จากการขายกิจการดังกล่าวไปซื้อที่ดิน ส.ป.ก.ที่อยู่บริเวณใกล้เคียงในราคา 3.9 ลา้ นบาทพร้อมสิง่ ปลกู สร้างคือ บ้านพกั ขนาดเลก็ 6 หลัง และขนาดใหญ่ 2 ชั้น 1 หลัง ในการซ้ือขายมีการท�ำสัญญาซ้ือขายกันโดยท่ัวไปไม่ได้มีข้อตกลงหรือ เง่อื นไขอื่นเพ่มิ เตมิ พ้ืนทีท่ ที่ �ำการซื้อจะมเี น้ือทีป่ ระมาณ 2 ไร่ การตดั สนิ ใจขายกจิ การในพนื้ ทท่ี มี่ เี อกสารแสดงกรรมสทิ ธใิ์ นทด่ี นิ แลว้ ไป ซอ้ื ทด่ี ินพรอ้ มส่งิ ปลกู สรา้ งทอ่ี ยใู่ นเขตปฏิรูปที่ดินน้ัน นางสาวเอใหค้ วามเหน็ วา่ ไม่ ได้กังวลเก่ียวกับปัญหาข้อกฎหมายของทาง ส.ป.ก. เนื่องมาจากการทต่ี ัดสินใจซื้อ ที่ดินบริเวณนั้นเป็นเพราะว่าซ้ือจากญาติสนิทที่มีความใกล้ชิดกันที่เขาด�ำเนินการ แบง่ ขาย ประกอบกบั เนอื้ ทนี่ น้ั มจี ำ� นวนมากและซอื้ พรอ้ มสง่ิ ปลกู สรา้ งซง่ึ เมอื่ นำ� มา เปรียบเทียบกับพื้นท่ีท่ีขายกิจการไปน้ันถือว่าคุ้มค่ามากกว่า ในส่วนทราบถึงข้อ จ�ำกัดทางกฎหมายในพ้ืนที่หรือไม่น้ันนางสาวเอได้กล่าวว่าเจ้าของรายเดิมได้ยื่น เรื่องเสนอตอ่ ส�ำนักงานปฏิรูปท่ดี ินจังหวดั เพอ่ื ขอประกอบกจิ การอนั เกย่ี วเนื่องกบั การปฏริ ูปทด่ี นิ แล้ว ซึง่ ทผ่ี ่านมาไดด้ �ำเนนิ การจา่ ยคา่ เช่าทดี่ นิ รายปี และมกี ารวาง เงนิ มดั จำ� หรอื เงนิ ประกนั ไวแ้ ลว้ ซงึ่ ทา้ ยปนี ต้ี นเองจะไดเ้ รมิ่ มกี ารจา่ ยคา่ เชา่ ครง้ั แรก และจะด�ำเนินการยื่นหนังสือขอเปล่ียนแปลงช่ือผู้เช่ากับทางส�ำนักงานปฏิรูปท่ีดิน จงั หวดั เพอื่ ดำ� เนนิ การเปลยี่ นแปลงชอ่ื ผเู้ ชา่ เปน็ ของตน สว่ นการเสยี ภาษกี ไ็ ดม้ กี าร เสียภาษีโรงเรอื นใหแ้ กเ่ ทศบาลมาโดยตลอด การตัดสินใจคร้ังน้ีตนถือว่าเป็นการตัดสินใจท่ีไม่ได้มีการปฏิบัติท่ีเป็นการ ฝ่าฝืนข้อบังคับ หรือกฎหมายใดๆ เน่ืองจากแนวทางปฏิบัติเก่ียวกับการประกอบ กจิ การในพนื้ ทก่ี ม็ กี ำ� หนดแนวทางทช่ี ดั เจนแลว้ วา่ สามารถทำ� ไดจ้ งึ ไมก่ งั วลเกย่ี วกบั ปญั หาในทางกฎหมาย และนางสาวเอยงั ใหค้ วามเหน็ เพม่ิ เตมิ วา่ ถา้ หากมที นุ ทรพั ย์ มากพอก็ยังคงจะขยายกิจการเพ่ิมเติม อาจซื้อท่ีดินพร้อมกิจการหรือที่ดินเพื่อ ประกอบกิจการเช่นนี้อีกเพราะเป็นกิจการท่ีสามารถจะหาผลก�ำไรได้ในระยะยาว และเป็นกิจการท่จี ะให้ครอบครัวสานต่อในอนาคต 200 “วารสารนติ สิ ังคมศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบับท่ี 2/2558 กรกฎาคม-ธนั วาคม”
จากพฤติกรรมของผู้ให้สัมภาษณ์ทั้ง 2 ตัวอย่างที่ได้กล่าวมานั้นจะเห็น ได้ว่าพฤติกรรมเหล่าน้ันมีมุมมองต่อการใช้กฎหมายท่ีมีปัจจัยหลายด้านท่ีเข้ามามี อิทธิพลท�ำให้เกิดการใช้ประโยชน์ในที่ดินที่เปลี่ยนแปลงไป ได้แก่ ปัจจัยโดยตรง คือ บทบาทของกฎหมายปฏิรปู ท่ดี ินในการแกไ้ ขปัญหาในพ้นื ที่โดยการกำ� หนดให้ สามารถใช้ประโยชน์ท่ีดินในกิจการสนับสนุนหรือเก่ียวเน่ืองกับการเกษตรกรรมมี ลกั ษณะหยดุ น่ิงไมส่ ามารถแก้ไขปัญหาได้อยา่ งแทจ้ รงิ ท�ำใหเ้ กิดพฤตกิ รรมการซื้อ ขายที่ดินในเขตปฏิรูปท่ีดินซ่ึงเป็นข้อก�ำหนดของกฎหมายอยู่แล้วว่าห้ามมีการซ้ือ ขายรวมไปถึงการใชท้ ี่ดนิ ที่ผดิ วตั ถปุ ระสงค์ของบทกฎหมาย และ ปัจจัยที่เปน็ ตัว สนบั สนนุ คอื 1) ทรพั ยากรในพน้ื ทแี่ ละเหตผุ ลทางเศรษฐกจิ โดยการเลอื กประกอบ กิจการหอพักแสวงหาผลก�ำไร การเลือกใช้ประโยชน์ในท่ีดินให้ผลก�ำไรหรือ ประโยชน์ท่ีจะได้รับท่ีมากกว่าการประกอบอาชีพเกษตรกรรมท่ีเป็นอยู่ และ 2) ตลาด หรือกลไกตลาด ความเชอื่ ม่ันในกลไกตลาดเป็นส่วนส�ำคญั ในการขบั เคล่อื น การใชป้ ระโยชนใ์ นทดี่ นิ เหลา่ นแ้ี ละทำ� ใหเ้ กดิ การลงทนุ แลกเปลยี่ นทรพั ยากร สง่ ผล ต่อความเชื่อมัน่ ของประชาชนในการเลอื กทจ่ี ะดำ� เนินกิจกรรมทางเศรษฐกจิ 2. มาตรการทางกฎหมาย 2.1 มาตรการทางกฎหมายปฏริ ปู ท่ีดินเพอ่ื เกษตรกรรม การแก้ไขปัญหาการใช้ประโยชน์ในท่ีดินในพ้ืนท่ีเขตปฏิรูปที่ดินส�ำหรับ กิจการที่เป็นการสนับสนุนหรือเกี่ยวเน่ืองกับการปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรมมี มาตรการทางกฎหมายในการด�ำเนนิ กจิ การตา่ งๆ ดังน้ี 1) มีการก�ำหนดขอบเขตพื้นที่การจัดที่ดินเพ่ืออยู่อาศัยและเพ่ือประกอบ กจิ การทเ่ี ปน็ การสนบั สนนุ การปฏริ ปู ทดี่ นิ เพอ่ื เกษตรกรรมตามตามมาตรา 30 วรรค หา้ แห่งพระราชบัญญตั ิการปฏิรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ.2518 แกไ้ ขเพม่ิ เติม โดยพระราชบัญญัตกิ ารปฏิรูปท่ดี ินเพอื่ เกษตรกรรม (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2532 ฉบบั ท่ี กฎหมายกบั ส่อื 201
1 และฉบับท่ี 2 ประกอบกับประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่องก�ำหนด กจิ การทีเ่ ปน็ การสนบั สนุนหรอื เกยี่ วเนื่องกบั การปฏิรูปท่ดี นิ ข้อ 1.511 ทงั้ นี้พื้นทที่ ่ี จะดำ� เนนิ การใหม้ กี ารจดั ทด่ี นิ เพอื่ อยอู่ าศยั และประกอบกจิ การทเี่ ปน็ การสนบั สนนุ การปฏริ ปู ทดี่ นิ คณะกรรมการปฎริ ปู ทด่ี นิ เพอ่ื เกษตรกรรมเป็นผพู้ จิ ารณาใหค้ วาม เหน็ ชอบกำ� หนดขอบเขต 2) มาตรการในการจดั ทด่ี นิ ใหแ้ กบ่ คุ คลเชา่ เชา่ ซอ้ื ซอื้ หรอื เขา้ ทำ� ประโยชน์ เพ่ือใช้ส�ำหรับกิจการอ่ืนที่เป็นกิจการสนับสนุนหรือเกี่ยวเน่ืองกับการปฏิรูปที่ดิน โดยสำ� นกั งานปฏริ ปู ทดี่ นิ จงั หวดั มอี ำ� นาจในการจดั ทด่ี นิ หรอื อสงั หารมิ ทรพั ยใ์ นการ ดำ� เนินกิจการเหลา่ น้ี 3) มาตรการในการพิจารณาในการอนุญาตและการให้ผู้รับอนุญาตถือ ปฏิบัติในการใช้ประโยชน์ในท่ีดินหรืออสังหาริมทรัพย์ส�ำหรับกิจการท่ีเป็นการ สนับสนุนหรือเก่ียวเนื่องกับการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยคณะกรรมการ ปฏริ ปู ทีด่ ินจงั หวัดเป็นผพู้ ิจารณาอนญุ าตค�ำขอรบั อนญุ าต เม่ือพิจารณาถึงมาตรการทางกฎหมายและพฤติกรรมของผู้ให้สัมภาษณ์ ท้ัง 2 กรณีท่ีกล่าวมาข้างต้นแล้วน้ันจะเห็นได้การด�ำเนินกิจกรรมหอพักส�ำหรับ นักศึกษาไม่ได้อยู่ในขอบข่ายของกิจการอื่นท่ีเป็นการสนับสนุนเก่ียวเน่ืองกับการ ปฏริ ปู ทด่ี นิ เพอื่ เกษตรกรรมตามมาตรา 30 วรรคหา้ ซง่ึ ไมเ่ กย่ี วขอ้ งกบั ความเปน็ อยู่ ของเกษตรกรแตอ่ ยา่ งใด ซ่งึ วัตถปุ ระสงค์ของการปฏิรูปทดี่ นิ เพอ่ื เกษตรกรรมโดย สรุปแล้วก็เพ่ือปรับปรุงสิทธิและการถือของที่ดินเพ่ือเกษตรกรรมให้แก่เกษตรกร ผู้ไร้ที่ดินท�ำกินและผู้ที่ประสงค์จะเป็นเกษตรกรมีโอกาสเป็นเจ้าของที่ดินหรือมี ที่ดินส�ำหรับท�ำการเกษตร และเพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม การส่งเสริมให้ เกษตรกรมคี วามเป็นอยู่ทดี่ ขี น้ึ 12. 11 ส�ำนกั งานปฏริ ปู ที่ดินเพ่อื เกษตรกรรม : หนังสือที่ กษ/1206ว 705 ลงวนั ท่ี 16 กนั ยายน 2546 เร่อื ง แจ้งขอหารือแนวทางการใช้ประโยชน์ท่ีดินในเขตปฏิรูปที่ดิน. 12 สทุ ธพิ ร จริ ะพนั ธ,ุ การปฏริ ปู ทดี่ นิ ในประเทศไทย, เอกสารปฏริ ปู ทด่ี นิ , ฉบบั ท่ี 263, (กรงุ เทพฯ 202 “วารสารนติ ิสงั คมศาสตร์ ปที ี่ 8 ฉบับที่ 2/2558 กรกฎาคม-ธันวาคม”
2.2 มาตรการทางผงั เมือง มีมาตรการร่างข้อกำ� หนดผังเมืองรวมชุมชนบริเวณโดยรอบมหาวิทยาลัย พะเยาทจ่ี ะมาบงั คบั ใช้ในอนาคต ซ่ึงมาตรการดังกลา่ วน้จี ะเขา้ มามบี ทบาทในการ ควบคุมการใช้ประโยชน์ท่ีดินให้เกิดความเข้มข้นขึ้นอีกระดับหนึ่งส่งผลให้การ ก่อสร้างต่างๆ ไม่ลุกล�้ำเข้าไปยังพ้ืนท่ีป่าไม้ พื้นที่เชิงอนุรักษ์ หรือพื้นท่ีอื่นๆ โดยมาตรการการกำ� หนดแนวทางปฏบิ ตั ใิ นการใชป้ ระโยชนใ์ นทด่ี นิ ตามขอ้ กำ� หนด ผังเมืองก�ำหนดพื้นท่ีในการใช้ประโยชน์ท่ีดินแต่ละประเภทในบริเวณพ้ืนที่ต่างๆ ทอ่ี ยู่โดยรอบมหาวิทยาลยั พะเยาอย่างชดั เจน เช่น พนื้ ทที่ อี่ ยู่อาศยั หนาแนน่ น้อย ปานกลาง หนาแนน่ มาก พนื้ ทอี่ นรุ กั ษ์และชนบท เป็นตน้ รปู ที่ 4 : ผังเมืองรวมชมุ ชนบริเวณโดยรอบมหาวทิ ยาลยั พะเยา 13 : ส�ำนกั งานปฏิรูปท่ดี นิ เพือ่ เกษตรกรรม, 2540), หน้า. 26-25 13 สำ� นกั งานโยธาธกิ ารและผงั เมอื งพะเยา: ผงั เมอื งรวมชมุ ชนบรเิ วณโดยรอบมหาวทิ ยาลยั พะเยา วันท่ี 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 กฎหมายกบั สอ่ื 203
ก่อนท่ีจะมีการออกร่างข้อก�ำหนดผังเมืองรวมชุมชนบริเวณโดยรอบ มหาวิทยาลัยพะเยา หากพิจารณาถึงช่วงระยะเวลาท่ีมีการเปลี่ยนแปลงการใช้ ประโยชนใ์ นทดี่ นิ พบวา่ ในระหวา่ งนน้ั มกี ารบงั คบั ใชผ้ งั รวมเมอื งพะเยา พ.ศ.254814 โดยพ้ืนทีใ่ นต�ำบลแม่กาจะอยูใ่ นโซน A ดงั รปู ภาพที่ 5 ใหเ้ ปน็ ท่ีดินประเภทชนบท และเกษตรกรรม ซ่ึงสามารถใช้ประโยชน์ในที่ดินท่ีเก่ียวกับการเกษตรกรรมหรือ เกยี่ วขอ้ งกบั การเกษตรกรรม การอนรุ กั ษแ์ ละรกั ษาสภาพแวดลอ้ มของพน้ื ทช่ี มุ่ นำ้� สถาบนั ราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณปู การ ซง่ึ เปน็ สาเหตปุ ระการหน่งึ ทท่ี ำ� ให้การใชป้ ระโยชนใ์ นท่ีดนิ เพอ่ื ก่อสรา้ งหอพัก หรือกจิ การตา่ งๆ เปน็ ไปอย่าง ไมม่ ีระเบียบ ไมม่ คี วามสวยงาม ประกอบกับในปพี .ศ. 2556 มกี ารบงั คับใชผ้ งั รวม เมอื งพะเยา พ.ศ.255615 โดยพ้ืนท่ใี นตำ� บลแม่กาจะอยใู่ นโซน B ดงั รูปภาพท่ี 6 ให้ เป็นท่ีดินประเภทชุมชน ซ่ึงสามารถใช้ประโยชน์ในที่ดินที่เพ่ือการอยู่อาศัย การ พาณชิ ยกรรม เกษตรกรรม สถาบนั การศกึ ษา สถาบนั ศาสนา สถาบนั ราชการ การ สาธารณปู โภคและสาธารณปู การ ยงั คงมสี ภาพทเ่ี ออื้ ตอ่ การใชป้ ระโยชนใ์ นทดี่ นิ ไม่ ว่าจะเป็นนักลงทุนหรือชาวบ้านในพื้นที่ก็ตามจึงท�ำให้เกิดปัญหาการใช้ประโยชน์ ในท่ีดินและปัญหาผงั เมอื งมาจนถงึ ปัจจุบันนี้ 14 กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังรวมเมืองพะเยา พ.ศ.2548, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอน ท1ี่ 24 ก, วันท่ี 25 ธนั วาคม พ.ศ.2548, หน้าท่ี 7 15 กฎกระทรวงให้ใชบ้ งั คับผังรวมเมอื งพะเยา พ.ศ.2556, ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม 130 ตอนที่ 109 ก, วันท่ี 20 พฤศจิกายน พ.ศ.2556, หน้าที่ 17กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังรวมเมือง พะเยา พ.ศ.2556. 204 “วารสารนิติสงั คมศาสตร์ ปที ่ี 8 ฉบับท่ี 2/2558 กรกฎาคม-ธันวาคม”
รปู ท่ี 5 : แผนผงั ก�ำหนดการใช้ประโยชน์ รปู ที่ 6 : แผนผังกำ� หนดการใชป้ ระโยชน์ ทดี่ นิ ผังเมืองรวมเมืองพะเยา พ.ศ.2548 ทด่ี ินผังเมืองรวมเมอื งพะเยา พ.ศ.2556 จากมาตรการทางกฎหมายทางด้านการปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรมที่ได้ กล่าวมาข้างต้นซึ่งมีพฤติกรรมการใช้ประโยชน์ในท่ีดินของผู้ให้สัมภาษณ์เป็นภาพ สะท้อนเกี่ยวกับมุมมองต่อกฎหมายเมื่อน�ำมาพิจารณาควบคู่ไปกับมาตรการทาง ผงั เมอื งแลว้ จะเหน็ ไดว้ า่ มาตรการทง้ั สองมกี ารซอ้ นกนั อยใู่ นพนื้ ทเ่ี ดยี วกนั โดยทไ่ี มม่ ี ความสอดคลอ้ งและไมอ่ าจใชก้ บั พฤตกิ รรมการใชป้ ระโยชนใ์ นทด่ี นิ ของคนในพน้ื ท่ี ไดเ้ นอ่ื งจากความหยดุ นง่ิ ของกฎหมายปฏริ ปู ทด่ี นิ ทแ่ี กไ้ ขปญั หาในพนื้ ทไี่ มส่ ามารถ ท่ีจะควบคุมการใช้ประโยชน์ในพ้ืนท่ีได้อย่างแท้จริงซึ่งจะส่งผลต่อมาตรการทาง ผงั เมอื งชมุ ชนมหาวทิ ยาลยั พะเยาทจี่ ะมกี ารบงั คบั ใชใ้ นอนาคตในสว่ นพน้ื ทที่ อ่ี ยใู่ น ความดูแลของปฏิรูปท่ีดินไม่เป็นไปตามผังเมืองที่ได้วางเอาไว้ เช่น การก�ำหนด เขตพ้ืนท่ีป่าอนุรักษ์ หรือ พื้นท่ีการเกษตรอ่ืนๆ อาจถูกลุกล้�ำจากการใช้พื้นท่ี อยา่ งไม่มแี บบแผน กฎหมายกบั สอื่ 205
3. มาตรการทางกฎหมายท่ีส่งตอ่ พฤตกิ รรม พฤติกรรมการใช้ประโยชน์ในที่ดินของผู้ให้สัมภาษณ์ในการเช่ือฟัง กฎเกณฑ์ กฎหมาย พฤตกิ รรมของผถู้ กู สมั ภาษณใ์ นพน้ื ทสี่ ว่ นใหญม่ คี วามพยายาม ท่ีจะด�ำเนินกิจการต่างๆ เหล่าน้ีให้ด�ำเนินการให้ถูกต้องตามที่กฎหมายก�ำหนดไม่ วา่ จะเปน็ การขออนญุ าตในการกอ่ สรา้ งตา่ งๆ จากทางหนว่ ยงานภาครฐั และมกี าร ขออนุญาตจดทะเบียนผ้ปู ระกอบกิจการหอพัก แตเ่ นอื่ งด้วยพ้ืนท่ีที่มีขอ้ จำ� กดั ทาง กฎหมายนนั้ ไมม่ แี นวทางในการดำ� เนนิ งานทชี่ ดั เจน ยง่ิ ในสว่ นของกระแสการพฒั นา ทถ่ี าโถมเขา้ มายงั พนื้ ทท่ี ำ� ใหพ้ น้ื ทน่ี นั้ ตอ้ งเปลยี่ นแปลงไปตามสภาพสถานการณท์ าง เศรษฐกจิ และสงั คม การเปลยี่ นแปลงการใชพ้ นื้ ทย่ี งิ่ มคี วามเปลยี่ นแปลงมากยง่ิ ขน้ึ ระดับของการเชื่อฟังกฎหมายยิ่งมีความลดน้อยลง ส่งผลให้พฤติกรรมการ เปล่ียนแปลงการใช้ที่ดินในบริเวณพื้นที่ที่มีข้อจ�ำกัดทางด้านกฎหมายมีการ เปล่ียนแปลงไปทีละเล็กทีละน้อย ท่าทีของคนในพื้นท่ีเร่ิมเปลี่ยนไปท�ำให้มีการใช้ ประโยชนใ์ นทดี่ นิ โดยไมเ่ คารพตอ่ กฎหมาย จากพฤตกิ รรมการใชท้ ด่ี นิ หนง่ึ สง่ ผลไป ยงั พน้ื ทบ่ี รเิ วณใกลเ้ คยี งอกี ทงั้ กลไกทางตลาดทด่ี นิ ทพี่ งุ่ สงู ขนึ้ ยงั เปน็ ตวั กระตนุ้ ทำ� ให้ เกดิ การดำ� เนินกิจกรรมตา่ งๆ ขึน้ แนวทางในการหาทางออกในการแก้ไขการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินที่มี ความลา่ ชา้ สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ สภาพของกฎหมายเรมิ่ มสี ภาวะวา่ งเปลา่ ในความรสู้ กึ ของคนในพื้นทใี่ นช่วงเวลาหนงึ่ พฤติกรรมการเลยี นแบบของคนในพื้นทเี่ ริ่มเข้ามา มสี ่วนในการตดั สนิ ใจใช้ประโยชนใ์ นทีด่ นิ โดยการเปลยี่ นแปลงการใชป้ ระโยชน์ใน ทด่ี นิ เหลา่ นที้ ไี่ มไ่ ดส้ นใจถงึ ขอ้ จำ� กดั ทางดา้ นกฎหมายเนอ่ื งจากสภาพพนื้ ทใ่ี นบรเิ วณ รอบมหาวทิ ยาลยั พะเยานน้ั มกี ารเปลยี่ นแปลงไปอยา่ งรวดเรว็ และมแี นวโนม้ วา่ การ พัฒนาน้ันจะเป็นไปอย่างต่อเน่ืองและขยายเป็นวงกว้างออกไป กฎหมายไม่มี ประสิทธภิ าพเพยี งพอต่อการบงั คบั ใช้ ไมม่ คี วามนา่ เชื่อถือ ผลกระทบของกฎหมายต่อพฤติกรรมโดยจากข้อมูลสัมภาษณ์สามารถ สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ มมุ มองของผถู้ กู สมั ภาษณท์ มี่ ตี อ่ มาตรการทางกฎหมายทใ่ี ชใ้ นการ 206 “วารสารนิติสังคมศาสตร์ ปีท่ี 8 ฉบับที่ 2/2558 กรกฎาคม-ธันวาคม”
ควบคมุ หรอื จดั การการใชป้ ระโยชนใ์ นทด่ี นิ มาตรการดงั กลา่ วสง่ ผลโดยตรงตอ่ การ ตัดสินใจด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ในการใช้ประโยชน์ในที่ดินไม่ว่าจะเป็นการซื้อขาย ทดี่ นิ กต็ าม หรอื เปลยี่ นแปลงการใชป้ ระโยชนใ์ นทด่ี นิ ในผสู้ มั ภาษณบ์ างรายนนั้ พบ วา่ มพี ฤตกิ รรมการขายทด่ี นิ มเี อกสารแสดงกรรมสทิ ธใิ์ นทดี่ นิ ไปซอื้ ทด่ี นิ ในเขตพน้ื ที่ ปฏริ ูปทดี่ นิ พฤติกรรมนีอ้ าจสะท้อนภาพมมุ หนงึ่ เกีย่ วกับบทบาทของกฎหมายท่มี ี สว่ นในการตดั สินหรอื พฤติกรรมของประชาชนในพนื้ ทศี่ กึ ษา จากพฤติกรรมการเข้าใจ การบังคับใช้กฎหมายอาจจะสามารถอธิบายถึง แนวทางผลกระทบของกฎหมายต่อพฤตกิ รรมของคน องค์กร และสังคมในพื้นท่ี ไดใ้ นภาพรวมวา่ พฤตกิ รรมตา่ งๆ เหลา่ นส้ี ามารถกระทำ� ไดเ้ พราะมกี ฎหมายรองรบั การกระทำ� เหลา่ นอี้ ยู่ เชน่ การซอื้ ขายทด่ี นิ ในเขตปฏริ ปู ทดี่ นิ การกอ่ สรา้ งสงิ่ กอ่ สรา้ ง ตา่ งๆ แนวทางในการแกไ้ ขปญั หาและมาตรการทางกฎหมายท่ี ส.ป.ก.พะเยา และ การรา่ งขอ้ กำ� หนดผงั เมอื งชมุ ชนบรเิ วณโดยรอบมหาวทิ ยาลยั พะเยาทจ่ี ะออกมาใช้ บงั คบั อาจจะสรา้ งความชอบธรรมในการใชท้ ด่ี นิ ใหแ้ กป่ ระชาชนในพน้ื ท่ี ทง้ั พน้ื ทที่ ่ี เป็นเขตปฏริ ปู ที่ดนิ หรือพ้ืนที่อืน่ ๆ ก็ดี ยิง่ ท�ำใหก้ ารเปลย่ี นแปลงการใชป้ ระโยชน์ ในพ้ืนที่มีแนวโน้มจะมีการเปล่ียนแปลงมากยิ่งข้ึน ความชอบธรรมที่จะได้รับ เน่ืองจากสภาพพ้ืนที่ที่มีความพิเศษแตกต่างไปจากพ้ืนท่ีอ่ืนท่ีกฎหมายจะบังคับใช้ เนอื่ งมาจากการก่อต้ังสถาบันศึกษา หรือมหาวทิ ยาลยั พะเยาทีส่ ่งผลในด้านท่ดี ใี ห้ กบั ประชาชนทอ่ี าศยั อยใู่ นพน้ื ท่ี ในส่วนปัจจัยท่ีมีผลท�ำให้การก�ำหนดแนวทางของกฎหมายในการจัดการ ปญั หาการใชป้ ระโยชนใ์ นทด่ี นิ บรเิ วณโดยรอบมหาวทิ ยาลยั พะเยานน้ั การกำ� หนด แนวทางให้การจัดการพ้ืนที่ของหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องส.ป.ก.พะเยา คปจ. ส�ำนักงานโยธาธิการและผังเมือง และหน่วยงานของท้ังจังหวัด เทศบาลต�ำบลแม่ กา มหาวทิ ยาลยั พะเยา หน่วยงานอ่ืนๆ ตา่ งมงุ่ หาแนวทางในการถอื ปฏิบัติในการ เข้าท�ำประโยชน์ในท่ีดินท่ีดินที่อยู่ในเขตปฏิรูป และการวางผังเมืองชุมชนในการ ก�ำหนดการใชป้ ระโยชนใ์ นพ้ืนทต่ี า่ งๆ รวมไปถงึ แนวทางในการแก้ไขปญั หาการใช้ กฎหมายกบั สอ่ื 207
ประโยชนท์ ด่ี นิ ฝา่ ฝนื ระเบยี บ หรอื ปญั หาการเปลย่ี นแปลงสทิ ธเิ กษตรกรผขู้ ายและ ผ้ซู ้ือที่ดนิ บางส่วน หรือทงั้ หมด โดยมแี นวทางของกฎหมายในการแก้ไขปญั หานน้ั มีหลักเกณฑ์ท่ีใช้ในการพิจารณาจากสภาพแวดล้อมในพ้ืนท่ีท่ีซึ่งไม่สามารถจะ ด�ำเนินกจิ การทางการเกษตร หรอื ประกอบอาชีพดง้ั เดมิ ไดอ้ ยา่ งเตม็ ประสทิ ธภิ าพ อกี ทง้ั การใหเ้ หตผุ ลทแ่ี ยง้ กบั การบงั คบั ใชก้ ฎหมายอยา่ งเครง่ ครดั หากมกี ารใชบ้ งั คบั แลว้ จะสง่ ผลเสยี มากกวา่ ประโยชนท์ จี่ ะไดร้ บั ตอ่ ทกุ ฝา่ ย หลกั เกณฑต์ า่ งๆ เหลา่ นที้ ่ี ใช้เป็นเหตุผลสนับสนุนแนวทางการแก้ไขปัญหาสามารถสะท้อนให้เห็นถึงมุมมอง ของการใช้มาตรการทางกฎหมายในการส่งเสริมการพัฒนาในพ้ืนท่ี โดยการใช้ มาตรการทางกฎหมายที่มีอยู่หาแนวทางในการแก้ไขซ่ึงอาศัยการสะท้อนความ ต้องการของประชาชนในพ้ืนท่ี เน่ืองจากแนวทางในการพัฒนาในพ้ืนท่ีมีแนวโน้ม จะขยายตวั อยา่ งตอ่ เนอื่ งตามสภาพการขยายตวั ของมหาวทิ ยาลยั พะเยา การบงั คบั ใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัดอาจส่งผลต่อการพัฒนาทั้งในส่วนของพื้นที่รอบบริเวณ มหาวทิ ยาลัยและในส่วนของมหาวิทยาลัยด้วย ประโยชนข์ องชมุ ชนถือวา่ เปน็ สิง่ ที่ สำ� คญั สง่ ผลทำ� ใหเ้ กดิ ความยดื หยนุ่ ในการบงั คบั ใชก้ ฎหมายปรบั เขา้ กบั สถานการณ์ การเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมภายในพื้นที่ ด้วยความมุ่งหวังท่ีจะแก้ ปัญหาในพื้นทีอ่ ย่างแท้จริง 4. การดำ� เนินการบังคบั ใชก้ ฎหมาย ในการจัดการการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นท่ีมีการบังคับใช้กฎหมายในการ จดั การปญั หาการใชท้ ด่ี นิ ในเขตพนื้ ทปี่ ฏริ ปู ทด่ี นิ คอื พระราชบญั ญตั กิ ารปฏริ ปู ทด่ี นิ เพอ่ื เกษตรกรรม พ.ศ.2518 มาตรา 30 วรรคหา้ ประกอบกับประกาศกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ เรอ่ื งก�ำหนดกจิ การทีเ่ ป็นการสนบั สนุนหรอื เก่ยี วเนื่องกับการ ปฏิรูปท่ีดิน ข้อ 1.5 และหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการอนุญาตใช้ท่ีดิน ส�ำหรับกิจการท่ีเป็นการสนับสนุนหรือเกี่ยวเน่ืองกับการปฏิรูปที่ดิน ตามระเบียบ คณะกรรมการปฏิรูปท่ีดิน และมีการร่างข้อก�ำหนดผังเมืองรวมชุมชนบริเวณรอบ 208 “วารสารนิตสิ ังคมศาสตร์ ปที ่ี 8 ฉบบั ท่ี 2/2558 กรกฎาคม-ธันวาคม”
มหาวทิ ยาลยั พะเยา ซงึ่ กล่าวอาจได้วา่ มีการแบ่งระดับการแก้ไขปญั หาออกเป็น 2 ระดับ คือ ระดบั ทีจ่ ะต้องไดร้ ับการแก้ไข และระดบั ในการควบคุมและป้องกันการ ใช้ประโยชน์ที่ดิน ซ่ึงสามารถอธิบายถึงกลไกของกฎหมายในการก�ำหนดแนวทาง ปฏบิ ัตใิ นการใช้ประโยชนใ์ นท่ีดินได้ดงั นี้ 4.1 ระดบั ทจ่ี ะตอ้ งไดร้ ับการแก้ไข 1) มาตรการทางกฎหมายปฏิรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรมเข้ามาแก้ไขปัญหา และก�ำหนดแนวทางปฏิบัติในการใช้ประโยชน์ในที่ดินเพ่ือกิจการท่ีเป็นการ สนบั สนนุ หรอื เกย่ี วเนอ่ื งกบั การปฏริ ปู ทด่ี นิ เพอ่ื เกษตรกรรมโดยการกำ� หนดเขตพนื้ ท่ี เพอื่ การอยอู่ าศยั และเพอื่ ประกอบกจิ การทเ่ี ปน็ การสนบั สนนุ หรอื เกย่ี วเนอื่ งกบั การ ปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรมครอบคลุมพื้นท่ีที่มีการใช้ประโยชน์ในท่ีดินเขตปฏิรูป ทดี่ นิ ในกจิ การตา่ งๆ บรเิ วณโดยรอบมหาวทิ ยาลัยพะเยา 2) กลไกของกฎหมายได้พิจารณาแนวทางปฏิบัติให้แก่ผู้ใช้ประโยชน์ใน ทดี่ นิ ในเขตปฏริ ปู ทดี่ นิ ทม่ี กี ารประกอบกจิ การอนั นอกเหนอื จากการเกษตรกรรมไป แลว้ โดยการใหผ้ ถู้ อื ครองทด่ี นิ ดำ� เนนิ การยนื่ คำ� รอ้ งขอเปลยี่ นแปลงวตั ถปุ ระสงคใ์ น การใชป้ ระโยชนใ์ นทด่ี นิ บางสว่ น หรอื ทงั้ แปลง และใหจ้ ดั ทำ� สญั ญาเชา่ ตามระเบยี บ ของกฎหมาย 3) มาตรการทางกฎหมายไดใ้ หส้ ทิ ธแิ กบ่ คุ คลธรรมดา หรอื นติ บิ คุ คลในการ ร้องขออนุญาตเข้าท�ำประโยชน์ในท่ีดินในเขตปฏิรูปท่ีดินส�ำหรับกิจการท่ีเป็นการ สนับสนุนหรือเก่ียวเน่ืองกับการปฏิรูปที่ดินซ่ึงไม่ได้จ�ำกัดเพียงแค่เกษตรกรเพียง อยา่ งเดียว 4.2 ระดบั ในการควบคมุ และป้องกนั 1) การก�ำหนดเขตพ้ืนที่ในการประกอบกิจการที่เป็นการสนับสนุนหรือ เกย่ี วเนอ่ื งกบั การปฏริ ปู ทด่ี นิ เพอ่ื เกษตรกรรมนอกจากจะมคี วามมงุ่ หมายทจ่ี ะแกไ้ ข ปัญหาการใช้ประโยชน์ในที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินในระดับเร่งด่วนแล้ว มาตรการ กฎหมายกบั สอื่ 209
ก�ำหนดเขตพื้นที่ดังกล่าวยังส่งผลมาถึงแนวทางในการควบคุมอัตราการประกอบ กิจการต่างๆ ในพ้ืนที่เขตปฏิรูปท่ีดินได้อย่างมีประสิทธิภาพ เน่ืองจากพื้นที่ ที่อยู่ในขอบเขตท่ีมีการก�ำหนดครอบคลุมจะต้องอยู่ภายใต้เง่ือนไขในการใช้ ประโยชนใ์ นท่ดี นิ 2) ข้อจ�ำกัดและเง่ือนไขในการขออนุญาตเข้าท�ำประโยชน์ในที่ดินใน เขตปฏริ ปู ทดี่ นิ สำ� หรบั กจิ การทเ่ี ปน็ การสนบั สนนุ หรอื เกย่ี วเนอื่ งกบั การปฏริ ปู ทดี่ นิ เป็นกลไกในการเข้ามาควบคุมกิจการต่างๆ ไม่ให้เกิดข้ึนเกินความจ�ำเป็นหรือไม่ เหมาะสม ซงึ่ จะส่งผลต่อการใชป้ ระโยชนท์ ่ดี นิ ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสดุ เหมาะสมกับ สภาพแวดลอ้ มในพ้นื ท่ี 3) มาตรการทางผังเมืองโดยก�ำหนดขอบเขตบังคับใช้ข้อก�ำหนดผังเมือง รวมชุมชนบริเวณโดยรอบมหาวิทยาลัยพะเยา ซ่ึงมาตรการทางผังเมืองชุมชนดัง กล่าวนี้จะเข้ามามีบทบาทในการควบคุมการใช้ประโยชน์ท่ีดินให้เกิดความเข้มข้น ข้ึนอีกระดับหนึ่งส่งผลให้การก่อสร้างต่างๆ ไม่ลุกล้�ำเข้าไปยังพ้ืนท่ีป่าไม้ พ้ืนที่เชิง อนรุ กั ษ์ หรอื พน้ื ทอี่ น่ื ๆ โดยมาตรการการกำ� หนดแนวทางปฏบิ ตั ใิ นการใชป้ ระโยชน์ ในที่ดินตามข้อก�ำหนดผังเมืองก�ำหนดพ้ืนท่ีในการใช้ประโยชน์ท่ีดินแต่ละประเภท ในบรเิ วณพน้ื ทตี่ า่ งอยา่ งชดั เจน เชน่ พนื้ ทที่ อ่ี ยอู่ าศยั หนาแนน่ นอ้ ย ปานกลาง หนา แน่นมาก พ้นื ทอ่ี นุรกั ษแ์ ละชนบท เปน็ ต้น 5. ปัญหาทางกฎหมายในการใช้ประโยชนใ์ นท่ีดนิ โดยสรุปแล้วจากแนวทางในการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงการใช้ ประโยชน์ในที่ดินในพ้ืนที่บริเวณโดยรอบมหาวิทยาลัยพะเยา ซึ่งโดยสภาพการ เปล่ียนแปลงการใช้ท่ีดินมีองค์ประกอบที่เกิดจากการคิดและใช้เหตุผลทาง เศรษฐศาสตร์ของคนในพ้ืนท่ี การเลือกประกอบกิจการหอพัก หรือกิจการอื่นๆ ทีแ่ สวงหาผลก�ำไร ประกอบกบั สภาพแวดลอ้ มสถาบนั การศึกษาหรือมหาวิทยาลัย 210 “วารสารนติ สิ งั คมศาสตร์ ปที ่ี 8 ฉบับท่ี 2/2558 กรกฎาคม-ธันวาคม”
พะเยามีการขยายตัวอย่างรวดเร็วส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจของคนในพื้นที่ ซงึ่ มที รพั ยากรทด่ี นิ ทมี่ อี ยซู่ ง่ึ การเปลย่ี นแปลงการใชป้ ระโยชนใ์ นทด่ี นิ ในทน่ี ร้ี วมถงึ นกั ลงทนุ ทมี่ าจากแหลง่ อนื่ เพอื่ จะมาลงทนุ ในพน้ื ทท่ี มี่ กี ารพฒั นาทางดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คม ระเบียบข้อบังคับกฎหมายที่เป็นแนวทางปฏิบัติในการแก้ไขปัญหาการใช้ ประโยชนใ์ นทดี่ นิ และการควบคมุ อตั ราการประกอบกจิ การทางเศรษฐกจิ ตา่ งๆ รวม ท้ังมาตรการป้องกันการบุกรุกพื้นที่มาตรการทางกฎหมายเหล่านี้มีลักษณะท่ีส่ง เสรมิ ตอ่ การพฒั นาพนื้ ทมี่ ากกวา่ การควบคมุ ซงึ่ สง่ ผลตอ่ พฤตกิ รรมของคนในพน้ื ท่ี ให้เห็นในงานศึกษาน้ีเก่ียวกับพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินใน พืน้ ทีเ่ ขตปฏริ ปู ที่ดิน และกอ่ ให้เกิดปัญหาทางกฎหมายในการใช้ประโยชน์ในที่ดิน ที่ตามมาดังต่อไปน้ี 5.1 กฎหมายปฏิรปู ทดี่ นิ เพ่อื เกษตรกรรม มาตรการการกำ� หนดเขตพนื้ ทเี่ พอ่ื การอยอู่ าศยั และเพอื่ ประกอบกจิ การที่ เปน็ การสนบั สนนุ หรอื เกยี่ วเนอ่ื งกบั การปฏริ ปู ทด่ี นิ เพอื่ เกษตรกรรมครอบคลมุ พนื้ ท่ี ที่มีการใช้ประโยชน์ในที่ดินเขตปฏิรูปที่ดินในกิจการต่างๆ บริเวณโดยรอบ มหาวทิ ยาลยั พะเยาสง่ ผลตอ่ พฤตกิ รรมการเปลยี่ นแปลงการใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ อยา่ ง ชดั เจน เชน่ การซอื้ ขายทด่ี นิ ในเขตปฏริ ปู ทดี่ นิ สะทอ้ นใหเ้ หน็ ภาพสถานะทางทดี่ นิ ตามกฎหมายทไ่ี มไ่ ดม้ คี วามแตกตา่ งกนั และยงั สามารถสะทอ้ นมมุ มองตอ่ กฎหมาย ของคนในพนื้ ทจี่ ากพฤตกิ รรมการใชป้ ระโยชนใ์ นทด่ี นิ บนกรอบกฎหมายปฎริ ปู ทดี่ นิ ทว่ี างหลกั ไว้ เชน่ การหา้ มซอื้ ขายทดี่ นิ ในเขตปฏริ ปู ทด่ี นิ หรอื แมแ้ ตก่ ารใชป้ ระโยชน์ ในท่ีดินเพ่ือการเกษตรกรรม ซึ่งกรอบกฎหมายเกิดการหยุดน่ิงไม่สามารถที่จะน�ำ มาปรบั ใชก้ บั พฤตกิ รรมของคนในพน้ื ทไ่ี ด้ อกี ทงั้ มาตรการทางกฎหมายทไ่ี ดใ้ หส้ ทิ ธิ แก่บุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคลในการร้องขออนุญาตเข้าท�ำประโยชน์ในที่ดินใน เขตปฏริ ปู ทด่ี นิ สำ� หรบั กจิ การทเ่ี ปน็ การสนบั สนนุ หรอื เกย่ี วเนอ่ื งกบั การปฏริ ปู ทดี่ นิ โดยจัดท�ำสัญญาเช่า ซ่ึงไม่ได้จ�ำกัดเพียงแค่เกษตรกรเพียงอย่างเดียว การให้สิทธิ กฎหมายกบั ส่อื 211
แกบ่ คุ คลหรอื นติ บิ คุ คลในการเขา้ ใชป้ ระโยชนใ์ นทดี่ นิ นอี้ าจจะสง่ ผลกระทบในดา้ น การเข้าถึงการใช้ประโยชน์ในท่ีดินของกลุ่มคนท่ีไม่มีทุนทรัพย์ในการเช่า อีกทั้ง มาตรการดงั กลา่ วนอี้ าจสง่ ผลทำ� ใหเ้ กดิ กลไกทางการตลาดและสรา้ งความชอบธรรม ในการซื้อขายสัญญาเข้าท�ำประโยชนใ์ นทดี่ นิ อาจจะดว้ ยวิธีการยื่นคำ� ขอสละสิทธิ ในการใช้ประโยชน์ในท่ีดินท�ำให้ส้ินสิทธิ และให้ผู้เช่ารายใหม่ย่ืนค�ำขอเข้าใช้ ประโยชนใ์ นทด่ี นิ นน้ั ๆ มาตรการทางกฎหมายปดิ หปู ดิ ตาไมไ่ ดร้ บั รถู้ งึ พฤตกิ รรมอนั เป็นพลวัตในการใช้ประโยชน์ในท่ีดินหรือการด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ เกี่ยวกับที่ดิน ของคนในพน้ื ที่ 5.2 กฎหมายผังเมอื ง มาตรการทางผังเมืองชุมชนบริเวณโดยรอบมหาวิทยาลัยพะเยาที่จะออก มาใช้บังคับนั้นมีการซ้อนกันอยู่กับมาตรการทางกฎหมายปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรมโดยถ้าหากมาตรการกฎหมายนี้ไม่สามารถท่ีจะใช้กับพฤติกรรมของ คนในพ้ืนท่ีได้จะท�ำให้ส่งผลต่อมาตรการทางผังเมืองซึ่งจะไม่สามารถที่จะควบคุม การใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ ใหเ้ ปน็ ไปตามผงั เมอื งไดเ้ นอื่ งจากมแี นวโนม้ หรอื ความเปน็ ไป ได้ถึงพฤติกรรมการใช้ประโยชน์ในที่ดินในพื้นท่ีจะเปล่ียนแปลงไปเป็นพ้ืนที่ เศรษฐกจิ มากกวา่ ทผี่ งั เมอื งชมุ ชนไดก้ ำ� หนดแนวทางการใชพ้ น้ื ทตี่ า่ งๆ ไว้ เชน่ พนื้ ที่ เพอ่ื การอนรุ กั ษแ์ ละสง่ เสรมิ เอกลกั ษณศ์ ลิ ปวฒั นธรรม หรอื พนื้ ทโ่ี ลง่ เพอื่ การรกั ษา คณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม เปน็ ตน้ เมอ่ื มาตรการทางผงั เมอื งทนี่ า่ จะเปน็ มาตรการในการ ควบคุมและป้องกันการใช้ประโยชน์ในที่ดินให้มีความเป็นระเบียบแบบแผนไม่ สามารถท่ีจะใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพย่อมส่งผลต่อทิศทางในการใช้ประโยชน์ใน ทดี่ นิ ของคนในพน้ื ทดี่ ังเช่นมาตรการทางกฎหมายปฏริ ปู ที่ดินเป็นอยู่ 5.3 กฎหมายทอ้ งถ่นิ มาตรการทางกฎหมายปฏริ ปู ทด่ี นิ ทใ่ี ชเ้ ปน็ แนวทางในการแกไ้ ขปญั หาการ ใช้ประโยชน์ในที่ดินในที่ไม่สามารถใช้กับพฤติกรรมของคนในพ้ืนท่ีได้นั้นย่อม 212 “วารสารนติ ิสงั คมศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2/2558 กรกฎาคม-ธนั วาคม”
สะท้อนให้เห็นถึงการขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นท่ีในการเข้ามามีส่วน ในการตดั สนิ ใจ กำ� หนดทศิ ทาง นโยบายและการบรหิ ารจดั การพน้ื ทเี่ พอ่ื การพฒั นา ทอ้ งถนิ่ ของตนเอง โดยรว่ มหาทางออกหรอื การกำ� หนดแนวทางในการแกไ้ ขปญั หา การใช้ประโยชน์ในที่ดินเพ่ือให้ได้ข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็นจากภาคประชาชนโดย กระบวนการกฎหมายทอ้ งถน่ิ ซงึ่ การแกไ้ ขปญั หาในพน้ื ทค่ี วรจะตอ้ งมกี ารทบทวน ถึงมาตรการในการแก้ไขปัญหาการใช้ประโยชน์ในท่ีดินว่าจะมีแนวทางออกเช่นไร เพอื่ ใหเ้ หมาะสมและสอดคลอ้ งกบั สภาพของทอ้ งถน่ิ ผา่ นทางรปู แบบคณะกรรมการ ซงึ่ อาจประกอบไปดว้ ยกรรมการซง่ึ เปน็ ตวั แทนทไ่ี ดร้ บั การเลอื กตง้ั หรอื สรรหาจาก ภาคประชาชนในพ้ืนท่ีเพ่ือเสนอความต้องการต่อผู้แทนของตน น�ำเข้าสู่การ พิจารณาก�ำหนดนโยบายหรือแนวทางต่างๆ และกรรมการท่ีเป็นตัวแทนจากภาค สว่ นต่างๆ เชน่ ส�ำนักงานปฎริ ูปทีด่ ิน มหาวิทยาลยั พะเยา ผงั เมืองและโยธาธิการ เทศบาลต�ำบล เปน็ ตน้ 6. บทสรปุ และข้อเสนอแนะ จากงานศกึ ษาสง่ิ ทสี่ ะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ปญั หาทอี่ าจเกดิ ขนึ้ ภายหลงั จากมกี าร บงั คบั ใชม้ าตรการทางกฎหมาย พฤตกิ รรมการเปลย่ี นแปลงการใชป้ ระโยชนใ์ นทดี่ นิ รวมถงึ พฤตกิ รรมการเปลย่ี นแปลงสทิ ธกิ ารใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ การซอ้ื ขายทด่ี นิ ในเขต ปฏิรูปที่ดิน สะท้อนใหเ้ ห็นถึงมมุ มองของคนในพ้นื ทีท่ ่มี ตี ่อมาตรการทางกฎหมาย ในการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ในทางท่ีมีลักษณะใช้มาตรการทางกฎหมายเสมือนกับ วา่ มาตรการทางกฎหมายสรา้ งความชอบธรรมในการดำ� เนนิ กจิ การตา่ งๆ ทเ่ี ปน็ การ ฝ่าฝืนกฎหมาย หรือในอีกแงห่ นึ่งตัวกรอบของกฎหมายปฏริ ูปที่ดนิ เองไม่สามารถ ใชก้ บั พฤตกิ รรมการใชป้ ระโยชนใ์ นทด่ี นิ ของคนในพน้ื ทไี่ ดท้ งั้ ในเรอื่ งของเจตนารมณ์ ของกฎหมายเอง หรือแม้แต่ในเร่ืองข้อก�ำหนดหรือเง่ือนไขของกฎหมายในการใช้ ประโยชนใ์ นทด่ี ิน เชน่ การห้ามซื้อขายทดี่ ิน บนกรอบของกฎหมายท่ีมีอยูน่ ้นั เกดิ กฎหมายกบั ส่อื 213
การหยุดนิ่ง พฤติกรรมการใช้ประโยชน์ในที่ดินไม่สอดคล้องกับการใช้กฎหมาย ปฏิรูปที่ดินในการแก้ไขปัญหาซึ่งส่งผลต่อการมาตรการกฎหมายผังเมืองท่ีจะมีขึ้น ในอนาคตทำ� ใหไ้ มส่ ามารถใชไ้ ดอ้ ยา่ งเตม็ ประสทิ ธภิ าพได้ อกี ทงั้ พฤตกิ รรมทสี่ ะทอ้ น ถึงกรอบกฎหมายที่หยุดน่ิงยังท�ำให้คุณค่าของกฎหมาย ความศักด์ิสิทธ์ิของ กฎหมายยง่ิ ลดน้อยลงไป ในส่วนนี้ผู้ศึกษาเห็นว่าเพ่ือการแก้ไขปัญหาอย่างแท้จริงและสอดคล้อง กับสภาพแวดล้อมของคนในพ้ืนท่ี ควรมีมาตรการหยิบยกประเด็นการแก้ไข ปัญหาโดยกระบวนการทางกฎหมายปฏิรูปที่ดินมาทบทวนถึงความเหมาะสม ในการบังคับใช้กับพ้ืนที่ผ่านรูปแบบคณะกรรมการซ่ึงประกอบไปด้วยผู้เกี่ยวข้อง ทกุ ภาคสว่ นไดเ้ ขา้ มามสี ว่ นในการตดั สนิ ใจ กำ� หนดทศิ ทาง นโยบายและการบรหิ าร จัดการพ้ืนท่ี ซ่ึงประกอบไปด้วยคณะกรรมการท่ีมีตัวแทนฝ่ายประชาชนอาจจะ โดยการเลือกต้ัง เช่น ผู้ใหญ่บ้าน ผู้น�ำชุมชน หรือกรรมการจากชุมชนท่ีได้จาก การสรรหาเพ่ือเป็นกรรมการในพื้นที่ร่วมเป็นกรรมการ ฝ่ายหน่วยงานภาครัฐ อาทเิ ชน่ คณะกรรมการปฏริ ปู ทด่ี นิ เปน็ ประธานกรรมการ รว่ มกบั สำ� นกั งานปฏริ ปู ทดี่ นิ จงั หวดั รวมไปถงึ นกั วชิ าการทมี่ คี วามเชยี่ วชาญดา้ นพนื้ ท่ี ดา้ นการใชป้ ระโยชน์ ท่ีดิน ด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อมร่วมเป็นกรรมการพิจารณา ท้ังนี้จะเป็นการเปิด โอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน หรือร่วมเสนอแนะทางท่ีน�ำไปสู่ การตัดสินใจ และมีการดำ� เนินกิจกรรมร่วมกนั อย่างต่อเน่อื ง เพ่อื มาตรการในการ ควบคุมและป้องกันการใช้ประโยชน์ที่ดินให้มีประสิทธิภาพเหมาะสมกับการออก เปน็ แนวทางในการแกไ้ ขมาจดั การกบั ปญั หาทกี่ ำ� ลงั เกดิ ขนึ้ ในพน้ื ที่ รวมไปถงึ ปญั หา ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ในสว่ นของมาตรการทางกฎหมาย ผศู้ ึกษามีขอ้ เสนอแนะขอ้ 2 กรณี คือ 1) ในกรณีถ้าหากความมุ่งหมายที่ยังคงต้องการให้พื้นที่ดังกล่าวเป็นพ้ืนท่ีในเขต ปฏริ ปู ทดี่ นิ ควรจะมกี ารออกกฎหมาย หรอื ระเบยี บในการบงั คบั ใชก้ บั พน้ื ทเ่ี ปน็ การ เฉพาะเพื่อไม่ให้ประชาชนในพื้นท่ีอื่นๆ เกิดความสับสนเก่ียวกับการตีความและ 214 “วารสารนติ ิสงั คมศาสตร์ ปที ี่ 8 ฉบบั ท่ี 2/2558 กรกฎาคม-ธนั วาคม”
การบังคับใช้กฎหมาย แม้ว่าโดยเจตนารมณ์ในการแก้ไขปัญหาในพ้ืนที่นั้นจะเป็น ไปในการท่ีสุจริตเป็นไปเพ่ือส่งเสริมการพัฒนาและไม่ขัดขวางความเจริญท่ีจะเข้า มายงั พืน้ ท่กี ต็ าม แตก่ ารบงั คับใชก้ ฎหมายปฏิรูปที่ดนิ เพ่อื เกษตรกรรมในพ้ืนท่เี ชน่ น้ีอาจจะเป็นการบังคับใช้กฎหมายที่ขัดต่อเจตนารมณ์ของกฎหมายที่ต้องการให้ เกษตรกรผู้ยากไร้ไม่มีที่ท�ำกินได้ท�ำการเกษตรในพ้ืนที่นั้นๆ แม้ว่ากฎหมายปฏิรูป ทดี่ นิ เพอ่ื เกษตรกรรมยงั คงมเี จตนารมณท์ จี่ ะกระจายการใชป้ ระโยชนใ์ นทด่ี นิ ไมใ่ ห้ ท่ดี นิ เกดิ ความรกร้างไมม่ ีการใชป้ ระโยชนอ์ ยู่ด้วยกต็ าม และ 2) เมื่อพจิ ารณาจาก สภาพปญั หาในพน้ื ทกี่ บั การปรบั ใชก้ ฎหมายปฏริ ปู ทดี่ นิ เพอ่ื เกษตรกรรมในการแกไ้ ข ปญั หาในพน้ื ท่ี แนวทางของกฎหมายในการจดั การการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ มลี กั ษณะ ทมี่ งุ่ การสง่ เสรมิ การใชพ้ น้ื ทมี่ ากกวา่ การควบคมุ และปอ้ งกนั การใชป้ ระโยชนใ์ นทดี่ นิ ท�ำให้สะท้อนให้เห็นถึงพฤติกรรมการใช้ประโยชน์ในที่ดินของคนในพ้ืนท่ีมีมุมมอง ต่อกฎหมาย กฎหมายปฏิรูปที่ดินไม่สามารถใช้ได้กับพฤติกรรมของคนในพื้นที่ได้ ซ่ึงอาจจะต้องมีการทบทวนถึงมาตรการทางกฎหมายปฏิรูปท่ีดินว่าเป็นการแก้ไข ปัญหาถูกท่ีถูกทางหรือไม่ แนวทางในการเพิกถอนสถานะที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดิน และใชแ้ นวทางกฎหมายผงั เมอื งรวมชมุ ชนโดยรอบมหาวทิ ยาลยั พะเยาอาจจะเปน็ แนวทางแกไ้ ขปัญหาท่ีตรงจดุ มากกว่า กฎหมายกับส่อื 215
บรรณานกุ รม หนงั สอื ณตมณยี ์ อสู่ วุ รรณทมิ . การเปลย่ี นแปลงการใชท้ ดี่ นิ ของชมุ ชนรอบมหาวทิ ยาลยั แมฟ่ า้ หลวง จงั หวดั เชยี งราย ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการจดั การ มนุษยก์ บั สง่ิ แวดลอ้ ม มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม,่ 2548. นิพนั ธ์ วิเชยี รนอ้ ย.การผังเมืองและการใช้ประโยชน์ที่ดนิ ในประเทศไทย (Urban Land Use Planning in Thailand).วารสารกรมโยธาธิการและผงั เมือง ฉบบั ที่ 29 (กันยายน 2552):27-38. ปรญิ ญา จติ รการนทกี จิ . ปญั หากฎหมายในการปฏบิ ตั ใิ หเ้ ปน็ ไปตามผงั เมอื งรวม นติ ศิ าสตรม์ หาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลัยรามค�ำแหง, 2537. มณีรัฐ เขมะวงค์. มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับผังเมืองเพ่ือการพัฒนาอย่าง ยงั่ ยนื นติ ศิ าสตรมหาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั แม่ฟา้ หลวง, 2555. รายงานการประชุมคณะอนุกรรมการตรวจสอบพื้นที่เพื่อกันแนวเขตเศรษฐกิจ บริเวณหน้า มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขตสารสนเทศพะเยา ต�ำบลแมก่ า อ�ำเภอเมือง จงั หวัดพะเยา ครั้งท่ี 1/2547 วนั ท่ี 16 มนี าคม 2547 ณ ห้องประชมุ เวียงลอ (ช้ัน 5) ศาลากลางจังหวัดพะเยา. รายงานการประชุมคณะอนุกรรมการตรวจสอบพื้นที่เพื่อกันแนวเขตเศรษฐกิจ บรเิ วณหนา้ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร เพ่อื จดั เป็นท่ดี นิ ชุมชนพ้ืนทเี่ ขตปฏิรูป ครง้ั ที่ 2/2547วนั ท่ี 14 มถิ นุ ายน 2547ณ หอ้ งประชมุ สำ� นกั งานปฏริ ปู ทด่ี นิ จังหวดั พะเยา. วิตยิ า ปิดตังนาโพธ์ิ. รายงานวิจยั ฉบับสมบรู ณ์ โครงการผลกระทบจาการขยาย ตวั ของมหาวทิ ยาลยั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงพนื้ ทช่ี มุ ชนโดยรอบ กรณศี กึ ษา มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก. ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการ วจิ ัย(สกว.), 2555. 216 “วารสารนติ สิ ังคมศาสตร์ ปที ่ี 8 ฉบับที่ 2/2558 กรกฎาคม-ธนั วาคม”
ศิรนิ ภา อภิญญาวัชรกุล. นิติสำ� นึกของเกษตรกรผูซ้ ้อื และขายที่ดิน ส.ป.ก.4-01 ในตำ� บลบา้ นชา้ ง อำ� เภอ แมแ่ ตง จงั หวดั เชยี งใหม่ วทิ ยานพิ นธน์ ติ ศิ าสตร มหาบณั ฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม,่ 2554. ส�ำนักงานปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรมจังหวัดพะเยา. ข้อกฎหมายประกอบการ พิจารณาการอนุญาตให้ใช้ท่ีดินเพ่ือกิจการสนับสนุนหรือเกี่ยวเน่ืองกับ การปฏิรูปท่ีดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.2518 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2519 และแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ.2532, 2556. ส�ำนักงานปฏิรูปที่ดินจังหวัดพะเยา. โครงการปฏิบัติงานเพื่อแก้ไขปัญหาการ เปล่ียนแปลงสิทธิและการท�ำประโยชน์ในที่ดินตามความเจริญของการ พัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมแห่งชุมชนท้องถ่ินในเขตปฏิรูปท่ีดิน กรณี พ้ืนที่เขตปฏิรูปที่ดินโดยรอบมหาวิทยาลัยพะเยา อ�ำเภอเมือง จงั หวดั พะเยา ปงี บประมาณ 2556(15 พฤษภาคม 2556 – 14 สงิ หาคม 2556). ส�ำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดพะเยา. เอกสารประกอบการประชุม คณะอนุกรรมการผังเมืองเพือ่ พิจารณาผังเมอื ง เร่อื ง ผังเมืองรวมชมุ ชน บริเวณโดยรอบมหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา.ในการประชุม คณะอนุกรรมการผังเมืองเพื่อพิจารณาผังเมืองครั้งที่ 3/2553 วันท่ี 18 มนี าคม 2553 เวลา 13.30 น. ณ ห้องประชมุ กรมโยธาธิการและผงั เมือง 1201 อาคาร 1 ชัน้ 2 ถนนพระราม 9. ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลแม่กา : ข้อมูลพ้ืนฐานเทศบาลต�ำบลแม่กา พ.ศ.2558 [ระบบออนไลน]์ , แหล่งทมี่ า: http://www.maekalocal.com/ กฎหมายกบั ส่อื 217
การสมั ภาษณ์ สัมภาษณ์ผู้ประกอบกิจการหอพักเขตพื้นที่เป็นท่ีดินที่มีเอกสาร แสดงกรรมสิทธ์ิในท่ีดิน นางสาวเอ (นามสมมติ) สถานประกอบการต้ังอยู่ใน หมู่ท่ี 16 ตำ� บลแม่กา อำ� เภอเมือง จงั หวัดพะเยา สมั ภาษณเ์ มือ่ วนั ที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2558 ณ มหาวทิ ยาลยั พะเยา ตำ� บลแม่กา อ�ำเภอเมือง จังหวัดพะเยา สัมภาษณ์ผู้ประกอบกิจการหอพักในพ้ืนท่ีเขตปฏิรูปท่ีดินนางสาว อี (นามสมมต)ิ สถานประกอบการตง้ั อยทู่ างเขา้ อา่ งเกบ็ นำ�้ แมต่ ำ�๋ วนั ท่ี 22 เมษายน พ.ศ.2558 ณ มหาวทิ ยาลัยพะเยา ต�ำบลแมก่ า อำ� เภอเมอื ง จงั หวัดพะเยา 218 “วารสารนติ สิ งั คมศาสตร์ ปที ี่ 8 ฉบบั ท่ี 2/2558 กรกฎาคม-ธันวาคม”
กฎหมายกับส่อื 219
ค�ำ แนะน�ำ การจดั ท�ำ ตน้ ฉบบั บทความเพอ่ื พจิ ารณาตพี มิ พ์ในวารสารนติ สิ งั คมศาสตร์ วารสารนติ สิ งั คมศาสตร์ มกี ำ� หนดออกปลี ะ 2 ฉบบั ฉบบั ที่ 1 มกราคม – มถิ นุ ายน และฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธนั วาคม 1. ประเภทของเรอ่ื งท่จี ะตีพิมพ ์ 1) รายงานการวจิ ยั ทางดา้ นนิตศิ าสตร์เปน็ บทความวจิ ยั 2) บทความวชิ าการทางดา้ นนิตศิ าสตรเ์ ปน็ บทความ 3) บทความวจิ ารณห์ นงั สอื หรอื บทความปรทิ รรศน์ 2. รปู แบบการเขยี นบทความ รายงานการวิจัย บทความวิชาการ ทางด้านนิติศาสตร์ ควรมีความยาวตั้งแต่ 5,000 ค�ำ แตไ่ ม่ควรเกินกวา่ 15,000 คำ� (จำ� นวนคำ� ถอื ตามการนบั จ�ำนวนค�ำใน Microsoft Word) หรอื จ�ำนวนหน้า ตัง้ แต่ 15 หน้า แตไ่ ม่ควรเกิน 30 หนา้ (ไมร่ วมบรรณานุกรม ภาพ ประกอบ และคำ� บรรยายภาพ) ลงในกระดาษ A4 ระยะหา่ งจากขอบกระดาษ ทั้งด้านบน ด้านลา่ ง ดา้ นซ้าย และดา้ นขวา 2.54 เซนติเมตร แบบอกั ษร Cordia New ขนาด 16 Point ภาพประกอบความละเอยี ดท่ี 300 Pixel/High Resolution ขนาดไฟลไ์ มต่ ่�ำกวา่ 500 KB และมีข้อมูลตามลำ� ดับตอ่ ไปนี้ 1) บทคดั ยอ่ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ 2) ช่อื -นามสกุล ต�ำแหนง่ ตำ� แหน่งทางวิชาการ หนว่ ยงานที่สงั กัด ทงั้ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ 3) หวั ขอ้ เร่ือง 4) เนือ้ หา 5) การจัดองค์ประกอบ สามารถจดั ไดต้ ามความเหมาะสม 6) เชงิ อรรถและบรรณานุกรม 3. การเตรียมต้นฉบับ 1) เอกสารบทความวิชาการ/วิจัย (ตามขอ้ 2) จ�ำนวน 2 ชดุ พรอ้ มแบบนำ� ส่ง ต้นฉบับ จ�ำนวน 1 ชุด 220 “วารสารนิตสิ งั คมศาสตร์ ปที ่ี 8 ฉบบั ท่ี 2/2558 กรกฎาคม-ธันวาคม”
2) ซดี -ี รอม จำ� นวน 1 แผ่น ประกอบด้วย ก. ไฟล์บทความ นามสกุล .doc หรือ .docx ข. ไฟล์ภาพประกอบ นามสกุล .jpg, jpeg หรือ RAW หรือ TIFF ความละเอียด 300 Pixel / High Resolution ขนาดไฟล์ไมต่ ำ่� กวา่ 500KB 4. การจัดส่ง กองบรรณาธิการวารสารนิติสงั คมศาสตร์ ส่งท่ี: คณะนิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ 239 ถนนหว้ ยแกว้ ตำ� บลสุเทพ อ�ำเภอเมอื ง จงั หวดั เชยี งใหม่ 50200 โทรศพั ท์ 0-5394-2921 โทรสาร 0-5321-2914 หรือ e-mail : [email protected] สง่ บทความออนไลน์ : www.law.cmu.ac.th/ojs/index.php/CMUJLSS 5. การพิจารณาบทความ กองบรรณาธิการจะท�ำหน้าที่พิจารณากล่ันกรองบทความและจะแจ้งผลการ พิจารณาให้ผู้ส่งบทความทราบภายใน 1 เดือน นับต้ังแต่วันที่ได้รับบทความ ท้ังน้ี กอง บรรณาธิการจะทำ� หนา้ ทปี่ ระสานงานกบั ผ้สู ง่ บทความในทกุ ข้นั ตอน กองบรรณาธิการจะด�ำเนินการจัดรูปแบบของบทความให้เป็นระบบเดียวกันทุก บทความก่อนน�ำเสนอให้ผทู้ รงคุณวฒุ ิ (peer review) พจิ ารณา จากนัน้ จงึ ส่งบทความที่ ได้รับการพิจารณาในเบ้ืองต้นให้กับผู้ทรงคุณวุฒิ (peer review) จ�ำนวน 2 ท่าน เป็นผู้ พจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบในการตพี มิ พเ์ ผยแพรบ่ ทความ โดยใชเ้ วลาพจิ ารณาแตล่ ะบทความ ไมเ่ กนิ 1 เดือน ผลการพจิ ารณาของผ้ทู รงคณุ วฒุ ิดังกล่าวถือเปน็ สิน้ สุด จากน้นั จึงสง่ ผล การพจิ ารณาของผทู้ รงคณุ วฒุ ใิ หผ้ สู้ ง่ บทความ หากมกี ารแกไ้ ขหรอื ปรบั ปรงุ ใหผ้ สู้ ง่ บทความ แกไ้ ขและนำ� สง่ กองบรรณาธกิ ารภายในระยะเวลา 15 วนั นบั ตงั้ แตว่ นั ทไ่ี ดร้ บั ผลการพจิ ารณา กองบรรณาธกิ ารนำ� บทความทผ่ี า่ นการพจิ ารณาและแกไ้ ขแลว้ เขา้ สกู่ ระบวนการ เรียบเรยี งพิมพแ์ ละการตพี มิ พ์ โดยใช้ระยะเวลาดำ� เนินการประมาณ 1-2 เดอื น ผสู้ ง่ บทความจะไดร้ บั “วารสารนติ สิ งั คมศาสตร”์ จำ� นวน 2 เลม่ เปน็ การตอบแทน ภายใน 1 เดือนนับตั้งแตว่ ารสารนิติสงั คมศาสตร์ได้รับการเผยแพร่ และผ้สู ่งบทความจะได้ รับค่าตอบแทนตามความเหมาะสม กฎหมายกับสื่อ 221
6. การอ้างเอกสาร การอา้ งองิ เอกสารในเนอ้ื เรอ่ื งใชร้ ะบบเชงิ อรรถของวารสารนติ สิ งั คมศาสตร์ มหี ลกั เกณฑ์ ดงั น้ี การอา้ งองิ แบบเชงิ อรรถ (footnote citation) วธิ กี ารอา้ งองิ แบบนเี้ ปน็ การอา้ งองิ โดยแยกส่วนเน้อื หากบั การอ้างองิ ออกจากกนั แต่อยู่ภายในหนา้ เดียวกนั โดยให้การอ้างอิง อยสู่ ว่ นลา่ งของหนา้ กระดาษ มเี สน้ ขดี คน่ั ขวางประมาณ 1/3 ของหนา้ กระดาษ เนอ้ื หาสว่ น ทต่ี ้องการอ้างให้ลงหมายเลขก�ำกบั เรียงล�ำดบั ตามล�ำดบั การอ้าง 1) รูปแบบอา้ งอิงแบบเชงิ อรรถ 1.1 การอ้างองิ สำ� หรับเอกสาร สิ่งพิมพ์ หนังสือ ตำ� รา งานวิจัย รูปแบบ 1 ผแู้ ตง่ ,/ชื่อเรื่อง,/สถานทพ่ี มิ พ:์ / สำ� นกั พิมพ์,/ปีท่พี มิ พ,์ /หนา้ /เลขหน้า. 1.2 การอา้ งอิงส�ำหรบั บทความวารสารใชร้ ปู แบบเดยี วกบั บรรณานุกรม รูปแบบ 1 ผ้แู ต่ง,/“ชอ่ื บทความ”,/ช่ือวารสาร,/ปีท่ี (ฉบับท่)ี / :/หน้า;/วาระทอี่ อก. 1.3 การอ้างอิงส�ำหรบั บทความหนงั สือพมิ พ์ รปู แบบ 1 ผูแ้ ตง่ ,/ “ชือ่ บทความ”/ชื่อหนังสอื พมิ พ์,/;วนั ท่ี เดือน ปที ีอ่ อก./หน้าท.ี่ 1.4 การอา้ งอิงแบบเชิงอรรถจากการสมั ภาษณ์ รูปแบบ 1 ชื่อ นามสกุลผ้ทู ใ่ี หส้ ัมภาษณ์,/ตำ� แหน่ง (ถา้ มี),/วนั ทส่ี ัมภาษณ์. 2 ข้อก�ำหนดการอา้ งอิงซ�ำ้ การอา้ งองิ แบบเชงิ อรรถนม้ี รี ปู แบบสำ� หรบั การอา้ งองิ ซำ�้ ในกรณที เ่ี คยอา้ งมาแลว้ และเรยี บเรยี งไวใ้ นหนา้ เดียวกนั มี 2 วธิ ี ดงั น้ี วิธีที่ 1 เรอ่ื งเดยี วกนั = Ibid. (มาจากคำ� เตม็ ภาษาละตนิ วา่ Ibidem) ใชใ้ นกรณี อา้ งอิงซำ�้ ติดกัน ไมม่ ีเชงิ อรรถอน่ื คั่น วิธีท่ี 2 “ชื่อผู้แตง่ , ชอื่ หนังสือ, เลขหนา้ ” ใชใ้ นกรณที อ่ี า้ งองิ ซ�ำ้ ไม่ติดกัน โดยมี เชงิ อรรถอ่ืนคน่ั และไมไ่ ด้อ้างหนา้ เดมิ 222 “วารสารนิตสิ ังคมศาสตร์ ปีท่ี 8 ฉบับที่ 2/2558 กรกฎาคม-ธันวาคม”
7. การเขยี นบรรณานกุ รม เอกสารอา้ งองิ ทกุ เรอื่ งทปี่ รากฏในรายการอา้ งองิ ใหน้ ำ� มาเขยี นเปน็ บรรณานกุ รม ทุกรายการ มีหลักเกณฑ์ดังน้ี 1) จดั ทำ� รายการสงิ่ พมิ พภ์ าษาไทยกอ่ น ตามดว้ ยรายการสง่ิ พมิ พภ์ าษาตา่ งประเทศ 2) การอา้ งองิ ที่เปน็ ตัวเลขใช้เลขอารบิกทุกกรณี 3) เรียงลำ� ดับตามตวั อักษรของผู้แต่ง ก. เขียนช่อื ทุกคนท่รี ว่ มเขียนเอกสารภาษาไทย ให้เขียนชอ่ื ทุกคนเรยี ง กันไป ค่นั ดว้ ยจลุ ภาค (,) ข. คนสดุ ทา้ ยให้เชื่อมดว้ ย “และ” เช่น วัลลภ สนั ติประชา, ขวัญจติ ร สนั ตปิ ระชา, และชศู กั ด์ิ ณรงคเ์ ดช. ค. เอกสารทมี่ ผี เู้ ขยี นชดุ เดยี วกนั ใหเ้ รยี งลำ� ดบั ตามปี จากปที พี่ มิ พก์ อ่ น- ปที ี่พมิ พ์หลงั ต่อๆ มา แต่หากเป็นปีเดียวกนั ให้ใส่ ก ข ค กำ� กับไวท้ ี่พุทธศกั ราช หรือ A B C กำ� กบั ไวท้ ค่ี รสิ ตศ์ กั ราชโดยเรยี ง ตามลำ� ดบั ของเลม่ ทพ่ี มิ พก์ อ่ น-หลงั และตามลำ� ดบั ตวั อกั ษร ของชอื่ เร่ืองส�ำหรับชอื่ เรื่องให้ใชต้ ัวเอน ง. ช่อื ผู้แตง่ ในรายการถัดจากรายการแรกใหแ้ ทนชื่อผเู้ ขยี นด้วยการขีด เสน้ ใต้ จ�ำนวน 16 เคาะ (8 ตัวอักษร) ตามดว้ ยจดุ (.) จ. บรรณานกุ รมที่มคี วามยาวเกิน 1 บรรทดั ในการพมิ พ/์ เขยี นบรรทัด ที่ 2 ให้เย้ืองเขา้ ประมาณ ½ นว้ิ 4) ชอื่ เรอ่ื งหนงั สอื ชอื่ บทความ ชอื่ วารสารภาษาตา่ งประเทศ ใหข้ นึ้ ตน้ ดว้ ยอกั ษร ตัวพมิ พ์ใหญท่ ุกค�ำ ยกเว้นคำ� บรุ พบทและสนั ธาน 5) หากไมป่ รากฏเมอื งทีพ่ ิมพ์ ส�ำนักพมิ พ์ ให้ใชค้ �ำว่า ม.ป.ท. หรอื n.p. หากไม่ ปรากฏปีท่ีพมิ พ์ใหใ้ ช้ค�ำว่า ม.ป.ป. หรือ N.d. 6) ในกรณีไมม่ ีช่อื ผู้แตง่ ผรู้ วบรวม ผแู้ ปล หรือบรรณาธิการ ใหล้ งรายการชอื่ เร่อื งแทน 7) ลำ� ดับการเขียนและเคร่ืองหมายวรรคตอนให้ใชด้ ังนี้ กฎหมายกบั สือ่ 223
หนังสือ (1) ผแู้ ตง่ 1 คน ไทย ชอ่ื //สกุล./(ปีพิมพ์)./ชอ่ื เรอื่ ง/(พมิ พ์ครัง้ ที่)./สถานทพ่ี มิ พ:์ /ส�ำนักพิมพ์. อังกฤษ สกุล,/อกั ษรยอ่ ชื่อ./(ปพี มิ พ์)./ชอื่ เร่อื ง./(พมิ พค์ รง้ั ที.่ )./สถานทีพ่ มิ พ:์ /สำ� นักพมิ พ.์ (2) ผูแ้ ตง่ 2 คน ไทย ชื่อ//สกุล/และ/ช่ือ//สกุล./(ปีพิมพ์)./ช่ือเรื่อง/(พิมพ์ครั้งที่)./สถานท่ีพิมพ์:/ ///////ส�ำนกั พมิ พ์. อังกฤษ สกุล,/อักษรย่อช่ือ.,/&/สกุล,/ช่ือ./(ปีพิมพ์)./ช่ือเรื่อง./(พิมพ์ครั้งท่ี)./สถานที่/ //////พิมพ:์ /ส�ำนกั พิมพ.์ **ถา้ ผแู้ ตง่ มากกวา่ 3 คน ใหม้ เี พยี งชอื่ ผแู้ ตง่ คนแรก เวน้ วรรค แลว้ ตามดว้ ย “และอนื่ ๆ”หรอื et al** บทความบรรณาธกิ าร ไทย ชื่อ//สกุล./(ปีพมิ พ์)./ช่อื บทความ./ใน/ช่อื //สกุลบรรณาธิการ/ (บ.ก.),/ช่ือหนังสือ/ ///////(เลขหนา้ )./สถานท่พี ิมพ์:/สำ� นักพิมพ์. อังกฤษ สกลุ ,/อกั ษรยอ่ ชื่อ./(ปีพมิ พ์)./ชือ่ บทความ./In/สกลุ ,/ช่ือ./(Ed. หรือ Eds.),/ ///////ชือ่ หนงั สือ/(เลขหนา้ )./สถานทีพ่ มิ พ์:/ส�ำนกั พมิ พ์. วารสาร ไทย ชอ่ื //สกลุ ./(ปพี มิ พ)์ ./ชอ่ื บทความ./ชอื่ วารสาร,/เลขของปที (ี่ เลขของฉบบั ท)ี่ ,/เลขหนา้ . องั กฤษ สกลุ ,/อักษรย่อชอื่ ./(ปีพิมพ)์ ./ชื่อบทความ./ชื่อวารสาร,/เลขของปีท่ี(เลขของฉบับท)่ี ,/ ///////เลขหน้า. หนังสือพิมพ์ ไทย ช่อื //สกุล./(ปี,/วนั /เดือน)./ชอ่ื คอลัมน์./ชือ่ หนังสือพิมพ์,/เลขหนา้ . อังกฤษ สกลุ ,/อักษรย่อชอื่ ./(ปี,/เดอื น/วัน)./ช่อื คอลมั น์./ช่ือหนงั สอื พมิ พ์,/เลขหน้า. วทิ ยานพิ นธ์ ไทย ชื่อ//สกุล./(ปที ี่เผยแพร่)./ชอ่ื วิทยานิพนธ.์ /ระดบั ปรญิ ญา,/ชอื่ สาขาวิชาหรอื ///////ภาควิชา/คณะ/ชอื่ มหาวิทยาลยั . องั กฤษ สกุล,/อักษรย่อชื่อ./ชื่อวิทยานิพนธ์/(ระดับปริญญา)./ชื่อสาขาวิชาหรือภาควิชา/ ///////คณะ/ช่อื มหาวิทยาลัย. 224 “วารสารนติ ิสงั คมศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบบั ท่ี 2/2558 กรกฎาคม-ธนั วาคม”
เวบ็ ไซต์ ไทย ช่ือ//สกลุ ผู้เขยี น./(ปที ่เี ผยแพร่)./ช่อื บทความ./สืบค้นวนั ท่ี/xx/เดือน/ป,ี /จาก/URL องั กฤษ สกลุ ,/อักษรย่อชือ่ ผู้เขยี น./(ปีทเ่ี ผยแพร่)./ชอื่ บทความ./Retrieved/เดอื น/วัน,/ป,ี ///////from/URL การสมั ภาษณ์ ไทย ชอ่ื //สกลุ ./(ป,ี /วัน/เดอื น)./สัมภาษณโ์ ดยชือ่ /สกุล./ต�ำแหน่ง (ถ้ามี),/สถานที.่ อังกฤษ สกลุ ,/อกั ษรย่อชื่อ./(ปี,/วนั /เดอื น)./Interviewed by/อกั ษรย่อชอื่ ./สกลุ / ///////[วธิ กี ารบันทึก]./ต�ำแหนง่ ของผถู้ กู สัมภาษณ,์ /เมอื ง กฎหมายกับส่อื 225
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227