Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสาร-นิติสังคมศาสตร์ ป.8 ฉ.2

วารสาร-นิติสังคมศาสตร์ ป.8 ฉ.2

Published by E-books, 2021-06-18 08:49:36

Description: วารสาร-นิติสังคมศาสตร์ ป.8 ฉ.2

Search

Read the Text Version

และการใชก้ ารตีความกฎหมายไดช้ า้ กว่าเทคโนโลยีเช่นกัน แนวทางการด�ำเนินคดี และการตคี วามของศาลทผี่ า่ นมาอาจสรา้ งผลกระทบใหเ้ กดิ บรรยากาศความหวาด กลัวหรือหวาดระแวงข้ึนในสงั คมไทยไม่มากก็น้อย ขณะท่ีสังคมเปล่ยี นแปลงอยา่ ง รวดเร็ว หากวงการนิติศาสตร์พัฒนาตัวเองไม่ทันจนช้ากว่าความรู้สึกนึกคิดของ คนในสงั คม ก็อาจจะได้พบเห็นปริมาณคดีทีม่ ขี ้อกงั ขาเพ่ิมขึ้นตามมาเร่ือยๆ 150 “วารสารนติ สิ ังคมศาสตร์ ปที ่ี 8 ฉบบั ท่ี 2/2558 กรกฎาคม-ธันวาคม”

บรรณานกุ รม ฐานข้อมูล ศูนยข์ อ้ มลู กฎหมายและคดีเสรีภาพ freedom.ilaw.or.th บทสรุปสําหรับผู้บริหาร การมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัว เรือน พ.ศ. 2557/ สืบค้นวันที่ 1 กนั ยายน 2558/ จาก http://service. nso.go.th/nso/nsopublish/service/survey/ICT-HouseExc57.pdf กฎหมายกับสอ่ื 151

สทิ ธิและเสรภี าพในการแสดงความคดิ เหน็ : ความแตกต่างในการวพิ ากษว์ ิจารณ์ ตามหลกั กฎหมายของสหรัฐอเมรกิ าและประเทศไทย พ.ต.อ. ศิรพิ ล กศุ ลศลิ ป์วุฒิ ผกู้ ำ�กบั การฝ่ายอำ�นวยการ สถาบันฝกึ อบรมระหว่างประเทศเพอ่ื ให้เป็นไปตามกฎหมาย (ILEA) บทคัดยอ่ ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้บัญญัติให้ความคุ้มครองหลักเสรีภาพในการแสดง ความคดิ เหน็ (Freedom of Expression) ไวใ้ นรฐั ธรรมนญู และศาลสงู สดุ ไดว้ างบรรทดั ฐาน ไวว้ า่ เสรภี าพดงั กลา่ วนน้ั เปน็ กลไกสำ� คญั ในการแลกเปลย่ี นขอ้ มลู ขา่ วสารในระบบตลาดเสรี (Free Market of Ideas) ซึ่งจะท�ำให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารท่ีสมูบรณ์ สามารถ วิเคราะห์ เข้าใจและตัดสินใจบนพื้นฐานของข้อมูลในสังคมอุดมปัญญานั้นได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพและถูกตอ้ ง การปดิ กั้นการใช้เสรีภาพดังกลา่ วจงึ ไม่อาจจะกระทำ� ได้ สทิ ธแิ ละเสรภี าพของประชาชนและสอ่ื สารมวลชน (Freedom of Press) ในการ วพิ ากษว์ จิ ารณแ์ ละเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ตา่ งๆ จงึ เปน็ สทิ ธพิ นื้ ฐาน (Fundamental Rights) ทแี่ สดง ถงึ ความเปน็ มนุษยท์ ี่สมบรู ณน์ ี้ ในขณะเดียวกันสิทธแิ ละเสรภี าพน้ี เปน็ สิง่ บง่ ช้ีวา่ ประเทศ น้ันให้ความเคารพในการปกครองในระบอบประชาธิปไตยท่ีจะต้องยอมรับฟังความเห็นที่ แตกตา่ ง โดยเฉพาะในการบรหิ ารรฐั กจิ และกรณกี ารเปน็ บคุ คลสาธารณะ (Public Figure) ซ่ึงหมายถึงผู้รับเงินเดือนจากภาษีของประชาชนและท�ำกิจการเพ่ือสาธารณะ (Public Service) จะตอ้ งมคี วามอดทนตอ่ การถกู วพิ ากษว์ จิ ารณจ์ ากประชาชนซงึ่ เปน็ เจา้ ของอำ� นาจ อธปิ ไตยและส่อื สารมวลชนในการตรวจสอบบุคคลสาธารณะดงั กล่าว โดยเฉพาะกรณขี อง ผ้ทู ่ไี ด้รับอาณตั จากประชาชนให้ใช้อำ� นาจบริหารรัฐกจิ ย่อมจะต้องมคี วามอดทนต่อการต้งั คำ� ถามและการตรวจสอบอยา่ งเขม้ ขน้ การตรากฎหมายในการปดิ กน้ั การใชเ้ สรภี าพดงั กลา่ ว จึงสามารถกระท�ำได้อย่างจ�ำกัดท่ีสุด รวมถึงการฟ้องร้องด�ำเนินคดีกับสื่อสารมวลชนและ 152 “วารสารนิตสิ งั คมศาสตร์ ปที ่ี 8 ฉบบั ท่ี 2/2558 กรกฎาคม-ธันวาคม”

ประชาชนที่วิพากษ์วิจารณ์การท�ำงานของรัฐบาลจึงเป็นเรื่องที่ไม่เป็นที่ยอมรับจากสังคม ประชาธปิ ไตยท่ีเคารพหลกั นติ ิรฐั และนติ ิธรรม อยา่ งไรกต็ าม การใชเ้ สรภี าพดงั กลา่ วยอ่ มมขี อบเขต เพราะสทิ ธแิ ละเสรภี าพนเ้ี ปน็ สทิ ธสิ มั พทั ธท์ จ่ี ะตอ้ งเกยี่ วพนั กบั ปจั เจกชนอน่ื รวมถงึ ความสงบเรยี บรอ้ ยของสงั คมโดยรวม รัฐจึงอาจใช้อ�ำนาจในการจัดระเบียบการใช้สิทธิและเสรีภาพดังกล่าวได้ หากรัฐสามารถ อธบิ ายใหเ้ หน็ ถงึ ประโยชนอ์ นั สำ� คญั ยงิ่ ยวด จงึ มคี วามจำ� เปน็ อยา่ งทสี่ ดุ ทจ่ี ะตอ้ งใชว้ ธิ กี ารใน การจดั ระเบยี บหรอื ควบคมุ การแสดงออกดงั กลา่ วไดด้ ว้ ยวธิ กี ารทร่ี นุ แรงนอ้ ยทส่ี ดุ โดยเฉพาะ ในกรณีท่ีกฎเกณฑ์นั้นจะมีผลถึงขนาดที่จะท�ำให้การแสดงออกไม่สามารถกระท�ำได้เลยนั้น การแสดงออกนนั้ จะตอ้ งมีภยันตรายร้ายแรงต่อสังคมอยา่ งชดั แจง้ อย่างแทจ้ รงิ เทา่ น้ัน การ ท่รี ัฐจะใชอ้ ำ� นาจในการจ�ำกดั เสรภี าพดงั กล่าวจงึ เป็นกรณขี อ้ ยกเว้นและท่จี �ำกดั อย่างมาก หากเปรียบกบั ประเทศไทย จะพบว่ามกี ารใช้กฎหมายอาญาวา่ ดว้ ยหมน่ิ ประมาท รวมถึงการหม่ินพระบรมเดชานุภาพตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 เป็นเคร่ือง มอื ในการจำ� กดั เสรภี าพของประชาชนในการแสดงความคดิ เหน็ และการเขา้ มามสี ว่ นรว่ มใน การแสดงความคดิ เห็นทีเ่ กีย่ วข้องกับการบรหิ ารราชการแผ่นดนิ รวมถึงการวนิ จิ ฉยั คดที ย่ี งั ไมแ่ นน่ อนของศาลในการคมุ้ ครองบคุ คลสาธารณะ และผพู้ พิ ากษาในบางกรณที ถี่ กู วพิ ากษ์ วิจารณ์หรือตั้งค�ำถามอันเนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่หรือการพิพากษาอรรถคดี นอกจากนี้ ยงั มกี ฎหมายพเิ ศษในการควบคมุ การโฆษณาสนิ คา้ ประเภทตา่ งๆ โดยเฉพาะทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การห้ามโฆษณาแอลกอฮอล์ ที่มีลักษณะเป็นการห้ามอย่างเด็ดขาดแล้ว หากพิจารณาว่า ประเทศไทยยอมรับและเคารพหลักเสรีภาพดังกล่าว และเชื่อว่าประชาชนจะมีสติปัญญา เพียงพอแลว้ การปิดก้ันเสรีภาพและการจ�ำกดั การโฆษณาแอลกอฮอลโ์ ดยเด็ดขาดจงึ ไมน่ า่ สอดคลอ้ งหลกั รฐั ธรรมนญู และกตกิ าระหวา่ งประเทศวา่ ดว้ ยสทิ ธพิ ลเมอื งและสทิ ธทิ างการ เมือง (International Covenant on Civil and Political Rights: ICCPR) ค.ศ.1966 ที่ ประเทศไทยได้ใหส้ ัตยาบนั และผกู พันมาตัง้ แต่ปี พ.ศ.2539 อยา่ งชัดแจง้ บทความน้ีจึงพยายามศึกษาเปรียบเทียบหลักเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น เฉพาะในกรณขี องประชาชนและสอ่ื มวลชนในการวพิ ากษว์ จิ ารณบ์ คุ คลอนื่ โดยเฉพาะบคุ คล ทถี่ อื เปน็ บคุ คลสาธารณะ และหลกั การหา้ มโฆษณาเครอื่ งดมื่ แอลกอฮอลข์ องไทย ตลอดจน วิเคราะห์บางกรณีของค�ำพิพากษาศาลฎีกาเกี่ยวกับการวิพากษ์วิจารณ์นักการเมือง ข้าราชการ ตลอดจนผู้พิพากษา ฯลฯ ที่ดูเหมือนจะห่างไกลจากหลักการให้ความเคารพ เสรภี าพดังกลา่ วในประเทศท่ีพฒั นาแลว้ อยา่ งมากในอนาคตตอ่ ไป คำ� สำ� คญั : กฎหมาย, สหรฐั อเมรกิ า, ประเทศไทย, เสรภี าพในการแสดงความคดิ เหน็ กฎหมายกบั สอื่ 153

Abstract In the United States, the Freedom of Expression or Free Speech has been strongly protect by the Constitution and the Supreme Court of the United States. Free Speech is deemed the important tools as the Free Market of Ideas to support the Democracy because this fundamental principles will allow the people to access all information and exchange their ideas and arguments and thus the people are intelligent to make their own decisions based on the complete infor- mation without any state’s interference. As a result, the state cannot enact the law to limit Free Speech without the due process of law. Freedom of Press is an example of Freedom of Expression protected by the Constitution. The Press might get the protection to criticize and distribute the different opinions to the society particu- larly against or toward to the people who obtain their positions as the “Public Figure,” for instance, the public officials who earn their salaries form the taxation. The Public Figure, therefore, must be ex- tremely tolerate to the criticism from the society and the press. The criminal and civil charge based on criticism is therefore is very limited and might be unacceptable in a rule-of-law democratic society. However, the Free speech is relative rights and freedom. The state might exercise the right to regulate it base on the potential state interest with the narrow tailor means to accomplish the public inter- est. In any circumstance, the regulation which directly or indirectly limits the Free Speech will be unconstitutional except the state can 154 “วารสารนติ สิ ังคมศาสตร์ ปีท่ี 8 ฉบับท่ี 2/2558 กรกฎาคม-ธนั วาคม”

explain the most vital interest of state is extremely required. When compared those principles to the situation in Thailand, it seems very different. Thailand will apply the defamation law and Lese Majeste law to control and prohibit the criticism in all form. In addition, the Court verdicts regarding about the defamation case against the public officials, politicians and Judges are somewhat in- consistent and even conflict with one another. Another issues regard- ing the Free Speech is the alcohols advertisement, according to the Thai law, the advertisement is very limited and almost impossible to do it. For this reason, it might not be congruent with the Interna- tional Covenant on Civil and Political Rights: ICCPR) of 1966 which Thailand has approved and ratified since 1996. This article will narrate the legal concepts and its exception of Freedom of Expression protection between the United States and Thailand. In addition, the comparison and differentiation between the practices and court judgment of Public Figure criticism and public officials will be narrated in some details to illustrate how far the Thai legal concept needs to be improved in the future. Keyword : law, United States, Thailand, Freedom of Expression กฎหมายกบั สอ่ื 155

ส่วนท่ี 1 หลกั การและข้อยกเว้นเกี่ยวกบั การค้มุ ครองเสรภี าพในการแสดง ความคิดเหน็ 1.1 หลักกติกาสากล International Covenant on Civil and Political Rights: ICCPR กตกิ าสากล ICCPR ค.ศ.1966 ไดก้ ำ� หนดหลกั ประกนั เสรภี าพในการแสดง ความคดิ เห็น (Freedom of expression) ไว้ตามมาตรา 19 (2) กลา่ วคือ บุคคล ยอ่ มมสี ทิ ธใิ นการแสดงความคดิ เหน็ รวมถงึ สทิ ธใิ นการแสวงหาและไดร้ บั ขอ้ มลู โดย ปราศจากการปดิ กน้ั โดยอาจแสดงความคดิ เหน็ ผา่ นการเขยี น ตีพมิ พ์ หรือรปู แบ บอนื่ ๆ ทางศลิ ปะซง่ึ อาจกระทำ� ผา่ นวธิ กี ารใดๆ หรอื โดยผา่ นสอ่ื สารมวลชนโดยเสรี อยา่ งไรกต็ าม การแสดงออกซึง่ ความคดิ เห็นดังกล่าว ตาม (2) จะตอ้ งด�ำเนนิ การ ด้วยความรบั ผิดชอบและหนา้ ทใ่ี นการเคารพในสิทธิของบคุ คลอ่ืนๆ ตามท่กี ำ� หนด ไวใ้ น มาตรา 19 (3) ดงั น้ัน รัฐจงึ อาจจะกำ� หนดขอ้ จำ� กัดในการแสดงความคดิ เหน็ ไดโ้ ดยจะตอ้ งบญั ญตั เิ ปน็ กฎหมายเทา่ ทจ่ี ำ� เปน็ โดยกฎหมายนน้ั จะตอ้ งตราขน้ึ เพอื่ รกั ษาชอ่ื เสยี งของบคุ คลอนื่ หรอื เพอ่ื ปกปอ้ งความมนั่ คงปลอดภยั ของรฐั หรอื ความ สงบเรยี บรอ้ ยหรอื การสาธารณสขุ หรอื ศีลธรรมอันดีเทา่ นั้น1 สิทธิและเสรีภาพดังกล่าวจึงเป็นสิทธิที่ไม่สมบูรณ์และอาจถูกจ�ำกัด ได้ โดยองค์การสหประชาชาติ ได้อธิบายเพิ่มเติมไว้ใน Comment ท่ี 34 ว่ารัฐ ทเี่ ปน็ ภาคสี มาชกิ ของกตกิ าระหวา่ งประเทศฉบบั น้ี อาจจะตราขอ้ จำ� กดั การใชส้ ทิ ธิ และเสรีภาพดงั กลา่ วได้ แตจ่ ะตอ้ งไมม่ ผี ลร้ายถงึ ขนาดไม่ใหแ้ สดงความคดิ เห็นอัน เป็นสิทธิพ้ืนฐานน้ันเอง โดยกฎหมายน้ันจะต้องเป็นส่ิงที่จ�ำเป็นตามท่ีก�ำหนดใน เง่ือนไขมาตรา 19 (3) เท่านั้น อย่างไรก็ตาม บทบัญญัติที่ตราขึ้นจะต้องผ่าน มาตรฐานท่เี ขม้ ขน้ สงู สดุ (strict tests) ตามหลักแหง่ ความจ�ำเป็นและหลกั สดั ส่วน 1 United Nations Human Rights, Office of the High Commissioner for Human Rights, International Covenant on Civil and Political Rights, http://www.ohchr. org/en/professionalinterest/pages/ccpr.aspx 156 “วารสารนติ สิ งั คมศาสตร์ ปที ่ี 8 ฉบบั ที่ 2/2558 กรกฎาคม-ธันวาคม”

(necessity and proportionality) และจะต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์แห่ง กฎหมายทต่ี ราขึ้นโดยตรงเท่าน้นั ทั้งน้ี คำ� ว่า “กฎหมาย” น้ัน จะต้องสอดคล้อง กบั หลกั การทว่ี า่ กฎหมายคอื หลกั ประกนั สทิ ธแิ ละหลกั การจำ� กดั การใชอ้ ำ� นาจของ รัฐทีก่ ำ� หนดไว้ในหลักนติ ิรฐั และนติ ธิ รรม (rule of law) กล่าวคอื กฎหมายจะตอ้ ง ใช้เพ่ือควบคุมการกระท�ำของปัจเจกชนเป็นการท่ัวไป ไม่ใช่การควบคุมความคิด หรือการห้ามอย่างไร้เหตุผลตามอ�ำเภอใจของผู้ตรากฎหมาย รวมถึงกฎหมายน้ัน จะตอ้ งกำ� หนดมาตรฐานในการแสดงออกซึ่งความคิดเหน็ (sufficient guidance) มีความชัดเจนและสามารถเข้าใจโดยท่ัวไปได้โดยง่ายว่าการฝ่าฝืนกรณีใดบ้างแล้ว จะตอ้ งถูกฟ้องรอ้ งด�ำเนนิ คด2ี ส�ำหรับเง่ือนไขท่ีรัฐภาคีอาจตรากฎหมายเพ่ือจ�ำกัดเสรีภาพน้ัน อาจจะ ก�ำหนดให้ผู้ท่ีจะใช้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นจะต้องเคารพสิทธิของผู้อื่น เชน่ การไมถ่ กู เลอื กปฏบิ ตั ิ (freedom from discrimination) เสรภี าพจากการถกู กระท�ำการท่ีโหดร้ายทารุณ หรือการปฏิบัติที่ไร้มนุษยธรรม (freedom from cruel, inhuman or degrading treatment) สิทธิของเด็กที่ได้รับการปกป้อง รวมถงึ เสรภี าพทจ่ี ะไมถ่ กู แทรกแซงในสทิ ธคิ วามเปน็ สว่ นตวั สทิ ธใิ นครอบครวั และ สทิ ธใิ นชอ่ื เสยี ง ซงึ่ การตรากฎหมายนน้ั กจ็ ะตอ้ งพจิ ารณาถงึ บรบิ ทเฉพาะเรอ่ื ง เชน่ สทิ ธขิ องเดก็ ทจี่ ะไมถ่ กู ลว่ งละเมดิ จากการใชเ้ สรภี าพของบคุ คลอน่ื จงึ มกี ฎหมายท่ี ตราขน้ึ เพอื่ มใิ หม้ กี ระทำ� เกยี่ วการลอ่ ลวงเดก็ ดว้ ยวธิ กี ารเผยแพรภ่ าพหรอื วตั ถลุ ามก อนาจารซง่ึ ถอื ว่ามีการปกป้องมากย่ิงกว่าผใู้ หญ่ นอกจากนี้ ICCPR ยงั มหี ลกั การทสี่ ำ� คญั ในการอนญุ าตใหจ้ ำ� กดั เสรภี าพใน การแสดงความคิดเห็นได้โดยอาศัยเหตุผลแห่งความจ�ำเป็นเพื่อการรักษาศีลธรรม อันดี ซึ่งองค์การสหประชาชาติได้ตระหนักถึงปัญหาน้ี เพราะแต่ละสังคมจะมี 2 Australian Human Rights Commission, Background paper: Human rights in cyberspace, 4 permissible limitations of the ICCPR right to freedom of expres- sion, https://www.humanrights.gov.au/publications/background-paper-human- rights-cyberspace/4-permissible-limitations-iccpr-right-freedom กฎหมายกับสอ่ื 157

มาตรฐานแหง่ ศีลธรรมท่ีแตกตา่ งกนั ไป Comment ท่ี 34 จงึ กำ� หนดว่า การอา้ ง หลกั การนจี้ ะตอ้ งเปน็ หลกั การแหง่ ศลี ธรรมสากลทมี่ นษุ ยชาตยิ อมรบั (in the light of universality of human rights) และภายใต้หลักการหา้ มเลือกปฏบิ ัติ (prin- ciple of non-discrimination) หา้ มมใิ หร้ ฐั ใดรฐั หนง่ึ ถอื วา่ มาตรฐานทางศลี ธรรม ของตนเองเป็นส�ำคัญเหนือกว่าในการตรากฎหมายน้ัน ส�ำหรับการอ้างเหตุผลว่า จะตอ้ งรกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ย หรอื public order นนั้ จะตอ้ งไมใ่ ชเ่ พยี งการอา้ ง วา่ “เพอื่ ความสงบเรยี บรอ้ ย” ตามอำ� เภอใจของผปู้ กครอง เนอ่ื งจากอำ� นาจของรฐั (police power) จะตอ้ งใชอ้ ยา่ งชอบธรรม เพอ่ื ประโยชนอ์ นั สำ� คญั อยา่ งยง่ิ ยวดตอ่ สาธารณะทช่ี อบดว้ ยกฎหมายอยา่ งแทจ้ รงิ ไมใ่ ชเ่ พยี งในความหมายของการควบคมุ กจิ กรรมทว่ั ไปของประชาชนเพื่อ ”ความสงบสุข” ตามทผ่ี ปู้ กครองปรารถนา ดงั นั้นการตรากฎหมายในกรณีน้ีจึงต้องถูกตรวจสอบอย่างเข้มข้นตามหลักเหตุผล ความจ�ำเป็นอันยิ่งยวดและหลักสัดส่วนที่รุนแรงน้อยที่สุด และยังมีทางเลือกแก่ สงั คมในการแสดงความคดิ เห็น โดยองคก์ ารสหประชาชาติ ได้ก�ำหนดแนวทางใน การตรากฎหมายตามหลกั “จ�ำเป็น (necessary) และหลกั สดั สว่ น (Principle of proportionality)” ไวว้ า่ มาตรการที่ตราขนึ้ เพอ่ื จำ� กดั เสรภี าพในการแสดงความ คิดเห็นจะต้องสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ที่รัฐมุ่งปกป้องอย่างแท้จริง โดยจะต้อง เปน็ วธิ กี ารทร่ี นุ แรงนอ้ ยทสี่ ดุ ในบรรดาวิธกี ารหรอื มาตรการทมี่ อี ย่ทู ง้ั หมด โดยเม่อื เปรยี บเทยี บกบั ผลประโยชนห์ รอื วตั ถปุ ระสงคท์ มี่ งุ่ คมุ้ ครองวา่ ไดส้ ดั สว่ นกนั หรอื ไม่ เพียงใด โดยเฉพาะในบริบทที่ประเทศน้ันยึดมั่นและเคารพในหลักประชาธิปไตย สาธารณชนจะต้องสามารถตั้งข้อสงสัยหรือวิพากษ์วิจารณ์บุคคลท่ีเป็นบุคคล สาธารณะ หรือนักการเมืองได้ เม่ือรัฐจะตรากฎหมายห้ามวิพากษ์วิจารณ์ รัฐจะ ตอ้ งแสดงถงึ หลกั การพน้ื ฐานทชี่ อบธรรม (legitimate ground) วา่ การกระทำ� ของ ปจั เจกชนนั้นจะก่อใหเ้ กดิ ภยันตรายตอ่ รัฐท่ีชดั แจ้งอยา่ งไร การตรากฎหมายนน้ั มี ความจ�ำเป็นและบรรลุวัตถุประสงค์ที่มุ่งคุ้มครองหรือไม่ โดยเฉพาะอย่างย่ิงการ กระทำ� นน้ั กบั ภยนั ตรายตอ่ รฐั นน้ั จะเกดิ ขนึ้ อยา่ งมนี ยั ยะสำ� คญั อนั สบื เนอื่ งจากการ แสดงความคิดเหน็ ได้อยา่ งไร เปน็ ต้น 158 “วารสารนติ ิสังคมศาสตร์ ปที ่ี 8 ฉบับที่ 2/2558 กรกฎาคม-ธนั วาคม”

หากพิจารณาถึงบทบัญญัติมาตรา 19 (1) แล้ว ย่ิงมีความชัดเจนว่า กติกาสากลได้ให้ความส�ำคัญต่อการแสดงความคิดเห็นและการแสดงออก (Freedoms of opinion and expression) โดยหา้ มมใิ หม้ ขี อ้ จำ� กดั ใดๆ เนอื่ งจาก ถอื ว่า หลักการนเ้ี ป็นเงอื่ นไขที่จ�ำเปน็ ในการทจี่ ะส่งเสริมให้เปน็ มนุษย์โดยสมบรู ณ์ (indispensable conditions for the full development of the person)3 และถอื เปน็ องคป์ ระกอบทขี่ าดไมไ่ ดใ้ นสงั คม โดยประกอบกนั เปน็ หลกั การพนื้ ฐาน ทห่ี นกั แนน่ สำ� หรบั สงั คมเสรปี ระชาธปิ ไตย โดยเสรภี าพดงั กลา่ วจะเปน็ กลไกสำ� คญั ในการแลกเปลี่ยนซ่ึงความคิดเห็นอันน�ำไปสู่การพัฒนาทางสังคม โดยเฉพาะ การแสดงออกซึ่งความคิดเห็น (expression) นั้น ถือเป็นจักรส�ำคัญท่ีส่งเสริมให้ หลักความโปร่งใสและความรับผิดชอบ ( principles of transparency and accountability) เกดิ ขนึ้ เปน็ จรงิ ได้ และทา้ ยทส่ี ดุ หลกั การดงั กลา่ วจะนำ� มาซง่ึ การ ปกปอ้ งสทิ ธแิ ละเสรภี าพของประชาชนและสงั คมโดยสว่ นรว่ ม คณะกรรมการสทิ ธิ มนุษยชนแห่งสหประชาชน จงึ เหน็ ว่า หลกั การคมุ้ ครองสิทธิและเสรภี าพในความ คิดเห็นและการแสดงความคิดเห็นน้ี ไม่อาจถูกจ�ำกัดโดยรัฐ จนถึงขนาดท�ำให้ไม่ สามารถวิพากษว์ จิ ารณใ์ ดๆ ได้ แมว้ ่ารฐั จะอ้างวา่ รฐั อยชู่ ว่ งสถานการณ์พเิ ศษหรอื สถานการณฉ์ ุกเฉิน (state of emergency) ก็ตาม4 ตามหลักการน้ี ยงั ไดร้ ับรอง สทิ ธนิ ใ้ี หร้ วมถงึ สทิ ธใิ นการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู รบั รขู้ า่ วสารตา่ งๆ ทง้ั ทางการเมอื งและการ บริหารราชการ โดยเฉพาะการวพิ ากษ์วิจารณ์หรือแสดงความคิดตอ่ การบริหารรัฐ กจิ หรอื ตอ่ การออกเสยี งเลอื กตง้ั (public affairs and the right to vote) ถอื เปน็ สารตั ถะสำ� คญั ตอ่ หลกั การคมุ้ ครองน้ี ดงั นนั้ รฐั ภาคจี ะตอ้ งกำ� หนดกฎหมายภายใน ทจ่ี ะตอ้ งสง่ เสรมิ ใหส้ ทิ ธแิ ละเสรภี าพในการแลกเปลย่ี นขอ้ มลู ขา่ วสารทางการเมอื ง ระหวา่ งประชาชน หรอื ผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี ตา่ งๆ ใหม้ คี วามสำ� คญั และเปน็ จรงิ โดยเฉพาะ 3 Human Rights Committee, International Covenant on Civil and Political Rights, General Comment No.34, 12 September 2011, http://www2.ohchr.org/english/ bodies/hrc/docs/gc34.pdf 4 Id. Comment No.34 para.5 กฎหมายกบั สื่อ 159

สทิ ธแิ ละเสรภี าพของสอ่ื สารมวลชนจะตอ้ งสามารถเสนอความคดิ เหน็ ตอ่ สาธารณะ โดยปราศจากการแทรกแซงใดๆ และจะตอ้ งไมม่ กี ารตรวจสอบหรอื ปดิ กน้ั (censor- ship or restraint) อกี ด้วย 5 ส�ำหรบั การตรากฎหมาย และการใช้กฎหมายภายใต้หลัก มาตรา 19 (3) นั้น หากมีผลเป็นการห้ามเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารท่ีเป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ หรือมีการใช้กฎหมายว่าด้วยการทรยศต่อชาติ (treason law) หรือ กฎหมายท่ี เก่ียวข้องกับความม่ันคงของชาติ (national security) หรือกฎหมายท่ีเก่ียวข้อง กับการตรวจสอบส่ิงพิมพ์ หรือการควบคุมความประพฤติของสมาชิกสังคมให้เชื่อ และเชอ่ื ฟัง (Sedation law) จะถือวา่ ขัดต่อหลักการตามมาตรา 19 (3) น้ี หากมี การปราบปราม หรอื ยบั ยงั้ การนำ� เสนอขอ้ มลู ขา่ วสารทเี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ สาธารณชน โดยชอบธรรม ซึ่งไม่มีข้อเท็จจริงใดๆ ที่จะแสดงอย่างชัดแจ้งว่าเป็นภัยต่อความ มน่ั คงแหง่ ชาติ หรอื การจบั กมุ ฟอ้ งรอ้ งสอ่ื สารมวลชน นกั วชิ าการ หรอื นกั กจิ กรรม เพื่อสังคม รวมถึงนักสิทธิมนุษยชนอันเนื่องมาจากการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารดัง กลา่ ว ดงั นนั้ การตรากฎหมายใดๆ จะตอ้ งไมอ่ า้ งความจำ� เปน็ อยา่ งกวา้ งขวางคลอ บคลมุ ไปทุกๆ เรอ่ื ง ( necessity for a legitimate purpose must not over broad)6 หรืออ้างเหตุผลลอยๆ เพ่ือรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี เทา่ นนั้ หากรฐั อา้ งดงั กลา่ ว กถ็ อื วา่ ละเมดิ พนั ธะสญั ญาตอ่ กตกิ าระหวา่ งประเทศน้ี ดงั เชน่ กรณขี องประเทศไทย ซง่ึ เปน็ ภาคสี มาชกิ และยอมรบั ความผกู พนั ตามกตกิ า ICCPR นบั แตป่ ี พ.ศ.2539 เปน็ ตน้ ยอ่ มจะตอ้ งใหก้ ารยอมรบั และคมุ้ ครองเสรภี าพ 5 Id. Para.20 อย่างไรกต็ าม รัฐบาลไทยมแี นวคิดที่จะควบคุมการใช้อนิ เตอรเ์ น็ตด้วยการจดั ตั้ง Single Gateway ซึ่งจะมีผลเป็นการควบคุมการแสดงความคิดของประชาชนโดยตรง โปรดดู Modern Radio – FM 100.5, “โฆษกรัฐบาลย้ำ Single Gateway เปน็ แค่เพียงการ ศึกษาข้อมูลวอนทุกฝ่ายท�ำความเข้าใจถ้วนถ่ีอย่าหลงเชื่อผู้ไม่หวังดี รัฐบาลมุ่งผลักดัน เศรษฐกิจชาติดว้ ยดิจทิ ัลเผยแพรเ่ มอ่ื “วันที่ 2 ตลุ าคม 2558” ออนไลน,์ http://mcot-web.mcot.net/fm/1005content.php?id=560e1e02be047005fe 8b#4721.VharhfmqpBc 6 Id. Para.33-34 160 “วารสารนิตสิ งั คมศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบับท่ี 2/2558 กรกฎาคม-ธนั วาคม”

ในการแสดงความคิดเห็นและการแสดงออกตามท่ีก�ำหนดไว้ด้วยเช่นกัน ท้ังน้ี ประเทศไทยไมไ่ ดต้ ง้ั ขอ้ สงวนแตป่ ระการใดจงึ ถอื วา่ ประเทศไทยยอมรบั ทจี่ ะปฏบิ ตั ิ ตามพันธกรณีดงั กล่าวโดยปราศจากเงือ่ นไข 7 1.2 หลักรฐั ธรรมนญู สหรฐั อเมรกิ า: การคมุ้ ครอง กฎเกณฑ์ และขอ้ ยกเว้น8 (1) หลักรฐั ธรรมนญู ท่แี ก้ไขเพมิ่ เตมิ ตามมาตรา 1 (The First Amendment) การคุ้มครองสิทธแิ ละเสรีภาพในการแสดงความคดิ เหน็ (Free speech) ตามหลักรฐั ธรรมนูญทแี่ ก้ไขเพมิ่ เตมิ มาตรา 1 (The First Amendment to the U.S. Constitution) ที่บัญญัติว่า รัฐสภาจะต้องไม่ก�ำหนดกฎหมายใดๆ ในการ จำ� กัดเสรีภาพในการแสดงความคดิ เสรีภาพในการตพี ิมพ์สอื่ สิ่งพมิ พ์ หรือสทิ ธิใน การชุมนมุ และ การเรยี กร้องใหร้ ัฐบาลในการแกไ้ ขความเดอื ดร้อนของประชาชน อยา่ งไรกต็ ามเสรภี าพดงั กลา่ วแมจ้ ะไดร้ บั ความคมุ้ ครองตามรฐั ธรรมนญู แตห่ าใชว่ า่ จะไมม่ ขี อ้ จ�ำกดั ไม่ ศาลสูงสุดสหรัฐอเมริกาไดพ้ ฒั นาหลักการพจิ ารณาว่าการตรา กฎหมายของรัฐบาลน้ันจะชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือไม่ โดยพิจารณาจากเน้ือหา ของกฎหมายนัน้ เองว่า เป็นการตรากฎหมายเพอ่ื จำ� กัดการแสดงความคิดโดยตรง (Content-based) หรือเป็นเพียงการจัดระเบียบการแสดงความคิดเห็นท่ีไม่มีผล 7 กรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยตุ ธิ รรม ,สาระส�ำคญั กติการะหวา่ งประเทศวา่ ด้วย สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights: ICCPR) ว่าดว้ ยสาระสำ� คญั และค�ำแถลงตีความ, ออนไลน.์ http://www.rlpd.go.th/rlpdnew/images/rlpd_1/International_HR/2557/tran_ ICCPR-2.pdf 8 เนื้อหาส่วนใหญ่มาจากเอกสารประกอบการสอนวิชาหลักกฎหมายมหาชนและเสรีภาพใน การแสดงออกซ่ึงความคิดเห็นของผู้เขียน ในหลักสูตรปริญญาเอก คณะนิติศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ปทมุ ธานี รวมถงึ รายงานวจิ ยั เรอ่ื ง ผลกระทบจากพ.ร.บ.วา่ ดว้ ยการกระทำ� ความ ผิดเก่ยี วกับคอมพวิ เตอร์ พ.ศ. 2550 และนโยบายของรัฐ กับสิทธิเสรภี าพในการแสดงความ คิดเห็น” ซ่ึงน�ำเสนอต่อมูลนิธิไฮน์ริค เบิลล์ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยสาวิตรี สุขศรี, พนั ตำ� รวจเอก ศิริพล กุศลศิลปว์ ุฒิ และอรพนิ ย่ิงยงวัฒนา, 2550 กฎหมายกบั ส่ือ 161

ต่อเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นนั้น (Content-neutral) โดยหากรัฐท�ำการ ควบคมุ เนอื้ หาในลกั ษณะทเี่ ปน็ Content-based ศาลจะทำ� การตรวจสอบกฎหมาย นนั้ อยา่ งเข้มข้น ตามหลัก Strict scrutiny หรอื Strict test ในขณะทีก่ ารจ�ำกัด เสรภี าพในลกั ษณะ Content-neutral ทไี่ มไ่ ดม้ ลี กั ษณะการจำ� กดั เสรภี าพในเนอ้ื หา หากเป็นเพียงการจัดระเบียบเร่ือง เวลา (Time) สถานท่ี (Place) วิธีการในการ แสดงความคดิ เหน็ (Manner) ศาลจะตรวจสอบโดยไมพ่ จิ ารณาในเนอ้ื หา และมกั จะวนิ จิ ฉยั ว่าเป็นการกระท�ำทีช่ อบดว้ ยรัฐธรรมนญู ในสหรัฐอเมริกาน้ันยอมรับว่า ถ้อยค�ำอันเกิดจากเสรีภาพในการ แสดงความคิดเห็นน้ัน อาจจะก่อให้เกิดลักษณะท่ีเป็นผลร้ายต่อบุคคลอื่น แต่ถ้า หากผลร้ายดังกล่าวอาจคลี่คลายโดยการน�ำเสนอข้อมูลของอีกฝ่ายในการหักล้าง ข้อเท็จจริงดังกล่าวแล้ว การที่รัฐสั่งห้ามการน�ำเสนอข้อมูลดังกล่าวโดยสิ้นเชิง จะถือว่าเปน็ มาตรการทเ่ี กดิ ความจ�ำเป็น (Whenever the harm feared could be averted by a further exchange of ideas, governmental suppression is conclusively deemed unnecessary.) โดยศาลสงู สดุ สหรฐั อเมรกิ า โดยทา่ น ผู้พิพากษา Justice Holmes เคยวางหลักเกณฑ์ส�ำคัญไว้ว่า ตามเจตนารมณ์ ของการคุ้มครองเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นน้ัน ไม่ใช่หน้าที่ของรัฐโดยตรง ในการห้ามหรือจ�ำกัดข้อมูลท่ีไม่ตรงกับความจริง แต่เป็นกรณีที่กลไกทางสังคม โดยกระบวนการแลกเปลี่ยนข้อมูลหรือเสรีภาพในการน�ำเสนอข้อมูลหักล้างกัน (Marketplace of ideas) ในสงั คม จะทำ� หน้าทีใ่ นการทำ� ใหส้ งั คมได้รับทราบวา่ ข้อมูลใดเป็นจริงหรือเท็จ ( Abrams v. U.S. 250 U.S. 616 (1919) ) ดังน้ัน เสรภี าพในการแสดงความคดิ เหน็ เทา่ นน้ั ทจี่ ะทำ� ใหส้ งั คมไดเ้ ขา้ ใจวา่ สงิ่ ใดทเ่ี ปน็ จรงิ เว้นแต่ โดยสภาวะแวดล้อมกรณีจ�ำเป็นอย่างยิ่งยวดท่ีไม่อาจจะหลีกเลี่ยงได้อย่าง แท้จรงิ เทา่ นน้ั รัฐจะต้องเขา้ มาจดั การแกไ้ ขปญั หาดงั กลา่ ว เนื่องจาก ถ้อยค�ำดัง กล่าว ไม่อาจจะหักล้างหรือค้นหาความจริงได้โดยกระบวนการน�ำเสนอข้อมูลหัก ลา้ ง เชน่ ถอ้ ยคำ� นนั้ เปน็ สงิ่ ทไ่ี มไ่ ดร้ บั การปกปอ้ งตามรฐั ธรรมนญู เปน็ ตน้ วา่ ถอ้ ยคำ� 162 “วารสารนติ ิสงั คมศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบบั ท่ี 2/2558 กรกฎาคม-ธนั วาคม”

ประเภทยวั่ ยใุ หป้ ระชาชนมพี ฤตกิ รรมละเมดิ กฎหมายอยา่ งรา้ ยแรงและเปน็ ภยั ตอ่ สงั คมอยา่ งแทจ้ ริง หรอื เปน็ การหมิน่ ประมาท หรอื กอ่ ให้เกดิ การทะเลาะววิ าท ระหวา่ งปจั เจกชน ไดแ้ ก่ ผกู้ ล่าวถ้อยค�ำ และ ผไู้ ด้รบั ความเสียหายจากการกลา่ ว ถ้อยค�ำดังกล่าว รัฐจึงอาจจะมีมาตรฐานทางกฎหมายที่ถูกต้องและชอบธรรมใน การจัดการหรือควบคุมการกระท�ำการดังกล่าว เช่น การด�ำเนินคดีโดยชอบด้วย หลักนิติธรรมและนิติรัฐ กล่าวอีกนัยหนึ่ง ถ้อยค�ำที่ไม่ได้รับการปกป้องตาม รัฐธรรมนญู คือ ถอ้ ยคำ� ท่ไี ม่อาจจะใหข้ ้อมลู อกี ดา้ นหนึ่งหกั ล้างได้ (Free trade in ideas) เพ่ือให้ประชาชนผู้รับฟังสามารถใช้วิจารณญาณพิจารณาว่าข้อมูลฝ่ายใด ถูกต้องเป็นจริง หรือเป็นกรณีที่การแลกเปล่ียนข้อมูลน้ัน ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ หรอื มคี ณุ คา่ แกส่ งั คมนอ้ ย กรณดี งั กลา่ ว รฐั กอ็ าจจะตรากฎหมายจำ� กดั หรอื ควบคมุ หรอื จัดระเบยี บการใชเ้ สรีภาพในการแสดงความคดิ เหน็ ได้ (2) ถ้อยคำ� ทไ่ี มไ่ ดร้ ับความคมุ้ ครองตามรฐั ธรรมนูญ สหรัฐอเมริกา ยอมรับว่ารัฐบาลสามารถห้ามมิให้มีการเผยแพร่ถ้อยค�ำ ใดๆ หรือจ�ำกัดเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นอย่างเด็ดขาด เน่ืองจากถ้อยค�ำ ดังกล่าวไม่ถือว่าได้รับคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ ได้แก่ ถ้อยค�ำท่ีมีลักษณะสื่อ ทางเพศลามกอนาจาร (Obscenity) ข้อความอันเป็นเท็จโดยการหลอกลวง (fraudulent misrepresentation) การใส่ความให้รา้ ย (Defamation) การยุยง ให้มีการกระท�ำผิดกฎหมายอย่างร้ายแรง (Advocacy of imminent lawless) หรือย่ัวยุให้มีการต่อสหู้ รอื ท�ำร้ายกนั (Fighting words) 9 รวมถึงการห้ามนำ� ภาพ เด็กเยาวชนมาตพี ิมพ์ หรอื โพสต์ในอินเตอร์เนต เป็นตน้ เนอ่ื งจากการแสดงความ คดิ เหน็ ซงึ่ รวมถงึ การเผยแพรภ่ าพ และขอ้ ความดงั กลา่ วไมไ่ ดร้ บั ความคมุ้ ครองตาม รัฐธรรมนูญ ซงึ่ พอจะยกตวั อย่างได้ ดังนี้ 9 Steven L. Emauel, Constitutional Law, (Aspen Law & Business Publisher, 2003) p. 445 กฎหมายกับสื่อ 163

ถอ้ ยค�ำใดยั่วยุให้มีการกระท�ำผิด (Advocacy of illegal conduct) น้ัน รัฐจะต้องแสดงเหตุผลอย่างชัดแจ้งว่า การแสดงออกซ่ึงถ้อยค�ำใดๆ มเี จตนารมณเ์ พอื่ การปลกุ เรา้ หรอื กอ่ ใหเ้ กดิ การกระทำ� ทผี่ ดิ กฎหมายหรอื ทำ� ใหอ้ ยู่ ในสภาวะไรก้ ฎหมายอนั เปน็ ภยั อยา่ งรา้ ยแรง และถอ้ ยคำ� ดงั กลา่ วนนั้ จะตอ้ งมแี นว โนม้ หรือลักษณะที่จะก่อให้เกิดภยนั ตรายในทางขอ้ เท็จจริงได้ ดังกล่าวขา้ งต้นโดย แทจ้ รงิ ไมใ่ ชเ่ พยี งกลา่ วอา้ งลอยๆ วา่ นา่ จะเกดิ เหตุ หรอื คดิ ไปเองโดยไมม่ หี ลกั ฐาน ทแ่ี สดงให้เห็นถึงความเปน็ ไปไดแ้ ห่งเหตรุ ้ายนน้ั ถ้อยค�ำท่ีมีลักษณะเป็น Fighting words จะต้องมีลักษณะที่อาจจะ กอ่ ใหบ้ คุ คลอน่ื ซง่ึ ไดร้ บั ผลกระทำ� จากการกลา่ วถอ้ ยคำ� ดงั กลา่ วใหเ้ กดิ การกระทำ� ท่ี รนุ แรง (act of violence) เกดิ ขนึ้ กบั ผกู้ ลา่ วถอ้ ยคำ� ดงั กลา่ ว สว่ นวธิ กี ารปฏบิ ตั ขิ อง เจ้าหน้าที่ต�ำรวจนั้นค่อนข้างจ�ำกัดอย่างมาก โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการชุมนุม สาธารณะ เจ้าหน้าที่ต�ำรวจ อาจจะต้องใช้เทคนิควิธีการในการควบคุมหรือดูแล ฝูงชน แทนการจับกุมผู้กล่าวถ้อยค�ำดังกล่าว อย่างไรก็ตาม ในสหรัฐอเมริกานั้น จะมีการคุ้มครองท่ีกว้างขวางกว่าประเทศอ่ืนๆ เพราะถ้อยค�ำที่มีลักษณะรุนแรง หรือกา้ วร้าว (Offensive language) เช่น การไม่นับถอื พระเจ้า หรอื สิ่งศกั ดสิ์ ิทธิ์ หรือความเช่ือทางศาสนา หรอื ทีเ่ กย่ี วข้องกับเชือ้ ชาติ น้นั ไม่ถอื เปน็ สง่ิ ท่ีตอ้ งห้าม และถือว่าได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ รัฐไม่อาจออกกฎหมาย จำ� กัดได้ สง่ิ ลามกอนาจาร (Obscenity) โดยปกตแิ ลว้ การใชเ้ สรภี าพในการแสดง ความเห็น หรือการแสดงออก โดยการเผยแพร่ส่ิงลามกอนาจาร (Obscene) เปน็ สง่ิ ทไ่ี มไ่ ดร้ บั การปกปอ้ งตามรฐั ธรรมนญู โดยงานใดจะถอื เปน็ สง่ิ ลามกอนาจาร นนั้ มกี ารวางหลกั การไวว้ า่ จะกอ่ ใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ ทางเพศ หรอื Prurient interest กลา่ วคือ เป็นกรณที ว่ี ญิ ญูชนทว่ั ไปในสังคมน้ันๆ เห็นว่าโดยรวมแล้วงานดงั กล่าวมี ลักษณะที่ก่อให้เกิดความใคร่ หรือความต้องการทางเพศ นอกจากน้ียังพิจารณา ถงึ Sexual conduct กลา่ วคอื งานดังกลา่ วมีลักษณะบรรยายหรอื แสดงใหเ้ หน็ 164 “วารสารนิติสงั คมศาสตร์ ปที ี่ 8 ฉบับที่ 2/2558 กรกฎาคม-ธันวาคม”

ภาพท่ีมีลักษณะหรือพฤติกรรมทางเพศท่ีชัดแจ้ง (Patently offensive sexual conduct) และประการสดุ ทา้ ย คือ Lacks value กล่าวคอื งานดังกลา่ วเป็นงานท่ี ขาดคุณค่าไม่ว่าจะเปน็ คุณค่าทางวรรณกรรม ศิลปกรรม หรอื การเมอื ง หรือทาง วิทยาศาสตร์ การควบคุมการโฆษณา หรือ Commercial speech หรือ เพื่อ ประโยชน์ทางการค้านั้น ปกติย่อมได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ แต่การ คุ้มครองน้ีจะน้อยกว่าการคุ้มครองส�ำหรับถ้อยค�ำที่ไม่ใช่เพื่อประโยชน์ทางการค้า โดยรัฐจะท�ำการควบคุมการโฆษณาสินค้าในด้านเนื้อหาน้ันมีความถูกต้องน่าเช่ือ ถือหรือไม่ (Truthful speech) เป็นสำ� คัญ แตจ่ ะไมห่ า้ มโฆษณาสนิ คา้ นนั้ ๆ โดยมี วิธีการควบคุมการโฆษณาหลายประการ เช่น เวลา สถานท่ี หรือวิธีการโฆษณา ภายใตห้ ลกั การคมุ้ ครองประโยชน์อันส�ำคญั โดยตรงของรฐั (directly advancing a substantial governmental interest) และวิธีการท่ีมีเหตุผลอันสมควร (reasonably tailored to achieve governmental interest) โดยเป็นวธิ ีการท่ี เบาท่ีสุด รัฐก็สามารถตรากฎเกณฑ์เกีย่ วกับการวิธีการโฆษณาได้ ดงั นน้ั การห้าม โฆษณาอย่างเด็ดขาดจึงกระท�ำไม่ได้ เว้นแต่เน้ือหาโฆษณาน้ันไม่ถูกต้องไม่น่าเช่ือ ถือ (Truthful speech) เช่น มีลักษณะหลอกลวงท�ำให้ประชาชนหลงผิด หรอื กระทำ� ผดิ กฎหมาย (False, Deception, or Illegal) รฐั อาจจะจำ� กดั หรอื หา้ ม การเผยแพรน่ ้ันได้อย่างเตม็ ท1่ี 0 (3) มาตรฐานในการตรวจสอบความชอบดว้ ยกฎหมายของรัฐบาล ท่ีเก่ยี วขอ้ งกับการแสดงออก11 หากรัฐจ�ำเป็นต้องตรากฎหมายท่ีมีผลเป็นการควบคุมการแสดงออกใน เนอ้ื หา (Content-based) โดยตรงศาลสงู สดุ จะสนั นษิ ฐานไวก้ อ่ นวา่ เปน็ กฎหมาย 10 John E. Nowak, Ronald D. Rotunda, Principle of Constitutional Law, (Thom- son & West, 2004) pp.582-597 11 ศริ ิพล กศุ ลศลิ ป์วุฒิ, อ้างแล้ว, เชงิ อรรถท่ี 9. กฎหมายกบั สือ่ 165

ทีข่ ดั ตอ่ รัฐธรรมนูญ เว้นแต่รฐั จะพิสจู น์ตามมาตรฐานข้ันสงู สุด (Strict scrutiny) ได้ว่า กฎหมายนั้นเป็นมาตรการคุ้มครองผลประโยชน์อันจ�ำเป็นอย่างยิ่งยวดของ รัฐ (Compelling government objective) มาตรการนน้ั จ�ำเป็น (Necessary) ไมอ่ าจหลกี เลยี่ งได้ และเปน็ วธิ กี ารทร่ี นุ แรงนอ้ ยทสี่ ดุ และแคบทสี่ ดุ (Narrowly as possible to achieve that objective) ในการคมุ้ ครองประโยชนข์ องรัฐน้ัน ส่วนกฎหมายท่ีไม่ได้จ�ำกัดเน้ือหาในการแสดงความคิดเห็น ในลักษณะ เป็น Content-neutral ศาลจะท�ำการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญด้วย มาตรการที่เข้มข้นน้อยกว่า โดยพิจารณาว่ากฎหมายนั้นต้องมีวัตถุประสงค์เพื่อ คุ้มครองประโยชน์อันส�ำคัญของรัฐ (Significant governmental interest) วธิ กี ารจำ� กดั เสรภี าพในการแสดงความคดิ เหน็ นน้ั ตอ้ งเปน็ วธิ กี ารทรี่ นุ แรงนอ้ ยทส่ี ดุ (Narrowly tailored to serve that governmental interest) และการก�ำหนด ทางเลือกในการแสดงความคิดเห็น (Alternative channels) ซ่ึงรัฐจะต้องเปิด โอกาสหรอื ทางเลือกใหแ้ ก่ประชาชนในการเลือกสอื่ สารเนือ้ หาดังกล่าวได้ ศาลสงู สดุ ยงั ไดจ้ ำ� กดั ขอบเขตของวตั ถปุ ระสงคก์ ฎหมายและวธิ กี ารทใ่ี ชจ้ ะตอ้ งไมก่ วา้ งขวาง เกนิ สมควร (Overbreadth) โดยกฎหมายดงั กลา่ ว อาจจะมบี ทบญั ญตั ทิ ค่ี ลมุ เครอื ไมช่ ัดเจน (Vagueness) ก็จะถือวา่ ขัดหลักรฐั ธรรมนญู นี้ ตวั อย่างเชน่ ไมม่ นี ิยาม ที่ชัดเจนอย่างเพียงพอที่จะท�ำให้วิญญูชนเข้าใจได้ ไม่ต้องใช้ดุลพินิจหรือคาดเดา ความหมายทแ่ี ทจ้ รงิ ของกฎหมายหรือข้อห้ามดงั กล่าว การจัดระเบียบวิธีการแสดงออกซ่ึงความคิด อาจจ�ำแนกเป็นการ จ�ำกัดเฉพาะเก่ียวกับ Time, Place และ Manner หรือ TMP ซ่ึงโดยทั่วไป การแสดงความคดิ เหน็ ไมจ่ ะถกู จำ� กัดโดยการขออนุญาต (License or Permit) ก่อนแสดงออกซึ่งความคิดเห็นได้ เว้นแต่ จะจ�ำเป็นอย่างย่ิง ซึ่งจะต้องเป็นกรณี ท่ีเฉพาะเจาะจงและใช้อย่างจ�ำกัด (Specifically and narrowly) ซึ่งในกรณี ดังกล่าวอาจจะต้องมีการใช้ดุลพินิจอย่างระมัดระวังอย่างย่ิงของเจ้าหน้าที่ ผู้รบั ผิดชอบ 166 “วารสารนติ ิสังคมศาสตร์ ปที ่ี 8 ฉบับที่ 2/2558 กรกฎาคม-ธันวาคม”

ในกรณที ีก่ ารใชเ้ สรีภาพแสดงออกซง่ึ ความคดิ เหน็ น้ัน เป็นส่งิ ทป่ี ระชาชน ท่ัวไปอาจจะเขา้ ถงึ ได้ (Public Forum) หากรฐั ประสงค์จะควบคุมการใชเ้ สรภี าพ ดงั กลา่ ว จะตอ้ งพสิ จู นไ์ ดว้ า่ การควบคมุ ดงั กลา่ วจะกอ่ ใหเ้ กดิ ผลประโยชนอ์ นั สำ� คญั อย่างสงู สุดตอ่ ประเทศ (Significant governmental interest) และวิธกี ารจ�ำกัด เสรีภาพดังกล่าว จะเป็นวิถีทางท่ีเบาและแคบที่สุดในการบรรลุวัตถุประสงค์ดัง กล่าว (Narrowly drawn to achieve a significant government interest) นอกจากนี้ กฎเกณฑ์ดังกล่าวจะต้องไม่เป็นการจ�ำกัดสิทธิโดยสิ้นเชิงในการแสดง ความคดิ เหน็ แตย่ งั คงใหท้ างเลอื กในการแสดงสทิ ธแิ ละเสรภี าพดงั กลา่ ว (Alterna- tive channels available) สำ� หรบั สถานทอ่ี นั จะถอื วา่ เปน็ Public Forum ไดแ้ ก่ สถานทเี่ ปดิ ใหป้ ระชาชนไดเ้ ขา้ ไปใชไ้ ด้ หรอื สามารถเขา้ ถงึ ไดโ้ ดยไมม่ ขี อ้ หวงกนั แต่ สำ� หรับสถานทซี่ ง่ึ ไมถ่ ือเป็น Public Forum ไดแ้ ก่ สถานทห่ี รอื อาณาบริเวณซง่ึ รัฐบาลหรือหน่วยงานของรัฐมีอ�ำนาจโดยชอบธรรมที่จะหวงกันได้ เป็นต้นว่า สนามบิน หรือ สถานที่ราชการ หลังเวลาท�ำการ ซ่ึงกรณีนี้ รัฐมีอ�ำนาจโดยชอบ ธรรมมากขนึ้ ทจี่ ะจำ� กดั สทิ ธใิ นการแสดงความคดิ โดยอาจจะกำ� หนดกฎเกณฑซ์ ง่ึ มี เหตผุ ลเพยี งพอเพอื่ ใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงคข์ องรฐั แตร่ ฐั จะตอ้ งมชี อ่ งทางใหป้ ระชาชน ได้แสดงความคิดเห็นของตนอยู่ด้วย จะเห็นได้ว่าสิทธิของประชาชนในการแสดง ความคดิ จะมมี ากในพนื้ ทสี่ าธารณะและจะลดลงในพนื้ ทที่ ไ่ี มใ่ ชพ่ นื้ ฐานทส่ี าธารณะ โดยเฉพาะในสถานทหี่ รอื อาณาบรเิ วณทถ่ี อื วา่ เปน็ สถานทร่ี โหฐานหรอื อาณาบรเิ วณ ซงึ่ ผทู้ ม่ี สี ทิ ธไิ ดห้ วงกนั เฉพาะ สทิ ธแิ ละเสรภี าพดงั กลา่ วกจ็ ะถกู จำ� กดั ลงไปจนกระทง่ั ไมม่ สี ทิ ธนิ ั้นเลย (4) การใชเ้ สรภี าพของสอ่ื มวลชนในการวพิ ากษว์ จิ ารณก์ ารปฏบิ ตั งิ าน ของเจา้ หน้าท่รี ฐั ในสหรฐั อเมรกิ านนั้ การใหค้ วามคมุ้ ครองสทิ ธแิ ละเสรภี าพของปจั เจกชน และส่ือมวลชนในการเข้าถึงการบริหารรัฐกิจ และการรับรู้ข่าวสารจากภาครัฐ ถอื เปน็ หลกั การสำ� คญั ทจ่ี ะตอ้ งรบั ความคมุ้ ครอง ในกรณที ผี่ มู้ คี วามเสยี หายเกดิ ขน้ึ กฎหมายกบั ส่อื 167

จากการแสดงความคิดเห็น บุคคลท่ัวไป อาจจะฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายน้ันได้ จากการกระทำ� ละเมดิ ดงั กลา่ ว แตถ่ า้ โจทกเ์ ปน็ เจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั (Public official) หรือเป็นบุคคลสาธารณะ (Public figure) ย่อมสามารถถูกวิพากษ์วิจารณ์ได้ การฟอ้ งรอ้ งคดี และการทโี่ จทกจ์ ะสามารถจะชนะคดไี ด้ จะตอ้ งพสิ จู นไ์ ดว้ า่ ผแู้ สดง ความคดิ เหน็ นนั้ ทราบดวี า่ ถอ้ ยคำ� ดงั กลา่ วเปน็ เทจ็ หรอื มพี ฤตกิ ารณท์ แี่ สดงใหเ้ หน็ ว่ามีเจตนาท่ลี ะเลยการคน้ หาความจริง (Reckless disregard) วา่ เปน็ เท็จหรอื ไม่ ทงั้ ๆ ทสี่ ามารถดำ� เนนิ การได้ ทง้ั นี้ ในการฟอ้ งคดี เจา้ หนา้ ทรี่ ฐั อาจจะตอ้ งพสิ จู นว์ า่ มีการแจ้งข้อเท็จจริงไปแล้วแก่ส่ือมวลชน แต่ก็ยังมีการเสนอข้อความอันเป็นเท็จ จงึ ถอื ไดว้ า่ มเี จตนาทำ� ใหเ้ จา้ หนา้ ทข่ี องรฐั เสยี หาย จงึ จะสามารถฟอ้ งรอ้ งสอื่ มวลชน หรอื ผวู้ พิ ากษว์ จิ ารณไ์ ด้ การใชส้ ทิ ธเิ จา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ในการฟอ้ งรอ้ งสอ่ื มวลชนหรอื ประชาชน จึงจ�ำกัดอย่างมาก กล่าวโดยสรุป แนวคิดท่ัวไป ส�ำหรับการคุ้มครอง เสรีภาพในการแสดงความคิดตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 1 แห่งรัฐธรรมนูญ สหรัฐอเมริกาท่ีแก้ไขเพิ่มเติมน้ัน ห้ามมิให้รัฐกระท�ำการใดๆ ท่ีจะเป็นการจ�ำกัด เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น หรือเสรีภาพในการเสนอข่าวสารของส่ือสาร มวลชน หรือสิทธิและเสรีภาพของประชาชนในการรวมกลุ่มเพ่ือเดินขบวนหรือ ประท้วงโดยสันติ รวมถึงการย่ืนค�ำร้องคัดค้านต่อรัฐบาลหรือเรียกร้องให้รัฐบาล แกไ้ ขปญั หาความเดอื ดรอ้ นของตนเอง การฟอ้ งรอ้ งสอ่ื มวลชนเพราะเสนอขา่ ว หรอื ตง้ั คำ� ถาม หรอื วิพากษ์วจิ ารณก์ ารบริหารรัฐกิจทง้ั หลายจึงไม่อาจกระทำ� ได้ โดยมี คดีบรรทัดฐานส�ำคัญ ได้แก่ New York Times Co. v. Sullivan ในปี ค.ศ.1964 ซงึ่ จะกลา่ วในรายละเอียดตอ่ ไป (5) ตัวอย่างค�ำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับการจ�ำกัดเสรีภาพในการ แสดงออกซ่ึงความคิดเหน็ การศึกษาพบว่ามีการจ�ำกัดเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นหลาย กรณี เช่น กรณีแรก ข้อห้ามของรัฐในการโฆษณายา เพราะเกรงว่า ผู้บริโภคซึ่ง 168 “วารสารนิตสิ ังคมศาสตร์ ปีท่ี 8 ฉบับที่ 2/2558 กรกฎาคม-ธนั วาคม”

ได้รับฟังเนื้อหาการโฆษณายาจะซื้อยาท่ีมีราคาถูก และ คุณภาพต่�ำ ซ่ึงท้ายท่ีสุด ศาลไดช้ งั่ นำ�้ หนกั ระหวา่ งผลประโยชนท์ รี่ ฐั อา้ งถงึ และเสรภี าพในการแสดงความคดิ เห็นกับผลประโยชน์ของประชาชนที่จะได้รับข้อมูลข่าวสารทุกด้านอย่างครบถ้วน แล้ว เห็นว่าข้อจ�ำกัดของรัฐน้ันขัดต่อรัฐธรรมนูญ เนื่องจากเป็นมาตรการที่กว้าง ขวางเกนิ กว่าหลักความจ�ำเป็นและหลกั สดั สว่ น (Virginia Pharmacy Board v. Virginia Consumer Council, 425 U.S. 748 (1976)) จงึ ขดั ตอ่ รฐั ธรรมนญู มาตรา 1 ทแ่ี ก้ไขเพม่ิ เติมของสหรัฐอเมรกิ า กรณีที่สอง การท่ีรัฐห้ามบุคคลใดๆ ท�ำการเผยแพร่เอกสารใดๆ ซ่ึงมี ลักษณะจะก่อให้เกิดความไม่สงบเรียบร้อย กรณีนี้ ย่อมถือว่าเป็นการจ�ำกัดใน เนอ้ื หาของถอ้ ยคำ� ทจี่ ะเผยแพรด่ ว้ ย (Cohen v. California, 403 U.S. 15 (1971)) หรอื ตามกฎหมาย Federal Espionage Act of 1971 ไดห้ า้ มมใิ หบ้ คุ คลใดกระทำ� การขดั ขวางการออกหมายเกณฑ์ทหาร หรือการกระทำ� การใดๆ ที่ก่อให้เกดิ ความ ไม่จงรักภักดีหรือเช่ือฟังกองทัพ การท่ีจ�ำเลยพูดในลักษณะที่ท�ำให้ประชาชน เห็นว่า การออกหมายเกณฑ์เพ่ือไปท�ำสงครามกับประเทศอ่ืนในช่วงสงครามโลก คร้ังที่ 1 นั้นไมถ่ กู ตอ้ งเหมาะสมแล้วถูกจบั กมุ ดำ� เนนิ คดี ยอ่ มถือว่าเปน็ การจ�ำกดั เสรภี าพอนั เนอ่ื งมาจากเนอื้ หาทก่ี ลา่ วไป ( Debs v. U.S., 249 U.S. 211 (1919) ) ถือวา่ ไมช่ อบด้วยรฐั ธรรมนญู ตามมาตรฐาน Strict Scrutiny standard กรณที ส่ี าม กรณที รี่ ฐั ไดก้ ำ� หนดขอ้ หา้ มมใิ หร้ ถบรรทกุ กอ่ ใหเ้ กดิ เสยี งดงั ใน ขณะท่ีขับข่ีรถยนต์บนทางสาธารณะนั้น กรณีน้ีไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจ�ำกัด เสรภี าพในการแสดงความคดิ เหน็ โดยตรง มาตรฐานทศ่ี าลใชใ้ นการตรวจสอบยอ่ ม จะแตกต่างจากกรณีทเี่ ปน็ Content-based ข้างตน้ รัฐจงึ อาจจดั ระเบยี บการใช้ เสรีภาพดังกลา่ วได้ (Kovacs v. Cooper, 336 U.S. 77 (1949)) กรณที ส่ี ่ี กรณที รี่ ฐั หา้ มแจกจา่ ยใบปลวิ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคท์ จ่ี ะรกั ษาความ สะอาดของบ้านเมืองโดยเด็ดขาดทุกกรณี ข้อห้ามดังกล่าว อาจจะถือว่า กฎหมายกบั สอ่ื 169

ขัดรัฐธรรมนูญ เพราะตามรัฐธรรมนูญ หากไม่มีทางเลือกให้ประชาชนได้ใช้ เสรภี าพดังกลา่ วเลย เป็นตน้ ( Schneider v. State, 308 U.S. 147 (1939) ) กรณที ีห่ ้า การวพิ ากษ์วจิ ารณ์เจ้าหนา้ ทข่ี องรฐั อนั รวมถึงผู้พพิ ากษาซง่ึ ได้ รับเงินเดือนจากภาษีประชาชน ย่อมถือเป็นบุคคลสาธารณะ (public figure) รัฐจึงไม่อาจจะบัญญัติโทษทางอาญา เพียงเพราะถ้อยค�ำดังกล่าววิพากษ์วิจารณ์ อันเป็นการกระทบกระเทือนต่อเจ้าหน้าท่ีของรัฐท่ีมีหน้าท่ีปฏิบัติงานเพื่อ สาธารณชน (R.A.V. v. St. Paul, 505 U.S. 377 (1992), New York Times Co. v. Sullivan, 376 U.S. 254, 84 S.Ct. 710, 11 L.Ed.2d 686 (1964) ) กรณีท่ีหก กรณีการแสดงความเห็นกระดานข่าวหรือพ้ืนที่สาธารณะ ในคดี Metromedia, Inc., v. San Diego, 435 U.S. 490 (1981) ซึ่งห้ามมิใหม้ ี การเผยแพรห่ รอื ประกาศขอ้ มลู ขา่ วสารใดๆ บนพนื้ ทหี่ รอื กระดานสาธารณะทไ่ี มใ่ ช่ การโฆษณาทางการคา้ เวน้ แตเ่ ปน็ การประกาศเกย่ี วกบั อณุ หภมู ิ หรอื สภาพอากาศ ฯลฯ หรือตามที่กฎหมายก�ำหนดอนุญาตไว้ ศาลพิพากษาว่ากฎหมายดังกล่าว ขัดต่อรัฐธรรมนูญ เพราะรัฐไม่มีอ�ำนาจท่ีจะเลือกหรือก�ำหนดได้ว่าถ้อยค�ำใดควร จะประกาศบนพื้นที่สาธารณะหรือไม่ การเลือกปฏิบัติหรือสองมาตรฐานไม่อาจ กระทำ� ได้ รัฐจะตอ้ งกำ� หนดขอ้ ห้ามหรอื ใหป้ ฏิบตั โิ ดยเสมอภาค กรณที เี่ จด็ การหา้ มถอื ปา้ ยประทว้ งถอื เปน็ การจำ� กดั เสรภี าพในการแสดง ความคิดเห็นนั้น เป็นกรณีที่เกินจ�ำเป็นจึงขัดต่อรัฐธรรมนูญ ดังเช่น คดีตัวอย่าง Boos v. Barry, 485 U.S. 312 (1988) ซง่ึ District of Columbia ไดต้ รากฎหมาย ห้ามมใิ ห้มีการแสดงปา้ ยหรอื สญั ลักษณ์ใดๆ ในระยะ 500 หลา ของสถานทูตใดๆ เพื่อธ�ำรงรักษ์ไว้ซ่ึงศักดิศรีและบูรณาการของรัฐต่างชาติ เพราะการแสดงป้ายดัง กล่าวอาจจะน�ำมาซ่ึงความเกลียดชังของสาธารณะได้ ศาลสูงสุดได้ใช้มาตรฐาน Strict Scrutiny ในการตรวจสอบวธิ กี ารควบคมุ ของรัฐ และเห็นวา่ กฎหมายดงั กลา่ วนน้ั ขดั ตอ่ รฐั ธรรมนญู แมว้ า่ ผลประโยชนท์ รี่ ฐั หมายมงุ่ จะคมุ้ ครองนนั้ จะสำ� คญั อยา่ งยง่ิ ยวดกต็ าม แตว่ ธิ กี ารนน้ั ไมใ่ ชเ่ ปน็ วธิ กี ารทเ่ี บาทสี่ ดุ ในการบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ 170 “วารสารนิตสิ งั คมศาสตร์ ปที ่ี 8 ฉบับที่ 2/2558 กรกฎาคม-ธันวาคม”

ดงั กล่าว หากรฐั ประสงคจ์ ะควบคุมการกระทำ� ใดๆ ที่กระทบตอ่ เกยี รติศกั ดิ์ของรัฐ ตา่ งประเทศ กจ็ ะตอ้ งกำ� หนดลกั ษณะการกระทำ� ทชี่ ดั แจง้ เชน่ การกระทำ� ทเี่ ปน็ การ ขม่ ขู่ บงั คบั กอ่ ใหเ้ กดิ ภยนั ตราย หรอื การไลล่ า่ ตดิ ตาม ซง่ึ ถอื วา่ ไมข่ ดั ตอ่ รฐั ธรรมนญู เป็นต้น กรณีที่แปด ศาลสูงสุดของสหรัฐอเมริกา ได้ก�ำหนดหลักเกณฑ์เป็น บรรทัดฐานส�ำคัญเอาไว้ว่า รัฐไม่อาจจะก�ำหนดหรือมีวิธีการปฏิบัติที่แตกต่างโดย ให้เป็นประโยชน์กับอีกฝ่ายหน่ึง เหนืออีกฝ่ายหนึ่ง ในกรณีที่มีความเห็นแตกต่าง กนั ในประเดน็ เดยี วกนั และไมอ่ าจจะมขี อ้ กำ� หนดใหห้ รอื หา้ มอกี ฝา่ ยหนงึ่ ไดแ้ สดง ความคดิ เหน็ ในประเดน็ น้นั เช่น ในคดี Consolidated Edison v. Public Serv. Commission, 447 U.S. 530 (1980) ซง่ึ เปน็ กรณที ศี่ าลไดส้ งั่ หา้ มมใิ ห้ New York Public Service Commission สงั่ มใิ หม้ กี ารถกเถยี งในประเดน็ เกยี่ วกบั ประโยชน์ จากการมโี รงงานพลงั งานนวิ เคลยี ร์ เนอ่ื งจากรฐั ธรรมนญู ใหค้ วามคมุ้ ครองความคดิ เหน็ ทแ่ี ตกตา่ งและประเดน็ ความคดิ เหน็ ทอี่ าจจะไดร้ บั การถกเถยี งจากสงั คมไดท้ กุ ประเดน็ กรณีที่เก้า การจัดการเกี่ยวกับถ้อยค�ำที่ก่อให้เกิดความเกลียดชัง (Hate Speech) หลกั การทั่วไป คอื รฐั ไม่อาจจ�ำกัดหรอื หา้ มแสดงความคดิ เหน็ ใดๆ อันมี แนวโนม้ ทอี่ าจจะสรา้ งความรสู้ กึ ไมพ่ งึ พอใจทว่ั ไป อนั เนอื่ งมาจากสง่ิ ทกี่ ลา่ วนน้ั เกยี่ ว พันกับความไมพ่ ึงพอใจในเชอื้ ชาติ ศาสนา สีผิว เพศได้ แต่ศาลจะตรวจสอบตาม มาตรฐาน strict scrutiny ดงั น้ัน หากมีเหตุผลทจี่ �ำเปน็ ย่งิ ยวดในการกำ� หนดโทษ ทางอาญาสำ� หรบั การกระทำ� ทเ่ี ขา้ ลกั ษณะ Hate speech และเปน็ อคตเิ ฉพาะกลมุ่ อย่างร้ายแรง รัฐก็อาจจะกระท�ำได้ รวมถึงเพิ่มโทษทางอาญาเป็นพิเศษก็ได้ เนอื่ งจากการเพม่ิ โทษทางอาญานน้ั เปน็ การเพมิ่ โทษเพราะการกระทำ� (conduct) ไม่ใชเ่ พราะการแสดงความคดิ เห็น (speech) นน้ั (R.A.V. v. City of St. Paul, 505 U.S. 377 (1992), Wisconsin v. Mitchell, 508 U.S. 476 (1993) ) โดยเฉพาะเมื่อมีพยานหลักฐานยนื ยนั ได้วา่ การกระท�ำการดงั กล่าว เชน่ การเผาไม้ กฎหมายกับส่อื 171

กางเขนมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ขม่ ขหู่ รอื ทำ� ใหก้ ลมุ่ อน่ื หวาดกลวั รฐั ยอ่ มหา้ มการกระทำ� ดังกล่าวได้ ( Virginia v. Black, 123 S.Ct. 1536 (2003)) เวน้ แตถ่ ้อยค�ำนั้น เพียง แค่วพิ ากษ์วจิ ารณ์ หรือ อาจจะทำ� ใหเ้ กิดความไมน่ ่าพงึ พอใจ (offensive words) เทา่ นนั้ ไมไ่ ดก้ อ่ ใหเ้ กดิ การกระทำ� อนั รนุ แรงเกดิ ขนึ้ จรงิ รฐั บาลไมอ่ าจจะจำ� กดั หรอื ห้ามการแสดงความเหน็ ดังกล่าวได้ เว้นแต่ การกล่าวถอ้ ยคำ� ดังกล่าวจะล่วงลำ้� เขา้ ในดนิ แดนแหง่ เสรภี าพส่วนบคุ คล (substantial privacy interest) จนเกิน กรณีท่ีสิบ การควบคุมการเผยแพร่งานที่มีคุณค่าน้อยหรือมีอันตรายต่อ สงั คมหรือตอ่ เด็กหรือเยาวชน แม้จะถือเปน็ speech หรือ expressive conduct รฐั บาลสามารถควบคมุ ไดเ้ ขม้ งวดกวา่ speech ทวั่ ไป เชน่ กรณสี อ่ื หรอื งานเผยแพร่ ทไี่ ม่เหมาะสมทางส่ือสารมวลชน (indecency in media) ศาลเห็นว่า รัฐมีอ�ำนาจ กว้างขวางในการจ�ำกัดเสรีภาพดังกล่าว มิให้มีการเผยแพร่ทางโทรทัศน์ วิทยุ หรอื ทางส่อื สารมวลชนอืน่ ๆ รวมถึง ระบบโทรศัพท์ ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ และ อินเทอรเ์ น็ตด้วย ตวั อย่างเชน่ ในคดี FCC v. Pacifica Foundation, 438 U.S. 726 (1978) ซึ่งผู้ด�ำเนินรายการใช้ถ้อยค�ำหยาบคาย และมีความเก่ียวข้อง ทางเพศ เป็นต้นว่า Fuck, cocksucker, cunt รัฐจึงอาจจะเข้าไปควบคุม และห้ามใช้ค�ำพูดดังกล่าวได้ แต่ไม่ใช่การปิดสถานีวิทยุดังกล่าว ซ่ึงศาลจะใช้ มาตรฐานในการตรวจสอบอยา่ งเขม้ ขน้ (Strict Scrutiny) วา่ การกระทำ� ของรฐั นน้ั ชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือไม่ โดยเฉพาะในกรณีท่ีรัฐได้ใช้อ�ำนาจในการจ�ำกัด content-based ในเครอื ขา่ ยโทรศพั ท์ คอมพวิ เตอรแ์ ละอนิ เทอรเ์ นต็ ตวั อยา่ งเชน่ ในคดี Sable Communications, Inc. v. FCC, 492 U.S. 115 (1989) ซง่ึ ศาลสงู สุดได้พิพากษาว่ากฎหมายที่ก�ำหนดโทษทางอาญาส�ำหรับการกระท�ำ “กรณีการ สื่อสารท่ีเกี่ยวกับเพศหรือลามกอนาจาร หรือไม่เหมาะสมทางโทรศัพท์โดยมี วตั ถปุ ระสงคใ์ นทางการคา้ ” วา่ ขดั ตอ่ รฐั ธรรมนญู แมร้ ฐั จะอา้ งวา่ กฎหมายดงั กลา่ ว เพ่ือห้ามมิให้มีการบริการทางเพศผ่านทางโทรศัพท์ โดยเฉพาะการเข้าถึงบริการ โดยเดก็ และเยาวชน ซง่ึ ศาลกเ็ หน็ พอ้ งวา่ เปน็ ประโยชนท์ สี่ ำ� คญั ของรฐั แตว่ ธิ กี ารดงั 172 “วารสารนติ สิ ังคมศาสตร์ ปที ี่ 8 ฉบบั ที่ 2/2558 กรกฎาคม-ธันวาคม”

กล่าวไม่เหมาะสมเพราะไม่ใช่วิถีทางท่ีน้อยท่ีสุดในการบรรลุเป้าหมายดังกล่าวซ่ึง รัฐยังมีทางเลือกอื่นในการจ�ำกัดการเข้าถึงบริการดังกล่าว โดยกระบวนการทาง เทคโนโลยี และการช�ำระเงินผ่านบริการทเี่ ด็กไมส่ ามารถเขา้ ถึงได้ เป็นต้น ส�ำหรับการเผยแพร่ภาพยนตร์หรือสื่อทางเพศในระบบ cable tv นั้น ศาลจะใช้ Strict scrutiny ในการตรวจสอบว่ากฎหมายทหี่ ้ามมิให้มีการเผยแพร่ วตั ถทุ มี่ ลี กั ษณะยว่ั ยวนทางเพศ (sexually-explicit material) ยกเวน้ หลงั เวลาดกึ นน้ั ชอบดว้ ยรฐั ธรรมนญู หรอื ไม่ ( U.S. v. Playboy Entertainment Group, Inc., 529 U.S. 803 (2000), Denver Area Educational Telecommunications Consortium v. FCC, 518 U.S. 727 (1996) ) กรณนี ี้ รฐั จะต้องใช้วธิ กี ารท่ีเบา ทส่ี ดุ และโดยปกตจิ ะเบากวา่ การเผยแพรท่ างวทิ ยโุ ทรทศั นป์ กติ เนอื่ งจากในระบบ เคเบิลทีวีนั้น ผู้ประกอบกิจการมีเทคโนโลยีในการปิดกั้นมิให้ผู้รับบริการสามารถ เข้ารับชมได้ หากผู้ใช้บริการประสงค์เช่นน้ัน เช่น ผู้ใช้บริการอาจจะแจ้งให้ผู้ให้ บริการปิดกน้ั การเขา้ ถงึ (Block) ได้ นอกจากนี้ รฐั ยงั สามารถควบคุมการเผยแพร่ สิง่ ไมเ่ หมาะสมในทางอนิ เทอร์เนต็ (Indecency on the Internet) ไดด้ ว้ ย กรณีที่สิบเอ็ด การเผยแพร่ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตหรือโลกไซเบอร์ ประชาชนและส่อื มวลชนยอ่ มมเี สรีภาพ และไดร้ บั ความคมุ้ ครองสูงสดุ ในลกั ษณะ เช่นเดียวกับการเสนอข่าวสารทางหนังสือพิมพ์ กล่าวคือ ศาลจะตรวจสอบว่า การจ�ำกัดเสรีภาพนั้น เป็นการจ�ำกัดในด้านเนื้อหา (content-based) หรือไม่ หากเป็นการจ�ำกัดเสรีภาพในด้านเนื้อหา จะต้องผ่านมาตรฐาน Strict scrutiny เวน้ แต่ การเสนอขา่ วสารนน้ั เกย่ี วขอ้ งกบั วตั ถลุ ามกอนาจาร ซงึ่ รฐั บาลสหรฐั อเมรกิ า ได้ตรากฎหมายที่เรียกว่า Communication Decency Act (CDA) ข้ึนมา เพ่ือควบคุมการเผยแพร่วัตถุท่ีไม่เหมาะสมในระบบคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต และมกี ารแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั หลกั คมุ้ ครองเสรภี าพในการแสดงออก ที่คุ้มครองสิทธิของผู้ใหญ่ในการเข้าวัตถุลามกอนาจารดังกล่าวได้มากกว่าเด็ก เปน็ ต้น กฎหมายกับส่อื 173

ในทางตรงกันข้าม หากส่ือสารมวลชนไดเ้ ผยแพรข่ อ้ ความใด ๆ แล้วกอ่ ให้ เกิดผลกระทบตอ่ บุคคลใดๆ ศาลสูงสุดไดว้ นิ ิจฉยั ว่า สิทธขิ องผู้ฟังหรอื ผู้ชมย่อมได้ รบั การคมุ้ ครองเชน่ กนั หากสอื่ สารมวลชนกระทำ� การทผ่ี ดิ กฎหมายรา้ ยแรงถงึ ขนาด เป็นถ้อยค�ำทีไ่ มไ่ ดร้ ับความค้มุ ครองจากหลักรฐั ธรรมนญู First Amendment รฐั ย่อมสามารถใช้หลัก Fair Doctrine ในการไม่ให้ใบอนุญาตแก่สื่อมวลชนในการ ประกอบกจิ การได้ โดยหลกั การ Fair Doctrine ไดก้ ำ� หนดใหส้ อื่ สารมวลชนจะตอ้ ง ใชด้ ลุ พนิ ิจในการเสนอข่าวสาร โดย Federal Communication Commission (FCC) สามารถควบคมุ การใชภ้ าษาผใู้ หญ่ (Adult language) แมจ้ ะไมถ่ งึ ขน้ั ลามก อนาจาร (obscene) แตเ่ ปน็ ถอ้ ยคำ� หยาบคาย (indecent) และยงั ไมถ่ งึ ขน้ั ถอื เปน็ ถอ้ ยคำ� ทีก่ ่อใหเ้ กดิ การย่วั ยุ (Fighting words) เพ่อื คุ้มครองประโยชน์ของเยาวชน ได้ ( FCC v. Pacifica Foundation, 1978) กรณีที่สิบสอง ถ้อยค�ำยุยงส่งเสริมให้เกิดความรุนแรง หรือกระท�ำ ผิดกฎหมาย ศาลสูงสุดได้วางหลักการส�ำคัญว่า จะต้องเป็นค�ำพูดที่ก่อให้เกิด ภยันตรายอย่างชัดแจ้ง (Clear and present danger) ตามนัยค�ำพิพากษา Abrams v. United States (1919) ต่อมามีการขยายความหลักการดงั กลา่ วใน คดี Brandenburg v. Ohio (1969) ให้ออ่ นตัวลง โดยกำ� หนดว่ารฐั บาลไมอ่ าจจะ ห้ามมิให้มีการแสดงออกซึ่งความคิดเห็นหรือเพียงค�ำพูดในการสนับสนุนให้มีการ กระทำ� การทกี่ อ่ ความรนุ แรงไดใ้ นทกุ กรณี เวน้ แตก่ ารพดู ดงั กลา่ วจะมผี ลโดยตรงท่ี กอ่ ให้เกิดเป็นการยัว่ ยแุ ละสง่ ผลใหเ้ กดิ การกระท�ำเชน่ นั้นได้อย่างแนแ่ ท้ 174 “วารสารนิตสิ ังคมศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2/2558 กรกฎาคม-ธนั วาคม”

ส่วนท่ี 2 กรณีตัวอย่างเก่ียวกับการวิพากษ์วิจารณ์บุคคลสาธารณะ: สหรัฐอเมริกา กับประเทศไทย 2.1 การวพิ ากษว์ ิจารณ์ บุคคลสาธารณะของประเทศสหรฐั อเมริกา คดีบรรทัดฐานส�ำคัญ คือ New York Times Co. v. Sullivan ในปี ค.ศ.1964 กำ� หนดหลกั เกณฑเ์ กย่ี วกบั การวพิ ากษว์ จิ ารณบ์ คุ คลสาธารณะ (public officials or public figure) 12 โดยในคดีน้ี ผู้บริหารของ Montgomery Police Department ในรัฐ Alabama ได้ฟอ้ งหนังสือพิมพ์ New York Times ในความ ผิดฐานหมิ่นประมาทท่ีถูกเสนอข่าวเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติต่อชนผิวสีของเจ้า หนา้ ท่ีต�ำรวจ ศาลสูงสดุ ได้พิจารณาวา่ รัฐจำ� เปน็ จะต้องให้ความคุ้มครองตามหลัก First Amendment การห้ามส่ือสารมวลชนวิพากษ์วิจารณ์เจ้าหน้าที่ของรัฐ จงึ กระทำ� ไมไ่ ด้ เพราะจะเหมอื นกบั กฎหมายเกยี่ วกบั ความมน่ั คงแหง่ รฐั (Sedition Act of 1798) ท่ีเคยห้ามวิจารณ์ประธานาธิบดี ซึ่งจะขัดต่อหลักรัฐธรรมนูญ ศาลสูงสดุ จึงได้กำ� หนดหลักการส�ำคญั ๆ ไว้ ดงั น้ี ประการท่ี 1 เจ้าหน้าที่ของรัฐจะต้องถูกวิพากษ์วิจารณ์ได้ และหาก เจ้าหน้าที่ของรัฐจะฟ้องเรียกค่าเสียหาย จากการกระท�ำการหม่ินประมาทน้ัน จะต้องเป็นกรณีท่ีวิพากษ์วิจารณ์การปฏิบัติหน้าท่ี ซึ่งจะต้องไม่เก่ียวเนื่องกับ นโยบายทั่วไปในการบรหิ ารรฐั กจิ ประการท่ี 2 โจทก์จะมีภาระการพิสูจน์ว่าข้อความท่ีสื่อมวลชนกล่าว จะตอ้ งเปน็ เท็จ ประการท่ี 3 โจทก์ต้องพิสูจน์วา่ สอื่ มวลชนกระท�ำการดว้ ยเจตนาช่วั รา้ ย (malice) หมายความวา่ มเี จตนาใสค่ วามใหเ้ สียหาย ทง้ั ๆ ทรี่ ขู้ อ้ เท็จจริงนนั้ 12 Id. at 656 กฎหมายกบั สื่อ 175

ประการท่ี 4 การพิสูจน์ของโจทก์ตามองค์ประกอบ 1-3 จะต้อง ผ่านมาตรฐาน Clear and Convincing Test คือ สูงกว่ามาตรฐานในคดีแพ่ง ว่าด้วยการช่ังน้�ำหนักพยานหลักฐานและการปลดเปล้ืองภาระการพิสูจน์ (preponderance test) แต่จะไม่ถึงขนาดปราศจากสงสัย (proof beyond reasonable doubt) กรณขี า้ งตน้ นอกจากจะหมายถงึ ขา้ ราชการหรอื เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั (Public officials) แล้ว ยังหมายถึง บุคคลธรรมดาท่ีได้แสดงตนเป็นบุคคลสาธารณะ (Public figure) ซ่ึงมีสถานะทส่ี �ำคัญ ไมว่ ่าจะแสดงฐานะนนั้ ดว้ ยตนเอง หรอื การมี บทบาทสำ� คญั ในการแกไ้ ขปญั หาหรอื เสนอทางออกยงั สาธารณะ ซงึ่ ประชาชนทว่ั ไป เชื่อถอื หรือไดร้ ับอิทธพิ ลนน้ั ได้ (Persuasive power and influence) ซงึ่ ศาลได้ ตดั สินไวใ้ นหลายคดี เชน่ Gertz v. Robert Welch, Inc. (1974) และ Hustler Magazine v. Falwell (1988) เป็นตน้ บคุ คลเหลา่ น้ี หากประสงคจ์ ะฟอ้ งคดีจะ ต้องปฎบิ ตั ิตามหลักเกณฑใ์ นคดี New York Times v. Sullivan ดว้ ยเชน่ กัน 2.2 การวิพากษ์วิจารณ์ บุคคลสาธารณะของประเทศไทย: กรณีนัก การเมืองและข้าราชการ ในช่วงเวลาปกติที่มีการสถาปนาอำ� นาจพิเศษในการปกครองประเทศน้ัน เช่นในสภาวะปัจจุบัน มีประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (คสช.) ได้มีประกาศหลายฉบับท่ีมีผลเป็นการห้ามสื่อสารมวลชนวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาล เช่น ประกาศตามกฎหมายอยั การศกึ ฉบับท่ี 97 และฉบบั ที่ 103/2557 ประกอบ ค�ำส่ัง คสช.ที่ 3/2558 เพ่ือควบคุมการน�ำเสนอข่าวสารและการวิพากษ์วิจารณ์ ของสาธารณชน ผู้เขียนเห็นว่าน่าจะขัดหรือแย้งกับกติกาสากลระหว่างประเทศท่ี ไดก้ ลา่ วไปแลว้ ในสว่ นแรก รวมถงึ ขดั และแยง้ กบั มาตรา 4 แหง่ รฐั ธรรมนญู แหง่ ราช อาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ด้วย ซึ่งผู้เขียนจะไม่ขอน�ำมา กลา่ วในรายละเอียด 176 “วารสารนิตสิ ังคมศาสตร์ ปีท่ี 8 ฉบบั ที่ 2/2558 กรกฎาคม-ธนั วาคม”

สำ� หรับในช่วงระยะเวลาปกตินั้น ประเทศไทย มีพระราชบญั ญตั ิองค์กร จดั สรรคลน่ื ความถ่ีและกำ� กับการประกอบกจิ การวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทศั น์ และกจิ การโทรคมนาคม พ.ศ.2553 ในการพจิ ารณาออกใบอนญุ าตประกอบการ สอ่ื สารมวลชนและออกระเบยี บตา่ งๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การประกอบกจิ การ นอกจาก นยี้ งั ใชป้ ระมวลกฎหมายอาญาเปน็ เครอ่ื งมอื ในการควบคมุ การแสดงออกซง่ึ ความ คิดเห็น ซงึ่ อาจจะถอื เป็นการหม่ินประมาทตามกฎหมาย ไมว่ า่ จะเปน็ มาตรา 112 มาตรา 326 และมาตรา 328 ส�ำหรบั ในกรณที ี่เปน็ การหมนิ่ ประมาทบุคคลทัว่ ไป ผทู้ กี่ ระทำ� การหมน่ิ ประมาทอาจจะไมต่ อ้ งรบั ผดิ ทางอาญาและทางแพง่ หากสามารถ พิสูจน์ได้ว่า เป็นการแสดงความคิดเห็นโดยสุจริต เพื่อป้องกันความชอบธรรม ป้องกันหรือปกป้องส่วนได้เสีย หรือกระท�ำการในฐานะเจ้าพนักงานท่ีปฏิบัติการ ตามหนา้ ที่ และกระทำ� การตชิ มดว้ ยความเปน็ ธรรมหรอื การดำ� เนนิ การแจง้ ขา่ วดว้ ย ความเปน็ ธรรมเรอื่ งการดำ� เนนิ การอนั เปดิ เผยในศาลหรอื การประชมุ ตามนยั มาตรา 329 แตศ่ าลฎกี าไดว้ างหลกั การไวว้ า่ หา้ มมใิ หอ้ า้ งขอ้ ยกเวน้ ความรบั ผดิ ตามมาตรา 329 ดังกล่าวกับการกระท�ำผิดเกี่ยวกับการหม่ินพระบรมเดชานุภาพ ตามนัย ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 (ค�ำพิพากษาฎกี าท่ี 51/2503) จากการศึกษาพบว่าค�ำพิพากษาของศาลยุติธรรมยังไม่ม่ันคงในหลักการ วา่ ดว้ ยการวพิ ากษว์ จิ ารณบ์ คุ คลสาธารณะ ไดแ้ ก่ นกั การเมอื ง และขา้ ราชการมาก นัก ตวั อย่างเชน่ ในกรณีของข้าราชการ พล.ต.อ.ส. ฟ้องรอ้ งส่อื มวลชนทกี่ ลา่ วหา ว่าเป็น บ๊ิกข้ีหลี เน่ืองจากเป็นการเสนอข่าวตามปกติเกี่ยวกับพฤติกรรมไม่เหมาะ สมกับผู้ส่ือข่าวหญิงและชี้แนะตักเตือนนักข่าวผู้หญิงให้ระมัดระวังต่อการปฏิบัติ หน้าที่ กรณนี ี้เปน็ การรายงานตามข้อเทจ็ จรงิ อกี ทงั้ พล.ต.อ. ส. เปน็ ข้าราชการท่ี มีต�ำแหน่งสูงอันประชาชนและส่ือมวลชนสามารถวิพากษ์วิจารณ์ได้จึงยกฟ้อง13 ส่วนอีกกรณหี น่ึงเป็นกรณอี ดตี ผบ.ตร. ไดฟ้ อ้ งรอ้ งสอ่ื มวลชนทเ่ี ผยแพร่ข่าวสารว่า กระท�ำการหม่นิ ประมาทกว่า 100 คดี แตม่ กี ารตกลงยอมความกันก่อนจึงไม่มคี ดี 13 เดลนิ วิ ส์ออนไลน์,6( พฤษภาคม 2557), อุทธรณ์ยืน ยกฟอ้ ง บก. ผูจ้ ัดการ หมน่ิ บกิ๊ สนั ต์หลี นกั ข่าว. ออนไลน์. http://www.dailynews.co.th/crime/235539 กฎหมายกับสอ่ื 177

บรรทดั ฐานว่าศาลจะตดั สินคดอี ย่างไร14 ในกรณนี กั การเมืองนน้ั มตี วั อยา่ งบางกรณี เชน่ นางสาว ม.นกั การเมือง วพิ ากษว์ จิ ารณน์ ายกรฐั มนตรวี า่ มพี ฤตกิ รรมเสอ่ื มเสยี ในทางจรยิ ธรรม ตอ่ กรณกี าร ประชุมกับนักธุรกิจสองต่อสองในโรงแรมโฟรซ่ีซั่นส์ ซึ่งสาธารณชนที่ได้รับทราบ อาจรบั ฟงั ไดว้ า่ เปน็ การผดิ จรยิ ธรรมในเชงิ ชสู้ าวแตศ่ าลพจิ ารณาวา่ เปน็ การตชิ มใน การบรหิ ารรัฐกิจ จงึ ถอื วา่ เปน็ การวิจารณด์ ว้ ยใจเป็นธรรม พพิ ากษายกฟอ้ ง15 รวม ถงึ กรณีท่ี นาย ส.ขณะดำ� รงต�ำแหน่งรองนายกรฐั มนตรี ไดใ้ ห้สมั ภาษณ์สื่อมวลชน ทำ� นองวา่ พนั ตำ� รวจโท ท. จะกลบั มาดำ� รงตำ� แหนง่ ประธานาธบิ ดขี องประเทศไทย ทำ� ให้ นาย ส.ถกู ฟอ้ งรอ้ งในความผดิ ฐานหมนิ่ ประมาทโดยการโฆษณา แตศ่ าลฎกี า พพิ ากษายกฟอ้ ง โดยให้เหตผุ ลว่าพนั ต�ำรวจโท ท. เป็นบคุ คลสาธารณะท่ีสมัครใจ เข้ามารับต�ำแหน่งทางการเมือง มีอ�ำนาจหน้าท่ีในการบริหารประเทศ จึงจ�ำเป็น ตอ้ งได้รับการตรวจสอบสงู กว่ามาตรฐานของบุคคลทั่วไป การกระท�ำของ นาย ส. เป็นการติชม และแสดงความคิดเห็นโดยสุจริต จ�ำเลยจึงไม่มีความผิดฐานหม่ิน ประมาท 16 ในขณะท่ี ในหลายคดีการวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลหรือนายกรัฐมนตรี กลบั มกี ารใชห้ ลกั ตรรกะทแ่ี ตกตา่ งกนั และผลคดกี แ็ ตกตา่ งกนั ไปจากกรณแี รกทยี่ ก ตัวอย่างมาด้วย เช่น กรณีนาย จ. ได้ปราศรัยกล่าวหานายกรัฐมนตรี ว่านายก รฐั มนตรี ไดข้ ดั ขวางการถวายฎกี าขอพระราชทานอภยั โทษอดตี นายกรฐั มนตรี และ ส่ังฆา่ ประชาชน 17 คดนี ้ี ศาลพพิ ากษาลงโทษนาย จ. โดยไมร่ อลงอาญา ส่วนคดีท่ี 14 ทีมขา่ วอาชญากรรม ผู้จดั การออนไลน์ 18(,ตลุ าคม )2547 ‘มติชน’ ควักกระเปา๋ 25 ล้าน จ่าย ‘เสรีพิศุทธ์ ,ออนไลน h์ ttp://www.manager.co.th/Crime/ViewNews. aspx?NewsID=9470000068799 15 ไทยรัฐออนไลน์ (27 เมษายน 2558) การเมือง : ศาลยกฟ้อง ‘มลั ลกิ า’ หมนิ่ ประมาท ‘ยิ่ง ลักษณ์’ คดี ว.5 โฟร์ซซี ่ันส์, ออนไลน์ http://www.thairath.co.th/content/495476 16 มตชิ นออนไลน,์ (8 ตลาคม 2558), ศาลฎกี ายกฟอ้ ง\"สเุ ทพ\"หมนิ่ \"แมว้ \"อยากเปน็ ประธานาธบิ ดี ช้ี ติชมโดยสุจริต-อ้างค�ำ\"มีชัย\",ออนไลน์ http://www.matichon.co.th/news_detail. php?newsid=1444293064 17 ไทยรัฐออนไลน,์ (28 มกราคม 2558) ‘จตพุ ร’จกุ ศาลจ�ำคกุ 2 ปี คดหี ม่นิ ‘อภิสทิ ธ’์ิ ไมร่ อ 178 “วารสารนติ ิสังคมศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบบั ท่ี 2/2558 กรกฎาคม-ธันวาคม”

นาย ท. ส.ส. พรรคประชาธิปัตย์ กลา่ วหาอดีตนายกรัฐมนตรี ในกรณีแถลงการณ์ ให้คณะรัฐมนตรีสมัยอดีตนายกรัฐมนตรีลาออกเพราะบริหารประเทศแบบซีอีโอ และอดีตนายกรัฐมนตรีดังกล่าวท�ำตัวเหมือนปอบกลับเข้าร่างไม่ได้ 18 หรือกรณี นาย ท. กลา่ วหาว่า นาย ป. วา่ เปน็ พวกคอมมวิ นิสตห์ รือคนในระบอบทักษณิ เป็น พวกล้มเจ้า ศาลพิเคราะห์เหน็ ว่า นาย ป. เปน็ นักการเมือง และนาย ท. วิพากษ์ วิจารณ์ในลักษณะตัง้ คำ� ถาม จงึ เป็นการตชิ มดว้ ยความเปน็ ธรรมไม่มคี วามผิดฐาน หม่ินประมาท19 2.3 การวิพากษว์ ิจารณ์ บคุ คลสาธารณะของประเทศไทย: กรณผี ้พู พิ ากษา หากจะเปรียบเทียบกับการวิพากษ์วิจารณ์ผู้พิพากษาอันเนื่องมาจากการ ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ จะพบวา่ ผพู้ พิ ากษาจะไดร้ บั ความคมุ้ ครองตามกฎหมาย ซงึ่ ปกตจิ ะมี กฎหมายว่าด้วยการละเมิดอ�ำนาจศาลให้ความคุ้มครองศาลอย่างมาก สามารถ พิพากษาจ�ำคุกได้โดยไม่ต้องร้องทุกข์ สอบสวน หรือฟ้องร้องแต่ประการใด ส่วนตลุ าการศาลรฐั ธรรมนญู นน้ั เนอ่ื งจากไมม่ ีกฎหมายใหค้ วามคุม้ ครองตุลาการ เปน็ กรณพี เิ ศษ จงึ นำ� ประมวลกฎหมายอาญามาใชใ้ นการควบคมุ การวพิ ากษว์ จิ ารณ์ ด้วย ดังปรากฎในกรณีนาย พ. ได้กล่าวว่า นาย ส. ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ในขณะด�ำรงต�ำแหน่งดังกล่าว ประพฤติตนไม่เหมาะสม ไม่น่าเชื่อถือ ขัดต่อ จรยิ ธรรมของตลุ าการ ขาดความยตุ ธิ รรม ขาดความเปน็ กลาง ฯลฯ ปรากฎวา่ ศาล ยุติธรรมได้มีค�ำพิพากษาจ�ำคุกนาย พ.เป็นเวลา 1 ปี โดยไม่รอลงอาญา ( คดี หมายเลขด�ำ อ.1886/2553)20 การลงโทษ!, ออนไลน,์ http://www.thairath.co.th/content/477628 18 ขา่ วสด (4 สงิ หาคม 2558) ศาลยกฟอ้ งเทพไทหมิ่นประมาท ดา่ ’ทักษณิ ’ เปน็ ปอบ ไมผ่ ิด, ออนไลน์ http://www.khaosod.co.th/view_newsonline.php?newsid=1438673779 19 ทีมข่าวอาชญากรรม ผู้จดั การออนไลน์ (10 มิถุนายน 2558) ฎีกายกฟ้อง “เทพไท” ไมห่ มนิ่ “ปลอดประสพ” กลา่ วหาเปน็ คนระบอบทกั ษิณ, ออนไลน์ http://www.manager.co.th/ Crime/ViewNews.aspx?NewsID=9580000065596 20 กรุงเทพธรุ กจิ ออนไลน์ (24 กรกฎาคม 2558) ศาลฎกี ายืนคุก 1 ปี ‘พรอ้ มพงศ์-เกียรตอิ ุดม’ กฎหมายกบั สือ่ 179

เมอื่ ไดศ้ กึ ษาหลกั กตกิ าสากล หลกั กฎหมายของสหรฐั อเมรกิ า และแนวคำ� พพิ ากษาของศาลยตุ ธิ รรมไทยซง่ึ ถอื เปน็ แนวบรรทดั ฐานในปจั จบุ นั นน้ั จะพบวา่ คำ� พิพากษาของศาลยุติธรรมของไทยมีความน่ากังวลเก่ียวกับการให้เหตุผล และ การน�ำหลักการว่าด้วยบุคคลสาธารณะมาประยุกต์ใช้กับกรณีของข้าราชการ นกั การเมอื ง และตลุ าการทมี่ คี วามแตกตา่ งกนั มาก ทำ� ใหป้ ระชาชนไมส่ ามารถเขา้ ใจ ไดว้ า่ เหตุผลท่ีท�ำให้คำ� พพิ ากษาแตกตา่ งกันน้นั คืออะไร ท้ังๆ กรณที ี่ยกตวั อย่าง มาข้างต้น ต่างถือว่าเกี่ยวข้องกับการวิพากษ์วิจารณ์บุคคลสาธารณะในลักษณะ เดยี วกนั คอื การตงั้ คำ� ถามตอ่ การปฏบิ ตั หิ นา้ ทบี่ รหิ ารรฐั กจิ หรอื กรณที เ่ี ปน็ คำ� ถาม ทเี่ ปน็ ขอ้ สงสยั ของประชาชนและสงั คม แตผ่ ลคดแี ตกตา่ งกนั อยา่ งมาก โดยเฉพาะ ในคดีท่ีกล่าวหาว่า พันต�ำรวจโท ท. มุ่งหวังจะกลับมาเป็นประธานาธิบดีของ ประเทศไทย การกลา่ วขา้ งตน้ วญิ ญชู นยอ่ มทราบดวี า่ เปน็ การกลา่ วหาวา่ พนั ตำ� รวจ โท ท. จะต้องกระท�ำการเพ่ือล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์ เพื่อเปลี่ยนแปลง ระบอบการปกครองเป็นประธานาธิบดี ซึ่งไมม่ คี วามเกยี่ วข้องกบั การบรหิ ารรัฐกจิ หรอื อำ� นาจหนา้ ทใี่ นการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ในปจั จบุ นั ซง่ึ พนั ตำ� รวจโท ท. ไมม่ ี อำ� นาจหน้าท่ีใดๆ ในการบริหารราชการแผน่ ดนิ ของประเทศ แตศ่ าลฎกี ากลบั ให้ เหตุผลว่า พันต�ำรวจโท ท. สมคั รใจเขา้ มาดำ� รงต�ำแหน่งทางการเมือง ซงึ่ ในขณะ น้ันพันต�ำรวจโท ท. ไม่มีอ�ำนาจหน้าที่หรือต�ำแหน่งใดๆ ในทางการเมือง การให้ เหตุผลทางกฎหมายจึงถือเป็นความผิดพลาดร้ายแรง ไม่สอดคล้องกับหลักการ วิพากษว์ จิ ารณ์หรอื ติชมดว้ ยใจเป็นธรรมแตป่ ระการใด ในทางตรงกันข้าม การตั้ง คำ� ถามตอ่ การปฏบิ ตั หิ นา้ ทขี่ องตลุ าการศาลรฐั ธรรมนญู ทมี่ ขี อ้ สงสยั วา่ อาจจะมผี ล ประโยชนข์ ดั กนั (Conflict of Interest) ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี ศาลฎกี ากลบั พจิ ารณา ว่าเป็นการหม่ินประมาท ทั้งๆ ท่ีประชาชนทั่วไป ต่างมีความชอบธรรมในการตั้ง ค�ำถามที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวโดยตรง ซ่ึงการพิพากษาคดีใน ลักษณะดังกล่าว จะมีผลเป็นการห้ามวิพากษ์วิจารณ์หรือตั้งค�ำถามต่อองค์กร ตุลาการหรือผู้พิพากษาโดยส้ินเชิง เพราะหากถือคดีดังกล่าวเป็นบรรทัดฐานแล้ว ไม่รอลงอาญา, ออนไลน์ http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/657944 180 “วารสารนิติสังคมศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบบั ที่ 2/2558 กรกฎาคม-ธันวาคม”

ตุลาการซงึ่ เป็นบคุ คลท่ไี ด้รับเงินเดอื นจากประชาชน และถอื เปน็ บคุ คลสาธารณะ เชน่ เดยี วกนั กจ็ ะไมอ่ าจถกู วพิ ากษว์ จิ ารณไ์ ดเ้ ลย การใหค้ วามคมุ้ ครองดงั กลา่ ว ยอ่ ม จะขดั ตอ่ หลกั กตกิ าสากลในการมเี ขา้ ถงึ และการมสี ว่ นรว่ มและวพิ ากษว์ จิ ารณต์ ลอด จนการแสดงความคดิ เหน็ ของตนอยา่ งชดั แจง้ ตามหลกั การทกี่ ลา่ วมาแลว้ ซงึ่ ผเู้ ขยี น เห็นว่าไม่ชอบธรรมอย่างย่ิงต่อประชาชนซึ่งเป็นเจ้าของอ�ำนาจอธิปไตยและเป็น เจา้ ของภาษอี ากรทใ่ี ชจ้ ่ายเปน็ เงนิ เดอื นตอบแทนแกต่ ุลาการ ส่วนท่ี 3 หลักการควบคุมการใช้เสรีภาพในการโฆษณาสินค้าและการ ควบคุมการโฆษณาสนิ ค้า ในส่วนนี้ จะขอกล่าวเพียงเล็กน้อยเก่ียวกับหลักรัฐธรรมนูญของ สหรัฐอเมริกาในการคุ้มครองการโฆษณาสินค้า โดยเฉพาะสินค้าประเภท แอลกอฮอล์ (liquor Advertisement) 21 ในคดี Rubin v. Coor Brewing Co, 1995 น้นั ศาลสงู สุดได้พิพากษาวา่ กฎหมายของรัฐบาลกลางท่ีหา้ มติดสลากเบียร์ ท่ีแสดงถึงเปอร์เซ็นต์แอลกอฮอล์เป็นกฎหมายที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ ศาลเห็นว่า ถ้อยค�ำทเ่ี ป็นการโฆษณาสินค้า (commercial speech) หากไมใ่ ชถ่ อ้ ยคำ� ท่หี ลอก ลวง การห้ามโฆษณาอย่างเด็ดขาดของรัฐที่อ้างว่าเพื่อคุ้มครองสุขภาพพลานามัย ความปลอดภัยและสวัสดิภาพของประชาชนลอยๆ จึงไม่อาจจะถือได้ว่าเป็นการ บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคข์ องรฐั ได้ ซงึ่ จะเหน็ ไดจ้ ากคดี 44 Liquormart, Inc. v. Rhode Island (1996) ทีศ่ าลสูงสุดพพิ ากษาวา่ กฎหมายท่ีหา้ มโฆษณาอยา่ งเด็ดขาด ไมม่ ี ถ้อยค�ำที่เป็นเท็จ เป็นกฎหมายท่ีไม่ก่อให้เกิดการคุ้มครองผู้บริโภคจากการหลอก ลวงหรือก่อใหเ้ กิดความสับสนใดๆ ได้ ในขณะท่ีประเทศไทยมีการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างเคร่งครัด ตาม พ.ร.บ.ควบคมุ เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 มาตรา 32 ทหี่ า้ มมใิ หโ้ ฆษณา 21 John E. Nowak, Ronald D. Rotunda, Principle of Constitutional Law , p. 645 กฎหมายกับสื่อ 181

หรอื แสดงข้อความอันเป็นการอวดอ้างสรรพคุณหรือจูงใจใหด้ ่มื สุรา โดยกระทรวง สาธารณสขุ ไดอ้ า้ งคำ� พพิ ากษาของศาลชน้ั ตน้ รวมถงึ ศาลอทุ ธรณ์ ทไี่ ดพ้ พิ ากษาใน ทำ� นองเดยี วกนั คอื แมก้ ระทงั่ โฆษณาโดยไมไ่ ดอ้ วดอา้ งสรรพคณุ ใดๆ กถ็ อื เปน็ ความ ผดิ ตามกฎหมายนแี้ ลว้ นอกจากนกี้ ระทรวงสาธารณสขุ ยงั ไดอ้ า้ งวา่ การหา้ มโฆษณา เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ดังกล่าวไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ ตามนัยค�ำวินิจฉัยของศาล รฐั ธรรมนูญท่ไี ด้รับรองไวแ้ ล้ว ตามคำ� วนิ จิ ฉยั ที่ 2-4/2555 ลงวันท่ี 15 กุมภาพนั ธ์ 2555 วา่ รัฐสามารถหา้ มการโฆษณาได้โดยชอบด้วยรฐั ธรรมนูญ ตามค�ำวนิ ิจฉัยดังกล่าว ศาลรฐั ธรรมนูญเหน็ วา่ เน่ืองจากมาตรา 32 แหง่ กฎหมายน้ี ไดใ้ หอ้ ำ� นาจในการหา้ มโฆษณาไวแ้ ลว้ และการหา้ มโฆษณานนั้ เปน็ การ กระท�ำเพ่ือรักษาความสงบเรียบร้อย ศีลธรรมอันดีและเพ่ือให้สังคมและเยาวชน ตระหนักถึงพิษภัยของแอลกอฮอล์ อีกทั้งไม่ได้ห้ามโฆษณาโดยเด็ดขาดแต่จะต้อง เปน็ การใหค้ วามรใู้ นเชงิ สรา้ งสรรคแ์ ละไมม่ ภี าพสญั ลกั ษณข์ องเครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอล์ นนั้ ดว้ ย กฎหมายนจ้ี งึ ไมข่ ดั ตอ่ รฐั ธรรมนญู อยา่ งไรกต็ าม ในทางปฏบิ ตั ขิ องกระทรวง สาธารณสขุ ทไ่ี ดม้ กี ารรอ้ งทกุ ขก์ ลา่ วโทษดำ� เนนิ คดกี บั ผปู้ ระกอบการจำ� หนา่ ยเครอื่ ง ดม่ื แอลกอฮอลแ์ ละรา้ นอาหารตา่ ง ๆ นนั้ กระทรวงสาธารณสขุ เหน็ วา่ การโฆษณา ใดๆ ให้เห็นว่ามีสัญลักษณ์ของเคร่ืองดื่ม รวมถึงการแต่งกายของพนักงานบริการ และอปุ กรณจ์ านรองแกว้ นำ้� ฯลฯ แมจ้ ะไมไ่ ดช้ กั ชวนหรอื จงู ใจใหเ้ หน็ สรรพคณุ เพอ่ื ใหด้ ่ืมสรุ ากถ็ ือเป็นความผดิ ตามมาตรา 32 แห่งกฎหมายนีแ้ ลว้ 22 จากปัญหาการตีความกฎหมายดังกล่าวหากเปรียบเทียบกับหลักการ ค้มุ ครอง Commercial Speech ในสหรฐั อเมรกิ าแลว้ จะพบวา่ แม้ Commercial Speech จะได้รับความคุ้มครองนอ้ ยกว่า Speech ท่ัวไป เน่ืองจากรฐั สามารถอา้ ง เหตุผลในการควบคุมสินค้าได้มากกว่าการควบคุมถ้อยค�ำหรือการแสดงความคิด เหน็ ทว่ั ไป โดยควบคมุ เพยี งวา่ หา้ มมใิ หโ้ ฆษณาสนิ คา้ อยา่ งไมถ่ กู ตอ้ งหรอื หลอกลวง 22 หนังสอื กระทรวงสาธารณสุข ที่ สธ/0407.4ว 525 ลงวนั ที่ 16 กันยายน 2557 เร่อื งชแ้ี จง ข้อมูลการบังคับใชก้ ฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดืม่ แอลกอฮอล์ พ.ศ2551. 182 “วารสารนติ ิสงั คมศาสตร์ ปีท่ี 8 ฉบับที่ 2/2558 กรกฎาคม-ธันวาคม”

หรอื เปน็ การฉ้อโกงผู้บรโิ ภคเทา่ นน้ั แต่อาจจะก�ำหนดเวลาในการโฆษณา หรอื วธิ ี การอ่ืนๆ ในการโฆษณาได้ แต่การห้ามโฆษณาอย่างเด็ดขาดเป็นสิ่งท่ีอาจจะ กระท�ำได้ แต่ส�ำหรับประเทศไทยนั้น มีการตรากฎหมายห้ามโฆษณาเครื่องด่ืม แอลกอฮอล์ตามมาตรา 32 แห่งพ.ร.บ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 ดังกล่าว และศาลรัฐธรรมนูญ ได้วินิจฉัยว่ารัฐสามารถห้ามโฆษณาได้ เพราะมี กฎหมายใหอ้ ำ� นาจไวแ้ ละไมไ่ ดห้ า้ มโฆษณาอยา่ งเดด็ ขาด ในขณะเดยี วกนั กระทรวง สาธารณสขุ และศาลชั้นต้นและศาลอทุ ธรณ์ ได้ตคี วามวา่ มาตรา 32 น้นั แคเ่ พยี ง โฆษณา กถ็ อื ว่าผดิ กฎหมายทนั ที โดยไม่ตอ้ งค�ำนึงถงึ วา่ การโฆษณานัน้ จะตอ้ งมี การชักจูงใจให้เห็นสรรพคุณของการดื่มสุราด้วยแต่ประการใด โดยกระทรวง สาธารณสุขได้แจ้งความด�ำเนินคดีและบังคับใช้กฎหมายดังกล่าวอย่างเคร่งครัด โดยการตคี วามกฎหมายในลกั ษณะดงั กลา่ วทผ่ี เู้ ขยี นเหน็ วา่ ขดั ตอ่ หลกั การคมุ้ ครอง เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของสาธารณชน ตามหลักการคมุ้ ครอง Freedom of Expression อยา่ งชัดแจ้ง ต่อมาศาลฎกี ามีค�ำพพิ ากษาท่ี 15453/2557 ลงวนั ที่ 27 พฤศจิกายน 2557 วนิ ิจฉัยว่า การโฆษณาก็จะตอ้ งมกี ารพรรณนาในลกั ษณะอวดอ้างสรรพคณุ หรือจูงใจให้ดื่มแอลกอฮอล์ด้วย ไม่ใช่เพียงโฆษณาก็ผิดกฎหมายทันที ตามท่ี กระทรวงสาธารณสุขเข้าใจ ซึ่งผู้เขียนเห็นพ้องด้วยกับเหตุผลของศาลฎีกาในคดี ดังกล่าว เพราะสังคมย่อมมีสิทธิที่จะเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและมีสิทธิในการใช้ วิจารญาณได้เองว่าจะด่ืมหรือไม่ดื่มสุราด้วยตนเอง การห้ามโฆษณาเด็ดขาดจึง เปน็ การไมส่ อดคลอ้ งกบั หลกั การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย รวมถงึ หลกั การ ค้มุ ครอง Freedom of Expression หรอื Free Speech ตามทีไ่ ดก้ ลา่ วในราย ละเอยี ดไปแลว้ อยา่ งไรกต็ ามผเู้ ขยี นเหน็ วา่ การกำ� หนดหลกั เกณฑก์ ารโฆษณาสนิ คา้ ประเภทน้ี อาจจะกำ� หนดเวลา หรอื ถอ้ ยคำ� ทจ่ี ะนำ� มาใชใ้ นการโฆษณามใิ หป้ ระชาชน สบั สนหลงเชอ่ื ในขอ้ มลู ทไ่ี มถ่ กู ตอ้ งเทา่ นนั้ แตจ่ ะหา้ มโฆษณาหรอื สอ่ื ความขอ้ ความ ใดๆ ตามแนวทางทก่ี ระทรวงสาธารณสุขด�ำเนินการมานั้นไมไ่ ด้โดยเดด็ ขาด กฎหมายกับสอ่ื 183

ส่วนที่ 4 ขอ้ สรปุ และขอ้ เสนอแนะ จากที่ได้ศึกษาหลักกติกาสากล ICCPR และหลักรัฐธรรมนูญของ สหรฐั อเมรกิ า ตามหลัก The First Amendment ทใี่ ห้ความคมุ้ ครองเสรีภาพใน การแสดงความคิดเห็น ซ่ึงรัฐไม่สามารถจ�ำกัดหรือปิดกั้นการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร และการแสดงความคิดเห็นน้ันได้ เว้นแต่จะมีประโยชน์สาธารณะที่ส�ำคัญอย่าง ยงิ่ ยวด รฐั จงึ อาจจะกำ� หนดระเบยี บในการดแู ลการแสดงความคดิ เหน็ นน้ั ได้ แตจ่ ะ ตอ้ งไม่กระทบต่อสารัตถะส�ำคัญในการแสดงความคดิ เห็นน้ัน การอ้างเหตุผลของ รัฐในการจ�ำกัดเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นจะต้องสอดคล้องกับหลักความ จ�ำเป็น หลักสัมฤทธิผลและหลักความรุนแรงน้อยท่ีสุด ในการท่ีจะบรรลุ วตั ถปุ ระสงคข์ องรฐั ทส่ี ำ� คญั อยา่ งยงิ่ ยวดเทา่ นน้ั เวน้ แตใ่ นบางกรณี เชน่ การควบคมุ การโฆษณาสนิ ค้าทีอ่ าจจะไดร้ บั ความคมุ้ ครองนอ้ ยกวา่ ถอ้ ยค�ำอ่ืนๆ ซง่ึ จะควบคมุ ได้เฉพาะเน้ือหาว่าถูกต้องหรือหลอกลวงผู้บริโภคหรือไม่เป็นส�ำคัญ ดังนั้น การ ควบคมุ หรือการปิดก้ันในการแสดงความคดิ เหน็ ของประชาชนโดยรัฐซ่งึ มกั จะอ้าง ว่าเหตุผลในการรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนลอยๆ จะไมส่ ามารถกระทำ� ได้ เว้นแต่ จะมปี ระจักษ์พยานหรือหลักฐานวา่ ถ้าไม่ควบคุม การแสดงความคดิ เหน็ เชน่ นนั้ จะกระทบตอ่ ความมนั่ คงของรฐั อยา่ งแทจ้ รงิ เพยี งใด ผเู้ ขยี นมคี วามเชอ่ื อยา่ งหนกั แนน่ วา่ เสรภี าพในการแสดงความคดิ เหน็ และ ความสามารถในการวพิ ากษว์ จิ ารณร์ วมถงึ การเสนอความคดิ เหน็ ตอ่ การบรหิ ารรฐั กิจ การวพิ ากษ์วิจารณ์ ค�ำพิพากษา หรอื การปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ของข้าราชการทุกภาค สว่ นนน้ั คอื รากฐานอนั สำ� คญั ทจี่ ะแสดงใหเ้ หน็ วา่ เรายงั เปน็ มนษุ ยโ์ ดยสมบรู ณห์ รอื ไม่ หากเราไม่สามารถแสดงความคดิ เห็นใด ๆ ไดโ้ ดยเฉพาะตอ่ ผ้มู ีอำ� นาจปกครอง แลว้ เรากไ็ มต่ า่ งจากสตั วเ์ ลยี้ งของผปู้ กครองเทา่ นนั้ เราเองกไ็ มอ่ าจจะถอื ไดว้ า่ เปน็ เจ้าของอ�ำนาจอธิปไตยหรือมสี ่วนรว่ มในการเปน็ เจ้าของประเทศได้เลย ผเู้ ขยี นเหน็ วา่ นกั การเมอื ง ขา้ ราชการ หรอื บคุ คลสาธารณะ หรอื เจา้ หนา้ ที่ ของรัฐ รวมถึงข้าราชการตุลาการท่ีรับเงินเดือนจากภาษีประชาชนหรือบุคคล 184 “วารสารนิตสิ งั คมศาสตร์ ปที ี่ 8 ฉบับท่ี 2/2558 กรกฎาคม-ธนั วาคม”

ธรรมดาที่มีบทบาทส�ำคัญในการเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาของสังคมย่อมจะ ต้องถูกวพิ ากษว์ จิ ารณ์ได้ แตก่ ารวพิ ากษว์ จิ ารณน์ ั้นจะต้องเป็นเรอ่ื งทเ่ี กยี่ วข้องกบั การปฏบิ ตั หิ นา้ ทต่ี า่ งๆ ตามนโยบายรฐั บาลและหลกั ธรรมมาภบิ าล ไมร่ วมถงึ เรอื่ ง สว่ นตวั ซง่ึ บคุ คลยอ่ มมสี ทิ ธใิ นการหวงกนั และไดร้ บั ความคมุ้ ครองในความเปน็ สว่ น ตัวซ่ึงจะถูกล่วงละเมิดไม่ได้ ด้วยเหตุนี้การใช้ความผิดฐานหมิ่นประมาทตาม ประมวลกฎหมายอาญาอันจะมีผลท�ำให้ประชาชนไม่สามารถวิพากษ์วิจารณ์หรือ ตั้งค�ำถามในการบริหารรัฐกิจหรือการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการท้ังหลายได้ จึงจะต้องมีขอบเขตที่ส�ำคัญ กล่าวคือ หากเป็นการปฏิบัติหน้าที่ราชการและ ประเด็นที่เก่ียวข้องกับสาธารณะแล้ว ข้าราชการ เจ้าหน้าท่ีของรัฐ หรือบุคคล สาธารณะจะตอ้ งมคี วามอดทนสงู หากจะฟอ้ งละเมดิ หรอื หมนิ่ ประมาทในทางอาญา ก็จะต้องพิสูจน์ได้ว่าผู้ท�ำการเผยแพร่ข้อมูลนั้น มีจิตใจช่ัวร้าย ใส่ความ ท�ำให้เสีย หายต่อช่ือเสยี งและเกียรติศกั ดิ์ โดยยดึ คดี New York Times ข้างต้นมาใชเ้ ปน็ แนวทาง ทง้ั น้ี จะตอ้ งถอื วา่ การวพิ ากษว์ จิ ารณค์ อื แนวทางทป่ี ระเทศทปี่ กครองดว้ ย ระบอบประชาธิปไตยจะต้องเคารพนับถือ แม้กระทั่งค�ำพิพากษาศาลท้ังหลาย ก็ต้องถูกวิจารณ์โดยประชาชนท่ัวไป โดยไม่มีข้อจ�ำกัดว่าจะต้องเป็นการวิพากษ์ วจิ ารณใ์ นเชงิ วชิ าการหรือโดยนกั วิชาการเท่านั้น เพราะค�ำพิพากษาคอื สมบตั ขิ อง สังคม และการกระตุ้นให้วิพากษ์วิจารณ์มากข้ึนเท่าใด สังคมจะอุดมปัญญาและ แสวงหาแนวทางออกในการแก้ไขปัญหาด้วยสันติวิธีอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดได้ เทา่ น้ัน ดว้ ยเหตนุ ี้ รฐั จงึ ควรจะกำ� จดั อปุ สรรคในการวพิ ากษว์ จิ ารณก์ ารทำ� งานของ รัฐทัง้ ปวง โดยบัญญัตเิ พ่ิมเตมิ เกยี่ วกบั เงือ่ นไขการฟ้องคดี กรณีทเ่ี จา้ หนา้ ทข่ี องรฐั หรือบคุ คลสาธารณะประสงค์จะฟ้องคดอี าญา หรอื คดแี พ่งนน้ั จะต้องเป็นกรณีท่ี ต้องห้าม เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ถึงเจตนาชั่วร้ายของผู้วิพากษ์วิจารณ์ ไม่ว่าจะเป็น สอ่ื มวลชนหรอื ประชาชนทว่ั ไป แตใ่ นประเดน็ ทเ่ี ปน็ เรอ่ื งสว่ นตวั ใหค้ งหลกั การเดมิ ทสี่ ามารถฟ้องรอ้ งเพอ่ื เรยี กรอ้ งคา่ เสียหายกันไดต้ ามปกตติ ่อไป กฎหมายกับส่อื 185

ประการสดุ ทา้ ย ผเู้ ขยี นเหน็ วา่ นกั วชิ าการ สงั คม และองคก์ รตลุ าการอาจ จะตอ้ งความเขา้ ใจเกย่ี วกบั หลกั การคมุ้ ครองเสรภี าพในการแสดงความคดิ เหน็ และ เสรีภาพอน่ื ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ ง เชน่ หลกั การโฆษณาสินคา้ รวมถงึ ขอ้ จ�ำกัดเก่ยี วกบั สิทธิ และเสรีภาพดังกล่าว โดยเฉพาะศาลรัฐธรรมนูญและศาลยุติธรรมควรจะแสดง บทบาททส่ี ำ� คญั อยา่ งยง่ิ ยวดในการทำ� ใหห้ ลกั การคมุ้ ครองสทิ ธแิ ละเสรภี าพในการ แสดงความคิดเห็นเกิดขึ้นเป็นจริงให้ได้ในทุกๆ กรณี โดยจะต้องท�ำความเข้าใจ เก่ียวกับหลักการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นท่ีสอดคล้อง กับการปกครองในระบอบประชาธิปไตยให้ถ่องแท้ เพ่ือให้ค�ำพิพากษามีเหตุผล สอดคลอ้ งกบั หลกั กฎหมายและมคี วามมน่ั คงเพยี งพอในการใหก้ ำ� เนดิ ความคมุ้ ครอง หลักสิทธิและเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของสาธารณชนให้เกิดข้ึนอย่าง แท้จริงไดใ้ นแผน่ ดินไทย ผ้เู ขยี นเช่อื อยา่ งหนักแนน่ ว่า เมอ่ื ใดท่สี ังคมไทยสามารถ วิพากษ์วิจารณ์และถกเถียงในทุกเร่ืองๆ อย่างสร้างสรรค์ได้ สังคมไทยก็จะกลาย เป็นสังคมอดุ มปัญญาท่พี รอ้ มจะแลกเปล่ยี นข้อมลู และน�ำความเจรญิ ในทกุ ดา้ นให้ เกิดขนึ้ ในสงั คมในท่ีสุด 186 “วารสารนิตสิ ังคมศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบบั ที่ 2/2558 กรกฎาคม-ธนั วาคม”

บรรณานุกรม ภาษาไทย สาวติ รี สขุ ศรี, พนั ตำ� รวจเอก ศริ พิ ล กศุ ลสลิ ปว์ ฒุ ิ และอรพนิ ยงิ่ ยงวฒั นา, รายงาน วิจัยเร่ือง ผลกระทบจากพ.ร.บ.ว่าด้วยการกระท�ำความผิดเก่ียวกับ คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และนโยบายของรัฐ กับสิทธิเสรีภาพในการ แสดงความคิดเห็น” ซึ่งน�ำเสนอต่อมูลนิธิไฮน์ริค เบิลล์ เอเชียตะวันออก เฉยี งใต,้ 2555. ศิริพล กุศลศิลป์วุฒิ, เอกสารประกอบค�ำบรรยายวิชากฎหมายมหาชนช้ันสูง หลกั สตู รนิตศิ าสตรด์ ษุ ฎีบณั ฑิต มหาวทิ ยาลัยปทุมธาน,ี 2552. ภาษาองั กฤษ John E. Nowak, Ronald D. Rotunda, Principle of Constitutional Law, Thomson & West, 2004 Steven L. Emauel, Constitutional Law, Aspen Law & Business Pub- lisher, 2003 เอกสารอืน่ ๆ และ เอกสารอเิ ลก็ ทรอนิกส์ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม, สาระส�ำคัญกติการะหว่าง ประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights: ICCPR) วา่ ดว้ ยสาระสำ� คญั และค�ำแถลงตีความ, ออนไลนh์ ttp://www.rlpd.go.th/rlpdnew/im-� ages/rlpd_1/International_HR/2557/tran_ICCPR-2.pdf กฎหมายกับส่อื 187

Australian Human Rights Commission, Background paper: Human rights in cyberspace, 4 permissible limitations of the ICCPR right to freedom of expression, https://www.humanrights.gov.au/ publications/background-paper-human-rights-cyberspace/ 4-permissible-limitations-iccpr-right-freedom Human Rights Committee, International Covenant on Civil and Political Rights, General Comment No.34, 12 September 2011, http://www2.ohchr.org/english/bodies/hrc/docs/gc34.pdf United Nations Human Rights, Office of the High Commissioner for Human Rights, International Covenant on Civil and Political Rights, http://www.ohchr.org/en/professionalinterest/pages/ ccpr.aspx เดลินวิ สอ์ อนไลน์ (6 พฤษภาคม 2557) อทุ ธรณ์ยืนยกฟอ้ ง บก.ผู้จดั การ หมนิ่ บ๊กิ สันต์หลีนักข่าวสาว, ออนไลน์ http://www.dailynews.co.th/ crime/235539 ทีมข่าวอาชญากรรม ผจู้ ดั การออนไลน,์ (18 ตุลาคม 2547) ‘มติชน’ ควกั กระเป๋า 25 ลา้ นจ่าย ‘เสรีพศิ ุทธ,์ ออนไลน์ http://www.manager.co.th/Crime/ ViewNews.aspx?NewsID=9470000068799 ไทยรฐั ออนไลน์ (27 เมษายน 2558) การเมอื ง : ศาลยกฟอ้ ง ‘มลั ลกิ า’ หมนิ่ ประมาท ‘ย่ิงลักษณ’์ คดี ว.5 โฟรซ์ ีซั่นส,์ ออนไลน์ http://www.thairath.co.th/ content/495476 ไทยรัฐออนไลน์ (28 มกราคม 2558) ‘จตพุ ร’จุก ศาลจ�ำคกุ 2 ปี คดีหมิน่ ‘อภิสทิ ธ’์ิ ไมร่ อการลงโทษ, ออนไลน์ http://www.thairath.co.th/content/477628 188 “วารสารนิติสังคมศาสตร์ ปที ี่ 8 ฉบับที่ 2/2558 กรกฎาคม-ธันวาคม”

ข่าวสด (4 สงิ หาคม 2558) ศาลยกฟ้องเทพไทหม่นิ ประมาท ด่า’ทกั ษณิ ’ เป็นปอบ ไม่ผิด, ออนไลน์ http://www.khaosod.co.th/view_newsonline. php?newsid=1438673779 ทีมข่าวอาชญากรรม ผู้จัดการออนไลน์ (10 มิถุนายน 2558) ฎีกายกฟ้อง “เทพไท” ไมห่ มนิ่ “ปลอดประสพ” กลา่ วหาเปน็ คนระบอบทกั ษณิ , ออนไลน์ http://www.manager.co.th/Crime/ViewNews.aspx? NewsID= 9580000065596 กรงุ เทพธุรกจิ ออนไลน์ (24 กรกฎาคม 2558) ศาลฎกี ายืนคุก 1 ปี ‘พร้อมพงศ-์ เกียรติอุดม’ ไม่รอลงอาญา, ออนไลน์ http://www.bangkokbiznews. com/news/detail/657944 มตชิ นออนไลน์ (8 ตลุ าคม 2558), การเมอื ง : ศาลฎกี ายกฟอ้ ง “สเุ ทพ” หม่นิ “แมว้ ” อยากเป็นประธานาธิบดี ช้ตี ชิ มโดยสุจรติ อ้างค�ำ “มชี ยั ”, ออนไลน์ http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid= 1444293064 หนงั สอื กระทรวงสาธารณสุข ท่ี สธ 0407.4/ ว 525 ลงวันที่ 16 กนั ยายน 2557 เร่ือง ช้ีแจงข้อมูลการบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมเคร่ือง ดม่ื แอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 กฎหมายกับสอ่ื 189

พลวัตนอกกรอบกฎหมายท่หี ยุดนงิ่ : กรณีพน้ื ทโ่ี ดยรอบมหาวิทยาลยั พะเยา นฤพงศ์ สันทราย เจ้าหนา้ ทป่ี ฏบิ ตั ิงาน มหาวทิ ยาลัยพะเยา บทคัดย่อ บทความวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงบทบาทของกฎหมายในการ จดั การการใชป้ ระโยชนใ์ นทดี่ นิ ในเขตปฏริ ปู ทดี่ นิ บรเิ วณโดยรอบมหาวทิ ยาลยั พะเยา เพอ่ื อธบิ ายถงึ สาเหตขุ องการเปลย่ี นแปลงการใชป้ ระโยชนใ์ นทดี่ นิ และบทบาทของ กฎหมายที่วางแนวทางในการใช้ประโยชน์อันเกิดขึ้นจากพัฒนาการเติบโตของ มหาวทิ ยาลยั พะเยาสง่ ผลตอ่ พฤตกิ รรมการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ ของคนในพนื้ ทอ่ี ยา่ งไร ทง้ั นโ้ี ดยใชก้ ารศกึ ษาวจิ ยั เอกสาร และใชก้ ารสมั ภาษณเ์ ฉพาะผใู้ ชป้ ระโยชนใ์ นทด่ี นิ ในท่ีดนิ ซ่งึ ประกอบกจิ การหอพกั บรเิ วณโดยรอบมหาวทิ ยาลยั พะเยา ผลการวิจัยพบว่า แนวทางของกฎหมายยังคงมุ่งหวังให้พ้ืนท่ีดังกล่าวมี สถานะเป็นท่ีดินเขตปฏิรูปท่ีดินคงเดิม โดยการก�ำหนดเขตพื้นที่เพ่ือการอยู่อาศัย และเพ่ือประกอบกจิ การทเ่ี ปน็ การสนบั สนุนหรือเกย่ี วเนอ่ื งกบั การปฏริ ปู ทด่ี ินเพื่อ เกษตรกรรม พฤติกรรมของผู้ให้สัมภาษณ์สามารถสะท้อนให้เห็นถึงมุมมองของผู้ ใหส้ มั ภาษณท์ มี่ ตี อ่ มาตรการแกไ้ ขปญั หาซงึ่ สง่ ผลตอ่ การตดั สนิ ใจในการใชป้ ระโยชน์ ในท่ีดินท่ีเปลี่ยนแปลงไปซ่ึงเป็นการแก้ไขปัญหาท่ีมุ่งเน้นการส่งเสริมการพัฒนา มากกว่าการควบคมุ การใช้ประโยชน์ที่ดินในพ้ืนท่ี ค�ำส�ำคญั : กฎหมาย, มหาวิทยาลยั พะเยา, ท่ีดนิ 190 “วารสารนติ สิ ังคมศาสตร์ ปที ่ี 8 ฉบับท่ี 2/2558 กรกฎาคม-ธนั วาคม”

ABSTRACT This research aimed to study the role of law that manages the problems on land use, specifically in land reform area around University of Phayao. To explain the reasons of the change of land use and the role of law which creates guideline concerning land use due to the growth of the University and explain the relationship between law and behavior patterns of people in this area. This study uses the data from interviews of households who manage the dormitory in the area and documents related research. This research finds the solution still bases on the status of the reservation as land reform as the provision according to the law. The main solution is to strengthen the law enforcement of areas for residence and business to support the reform of agricultural land. The solution use to encourage and promote the direction of development rather than to strictly control the land use. Keyword : law, University of Phayao, land กฎหมายกับสือ่ 191

บทน�ำ ปัญหาการใช้ประโยชน์ในที่ดินบริเวณโดยรอบมหาวิทยาลัยพะเยาที่มี ลักษณะเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วซ่ึงเกิดขึ้นจากการพัฒนาและการเติบโตของ มหาวิทยาลัยพะเยา โดยเฉพาะอย่างย่ิงการเปล่ียนแปลงการใช้ประโยชน์ในท่ีดิน เขตปฏริ ปู ทด่ี นิ เพอ่ื เกษตรกรรมถอื เปน็ ปญั หาสำ� คญั ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในพนื้ ทเ่ี ทศบาลตำ� บล แม่กา ซง่ึ ผถู้ ือครองทด่ี นิ ไดด้ �ำเนินการปลกู สร้างหอพัก และอาคารพาณชิ ย์ ตลอด จนกจิ การอืน่ ๆ เปน็ กิจการทม่ี ีลักษณะให้ผลตอบแทนมากกวา่ การประกอบอาชพี เกษตรกรรม หรอื การประกอบอาชีพเดมิ ทเี่ ปน็ อยใู่ นอดตี รูปที่ 1 : ภาพถ่ายการเปลีย่ นแปลงการใชพ้ ื้นทบ่ี รเิ วณหนา้ มหาวทิ ยาลยั พะเยา พ.ศ. 25571 1 ไทยรัฐนิวโชว์, ตรวจสอบการใช้ที่ดิน สปก. พะเยา เผยแพร่เม่ือ 20 ต.ค. 2014 [ระบบออนไลน]์ , แหล่งทม่ี า: https://youtu.be/l8N8ZnHbdmk 192 “วารสารนติ ิสังคมศาสตร์ ปที ่ี 8 ฉบับท่ี 2/2558 กรกฎาคม-ธันวาคม”

แม้ว่าในปัจจุบันทางส�ำนักงานปฏิรูปที่ดินจังหวัดพะเยา (ส.ป.ก.พะเยา) คณะกรรมการปฏิรูปท่ีดินจังหวัด (ค.ป.จ.) และส�ำนักงานโยธาธิการและผังเมือง พะเยาจะมีข้อสรุปในการหามาตรการ และวางแนวทางในการแก้ไขปัญหาการใช้ ประโยชน์ในท่ีดินในพื้นท่ี2 ผ่านกลไกทางกฎหมายเพ่ือสร้างความเป็นระเบียบ เรยี บรอ้ ยเกย่ี วกบั การใชป้ ระโยชนใ์ นทดี่ นิ ในพนื้ ทค่ี วบคไู่ ปกบั การสง่ เสรมิ การพฒั นา พน้ื ท่ี โดยการใชม้ าตรการทางกฎหมายเกยี่ วกบั การจดั การปญั หาการใชท้ ด่ี นิ ในเขต พ้ืนท่ีปฏิรูปที่ดิน คือ พระราชบัญญัติการปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.2518 มาตรา 30 วรรคห้า3 ประกอบกับประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง ก�ำหนดกิจการทีเ่ ปน็ การสนบั สนุนหรอื เกยี่ วเน่อื งกบั การปฏริ ปู ที่ดิน ขอ้ 1.5 และ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขในการอนุญาตใช้ที่ดินส�ำหรับกิจการที่เป็นการ สนบั สนนุ หรอื เกยี่ วเนอื่ งกบั การปฏริ ปู ทดี่ นิ ตามระเบยี บคณะกรรมการปฏริ ปู ทดี่ นิ เพอ่ื แกไ้ ขปญั หาโดยการกำ� หนดเขตพน้ื ทเ่ี พอื่ การอยอู่ าศยั และเพอ่ื ประกอบกจิ การ ทเี่ ปน็ การสนบั สนนุ หรอื เกยี่ วเนอื่ งกบั การปฏริ ปู ทด่ี นิ เพอื่ เกษตรกรรม แตแ่ นวทาง เหลา่ นย้ี งั คงเปน็ การแกไ้ ขปญั หาทมี่ งุ่ เนน้ การสง่ เสรมิ การพฒั นามากกวา่ การควบคมุ การใชป้ ระโยชน์ที่ดินในพื้นที่ 2 ส�ำนักงานปฏิรูปทด่ี นิ เพอื่ เกษตรกรรม : หนงั สอื ที่ กษ 1206/ว 705 ลงวันท่ี 16 กันยายน 2546 เรอ่ื ง แจ้งขอหารือแนวทางการใช้ประโยชนท์ ดี่ นิ ในเขตปฏริ ูปทด่ี ิน. 3 มาตรา 30 วรรคหา้ “นอกจากการจดั ทด่ี ินใหแ้ กบ่ ุคคลตาม (2( )1) และ(3) ให้ ส.ป.ก. มี อ�ำนาจจัดทด่ี นิ หรอื อสังหารมิ ทรพั ย์ใหแ้ กบ่ คุ คลใดเช่า เช่าซอื้ ซอื้ หรือเขา้ ทำ� ประโยชน์เพื่อ ใช้ส�ำหรับกิจการอื่นที่เป็นกิจการสนับสนุนหรือเก่ียวเนื่องกับการปฏิรูปท่ีดินตามที่รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศกก�ำหนดในราชกิจจานุเบกษาได้ ท้ังนี้ ตาม ขนาดของการถือครองในท่ดี นิ ท่คี ณะกรรมการเห็นสมควร ซ่งึ ต้องไม่เกินหา้ สบิ ไร่ สว่ นหลัก เกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขในการอนุญาตหรือการใหผ้ ู้ได้รับอนญุ าตถือปฏิบตั ิใหเ้ ปน็ ไปตาม ท่ีคณะกรรมการก�ำหนด โดยความเหน็ ชอบของคณะรัฐมนตร”ี กฎหมายกับสอื่ 193

1. พฤติกรรมการใชป้ ระโยชนท์ ่ีดนิ พื้นท่ีในการศึกษาวิจัยครั้งน้ี คือ เทศบาลต�ำบลแม่กาอยู่ในเขตพ้ืนท่ีของ อ�ำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ได้แก่ เขตพื้นท่ีชุมชนเป็นพ้ืนท่ีรอบบริเวณ มหาวิทยาลยั พะเยาโดยต้ังแต่ พ้ืนทีห่ มทู่ ่ี 1 บ้านหม้อแกงทอง, หมูท่ ่ี 2 บา้ นหว้ ย เคยี น, หมทู่ ่ี 3 บ้านแมก่ าหลวง และหมทู่ ี่ 4 บ้านโทกหวาก ตำ� บลแม่กาเดิมแลว้ พ้ืนท่ีส่วนใหญ่เป็นป่ารกไม่มีผู้คนมาอาศัยอยู่อุดมไปด้วยป่าไม้และสัตว์ป่านานา พนั ธ์ุ ภายหลงั ไดม้ โี ครงการกระจายโอกาสทางการศกึ ษาสจู่ งั หวดั พะเยาขนึ้ ซง่ึ ครง้ั แรกไดม้ กี ารตงั้ วทิ ยาเขตพะเยา ตง้ั แต่ พ.ศ.2538 ภายใตก้ ารดแู ลของมหาวทิ ยาลยั นเรศวร ทโี่ รงเรียนพะเยาพทิ ยาคม อ�ำเภอเมอื งพะเยา ตอ่ มาได้มมี ตคิ ณะรฐั มนตรี ให้ใช้ชื่อว่าวิทยาเขตสารสนเทศพะเยา ทางมหาวิทยาลัยนเรศวรได้ร่วมกับทาง จังหวดั พะเยาจัดหาสถานท่ีตั้ง ณ บริเวณ ตำ� บลแมก่ า อำ� เภอเมือง จงั หวัดพะเยา กลายเป็นสถานท่ีตั้งถาวรและเปิดการเรียนการสอนต้ังแต่ปี 2542 เป็นต้นมาซึ่ง ภายหลงั ไดแ้ ยกออกจากมหาวทิ ยาลยั นเรศวรเปน็ มหาวทิ ยาลยั ในกำ� กบั ของรฐั และ ใช้ชื่อเป็นมหาวิทยาลัยพะเยา โดยบริเวณรอบมหาวิทยาลัยพะเยาน้ันมีพ้ืนท่ีเขต ปฏริ ปู ทดี่ นิ โครงการป่าแมต่ ๋�ำอยู่โดยรอบพื้นท่ี และมีพืน้ ที่ทีไ่ ด้จดั สรรใหเ้ กษตรกร เข้าใชป้ ระโยชนจ์ ำ� นวนประมาณ 11,729 ไร4่ ภายหลังจากที่มีการกอ่ ต้ังวทิ ยาเขต การศกึ ษา และเปลยี่ นแปลงจนกลายมาเปน็ มหาวทิ ยาลยั ขนึ้ นน้ั สถาบนั และองคก์ ร ต่าง ๆ ของภาครัฐได้เข้ามาต้ังอยู่ในพ้ืนท่ี ขณะเดียวกันประชากรในเขตพื้นท่ีมี จ�ำนวนเพ่ิมมากขึ้น โดยเมื่อเทียบระหว่างจ�ำนวนประชากรในปี 2542 มีจ�ำนวน 11,797 คน5 และใน พ.ศ.2552 มีจำ� นวนประชากร 17,372 คน ใน พ.ศ.2553 มี 4 โครงการปฏิบตั ิงานเพอื่ แก้ไขปัญหาการเปลย่ี นแปลงสิทธิ์และการใช้ประโยชนใ์ นทดี่ นิ ตาม ความเจรญิ ของการพฒั นาทางเศรษฐกจิ และสงั คมชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ในพนื้ ทเ่ี ขตปฏริ ปู ทด่ี นิ กรณี พ้ืนท่ีเขตปฏิรูปท่ีดินโดยรอบมหาวิทยาลัยพะเยา อ�ำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ปีงบประมาณ 2556, หน้าท่ี 1 5 ระบบสถิติทางการทะเบยี น : จ�ำนวนประชากรแยกรายอายุ ต�ำบลแมก่ า อ�ำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยาเดอื น ธนั วาคม พ.ศ. 2542 [ระบบออนไลน]์ , แหลง่ ท่ีมา: http://www.stat. dopa.go.th/ 194 “วารสารนิติสงั คมศาสตร์ ปที ่ี 8 ฉบบั ที่ 2/2558 กรกฎาคม-ธันวาคม”

จำ� นวนประชากร 18,117 คน พ.ศ.2554 มจี ำ� นวนประชากร 21,216 คน ใน พ.ศ. 2555 มจี ำ� นวนประชากร 19,878 คน พ.ศ.2556 มจี ำ� นวนประชากร 19,878 คน6 ประกอบกับจ�ำนวนนักศึกษาที่ทางมหาวิทยาลัยรับเข้า โดยดูจากสถิติการลง ทะเบยี นเรยี นของนักศึกษาตงั้ แตป่ ีการศกึ ษา 2542 ในช่วงระยะเวลา 5 ปี จ�ำนวน นกั ศกึ ษาทมี่ กี ารลงทะเบยี นมหาวทิ ยาลยั นเรศวรวทิ ยาเขตสารสนเทศพะเยาในรหสั นกั ศกึ ษา 42 (ปกี ารศกึ ษา 2542) มจี ำ� นวนทง้ั หมด 31 คน รหสั 43 มจี ำ� นวน 183 คน รหัส 44 มีจำ� นวน 298 คน รหัส 45 มจี �ำนวน 1,681 คน และรหสั 46 มี จำ� นวน 2,583 คน7 รวมทงั้ สน้ิ 4,776 คน เมอื่ เปรยี บเทยี บจำ� นวนนกั ศกึ ษาใน พ.ศ. 2555 มจี ำ� นวนนกั ศกึ ษาทล่ี งทะเบยี นรวม 6,079 คน8 การเตบิ โตของมหาวทิ ยาลยั ทำ� ใหพ้ นื้ ทบ่ี รเิ วณโดยรอบมกี ารเปลยี่ นแปลงอาคารพาณชิ ย์ กจิ การรา้ นคา้ หอพกั นักศกึ ษาเกดิ ข้นึ อย่างมากมายเพ่อื รองรับจ�ำนวนนกั ศึกษาท่มี มี ากขนึ้ 6 สำ� นักทะเบียนทอ้ งถิ่นเทศบาลตำ� บลแม่กา อ�ำเภอเมืองพะเยา, แผนยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนา เทศบาลตาํ บลแมก่ า พ.ศ.2557-2553, พ.ศ.2558-2554 , พ.ศ.2559-2555, พ.ศ.2561-2557 7 กองบริการการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยนเรศวร, สถิตจิ �ำนวนนสิ ิตปกี ารศึกษา 2546 ขอ้ มลู สถิติ นิสิตงานทะเบียนนิสิตและประมวลผลกองบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร [ระบบ ออนไลน]์, แหล่งทม่ี า :http://www.reg.nu.ac.th/ 8 ศูนย์บริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระบบรายงานจ�ำนวนนักศึกษาภายใน มหาวทิ ยาลยั พะเยา ปกี ารศกึ ษา 2555 [ระบบออนไลน]์ , แหลง่ ทมี่ า :http://intra.up.ac.th/ up_dss/ กฎหมายกบั ส่อื 195

รปู ที่ 2 : ภาพถา่ ยการเปลย่ี นแปลงการใชพ้ นื้ ทบี่ รเิ วณหนา้ มหาวทิ ยาลยั พะเยา พ.ศ. 25549 รูปท่ี 3 : ภาพถา่ ยการเปลยี่ นแปลงการใชพ้ นื้ ทบ่ี รเิ วณหนา้ มหาวทิ ยาลยั พะเยาปจั จบุ นั พ.ศ.2558 10 9 ภาพถ่ายการเปล่ียนแปลงการใช้พ้ืนท่ีบริเวณหน้ามหาวิทยาลัยพะเยาปี พ.ศ.2554 [ระบบ ออนไลน]์ , แหล่งทมี่ า: http://www.teedin108.com/public/ 10 ภาพถ่ายการเปลีย่ นแปลงการใชพ้ ื้นทบ่ี รเิ วณหนา้ มหาวทิ ยาลัยพะเยา ปี พ.ศ. 2558 [ระบบ ออนไลน]์ , แหลง่ ทีม่ า: https://www.google.co.th/ 196 “วารสารนิตสิ งั คมศาสตร์ ปีท่ี 8 ฉบบั ท่ี 2/2558 กรกฎาคม-ธันวาคม”

ปญั หาการดำ� เนนิ กจิ การตา่ งๆ ในพน้ื ทเ่ี ขตปฏริ ปู ทดี่ นิ เพอ่ื เกษตรกรรมซง่ึ อยู่โดยรอบบริเวณมหาวิทยาลัยได้เร่ิมมีตั้งแต่เริ่มก่อตั้งมหาวิทยาลัยและเปิดการ เรยี นการสอนเปน็ ปญั หามาอยา่ งยาวนาน หนว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบในไมส่ ามารถเขา้ มาควบคมุ การดำ� เนนิ กจิ การตา่ งๆ เหลา่ นไี้ ดอ้ ยา่ งเตม็ ประสทิ ธภิ าพ เนอื่ งจากปญั หา เกี่ยวกบั การกำ� หนดแนวทางในการแก้ไขปญั หาในพ้นื ที่ อาทเิ ช่น การควบคุมการ ใช้ประโยชน์ท่ีดินในการประกอบกิจการต่างๆ ในพื้นท่ีเขตปฏิรูปที่ดินยังไม่มีการ ออกแนวทางปฏบิ ตั ใิ นการขอใชป้ ระโยชนใ์ นกจิ การอนื่ ๆ ทน่ี อกเหนอื จากการเกษตร กรรม รวมไปถึงการก�ำหนดเขตพ้นื ท่ใี นการด�ำเนินกจิ การในพื้นทด่ี งั กลา่ วน้ียงั ไมม่ ี การก�ำหนดพ้ืนท่ีอย่างชัดเจน จากการสัมภาษณ์ผู้ใช้ประโยชน์ในท่ีดินเขตปฏิรูป ท่ีดินถึงส่ิงจูงใจท่ีมีต่อการใช้ประโยชน์ในที่ดินประกอบกิจการหอพักเพ่ือแสวงหา ผลกำ� ไรทีอ่ ยบู่ ริเวณโดยรอบมหาวิทยาลยั พะเยา โดยการเลอื กกลุ่มผูป้ ระกอบการ ในเขตปฏริ ปู ทด่ี นิ กอ่ นทจี่ ะมกี ารออกแนวทางในการใชป้ ระโยชนใ์ นทดี่ นิ ออกมาใช้ บังคบั และหลงั จากท่มี ีแนวทางปฏิบตั ิใชบ้ ังคบั พฤติกรรมในการใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ ทเ่ี ปลย่ี นแปลงไปจากเดมิ มลี กั ษณะตา่ งๆ ซง่ึ พบพฤตกิ รรมการใชป้ ระโยชนใ์ นทดี่ นิ ท่ีเปลี่ยนแปลงไปดังน้ี 1.1 พฤตกิ รรมการใชป้ ระโยชนใ์ นทด่ี นิ เขตปฏริ ปู ทดี่ นิ ดำ� เนนิ กจิ การเพอื่ หวงั ผลก�ำไร จากข้อมูลให้สัมภาษณ์ผู้ประกอบการกิจการหอพักก่อนท่ีจะมีการออก แนวทางในการใช้ประโยชน์ในที่ดินออกมาใช้บังคับ นางสาวอี (นามสมมติ) ผู้ประกอบการบ้านพักที่อยู่อาศัยให้กับนักศึกษา ซ่ึงผู้ให้สัมภาษณ์เป็นคนในพื้นท่ี ภูมิล�ำเนาเดิมซึ่งอยู่ในเขตพ้ืนท่ีปฏิรูปท่ีดินทางเข้าอ่างเก็บน�้ำแม่ต�๋ำ อาศัยอยู่ร่วม กบั บดิ ามารดามาตง้ั แตเ่ ดมิ กอ่ นทม่ี หาวทิ ยาลยั จะมกี ารกอ่ ตง้ั ในพน้ื ท่ี โดยทอ่ี ยอู่ าศยั ดังกล่าวน้ันทางบิดามารดาเป็นผู้เข้ามาจับจองท�ำประโยชน์ในที่ดินในการท�ำ เกษตรกรรมปลกู พชื ผกั เพอ่ื ใชใ้ นการบรโิ ภคภายในครอบครวั และทำ� สวนทำ� ไรข่ นาด เล็กเพื่อสร้างรายได้ ในแต่ละเดือนรายได้ไม่แน่นอนข้ึนอยู่กับการปลูกและ กฎหมายกับส่ือ 197

เก็บเก่ียวผลผลิตทางการเกษตรในแต่ละชนิด เม่ือทางมหาวิทยาลัยได้ย้ายมา สถานที่ตั้งถาวรและเปิดการเรียนการสอนท�ำให้สภาพพ้ืนท่ีมีการเปล่ียนแปลง ไปจากเดิม ในช่วงแรกสภาพพ้ืนที่ยังไม่ค่อยมีการเปลี่ยนแปลงมากนักยังคงเป็นพ้ืนที่ ทช่ี าวบา้ นทำ� การเกษตรกรรมอยมู่ ากจนกระทงั่ มหาวทิ ยาลยั เรมิ่ ขยายตวั และมกี าร รบั นกั ศกึ ษาเพมิ่ ขน้ึ เปน็ จำ� นวนมาก การเปลยี่ นแปลงการใชท้ ด่ี นิ ในบรเิ วณพนื้ ทใ่ี กล้ เคียงท่ีอยู่อาศัยเริ่มมีการเปล่ียนแปลงก่อสร้างอาคารท่ีอยู่อาศัย อาคารพาณิชย์ รา้ นคา้ รา้ นอาหาร เพอื่ รองรบั การเพมิ่ จำ� นวนประชากร และสง่ ผลใหร้ าคาทดี่ นิ ใน พืน้ ท่ีปัจจุบนั ประมาณ 5-6 แสนบาทต่อไร่ ทางครอบครัวผใู้ หส้ มั ภาษณไ์ ด้มีการกู้ เงนิ มากอ่ สรา้ งบา้ นพกั เพอื่ ทจ่ี ะใหน้ กั ศกึ ษาเชา่ พกั อาศยั เนอ่ื งจากปญั หารายไดจ้ าก การเกษตรกรรมมีรายได้น้อยมาก และการท�ำเกษตรจะต้องท�ำในระยะยาว ประกอบกับสมาชิกในครอบครัวต่างเข้ามาท�ำงานในมหาวิทยาลัยจึงไม่มีเวลาใน การท�ำการเกษตร นางสาวอีทราบอยู่แล้วว่าพ้ืนที่ท่ีได้ด�ำเนินการก่อสร้างมีข้อจ�ำกัดในทาง กฎหมาย และก็ทราบข่าวคราวการก�ำหนดพ้ืนท่ีเศรษฐกิจครอบคลุมในพ้ืนที่ที่อยู่ ในเขตปฏิรูปที่ดินแต่ยังไม่มีความชัดเจนว่าจะออกมาก�ำหนดการใช้กับพื้นที่ในรูป แบบไหน บา้ งกว็ า่ เปน็ โซนเศรษฐกจิ บา้ งกว็ า่ เปน็ เขตกจิ การพเิ ศษ ปจั จยั เหลา่ นจี้ งึ เป็นอกี สาเหตหุ นง่ึ ในการตัดสนิ ใจสร้างบา้ นพกั นางสาวอีให้ความเห็นเพิ่มเติมอีกว่าไม่ค่อยเป็นกังวลเกี่ยวกับการรื้อถอน จะเป็นกังวลเพียงแต่ในส่วนของการเก็บค่าเช่าพื้นท่ีมากกว่า เพราะว่าพ้ืนท่ีอ่ืนๆ ทใ่ี กลซ้ ง่ึ เปน็ พนื้ ทใ่ี นเขตปฏริ ปู ทดี่ นิ เหมอื นกนั กม็ กี ารกอ่ สรา้ งหอพกั กนั มากจงึ ตดั สนิ ใจท่ีจะท�ำบา้ นพักในครัง้ นี้ ประกอบกับการสร้างบ้านพักใหแ้ กน่ ักศกึ ษาไมไ่ ด้สรา้ ง มากมายหลายหลงั เนอื่ งจากไมม่ ที นุ ทรพั ยเ์ พยี งพอ การดำ� เนนิ การกอ่ สรา้ งไดม้ กี าร ตดิ ตอ่ กบั ทางเทศบาลทำ� บลแมก่ า และนำ� แบบแปลนการกอ่ สรา้ งไปขออนญุ าตทาง เทศบาลพจิ ารณาและขอบา้ นเลขที่ ณ อำ� เภอในศาลากลางจงั หวดั พะเยาตามปกติ 198 “วารสารนิตสิ งั คมศาสตร์ ปที ี่ 8 ฉบับที่ 2/2558 กรกฎาคม-ธันวาคม”

เหมือนการก่อสร้างอาคารทั่วไปในพ้ืนท่ีต่างๆ ขาดเพียงแค่การขออนุญาตจด ทะเบยี นหอพกั ไมส่ ามารถทำ� ไดเ้ นอ่ื งจากเปน็ ทด่ี นิ ทไี่ มม่ เี อกสารแสดงกรรมสทิ ธใิ์ น ที่ดิน แต่ก็ได้มีการเสียภาษีโรงเรือนให้กับทางเทศบาลต�ำบลแม่กา นางสาวอีเกิด ความกงั วลเกยี่ วกบั การเสยี ภาษกี ารประกอบกจิ การอยา่ งถกู ตอ้ งตามกฎหมาย และ เมือ่ สามารถจดทะเบียนไดจ้ ะมีการเก็บภาษีย้อนหลงั หรอื ไม่ 1.2 พฤตกิ รรมการการซือ้ ขายเปลี่ยนมอื ทีด่ ินเขตปฏริ ูปทีด่ ิน ในส่วนข้อมูลสัมภาษณ์ผู้ประกอบการกิจการหอพักภายหลังที่จะมีการ ออกแนวทางในการใช้ประโยชน์ในที่ดินออกมาใช้บังคับ นางสาวเอ (นามสมมติ) ปัจจบุ ันประกอบอาชีพเปน็ พนกั งานมหาวิทยาลัยพะเยา โดยเป็นคนท่ีมภี มู ลิ ำ� เนา เดมิ อยูใ่ นพืน้ ท่ตี ำ� บลแมก่ ากอ่ นที่จะมกี ารก่อสร้างมหาวทิ ยาลยั พะเยา อาศยั อยใู่ น หมทู่ ่ี 16 ตำ� บลแมก่ า อ�ำเภอเมอื ง จงั หวดั พะเยา โดยพื้นทแ่ี ถวน้ันเป็นหมู่บา้ นทม่ี ี คนอาศยั อยตู่ ามแนวถนนสายหลกั ทง้ั สองฝง่ั ถนน บรเิ วณดงั กลา่ วนนั้ แตเ่ ดมิ จะเปน็ ตลาดขนาดเลก็ ซอ้ื ขายสนิ คา้ ทว่ั ไปเปน็ พน้ื ทพี่ บปะของคนในชมุ ชนโดยชมุ ชนในระ แวกนนั้ จะมคี วามหนาแนน่ มากกวา่ ทอ่ี นื่ และฐานะของคนในชมุ ชนคอ่ นขา้ งมฐี านะ ปานกลางส่วนใหญ่จะท�ำงานในเมืองพะเยาและบางพื้นที่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม เลี้ยงสตั วแ์ ละรบั จา้ ง จนเมอ่ื มหาวทิ ยาลยั ไดเ้ ขา้ มากอ่ ตงั้ และเรม่ิ เปดิ การเรยี นการสอน พน้ื ทหี่ นา้ มหาวทิ ยาลยั พะเยาเรมิ่ มกี ารสรา้ งหอพกั อยา่ งมากกมายเพอื่ รองรบั จำ� นวนนกั ศกึ ษา ทมี่ จี ำ� นวนมากและเพม่ิ มากขน้ึ ในทกุ ๆ ปี สง่ ผลมายงั พนื้ ทที่ นี่ างสาวเออาศยั อยเู่ รมิ่ มีการเปลี่ยนแปลงการประกอบอาชีพโดยการลงทุนสร้างร้านค้า หอพัก บ้านพัก สำ� หรบั นกั ศกึ ษา นางสาวเอไดด้ ำ� เนนิ การสรา้ งหอพกั ในทดี่ นิ ของตนทแี่ ยกออกจาก ทอี่ ยอู่ าศยั โดยทดี่ นิ ดงั กลา่ วเปน็ ทดี่ นิ มเี อกสารแสดงกรรมสทิ ธใิ์ นทดี่ นิ ไดด้ ำ� เนนิ การ สร้างบ้านพักจ�ำนวน 6 หลังและเปิดให้นักศึกษาเช่ามาตลอดโดยขออนุญาตจาก ทางเทศบาลต�ำบลแม่กา จนใน พ.ศ.2557 ได้ตัดสนิ ใจขายทดี่ ินดงั กล่าวพร้อมสง่ิ ปลกู สรา้ งใหก้ บั นายทนุ ทเ่ี ขา้ มาซอื้ ไปในราคาประมาณ 10 ลา้ นบาท และไดน้ ำ� เงนิ กฎหมายกับส่ือ 199


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook