่ึงแบงออก เปน เลม เลมละ ๑ อาํ เภอ รวม ๑๕ เลม ๑๕ อาํ เภอ เนื้อหาไดแก ประวตั ิ ตํานาน สภาพปจจบุ ัน ชมุ ชนด้ังเดิม ศิลปะทองถิ่น วฒั นธรรมทองถน่ิ แหลงทองเทย่ี วเชิงวัฒนธรรม บคุ คลผูทําคณุ ประโยชนดานวฒั นธรรม ที่ควรยกยองในอําเภอตางๆ ของจังหวัดนครสวรรค จัดทําในรูปแบบ หนงั สอื แผน ซดี ี และจดั ทาํ QR Code ทง้ั นไี้ ดร บั การสนบั สนนุ งบประมาณ จากกรมสงเสริมวัฒนธรรม โดยความรวมมือของจังหวัดนครสวรรค เปนอยางดียง่ิ หวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือวิถีชีวิตวัฒนธรรมอําเภอเลมน้ี จะเปนประโยชนแกนักเรียน นักศึกษา ประชาชนท่ัวไป และขอใหเรา

๓๔ วถิ ีชีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอไพศาลี จังหวดั นครสวรรค ชวยกนั สงเสริม อนุรกั ษ วัฒนธรรมใหเจริญงอกงามย่งิ ขึ้น ขอขอบคุณ ผูเก่ียวของ ท่ีใหขอมูลทุกทาน ลวนเปนผูกอใหเกิดความสําเร็จในการ จัดทําหนังสือในครั้งนี้ หนังสือวิถีชีวิตวัฒนธรรม เลมน้ีจึงถือไดวา มี คุณคาอยางย่งิ เปนสมบตั ิของเราชาวจังหวัดนครสวรรคตอไป (นายนทั ธี พุคยาภรณ) ประธานสภาวฒั นธรรมจังหวดั นครสวรรค

วิถชี วี ติ วัฒนธรรม อาํ เภอไพศาลี จังหวดั นครสวรรค ๓๕ สารบญั หนา เรือ่ ง ๑ ๓ บทที่ ๑ ประวตั ิ ตํานาน คําขวญั และสภาพปจจุบัน ๑๓ ประวตั ิ ๑๓ คาํ ขวัญ ๑๖ ตราประจําอําเภอไพศาลี ตํานาน ๒๓ ท่ตี ้ังอาณาเขต ๓๗ บทที่ ๒ ชมุ ชนด้ังเดิม ๓๗ ชุมชนดั้งเดิม ๔๔ ๔๔ บทท่ี ๓ ศาสนาและความเชอ่ื วดั และศาสนสถาน วัดท่สี ําคัญของอําเภอไพศาลี ศาสนสถานอืน่ ๆ ส่งิ ศกั ดส์ิ ิทธ์ขิ องอาํ เภอไพศาลี

๓๔ วถิ ชี วี ิต วฒั นธรรม อาํ เภอไพศาลี จงั หวัดนครสวรรค ๕๓ บทที่ ๔ วฒั นธรรมทอ งถน่ิ ๕๕ วิถีชีวิต ๖๐ ๖๐ บทท่ี ๕ แหลง ทองเท่ยี วเชิงวฒั นธรรม สถานทีแ่ หลงทองเท่ยี ว อาหารการกิน ของท่รี ะลึก บรรณานุกรม ภาคผนวก

วถิ ีชวี ติ วฒั นธรรม อาํ เภอไพศาลี จงั หวดั นครสวรรค ๑๓๕ ๑บทท่ี ประวัติ ตํานาน สภาพปจ จบุ ัน ประวัติอําเภอไพศาลี ๑. ประวตั ิ อาํ เภอไพศาลี เดมิ ขน้ึ อยกู บั อาํ เภอทา ตะโก ตงั้ เปน กงิ่ อาํ เภอเมอื่ วันท่ี ๑ มกราคม ๒๕๐๕ ซง่ึ ขณะนั้น มีนายสวสั ดิ์ วงศปฏิทัศน ดาํ รง ตาํ แหนงเปน ผวู าราชการจงั หวดั นครสวรรค และผไู ดรบั แตงตั้งใหดาํ รง ตําแหนงปลัดอาํ เภอผูเปนหวั หนาประจํากง่ิ อาํ เภอ ดงั นี้ ๑. นายวิวัฒน ทัพกฤษณ ระยะเวลาดํารงตําแหนง ๑ ก.พ. ๒๕๐๕ – ๓๐ เม.ย. ๒๕๐๖

๓๒๔ วถิ ชี วี ิต วัฒนธรรม อาํ เภอไพศาลี จงั หวดั นครสวรรค ๒. รอยตรีสญั ชัย ศวิตชาต ระยะเวลาดาํ รงตําแหนง ๑ พ.ค. ๒๕๐๖ – ๒๕ ต.ค. ๒๕๐๘ และยกฐานะขึ้นเปนอําเภอ เมื่อเดือนตุลาคม ๒๕๐๗ ช่ือ “ไพศาลี” น้ีนาจะมาจากชื่อเมืองเกา “เวสาลี” ซ่ึงเปนเมืองเกา สมัยขอมเรืองอาํ นาจในดินแดนสวุ รรณภมู ิ ปจ จุบนั ยงั ปรากฏหลกั ฐาน ทางโบราณสถานโบราณวัตถุอยูมากมาย ซึ่งเปนท่ีต้ังของตําบล สาํ โรงชัย หางจากท่ที าํ การอําเภอปจ จบุ นั ประมาณ ๒๐ กิโลเมตร ประวัติความเปน มาของเมืองเกาเวสาลี มีกลาวไวดงั นี้ เมืองไพศาลี ต้ังอยูที่ตําบลสําโรงชัย อําเภอไพศาลี จังหวัด นครสวรรค จากการสาํ รวจของกรมศลิ ปากร เมอื่ ปพ ทุ ธศกั ราช ๒๕๑๑ พบวาเปน เมืองส่เี หลย่ี มผืนผา มุมมน มีกําแพงดินสองชน้ั ชั้นนอกเหลือ รากฐานเล็กนอย สวนกําแพงชั้นในยังเหลืออยูเปนสวนใหญ มีคูเมือง

วถิ ีชวี ติ วฒั นธรรม อําเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค ๓๕ คั่นกลางขนาดของเมืองยาวประมาณ ๗๐๐ เมตร กวาง ๕๐๐ เมตร สันนิษฐานวาจะสรางขึ้นสมัยทวาราวดี บริเวณทีต่ ้ังชุมชนเปน ทรี่ าบลุม มีทางนํ้าไหลผาน คือ คลองสาํ โรง จากการขุดแตงในปพุทธศักราช ๒๕๓๙ พบวา โบราณสถาน ซงึ่ อยบู รเิ วณดา นตะวนั ออกของเมอื งนน้ั เปน ศลิ ปะสมยั อยธุ ยาตอนกลาง และตอนปลาย โบราณสถานท่ีขุดแตง ประกอบดวย อุโบสถ มณฑป วหิ าร และเจดยี  สนั นษิ ฐานวา ทยี่ า ยทต่ี งั้ ของอาํ เภอไพศาลมี าตง้ั ปจ จบุ นั นี้ เพราะ ท่ีต้ังอําเภอเปนจุดก่ึงกลางของทั้ง ๘ ตําบล ประกอบดวย ตาํ บลโคกเดอื่ ตาํ บลไพศาลี ตาํ บลวงั นาํ้ ลดั ตาํ บลวงั ขอย ตาํ บลนาขอม ตาํ บลตะครอ ตําบลสําโรงชยั และตาํ บลโพธ์ปิ ระสาท คาํ ขวญั อําเภอไพศาลี หลวงพอโอนลือนาม หลวงพอดาํ ลือเล่อื ง เมืองเกาเวสาลี หนอไมดีรสหวาน ตาํ นานเขาหินกลิ้ง งามยิ่งรอยพระพุทธบาท สวนรุกขชาติซบั สมบูรณ

๓๔ วิถชี ีวิต วฒั นธรรม อาํ เภอไพศาลี จังหวดั นครสวรรค “หลวงพอโอนลือนาม” ทา นเปน พระสงฆท ช่ี าวอาํ เภอไพศาลเี คารพนบั ถอื ทา นมตี าํ แหนง ทางสงฆเปนเจาคณะอําเภอไพศาลี เจาอาวาสวัดโคกเดื่อ หลวงพอโอน อุปสมบท เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๗๑ โดยมี พระครนู ิวาสธรรมขันธ ทีเ่ รารูจกั กัน ดีในนาม “หลวงพอเดิม” เปน พระอปุ ช ฌาย ทา นจงึ เปน ลกู ศษิ ยข อง หลวงพอ เดมิ รปู หนง่ึ ขณะทห่ี ลวงพอ โอนยงั มชี วี ติ อยไู ดท าํ นบุ าํ รงุ พระพทุ ธ ศาสนาท้ังการกอสรางศาสนสถานตางๆ ไวมาก ตลอดจนการเผยแพร ธรรมะและบริหารกิจการสงฆใหเปนไปดวยความเรียบรอยตลอดมา โดยทท่ี านเปน ผูหวงงานมากกวาสขุ ภาพสวนตวั ตอมาจึงทาํ ใหเกิดการ เจ็บปวยอยูเนืองๆ จนเม่ือวนั ท่ี ๒๔ มีนาคม ๒๕๓๒ ทานก็ไดมรณภาพ ดว ยโรคแผลทข่ี ว้ั กระเพาะอาหารกาํ เรบิ รวมสริ อิ ายไุ ด ๘๒ ป ๖๑ พรรษา ปจ จบุ นั ยงั มีรปู หลอของทานเทาองคจริงไวสกั การบชู า อยูทว่ี ดั โคกเดอ่ื และวัดไพศาลี

วถิ ชี ีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอไพศาลี จังหวดั นครสวรรค ๕๓๕ “หลวงพอ ดาํ ลือเล่อื ง” หลวงพอ ดาํ เปน พระพทุ ธรปู ทต่ี ง้ั อยใู นวดั รา งสระทะเล หมทู ี่ ๘ ตาํ บลโคกเดอ่ื อาํ เภอไพศาลี ซงึ่ สรา งในสมยั ใดไมเ ปน ทปี่ รากฏหลกั ฐาน แนชัด แตทราบจากการสันนิษฐานของกรมศิลปากรวา สรางในสมัย สโุ ขทยั มอี ายปุ ระมาณ ๗๐๐ ปเ ศษ เมอ่ื แรกชาวบา นคน พบเปน พระพทุ ธ รูปองคใหญ น่ังดําทมึนอยูกลางปาที่รกชัฏ จึงเรียกขานตามกันมาวา “หลวงพอดํา” ตลอดมา พระครูนิมิตพุทธิสาร (หลวงพอโอน) ไดเคย กลาววา มีผูเลาขานบอกตอกันมาวา กอนจะเปนวัดราง มีสมภารช่ือ “หลวงตาเจาะ” รปู รางสูงใหญ ผิวดาํ คลายคนโบราณท่วั ไปและยงั เปน ผูเรืองวิชาอาคมมาก ตอมาเม่ือป พ.ศ. ๒๔๘๙ ในสมัยกํานันพูน แกวคง ไดชักชวนชาวบานนําเอาสังกะสีมามุงหลังคาคลุมองคไวและ ชวยกันตอเติมโดยรอบองคพระเปนอาคารเอนกประสงคเพ่ือใชใน

๓๖๔ วิถีชีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค กจิ กรรมทวั่ ๆ ไป ปจ จบุ นั เปน พทุ ธสถานหลวงพอ ดาํ โดยมคี ณะกรรมการ ดูแลอยู วดั หลวงพอดําอยูหางจากตวั อาํ เภอ ประมาณ ๒ กิโลเมตร “เมืองเกาเวสาล”ี เคยเปน เมอื งหนา ดา นเลก็ ๆ ของกรงุ ละโว ในดนิ แดนสวุ รรณภมู ิ ปรากฎหลักฐานจากโบราณวัตถุ เชน พระปรางค หอสมุด ฯลฯ เปน ฝมือของขอมโบราณ เม่ือราวป พ.ศ. ๑๑๐๐ ถึง พ.ศ. ๑๔๐๐ ขอมมี อาํ นาจรงุ เรืองในแควนสวุ รรณภมู ิ ตลอดทั้งในเขตแควนโคตรบรู แควน โยนก และแควนทวารวดี โดยมีกรุงละโวเปนราชธานี เมืองเวสาลี ได สรา งขน้ึ ในสมยั นน้ั มอี ายรุ นุ ราวคราวเดยี วกบั กรงุ สยาม คอื กรงุ สโุ ขทยั นครโยนก เมืองโอฆะบุรี และเมืองศรีเทพ โดยทเ่ี มืองเหลานี้ไดสรางไว เพ่ือเปนเมืองหนาดานของกรุงละโวท้ังส้ิน เมืองเวสาลีอยูหางจาก ท่ีวาการอําเภอไพศาลี ไปทางทิศใตประมาณ ๘ กิโลเมตร อยูในเขต ทองที่ หมูท่ี ๕ ตาํ บลสาํ โรงชัย

วถิ ชี วี ติ วฒั นธรรม อาํ เภอไพศาลี จงั หวัดนครสวรรค ๓๗๕ หนอ ไมดีรสหวาน” หนอไมท่ีอําเภอไพศาลีมี รสหวานอรอ ย มชี อ่ื เสยี งอยา งมาก ตอมาไดมีการนําหนอไมไผเล้ียง มาเพาะปลูกและขยายพันธุ ชาว บา นนยิ มปลกู กนั มาก เรยี กหนอ ไม ชนิดนี้วา ไผหวาน หนอไมไผเลี้ยง ชนิดนี้นํามาตมประมาณ ๑๕ นาที สามารถรบั ประทานไดทนั ที รสชาติ ของหนอไมมีรสหวาน ไมขมเหมือนหนอไมลวกทข่ี ึ้นอยูบนเขาซง่ึ ตองใช เวลาตม นาน ปจ จบุ มั ผี เู พาะพนั ธไุ ผเ ลยี้ งไวข ายและนาํ มาปลกู เปน ผลติ ผล ทข่ี ึ้นชอ่ื และเปนหน่งึ ในคําขวญั ของอาํ เภอไพศาลี “ตํานานเขาหินกลิง้ ” มีเร่ืองเลาขานสืบทอดกันมาโดยไมเคยมีการจดบันทึกมากอน วา ในสมัยกอนน้ันเมืองอินตาหรือตึกอีกาในปจจุบัน เปนเมืองเล็กๆ ท่ีมีเจาเมืองปกครอง มีกําลังทหารแตก็ไมเขมแข็งนักเมื่อเปรียบเทียบ กับเมืองอ่ืนๆ ในละแวกใกลเคียง เจาเมืองอินตามีธิดาสาวสวยเปน ทเี่ ลอื่ งลอื และเปน ทห่ี มายปองของเจา ชายเมอื งตา งๆ ทวั่ ไป อยมู าวนั หนงึ่ เจา ชายแหง เมอื งจาํ ปาสกั หรอื จาํ คานคร ซง่ึ ตง้ั อยทู างทศิ ตะวนั ออกของ เมอื งอนิ ตาและเจา ชายแหง เมืองพนมเศษ ซงึ่ ตงั้ อยทู างทศิ ตะวนั ตกของ

๓๘๔ วถิ ชี ีวิต วฒั นธรรม อําเภอไพศาลี จังหวดั นครสวรรค เมืองอินตา ไดแตงทูตนําเคร่ืองบรรณาการมาสูขอเจาหญิงแหงเมือง อินตาพรอมกับเจาเมืองอินตาไมอาจตดั สินใจยกใหใครได ดวยเกรงวา อีกเมืองหนึ่งจะโกรธและยกทัพมารุกราน เพราะท้ังสองเมืองลวนเปน เมอื งขนาดใหญท ง้ั สน้ิ จงึ ออกอบุ ายเพอื่ ทดสอบกาํ ลงั พลของทงั้ สองเมอื ง วาใครมีกําลังทหารและประชาชนมากกวากัน ดวยการใหท้ังสองเมือง เกณฑพ ลเมอื งทงั้ หมดเทา ทจี่ ะหาได กลง้ิ กอ นหนิ ขนาด ๓๐ คนโอบ จาก เมืองของตนมายังเมืองอินตา ซ่ึงทางเมืองอินตาจะตั้งหินหลักชัย ขนาดเดียวกันเอาไวพรอมกลองชัย หากเมืองใดสามารถกลิ้งหินมาถึง หลักชัยกอน ใหตีกลองชัยจะถือวาเปนผูชนะและจะยกธิดาใหอภิเษก สมรสดว ย โดยใหท ตู ทงั้ สองเมอื งรบี เดนิ ทางกลบั และเมอ่ื กลบั ถงึ เมอื งแลว ใหรีบเกณฑไพรพลใหมากเทาที่จะหาไดและกลิ้งกอนหินขนาด ๓๐ คน โอบ มาไดทนั ที อีก ๗ วันตอมาปรากฏวา เจาชายแหงเมืองจาํ ปาสัก

วิถชี วี ติ วัฒนธรรม อําเภอไพศาลี จงั หวดั นครสวรรค ๓๙๕ และไพรพลกลิ้งหินมาถึงเสนชัยกอน ไพรพลตางโหรองดีใจที่ไดชัยชนะ ตางรองรําทําเพลงกันอยางสนุกสนาน ในเวลาไลเล่ียกันเจาชายแหง เมืองพนมเศษก็กล้ิงหินมาถึงเสนชัยเชนเดียวกัน แตยังไมไดยินเสียง กลองชัย จึงคิดวาตนเองมาถึงกอนจึงใหทหารไปลั่นกลองชยั เมอ่ื เสียง กลองชยั ดงั ขน้ึ เจา เมอื งอนิ ตาจงึ ใหท หารออกมาดวู า ใครเปน ผลู นั่ กลอง ทหารรายงานวา เปน คนของเจา ชายพนมเศษแตท หารทเ่ี ฝา สงั เกตการณ รายงานวา เจาชายเมืองจาํ ปาสักมาถึงเสนชยั กอน เม่ือเหตุการณเปนดังนี้ เจาเมืองอินตาจึงตัดสินใจใหเจาเมือง พนมเศษเปนผูชนะ เพราะทําถูกตองตามกติกาท่ีวางไวซ่ึงสรางความ ไมพ อใจใหก บั ธดิ าเปน อยา งมากเพราะธดิ านน้ั ชน่ื ชอบเจา ชายเมอื งจาํ ปาสกั อยูเปน ทนุ แลว และเจาชายเมืองจําปาสักกม็ าถึงเสนชัยกอนดวย เพียง แตลืมล่ันกลองชัยเทานั้น ดังนั้น เม่ือบิดาตัดสินใจใหเจาชายพนมเศษ เปนผูชนะ นางจึงตัดสินใจหนีออกจากเมืองอินตา เจา เมอื งอนิ ตาใหค นออกตดิ ตามคน หาจนพบตวั ในทสี่ ดุ แตธ ดิ า ไมย อมกลบั จะขออยบู นภเู ขา ซง่ึ ไพรพ ลทต่ี ดิ ตามนางหนอี อกมาไดจ ดั ทาํ ท่ีประทับให ซ่ึงเจาเมืองอินตาตองใชเวลาปลอบประโลมอยูนาน หลายวัน นางจึงยอมกลับไปอภิเษกกับเจาชายพนมเศษ ปจจุบันภูเขา อนั เปน ทป่ี ระทบั ของนางจงึ ไดช อ่ื วา “เขาโลมนาง” อยรู ะหวา งบา นเขาปอ และบา นเขาใหญ อาํ เภอไพศาลี ในระหวางทางทก่ี ลบั เมืองอนิ ตา ไดพ บ ทองคาํ จาํ นวนมาก จงึ ไดข ดุ ทองบรรทกุ หลงั ชา งไปมากเทา ทจี่ ะเอาไปได

๓๑๔๐ วิถีชีวิต วฒั นธรรม อําเภอไพศาลี จงั หวัดนครสวรรค บริเวณดังกลาวปจจุบนั มีช่อื วา “บานบอทอง” อยูหางจากเขาโลมนาง มาทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือราว ๗ กิโลเมตร ในการเดินทางสมัยกอนไมสามารถเดินลัดตัดตรงไปไดเหมือน ในปจ จบุ นั จาํ เปนตองเดินทางไปตามภมู ิประเทศท่พี อจะสามารถไปได ดงั นน้ั จะเปน ไดว า ระยะทางในปจ จบุ นั นด้ี เู หมอื นแตล ะจดุ ทกี่ ลา วถงึ อาจ ไมหางกันนัก แตในสมัยโบราณตองใชเวลาเดินทางเปนแรมเดือนก็มี หรอื บางครงั้ จะเหน็ วา การเดนิ ทางไมน า จะออ มไปขนาดนน้ั แตเ รอ่ื งราว ทําไมจึงตองเดินทางออมไป ซึ่งอาจเกิดจากเหตุผลดานภูมิประเทศ ทแี่ ตกตา งกนั ในแตล ะยคุ เปน ปจ จยั เมอื่ ไดท องคาํ มากพอแลว ขบวนรบั ธดิ า เจาเมืองอินตาก็ออกเดินทางตอไป แตดวยเหตุที่มีชางเพียงเชือกเดียว บรรทุกพระธิดา สัมภาระและทองคําจํานวนมาก ในที่สุดชางติดหลม ไมสามารถเอาชางข้ึนมาได ชางอดอาหารจนตายซ่ึงบริเวณดังกลาว เปนท่ตี ้ังของหมูบาน “เขาชางฟบุ ” ในยคุ ปจจุบนั หลังอภิเษกสมรสกบั เจา ชายพนมเศษ จนตง้ั ครรภใ กลเ วลาคลอดตามประเพณแี ลว ฝา ยหญงิ ตอ งเดนิ ทางกลบั มาคลอดทเี่ มอื งของตนเอง เจา ชายพนมเศษจงึ จดั ขบวน พานางมาคลอดยังเมืองอินตา ระหวางทางนางเกิดเจ็บทองและคลอด ลกู ออกมาไดเ พยี งครง่ึ ตวั นางกข็ าดใจตาย ซง่ึ บรเิ วณนนั้ ปจ จบุ นั ไดช อ่ื วา “บานดอนคา” ตําบลดอนคา อาํ เภอทาตะโก

วถิ ชี วี ิต วัฒนธรรม อาํ เภอไพศาลี จังหวดั นครสวรรค ๑๓๑๕ “งามย่งิ รอยพระพุทธบาท” มีรูปลักษณะเปนแผนหินชนวนสีเขียว แกะสลัก สันนิษฐานวา สรางในสมัยพระเจาลิไทแหงกรุงสุโขทัย จากเอกสารท่ีมีผูบันทึกทําให ทราบวา รอยพระพทุ ธบาทนไ้ี ดถ กู อนั เชญิ มาจากกรงุ ศรอี ยธุ ยา ในสมยั สมเดจ็ พระนารายณมหาราช พรอมกบั ผคู นทถี่ กู เกณฑมาสรางเมืองเว สาลี โดยนาํ ไปประดิษฐานไวบนยอดเขา แลวสรางวิหารครอบไว ภเู ขา ลูกนี้คือ ท่ีต้ังของวัดพระพุทธบาท ตําบลสําโรงชัย อําเภอไพศาลี ใน ปจ จุบันนี้ อยูหางจากท่วี าการอาํ เภอไพศาลี ประมาณ ๑๒ กิโลเมตร

๓๑๒๔ วิถชี ีวติ วัฒนธรรม อําเภอไพศาลี จงั หวดั นครสวรรค “สวนรกุ ขชาติซับสมบรู ณ” สําหรับประวัติความเปนมาของสวนรุกขชาติแหงน้ี เปนสวน รุกขชาติ ๑๐๐ ป กรมปาไมหรือเรียกกันวา สวนรุกขชาติซับสมบูรณ ไดรับประกาศต้ังเม่ือป พ.ศ. ๒๕๓๙ เพื่อเปนที่ระลึกเน่ืองในโอกาส เปน ปแหงการเฉลิมฉลองครบรอบ ๑๐๐ ป ของการสถาปนากรมปาไม อยใู นเขตการปกครองทอ งถน่ิ ของหมทู ี่ ๖ ตาํ บลวงั ขอ ย เนือ้ ทรี่ วมทง้ั สนิ้ ๑,๔๖๕ ไร หรือ ๒.๓๔ ตารางกิโลเมตร

วิถีชวี ติ วฒั นธรรม อาํ เภอไพศาลี จงั หวดั นครสวรรค ๓๑๕๓ ตราประจําอําเภอไพศาลี ตราสัญลักษณ คือ ตรงกึ่งกลางเปนวงกลมพื้นสีขาวภายใน วงกลม ประกอบดวยรูปเจดียและรูปรวงขาว ซึ่งมีความหมาย คือ รูปเจดีย แสดงถึงเปนดินแดนแหงเมืองเกาคือ เวสาลี และเปนชื่อ เมืองหน่ึงของประเทศอินเดียซ่ึงมีธัญญาหารท่ีอุดมสมบูรณ ซึ่งในที่นี้ หมายถึง รวงขาว ที่เปนผลผลิตทางการเกษตรของชาวอําเภอไพศาลี ทข่ี ึ้นช่อื ลือนาม ตาํ นาน มีตํานานเลาวา เมืองไพศาลี เปนเมืองหนาดานของสุโขทัย ปรากฏในตํานานเรื่องแมน้ําเจาพระยาและหนองสมบูรณของจังหวัด นครสวรรค เมอ่ื พทุ ธศักราช ๑๘๙๓ พระเจาอูทองสรางกรุงศรีอยุธยา เปนราชธานีและไดขึ้นครองราชสมบัติ ทรงพระนามวา “สมเด็จ

๓๑๔ วิถชี วี ิต วัฒนธรรม อําเภอไพศาลี จงั หวัดนครสวรรค พระรามาธิบดีที่ ๑” พระองคทรงขยายราชอาณาจักรเพ่ือรวมไทยให เปน ปก แผน โดยไดข ยายราชอาณาจกั รขน้ึ มาจดหวั เมอื งฝา ยเหนอื ดว ย พระปรีชาสามารถ ทรงรูผอนสั้นผอนยาว ถึงแมจะทรงมีเดชานุภาพ กไ็ มท รงคดิ ทจ่ี ะรกุ รานเอาอาณาจกั รสโุ ขทยั ทดี่ อ ยกาํ ลงั มาไวใ นอาํ นาจ ดวยเกรงวาจะเปนการหักหาญกอศึกในหมูคนไทยดวยกันเองและเพ่ือ ถนอมไมตรีระหวางอยุธยากับสุโขทัยไว ในขณะท่ีพระองคไดทรงข้ึน ครองราชยนั้น ไดใหพระราเมศวรราชบุตรไปปกครองเมืองลพบุรีและ ไดใ หข นุ หลวงพระงว่ั พระเชษฐาไปปกครองสพุ รรณบรุ ี ตอ มา พ.ศ.๑๙๑๒ พระเจา อทู องสวรรคต พระราเมศวรราชโอรสไดท รงขน้ึ ครองราชยแ ทน แตในเวลาตอมาก็จําตองถวายราชสมบัติใหขนุ หลวงพระง่วั พระปตุลา พ.ศ. ๑๙๑๓ ขุนหลวงพระงั่วไดขึ้นครองราชสมบัติ ทรงพระนามวา “สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าช ท่ี ๑” เปน กษตั รยิ อ งคท ่ี ๓ ของกรงุ ศรอี ยธุ ยา พระองคทรงจดั เจนและใฝพระทยั ในการทาํ สงครามมาแตสมยั พระเจา อูทอง ในขณะนั้น กรุงสุโขทัยมีพระมหาธรรมราชาลิไทเปนกษัตริย ปกครอง พระองคท รงออนแอมาก ประเทศราชทง้ั หลายตา งกแ็ ขง็ เมือง ทางกรุงสโุ ขทัยไมสามารถไปตีคืนมาครอบครองเหมือนดงั เดิมได พ.ศ. ๑๙๑๕ สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชที่ ๑ เสวยราชสมบตั ไิ ด ๒ ป พระองค ทรงปรบั ปรงุ กจิ การบา นเมอื ง ทาํ นบุ าํ รงุ ทแกลว ทหารสะสมเสบยี งอาหาร พรอ มดว ยแสนยานภุ าพ ทรงเหน็ วา ถงึ เวลาแลว ทจ่ี ะรวบรวมไทยใหเ ปน ปกแผน ดังนัน้ จึงยกกองทัพเขาตีแควนสุโขทัยตอนใต โดยยกกองทพั

วิถชี วี ติ วัฒนธรรม อาํ เภอไพศาลี จังหวดั นครสวรรค ๓๑๕ เขา ตเี มอื งจาํ ปา (ชยั นาท) ไดก อ น แลว ยกกองทพั มาตง้ั มน่ั รายลอ มเมอื ง พระบางไว เมืองนครสวรรค หรือเมืองพระบาง เปน เมืองหนาดานตอนใต ของสุโขทัย ต้ังอยูบนฝงแมนํ้าใหญ มีพระยาอนุมานวิจิตรเกษตรเปน เจาเมืองในขณะนนั้ มีเมืองอยูในความปกครอง อีก ๔ เมือง คือ ๑) เมืองไตรตรึงษ อยูทางทิศเหนือ มีเจาพระยาอัษฎานุภาพ เปนเจาเมือง (ปจจุบนั อยูในเขตอาํ เภอเมือง จงั หวดั กําแพงเพชร) ๒) เมืองไพศาลี อยูทางทิศตะวนั ออก มีเจาพระยาราชมณฑป เปนเจาเมือง (ปจจุบัน คือ บานหนองไผ ตําบลหนองไผ (ปจจุบันคือ ตาํ บลสาํ โรงชัย) อาํ เภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค) ๓) เมืองการุง อยูทางทิศตะวันตก มีเจาพระยาวิเศษสรไกร เปน เจาเมือง (ปจ จุบันคือ บานการุง ตําบลวงั หิน อําเภอบานไร จงั หวดั อทุ ยั ธาน)ี ๔) เมืองจําปา อยูทางทิศใต ปจจบุ นั คือ จงั หวดั ชยั นาท พระยาอนมุ านวจิ ติ รเกษตร เจา เมืองพระบางนนั้ มที หารเอกอยู ๒ คน คนหนึง่ ช่ือสมบุญ เปน ทหารทมี่ ีความเกงกลาสามารถมากและ อกี คนหนง่ึ ชอื่ ศรี แตท วา ศรนี นั้ เอาใจออกหา งไปเขา กบั ฝา ยกรงุ ศรอี ยธุ ยา เพื่อหวังจะไดเปนใหญในแผนดินพระบางฝายเมืองหนาดานของเมือง พระบางทั้งสาม (เวนนครจําปา ซง่ึ กรงุ ศรีอยธุ ยายึดไวไดแลว) ไดทราบ

๓๑๖๔ วิถีชวี ิต วฒั นธรรม อาํ เภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค ขาววาเมืองพระบางถูกลอม จึงยกกองทัพมาชวย เจาพระยาทั้งสี่ได รวบรวมกาํ ลังปองกนั เมืองพระบางไวเปน สามารถ ทตี่ ้งั อาณาเขต อําเภอไพศาลีเปนอําเภอหนึ่งใน ๑๕ อําเภอ ของจังหวัด นครสวรรค ตั้งอยูทางทิศตะวันออกของตัวจังหวัด หางจากจังหวัด ประมาณ ๗๐ กิโลเมตร การติดตอกบั จงั หวัดใชเสนทางหลวงแผนดิน หมายเลข ๓๐๐๔ (ถนนสายนครสวรรค – ทาตะโก – ไพศาล)ี มีเนื้อท่ี ประมาณ ๙๗๙ ตารางกโิ ลเมตรหรอื ประมาณ ๖๑๑,๘๗๕ ไร มอี าณาเขต ติดตอดังนี้ ทิศเหนือ ติดกบั อําเภอหนองบัว จงั หวดั นครสวรรค ทศิ ตะวนั ออก ตดิ กบั อาํ เภอบงึ สามพนั อาํ เภอวเิ ชยี รบรุ ี จงั หวดั เพชรบรู ณ และอาํ เภอโคกเจริญ จงั หวัดลพบุรี

วถิ ชี วี ิต วฒั นธรรม อําเภอไพศาลี จังหวดั นครสวรรค ๓๑๕๗ ทิศใต ตดิ กบั อาํ เภอตากฟา จงั หวดั นครสวรรค และอาํ เภอ หนองมวง จงั หวัดลพบรุ ี ทิศตะวนั ตก ติดกับอาํ เภอทาตะโก จังหวัดนครสวรรค สภาพโดยทวั่ ไปเปน ทรี่ าบสงู มภี เู ขาสลบั ซบั ซอ น สภาพดนิ ทวั่ ไป ลกั ษณะภมู ิประเทศ เปน ดนิ เหนยี วปนทราย ไมส ามารถเกบ็ นา้ํ ในฤดแู ลง ได ไมม แี มน าํ้ สาํ คญั ไหลผาน พื้นท่ลี าดเอียงลงมาทางทิศตะวันตก อยูสงู จากระดับนํ้าทะเล ประมาณ ๑,๕๐๐ ฟุต และนํ้าฝนจะไหลลงสู บึงบอระเพ็ดและแมนํ้า เจาพระยา สภาพภมู ิประเทศ อาํ เภอไพศาลี ตง้ั อยหู มทู ่ี ๘ ตาํ บลไพศาลี อาํ เภอไพศาลี จงั หวดั นครสวรรค มีเนื้อทป่ี ระมาณ ๙๗๙ ตารางกิโลเมตร หรือ ๖๑๑,๘๗๕ ไร อยทู างทศิ ตะวนั ออกของจงั หวดั นครสวรรค ประมาณ ๗๐ กโิ ลเมตร สภาพโดยท่ัวไปเปนท่ีราบสูง มีภูเขาสลับซับซอน สภาพดินท่ัวไปเปน ดินเหนียวปนทราย ไมสามารถเก็บน้ําในฤดูแลงได โดยมีอางเก็บนํ้า หวยน้ําลาด ตาํ บลไพศาลี ซ่งึ เปน อางเก็บน้ําขนาดใหญ ซ่งึ จะชวยทาํ ให ระบบนเิ วศนข องพน้ื ทช่ี มุ นาํ้ ทอ่ี ดุ มสมบรู ณ ประกอบดว ยพชื นาํ้ นานาพนั ธุ และสัตวน้ํานานาชนิด โดยเฉพาะนกนํ้านับพันตัวที่ไดเขามาอาศัยอยู หากินและทํารัง จัดเปนแหลงทองเที่ยวพักผอนทางธรรมชาติอีก

๑๓๘๔ วิถีชีวิต วฒั นธรรม อาํ เภอไพศาลี จงั หวัดนครสวรรค แหงหนง่ึ ของอาํ เภอไพศาลีในชวงฤดูฝน แตในชวงฤดูแลงจะเกิดปญ หา เร่ืองน้ําเพราะอางเก็บนํ้านี้มีการร่ัวซึมไมสามารถซอมแซมได ซึ่ง สวนราชการไดสํารวจเพอ่ื แกไขปญ หานี้ แตก็ยังไมสามารถดําเนินการ ไดจึงทําใหราษฎรเดือดรอนประสบปญหาขาดแคลนนํ้าในฤดูแลง และเหตุผลอีกประการหนึ่งคือเปนอําเภอที่ไมมีแมน้ําสําคัญไหลผาน พื้นทจ่ี ะลาดเอียงมาทางทิศตะวนั ตก อยูสงู จากระดบั นํ้าทะเลประมาณ ๑,๕๐๐ ฟตุ ลกั ษณะภูมิอากาศ เปนมรสุม มี ๓ ฤดู คือ ฤดรู อน ฤดฝู น และฤดหู นาว ในฤดูรอน อากาศรอนอบอาวและแหงแลง อุณหภูมิสูงสุดประมาณ ๔๒ องศา เซลเซียส และหนาวจดั ในฤดหู นาว อุณหภูมิต่าํ สดุ ประมาณ ๑๘ องศา เซลเซียส ในฤดูฝน ฝนจะตกไมตองตามฤดูกาลและตกไมสมํ่าเสมอ ประมาณนํ้าฝนโดยเฉล่ยี ๕๙.๐๗ มิลลิเมตร

วิถชี วี ิต วฒั นธรรม อาํ เภอไพศาลี จงั หวดั นครสวรรค ๓๑๕๙ ทรัพยากรธรรมชาติ ๑. ทรพั ยากรดิน ลักษณะดินของอําเภอไพศาลีแบงเปนชนิดไดดังนี้ ๑.๑ ดินนา ลักษณะดินเปนดินเหนียวเน้ือละเอียด ดิน เหนยี วปนทราย ดนิ รว นเหนยี วและดนิ เหนยี วปนกรวด การระบายนาํ้ ไมด ี ความอุดมสมบูรณคอนขางสูง เหมาะสมสําหรับการทํานาครบวงจร พบบริเวณตอนกลางของอาํ เภอ ๑.๒ ดนิ ไร ลกั ษณะดนิ เปน ดนิ รว นปนทราย ดนิ รว นเหนยี ว ปนทราย ดินรวนเหนียวปนกรวด การระบายน้ําดี ถึงดีมาก ความอุดม สมบรู ณค อ นขา งตา่ํ เหมาะสาํ หรบั การปลกู พชื ไรแ ละไมย นื ตน พบบรเิ วณ ทางทิศตะวันออกของอําเภอ ๑.๓ ดินดื้อ เปนกลุมดินที่มีศักยภาพตํ่า หนาดินต้ืนเกิน ไปไมเ หมาะใชใ นการกสกิ รรม ความอดุ มสมบรู ณต า่ํ พบบรเิ วณตอนบน สุดของอาํ เภอ ๑.๔ ภเู ขา เปน กลมุ ดินทม่ี ีหินปนู มาก ความอดุ มสมบรู ณ ตาํ่ พบบริเวณทางทิศตะวันออกของอําเภอ ๒. ทรพั ยากรปาไม พนื้ ทป่ี า ไมใ นเขตอาํ เภอไพศาลี สว นใหญเ ปน ปา เบญจพรรณ ปจ จบุ นั ปาไมของอาํ เภอลดลงอยางรวดเรว็ เนอื่ งจากมีการบกุ รกุ ปาไม

๓๒๐๔ วิถีชวี ติ วฒั นธรรม อําเภอไพศาลี จงั หวัดนครสวรรค เพอื่ ทาํ เปน พน้ื ทเี่ พาะปลกู พชื เศรษฐกจิ ตา งๆ กรมปา ไมไ ดเ ลง็ เหน็ ปญ หา ดังกลาวจึงไดดําเนินการแกไขโดยการปลูกปาทดแทน ปรับปรุง ฟนฟู ปาเสอื่ มโทรมและกาํ หนดแบง เขตพืน้ ทปี่ าและทดี่ นิ ทาํ กนิ ของราษฎรให ชัดเจนรวมทั้งใหสิทธิทํากินแกเกษตรกรท่ีทํามาหากินมากอนและท่ีจะ มีการประกาศเปน ปาสงวนประเภททด่ี ิน แบงเปน ๒ ประเภท คือ ๑. ทดี่ ินของรัฐ ประกอบดวย : ปาเขาสงู - เขารวก-เขาชางฟบุ : ปาเขาคอก – ปาโลมนาง – เขาสอยดาว ๒. ทดี่ ินเอกชน พื้นท่ปี าสงวนแหงชาติท่ีอยูในเขตปกครองของอําเภอ คอื ปา เขาคอก – เขาโลมนาง – เขาสอยดาว มเี นอื้ ทป่ี ระมาณ ๑๐๕,๖๐๐ ไร พนื้ ทย่ี งั คงสภาพปา เหลอื อยเู พยี งบรเิ วณทเี่ ปน ภเู ขาเทา นน้ั สว นพน้ื ท่ี ราบกลายเปน พนื้ ทเ่ี กษตรกรรมและทอ่ี ยอู าศยั ของราษฎรไปเกอื บทง้ั หมด จํานวนประชากร อําเภอไพศาลี มีจํานวนประชากรท้ังส้ิน ๗๘,๕๓๓ คน ชาย ๓๙,๑๖๒ คน หญิง ๓๙,๓๗๑ คนความหนาแนนเฉลี่ย ๘๐.๒๑ คน ตอตารางกิโลเมตร จาํ นวนครวั เรือน ๒๐,๗๒๑ ครวั เรือน (ขอมลู ณ วันที่ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๘)

วถิ ีชวี ิต วฒั นธรรม อําเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค ๓๒๑๕ การคมนาคม ตาํ บลไพศาลี ตําบลไพศาลีเดิมเปน สว นหนงึ่ ของตาํ บลโคกเดอื่ ซง่ึ ทางราชการไดแยกออกมาตั้ง เปนตําบลเมื่อป พ.ศ. ๒๕๓๒ มี ๘ หมูบาน พื้นเพเดิมของ ชาวตาํ บลไพศาลเี ปน ประชากร ทอี่ พยพมาจากอําเภอทาตะโกจากจงั หวดั ตางๆ ในภาคกลาง และจาก บางจงั หวดั ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ภาษาทใี่ ชในตาํ บลนี้ มีทงั้ ภาษา ไทยกลางและภาษาถนิ่ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื สว นประเพณสี ว นหนง่ึ เปน ประเพณีทเี่ หมือนประเพณีในภาคกลางทว่ั ไป แตประชากรทอี่ พยพ มาจากภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื กย็ งั คงรกั ษาประเพณขี องตนเอาไว การ ตง้ั ถน่ิ ฐานของประชากรตงั้ ถนิ่ ฐานขนึ้ มาจากการอพยพเมอ่ื สมยั ทบี่ รเิ วณ นี้ยังเปนปาดงดิบซึ่งเรียกกันวา “ปายังไมแตก” แตเดิมบริเวณน้ีมีโจร ผรู า ยชกุ ชมุ เนอ่ื งจากเปน หมบู า นทหี่ า งไกลความเจรญิ การเดนิ ทางตอ ง ใชเกวียน เจาหนาท่ขี องรัฐไมสามารถจะเขามาควบคมุ ดูแลได

๒๓๒๔ วิถีชีวิต วฒั นธรรม อาํ เภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค เสน ทางการคมนาคมของอาํ เภอไพศาลจี ะใชถ นนเปน สายหลกั สําหรับการติดตอกับจังหวัดและอําเภอใกลเคียง โดยใชเสนทางหลวง แผน ดนิ หมายเลข ๓๐๐๔ (ถนนสายนครสวรรค – ทา ตะโก ไพศาล)ี เปน ถนนแอสฟล ทแ ละถนนคอนกรตี สว นเสน ทางสาํ หรบั การตดิ ตอ ระหวา ง ตาํ บลและหมบู า น สว นใหญจ ะเปน ถนนลกู รงั ในชว งฤดฝู นการคมนาคม ไมสะดวกเพราะถนนชํารุดเปนหลุมเปนบอ มีบางตําบลและหมูบาน ถนนเปนถนนแอสฟล ทผานเขาไปถึง ซ่งึ ไดรบั งบประมาณกอสรางจาก สวนราชการและองคการปกครองสวนทองถน่ิ การปกครอง อําเภอไพศาลี ปจจุบันเปนอําเภอชั้นสอง แบงการปกครอง ออกเปน ๘ ตาํ บล ๑๐๑ หมูบาน

วิถีชวี ติ วัฒนธรรม อําเภอไพศาลี จงั หวัดนครสวรรค ๓๒๓๕ ๒บทท่ี ชมุ ชนด้ังเดิม ชมุ ชนด้งั เดิม / กลมุ คนด้งั เดิม ๑. ผลจากการศึกษาหลักฐาน ช้ันดินทางโบราณคดีของกรม ศิลปากร เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๑ พบวา กอนการกอสรางเมืองโบราณสถาน กลุมเมืองเวสาลี บริเวณนี้ไดมีชุมชนต้ังหลักแหลงอยูกอนแลว จะเห็น วาชุมชนในสมัยกอนประวัติศาสตรตอนปลายในหลายพื้นท่ีไดมีการ พฒั นาเขาสูการเปนชุมชน คูนํา้ คนั ดิน ในสมยั ทวารวดี เชน บานใหม ชัยมงคล พัฒนาเปนชุมชนจันเสน ชุมชนบานเขาบอพลับ พัฒนาเปน ชุมชนเมืองโคกไมเดน ชุมชนบานเขาลอ พัฒนาเปน ชุมชนเมืองดอนคา ชุมชนสมยั ทวารวดีเหลานี้ บางแหงยงั คงมีการพัฒนาอยางตอเนอ่ื งเขา สสู มยั สโุ ขทยั และอยธุ ยาตอ มา ชมุ ชนโบราณพบทหี่ นองไผไ พศาลี อาํ เภอ ไพศาลีซึ่งมีคูน้ําคนั ดินลอมรอบและมีชมุ ชนรอบๆ ซึง่ เปนสระนํา้ ๒. ขอมูลสืบเน่ืองจากขอมูลทางประวัติศาสตรของจังหวัด นครสวรรค พอจะสนั นษิ ฐานไดว า ชมุ ชนดงั้ เดมิ ของคนลาวของชาวอาํ เภอ ไพศาลี มีอยู ๕ ตาํ บล คือ ตาํ บลวังนํ้าลดั ตําบลโคกเดือ่ ตําบลตะครอ ตําบลสําโรงชัยและตําบลโพธิ์ประสาท จากการสอบถามผูสูงวัยของ

๓๒๔ วิถีชวี ิต วฒั นธรรม อาํ เภอไพศาลี จังหวดั นครสวรรค ตาํ บลวงั น้าํ ลดั ราษฎรบางสวนไมใชคนในพื้นท่ี ไดอพยพมาจากจงั หวดั นครราชสีมาซ่ึงไดแพรกระจายจากหมูบานหนึ่งไปยังหมูบานหน่ึงและ ขยายพ้ืนท่ีไปยังตําบลวังขอยและนาขอม สาเหตุที่ทําใหคนไทยอีสาน อพยพมานั้น เน่ืองจากในป ๒๕๐๐ เกิดภัยแลงอยางรุนแรงทําให การเกษตรไมไดผลผลิตประกอบกับจังหวัดนครสวรรคมีความอุดม สมบรู ณแ ละมที รพั ยากรนาํ้ เปน ปจ จยั หลกั ในการทาํ การเกษตรจงึ ทาํ ให ชาวอีสานอพยพมาจับจองท่ีทํากินในท่ีดินและสรางแหลงอารยธรรม ของตนเอง มกี ารนาํ ขนบธรรมเนยี มของตนมาปฏบิ ตั แิ ละยงั มกี ารอนรุ กั ษ ไวจนถึงปจจบุ ันนี้ ชุมชนดง้ั เดิมของตาํ บลตางๆ ตําบลโคกเด่อื บานโคกเดอ่ื เดิมเรียกวา บานพงั มวง หรือบานกลาง (หมูท่ี ๔ ปจ จบุ นั ) ตอมาเปล่ยี นเรียกวา บานโคกเดอ่ื ตําบลนี้เดิมเปนตําบลใหญ มปี ระชากรมาก จงึ ไดแ ยกไปเปน ตาํ บลไพศาลี เมอื่ ป พ.ศ. ๒๕๓๒ พนื้ เพ เดิมของขาวโคกเด่ือเปนคนพ้ืนบานโคกเด่ือแทบทั้งส้ิน ภาษาไทยเปน ภาษาไทยกลาง มีเพลงพื้นเมืองเปน เพลงพื้นบาน ในอดีตตาํ บลโคกเดอ่ื อยหู า งไกลความเจรญิ มาก ทาํ ใหใ นอดตี มโี จรผรู า ยชกุ ชมุ เนอ่ื งจากเปน รอยตอของจังหวดั คือ เพชรบูรณ ลพบุรี และนครสวรรค แตปจจบุ ัน ความเจริญเขามาถึงประชากรสวนใหญอยูในเขตเทศบาล สันนิษฐาน

วิถีชีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอไพศาลี จังหวดั นครสวรรค ๓๒๕ วา เม่ือประมาณ ๑๐๐ ป ประชากรเหลานี้อพยพมาจากทานํ้าออย อาํ เภอพยุหะคีรี ตาํ บลวงั ขอย เดิมตําบลวังขอยเปนปาดงดิบ อุดมสมบูรณไปดวยปาไม เบญจพรรณลอ มรอบไปดว ยเทอื กเขา ในฤดฝู นจะมนี าํ้ หลากจากจงั หวดั เพชรบูรณมารวมตัวกันเปนลําคลองไหลลงสูอําเภอทาตะโกและลงสู บึงบอระเพด็ บริเวณลําคลองมีตนขอยข้ึนอยูเปนจํานวนมาก ในบางคร้ัง จะเกิดนํ้าวนเปน ชวงๆ ตอมาเมื่อป พ.ศ. ๒๕๑๖ มีราษฎรอพยพเขามา ต้ังถิ่นฐานตามแนวเทือกเขา ชาวบานท่ีมาอาศัยอยู เรียกบานวังขอย จนเมื่อป พ.ศ. ๒๕๒๒ บานวังขอยไดยกฐานะเปน “ตําบลวังขอย” มาถึงปจจุบัน

๒๓๖๔ วิถีชวี ิต วฒั นธรรม อาํ เภอไพศาลี จงั หวัดนครสวรรค ตาํ บลวงั น้ําลัด ตาํ บลวงั นาํ้ ลดั ไดแ ยกการปกครองมาจากตาํ บลโคกเดอื่ ราษฎร สว นใหญอ พยพมาจากภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื คอื จากอาํ เภอปก ธงชยั อาํ เภอดานขนุ ทด จงั หวดั นครราชสีมา และมีอีกสวนหนง่ึ อพยพถนิ่ ฐาน มาจากจงั หวดั รอยเอด็ โดยการชกั ชวนกนั เขามาจบั จองพื้นทท่ี าํ กินเมอ่ื ประมาณ ป พ.ศ. ๒๔๘๐ – ๒๔๙๔ และเมื่อมาอยูไดชกั ชวนญาติพ่นี อง ยายถ่ินฐานมาอยูเปน ชุมชนทใ่ี หญขึ้น ปจจุบนั คือ บานเขาดิน ซง่ึ เดิม เรียกวา “บานทุงกฐิน” และราษฎรบางสวนไดอพยพจับจองพ้ืนที่อยู อาศยั และท่ที าํ กินทางทิศเหนือ คือบานหวยเขวา และบานรองหอย ตาํ บลนาขอม บานนาขอม เดิมเปน หมูบานในเขตปกครองของตาํ บลวงั นํ้าลัด ทางราชการไดย กฐานะขน้ึ เปน ตาํ บลนาขอม เมอื่ วนั ที่ ๑๒ ตลุ าคม ๒๕๓๑

วถิ ีชีวิต วฒั นธรรม อําเภอไพศาลี จังหวดั นครสวรรค ๓๒๕๗ ประชากรสวนใหญอพยพมาจากภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ เชน จงั หวดั นครราชสีมา รอยเอ็ด ชัยภูมิ และจากอําเภอตางๆ ในเขตจังหวัด นครสวรรค เชน ทาตะโก ภาษาท่ใี ชจึงมีทั้งภาษากลางและภาษาอีสาน ประเพณมี ที ง้ั ของภาคกลางและภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ทป่ี ระชากรยงั คงรกั ษาประเพณีดั้งเดิมไว เชน บั้งไฟ สงกรานต และประเพณีเกี่ยวกับ ศาสนาทวั่ ไป ประชากรทอ่ี พยพเขา มาในตาํ บลนาขอมโดยเรมิ่ เขา มาหกั รางถางพงตั้งแตสภาพปาไมยังเปนปาดงดิบ จนปจจุบันปาไมหมดไป กลายเปนสภาพไรนา แตเดิมเสนทางคมนาคมติดตอระหวางอําเภอ ไพศาลกี บั ตาํ บลนาขอมเปน ไปดว ยความยากลาํ บาก จงึ ทาํ ใหเ กดิ ปญ หา เก่ียวกับโจรผูรายและผูมีอิทธิพล แตเจาหนาที่ของรัฐมีจํานวนนอยไม สามารถเขาไปควบคมุ ดูแลไดอยางทั่วถึง

๓๒๘๔ วถิ ชี ีวติ วัฒนธรรม อําเภอไพศาลี จงั หวัดนครสวรรค ตําบลโพธ์ปิ ระสาท เดมิ เปน หมบู า นขน้ึ กบั ตาํ บลสาํ โรงชยั ในป ๒๕๒๒ ทางราชการ โดยกรมการปกครองไดท าํ การแบง แยกและยกฐานะใหเ ปน ตาํ บลโดยมี นายหลนั่ แยม ประดษิ ฐ เปน กาํ นนั คนแรก ประชากรในตาํ บลโพธปิ์ ระสาท สวนใหญอพยพมาจากภาคกลาง เชน จังหวัดสิงหบุรี ลพบุรี ชัยนาท ภาษาทใี่ ชส ว นใหญเ ปน ภาษาไทยกลาง ประชากรทอี่ พยพเขา มาสมยั นนั้ ยังเปนปาดงดิบหรือภาษาพ้ืนบานเรียกกันวา “ปายังไมแตก” จึงไมมี หลักฐานท่ีแนชัดวาใครเปนผูบุกเบิกและสรางหมูบานเปนคนแรก แต เดิมบริเวณนี้มีโจรผูรานชุกชุม เน่อื งจากเปนหมูบานทีอ่ ยูหางไกลความ เจริญและไมมีเสนทางคมนาคม ทําใหเจาหนาที่ของรัฐเขามาควบคุม ดแู ลใหความปลอดภัยไมทว่ั ถึง และจากการสาํ รวจ ของกรมศิลปากร ตําบล โพธ์ิประสาท เปนชุมชน กอ นประวตั ศิ าสตร (หนิ เกา ) ในยคุ ๔,๕๐๐ ป โดยปรากฏ หลักฐาน คือ เคร่ืองมือ เคร่อื งใชท่ฝี ง ทับถม เปนไปตามความเชอ่ื โดยพบไดท่วั ไปในตําบลโพธ์ิ ประสาท หมทู ี่ ๑ ถงึ หมทู ี่ ๓ มีมากทส่ี ดุ คอื หมทู ี่ ๒ บา นไรป ระชาสรรค

วถิ ชี วี ิต วฒั นธรรม อาํ เภอไพศาลี จังหวดั นครสวรรค ๓๒๕๙ ชมุ ชนกอ นประวตั ศิ าสตร ยคุ ตน – ปลาย พบไดท วั่ ไปโดยเฉพาะ หมูท่ี ๕ บานโพธป์ิ ระสาท ตอนสรางโบสถ วัดโพธป์ิ ระสาท ไดขดุ พบ หอกสาํ รดิ เปน จาํ นวนมากการสาํ รวจขดุ คน โดยกรมศลิ ปากร ชว งป พ.ศ. ๒๕๑๙-๒๕๓๖ เปนแหลงคนพบภาชนะเครื่องใชแบบโลหะและแบบ ดนิ เผาของคนโบราณ ซง่ึ เปน ชมุ ชนในสมยั กอ นประวตั ศิ าสตรต อนปลาย ทไี่ ดม กี ารพฒั นาเขา สกู ารเปน ชมุ ชนคนู าํ้ คนั ดนิ ในสมยั ทวารวดี เครอื่ งใช โลหะท่ขี ดุ พบมีอายกุ วา ๒,๐๐๐ ป อาทิใบหอกโบราณยงั จัดเปนศิลปะ กอนประวัติศาสตร สวนภาชนะดินเผาประเภทเครื่องใชสอย อาทิ หมอ ดินเผา ตะคนั หรือตะเกียง แวดินเผา และเครอ่ื งประดับ อาทิ กําไล เปลือกหอย จัดเปนศิลปะสมัยทวารดี อยูในชวงประมาณ ศตวรรษ ท่ี ๑๒-๑๖ ตาํ บลสาํ โรงชัย ตําบลสําโรงชัย เปนชุมชนท่ีมีความสําคัญมาแตโบราณ จาก ตํานานคําบอกเลาของผูเฒาผูแกและจากเอกสารของอาจารยบุญมี ศรีอุทิศ ซึ่งเปนผูมีความรูไดบันทึกไว (บางสวน) คือ บานสําโรงชัย เดิมเรียกวา “บานเสาธงชัย” มีลําคลองขนาดใหญและลึก ทําให เรือบรรทกุ เสบียงอาหารและสงของเดินทางผานไปสรางเมืองเวสาลีได ในฤดนู า้ํ จะมนี า้ํ ในลาํ คลองไหลเชยี่ วเมอ่ื เรอื ชะลา ลาํ หนง่ึ บรรทกุ เงนิ ตรา สมัยเกา เพ่ือมาใชจายในการกอสรางเมือง พอเรือมาถึงวัดสําโรง ใน

๓๐๔ วิถีชีวิต วฒั นธรรม อําเภอไพศาลี จงั หวัดนครสวรรค เขตบานเสาธงชัย มีรากสําโรงตนใหญตนหนึ่งซ่ึงโตประมาณ ๓ ออม แขน ของคนท่ยี ืนจบั มือกนั ทั้งสองแขน แทงทองเรือแตกทะลุ เรือชะลา ลาํ นจ้ี งึ จมสทู อ งลาํ คลองพรอ มทง้ั ทรพั ยส นิ ทง้ั หมด เนอ่ื งจากนาํ้ ลกึ มาก จึงตองปลอยทรัพยสินท้ังหมดจมดินจมทรายจนกระท่ังทุกวันนี้ สวน ชาวบานที่ขึ้นเรือมาถูกเกณฑมาสรางเมืองเวสาลีนั้นไดหยุดพักเหนื่อย ณ บริเวณนี้ ไดชวยกันใชจอบขุดดิน เปน คนั คพู รอมกับเลนเพลงยิ้มใย กนั อยางสนกุ สนานจนกลายเปน สระนํ้าลกู ใหญเรียกวา “สะลอง” และ “สระเพลง” ในสมยั ตอมา ชาวบานจึงเปลย่ี นชอ่ื จากบานเสาธงชยั เปน บานสาํ โรงชัย ตําบลตะครอ ประชากรตาํ บลตะครออาศยั อยตู าํ บลนี้มานานประมาณ ๑๐๐ กวาป มีการเลาขานกันวา พื้นเพเดิมของคนตะครอเปนคนเวียงจันทร ประเทศลาว ถกู ตอนอพยพเมอื่ คร้ังสมยั กรงุ ศรีอยธุ ยาเปน ราชธานีไทย

วถิ ชี วี ติ วฒั นธรรม อาํ เภอไพศาลี จังหวดั นครสวรรค ๓๑๕ กษัตริยไทยยกทัพ....ในป พ.ศ. ๒๓๑๐ กรงุ ศรีอยุธยาไดถูกพมาทาํ ลาย และเขา ยดึ ไวไ ด ทหารของกรงุ ศรอี ยธุ ยาแตกกระจดั กระจายพากนั หลบ หนี ในคร้ังน้ันมีทหารลานชางกลุมหนึ่งมีขุนศรี ขุนแวนแกวและพี่นอง ราว ๖ คนไดแตกทัพและพากันหนีเขามาต้ังถิ่นฐาน ณ บานเดิ่นตาล (หมูที่ ๓ บานตะครอ ปจจุบัน) ซ่ึงเปนทําเลเหมาะจะตั้งถ่ินฐาน คือ ทิศเหนือเปน ภูเขา ทางทิศใตหางจากหมูบานประมาณ ๕๐๐ เมตร เปน ลําหวยซ่ึงตนลําหวยมาจากเทือกเขาเพชรบูรณ มีนํ้าขังในลําหวย ตลอดปและเปนพ้ืนที่อยูระหวางเมืองไพศาลีกับเมืองศรีเทพหลังจาก กรงุ ศรีอยุธยาถกู พมาปกครองอยูประมาณ ๗ เดือน พระยาตาก (สิน) ไดกูอิสรภาพใหกลับคืนสูคนไทยและรวบรวมคนไทยใหเปนปกแผนอีก ครง้ั ในชว งพระยาตากกาํ ลงั รวบรวมคนไทย ทา นขนุ ศรที ราบขา วกก็ ลบั เขาไปรวมเปนทหารดวย ในครั้งหน่ึงที่พระยาตากสินไดใหเจาพระยา มหากษตั ริยศึก (รัชกาลท่ี ๑) ยกทัพไปปราบเวียงจันทรและไดชัยชนะ

๓๒๔ วถิ ีชีวิต วฒั นธรรม อาํ เภอไพศาลี จงั หวัดนครสวรรค กลบั มา ในครั้งนั้นไดเชลยลาวจํานวนมาก ทานขนุ ศรีไดรบั ปนู บาํ เหน็จ รางวลั และไดรบั เชลยคือ แมแพง ในฐานะภรรยา มีบุตรเปนหญิง ๕ คน คือ แมพวง แมมี แมน่ิม แมปราง และแมออย นบั เปน ครั้งแรกท่จี าํ นวน สมาชิกของชมุ ชนไดเพ่มิ มากขึ้น ตอมาทานขุนศรีไดเสียชีวิต ลกู หลาน ไดสรางเจดียบรรจอุ ฐั ิไว สวนขนุ แวนแกว บ้ันปลายชีวิตไดบวชเปน ภิกษุ สรางสํานักอยูหางจากบานเด่ินตาลประมาณ ๔๐๐ เมตร ไปทางทิศ ตะวันออก ปจจุบันบริเวณสํานักหลวงตาแกว ชาวบานเรียกวา บานหนองตาแกว (อยูในเขตบานหนองตาแกว หมูที่ ๑๖ ตําบลตะครอ) หลวงตาแกวมรณภาพ ชาวบานจึงสรางเจดียบรรจุอัฐิของทานไวซ่ึง เจดียทั้งสองยงั ปรากฏเปน หลักฐานจนถึงปจจุบนั นี้ ลูกหลานของขุนศรีสรางวัดข้ึนมาชื่อ “วัดจุมพล” อยูดาน ตะวันออกของคลองฝรั่ง ปจจุบันเปล่ียนชื่อเปน “วัดตะครอ” ตาม ช่อื บาน เดิมบานตะครอขึ้นอยูหมูท่ี ๖ อาํ เภอชัยบาดาล จังหวัดลพบรุ ี ตอ มาทางราชการตอ งการตั้งกง่ิ อาํ เภอ ทา ตะโก จงั หวดั นครสวรรค แต

วิถีชวี ิต วัฒนธรรม อาํ เภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค ๓๕๓ จาํ นวนประชากรนอ ย จงึ ใหร วมบา นตะครอ กบั กงิ่ อาํ เภอทา ตะโก ตอ มา มีการขอแยกอาํ เภอ คือ อําเภอไพศาลี ในปจ จุบนั บานตะครอจึงอยูใน เขตปกครองของอาํ เภอไพศาลี จงั หวดั นครสวรรค มาจนถึงปจ จุบนั เมื่อคราวพมาลอมกรุงศรีอยุธยาในรัชสมัยพระเจาเอกทัศ กรงุ ศรอี ยธุ ยากาํ ลงั อยใู นความโกลาหลวนุ วายตามพระราชพงศาวดาร กรงุ ธนบรุ ี ฉบบั พันจันทนมุ าศ (เจิม) และพระราชพงศาวดารกรงุ สยาม กลา ววา เนอ่ื งจาก “... แตเ หตอุ ธบิ ดเี มอื งและราษฎรมเิ ปน ธรรม...” ชนชน้ั ผูปกครอง ตางไมเอาใจใสตอการปกครองบานเมืองและการปองกัน ประเทศ บา นเมอื งแตกความสามคั คี ทาํ ใหเ กดิ ปญ หาขา วยากหมากแพง โจรผูรายชุกชมุ บานเมืองระส่ําระสาย ตางฝายตางเอาตวั รอด ดวยเหตุ ดงั กลาว เมอ่ื พ.ศ. ๒๓๐๙ พระยาตาก (พระยาวชิรปราการ) เหน็ วา ถึงแมจะอยูชวยรักษาพระนครตอไป คงไมกอใหเกิดประโยชนอันใด พมาไดต้ังลอมพระนครกระชั้นเขามาทุกขณะจนถึงคูพระนครแลว กรงุ ศรอี ยธุ ยาคงไมพ น เงอ้ื มมอื พมา เปน แนแ ท ไพรฟ า ขา ทหารในพระนคร ก็อิดโรยออนกําลังลงมาก เนื่องจากขัดสนเสบียงอาหาร ทหารไมมี กาํ ลงั ใจจะสรู บ ในเวลาคา่ํ คนื วนั เสาร เดอื นย่ี ขนึ้ ๔ คาํ่ ปจ อ พ.ศ. ๒๓๐๙ ตรงกบั วนั ที่ ๓ มกราคม พ.ศ. ๒๓๐๙ พระยาตาก (พระยาวชิรปราการ) จึงไดนาํ พรรคพวกไพรพลทหารกลาไทยจีนประมาณ ๑,๐๐๐ คน ตีฝา วงลอ มพมา ออกจากกรงุ ศรอี ยธุ ยาไปทางดา นตะวนั ออก โดยมนี ายทหาร ผูใหญไดออกมาสมทบไปดวย ตอมาไทยไดเสียกรุงศรีอยุธยาแกพมา ในวนั องั คาร เดือน ๕ ขึ้น ๙ ค่ํา พ.ศ. ๒๓๑๐ ตรงกบั วันท่ี ๗ เมษายน ๒๓๑๐ หลังจากที่พมาลอมกรุงศรีอยุธยาอยูนานถึง ๑ ป ๒ เดือน

๓๔ วิถีชวี ิต วฒั นธรรม อาํ เภอไพศาลี จงั หวดั นครสวรรค พระราชวงั วดั วาอาราม ตลอดจนบานเรือนราษฎรถกู เผาทําลายเกือบ หมดสนิ้ พระพทุ ธรปู ทส่ี าํ คญั ของกรงุ ศรอี ยธุ ยาคอื พระศรสี รรเพชญดาญาณ พมา เอาไฟสมุ พระพทุ ธรปู เพอ่ื ใหท องคาํ ทห่ี มุ พระพทุ ธรปู ละลายเกบ็ เอา ไปเมอื งพมา ทางดา นของนายทองดว ง (สมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลก มหาราช) ไดกลาวกับพอขนุ ศรีและพรรคพวกทหารวา “หากเราอยูทน่ี ี่ ตอไป พวกเราตองเสียชีวิตเปนแน” จึงไดสั่งกับพอขุนศรีและพอขุน แวนแกว ใหเดินทางไปทางบก สวนนายทองดวงจะเดินทางไปเรือ ตาม ลําน้ําเจาพระยา สวนพอขุนศรีเดินทางไปทางบกโดยมีชางเปนพาหนะ พอขุนศรีไดเดินทางมากับขุนแวนแกวและทหารอีกสวนหนึ่ง พอขุนศรี ออกเดนิ ทางมาเรอ่ื ยๆ จนมาถงึ ทด่ี งปา ไมแ หง หนง่ึ ซงึ่ มตี น ตะครอ มากกวา ไมชนิดอ่นื ๆ พอขุนศรีจึงตกลงกับขุนแวนแกวและไพรพลทหารใหสราง หมูบานขึ้นบริเวณปาไมตะครอนี้ เม่ือป พ.ศ. ๒๓๑๐ เพราะมีทําเล เหมาะสมแกการสรางบานเรือน เนื่องจากทางดานทิศเหนือเปนภูเขา ทางทศิ ใตเ ปน ลาํ หว ยชอ่ื วา ลาํ หว ยใหญซ ง่ึ ตน ลาํ หว ยเกดิ มาจากเทอื กเขา เมืองเพชรบรู ณมีน้ําขงั ในลาํ หวยตลอดทั้งป บางจดุ น้ําลึกมากและเปน พื้นทซ่ี งึ่ อยูระหวางเมืองเวสาลีกบั เมืองศรีเทพ เมอื่ พอ ขนุ ศรแี ละไพรพ ลทหารสรา งบา นเสรจ็ กต็ ง้ั ชอ่ื หมบู า นวา “บานชมุ พล” เพราะชาวบานสวนมากเปน ทหาร โดยมารวมพลซองสุม กาํ ลังพลพรอมท่จี ะไปรบกับขาศึกตลอดเวลา เม่ือสรางหมูบานเสร็จไมนานขุนแวนแกวซ่ึงเปนทหารท่ีมากับ พอ ขนุ ศรจี งึ สละเพศฆราวาสบวชเปน พระสงฆ ขนุ แวน แกว เปน พระสงฆ และเจาอาวาสรปู แรกของวดั ชมุ พล (วดั ตะครอ) ชาวบานพากนั เรียกวา

วถิ ีชีวิต วัฒนธรรม อําเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค ๓๕ “หลวงตาแกว” หลวงตาแกวบวชไดไมนาน พระเจาตากสินจึงเรียกรวม พลทเี่ มอื งจนั ทบรุ เี พอ่ื ยกทพั เขา ตพี มา หวงั กอบกอู สิ รภาพ เมอ่ื พอ ขนุ ศรี และทหารทบี่ า นชมุ พลทราบขา ว จงึ เดนิ ทางเขา รว มรบกบั พระเจา ตากสนิ พระเจาตากสินไดยกทัพมาพักจัดการปกครองท่ีเมืองชลบุรีและยกทัพ มาถึงปากน้ําเมืองสมุทรปราการแลวยกทัพไปลอมทัพพมาที่คาย โพธิ์สามตน จนพมาพายแพยกทพั หนีกลับไป เม่ือสมเด็จพระเจาตากสินมหาราชเสด็จข้ึนครองราชยในวันท่ี ๒๘ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๓๑๐ ทรงรวบรวมหวั เมอื งตา งๆ เขา มาอยใู นอาํ นาจ โดยทรงดําเนินการเร่ิมจากโจมตีหัวเมืองท่ีออนแอท่ีสุดแลวจึงไปตีหัว เมืองท่เี ขมแขง็ ทสี่ ดุ สมเดจ็ พระเจาตากสินมหาราชและเจาพระยาจักรี (เจา ชายทองดว ง) ไดย กทพั เขา ตหี วั เมอื งลาว พ.ศ. ๒๓๑๑ โดยมพี อ ขนุ ศรี กับทหารของพอขุนศรีเขารวมรบดวย ในการรบคร้ังน้ันรบไดชัยชนะ ทหารจงึ ไดจ บั เชลยศกึ ไวเ ปน จาํ นวนมาก พอ ขนุ ศรกี ไ็ ดเ ลอื ก แมน างคาํ แพง ซ่ึงเปนเชลยศึกมาเปนเมีย พอขุนศรี แมคําแพง และทหารจึงเดินทาง กลับบานชมุ พล โดยพอขนุ ศรีและแมคาํ แพงไดอยูกินกันมา มีบุตรดวย กัน ๕ คน เปน ผูหญิงทั้งหมด ตามลาํ ดับดงั นี้ ๑) แมมี ๒) แมปรางค ๓) แมน่ิม ๔) แมออย ๕) แมพวง ลูกของพอขุนศรีและแมคําแพงจึงมีเชื้อ สายลาว มอญ เพราะวาพอขนุ ศรีเปน ทหารไทยเชื้อสายมอญ พอขนุ ศรี และแมคําแพงตั้งรกรากปกฐานบานเรือนอยูท่ี บานชุมพลกับชาวบาน โดยประกอบอาชพี การทาํ นา ทาํ ไร ปลกู ปา นและปลกู ฝา ย ฯลฯ อยดู ว ย ความรม เยน็ เปน สขุ หลงั จากนนั้ พอ ขนุ ศรแี ละทหารบา นชมุ พลเขา รว มรบ กบั สมเดจ็ พระเจา ตากสนิ มหาราชและเจา พระยาจกั รี (เจา ชายทองดว ง)

๓๖๔ วิถชี ีวติ วฒั นธรรม อําเภอไพศาลี จงั หวดั นครสวรรค อีกคร้งั เพื่อยกทพั ไปขับไลพมาท่เี ขามารกุ ราน จนพอขนุ ศรีไดเสียชีวิต ทามกลางสนามรบ แมคําแพงและชาวบานชุมพลจึงไดสรางเจดียเพ่ือ บรรจอุ ฐั ขิ องพอ ขนุ ศรี เมอ่ื สรา งเจดยี เ สรจ็ ไดน าํ อฐั ขิ องพอ ขนุ ศรไี ปบรรจุ ที่เจดียพรอมพระพุทธรปู ทองคาํ เครอื่ งเงิน เครื่องทองสาํ ริดและของมี คา อนื่ ๆ เจดยี น นั้ อยมู มุ โบสถเ กา วดั ชมุ พล สว นสมบตั ไิ ดถ กู ขโมยไป เหลอื แตเ จดยี ท ป่ี รกั หกั พงั ซง่ึ ตอ มาป พ.ศ. ๒๕๐๖ พอ ใหญจ อน สรอ ยอาภรณ และชาวบา นชมุ พลไดช ว ยกนั รวบรวมบรจิ าคปจ จยั บรู ณปฏสิ งั ขรณเ จดยี  พอ ขนุ ศรขี นึ้ ใหม เพอื่ เปน อนสุ รณส ถานพอ ขนุ ศรี ไวเ ปน ทเี่ คารพ กราบไหว บูชาของลูกหลานชาวบานชุมพล สวนเจดียกลางน้ําสระวัดชุมพลน้ัน หลวงตาแกว (ขุนแวนแกว) ไดสรางไวเพ่ือใหชาวบานกราบไหวบูชา ชาวบานเรียกเจดียนี้วาเจดียตาแกว เม่ือกอนเจดียตั้งอยูบนพ้ืนดิน เหตุท่อี ยูในนํ้าเนอ่ื งจากทางวัดไดขดุ สระใหมรอบบริเวณเจดีย ตอ มาชาวบา นไดเ ปลย่ี นชอ่ื จากบา นชมุ พลเปน ชอ่ื “บา นตะครอ ” และวัดชุมพลก็เปลี่ยนช่ือใหมเปนวัดตะครอ เพราะวาบริเวณพื้นท่ีตั้ง บานตะครอมีตนตะครออยูมากกวาไมชนิดอื่น ต้ังแตบัดน้ันจึงเรียกช่ือ วาบานตะครอเรอ่ื ยมา อางอิงจาก - อดุ ม เชยกวี งศ “สมเดจ็ พระเจา ตากสนิ มหาราช” กรงุ เทพฯ : สํานกั พิมพภมู ิปญ ญา ๒๕๕๐ - บทสมั ภาษณ นายตาย นาคตระกลู ปราชญชาวบานตาํ บล ตะครอ

วิถชี ีวติ วัฒนธรรม อําเภอไพศาลี จังหวดั นครสวรรค ๓๗๕ ๓บทท่ี ศาสนาและความเช่อื วัดและศาสนสถาน ประชาชนสว นใหญข องอาํ เภอไพศาลีนบั ถอื ศาสนาพทุ ธ ประมาณ รอยละ ๙๙.๘๔ ศาสนาอ่นื อีกรอยละ ๐.๑๖ วัดทีส่ ําคัญของอาํ เภอไพศาลี ๑. ตําบลโคกเดอ่ื วดั หนองแทงแรด ตั้งอยูหมูท่ี ๗ ตําบลโคกเดื่อ อําเภอไพศาลี จงั หวดั นครสวรรค สงั กดั คณะสงฆม หานกิ าย ทดี่ นิ ตง้ั วดั มเี นอื้ ทป่ี ระมาณ ๘ ไร ๑ งาน ๑๘ ตารางวา ไดรับอนญุ าตใหสรางวดั เมอื่ ป พ.ศ. ๒๔๕๕ ๒. ตําบลไพศาลี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook