Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนองบัว

หนองบัว

Published by boonkamon65, 2021-07-01 01:27:28

Description: หนองบัว

Search

Read the Text Version

วิถีชีวิต วฒั นธรรม อาํ เภอหนองบัว จงั หวัดนครสวรรค ๓๕ วิถีชีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอหนองบวั จงั หวัดนครสวรรค

๓๔ วถิ ชี วี ิต วัฒนธรรม อาํ เภอหนองบวั จังหวดั นครสวรรค

วิถชี วี ิต วฒั นธรรม อาํ เภอหนองบวั จงั หวดั นครสวรรค ๓๕ คาํ ปรารภ อธิบดีกรมสงเสริมวัฒนธรรม วัฒนธรรมเปนส่ิงท่ีแสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเปน ระเบียบ เรียบรอย เปนมรดกทางสงั คมไทย ทบ่ี รรพบุรุษไดสรางสรรค และสั่งสมมาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ถายทอดจากรุนสูรุน มีขนบธรรมเนียม ประเพณีอันเปนที่ยอมรับรวมกันในสังคมน้ันๆ ศิลปวัฒนธรรมของไทย มีความแตกตางกันในแตละทองถ่ิน ท้ัง ขนบธรรมเนียมประเพณี ภาษาพูด ภาษาเขียน การแตงกาย อาหาร วิถีชีวิต และความเชื่อ ซ่ึงมีเอกลักษณเฉพาะที่บงบอกถึงคานิยม ความเช่ือ ศาสนา วิถีชีวิตความเปนอยู ตลอดจนสภาพแวดลอมของ ผูคนในทองถ่นิ แสดงใหเหน็ ถึงความเจริญรุงเรืองทางวัฒนธรรมทแ่ี ฝง ไปดวยภูมิปญญา และความเปนชาติที่มีอารยธรรมเกาแกมาชานาน จนกลายเปน รากฐานขององคค วามรทู างศลิ ปวฒั นธรรม และภมู ปิ ญ ญา ในดานตางๆ ท่มี ีคณุ คาของไทย ในการนี้ เพ่ือประโยชนในการอนุรักษหรือฟนฟูจารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น ศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของทองถ่ินและของชาติ และประสานการดาํ เนนิ งานวฒั ธรรมซงึ่ ภาคประชาสงั คม และประชาชน มสี ว นรว ม กรมสง เสรมิ วฒั นธรรม จงึ ไดใ หก ารสนบั สนนุ สภาวฒั นธรรม จังหวัดนครสวรรค ดําเนินการจัดทําหนังสือวิถีชีวิตวัฒนธรรมอําเภอ

๓๔ วถิ ีชีวติ วฒั นธรรม อาํ เภอหนองบวั จังหวดั นครสวรรค ตางๆ ในจังหวัดนครสวรรค เพื่อรวบรวมและเผยแพรขอมลู ซ่งึ เปนทุน ทางวฒั นธรรมของจงั หวัดนครสวรรค เพอื่ ใหเกิดประโยชนสําหรบั เด็ก เยาวชน และบุคคลท่ัวไป ไดศึกษาและรวมภาคภูมิใจในวัฒนธรรม ทองถิ่น จนกอใหเกิดความรัก ความภาคภมู ิใจในมรดกทางวฒั นธรรม ของตน ตระหนักและเห็นคุณคาของวัฒนธรรมทองถิ่น ปลูกจิตสํานึก ความรักชาติ รักถ่ิน รักแผนดินนครสวรรค และรวมอนุรักษสืบสาน วัฒนธรรมเหลานี้ใหอนุชนคนรุนหลงั สืบตอไป (นายชาย นครชยั ) อธิบดีกรมสงเสริมวฒั นธรรม

วิถชี ีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอหนองบัว จงั หวัดนครสวรรค ๓๕ คํานิยม ผูวา ราชการจงั หวัดนครสวรรค การจดั ทาํ หนังสือ วิถีชีวิต วฒั นธรรมอาํ เภอตางๆ ของจังหวดั นครสวรรค เปนการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม เพ่ือใหเกิด การสบื สาน และการสรา งองคค วามรทู างดา นวฒั นธรรมนบั เปน พนั ธกจิ ท่ีสําคัญของงานวัฒนธรรม การที่กรมสงเสริมวัฒนธรรม สนับสนุน ใหส ภาวฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรคร ว มกบั สาํ นกั งานวฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรค ดําเนินการจัดทําหนังสือวิถีชีวิต วัฒนธรรมอําเภอ ๑๕ อาํ เภอ จงั หวดั นครสวรรค เพอื่ ดแู ลรกั ษา สืบสานมรดกทางวฒั นธรรม และเผยแพรขอมูล ซ่ึงเปนทุนทางวัฒนธรรมของจังหวัดนครสวรรค ขอมูลดังกลาวไดมาจากการสังเคราะหและเรียบเรียงเนื้อหาจาก คณะกรรมการสภาวฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรค นกั วชิ าการสาํ นกั งาน วฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรค และผมู คี วามรทู ห่ี ลากหลาย โดยรวบรวม ประวัติ ตํานาน ชุมชนดั้งเดิมโบราณสถาน-โบราณวัตถุ ศาสนา และความเช่ือ บุคคลสําคัญทางศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมทองถ่ิน รุกขมรดก แหลงทองเท่ยี วเชิงวัฒนธรรม บุคคลผูทาํ คณุ ประโยชนดาน วฒั นธรรมทค่ี วรยกยอ งอนั สะทอ นถงึ วฒั นธรรมของจงั หวดั นครสวรรค ซ่ึงจะเปนประโยชนตอการสืบคน การเก็บรวบรวมเรื่องราวตางๆ ใน รปู แบบหนงั สือ บันทึกลงแผนซีดี และจัดทํา QR Code

๓๔ วิถีชีวติ วัฒนธรรม อาํ เภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค ในนามของจังหวัดนครสวรรค ขอแสดงความชื่นชมและขอ ขอบคุณคณะกรรมการสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค นักวิชาการ วัฒนธรรม สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค และผูเก่ียวของ ทไ่ี ดทุมเทแรงกาย แรงใจในการจดั ทาํ หนงั สือวิถีชีวิต วฒั นธรรมอาํ เภอ ๑๕ อาํ เภอ จงั หวดั นครสวรรค เพื่ออนรุ ักษและเผยแพรขอมูล อันจะ เปน ประโยชนตอคนรุนหลังตอไป (นายอรรถพร สิงหวิชัย) ผูวาราชการจังหวดั นครสวรรค

วิถีชวี ิต วฒั นธรรม อําเภอหนองบวั จังหวัดนครสวรรค ๓๕ คํานิยม วฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรค หนงั สือวิถีชีวิต วัฒนธรรมของแตละอําเภอนี้ เปน การรวบรวม ขอมลู ความรตู างๆ ทเ่ี ปน เรอ่ื งราวของทองถนิ่ ทมี่ ีมาอยางยาวนาน ดาน ศิลปะและวัฒนธรรม วิถีชีวิต ประเพณี ชุมชนด้ังเดิม โบราณสถาน โบราณวตั ถุ ความเปน อยทู ส่ี อ่ื การรกั ษาอารยธรรมของบรรพบรุ ษุ ทเ่ี ปน เอกลักษณของแตละอําเภอไว เพ่ือใหคนรุนหลังไดเรียนรู ไดสืบทอด และตอยอดทางวฒั นธรรม กระผมตองขอขอบคุณและช่ืนชมนักวิชาการวัฒนธรรม ผูประสานงานประจําอําเภอทุกทาน ผูเกี่ยวของทุกฝายทุกทานท่ีไดให ขอมูล คําแนะนํา ขอเสนอแนะ ที่เปนประโยชนในการจัดทําหนังสือ ในครงั้ นี้ เพอ่ื เกบ็ รวบรวมขอ มลู จนสาํ เรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงคข องโครงการ ทายน้ีหวังเปนอยางย่ิงวาหนังสือเลมน้ีจะเปนประโยชนในการ ศึกษาคนควา สําหรบั นกั เรียน นกั ศึกษา ประชาชน และผูสนใจท่ัวไป และขอใหทุกทานรวมอนุรักษสืบสานวัฒนธรรม ประเพณีของทองถิ่น น้ันไวใหคงอยูกับลกู หลานสืบไป (นายประสิทธ์ิ พุมไมชัยพฤกษ) วัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค

๓๔ วถิ ชี วี ิต วัฒนธรรม อาํ เภอหนองบวั จังหวดั นครสวรรค

วิถชี วี ติ วฒั นธรรม อําเภอหนองบัว จงั หวัดนครสวรรค ๓๕ คํานํา ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค วัฒนธรรม หมายถึงวิถีการดําเนินชีวิต ความคิด ความเชื่อ คานิยม จารีตประเพณี พิธีกรรม และมรดกภูมิปญ ญา ซึง่ กลุมคนและ สังคมไดรวมกันสรางสรรค สั่งสม ปลูกฝง เรียนรู สืบทอด ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง เพ่ือใหเกิดความเจริญงอกงาม ท้ังดานจิตใจและวัตถุ ใหเกิดสนั ติสุขและความยั่งยืนสืบไป หนังสือวิถีชีวิต วัฒนธรรมเลมนี้ มาจากการสังเคราะหและ เรยี บเรยี งเนอื้ หาจากนกั วชิ าการสาํ นกั งานวฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรค และคณะกรรมการสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค ซ่ึงแบงออก เปน เลม เลมละ ๑ อาํ เภอ รวม ๑๕ เลม ๑๕ อาํ เภอ เนื้อหาไดแก ประวตั ิ ตาํ นาน สภาพปจ จุบนั ชมุ ชนดั้งเดิม ศิลปะทองถิ่น วฒั นธรรมทองถน่ิ แหลงทองเท่ยี วเชิงวฒั นธรรม บคุ คลผูทาํ คุณประโยชนดานวฒั นธรรม ที่ควรยกยองในอําเภอตางๆ ของจังหวัดนครสวรรค จัดทําในรูปแบบ หนงั สอื แผน ซดี ี และจดั ทาํ QR Code ทงั้ นไ้ี ดร บั การสนบั สนนุ งบประมาณ จากกรมสงเสริมวัฒนธรรม โดยความรวมมือของจังหวัดนครสวรรค เปน อยางดีย่งิ หวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือวิถีชีวิตวัฒนธรรมอําเภอเลมน้ี จะเปนประโยชนแกนักเรียน นักศึกษา ประชาชนทั่วไป และขอใหเรา

๓๔ วิถีชีวติ วัฒนธรรม อําเภอหนองบวั จงั หวัดนครสวรรค ชวยกันสงเสริม อนุรกั ษ วัฒนธรรมใหเจริญงอกงามย่งิ ขึ้น ขอขอบคณุ ผูเก่ียวของ ท่ีใหขอมูลทุกทาน ลวนเปนผูกอใหเกิดความสําเร็จในการ จัดทําหนังสือในคร้ังนี้ หนังสือวิถีชีวิตวัฒนธรรม เลมนี้จึงถือไดวา มี คณุ คาอยางยงิ่ เปน สมบัติของเราชาวจงั หวดั นครสวรรคตอไป (นายนทั ธี พคุ ยาภรณ) ประธานสภาวัฒนธรรมจงั หวดั นครสวรรค

วิถีชวี ิต วัฒนธรรม อําเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค ๓๕ สารบัญ หนา เรือ่ ง ๑ ๒ บทท่ี ๑ ประวตั ิ ตํานาน คาํ ขวัญและสภาพปจจบุ ัน ๓ ประวตั ิ ตํานาน ๑๑ คําขวญั ๑๕ บทท่ี ๒ ชมุ ชนดง้ั เดิม ๒๕ ชมุ ชนด้ังเดิม ๓๑ บทที่ ๓ ศาสนาและความเช่อื ๓๔ ศาสนสถาน ความเชื่อ ๓๗ บทท่ี ๔ ศิลปะทองถ่นิ ศิลปกรรมสาขาตางๆ วรรณกรรม บทที่ ๕ วฒั นธรรมทองถ่นิ วิถีชีวิต

๓๔ วถิ ชี ีวติ วัฒนธรรม อําเภอหนองบวั จังหวัดนครสวรรค ๓๗ ๓๘ การแตงกาย ๓๘ อาชีพ ๔๑ มรดกภูมิปญ ญาทองถิน่ ๔๕ ประเพณีทองถิน่ รุกขมรดก ๔๗ บทท่ี ๖ แหลงทองเทย่ี วเชิงวฒั นธรรม สถานที่ บรรณานกุ รม ภาคผนวก

วถิ ีชวี ิต วฒั นธรรม อาํ เภอหนองบวั จงั หวัดนครสวรรค ๑๓๕ ๑บทท่ี ประวัติ ตาํ นาน คําขวญั และสภาพปจจบุ นั ประวตั ิอาํ เภอหนองบวั อาํ เภอหนองบวั ไดช อื่ มาจากหนองนา้ํ ใหญท มี่ บี วั พนั ธตุ า งๆ ขนึ้ อยูมากมาย ในหมูบานท่ชี ื่อวา “ หนองบัวตากลาน ” (ตาก – ลาน) หรือ “บานโคกแจง” ตอมาชาวบานเรียนสั้นๆวา “บานหนองบวั ” ท่วี า การอําเภอหนองบวั ปจ จุบนั กระทรวงมหาดไทยประกาศตงั้ เปน กง่ิ อาํ เภอเมอ่ื วนั ท่ี ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๑ โดยรวมพน้ื ทตี่ าํ บลหนองบวั ตาํ บลหว ยรว ม ตาํ บลถวั่ เหนอื

๓๒๔ วิถชี วี ิต วัฒนธรรม อาํ เภอหนองบวั จงั หวดั นครสวรรค ตาํ บลหว ยถว่ั ใต ของอาํ เภอชมุ แสง และตาํ บลธารทหาร ตาํ บลหนองกลบั ของอําเภอทาตะโก จังหวัดนครสวรรค กับพ้ืนท่ีบางสวนของอําเภอ บางมูลนาก จังหวัดพิจิตร เปนกิ่งอําเภอหนองบัว ร.ต.ต.ประทวน สิทธิสมบูรณ ดาํ รงตาํ แหนงปลัดอําเภอหวั หนากิ่งเปนคนแรก เมือ่ วันท่ี ๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๙๙ สมยั นายศิริ วรนารถ เปน ผูวาราชการจังหวัดนครสวรรค มีพระราชกฤษฎีกา ประกาศยกฐานะ ก่งิ อาํ เภอหนองบัว เปนอาํ เภอหนองบัว โดยนายสืบศักดิ์ สขุ ไทย ดํารง ตาํ แหนงนายอาํ เภอคนแรกและเมอื่ พ.ศ. ๒๕๓๐ อาํ เภอหนองบวั จดั ตง้ั ตาํ บลใหมอีก ๒ ตําบลคือ ตาํ บลทุงทอง (แยกมาจากตาํ บลหนองกลับ) และตําบลวังบอ (แยกมาจากตําบลธารทหาร) ตํานานอําเภอหนองบัว ชอื่ อาํ เภอหนองบวั นน้ั มาจากตาํ นานโบราณวา ในสมยั โบราณ มพี ระฤๅษนี ารายณไ ดบ าํ เพญ็ เพยี รทข่ี า งหนองนาํ้ (บา นกฏุ ฤิ ๅษ)ี ในหนองนาํ้ มกี อบวั อยู ตอ มามเี ทพธดิ าถอื กาํ เนดิ เปน เดก็ ทารกอยใู นดอกบวั พระฤๅษี จึงเปนผูเลี้ยงดูจนเติบใหญและใหช่อื วา นางทิพยเกสร เม่ือถึงวันปใหม (สงกรานต)นางทิพยเกสรก็จะข้ึนมาโลชิงชารองเพลงพวงมาลัยเลน ใตตนมะขามหยอง(ปจจบุ ัน เหลือเพียงชอ่ื ถนนมะขามหยอง)ริมหนอง นาํ้ นน้ั และไมไ กลกนั นกั มหี นองนา้ํ อกี แหง หนง่ึ เปน ทอี่ าศยั ของครอบครวั พรานปา เมื่อพรานปาไดยินเพลงพวงมาลัยอันไพเราะที่นางทิพยเกสร

วถิ ีชีวติ วัฒนธรรม อาํ เภอหนองบวั จงั หวดั นครสวรรค ๓๕ ไดขับรอง เกิดความสงสัยวาใครเปนผูขับรอง จึงเดินทางตามเสียงมา แตด ว ยฤทธนิ์ างทพิ ยเ กสรพรานปา จงึ ไมเ หน็ ตวั นาง พรานปา จงึ เดนิ กลบั บา นตนแตก ย็ งั ไดย นิ เสยี งอยจู งึ เดนิ คน หาหลายรอบ แตก ไ็ มพ บ หนองนา้ํ ที่พระฤๅษีอยูเรียกวาหนองบัว(ตําบลหนองบัว)หรือเรียกวาเกาะลอย เพราะในอดีตมีเกาะเล็กๆอยูกลางหนองนํ้าแตเน่ืองจากนํ้าไมพอใช ทางการจึงขุดออกและลอกใหลึกกวาเดิม สวนหนองนํ้าที่พรานอาศัย อยูเรียกวาหนองกลบั (ตาํ บลหนองกลบั ) คําขวญั อําเภอหนองบวั ลือเลอ่ื งความสามคั คี หินสีชมพคู ูเขาพระ หลวงพอเดิมสรางเมือง พิพิธภณั ฑพื้นบานมากมี ประเพณีบวชนาคหมู นามระบือคือหนองบวั เมืองพนั สระนามกลาวขาน ขาวสารดีมีช่อื

๓๔ วถิ ชี ีวติ วฒั นธรรม อําเภอหนองบัว จังหวดั นครสวรรค ความหมาย หลวงพอเดิมสรา งเมือง เนอื่ งจากหลวงพอ เดมิ เปน ผนู าํ ชาวอาํ เภอหนองบวั ในการพฒั นา อําเภอหนองบัวและหลวงพอเดิมยังเปนที่เคารพนับถือของชาวอําเภอ หนอบบวั เปน อยางย่งิ ลือเล่อื งความสามัคคี ชาวอาํ เภอหนองบวั มี ความสมัครสมานสามัคคีกัน เปน อยา งมาก มอี นสุ าวรยี แ หง การพัฒนาเปนสัญญลักษณ แสดงถึงความสามัคคี เปน น้ําหน่งึ ใจเดียวกัน

วถิ ีชวี ิต วัฒนธรรม อาํ เภอหนองบวั จังหวดั นครสวรรค ๕๓๕ ประเพณีบวชนาคหมู ประเพณีบวชนาคหมู เปนประเพณีสําคัญของอําเภอหนองบัว มีปฏิบัติสืบตอกันมาต้ังแตป ๒๔๖๐ (ถึงปจ จบุ นั ๑๐๓ ป) หินสีชมพูคเู ขาพระ หินสีชมพูต้ังอยูอาณา บรเิ วณเทอื กเขาพระ เปน หนิ ซอ น กันมีสีชมพูมีลักษณะแปลกตา นาอศั จรรย เมืองพนั สระนามกลาวขาน เนื่องจากอําเภอหนองบัว มีสระนํ้า ลําคลองมากมาย มี หนองนา้ํ ขนาดใหญ มบี วั นานาพนั ธุ อยูเตม็ หนอง จึงขนานนามอาํ เภอ หนองบวั เปน เมืองพันสระ

๓๖๔ วถิ ชี ีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอหนองบวั จงั หวดั นครสวรรค พิพิธภณั ฑพืน้ บานมากมี พพิ ธิ ภณั ฑพ ืน้ บา น อาํ เภอ หนองบัว ไดรวบรวมเคร่ืองมือ เครอื่ งใชท เี่ ปน มรดกทางวฒั นธรรม เพ่ือใหเยาวชนรุนหลังไดศึกษา หาความรูตอไป ขาวสารดีมีช่อื ข  า ว ส า ร ผ ลิ ต ผ ล จ า ก นาขา วในพน้ื ทขี่ องอาํ เภอหนองบวั จะหงุ ไดข น้ึ หมอ มรี สออ ยนมุ นา รบั ประทานเปน ทร่ี ูจักของคนทว่ั ๆไป นามระบือคือหนองบัว เอกลกั ษณด งั กลา วนน้ั ทาํ ใหอ าํ เภอหนองบวั เปน ทร่ี จู กั ของบคุ คล ทัว่ ไป

วถิ ชี วี ติ วัฒนธรรม อาํ เภอหนองบัว จงั หวดั นครสวรรค ๗๓๕ สภาพปจจุบนั ภาพแผนท่แี สดงท่ตี งั้ อําเภอหนองบัว

๓๘๔ วถิ ีชวี ิต วัฒนธรรม อําเภอหนองบวั จงั หวดั นครสวรรค อาํ เภอหนองบวั ภาพอดีตอาํ เภอหนองบวั เมอ่ื ๔๐ ปมาแลว

วถิ ีชวี ิต วัฒนธรรม อําเภอหนองบัว จงั หวดั นครสวรรค ๙๓๕ อําเภอหนองบัว ต้ังอยูทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวดั นครสวรรคห า งจากตวั จงั หวดั ตามเสน ทางสายหนองบวั -ชมุ แสง ประมาณ ๗๒ กิโลเมตร มีพื้นที่ท้ังหมด ๙๗๘ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๖๑๑,๒๕๐ ไร โดยทางทิศตะวันออกของอําเภอ เปนที่ราบสูงดินดํา เหมาะแกการทําพืชไร ทางทิศตะวันตกของอําเภอเปนท่ีราบลุมเหมาะ สําหรบั การทาํ นา การคมนาคม อาํ เภอหนองบวั ตง้ั อยหู มทู ่ี ๓ ตาํ บลหนองกลบั อาํ เภอหนองบวั จงั หวดั นครสวรรค การคมนาคมไปสูอาํ เภอหนองบวั ทท่ี างสายหลกั ๔ เสนทาง คือ ถนนหนองบัว-ชุมแสง-จังหวัดนครสวรรค ระยะทาง ๗๒ กิโลเมตร

๑๓๐๔ วถิ ีชีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอหนองบวั จังหวดั นครสวรรค ถนนหนองบวั -ทาตะโก ระยะทาง ๔๑ กิโลเมตร ถนนหนองบวั -ชยั ภมู ิ ระยะทาง ๑๗๔ กิโลเมตร ถนนเขาทราย-อินทรบรุ ี ผานทางทิศตะวนั ออกของอาํ เภอ อาณาเขตติดตอ อําเภอหนองบวั มีอาณาเขตติดตอกับอาํ เภอใกลเคียงดังนี้ ทิศเหนือ ติดตอกบั กงิ่ อาํ เภอดงเจริญ จังหวัดพิจิตร และอาํ เภอชนแดน จังหวัดเพชรบรู ณ ทิศตะวนั ออก ตดิ ตอ กบั อาํ เภอบงึ สามพนั จงั หวดั เพชรบรู ณ ทิศตะวนั ตก ติดตอกับอําเภอชุมแสง จังหวดั นครสวรรค

วิถชี วี ติ วฒั นธรรม อําเภอหนองบวั จังหวัดนครสวรรค ๓๑๕๑ ๒บทท่ี ชุมชนด้ังเดิม แหลงโบราณสถาน ชมุ ชนกลมุ คนดัง้ เดิม ชุมชนดั้งเดิมของอําเภอหนองบัว คือ ชุมชนในเขตพื้นท่ีอําเภอ หนองบัว ท้ังหมดท่ีอยูอาศัยมากอนประกาศเปนอําเภอ ตามหลักฐาน ท่ีปรากฏ บางหมูบานที่ชุมชนอาศัยอยูต้ังแตสมัยกอนประวัติศาสตร สนั นษิ ฐานวา ชมุ ชนดง้ั เดมิ จาํ นวนหนง่ึ ยา ยมาจากสโุ ขทยั ทงั้ ยงั มชี าวไทย พวนและคนลาวมีทั้งลาวโซง หรือทเ่ี รียกวา “ไทยทรงดาํ ” หรือ “ไทดาํ ” ลาวใต หรอื ลาวเวยี ง ซงึ่ ยา ยมาจากเวยี งจนั ทร มจี าํ นวนประมาณ ๙๐๐ คน ชนกลมุ นอี้ าศยั อยใู นเขตตาํ บลหนองบวั ตาํ บลหนองกลบั ตาํ บลหว ยรว ม ตาํ บลหว ยใหญ ตาํ บลหว ยถวั่ เหนอื ตาํ บลหว ยถวั่ ใต คนไทยทรงดาํ หรอื โซง หรอื ไทดาํ ชนกลมุ นอ้ี ยใู นเขตตาํ บลธารทหารและกระจายอยทู วั่ ๆไป คนไทยจากถน่ิ อนื่ ๆ ซง่ึ อพยพยา ยถน่ิ มาจากทางจงั หวดั ภาคกลาง รวมถงึ คนไทยเชื้อสายจีน ซง่ึ อาศยั อยูกระจายไปในสวนตางๆของอาํ เภอใกล บรเิ วณหนองนา้ํ ชาวบา นตา งกย็ ดึ พนื้ ทใ่ี กลห นองนา้ํ แหง นเี้ ปน ทพี่ กั อาศยั ทํามาหากินตอกนั มา

๓๑๒๔ วิถีชีวิต วฒั นธรรม อาํ เภอหนองบวั จังหวดั นครสวรรค ตอมามีผูคนอพยพมาจากถ่ิน อ่ืนๆ อาทิ เชน สุโขทัย ชัยภูมิ โคราช เพชรบรู ณ และจาํ นวนหนงึ่ ยา ยมาจากตาํ บลเนนิ มะกอก-เขาทอง ตระกูลดั้งเดิมของคนในเขตอําเภอหนองบัว ปรากฏในแตละ หมูบาน ท่พี อสืบคนไดมีดังตอไปนี้ ๑. ตระกลู โลหะเวช ทบ่ี า นหนองกลบั เปน ตระกลู ของหลวงโลหะ ผมู คี วามชาํ นาญในดา นการหลอมเหลก็ ตมี ดี ทา นเปน ผนู าํ กลมุ คนสาํ คญั ไดรบั การยกยองนบั ถือจากคนในหมบู านตาํ บล หนองกลบั เปน อยางยงิ่ ๒. ตระกลู ยรุ ขนุ ทด ทบ่ี า นธารทหาร เปน ตระกลู ของนายแสวง ยรุ ขนุ ทด ผใู หญบ า นคนแรกของบา นหว ยธารทหาร ตาํ บลวงั บอ นายแสวง ยรุ ขนุ ทด พรอ มดว ยญาตพิ นี่ อ งเพอ่ื นบา นอกี ประมาณ ๑๓ หลงั คาเรอื น อพยพมาจากจังหวดั นครราชสีมา ๓. ตระกลู แถลงกนั และพมิ พเ ชอื้ เปน ตระกลู ดงั้ เดมิ ของชาวบา น โคกสะอาด ตาํ บลวังบอ สองตระกลู นี้อพยพมาจากจังหวดั เลย จึงใช ภาษาอีสานกนั ท้ังหมูบาน ชุมชนด้ังเดิมโดยเฉพาะท่ีตั้งอําเภอปจจุบัน เปนชุมนุมใหญ แวดลอ มตวั อาํ เภอและตลาดหนองบวั คอื ชมุ ชนตาํ บลหนองกลบั ประกอบ ดวยหมูบาน ๖ หมูบาน และตําบลหนองบัวประกอบดวยหมูบาน ๖ หมูบาน สถานท่ตี ง้ั อําเภอต้ังอยูในพื้นท่ตี ําบลหนองกลับ ซึง่ เดิมขึ้นกบั อาํ เภอบางมลู นาก จงั หวดั พจิ ติ ร ชมุ ชนตาํ บลหนองบวั เดมิ ขน้ึ กบั อาํ เภอ ชมุ แสง แตล กั ษณะของชมุ ชนทงั้ สองอยชู ดิ ตดิ กนั จนดเู หมอื นเปน ชมุ ชน

วถิ ีชีวติ วฒั นธรรม อาํ เภอหนองบวั จังหวดั นครสวรรค ๑๓๓๕ เดยี วกนั มเี อกลกั ษณด งั้ เดมิ เปน ของตนเอง ลกั ษณะเปน สงั คมปด มานาน สาํ เนียงการพูดของผูเฒา ผูแก จึงมีลักษณะแปรงไมเหมือนใคร ชุมชน ดั้งเดิมน้ีกอต้ังชุมชนขึ้นมาตั้งแตปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา มีหลักฐาน ทางการกอสราง คือ กฏุ ิฤาษี ซึง่ เปน อิฐสมัยกรงุ ศรีอยธุ ยา สาํ หรบั ชมุ ชนรอบนอกอนื่ ๆ อนั มชี มุ ชนหว ยดว น ตาํ บลธารทหาร และชุมชนอื่นๆในตําบลธารทหาร ชุมชนตําบลหวยใหญ ชุมชนตําบล หวยรวม และชุมชนบางสวนของตําบลหนองกลับ และตําบลหนองบวั ซ่ึงอยูนอกเขตชุมชนท่ีตั้งท่ีวาการอําเภอ เปนชุมชนท่ีเกิดข้ึนใหม เกิน ๗๐ ป เกดิ จากการอพยพหาทท่ี าํ กนิ ใหมข องคนในจงั หวดั ใกลเ คยี งและ จังหวัดในภาคอีสาน มีจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ลพบุรี สระบุรี นครราชสีมา และจังหวัดชยั ภูมิ

๑๓๔ วถิ ีชวี ิต วฒั นธรรม อําเภอหนองบวั จังหวดั นครสวรรค

วิถีชวี ติ วัฒนธรรม อําเภอหนองบวั จงั หวัดนครสวรรค ๑๓๕ ๓บทท่ี ศาสนาและความเชอ่ื วดั และศาสนสถาน วดั หนองกลับ ประวตั วิ ดั หนองกลบั -หนองบวั ตาํ บลหนองกลบั อาํ เภอหนองบวั จงั หวดั นครสวรรค( เดมิ ขน้ึ กบั ตาํ บลหนองกลบั อาํ เภอบางมลู นาก จงั หวดั พิจิตร)วัดหนองกลับสรางเม่ือพุทธศักราช ๒๓๖๓ ตรงกับรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย รัชกาลที่ ๒ ไมปรากฏนาม ผูสราง ทราบจากปากคาํ บอกเลา บริเวณทีส่ รางวัดหนองกลบั ในสมัย สงครามเวยี งจนั ทนเ ปน ทตี่ ง้ั คา ยของชาวหนองบวั -หนองกลบั เพอื่ ปอ งกนั

๑๓๖๔ วถิ ีชีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอหนองบวั จงั หวัดนครสวรรค ทัพเวียงจันทนท่ีผานมา ดวยหมูบานหนองกลับ-หนองบัว ต้ังมานาน หลายรอยป มีวัดเกาช่ือวัดหนองมวงตั้งอยูตําบลหนองกลับ มีวัด สระมะนาวต้ังอยูตาํ บลหนองบัว เมื่อชาวบานต้ังคาย ณ วดั หนองกลบั จึงตองยายวดั ตามไปดวย จึงมีวัด ๒ วดั อยูติดกัน ในสมัยนั้นชาวบาน เรยี กวา วดั นอกกบั วดั ใน ตอ มาพระภกิ ษใุ นวดั เกดิ เปน อหวิ าต มพี ระภกิ ษุ มรณภาพ พระภิกษทุ เี่ หลือ จึงยายไปอยูวดั นอก(วดั หนองกลบั ปจ จบุ นั ) ตั้งแตน้ันมาวัดทั้งสองจึงรวมกันโดยปริยาย สําหรับช่ือวัด เดิมช่ือวา วัดปทุมคงคา และไดเปล่ียนมาเปน วัดหงส เน่ืองจากมีเสาหงสต้ังอยู หนา วดั ตอ มามเี จา เมอื งพจิ ติ รมาตรวจราชการ จงึ เปลยี่ นชอื่ วดั ใหเ หมอื น กบั ชอ่ื หมบู า นวา วดั หนองกลบั และดว ยเหตวุ า วดั อยตู ดิ กบั หมบู า นหนองบวั ชาวบานในปจจุบันจึงนิยมเรียกช่ือวัดอีกอยางหนึ่งวา วัดหนองบัว แตต้ังอยูในเขตตําบลหนองกลับ เมื่อทางราชการตั้งก่งิ อําเภอหนองบวั จึงโอนตําบลหนองกลับจากอําเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตรมาขึ้นกับ จังหวัดนครสวรรค ดวยเหตุท่ียังไมมีที่ทําการกิ่งอําเภอหนองบัว จึงใช พนื้ ทข่ี องวดั หนองกลบั เปน ทที่ าํ การไปพลางกอ น สว นขา ราชการกอ็ าศยั กฏุ ิพระอยูตั้งแตพทุ ธศกั ราช ๒๔๙๒ จนถึง พทุ ธศกั ราช ๒๔๙๙ จึงยาย ทีท่ าํ การไปอยู ณ ทีท่ าํ การปจจุบนั

วถิ ชี วี ติ วฒั นธรรม อาํ เภอหนองบัว จังหวดั นครสวรรค ๑๓๕๗ สิ่งท่ีนาสนใจในการทองเท่ียวของ วัดหนองกลับ มีรูปหลอ หลวงพอเดิมขนาดเทาองคจริงท่ีสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๒ในขณะที่ หลวงพอยังมีชีวิตอยูโดยประดิษฐานในวิหารหลวงพอเดิม นอกจากนี้ ยงั มศี าลาการเปรยี ญ และอโุ บสถ ทห่ี ลวงพอ เดมิ เปน ผสู รา งเเละบรู ณะ

๓๑๘๔ วถิ ชี ีวิต วัฒนธรรม อําเภอหนองบัว จงั หวัดนครสวรรค นอกจากนี้ในปจจุบันภายในวัดยังเต็มไปดวยมรดกทางศิลป วฒั นธรรมของทอ งถนิ่ มากมาย มกี ารสรา งพพิ ธิ ภณั ฑพ นื้ บา นหนองกลบั ที่พระนิภากรโสภณ (ไกร ศรสุรินทร) ไดเร่ิมสะสมวัตถุโบราณมาตั้งเเต พ.ศ. ๒๕๑๗ โดยฃอจากชาวบานบาง จนมีจํานวนมากพอสมควร จึงจัดตั้งพิพิธภัณฑบานขึ้นภายในวัด คือภายในวัดมีพิพิธภัณฑที่เก็บ รวบรวมของโบราณไวมากมายทั้งตะเกียงโบราณจํานวนมาก,ครก สากหิน,เคร่ืองมือเคร่ืองใชท่ีคนรุนหลังไมมีโอกาสไดใช และไดเห็น จาํ นวนมาก และสว นรอบๆบรเิ วณวดั จะมกี ารจดั วางเครอ่ื งมอื เครอ่ื งใช ยานพาหนะสมยั กอน อยางเกวียนเเละเรือ

วิถชี ีวติ วัฒนธรรม อาํ เภอหนองบวั จงั หวัดนครสวรรค ๓๑๙๕ วดั เทพสทุ ธาวาส วดั เทพสุทธาวาส ต้ังอยูเลขท่ี ๗๑ บานทุงมาบปลงั หมูท่ี ๙ ตาํ บลหนองกลับ อาํ เภอหนองบวั จังหวดั นครสวรรค สังกดั คณะสงฆ มหานกิ าย มที ด่ี นิ ตง้ั วดั เนอื้ ที่ ๒๔ ไร ๓ งาน ๔๐ ตารางวา ตาม น.ส. ๓ เลขที่ ๓๖๕๒ พื้นท่ตี ั้งวดั เปน ทรี่ าบลุม มีทางสาธารณะโดยรอบบริเวณ ขอบเขตวัด และมีบานเรือนของประชาชนต้ังอยูทั่วไปอาคารเสนาสนะ ตางๆ มีอุโบสถกวาง ๑๐ เมตร ยาว ๓๐ เมตร สราง พ.ศ. ๒๕๒๖ ศาลาการเปรียญ กวาง ๒๗ เมตร ยาว ๔๐ เมตร สรางพ.ศ. ๒๕๐๓ หอสวดมนต กวาง ๑๐ ยาว ๑๒ เมตร สราง พ.ศ. ๒๔๙๙ กุฏิสงฆ จาํ นวน ๘ หลังและมีฌาปนสถาน

๓๒๔๐ วิถชี ีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค วดั เทพสทุ ธาวาส กระทรวง ศึกษาธิการไดประกาศแตงตั้งเปน วัด นับต้ังแตวันที่ ๑๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๐๐ โดยมีผูดําเนินการ สรางวัด คือ นายเลง พรหมออน นายบุญ ชุมแปน และนายเพ็ง ฉํา่ นอย ชาวบานเรียก “วดั มาบปลั่ง” ตามชอื่ บา น ไดร บั พระราชทานวสิ งุ คามสมี า วนั ที่ ๑๘ กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕๔๒ วัดเทพสุทธาวาสไดจัดกิจกรรมโครงการบรรพชาและอบรม เยาวชนภาคฤดูรอนเฉลิมพระเกียรติ ต้ังแตป พ.ศ. ๒๕๔๕ เปน ตนมา และไดจัดกิจกรรมตอเนอ่ื งเปนประจําทกุ ป โดยมีวัตถปุ ระสงคเพ่อื ชวย ใหชาวอาํ เภอหนองบวั ไดแสดงออกถึงความจงรักภัคดีตอสถาบันพระ มาหากษตั ริย และใหเยาวชนในอาํ เภอหนองบวั ไดใชเวลาวางในชวงปด ภาคเรียนใหเกิดและโยชน

วถิ ีชวี ติ วัฒนธรรม อําเภอหนองบัว จงั หวัดนครสวรรค ๓๒๑๕ วดั สระงาม วัดสระงาม ตั้งอยูเลขท่ี ๗๑ บานสระพระงาม หมูที่ ๔ ตําบล หว ยใหญ อาํ เภอหนองบวั จงั หวดั นครสวรรค สงั กดั คณะสงฆม หานกิ าย มที ด่ี นิ ตง้ั วดั เนอื้ ท่ี ๒๒ ไร ๒๐ ตารางวา อาณาเขต ทศิ เหนอื ยาว ๒๓๔.๕๐ เมตร ติดตอกบั บานเรือนของราษฎร ทิศใตยาว ๒๖๖.๒๐เมตร ติดตอ กบั ทด่ี ินของเอกชน ทิศตะวันออกยาว ๑๕๗.๖๒ เมตร ติดตอกบั ที่ดิน

๓๒๔๒ วิถชี วี ติ วฒั นธรรม อําเภอหนองบวั จังหวดั นครสวรรค ของเอกชนเปน ทต่ี ้ังบานเรือน ทิศตะวนั ตกยาว ๑๖๘.๕๐ เมตร ติดตอ กับท่ดี ินของเอกชนตาม น.ส. ๓ ก. เลขที่ ๑๖๒ มีท่ธี รณีสงฆ จาํ นวน ๑ แปลง เนื้อท่ี ๓๕ ไร ๑ งาน ๓ ตารางวา ตาม น.ส. ๓ ก เลขท่ี ๒๑๓ พื้นท่ตี ั้งวัดเปนท่รี าบลุม อาคารเสนาสนะตางๆมีอโุ บสถกวาง ๗ เมตร ยาว ๒๑.๕๐ เมตร สราง พ.ศ. ๒๕๒๒ โครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาการเปรียญกวาง ๑๖ เมตร ยาว ๒๔ เมตร สรางดวยไม พ.ศ. ๒๔๘๔ วดั สระงามสรา งขน้ึ ตง้ั แต พ.ศ. ๒๔๗๑ เดมิ ตงั้ อยทู บ่ี า นหนองครอ มีนามเรียกวา “วัดหนองครอ” ตอมาไดยายเสนาสนะมาจัดสรางใหม ทบี่ า นสระงาม ระยะแรกใชน ามวา “วดั สระพงั งา” เนอื่ งจากทางทศิ เหนอื ของหมูบานมีสระอยู ๒ สระ เปนสระเกาแกมาก ตอมาไดเปล่ยี นเปน “วดั สระโพธง์ิ าม” และไดเ ปลยี่ นเปน “วดั สระพระงาม” ครง้ั สดุ ทา ยเปน “วัดสระงาม” ใชมาจนถึงปจจบุ นั นี้

วิถีชีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอหนองบวั จังหวดั นครสวรรค ๒๓๕๓ ศาสนาคริสต คริสตจักรหนองบวั อําเภอหนองบัวมีโบสถคริสต จํานวน ๑ แหง ต้ังอยูหมู ๓ ตําบลหนองกลับ อําเภอหนองบัว จังหวดั นครสวรรค ศาลเจาพอ-เจาแมหนองบัว เร่ืองราวเกี่ยวกับประวัติและความเปนมาของ เจาพอ-เจาแม หนองบวั ยงั ไมปรากฎวามีใครบนั ทึกไวเปนหลกั ฐานมากอน นอกจาก คําบอกเลาของทานผูใหญ ท่ีเลาตอกันมา วา เม่ือสมัยกอน อําเภอ หนองบัวจะติดตอคาขายกับ อําเภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค

๒๓๔ วิถชี วี ิต วฒั นธรรม อําเภอหนองบวั จงั หวัดนครสวรรค ชาวอําเภอหนองบัวเช่ือวา เจาพอ-เจาแม ชุมแสง ทรงมีอิทธิฤทธ์ิ อภนิ หิ าร โดยเฉพาะอยา งยงิ่ ในเรอ่ื งปกปอ งคมุ ครองจากเพลงิ ไหมต ลาด ชุมแสงจนเปนท่ีเลื่องลือไปไกลและยังปกปองคุมครองลูกหลาน ใหป ลอดภยั อยเู ยน็ เปน สขุ ดงั นน้ั ชาวหนองบวั ไดป รกึ ษาหารอื กนั วา เมอ่ื สรางศาล (กุฎิฤาษี) และอัญเชิญฤาษีนารายณท่ีเปนท่ีเคารพสักการะ ของชาวอาํ เภอหนองบวั เขา ประดษิ ฐใ นกฏุ ฤิ าษเี รยี บรอ ยแลว กจ็ ะทาํ พธิ ี อัญเชิญ เจาพอ-เจาแมชุมแสงมาประทับอยูหมูบานหนองบัวดวย จึง ไดรวมกันสรางศาล เจาพอ – เจาแม ไว ณ ริมหนองนํ้าเกาะลอย ดาน ตะวนั ตก ซง่ึ ตรงขามกับศาลเจาพอฤาษีนารายณ ของอําเภอหนองบวั เพมิ่ ขนึ้ และเมอ่ื สรา งศาลเจา พอ -เจา แมเ สรจ็ ชนชาวจนี ในอาํ เภอหนองบวั จงึ ไดไ ปอญั เชญิ ขธ้ี ปู ของเจา พอ -เจา แมช มุ แสง หอ กระดาษแดงนาํ กลบั มาไวในศาล เพ่อื สกั การบชู า

วถิ ีชวี ติ วฒั นธรรม อําเภอหนองบวั จังหวดั นครสวรรค ๒๓๕ ความเช่อื พระสงฆท ส่ี าํ คัญทางศาสนา พระครูนิวาสธรรมขันธ (หลวงพอเดิม พทุ ธสโร) ประวตั ิ หลวงพอเดิม มีสมณศักดิ์เปนพระครูนิวาสธรรมขันธ ดํารง ตาํ แหนง เจา อาวาสวดั หนองโพ อาํ เภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค ระหวา ง พ.ศ. ๒๔๓๐ ถงึ พ.ศ. ๒๔๙๔ นบั เปน พระสงฆท สี่ าํ คญั รปู หนง่ึ ของจงั หวดั นครสวรรคที่มีประวัติและผลงานปรากฏอยูในปจจุบันนี้ โดยเฉพาะ อยางยิ่งงานดานพฒั นาชนบท

๒๓๖๔ วิถีชวี ติ วัฒนธรรม อาํ เภอหนองบวั จงั หวดั นครสวรรค ตามประวัติหลวงพอเดิม ทานเปนนักประดิษฐทดลอง เทาที่ พอจะนาํ มากลาวได ก็คือ เกวียนโยก เกวียนชาง เปนตน ทานเปนนักพัฒนาทองถ่ิน เปนนักพัฒนาตัวอยางรูปหนึ่ง วัด และหมูบานหนองโพสมัยท่ีทานยังมีชีวิตอยู ไดรับการพัฒนา อยางมากมาย แมหมูบานอน่ื ทนี่ ิมนตทานไป ทานกไ็ ดพฒั นาไปดวย แม ปจจุบนั นี้เทาทจ่ี ะประมวลได คือ พฒั นาดานถาวรวัตถุทางพระพทุ ธศาสนา เชน สรางกฎุ ิ ศาลา การเปรียญ พระอโุ บสถ พระเจดียหนาอโุ บสถทวี่ ดั หนองโพ สรางโบสถ ที่วัดโคกเดื่อ อําเภอไพศาลี สรางศาลาไวที่อําเภอหนองบัว เปนตน ยังปรากฏอยูจนทกุ วันนี้ ดานสาธารณูปโภค การพฒั นาแหลงนา้ํ เชน การสรางสระนา้ํ ขนาดใหญกรุผนังหินไวท่ีวัดหนองโพ ขุดสระน้ําขนาดใหญไวท่ีอําเภอ หนองบัว คูกับศาลาการเปรียญ ทําคันก้ันนํ้าที่หมูบานหนองหลวง ปจจุบันชาวบานเรียกแหลงน้ําน้ีวา “บึงหลวงพอเดิม” การสรางถนน จากสถานีรถไฟหนองโพไปจนถึงวัดหนองโพมีความยาวประมาณ ๑ กิโลเมตร ทกุ วนั นี้ยังมีการใชงานอยู พัฒนาดานการศึกษา ทานไดสรางโรงเรียนขึ้นในวัดหนองโพ ใหช่ือวา “โรงเรียนวัดหนองโพ นิวาสานุสรณ” ปรากฏอยูจนทุกวันน้ี หลวงพอเดิมมรณภาพเมอ่ื พ.ศ. ๒๔๙๔ คาํ นวณอายุได ๙๒ ปสิริรวม แตอปุ สมบทได ๗๑ พรรษา

วิถีชีวติ วัฒนธรรม อาํ เภอหนองบัว จังหวดั นครสวรรค ๒๓๗๕ พระครูนิกรปทมุ รักษ (หลวงพอ ออย) ชาติภมู ิ พระครูนิกรปทุมรกั ษ นามเดิม ออย ฉายา สวุ ณฺโณ นามสกุล พรมบญุ เกิดเมอ่ื วนั เสาร ที่ ๑๗ เดือน กมุ ภาพันธ พ.ศ. ๒๔๔๒ ตรง กบั ปก นุ ณ หมทู ่ี ๒ ตาํ บลหนองกลบั อาํ เภอหนองบวั จงั หวดั นครสวรรค อปุ สมบท เม่อื วนั ท่ี ๒ เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๖๒ ณ วดั พนมรอก ตาํ บล พนมรอก อําเภอทาตะโก จังหวัดนครสวรรค โดยมี พระนิพันธธรรมา จารย (หลวงพอคลาย) วัดพนมรอก เจาคณะอําเภอทาตะโก เปน พระ อปุ ช ฌาย

๓๒๘๔ วถิ ีชวี ิต วฒั นธรรม อาํ เภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค สมณศักด์ิ พ.ศ. ๒๔๖๙ เปน พระฐานานุกรม ที่ พระสมหุ  พ.ศ. ๒๔๙๗ เปน พระครูสญั ญาบตั ร ท่ี พระครูนิกรปทมุ รักษ พ.ศ. ๒๕๐๕ เปนพระครสู ัญญาบตั รเจาคณะอาํ เภอ ช้ันเอก พ.ศ. ๒๕๑๕ เปน พระครูสญั ญาบัตรเจาคณะอําเภอ ชั้นพิเศษ การดํารงตาํ แหนง พ.ศ. ๒๔๖๙ เปน เจาอาวาสวัดหนองกลบั รปู ที่ ๑ พ.ศ. ๒๔๘๑ เปน พระอปุ ช ฌาย พ.ศ. ๒๔๙๙ เปนเจาคณะอําเภอหนองบวั รปู ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๑๗ เปน เจาคณะอําเภอหนองบวั กิตติมศักด์ิ พ.ศ. ๒๕๒๙ มรณภาพ (๒๖ สิงหาคม ๒๕๒๙) รวมอายุได ๘๗ ป ๖๗ พรรษา ความเปน ผูนิยมในคาถาอาคม คาถาอยูบทหน่งึ จะวาในขณะทจ่ี าม จะวา “ติงหะ คัชชะ” คือ เวลาจามน้ันไมจามเหมือนคนทั่วไป จะเปลงเสียงออกมาวา “ติงหะ คัชชะ” ทานบอกวาเปนคาถากันผีปอบเขาเปนคนอดทนตอคํานินทา วารายการกระทาํ กิจการตาง ๆ ยอมไมเปน ท่ถี กู ใจของคนทุกคน เวลา มีคนนําไปพูดตาง ๆ นา ๆ ลกู ศิษยผูหวังดีมาบอกทาน ทานจะพดู อยู คําเดียววา “ชางเถอะปากตลาด” อยางนี้ทุกคร้ังไปจนบางครั้งลูกศิษย ทนไมไ ด แตน านไปกเ็ ปน ดงั หลวงปู วา บคุ คลทก่ี ลา วรา ยภายหลงั กเ็ หน็ ดี

วถิ ีชีวิต วฒั นธรรม อําเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค ๓๒๙๕ เห็นงามไปดวยคือทานถือหลักไมโตตอบกับคนวารายหลวงปูออยเปน คนชา งพดู มอี ธั ยาศยั ไมตรกี บั คนทกุ คนโดยเฉพาะแขกบา นไกลมา ทา น นยิ มใหพ กั แรมกบั ทา น ใหล กู ศษิ ยจ ดั ทน่ี อนใหเ ปน เนอื งนติ ย เปน ทตี่ ดิ ใจ แกผูมาเยือนทุกคน พระนิภากรโสภณ เจาคณะอาํ เภอหนองบวั วัดหนองกลับ เกิดวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๘๖ ปมะแม อายุ ๖๐ ป พรรษา ๔๐ บิดาช่อื นายลพั ธ มารดา นางคอย สถานท่ีเกิด ณ บานเนินขี้เหล็ก ตําบลหนองกลับ อําเภอ หนองบวั จงั หวดั นครสวรรค บวชเรยี นเมอ่ื วนั ท่ี ๒๔ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๐๖ ณ วัดหนองกลับ พระอปุ ช ฌายพระครนู ิกรปทุมรักษ (หลวงพอออย)

๓๔๐ วิถชี ีวติ วัฒนธรรม อําเภอหนองบัว จงั หวดั นครสวรรค ทานมีผลงานดงั นี้ - สรา งวหิ ารหลวงพอ เดมิ ใหเ ปน ศนู ยก ลางชมุ ชนใหป ระชาชน ไดมีโอกาสมาบชู าสักการะ - สรางโรงเรียนพระปริยตั ิธรรมหลวงพอเดิมอนสุ รณ - สรางพิพิธภณั ฑพื้นบานอําเภอหนองบวั - สรางถนนสาธารณประโยชน ต้ังแต พ.ศ.๒๕๒๐-๒๕๓๙ รวม ๘ สาย - พ.ศ. ๒๕๓๙ ขดุ คลองไมแดง ถวายเปน ปกาญจนาภิเษกให เปน แหลงนํ้าตลอดป

วถิ ชี ีวติ วัฒนธรรม อาํ เภอหนองบวั จังหวดั นครสวรรค ๓๕๑ ๔บทท่ี ศิลปะทอ งถิน่ ศิลปกรรมสาขาตา งๆ สถาปตยกรรมอาํ เภอหนองบัว ๑. ศาลาการเปรียญวดั หนองกลับ ศาลาการเปรียญวัดหนองกลับ สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๖ โดย เจาอาวาสในขณะนั้นคือพระครูนิกรทุมรักษ (หลวงพอออย) ไดนิมนต พระครูนิวาสธรรมขันธ (หลวงพอเดิม) มาเปนประธานในการกอสราง ลักษณะอาคารทรงไทย กวาง ๒๔ เมตร ยาว ๒๘ เมตร หลังคามุง

๓๒๔ วิถชี ีวติ วฒั นธรรม อําเภอหนองบัว จังหวดั นครสวรรค ดวยกระเบื้องปนู เสาของศาลาทาํ จากไมเตง็ รงั ทมี่ ีขนาดใหญ ทหี่ นาบนั ทาํ ดวยปูน ปนลวดลายสวยงามมากและรูปพระพทุ ธเจาผจญมาร เมอื่ วนั ที่ ๒๙ กรกฏาคม พ.ศ. ๒๕๐๘ เวลาประมาณ ๑๓.๐๐ น. เกดิ พายพุ ดั และประกอบกบั ความหนกั ของกระเบอ้ื งและหนา บนั หลงั คา ศาลาจึงพังลงมาทําใหเคร่ืองบน และพ้ืนกระดานกระเบ้ืองมุงหลังคา เสียหาย เจดียกลางนา้ํ รัตนสุวรรณเจดีย สรา งเมอ่ื พ.ศ. ๒๕๔๐ อยใู นบรเิ วณวดั หนองมว ง อาํ เภอหนองบวั จังหวัดนครสวรรคเดิมเปนบอนํ้าขนาดเล็ก ตอมาชาวบานชวยกัน ขุดบอน้าํ จนมีขนาดใหญ เพอ่ื เอาไวใชอุปโภคบริโภค

วถิ ชี วี ติ วัฒนธรรม อาํ เภอหนองบวั จงั หวัดนครสวรรค ๓๕๓ ประติมากรรมอําเภอหนองบวั รูปปนหุนขี้ผึ้ง พระครูนิยุติศีลวัตร (หลวงพอสมบูรณ) อดีต เจาอาวาสวดั สระงาม ประดิษฐานทว่ี ดั สระงาม ตาํ บลหวยใหญ ปน โดย พิพิธภณั ฑหุนขี้ผึ้งแหงประเทศไทย จังหวัดนครปฐม นํามาถวายใหวัด เมื่อป พ.ศ. ๒๕๔๕ ภาพปนนนู สงู วดั สระงาม ตําบลหวยใหญ นาํ โดยเจาอาวาส และ กรรมการวดั ไดจ ดั สรา งภาพปน นนู สงู เมอื่ ป พ.ศ.๒๕๓๕ เปน เรอ่ื ง พทุ ธประวตั บิ นศาลาการเปรยี ญทว่ี ดั เปน ภาพปน ทอี่ อ นชอ ยงดงามมาก วัดหวยรวม ภาพปนนูนสูงตัวละครรามเกียรต์ิ ที่ประตู และ ภาพปน เรอื่ งทศชาตทิ หี่ นา ตา งรอบอโุ บสถ วดั หว ยรว ม ตาํ บลหว ยถว่ั เหนอื อาํ เภอหนองบัว จดั ทําขึ้นเมือป พ.ศ. ๒๕๔๓ จิตรกรรมอําเภอหนองบวั อําเภอหนองบวั มีภาพจิตกรรมที่ปรากฏดังตอไปนี้ ๑. ภาพกิจกรรมเทพชุมนุม และพระเวสสันดร จัดทาํ ขึ้นเม่อื ป พ.ศ. ๒๕๑๗ ภายในอโุ บสถวัดหนองกลบั ตาํ บลหนองกลับ ๒. ภาพจิตกรรมพุทธประวัติ จัดทําขึ้นเม่ือป พ.ศ. ๒๕๓๔ ภายในอโุ บสถวดั หนองบัว (วัดปามะเขือ) ตาํ บลหนองกลับ ๓. ภาพจิตกรรมพุทธประวัติ จัดทําขึ้น เม่ือ ป ๒๕๔๓ เปน ภาพความรมเยน็ ของตนโพธ์ิ

๓๔ วิถชี วี ติ วฒั นธรรม อําเภอหนองบวั จังหวดั นครสวรรค ๔. ภาพจิตกรรมฝาผนังภายในอุโบสถของวัดเทพสุทธาวาส จดั ทาํ ขึ้นเมอ่ื ป พ.ศ. ๒๕๔๐ เปนภาพนรกภมู ิ และเทพชมุ นุม วรรณกรรม-ชอ่ื บานนามเมือง ศิลปะการแสดงอําเภอหนองบวั ดนตรี วงแคนพ้ืนบาน บานโคกมะตูม หมู ๘ ตําบลหนองบัว โดยการนําของนายเชี่ยว ดําชม สืบทอดวงแคนมาต้ังแตบรรพบุรุษ เปนวงแคนพื้นบานทม่ี ีช่อื เสียงของอําเภอหนองบวั ศิลปะการแสดง ราํ กลองยาว นําโดยนายเณร ศรสุรินทร บานเนินนํ้าเยน็ หมู ๑ ตาํ บลหนองบวั เปน การแสดงราํ กลองยาวพนื้ บา นทสี่ บื ทอดกนั มาชา นาน

วิถีชีวิต วฒั นธรรม อําเภอหนองบวั จงั หวดั นครสวรรค ๓๕ นายเณร ไดนําศิลป การแสดงมาถายทอดใหกับ บุตรหลานและเยาวชนใน หมูบานรวมกันรักษาศิลปะ การแสดงใหคงอยูสืบไป การละเลน พน้ื บา น อําเภอหนองบวั มีการละเลนพื้นบานหลายชนิด เชน ๑.การละเลน ลกู ชวง การเลนลกู ชวง โดยการใชผาหอวตั ถนุ ุม ๆ เปน ลกู กลม ผกู ชาย ยาวเปนลูกชวง แบงผูเลนเปน ๒ ฝายเทาๆ กัน กําหนดเขตหางกัน พอสมควร เม่ือฝายเริม่ โยนลูกชวงไป อีกฝายตองรบั ใหได ถารบั ไมได ตอ งโยนกลบั ฝา ยตรงกนั ขา มรบั ถา รบั ไดก ม็ สี ทิ ธป์ิ าลกู ชว งใหถ กู ตวั ฝา ย ตรงขาม ถาปาไมถูกฝายน้ันจะโยนลูกชวงกลับมา แตถาปาถูกใครคน นน้ั ตอ งเปน เชลยของฝา ยทป่ี า เลน ตอ ไปเรอ่ื ยๆ ฝา ยไหนไดเ ชลยมากกวา ฝายนั้นเปน ฝายชนะ โอกาสท่ีเลนนิยมเลนในชวงเทศกาลสงกรานต เวลากลางวัน หรือเยน็ คณุ คา ผูเลนไดรับความสนกุ สนาน เปนการสรางความสามคั คี

๓๖๔ วถิ ีชวี ติ วฒั นธรรม อาํ เภอหนองบวั จังหวดั นครสวรรค เพลงพืน้ บาน เพลงพน้ื บา นในอาํ เภอ หนองบัว ยังพอมีรองกันอยู สามารรถรวบรวมไดมีดังนี้ (กลุมผูรอง นายทํา จางพัด, นายถี ปน สขุ , นางลปิ เพง็ พรม, นายกลอย สงอูม, นางเวียน และ กํานันแหวน บุญบาง หมู ๑ ตําบลหนองกลับ อําเภอหนองบัว จงั หวดั นครสวรรค) เพลงโคราช พ่มี ารกั นองหลายๆ พม่ี าดกั ไซ คอยกู ใครจะอยากเปนชูใหรอกอน คอยกอน ใหนองกินขาว คํานอยๆ ใหรอคอยพน่ี านๆ อยากจะดวน ไปเลย เนอ อีแมหนานวลๆ เพลงบวชนาคหนองบวั พ่ีนาคจะลาบวช แลวเอย ชะแลแมงามเอย.....หนา พอหันหนาเขาโบสถหวงั จะโปรดมารดา...... ยังไมลืมเลยสีกา นะเอย.....

วิถชี วี ิต วัฒนธรรม อําเภอหนองบวั จงั หวัดนครสวรรค ๓๗๕ ๕บทท่ี วัฒนธรรมทองถ่นิ วิถีชีวิต ลักษณะการต้ังถ่ินฐานสวนใหญจะตั้งบานเรือนเปนกลุม หนาแนน ในบรเิ วณทพ่ี นื้ ราบและบรเิ วณแหลง นาํ้ และแมน าํ้ เพอ่ื ใชส าํ หรบั อปุ โภคและบรโิ ภค มวี ดั โรงเรยี นเปน ศนู ยก ลาง ประชาชนสว นใหญน บั ถอื ศาสนาพทุ ธ มสี ถาบนั วดั และพระสงฆม บี ทบาทตอ ความเปน อยทู กุ ระยะ ของประชาชน นอกจากน้ีวัดยังเปนท่ีชุมนุมของชาวบานในการจัดงาน ตางๆ ตลอดจนเปนท่ีพักผอนหยอนใจ อีกท้ังยังรับบริการประชาชน ในดานพิธีกรรมตางๆ อีกดวย การแตงกาย กอน พ.ศ. ๒๕๐๐ คน ไทยพวนและไทยดาํ การแตง กาย จะบงบอกเอกลักษณชัดเจน เชนใชผาซ่ินตีนจก ผาลายขิต ผาลายมัดหม่ี เปนตน นิยมนุง ซนิ่ ดํา สวมเสื้อคอจีน เสื้อโปง เสื้อคอกระเชา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook