Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสาร-นิติสังคมศาสตร์ ป.10 ฉ.2

วารสาร-นิติสังคมศาสตร์ ป.10 ฉ.2

Published by E-books, 2021-03-15 06:22:03

Description: วารสาร-นิติสังคมศาสตร์ ป.10 ฉ.2

Search

Read the Text Version

วารสารนติ สิ ังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ ปีที่ 10 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 ระหวา่ ง 20-25 ปเี ทา่ นน้ั 3 เพราะระบบการเกณฑท์ หารนเี่ อง ทำ� ใหป้ ระเทศฝรงั่ เศสมที หารในขณะ นั้นนับล้านนาย ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการสร้างชาติมหาอ�ำนาจด้วยการสร้างกองก�ำลังทางทหาร จากนัน้ ระบบการเกณฑท์ หารไดแ้ พร่ขยายใน ปรัสเซียภายใตก้ ษตั ริย์ Friedrich Wilhelm ที่ 3 ในปี 1814 ได้ออกกฎหมายเกณฑ์ผู้ชายทุกคนอย่างไม่มีเง่ือนไขให้มาเป็นทหาร หลังจากนั้นการ เกณฑ์ทหารก็ขยายไปยังประเทศอ่ืน ๆ ในภูมิภาคยุโรปและภูมิภาคอ่ืน ๆ ทั่วโลก ทั้งนี้ ในช่วง สงครามโลกครงั้ ทหี่ นง่ึ ครงั้ ทสี่ อง และ ชว่ งสงครามเยน็ การเกณฑท์ หารถอื วา่ เปน็ สงิ่ ทเ่ี กดิ ขนึ้ อยา่ ง แพรห่ ลายในประเทศตา่ ง ๆ แตท่ วา่ ภายหลงั ยคุ สงครามเยน็ ประเทศจำ� นวนมากไดย้ กเลกิ การเกณฑ์ ทหาร โดยอาศยั ระบบสมคั รทหารแบบสมคั รใจแทน (volunteer system)4 นักวิชาการบางสว่ น ใหเ้ หตผุ ลถงึ ขอ้ ดขี องการเกณฑท์ หารวา่ การเกณฑท์ หารเปน็ ประชาธปิ ไตยอยา่ งสำ� คญั เพราะผชู้ าย ทุกคนต้องมีความรับผิดชอบตามกฎหมายท่ีต้องถูกเรียกให้ไปรบ5 นอกจากน้ี การเกณฑ์ทหารยัง สัมพันธก์ บั ความเป็นพลเมืองทีไ่ ดผ้ นวกสทิ ธแิ ละหนา้ ทบ่ี งั คับ (obligation) ใหป้ ระชาชนทีม่ ีต่อรัฐ การเกณฑท์ หารมใิ ชเ่ ปน็ เรอ่ื งความสำ� คญั ตอ่ กองทพั เทา่ นนั้ แตย่ งั เปน็ การแสดงออกถงึ ความรกั ชาติ ซ่ึงคุณลักษณะน้ีส�ำคัญต่อการอยู่รอดของชาติ การเกณฑ์ทหารยังเป็นการวัดระดับความสามารถ การบริหารของรัฐ (administrative capabilities) ในการคัดคน ฝึกฝน และจัดสรรวัสดุอาวุธ จ�ำเป็นให้6 กระนั้นก็ตาม การเกณฑ์ทหารก็เผชิญกับความย้อนแย้งต่อหลักการเสรีนิยมนับตั้งแต่ ความคิดของโทมัส ฮอบส์ จอห์น ล็อค ฯลฯ เรื่อยมาในแง่ทฤษฎีสัญญาประชาคมท่ีว่า พลเมือง จ�ำเป็นต้องสละซึ่งสิทธิเสรีภาพบางประการเพื่อแลกมาด้วยการปกป้องคุ้มครองชีวิตและทรัพย์สิน จากรัฐ แต่การเกณฑท์ หารท�ำในส่งิ ตรงข้าม เพราะเป็นการเรยี กร้องให้พลเมอื งตอ้ งพร้อมเสียสละ ชวี ิตเพอื่ รัฐ7 เนอ้ื หาถัดไปผู้เขยี นจะกลา่ วถงึ พฒั นาการการเกณฑ์ทหารในสังคมไทย 3. พฒั นาการการเกณฑท์ หารในสงั คมไทย พระราชบญั ญตั กิ ารเกณฑท์ หาร ร.ศ. 124 (พ.ศ. 2448) ถอื วา่ เปน็ กฎหมายการเกณฑท์ หาร ทีเ่ กิดข้นึ ฉบบั แรกในสงั คมไทย โดยมีเปา้ หมายเพ่ือให้ได้ทหารจ�ำนวนมากพอประจำ� การและมีการ 3 จารพุ ล พงษส์ รุ ยิ า, พนั ตร,ี “มาตรการในการแกไ้ ขการเกณฑท์ หาร ตามพระราชบญั ญตั ริ าชการทหารพ.ศ.2497,” วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญานิตศิ าสตรมหาบณั ฑิต บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยรามค�ำแหง, 2546, หนา้ 20. 4 Panu Poutvaara and Andreas Wagener, The Political Economy of Conscription [online], 2009. Retrieve from https://pdfs.semanticscholar .org/feb9/e7c857868f1c561adc8574c4ec11f52d9983.pdf 5 ตน้ ฉบับภาษาอังกฤษคือ “conscription is essentially democratic because every male (in theory, although rarely in practice) is liable to be called on to fight” โปรดดู James J. Sheehan, “The Future of Conscription: Some Comparative Reflections,” Daedalus 140, (2011): 113. 6 Ibid. 7 Margaret Levi, “The Institution of Conscription,”:, 134. 50

การเกณฑ์ทหารกับการทรมาน และการละเมิดสิทธมิ นุษยชนต่อทหารเกณฑ์ในประเทศไทย: บทวิเคราะห์จากมมุ มองหนังสือรัฐศาสตร์ไม่ฆา่ ฝกึ หดั ระเบยี บวนิ ยั ตามแบบอยา่ งกองทพั ของประเทศตะวนั ตก พระราชบญั ญตั ฉิ บบั นนี้ บั วา่ เปน็ การ เปล่ยี นแปลงวธิ คี ุมกำ� ลงั คนครัง้ ยง่ิ ใหญ่ในประเทศไทย ซ่ึงเปน็ ผลมาจากการยกเลิกระบบไพร-่ ทาส กล่าวคือ แตเ่ ดมิ ประชาชนจะขึ้นตอ่ รฐั บ้างหรือตอ่ มลู นายบา้ ง แตพ่ ระราชบญั ญัตกิ ารเกณฑ์ทหาร เปน็ การนำ� คนทงั้ หมดมาขน้ึ โดยตรงตอ่ กษตั รยิ ์ ทกุ คนกลายเปน็ คนทสี่ ามารถทำ� อะไรกไ็ ดต้ ามสถานะ และความสามารถของตนเอง หากเป็นชายตอ้ งเข้ารบั การเกณฑท์ หาร โดยมีการก�ำหนดระยะเวลา ประจ�ำการ เงินเดอื นและขอ้ ยกเว้นของผู้ทีไ่ ม่ต้องถกู เกณฑ์ไวใ้ ห8้ อนึ่ง การรับราชการทหารตามพระราชบัญญัติข้างต้นได้รับการยกเว้นการรับราชการ มากมายใหแ้ ก่เชือ้ เจ้าและ กรณอี ื่น ๆ ต่อมา ในสมยั รชั กาลท่ี 6 ไดท้ รงประกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั ิ การเกณฑท์ หาร พ.ศ. 2460 ขน้ึ มาแทน พระองคม์ ดี ำ� รวิ า่ พระราชบญั ญตั ฉิ บบั กอ่ นมขี อ้ ยกเวน้ มาก เกินไป และ พลเมืองชายจ�ำนวนมากที่สุดเท่าที่จะมากได้ควรได้รับการเข้ารับการฝึกทหาร ต่อมา ภายหลงั เปลย่ี นแปลงการปกครองในปี 2475 ได้มีการตราพระราชบัญญตั ิการเกณฑท์ หาร พ.ศ. 2475 เพอ่ื แกไ้ ขเปลยี่ นแปลงขอ้ ความใหม้ คี วามเหมาะสมกบั สภาพการณห์ ลงั เปลยี่ นแปลงการ ปกครองจากสมบูรณาญาสิทธริ าชยม์ าเป็นระบอบการปกครองประชาธิปไตย และต่อมามกี ารตรา พระราชบญั ญตั ลิ กั ษณะเกณฑท์ หาร พ.ศ. 2479 เพ่ือวางหลักการเกย่ี วกับการรับราชการทหารให้ มีความทันสมยั ข้นึ พระราชบญั ญตั ฉิ บบั ตอ่ มาทย่ี งั คงถกู ใชถ้ งึ ปจั จบุ นั คอื พระราชบญั ญตั ริ บั ราชการทหารกอง ประจ�ำการพ.ศ. 2497 โดยระบใุ หช้ ายไทยที่มอี ายุ 18 ปี ไปขน้ึ ทะเบยี นทหารไวท้ อี่ ำ� เภอ และเม่ือ ถึงอายุ 21 ปี จะมีหมายเรียกให้เขา้ รบั การตรวจ และคัดเลือกเข้าเปน็ ทหารเกณฑ์ โดยการตรวจ รา่ งกายและจบั สลาก ผ้ทู ไ่ี ด้สลากดำ� ไม่ต้องเป็นทหาร ส่วนผูท้ ี่ถกู จับได้สลากแดง ต้องเปน็ ทหาร สังกัดตามหนว่ ยที่ระบไุ วใ้ นสลาก โดยแบ่งออกเปน็ 2 ผลัด คือ ผทู้ ่จี ับไดผ้ ลัดแรก จะเริ่มเขา้ หนว่ ย ภายในตน้ เดอื นพฤษภาคม สว่ นผลดั ทสี่ อง จะเรม่ิ เขา้ หนว่ ยในตน้ เดอื นพฤศจกิ ายน โดยตอ้ งเรม่ิ เขา้ รบั ราชการเปน็ ระยะเวลาท้ังหมด 2 ปี เงอื่ นไขดงั กล่าวยกเว้นใหก้ บั บุคคลบางประเภททไ่ี มต่ ้องถูก เกณฑ์ทหาร เช่น พระภิกษุ ในกรณีทจ่ี บเปรยี ญ 9 นกั ศึกษาวิชาทหาร (ร.ด.) หรอื ผูท้ ี่ฝึกทหารมา เปน็ ระยะเวลาสามปีในระหว่างเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ผ้ทู พ่ี กิ ารทพุ พลภาพ และผู้ท่มี ีร่างกาย ไมส่ มบูรณ์ เช่น มีความสงู นอ้ ยกว่า 146 เซนตเิ มตร ขนาดรอบอกไมถ่ ึง 76 เซนตเิ มตร หรอื มโี รค ตดิ ตอ่ ชนิดรนุ แรง หรอื มีภาวะอ้วน หรือ มอี วัยวะผิดปกติ เช่น พกิ าร ตาเหล่ หหู นวก แขนขาผิด รปู หรอื มโี รคประจำ� ตวั ที่อนั ตราย เชน่ โรคหวั ใจ มะเร็ง หอบหดื เบาหวาน ไตวาย หรอื ป่วยเป็น โรคทางจติ เวท ตลอดจน ผเู้ ปน็ กะเทย9 ขณะทมี่ บี างเงอ่ื นไขทที่ ำ� ใหไ้ มต่ อ้ งรบั ราชการทหารเปน็ เวลา 8 นันทิยา สว่างวุฒิธรรม, การควบคุมก�ำลังคนในสมัยรัตนโกสินทร์ก่อนการจัดการเกณฑ์ทหาร (พ.ศ. 2325- 2448), กรงุ เทพฯ: ภาควิชาประวตั ศิ าสตร์ บณั ฑติ วิทยาลยั จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, 2525, หน้า 293. 9 อนง่ึ ประเดน็ ดงั กลา่ วเปน็ ทถ่ี กเถยี งเปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ การหา้ มกะเทยเกณฑท์ หารถอื วา่ เปน็ การเลอื กปฏบิ ตั ติ อ่ พวก 51

วารสารนติ ิสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ปที ่ี 10 ฉบบั ท่ี 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 2 ปี เช่น หากเรียนจบวฒุ ปิ ริญญาตรีและสมคั รเป็นทหารเองจะใชเ้ วลาราชการ 6 เดือน แต่หากจับ สลากได้ใบแดงจะรบั ราชการ 1 ปี หรือหากเรยี นจบวฒุ มิ ธั ยมหรือประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) หากสมคั รเปน็ ทหารเองจะใชเ้ วลาราชการ 1 ปี แตห่ ากจบั สลากไดใ้ บแดงจะรบั ราชการ 2 ปี เปน็ ตน้ 4. ปัญหาของการเกณฑ์ทหารในสังคมไทย แม้ไม่เคยมีการทำ� วิจัยอย่างเป็นระบบ แต่ข้อมูลจำ� นวนหน่ึงในอดีตท่ีระบุไว้คล้ายคลึงกัน คือ ทหารเกณฑ์ชาวไทยจ�ำนวนมากมักมีสถานภาพโสด มีบางส่วนที่อยากเข้ามาเป็นทหารเกณฑ์ ดว้ ยความสมัครใจ แตม่ ีจ�ำนวนไมน่ อ้ ยเช่นกนั ท่ีต้องเข้ามาเป็นด้วยภาวะจำ� ยอม นอกจากนี้ ทหาร เกณฑส์ ว่ นใหญเ่ ปน็ คนชนบท มกี ารศกึ ษาโดยเฉลย่ี ในระดบั มธั ยมศกึ ษา ประกอบอาชพี รบั จา้ งมาก ทสี่ ดุ รองลงมาไดแ้ ก่ อาชพี ทำ� นา ทำ� ไร่ รายไดเ้ ฉลยี่ ของคนในครอบครวั อยใู่ นตำ่� ปานกลางจนถงึ ตำ�่ 10 อย่างไรก็ตาม หากเป็นคนท่ีมีฐานะแม้ไม่ได้ผ่านนักศึกษาวิชาทหาร (ร.ด.) มาก็ตาม พวกเขามีรูป แบบการหลีกเลี่ยงการเกณฑ์ทหารไดห้ ลายรูปแบบ เช่น พวกเขาสามารถยา้ ยชอื่ ตนเองชวั่ คราวไป อยู่ในทะเบียนบ้านในอ�ำเภอที่มีคนสมัครทหารเต็มแล้ว ผ่านกระบวนการจ่ายเงินใต้โต๊ะ หรือ น�ำปัญหาสุขภาพเข้ามาแสดงต่อเจ้าหน้าท่ีทหาร ไม่ว่าปัญหาน้ันจะเป็นจริงหรือไม่ก็ตาม เป็นตน้ 11 แตท่ ่ีกลา่ วเช่นนีม้ ไิ ดห้ มายความวา่ ทุกคนควรถูกเกณฑท์ หารหรอื ประเทศไทยยงั ควรจะ คงการเกณฑ์ทหารเอาไว้ ไมเ่ พยี งเทา่ นนั้ ในแตล่ ะปมี กั จะมกี ารนำ� ภาพของสาวประเภทสองขณะทไ่ี ปรายงานตวั มาลง สอ่ื โดยมกี ารลอ้ เลยี นตา่ ง ๆ นานาตอ่ พวกเธอ การสรา้ งความบนั เทงิ ในลกั ษณะนย้ี ง่ิ เปน็ เปน็ การตอกยำ�้ และลดคณุ คา่ ความเปน็ มนษุ ย์ (dehumanization) ใหเ้ หลอื เปน็ เพยี งวตั ถแุ ละของเลน่ เพยี งเทา่ นน้ั ควรตอ้ งยำ้� วา่ การเกณฑท์ หารนำ� ไปสกู่ ารสญู เสยี งบประมาณจำ� นวนมาก เรมิ่ ตงั้ แตก่ ารแตง่ ต้งั คณะกรรมการตรวจเลอื กการเกณฑ์ทหารเข้าประจำ� การท่วั ประเทศแตล่ ะปีไม่นอ้ ยกว่า 50 ล้าน เขาหรอื ไม่ เชน่ ในประเทศสหรฐั อเมรกิ าไมอ่ นญุ าตใหก้ ะเทยแปลงเพศเขา้ เปน็ บคุ ลากรในกองทพั รวมถงึ สามารถ ไล่ออกพวกเขาไดใ้ นกรณที ี่ยังปฏบิ ตั ิงานอยู่ เนือ่ งดว้ ยเหตุผลวา่ พวกเขามคี วามผดิ ปกติทางความตอ้ งการทาง เพศ (psychosexual disorders) พิจารณาแงม่ มุ น้ใี น Gary J. Gate and Jody L. Herman, Transgender military service in the United State [online], 2014. Retrieve from https://williamsinstitute.law. ucla.edu/wp-content/ uploads/Transgender-Military-Service-May-2014.pdf 10 ไกรสุทธินันท์ วงษ์อ�ำนวย, “ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจเข้ารับการเกณฑ์ทหารของทหารกอง ประจำ� การ : ศกึ ษาเฉพาะกรณที หารกองประจำ� การสงั กดั หนว่ ยทหารในพนื้ ทจ่ี งั หวดั ขอนแกน่ ,” วทิ ยานพิ นธ์ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสังคมวิทยาการพัฒนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2541, หน้า 4. 11 จารุพล พงษ์สุริยา, พันตรี, “มาตรการในการแก้ไขการเกณฑท์ หาร ตามพระราชบญั ญัตริ าชการทหารพ.ศ. 2497,” วิทยานิพนธ์ปรญิ ญานติ ิศาสตรมหาบณั ฑิต บัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั รามคำ� แหง, 2546, หนา้ 5. 52

การเกณฑท์ หารกับการทรมาน และการละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชนตอ่ ทหารเกณฑ์ในประเทศไทย: บทวิเคราะห์จากมุมมองหนังสอื รฐั ศาสตร์ไมฆ่ า่ บาท12 นอกจากนี้ ในรอบทศวรรษทผี่ ่านมา รัฐต้องเสียเงินกบั คา่ ตอบแทนทหารเกณฑเ์ ฉลีย่ ทปี่ ลี ะ หนงึ่ หมืน่ ลา้ นบาท ซ่ึงถอื ว่าเปน็ เงนิ มหาศาลเลยทเี ดียว พจิ ารณาตารางดงั นี้ ตารางท่ี 1 จ�ำนวนทหารเกณฑ์และประมาณการงบประมาณ ปี พ.ศ. จำ� นวนทหารเกณฑ์ (คน) ประมาณการงบประมาณ (บาท) 2550 81,701 7,843,296,000 2551 85,760 8,232,960,000 2552 87,041 8,355,936,000 2553 87,452 8,395,392,000 2554 97,208 9,331,968,000 2555 103,555 9,941,280,000 2556 94,480 9,070,080,000 2557 100,865 9,683,040,000 2558 99,373 11,924,760,000 2559 101,307 12,156,840,000 2560 103,097 12,371,640,000 ที่มา: ปรับปรุงจาก จ�ำนวนทหารเกณฑ์จาก ชนากานต์ อาทรประชาชิต. สถิติการตรวจเลือกทหารกองเกิน. TCIJ [ออนไลน]์ , 2557. เข้าถงึ จาก http://www.tcijthai.com/news/2014/05/watch/4294 และ “ทบ.แจ้งชายไทย เกณฑ์ทหาร 1-12 เม.ย. เผยปนี ้ตี ้องการ 103,097 นาย,” ไทยรัฐออนไลน์ (29 มีนาคม 2560). เขา้ ถงึ จาก https:// www.thairath.co.th/content/ 899175 สำ� หรับประมาณการงบประมาณ แบง่ วธิ กี ารค�ำนวณเป็น 2 ชว่ ง คอื ช่วง แรกก่อน พ.ศ.2558 ซึ่งเปน็ ช่วงก่อนมนี โยบายปรับขึ้นเงนิ เดือนของข้าราชการ โดยโครงสรา้ งเงนิ เดอื นของพลทหาร แบ่งเป็น เงินเดือน เงินเพิ่มค่าครองชีพช่ัวคราว และเบี้ยเลี้ยง ในช่วงปี พ.ศ.2550-2557 โดยเฉลี่ยแล้วอยู่ท่ีคนละ 8,000 บาท และตั้งแต่พ.ศ.2558-2560 โดยเฉลีย่ แลว้ อยทู่ ่ีคนละ 10,000 บาท เมื่อมาค�ำนวณกับจ�ำนวนทหารเกณฑ์ ทีร่ ับแต่ละปี จึงปรากฏขอ้ มูลดงั ตารางขา้ งตน้ โปรดดเู พม่ิ เตมิ จาก กระทรวงการคลัง, สาระนา่ รู้บัญชีอัตราเงนิ เดอื น และค่าจ้าง [ออนไลน์], 2560.เข้าถึงจาก https://www.mof.go.th/home/salary.html และ กองสัสดี หน่วย บญั ชาการรักษาดนิ แดน, สทิ ธิประโยชน์ของทหารกองประจำ� การ [ออนไลน์], 2560. เขา้ ถึงจาก http://www.sus- sadee.com /2017/0410201 7_4.pdf ยิ่งไปกว่านั้น ในแต่ละปีมักจะพบข่าวการละเมิดสิทธิมนุษยชนทหารเกณฑ์สม่�ำเสมอ พิจารณาเฉพาะการถูกทรมานน�ำไปสู่ความตายในรอบทศวรรษที่ผ่านมาที่ปรากฏเป็นข่าวจ�ำนวน ถึง 9 ราย พิจารณาตารางดงั นี้ 12 เร่อื งเดียวกัน, หน้า 118. 53

วารสารนิตสิ งั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ปีที่ 10 ฉบบั ท่ี 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 ตารางที่ 2 การเสยี ชวี ติ ของทหารเกณฑ์ และนายทหารในระดบั อนื่ ๆ เรยี งตามปี พ.ศ. วนั เดือนปที ีเ่ สีย ผเู้ สียชีวิต สาเหตุการเสยี ชีวิต ชวี ิต พลทหารอภนิ พ เครอื สขุ ทีบ่ า้ นพักแม่ทัพภาค 1 ผลชันสตู รระบุเสียชวี ติ 14-15 เมษายน เพราะ “กะโหลกแตก” ผลการสอบสวนระบุตาย พ.ศ. 2552 เพราะอบุ ตั เิ หตุ 5 มิถุนายน พลทหารวเิ ชยี ร เผือกสม ถกู ซ้อมทรมาน โดยนายทหารยศรอ้ ยโท พรอ้ ม พ.ศ.2554 พวกรวม 10 คน 29 มกราคม พลทหารสมชาย ศรเี อือ้ งดอย ผลการชนั สูตรระบุ เสียชวี ติ เพราะตดิ เช้ือไขห้ วัด พ.ศ. 2557 นก ญาติคาใจเพราะกอ่ นตาย ผ้ตู ายระบุว่าถูก ร.ต.สนาน ทองดนี อก ทหาร 3 นาย ลงโทษดว้ ยการใชป้ ีบ๊ คลุมศรี ษะ ใช้ 6 มถิ ุนายน อาวุธตที ีศ่ รี ษะ แผน่ หลัง หน้าอก จำ� นวน 20 พ.ศ.2558 สบิ โทกติ ติกร สธุ ีพนั ธ์ุ ครั้ง พลทหารทรงธรรม หมดุ หมดั เสียชีวิตระหว่างฝกึ โดยถูกบงั คับใหว้ ่ายน�ำ้ เกิน 21 กมุ ภาพันธ์ กำ� ลังความสามารถท่ีร่างกายจะทนได้ โดยใหฝ้ กึ พ.ศ.2559 สิบโทปัญญา เงินเหรยี ญ วา่ ยน้ำ� ไป-กลับภายในสระว่ายน�้ำโดยไม่มกี าร พลทหารยุทธกินนั ท์ บญุ เนยี ม หยุดพกั หลายสิบรอบและเปน็ เวลานาน จนเป็น 4 เมษายน เหตใุ หจ้ มลงไปในก้นสระเปน็ เวลานานจนขาด พ.ศ. 2559 อากาศหายใจ 22 มิถุนายน ผลการการชันสูตร และการไต่สวนการตายระบุ พ.ศ.2559 เหตแุ ละพฤตกิ ารณ์ท่ตี ายคือมกี ารบาดเจ็บท่ี 1 เมษายน ศรี ษะอย่างรนุ แรงร่วมกับกระเพาะอาหารแตก พ.ศ.2560 เน่อื งจากถูกท�ำร้ายรา่ งกายขณะถกู คมุ ขงั โดยพล ทหาร 4 นาย ตายเพราะถกู ซ้อมทรมานโดยนายทหารยศร้อย ตรี พร้อมกับพวกรวม 5 คน ถกู รอ้ ยเอกสงั่ ท�ำโทษให้ว่ิงรอบสนามกลางแดด เสยี ชวี ติ เพราะเป็นลมแดด คาดวา่ ถูกซ้อมทรมานจนเสียชวี ติ ภายหลงั จาก ถูกส่ังขงั คกุ ทหาร 54

การเกณฑท์ หารกบั การทรมาน และการละเมดิ สทิ ธิมนุษยชนต่อทหารเกณฑ์ในประเทศไทย: บทวเิ คราะห์จากมมุ มองหนงั สอื รฐั ศาสตร์ไมฆ่ า่ วนั เดือนปที ่เี สีย ผูเ้ สียชีวติ สาเหตุการเสยี ชวี ิต ชีวิต พลทหารนภดล วรกจิ พนั ธ์ ถูกลงโทษทางวนิ ยั มเี ลอื ดออกทางจมูกและปาก 20 สิงหาคม โดยแพทย์ใหค้ วามเห็นว่าถกู กระแทกอย่างรุนแรง พ.ศ.2560 ทม่ี า: ปรับปรุงจาก ทวีศกั ดิ์ เกดิ โภคา, ศพสดุ ทา้ ยอีกกี่คร้ัง?: รวมกรณซี อ้ มทรมาน-ตายแปลกในค่าย คกุ บ้านพกั นายทหาร [ออนไลน์], 2560. ค้นจาก https://prachatai.com/journal/2017/04/70894 และ “พลทหารเพลยี กลับบา้ นขอ ไปนอน พบอีกทีเลือดออกปากดับคาเตียง แม่เช่ือถูกซ่อมโหด,” ข่าวสดออนไลน์ (20 สิงหาคม 2560), เข้าถึงจาก https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_480075 รายละเอียดข้างต้นยังเตม็ ไปดว้ ยความคลมุ เครอื มากกวา่ นัน้ เชน่ ในกรณกี ารตายของพล ทหาร อภนิ พ เครอื สขุ ซงึ่ เสยี ชวี ติ ในชว่ งการชมุ นมุ ทางการเมอื งของคนเสอื้ แดงในปี 2552 และเสยี ชีวิตในค่ายทหาร รายละเอียดถูกเชื่อได้ว่าเขาถูกซ้อมทรมานในบ้านนายทหารแห่งหน่ึง ระหว่าง วันท่ี 14-15 เมษายน พ.ศ. 2552 ซึ่งเป็นบ้านหลงั เดยี วกบั ท่ี อภสิ ทิ ธ์ิ เวชชาชวี ะ นายกรัฐมนตรีใน ขณะนั้น และสุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตรองนายกรัฐมนตรี ฝ่ายความมั่นคงได้เข้าไปพักเมื่อวันที่ 12-13 เมษายนปีเดียวกนั ญาตพิ นี่ ้องของเขาเช่ือวา่ ท่เี ขาถกู ทุบด้วยของแข็งจนกะโหลกศีรษะแตก เพราะเขาส่งข้อความผา่ นมือถือนำ� ความลับว่า มีนายกรัฐมนตรมี าพักให้ผ้อู ่นื ทราบ แมเ่ ขาเล่าว่า มี ทหารโทรศพั ท์มาแจ้งวา่ บตุ รชายเสยี ชีวิตแล้ว จะสง่ ศพไปยงั บา้ นเกดิ ที่ จังหวัดเลย พรอ้ มกบั กำ� ชบั ว่า “ให้รบี เผาศพโดยเรว็ ” โดยทางทหารให้เงินช่วยเหลอื จำ� นวน 17,500 บาท ขณะทก่ี รณีสบิ โท กิตติกร สธุ ีพนั ธ์ุ ถกู ซ้อมจนมอี าการกระเพาะแตก และบาดเจ็บทีศ่ รี ษะอย่างรุนแรง แตถ่ ูกจัดฉาก การเสียชีวิตว่า เป็นผลมาจากอากาศหนาวท�ำให้ตาย ขณะที่ข่าวโด่งดังในช่วงหลายปีท่ีผ่านมาคือ การเสียชีวิตของพลทหารวิเชียร เผอื กสม ซ่ึงสำ� เร็จการศกึ ษาในระดับปรญิ ญาโท ทีถ่ ูกซ้อมทรมาน เสยี ชีวติ ระหว่างการเกณฑ์ทหารในปี 2554 จากน้นั นริศราวลั ถ์ แกว้ นพรตั น์ ผูเ้ ป็นหลานสาวได้ ออกมาต่อสู้เพ่ือเรียกร้องความเป็นธรรมให้พลทหารวิเชียรในรอบหลายปีท่ีผ่านมา เธอเล่าว่า เธอ ถูกข่มข่บู อ่ ยครงั้ โดยในช่วงแรกแรกท่ีออกมาเรยี กร้องความเป็นธรรมให้กบั นา้ ชาย มีคนส่งกระสุน ปนื บรรจอุ ยใู่ นซองธปู มาใหท้ หี่ นา้ บา้ น เคยมคี นเขา้ มาในหมบู่ า้ นแลว้ ถามวา่ บา้ นของพลทหารวเิ ชยี ร อยู่ตรงไหน และยังเคยมีรถท่ีทหารเคยขับมาที่งานศพของน้าชายเธอขับตามรถของเธอด้วย ส่วน กรณขี องพลทหารสมชาย ศรเี ออ้ื งดอย ซง่ึ ถกู ลงโทษดว้ ยการใชป้ บ๊ี คลมุ ศรี ษะ ใชอ้ าวธุ ตที ศี่ รี ษะ แผน่ หลงั หน้าอก จ�ำนวน 20 คร้ัง จนเขามอี าการไอ เจบ็ คอ มอี าการเหนอ่ื ย หอบ และเหงอื่ แตก และ เสยี ชวี ติ ในวนั ตอ่ มา แตม่ กี ารกลา่ ววา่ เขาเสยี ชวี ติ วา่ เปน็ เพราะไขห้ วดั นก13 ขณะทค่ี ำ� พดู สดุ ทา้ ยของ พลทหารยทุ ธกนิ นั ท์ บญุ เนยี ม ทเ่ี สยี ชวี ติ ทคี่ า่ ยทหารในจงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านใี นปี 2560 ทโี่ ทรหาคณุ 13 ทวีศักดิ์ เกิดโภคา, ศพสุดท้ายอีกกี่ครั้ง?: รวมกรณีซ้อมทรมาน-ตายแปลกในค่าย คุก บ้านพักนายทหาร [ออนไลน]์ , 2560. เข้าถึงจาก https://prachatai.com/journal/2017/04/70894 55

วารสารนิติสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ ปที ่ี 10 ฉบับท่ี 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 แมภ่ ายหลงั ถกู ซ้อมในคา่ ยทหารคอื “แม่ ผมถูกซอ้ ม ผมเจ็บมากเลย”14 เปน็ ตน้ หากเรื่องราวข้างตน้ คือขา่ วของการเสียชวี ิต ยงั ปรากฏข่าวการซอ้ มทหารเกณฑอ์ กี จำ� นวน มาก เชน่ ในปี 2558 พลทหารเอนก พลทองวจิ ติ ร เลา่ วา่ ตนเองเปน็ ทหารประจ�ำการอยู่ท่ีศูนย์ การฝึกทหารใหม่สัตหบี จงั หวดั ชลบุรี กอ่ นทผ่ี บู้ ังคบั บัญชาจะส่งตัวมาชว่ ยทำ� งานใหก้ ับนายทหาร นอกราชการ ท่ีบ้านพักจังหวัดนครปฐม ถูกมอบหมายใหท้ ำ� งานไม้ ซ่งึ เปน็ งานท่ีไม่มคี วามช�ำนาญ กระทง่ั ถกู นายทหารนอกราชการเจา้ ของบา้ น นำ� โซม่ าผกู เอวลา่ มกบั ยางลอ้ รถยนต์ ทำ� ใหไ้ ดร้ บั ความ ทรมานท้ังทางร่างกายและจิตใจจนทนไม่ไหว ต้องหลบหนีออกมา โดยเจ้าตัวมาร้องทุกข์ที่ที่ศูนย์ บรกิ ารประชาชน สำ� นกั งานปลดั สำ� นกั นายกรฐั มนตรพี รอ้ มกบั ลอ้ รถทถ่ี กู ลา่ มโซไ่ วท้ ขี่ าตนเอง15 หรอื ในปี 2560 พลทหารณฐั พนั ธ์ ชฉู ำ่� ทหารเกณฑ์ ประจำ� การกองพนั ทหารปนื ใหญท่ ี่ 4 คา่ ยจริ ประวตั ิ จังหวดั นครสวรรค์ ถกู ส่งั ลงโทษดว้ ยวิธีการใหพ้ ุง่ หลัง จำ� นวน 400 ครัง้ แต่ขณะน้นั เขาขาหกั และ ใสเ่ หลก็ ดามไว้ จงึ ทำ� ไมได้ แตผ่ บู้ ญั ชาการไมส่ นใจสง่ั ใหเ้ ขาทำ� ตอ่ ปรากฏวา่ เขาเจบ็ จนเดนิ ไมไ่ ดแ้ ละ ถูกสง่ ตัวไปทโ่ี รงพยาบาลค่ายจริ ประวัติ ซงึ่ แพทยร์ ะบุวา่ เหล็กดามขาหกั และกระดกู ตน้ ขาขวาหัก ต้องผ่าตัดต่อกระดูกและดามเหล็กใหม่16 ไม่เพียงเท่าน้ัน ปัจจุบันยังมีการเผยแพร่คลิปวีดิโอแอบ ถา่ ยการถกู ทำ� ร้ายในแต่ละปจี �ำนวนหลายกรณีผ่านส่ือออนไลน์ เชน่ พลทหารปรชั ญา วัฒนสนธิ ภาพปรากฏในคลปิ วดี โิ อวา่ เขาถกู ใชไ้ มฟ้ าดและยกเทา้ ถบี ใสห่ ลายครง้ั จนพอ่ ของพลทหารปรชั ญา ซึ่งเป็นทหารเช่นกัน ระบายความในใจว่า “ตนเป็นทหารอาชีพ การท�ำโทษลักษณะเช่นน้ีไม่มี จะไม่มีการถูกเน้ือตัว ไม้ตี ใช้เท้าถีบ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ต้องมีทุกคน สุนัข แมว ยังมี พ.ร.บ.ค้มุ ครอง” 17 ตลอดจนมีข่าวเรือ่ งการสร้างความอับอายทางเพศจำ� นวนมาก ดงั เรอื่ งเลา่ ของ พลทหารคนหน่ึงว่ามี การสงั่ ให้ทหารใหม่ส่งตัวแทนในแต่ละหมอู่ อกมาสำ� เรจ็ ความใครแ่ ขง่ กัน เขา ยังเล่าอกี ว่าในรุ่นเขามีบุคคลที่มคี วามหลากหลายทางเพศอยู่ 3 คน ซ่ึงบางคร้ัง 3 คนนน้ั ก็จะถกู ส่งั ให้ออกไปส�ำเรจ็ ความใคร่แขง่ กัน18 เป็นต้น นอกจากน้ี เป็นที่รู้กนั ดใี นสงั คมไทยวา่ พลทหารในคา่ ยตา่ ง ๆ จะทำ� การฝึกทหารในระยะ 14 “แมเ่ ผยค�ำพดู สุดทา้ ย พลทหารตายในคา่ ยท่ีสรุ าษฎรฯ์ ‘ผมถกู ซ้อม ผมเจบ็ มาก,” ไทยรฐั ออนไลน์, (2เมษายน 2560), เข้าถงึ จาก https://www.thairath.co.th/content/902682 15 “เร่ืองยังเงยี บ กรณีล่ามโซพ่ ลทหาร! ต้นสงั กดั อยู่ระหวา่ งสอบสวน,” ไทยรฐั ออนไลน์, (21 สงิ หาคม 2558), เข้า ถึงจาก https://www. thairath.co.th/content/519892 16 “แมท่ หารเกณฑ์’ พาลกู รอ้ ง ‘บกิ๊ ตู่’ เหตุถกู ส่งั ลงโทษจนเจบ็ ขาหกั ,” ไทยรัฐออนไลน์ (28 เมษายน 2560), เขา้ ถงึ จาก https://www.thairath. co.th/content/925685 17 “ร้อยตร’ี พ่อทหารในคลปิ รบั ไม่ไดล้ ูกถกู ซ้อม เรยี กร้องคนทำ� รับผดิ ชอบ,” ไทยรฐั ออนไลน์. (19 พฤศจกิ ายน 2559), เขา้ ถึงจาก https://www thairath.co.th/content/787992 18 ทวศี ักดิ์ เกิดโภคา, คุยกบั 4 ทหารเกณฑ์ เมอื่ หน้าทีห่ ลกั รั้วของชาติ คือการตดั หญา้ [ออนไลน์], 2558. เขา้ ถึงจาก https://prachatai. com/journal/2015/08/61005 56

การเกณฑท์ หารกบั การทรมาน และการละเมิดสิทธมิ นษุ ยชนตอ่ ทหารเกณฑ์ในประเทศไทย: บทวิเคราะหจ์ ากมุมมองหนงั สอื รัฐศาสตร์ไม่ฆา่ สามเดอื นแรก จากน้ันจะถูกสง่ ตวั ไปยงั หน่วยท่ไี มเ่ กย่ี วข้องกับการรบ บางคนถูกสง่ ตวั ไปรบั ใช้บา้ น ของเจา้ นาย ไมว่ า่ จะเปน็ ทหารในราชการหรอื นอกราชการแลว้ กต็ าม งานหนกั ทตี่ อ้ งทำ� คอื ตดั หญา้ ซกั ผา้ เฝา้ บา้ น ไปตลาด ขบั รถ คอยหวิ้ ของใหภ้ รรยาเจา้ นาย เปน็ ตน้ พลทหารคนหนง่ึ เลา่ วา่ “ตอน เราเปน็ ทหารเกณฑก์ ็ได้รบั การปลูกฝงั อยู่ทุกวันวา่ เราคือคนท่ีทำ� เพื่อชาติ เราตอ้ งรกั ชาติ แต่สงิ่ ที่ เราเจออยทู่ ุกวนั คอื อะไร การตดั หญ้า ตัดตน้ ไม้ กวาดบ้านนาย ท�ำถนน เราก็งง เฮ้ย ! ทกุ วันนเี้ ราไม่ ไดท้ �ำเพ่อื ประเทศชาตวิ ่ะ” แนน่ อนวา่ การกระทำ� เชน่ นค้ี อื การทุจริตคอรร์ ปั ชั่นของกองทพั ขณะที่ พลเอกอดุ มเดช สตี บตุ ร อดตี ผบู้ ญั ชาการทหารบกและรฐั มนตรชี ว่ ยวา่ การกระทรวงกลาโหมไดก้ ลา่ ว ในปี 2558 วา่ อยา่ เรยี กวา่ ทหารรบั ใช้ แต่ “ใหเ้ รยี กวา่ ทหารบรกิ ารแทนทหารรบั ใช”้ และ ใหเ้ หตผุ ล เสรมิ ถงึ การไปใชช้ วี ติ ในบา้ นเจา้ นายวา่ “การอยกู่ บั ผใู้ หญจ่ ะไดร้ บั ความรแู้ ละมมุ มองตา่ ง ๆ ทนี่ ำ� ไป ใช้ประโยชน์หลังจากปลดประจ�ำการ”19 อย่างไรก็ตาม ความหมายของทหารบริการหรือทหารรับ ใชใ้ นทนี่ แ้ี ทบจะไมต่ า่ งกนั การทจุ รติ ยงั ปรากฏในรปู แบบของการใหเ้ งนิ เดอื นตนเองแกเ่ จา้ นาย โดย เฉพาะส�ำหรับคนที่เข้าเป็นทหาร 6 เดอื น จะตอ้ งท�ำการฝึก 3 เดือนแรก สว่ น 3 เดอื นหลังพวกเขา จ�ำนวนหน่ึงได้รับการอนุญาตให้กลับบ้าน แต่ต้องมีการลงนามยินยอมให้เงินเดือนจ�ำนวน 9,000 บาทของตนเองใหเ้ ปน็ ของผอู้ น่ื ได้ เชน่ กรณขี องพลทหารคนหนงึ่ เลา่ วา่ “จรงิ ๆ แลว้ เรากค็ วรจะอยู่ 6 เดอื น แต่พออยู่ไปสกั พกั ผกู้ องเขาก็เรียกคนทอ่ี ยู่ 6 เดอื นเข้ามาพบ แล้วกบ็ อกว่าเดย๋ี วจะใหพ้ วก เอ็ง กลบั บ้านก่อน คือหลงั จากฝึกหนกั 2 เดือนเราไม่ต้องมากรมทหารอกี เลย มากแ็ ค่มาเซ็นชอ่ื เฉย ๆ ดว้ ยวธิ กี ารนผี้ กู้ องเขากจ็ ะเกบ็ เงนิ เดอื นของพวกเรา ทจี่ ะฝากเขา้ ธนาคารทหารไทยเดอื นละ 9 พนั กค็ อื เอาบัตรเอทเี อม็ เราไปเลย”20 การเกณฑท์ หารยงั นำ� ไปสกู่ ารสรา้ งสภาวะความเครยี ดใหแ้ กค่ นจำ� นวนมาก พจิ ารณาเพยี ง เฉพาะเหตกุ ารณล์ า่ สดุ ในปี 2560 ไดป้ รากฏข่าวถงึ พลทหารจอมพล แกว้ มา อายุ 21 ปี สังกัดคา่ ย กาวลิ ะ จงั หวดั เชยี งใหม่ มอี าการซมึ เศรา้ และไดน้ ำ� เอาปนื เอม็ 16 ซง่ึ เปน็ อาวธุ ประจำ� กาย จอ่ เขา้ ไป ในปากตัวเอง เสียชีวิตทันที21 อนึ่ง ก่อนหน้านี้เคยมีงานวิจัยเกี่ยวกับภาวะสุขภาพจิตทหารใหม่ พบว่า การเปลี่ยนสถานภาพจากชีวติ พลเรือนไปเป็นทหารเกณฑ์ท�ำให้ทหารเกณฑจ์ ำ� นวนมากเกิด ปัญหาสุขภาพจิตตามมา เช่น โรคจิตเภท โรคซึมเศร้า และปัญหาการปรับตัว พิจารณาจากสถิติ ระหว่างปี 2550-2553 ของกองสุขภาพจิต โรงพยาบาลอาภากรเกียรติวงศ์ ฐานทัพเรือสัตหีบ พบว่า ในแต่ละปียังคงมีทหารเกณฑ์เข้าสู่บริการบ�ำบัดรักษาโรคทางจิตเวชอย่างต่อเนื่อง คือ 19 “รมช.กลาโหมใหเ้ รยี กทหารบรกิ ารแทนทหารรับใช้ ย�้ำอยกู่ บั ผใู้ หญไ่ ดค้ วามร้,ู ” มติชนออนไลน,์ (24 สิงหาคม 2558), เข้าถึงจาก http://m.matichon.co.th/readnews.php?newsid=1440414558 20 ทวีศกั ดิ์ เกิดโภคา, คุยกบั 4 ทหารเกณฑ์ เมอ่ื หน้าทห่ี ลักรั้วของชาติ คอื การตดั หญา้ [ออนไลน]์ , 2558. เขา้ ถงึ จาก https://prachatai. com/journal/2015/08/61005 21 “สลดพลทหารเครยี ด ซึมเศรา้ ยิงตวั ตายคาด่านตรวจ,” เดลนิ วิ ส์, (11 เมษายน 2560). เข้าถึงจาก https:// www.dailynews.co.th /regional/240499 57

วารสารนิตสิ งั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีท่ี 10 ฉบบั ท่ี 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 มีจำ� นวน 49 คน 76 คน 59 คน และ 58 คน ตามลำ� ดับ แมบ้ างรายอาจมีประวตั ิเจบ็ ป่วยทาง ดา้ นจติ ใจมากอ่ นเกณฑท์ หาร แตม่ จี ำ� นวนไมน่ อ้ ยเลยทม่ี ปี ญั หาทางจติ ใจในชว่ งระยะเวลาสามเดอื น แรกของการฝึกวชิ าทหาร22 ข้อมูลข้างต้นคือตัวอย่างปัญหาการเกณฑ์ทหารในสังคมไทย ซ่ึงปรากฏข่าวของท้ังการ ละเมดิ สิทธมิ นุษยชน การเสียชวี ติ การซ้อมทรมาน ตลอดจน การน�ำทหารเกณฑ์ไปรบั ใช้ตามบ้าน ของนายทหารและการรับเงินเดือนของทหารเกณฑ์ ซ่ึงถือเป็นหน่ึงในรูปแบบของการทุจริต คอร์รัปชนั่ ตลอดจน ปญั หาสุขภาพจิตของทหารเกณฑ์ อย่างไรก็ตาม หากมีการกล่าวว่า ในเมื่อคนไทยจ�ำนวนหนึ่งมีความนิยมในการเป็นทหาร ซง่ึ สามารถพจิ ารณาไดจ้ ากการสรา้ งภาพยนตรแ์ นวตลกเกยี่ วกบั ทหารเกณฑจ์ ำ� นวนหลายเรอื่ ง หรอื การนำ� เอาประสบการณข์ องดาราทเ่ี คยเกณฑท์ หารมาผลติ ซำ้� เผยแพร่ หรอื การสรา้ งเพจนยิ มทหาร หล่อจ�ำนวนมากในโลกออนไลน์ หรือแม้แต่การท่ีผู้มีช่ือเสียงจ�ำนวนหนึ่งออกมาต�ำหนิผู้ท่ีไม่อยาก เกณฑท์ หาร ฯลฯ ปรากฏการณเ์ ชน่ นจี้ ะอธบิ ายไดอ้ ยา่ งไร ควรตอ้ งยำ�้ วา่ ความอยากเปน็ ทหารเปน็ เรอื่ งสว่ นตัว เป็นสิทธแิ ละเสรีภาพ ผทู้ อ่ี ยากเป็นสามารถสมัครเป็นโดยสมคั รใจได้ ซึง่ ขอ้ สรปุ ตรงนี้ เขา้ กนั ไดด้ กี บั ขอ้ เสนอของบทความนด้ี งั ทจี่ ะกลา่ วตอ่ ไป แตท่ วา่ การบงั คบั ใหท้ กุ คนตอ้ งเกณฑท์ หาร ไม่สามารถอ้างได้ว่า ไม่ได้เป็นการละเมิดสิทธิเสรีภาพ เนื้อหาต่อไปผู้เขียนจะพิจารณาปัญหาของ การเกณฑท์ หารโดยจะนำ� หนังสอื รัฐศาสตร์ไมฆ่ ่ามารว่ มสนทนา 5. การเกณฑท์ หารกบั รัฐศาสตร์ไม่ฆา่ ครง้ั หนงึ่ Stephen M. Younger นกั วทิ ยาศาสตรช์ อ่ื ดงั ไดว้ เิ คราะหค์ วามเชอื่ มโยงระหวา่ ง รฐั บาลประชาธิปไตยกับการลดความรุนแรง โดย Younger กล่าวว่า ไม่มีใครสนใจคดิ แบบจรงิ จงั และหาทางออกแบบตอ่ ประเดน็ ดงั กลา่ วอยา่ งเปน็ ระบบไดเ้ ทา่ กบั ที่ Glenn D. Paige กระทำ� ไวผ้ า่ น หนังสือรัฐศาสตร์ไม่ฆ่า ค�ำกล่าวนี้ไม่ผิดนัก หากพิจารณาถึงคุณูปการของ Paige ในฐานะเป็นผู้ บกุ เบกิ วา่ ดว้ ยการศกึ ษาการไมฆ่ า่ (nonkilling studies) ในโลกวชิ าการสมยั ใหมแ่ ละยงั เปน็ ผกู้ อ่ ตงั้ ศนู ยส์ �ำหรบั การศึกษาการไม่ฆา่ ระดับโลก (Center for Global Nonkilling) ในปี 200723 ไมเ่ พยี ง เทา่ นัน้ Younger ยังระบวุ ่า แม้ Paige เปน็ นักอุดมคติ แต่ Paige เคยผา่ นสมรภูมิสงครามเกาหลี จงึ ไดเ้ หน็ พษิ ภยั ของสงคราม ซงึ่ นำ� ไปสกู่ ารกอ่ รปู ความคดิ และคำ� ถามของ Paige ทว่ี า่ ทำ� ไมสงคราม 22 วเิ ชียร ศรีภูธร, เรอื ตร,ี “ภาวะสุขภาพจติ ทหารใหม่ ตอนท่ี ๑,” นาวกิ ศาสตร,์ 95, 9(2555): 86-87. 23 Chaiwat Satha-Anand, Glenn D. Paige: pioneer of nonkilling studies and peace researcher (1929-2017) [online], 2017. Retrieve from http://nonkilling.org/center/2017/01/23/glenn-d- paige-1929-2017/ 58

การเกณฑ์ทหารกับการทรมาน และการละเมิดสทิ ธิมนษุ ยชนตอ่ ทหารเกณฑ์ในประเทศไทย: บทวิเคราะห์จากมมุ มองหนงั สือรฐั ศาสตร์ไม่ฆา่ จึงกลายเป็นสถาบันทางสังคมที่ผู้คนท่ัวไปยอมรับกัน24 นอกจากนี้ ยังมีผู้มีช่ือเสียงอีกจ�ำนวนหน่ึง กล่าวถงึ หนงั สอื เลม่ นีข้ อง Paige เช่น Kim Dae-jung อดตี ประธานาธิบดีเกาหลีใต้ และเคยไดร้ ับ รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพกล่าวว่า “หนังสือเล่มนี้มีคุณูปการอย่างย่ิงต่อความก้าวหน้าของสันติ วิธแี ละสันติภาพในครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 21 นี้” ส่วน William Smirnoff รองประธานสมาคมรฐั ศาสตร์ แหง่ รสั เซยี และรองประธานสมาคมรฐั ศาสตรน์ านาชาติ ระบวุ า่ “ความคดิ หลกั ในหนงั สอื พเิ ศษเลม่ น้ีน่าจะรับมาใชเ้ ป็นฐานของคุณคา่ สากลเพอ่ื มนุษยชาติในครสิ ต์ศตวรรษท่ี 21 และสร้างโครงการ (ทำ� ให้คณุ คา่ ) กลายเปน็ จริง” ขณะท่ี James MacGregor Burns อดีตประธานสมาคมรัฐศาสตร์ อเมรกิ นั กล่าวว่า “หนังสอื เล่มนีค้ งมีผ้อู ่านอยา่ งกว้างขวาง” และ Mairead Corrigan Maguire ผู้ ไดร้ บั รางวลั โนเบลสาขาสนั ตภิ าพยำ�้ วา่ “สำ� หรบั ฉนั หนงั สอื เลม่ นส้ี รา้ งแรงบนั ดาลใจใหเ้ ปน็ ทสี่ ดุ ”25 อนึ่ง ปจั จุบันหนงั สอื เลม่ นี้ได้รบั การแปลมากกว่า 30 ภาษาทวั่ โลก26 Paige ได้นิยามถึงสังคมท่ีปลอดจากการฆ่าว่าคือ สังคมที่ปราศจากการฆ่าฟันมนุษย์ ปราศจากการขม่ ขู่คุกคามว่าจะฆา่ (threats to kill) ปราศจากอาวุธทอี่ อกแบบมาใหฆ้ า่ ฟนั ผคู้ น ปราศจากเหตุผลรองรับให้กบั การฆา่ (justifications) และ ปราศจากเงอื่ นไขในสงั คมทจ่ี ะม่งุ รกั ษา หรือเปล่ียนแปลงสิ่งใดได้ด้วยการฆ่าฟันหรือข่มขู่คุกคามว่าจะฆ่า Paige เชื่อว่า สังคมดังกล่าวมี ลกั ษณะเปน็ ไปไดด้ ว้ ยเหตผุ ลหลายประการ เชน่ การฆา่ ไมไ่ ดเ้ ปน็ ธรรมชาตขิ องมนษุ ย์ รวมถงึ รากฐาน ของจิตวิญญาณจากศาสนาต่าง ๆ มคี ำ� สอนร่วมกันถึงการงดเว้นการฆ่า ตลอดจน จากการทดลอง ทางวิทยาศาสตร์จ�ำนวนมากต่างแสดงถึงผลลัพธ์สอดคล้องกันว่าธรรมชาติของมนุษย์ไม่ได้เป็น นกั ฆา่ Paige ยังได้ระบวุ า่ หากเราสามารถคดิ ถงึ สังคมทีป่ ราศจากการฆา่ ได้ เราจะเหน็ โฉมสงั คมท่ี เปล่ยี นแปลงไปแบบกลบั ตาลปัตร เพราะเราสามารถเอาเงินไปพัฒนาเศรษฐกจิ แก้ไขความยากจน พฒั นาระบบสขุ ภาพ ความเปน็ อยู่ ฯลฯ มากกวา่ นำ� เงนิ ไป คดิ คน้ ทดลอง ผลติ คา้ ขาย และใชอ้ าวธุ สงั คมทป่ี ราศจากการฆา่ จงึ เปน็ สงั คมทไ่ี รอ้ าวธุ นอกจากมอี าวธุ ทจี่ ดั แสดงไวใ้ นพพิ ธิ ภณั ฑเ์ พอ่ื ใหเ้ หน็ ว่ามนษุ ยม์ ปี ระวตั ิศาสตร์อนั โหดเหยี้ มเพยี งใด ทัง้ นี้ Paige ย้�ำวา่ สังคมทีป่ ลอดจากการฆ่าไม่ใช่จะ เปน็ สงั คมทไ่ี มม่ คี วามแตกตา่ งและความขดั แยง้ แต่ตอ้ งกุมหลกั การวา่ โครงสร้างและกระบวนการ ของสังคมท่ีปลอดการฆ่าน้ันจะไม่วางอยู่บนการฆ่าฟันเพราะถือว่าไม่มีการฆ่าประเภทใดก็ตามท่ี ชอบธรรม27 24 ชัยวฒั น์ สถาอานนั ท,์ ค�ำนำ� . ใน เกลน็ ดี. เพจ. (ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์ (แปล), รฐั ศาสตร์ไม่ฆ่า. กรงุ เทพฯ: คบไฟ, 2552, หน้า 5. 25 เร่อื งเดียวกัน. 26 Chaiwat Satha-Anand, Glenn D. Paige: pioneer of nonkilling studies and peace researcher (1929-2017) [online], 2017. Retrieve from http://nonkilling.org/center/2017/01/23/glenn-d- paige-1929-2017/ 27 เกลน็ ดี. เพจ, (ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์ (แปล)), รัฐศาสตรไ์ ม่ฆ่า, 2552, หนา้ 2. 59

วารสารนิติสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ ปที ่ี 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 Paige ไดก้ ลา่ วถงึ การฆา่ และความรนุ แรงไวจ้ ำ� นวนมากในหนงั สอื อยา่ งไรกต็ าม ผเู้ ขยี นจะ จ�ำกัดขอบเขตไว้ท่ีมุมมองการวิเคราะห์เร่ืองกองทัพกับการเกณฑ์ทหารเท่าน้ัน Paige กล่าวว่า กองทัพเปน็ หนงึ่ ในองคป์ ระกอบหลักทางการเมืองหากคดิ แบบแมกซ์ เวเบอร์ (Max Weber) ในแง่ ท่ีว่า ความรนุ แรงคอื เครื่องมือท่ีส�ำคญั ท่ีสุดของการเมือง (The decisive means for politics is violence) ทง้ั นี้ เวเบอรเ์ คยกลา่ ววา่ การใชก้ ำ� ลงั เปน็ เรอ่ื งพนื้ ฐานของรฐั ทกุ รฐั และ รฐั เปน็ รปู แบบ ของชมุ ชนทมี่ นษุ ยอ์ า้ งสทิ ธ์ิ (อยา่ งประสบความสำ� เรจ็ ) ในการผกู ขาดการใชค้ วามรนุ แรงทางกายภาพ ได้อย่างชอบธรรมภายในอาณาเขตเฉพาะอาณาเขตหนึง่ 28 ผเู้ ขียนเหน็ ว่า หากคดิ แบบรฐั ศาสตรไ์ ม่ ฆ่า ปฏิเสธไม่ได้ว่า กองทัพเป็นหนึ่งในสถาบันที่ให้ก�ำเนิดระบบคุณค่าของตนเองชุดหน่ึงและท�ำ หน้าที่ผลิตซ้�ำคุณค่าชุดน้ัน ระบบคุณค่าที่ว่านี้มีแกนกลาง เป้าหมาย ล�ำดับการให้ความส�ำคัญ มี ความคาดหวัง เหตกุ ารณ์ และปฏิบัติการต่าง ๆ เกี่ยวกับการได้มาและการใชอ้ ำ� นาจ29 กองทพั เป็น สัญลักษณ์ของการใช้ความรุนแรง ประเทศที่ให้ความส�ำคัญกับกองทัพเป็นประเทศท่ียอมรับว่ารัฐ กบั ความรนุ แรงเปน็ สงิ่ ควบคกู่ นั หากมองในมมุ มองรฐั ศาสตรไ์ มฆ่ า่ แลว้ ควรตอ้ งยอมรบั ในแงด่ ที ว่ี า่ ในช่วงปลายศตวรรษท่ี 20 มีประเทศจ�ำนวนมากท่ียอมรับหลักเคารพในมโนธรรมของพลเมืองที่ ปฏเิ สธภารกจิ ทางทหาร (conscientious objection to military conscription)30 พจิ ารณาเฉพาะ การเกณฑท์ หารจะพบวา่ มนษุ ยจ์ ำ� นวนมากในประวตั ศิ าสตรป์ ฏบิ ตั กิ ารอารยะขดั ขนื เพอ่ื ปฏเิ สธเขา้ ร่วมกับกองทัพ แม้พวกเขาต้องแลกมาด้วยการถูกลงโทษก็ตาม งานศึกษาของ Moskos and Chambers31 เคยศกึ ษา เปรียบเทียบประวัตศิ าสตร์การปฏิเสธทจ่ี ะเข้ารว่ มกับกองทัพที่เกิดขนึ้ ใน ประเทศระบอบประชาธิปไตยสมัยใหม่ ผู้ปฏิเสธให้เหตุผลทางการเมืองและความคิดมนุษยธรรม เปน็ หลกั ไมใ่ ชเ่ หตผุ ลทางศาสนาเพยี งเทา่ นน้ั แมจ้ ะมที หารจำ� นวนมากถกู เกณฑบ์ งั คบั ใหเ้ ขา้ สงคราม เช่น ทหารอเมรกิ นั อยา่ งไรก็ตาม มีหลักฐานว่ามที หารราว 22,500 คน ปฏิเสธไม่ท�ำการฆ่าชวี ติ มนษุ ยใ์ นสงครามเกาหลี ขณะทขี่ บวนการตอ่ ตา้ นสงครามเวยี ดนามกเ็ ปน็ เหตใุ หจ้ ำ� นวนทหารอเมรกิ นั ผู้ปฏิเสธไม่ท�ำการฆ่าทวีสูงขึ้นอย่างไม่เคยมีมาก่อน เฉพาะในปี 1972 มีผู้แจ้งความจ�ำนงว่าจะไม่ ทำ� การฆา่ เปน็ จำ� นวนสงู กวา่ คนทไ่ี มไ่ ดแ้ จง้ สว่ นผคู้ ดั คา้ นสงครามเวยี ดนามสว่ นอน่ื กต็ อ่ ตา้ นการขน้ึ ทะเบียนทหาร ยอมถูกจับ หรือไม่ก็อพยพหลบหนี เพ่ือแลกกับอิสรภาพจากการถูกบังคับเกณฑ์ ทหาร32 หลงั จากนน้ั ประเทศสหรฐั ฯ จงึ ไดป้ ระกาศยกเลกิ การเกณฑท์ หารและใชร้ ะบบสมคั รทหาร โดยสมัครใจ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเป็นผลมาจากความตกต่�ำของกองทัพอเมริกันใน 28 Max Weber, Politics as a vocation. Philadelphia: Fortress Press, 1965, p.78. 29 เจมส์ เอ. รอบนิ สัน, ศาสตร์สนู่ โยบายไม่ฆ่า ใน เกล็น ด.ี เพจ. (ศโิ รตม์ คลา้ มไพบูลย์ (แปล)), รัฐศาสตรไ์ มฆ่ ่า, 2552, หนา้ 23. 30 เกล็น ด.ี เพจ, (ศิโรตม์ คลา้ มไพบูลย์ (แปล)), รัฐศาสตร์ไม่ฆ่า, หนา้ 55. 31 เร่อื งเดียวกนั ., หนา้ 55, 72-73. 32 เร่อื งเดยี วกัน., หน้า 73. 60

การเกณฑท์ หารกบั การทรมาน และการละเมิดสทิ ธิมนุษยชนตอ่ ทหารเกณฑ์ในประเทศไทย: บทวิเคราะหจ์ ากมมุ มองหนงั สอื รัฐศาสตร์ไมฆ่ ่า วกิ ฤตการณ์สงครามเวยี ดนาม33 อนง่ึ ก่อนหน้านี้ อลั เบริ ต์ ไอนส์ ไตน์ ที่ดา้ นหนึง่ เปน็ นักวทิ ยาศาสตร์ชือ่ ดัง แตอ่ ีกดา้ นถอื เป็นนักสันติวิธีคนส�ำคัญเคยกล่าวว่า การเกณฑ์ทหารถือเป็นรูปแบบการใช้อ�ำนาจรูปแบบหนึ่งใน การคงระบบทาสเอาไว้ การไม่ต้ังค�ำถามและยอมรับถึงการเกณฑ์ทหารจะสร้างผลกระทบอัน มหาศาลให้กับสังคมโลก34 ขณะที่มหาตมะ คานธี กล่าวว่า ประเทศท่ีคิดว่าตัวเองสามารถบังคับ ประชาชนใหไ้ ปรว่ มสงครามไดต้ ามใจชอบ ยอ่ มไมม่ วี นั ทจ่ี ะคดิ ถงึ คณุ คา่ และความสขุ ของประชาชน ในยามสงบ และคานธีเคยกล่าวว่า การยกเลิกการเกณฑ์ทหารจะเป็นขั้นตอนส�ำคัญท่ีสุดท่ีน�ำไปสู่ การทป่ี ระเทศตา่ ง ๆ จะทำ� การปลดอาวธุ อยา่ งสมบรู ณ์ (complete disarmament) และการเกณฑ์ ทหารถือว่าเป็นภัยอันตรายอย่างใหญ่หลวงตอ่ การสรา้ งสนั ตภิ าพ35 หลังยุคสงครามเย็นหลายประเทศได้ยกเลิกการเกณฑ์ทหารอย่างเป็นทางการ อย่างไรก็ดี ประเทศจ�ำนวนมากเร่ิมลดการเกณฑ์ทหารมาต้ังแตห่ ลงั สงครามโลกครง้ั ทสี่ องแล้ว เชน่ การเกณฑ์ ทหารในประเทศเนเธอรแ์ ลนดล์ ดลงตง้ั แตท่ ศวรรษที่ 1950 เรอื่ ยมาและยกเลกิ อยา่ งเปน็ ทางการใน ปี 1993 แม้แต่ในปจั จบุ นั สโลแกนของกองทพั เนเธอรแ์ ลนดก์ ค็ ือ “เป็นพลเรือนให้มากเท่าท่ีเป็นไป ได้ เป็นทหารเพียงแค่พอเท่าท่ีจ�ำเป็น” ส่วนประเทศเบลเยียมยกเลิกการเกณฑ์ทหารในปี 1995 ประเทศฝรง่ั เศสยกเลกิ ในปี 1996 ตามมาดว้ ยประเทศสเปน อติ าลี และหลายประเทศในยโุ รปตะวนั ออก สว่ นประเทศสวเี ดนยกเลกิ การเกณฑท์ หารในปี 201036 ยงั รวมถงึ ประเทศ เชน่ องั กฤษ แคนาดา ลักเซมเบิรก์ โปรตเุ กส โรมาเนีย สาธารณเช็ก ประเทศแอฟรกิ าใตไ้ ดย้ กเลกิ แล้วเชน่ กนั ฯลฯ ขณะ ท่บี างประเทศได้วางแผนจะยกเลิกการเกณฑ์ทหารในอนาคต เช่น ประเทศรัสเซยี วางแผนที่จะลด จ�ำนวนทหารเกณฑ์พรอ้ มกบั ยกเลกิ การเกณฑท์ หารใหไ้ ดใ้ นชว่ งทศวรรษท่ี 2020 เชน่ เดยี วกบั ประ เทศลิทัวเนียท่ีแม้ยังคงการเกณฑ์ทหารเอาไว้ แต่บุคคลมีสิทธิปฏิเสธเข้าร่วมได้ หากรู้สึกว่าขัดกับ มโนสำ� นกึ ของตนเอง เป็นต้น37 ไมเ่ พียงการยกเลกิ การเกณฑท์ หารเทา่ น้นั หลายประเทศยงั แสดงออกถึงความส�ำคญั น้อย ลงของกองทัพ โดยพิจารณาได้จากผลกระทบทางเศรษฐกิจโลกนับจากปี 2008 เร่ือยมา ท�ำให้ 33 James J. Sheehan, “The Future of Conscription: Some Comparative Reflections,”,: 112-121. 34 V. Alexander Stefan, THUS SPOKE EINSTEIN on LIFE and LIVING: Wisdom of Albert Einstein in the Context, New Jersey: Institute for Advanced Physics Studies, 2011, p. 423. 35 Peter van den Dungen, Press Releases [online], 2016. Retrieve from http://www.nonviolent- resistance.info /eng/press/pressall.htm 36 James J. Sheehan, “The Future of Conscription: Some Comparative Reflections,” ,: 115. 37 Matthias Bieri, Military conscription in Europe: new relevance [online], 2015. Retrieve from http://www.css.ethz.ch/content /dam/ethz/special-interest/gess/cis/center-for-securities- studies/pdfs/CSS-Analyse180-EN.pdf 61

วารสารนิตสิ งั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ ปที ่ี 10 ฉบบั ท่ี 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 ประเทศในยุโรปทเี่ ปน็ สมาชิกขององค์การสนธสิ ัญญาแอตแลนตกิ เหนอื จ�ำนวนมากตัดงบประมาณ กองทัพลง งบประมาณด้านกองทัพจากร้อยละ 2.05 ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ในปี 1999 เหลอื เพยี งรอ้ ยละ 1.65 ตอ่ GDP ในปี 2008 นอกจากนี้ เอลเลยี ต โคเฮน (Eliot Cohen) นักประวัติศาสตร์ชาวอเมริกันเคยกล่าวว่า “ยุคของการมีกองทัพขนาดใหญ่น้ันส้ินสุดลงแล้ว” อยา่ งไรกต็ าม ยงั มอี กี หลายประเทศเชน่ กนั โดยเฉพาะประเทศทป่ี ระชาธปิ ไตยเปราะบาง การเกณฑ์ ทหารจงึ ดเู ปน็ สถาบนั และยังมองไม่เห็นหนทางในการยกเลิก เชน่ อยี ปิ ต์ เกาหลีเหนือ พมา่ ไทย ฯลฯ การยังคงใหค้ วามสำ� คัญกบั การเกณฑท์ หารยงั เปน็ หน่งึ ในปจั จยั ช้วี ัดว่า ประเทศเหลา่ น้นั มอง เหน็ ตนเองทง้ั ในปจั จุบันและอนาคตอย่างไร38 ค�ำถามส�ำคัญตามมาคือ การยกเลิกการเกณฑ์ทหารส่งผลต่อคุณูปการส�ำหรับประเทศ ทย่ี กเลิกอยา่ งไร ประการแรก เปน็ การแสดงออกถงึ การตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของสทิ ธมิ นษุ ยชน กลา่ วคอื ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งท่ีประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติให้การรับรองในปี 1948 ไดย้ นื ยนั ถงึ สทิ ธเิ สรภี าพของมนษุ ยท์ กุ คนอยา่ งแจม่ ชดั และรฐั ไมส่ ามารถบบี บงั คบั ใหพ้ วกเขา กระท�ำการใดท่ีขัดแย้งกับมโนส�ำนึกของพวกเขาได้เพราะพวกเขาสามารถตัดสินชีวิตของเขาเองได้ แม้ข้อความดังกล่าวมีความชัดเจนในตัวเอง แต่นายฌอง แม็คไบรด์ (Sean MacBride) ผู้ก่อต้ัง องคก์ ารนริ โทษกรรมสากลและไดร้ บั รางวลั โนเบลสาขาสนั ตภิ าพในปี 1974 เคยแนะนำ� วา่ ปฏญิ ญา สากลวา่ ดว้ ยสทิ ธมิ นษุ ยชนขา้ งตน้ ควรระบถุ งึ “สทิ ธใิ นการปฏเิ สธการฆา่ ” (right to refuse to kill) เข้าไปดว้ ย39 ในแงน่ ้ี การเกณฑท์ หารเป็นการใช้อำ� นาจรัฐในการควบคุมเหนือร่างกายและชว่ งชีวติ มนษุ ย4์ 0 การไปบบี บังคับใหม้ นุษยต์ อ้ งไปเป็นทหาร ถอื วา่ เป็นการแสดงออกในทางตรงกันขา้ มกบั หลักการความเคารพในสิทธมิ นษุ ยชน ประการที่สอง เป็นการเสริมสร้างประชาธิปไตยด้วยการลดทอนความส�ำคัญในสถานะ ของกองทพั หลายประเทศมคี วามเปน็ ประชาธปิ ไตยทเี่ ขม้ แขง็ ไดเ้ นอื่ งมาจากการจดั วางความสมั พนั ธ์ ระหวา่ งพลเรอื นและทหารอยา่ งเหมาะสม กลา่ วคอื พลเรอื นตอ้ งมอี ำ� นาจเหนอื ทหารและทหารตอ้ ง เป็นทหารอาชีพ บางประเทศสร้างประชาธิปไตยได้ผ่านการปฏิรูปกองทัพ และหนึ่งในนั้นคือการ ยกเลกิ การเกณฑ์ทหาร เชน่ ประเทศอารเ์ จนตนิ าภายหลังความเสือ่ มทรุดของกองทัพในช่วงปราบ 38 Ibid., p. 119. 39 Oseremen Irene, Nonkilling Political Leadership [online], 2013. Retrieve from http://nonkilling. org/center/publications-media/periodicals -global-nonkilling-working-papers/ 40 Kristen Song, “Between Global Dreams and National Duties: the Dilemma of Conscription Duty in the Transnational Lives of Young Korean Males. Global Networks,” A Journal of Transna- tional Affairs, 15, 1(2015): 6. 62

การเกณฑ์ทหารกบั การทรมาน และการละเมิดสิทธมิ นุษยชนตอ่ ทหารเกณฑ์ในประเทศไทย: บทวิเคราะหจ์ ากมุมมองหนังสอื รัฐศาสตร์ไม่ฆ่า ปรามประชาชนหรอื ทเี่ รยี กวา่ สงครามสกปรกระหวา่ งปี 1976-1983 มคี วามพยายามปฏริ ปู กองทพั ในประเด็นตา่ ง ๆ จ�ำนวนมาก และหนง่ึ ในนน้ั คอื การยกเลกิ การเกณฑท์ หารในปี 1995 ซงึ่ แตเ่ ดมิ ประเทศออกกฎหมายการเกณฑท์ หารตงั้ แตใ่ นปี 190241 ทำ� นองเดยี วกบั ทอี่ ดตี ประเทศคอมมวิ นสิ ต์ ในยโุ รปตะวนั ออกจำ� นวนมากไดใ้ หค้ วามสำ� คญั กบั กองทพั ลดนอ้ ยลงและไดย้ กเลกิ ระบบเกณฑท์ หาร ผลทตี่ ามมาจงึ ทำ� ใหป้ ระเทศเหลา่ นนั้ มพี ฒั นาการประชาธปิ ไตยทส่ี งู ขน้ึ มารต์ นิ ชอว์ (Martin Shaw) นักสงั คมวิทยาผเู้ ชี่ยวชาญดา้ นทหารช่อื ดังเคยกลา่ วในประเดน็ น้วี ่า “ปราการดา่ นสุดท้ายของลทั ธิ ทหารนยิ มในโลกอตุ สาหกรรมซกี โลกเหนือได้สิ้นสดุ แล้ว ประเทศในยโุ รปตะวันออกกลายเปน็ รัฐท่ี ให้ความส�ำคัญกบั พลเรือนเหมือนเช่นแบบอยา่ งของยโุ รปตะวันตก”42 ไมเ่ พียงเท่านัน้ งานวจิ ัยของ แอนโทนิส อดัม (Antonis Adam)43 ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเกณฑ์ทหารกบั ความเปน็ ประชาธิปไตย โดยอาศัยขอ้ มูลของ 149 ประเทศทว่ั โลกระหว่างปี 1970-2005 และไดข้ ้อสรุปว่า ประเทศที่มีเสถียรภาพทางประชาธิปไตยจะไม่ใช้หรือยกเลิกวิธีการเกณฑ์ทหารไปแล้ว นอกจากน้ี องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือและสหภาพยุโรปได้แสดงออกถึงการสนับสนุนให้ประเทศ สมาชกิ ยกเลกิ การเกณฑท์ หาร เชน่ เดยี วกบั นำ� ประเดน็ เรอ่ื งการเกณฑท์ หารมาเปน็ สว่ นหนงึ่ ของการ พิจารณารบั ประเทศต่าง ๆ เข้ามาเปน็ สมาชกิ อกี ดว้ ย44 ประการท่ีสาม การเกณฑ์ทหารเป็นเร่ืองสิ้นเปลืองทางเศรษฐกิจเป็นอย่างยิ่ง เน่ืองจาก ประเทศจะต้องนำ� เงนิ มาเปน็ ค่าจา้ งทหารเกณฑ์ คา่ วสั ดุ ค่าอาวุธ รวมถงึ คา่ ใชจ้ า่ ยอืน่ ๆ นับจาก ทศวรรษท่ี 1990 เป็นต้นมา หลายประเทศไดย้ กเลกิ ระบบการเกณฑท์ หารเน่อื งจากสาเหตุส�ำคญั คือความสิ้นเปลืองด้านงบประมาณ45 ไม่เพียงเท่าน้ัน การเกณฑ์ทหารยังสัมพันธ์กับต้นทุนทาง เศรษฐกจิ อยา่ งมหาศาล หากมนิ บั เพยี งในแงร่ ายไดส้ ว่ นตวั ของประชาชน ซง่ึ พวกเขาสามารถทำ� การ 41 Santiago Garaño, “The Opposition Front against Compulsory Military Service: The Conscription Debate and Human-Rights Activism in Post-dictatorship Argentina,” Genocide Studies and Prevention: An International Journal, 5, 2(2010): 174-190. 42 ตน้ ฉบบั ภาษาองั กฤษคอื ““the last bastions of classical militarism in the northern industrial world,” the former Communist regimes of Eastern Europe have become, within little more than a decade, civilian states on the Western European model.” โปรดดู James J. Sheehan, “The Future of Conscription: Some Comparative Reflections,” ,: 117. 43 Antonis Adam, “Military conscription as a means of stabilizing democratic regimes,” Public Choice, 150, 3/4 (2012): 715-730. 44 Matthias Bieri, Military conscription in Europe: new relevance, (online), 2015 Retrieve from http://www.css.ethz.ch/content/dam/ethz/special-interest/gess/cis/center-for-securities-studies/ pdfs/CSS-Analyse180-EN.pdf 45 Sheng-Tung Chen, Jyun-Wei Lai and Arwin Pang, “The effect of military service system change on the demand for military expenditure,” Defence and Peace Economics, 26, 6 (2015): 623- 633. 63

วารสารนติ ิสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 10 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 ผลติ ทส่ี ง่ ผลตอ่ เศรษฐกจิ อะไรไดม้ ากกวา่ การไปอยใู่ นคา่ ยทหารหรอื เรยี กวา่ การสญู เสยี แรงงานทาง เศรษฐกจิ การสญู เสยี ยงั สง่ ผลพวงไปถงึ การเตบิ โตของตวั เลขผลติ ภณั ฑม์ วลรวมในประเทศ (GDP) ตลอดจน การสญู เสียคา่ เสยี โอกาสอืน่ ๆ (opportunity costs)46 ประการทส่ี ี่ การเกณฑท์ หารสง่ ผลตอ่ ความเปน็ ทรพั ยากรมนษุ ย์ การนำ� ชายหนมุ่ หรอื หญงิ สาว (บางประเทศมกี ารเกณฑส์ ตรเี ปน็ ทหาร) ในวยั ทพ่ี วกเขาจำ� เปน็ ตอ้ งสงั่ สมวชิ าความรหู้ รอื สง่ั สม การเรยี นรใู้ นดา้ นตา่ ง ๆ ไมว่ า่ จะเปน็ ดา้ นการศกึ ษา ดา้ นการฝกึ อาชพี ดา้ นประสบการณ์ ฯลฯ เขา้ ไป อยู่ในค่ายทหาร ถือว่าเป็นการหยุดหรือท�ำให้กระบวนการเรียนรู้ดังกล่าวชะงักลงไป47 ยิ่งกว่าน้ัน การเกณฑท์ หารยงั เป็นการตดั อนาคตทด่ี ขี องพวกเขาไป เช่น เร่อื งราวของนายซองมนิ (Sangmin) หนุ่มชาวเกาหลีใต้ที่ครอบครัวส่งไปเรียนในประเทศสหรัฐฯ ตั้งแต่อายุ 14 ขวบ ด้วยความเพียร พยายามของเจา้ ตวั สง่ ผลใหต้ นเองมผี ลการเรยี นยอดเยยี่ มจนไดร้ บั ทนุ ของมหาวทิ ยาลยั แหง่ หนงึ่ ให้ เข้าศึกษาต่อและเรียนจบในระดับยอดเยี่ยม จากน้ัน ซองมินได้เข้าท�ำงานในบริษัทการเงินในย่าน แมนฮตั ตนั อนั มชี อ่ื เสยี งของประเทศในปี 2009 ผา่ นไปอกี สองปี คอื ปี 2011 บรษิ ทั ไดเ้ ลอ่ื นตำ� แหนง่ ใหเ้ ขาเปน็ ตำ� แหนง่ ทส่ี งู ขนึ้ เพอ่ื ตอบแทนความสามารถอนั ยอดเยย่ี ม อยา่ งไรกด็ ี ในชว่ งเวลาเดยี วกนั สถานทูตเกาหลีใต้ได้ระบุว่าเขาจะไม่ได้รับการต่ออายุในพาสปอร์ตเน่ืองจากยังไม่ได้กลับไปรับใช้ ภารกิจทหาร ซึ่งเขาต้องกลับไปก่อนที่อายุพาสปอร์ตก�ำลังจะหมดลงอีกสามเดือน กรณีเช่นน้ีเกิด ข้ึนจ�ำนวนมากกับเด็กหนุ่มในประเทศที่ยังมีการเกณฑ์ทหาร ซ่ึงเป็นการท�ำลายความฝันและแรง บันดาลใจในการสรา้ งอนาคตของพวกเขา ในส่วนกรณขี องซองมนิ และชาวเกาหลใี ต้จ�ำนวนมากใน ประเทศสหรัฐ ฯ เคอร์สเทน ซอง (Kirsten Song)48 ระบุว่า นเี่ ป็น “ภาวะปฏิทรรศนร์ ะหวา่ งความ ฝนั สโู่ ลกสากลกบั หนา้ ทเี่ พอ่ื ชาต”ิ (dilemma between global dreams and national duties) ในบางประเทศกำ� หนดระยะเวลาการเกณฑท์ หารสองปี ดว้ ยการทปี่ จั จบุ นั สงครามไมไ่ ดเ้ ปน็ ประเดน็ สำ� คญั ของโลกอกี ตอ่ ไป ทหารเกณฑจ์ ำ� นวนมากจงึ ไมไ่ ดฝ้ กึ การรบเพยี งอยา่ งเดยี ว แตพ่ วกเขายงั ตอ้ ง ท�ำงานในหนว่ ยทไ่ี ม่เก่ียวกบั การรบ (Champagne unit) ทำ� งานธรุ การหรืองานเอกสารแทน บาง ประเทศทหารเกณฑต์ อ้ งไปทำ� หนา้ ทขี่ บั รถยนต์ ตดั หญา้ ทำ� งานบา้ น ฯลฯ ซง่ึ เมอื่ พวกเขาปลดระวาง แลว้ พวกเขามกั จะเผชญิ ปญั หาในการหางานเนอ่ื งดว้ ยทกั ษะความรขู้ องเขาไดถ้ กู บน่ั ทอนศกั ยภาพ ไปเปน็ อย่างมาก49 46 Antonis Adam, “Military conscription as a means of stabilizing democratic regimes,” ,: 715-730. 47 MortenI. Lau, Panu Poutvaara, and Aadreas Wagener, “Dynamic costs of the draft,” German Economic Review, 5, 4 (2014): 381-406. 48 Kristen Song, “Between Global Dreams and National Duties: the Dilemma of Conscription Duty in the Transnational Lives of Young Korean Males,” Global Networks,” ,: 70. 49 พมิ พ์ชนก พุกสขุ , “สุรชาติ บำ� รงุ สุข เกณฑ์ทหาร เรอื่ ง’ร้อน’เดิมๆ ประจำ� เมษายน,” มตชิ น (9 เมษายน 2559): 13. 64

การเกณฑท์ หารกบั การทรมาน และการละเมดิ สทิ ธมิ นุษยชนตอ่ ทหารเกณฑ์ในประเทศไทย: บทวเิ คราะห์จากมุมมองหนังสือรัฐศาสตร์ไม่ฆ่า ประการที่ห้า ปฏิเสธไม่ได้ว่า การเกณฑ์ทหารส่งผลต่อสุขภาพจิตของผู้คนที่ไม่อยากถูก บังคับให้ต้องเป็นทหาร มีงานวิจัยช้ินหน่ึงได้ศึกษาถึงการฆ่าตัวตายของผู้ที่เกณฑ์และเคยผ่านการ เกณฑท์ หารในประเทศฟินแลนด์พบวา่ มกี ารฆา่ ตัวตายจ�ำนวน 48 ราย ในระหว่างปี 1991-2007 ในจำ� นวนนม้ี ี 6 รายทฆ่ี า่ ตวั ตายในคา่ ยทหาร จำ� นวน 36 รายฆา่ ตวั ตายภายหลงั ปลดระวาง จำ� นวน หน่ึงรายฆ่าตัวตายขณะที่ก�ำลังปฏิบัติการฝึกรบ และจ�ำนวนท่ีเหลือฆ่าตัวตายขณะหนีออกมาจาก คา่ ยทหารโดยไมข่ ออนญุ าตผคู้ มุ ฝกึ สว่ นรปู แบบการฆา่ ตวั ตายมากทส่ี ดุ คอื การยงิ ตวั ตาย รองลงมา คอื การแขวนคอและกระโดดตกึ จากการสอบถามคนใกลช้ ิดผู้เสยี ชีวติ พบวา่ ผตู้ ายมีปัญหาในเร่อื ง การปรับตัว ความหวาดกลัวและความผิดปกติทางอารมณ์เม่ือต้องเข้าไปใช้ชีวิตในค่ายทหาร (ad- justment, anxiety and mood disorders) ผลการวิจัยนี้ยังคล้ายคลึงกับในกรณีของประเทศ อสิ ราเอลทพี่ บว่าทหารเกณฑจ์ ำ� นวนหนึ่งมอี าการเปน็ โรคซมึ เศร้า (major depression)50 หากนำ� ขอ้ มลู ขา้ งตน้ มารว่ มสนทนากบั หนงั สอื รฐั ศาสตรไ์ มฆ่ า่ จะพบวา่ เอาเขา้ จรงิ ๆ แลว้ มนุษย์ไม่ได้มีธรรมชาติเป็นผู้ฆ่า แม้ว่าเป้าหมายพื้นฐานของการฝึกทหารคือ “การก้าวข้ามเกณฑ์ เฉลย่ี ทเี่ อกบุคคลจะต่อต้านการฆ่าในระดับลกึ ทสี่ ดุ ” แตใ่ นประวัติศาสตรท์ ี่ผ่านมาจะพบวา่ แมจ้ ะ มีมนุษยจ์ ำ� นวนมากทเี่ ขา้ ร่วมสงคราม แตพ่ วกเขาไมไ่ ด้มีความพยายามจะฆ่าศตั รู เพยี งแต่ตอ้ งการ ปกป้องชีวิตของเขาหรือของเพ่ือน ในแง่นี้ นายพลกรอสแมน (Grossman)51 จึงระบุว่า “สงครามสร้างสภาพแวดล้อมซงึ่ ทำ� ลายจติ ใจของคนท่ีเกี่ยวขอ้ งถึงร้อยละ 98 สว่ นคนอีกรอ้ ยละ 2 ทไี่ มไ่ ดเ้ สียสตเิ พราะสงคราม ก็คอื คนทเ่ี สียสติอยกู่ อ่ นแล้ว นั่นคอื มจี ิตใจโหดร้ายมากอ่ นจะย่างเขา้ สสู่ มรภมู ิใด ๆ” กลา่ วในแง่น้ไี ดว้ ่า แม้การฝึกทหารจะเป็นการท�ำให้ปจั เจกบุคคลสามารถขา้ มผ่าน ภาวะต่อต้านการฆา่ แตภ่ าวะดังกล่าวขัดกับธรรมชาตขิ องมนษุ ย์ที่ไมไ่ ด้คือนักฆ่า ประการทห่ี ก การเกณฑท์ หารสง่ ผลเสยี ตอ่ ดา้ นความเปน็ มอื อาชพี ของกองทพั เอง (profes- sionalism) ปจั จบุ นั แนวโนม้ เรอ่ื งความมนั่ คงกำ� ลงั เปลย่ี นจากการมกี องกำ� ลงั ขนาดใหญไ่ ปเปน็ กอง ก�ำลงั ขนาดปานกลางหรอื เล็ก แต่มเี ทคโนโลยที มี่ ปี ระสิทธิภาพ ทหารที่มีอยู่ควรเปน็ ทหารอาชีพที่ มีความเชีย่ วชาญ แตก่ ารนำ� ทหารเกณฑ์มาฝกึ ในชว่ งเวลาส้ัน ๆ ไม่ไดท้ �ำใหพ้ วกเขามปี ระสบการณ์ แต่อย่างใด รวมถึง พวกเขายังต้องเผชิญความไม่มั่นคงในอาชีพ ดังนั้นจึงขาดแรงจูงใจในการท�ำ หนา้ ทที่ หารเกณฑ5์ 2 ในประเดน็ นี้ สรุ ชาติ บำ� รงุ สขุ 53 กลา่ วทำ� นองเดยี วกนั วา่ ปจั จบุ นั ประเทศจำ� นวน 50 Tanja Laukkala, Timo Partonen, Mauri Marttunen, and Markus Henriksson, “Suicides among military conscripts between 1991–2007 in Finland- A descriptive replication study,” Nordic Journal of Psychiatry, 68, 4(2014): 270-274. 51 เกล็น ด.ี เพจ, (ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์ (แปล)), รัฐศาสตรไ์ ม่ฆา่ , หนา้ 32. 52 Katarina Keller, Panu Poutvaara, and Andreas Wagener, “ Military Draft and Economic Growth in OECD Countries,” Defence and Peace Economics, 20, 5(2009): 373-393. 53 พิมพ์ชนก พุกสขุ , “สรุ ชาติ บำ� รงุ สขุ เกณฑ์ทหาร เร่อื ง’รอ้ น’เดิมๆ ประจ�ำเมษายน,” ,: 13. 65

วารสารนติ สิ งั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปที ่ี 10 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม-ธนั วาคม 2560 มากมีการส�ำรวจว่า นิยมใช้ทหารอาชีพโดยตรง ซึ่งรับผ่านการสมัครโดยสมัครใจ เน่ืองจากระบบ เชน่ นม้ี คี า่ ใชจ้ า่ ยนอ้ ยกวา่ การคงทหารเกณฑไ์ วด้ ว้ ย เพราะไมต่ อ้ งนำ� งบประมาณมาฝกึ เฉพาะใหท้ หาร เกณฑ์ในช่วงเวลาสั้น ๆ และไม่สามารถคาดหวังถึงความภักดีในองค์กรจากทหารเกณฑ์ได้เช่นกัน เนอ่ื งจากรัฐกไ็ ม่ได้สรา้ งหลกั ประกนั ใหพ้ วกเขา คำ� ถามสำ� คญั ตามมาทค่ี วรรว่ มกนั ขบคดิ คอื นกั รฐั ศาสตรค์ วรจะแสดงออกเพอ่ื ตอ่ ตา้ นการ เกณฑท์ หารอยา่ งไร ในชว่ งครงึ่ หลงั ของหนงั สอื รฐั ศาสตรไ์ มฆ่ า่ เพจไดเ้ สนอแนะถงึ การสรา้ งสถาบนั ตา่ ง ๆ เพอ่ื เออื้ ตอ่ การไมฆ่ า่ และคำ� แนะนำ� แกน่ กั รฐั ศาสตรเ์ พอื่ รบั นำ� หลกั การไมฆ่ า่ ใหม้ คี วามสำ� คญั ทดั เทยี มกบั มโนทัศนอ์ ืน่ ๆ เชน่ ความยุตธิ รรม เสรีภาพ ความเท่าเทยี มกนั ฯลฯ เพจกลา่ ววา่ “วชิ า รัฐศาสตร์ไม่ฆ่ามุ่งลดตัวแปรท่ีก่อให้เกิดความรุนแรง และส่งเสริมให้ตัวแปรที่เกื้อกูลต่อความไม่ รนุ แรงเตบิ โตขนึ้ ” 54 ปฏเิ สธไมไ่ ดเ้ ลยวา่ การยกเลกิ การเกณฑท์ หารถอื วา่ เปน็ หนง่ึ ในการลดตวั แปร ที่จะน�ำไปส่คู วามรุนแรง เพจยังเลง็ เห็นวา่ หลักฐานของการเปน็ สงั คมไมฆ่ า่ คือ การไม่ยอมรับการ ท�ำลายชีวิตมนุษย์ในสงคราม หลักเคารพในมโนธรรมของพลเมืองที่ปฏิเสธภารกิจทางทหาร การต่อต้านโทษประหารชีวิต การต่อต้านการท�ำแท้ง การเคล่ือนไหวคัดค้านการสะสมอาวุธ การเคลื่อนไหวเพ่ือสร้างความเปล่ียนแปลงทางโครงสร้างเศรษฐกิจอย่างสันติวิธี รวมทั้ง ความเปลี่ยนแปลงทางความสัมพันธ์ระหว่างเพศ สีผิว วัฒนธรรม ศาสนา และการแสดงออก ทางศลิ ปะ วรรณคดตี า่ ง ๆ55 ไมเ่ พยี งเทา่ นนั้ การสนบั สนนุ การคงอยขู่ องระบบเกณฑท์ หารยงั จะนำ� ไปสภู่ าระทางเศรษฐกจิ ทย่ี ากจะประเมนิ คา่ ได้ ไมว่ า่ จะเปน็ คา่ เงนิ เดอื น คา่ อาวธุ คา่ วสั ดอุ ปุ กรณใ์ น การฝกึ ฯลฯ ทงั้ ๆ ทท่ี รพั ยากรตรงนคี้ วรถกู นำ� ไปใชใ้ นการพฒั นาดา้ นสาธารณสขุ และความเปน็ อยู่ ที่ดีข้ึนให้กับมนุษย์ ในช่วงท้ายของหนังสือรัฐศาสตร์ไม่ฆ่า เพจจึงได้น�ำค�ำกล่าวหนึ่งของอดีต ประธานาธิบดีไอเซนฮาวร์มาแสดงเพ่ือให้เห็นว่า การคงความเป็นไปได้ของการใช้ความรุนแรงเอา ไว้สร้างต้นทุนมหาศาลให้กับสงั คม ไอเซนฮาวร์กล่าวในปี 1953 วา่ “ถงึ ท่สี ุดแล้วปนื ทกุ กระบอกที่ สรา้ งขึ้น เรือรบทุกล�ำท่ีออกจากฐานทัพ และจรวดทกุ ลกู ท่ียงิ ออกไป คอื สัญลกั ษณ์ของการปลน้ ชงิ อาหารจากคนทอ่ี ดอยากหวิ โหย รวมทง้ั การปลน้ ชงิ เครอ่ื งนงุ่ หม่ จากคนทเ่ี หนบ็ หนาวและปราศจาก อาภรณ์คลุมกาย” หัวข้อต่อไปผู้เขียนจะถกเถียงและแสดงถึงข้อเสนอแนะเรื่องการเกณฑ์ทหาร สู่สงั คมไทย 54 เกลน็ ด.ี เพจ, (ศโิ รตม์ คล้ามไพบูลย์ (แปล)), รัฐศาสตร์ไมฆ่ ่า, หน้า 113-114. 55 เรือ่ งเดยี วกัน., หน้า 74. 66

การเกณฑ์ทหารกับการทรมาน และการละเมดิ สทิ ธมิ นุษยชนต่อทหารเกณฑ์ในประเทศไทย: บทวเิ คราะห์จากมุมมองหนังสอื รัฐศาสตร์ไม่ฆ่า 6. ขอ้ เสนอแนะการเกณฑท์ หารในสงั คมไทย จากข้อมูลทั้งปัญหาการเกณฑ์ทหารในสังคมไทยและแนวโน้มการยกเลิกการเกณฑ์ทหาร ในสงั คมโลกดงั ทก่ี ลา่ วไปกอ่ นหนา้ น้ี ผเู้ ขยี นมขี อ้ เสนอเชน่ เดยี วกบั ภาคสว่ นอนื่ ๆ ในสงั คมไทยจำ� นวน หน่ึงคอื ประเทศไทยควรมกี ารยกเลกิ การเกณฑ์ทหารและใช้รปู แบบสมคั รทหารด้วยความสมคั รใจ แทน ขอ้ เสนอดงั กลา่ วไดถ้ ูกนำ� เสนอจากภาคสว่ นต่าง ๆ ดว้ ยเหตุผลทมี่ นี �้ำหนัก พจิ ารณาข้อเสนอ จากภาคส่วนต่าง ๆ ดงั น้ี ภาคสว่ นกองทัพ จารุพล พงษ์สุริยา ได้เขียนงานวิจัยขณะที่มียศเป็นทหารระดับพันตรีในปี 2546 ว่า ประเทศไทยควรยกเลิกการเกณฑ์ทหาร เพราะประเทศไทยมิได้อยู่ในสภาวะของการสงคราม เหมอื นอยา่ งในอดตี ไมเ่ พยี งเทา่ นนั้ ปญั หาของทหารเกณฑย์ งั ตอ้ งประสบกบั การมคี า่ ตอบแทนทตี่ ำ�่ อกี ทง้ั ทหารทถ่ี กู เกณฑบ์ างคนมงี านดอี ยแู่ ลว้ ไดร้ บั ผลกระทบ ทำ� ใหต้ อ้ งออกจากงานมารบั ราชการ ทหาร ซ่ึงเป็นปัจจยั ทำ� ใหข้ าดแรงจูงใจ จึงไมอ่ ยากเขา้ รบั ราชการทหารกองประจำ� การและเม่อื ออก จากกองประจ�ำการแล้ว ก็ไม่มีหลักประกันว่าจะกลับไปท�ำงานท่ีเดิมได้อีกหรือไม่ เพราะไปรับ ราชการในกองประจ�ำการเปน็ เวลานานถงึ 2 ปี เปน็ เหตใุ หน้ ายจา้ งตอ้ งรบั บคุ คลอน่ื เขา้ ท�ำงานแทน ตน เพอื่ ไมใ่ หเ้ กดิ ความเสยี หายแกบ่ รษิ ทั ของนายจา้ ง ตลอดจน ทหารเกณฑม์ กั ไดร้ บั การดถู กู ดหู มน่ิ เหยยี ดหยามจากสงั คมและไมใ่ หเ้ กยี รตเิ ทา่ ทคี่ วร เชน่ ถกู เรยี กวา่ ไอเ้ ณร ฯลฯ56 ดงั นน้ั จารพุ ล พงษ์ สุริยาเสนอว่า การรับบุคคลชายไทยเข้ารับราชการทหารได้น้ัน จึงควรเอาเฉพาะบุคคลท่ีสมัครใจ หรอื เตม็ ใจ ทม่ี คี วามตัง้ ใจโดยเฉพาะ เพอ่ื มาลงบญั ชที หารไว้ ซ่ึงควรหาทางในการดงึ ดูดใจหรอื หา มาตรการใด ๆ ให้บคุ คลเข้ามาเป็นทหาร โดยใหส้ วัสดิการท่ดี ใี นการดำ� รงชวี ติ ในสังคมไดอ้ ยา่ งปกติ สุข57 นอกจากน้ี พ.ท.หญิง ดร. อมรรัษฏ์ บุนนาค กล่าวในงานวิชาการของตนเองในปี 2557 ว่า การรบตามแบบซึ่งใช้ก�ำลังพลจ�ำนวนมากเหมือนในอดีตน้ันคงเกิดข้ึนได้ยาก กระทรวงกลาโหมใน หลายประเทศท่ัวโลกได้ตระหนักถึงการเปล่ียนแปลงนี้มามากกว่าสองทศวรรษ รวมถึงประเทศ มหาอำ� นาจ อย่างสหรฐั อเมรกิ า และประเทศมหาอ�ำนาจในยโุ รป ดังนน้ั ประเทศต่าง ๆ เหลา่ น้จี ึง พยายามลดกำ� ลงั รบหลกั ของตนลงเพอ่ื ลดภาระทางดา้ นเศรษฐกจิ และงบประมาณทมี่ อี ยอู่ ยา่ งจำ� กดั กล่าวในแง่น้ีเห็นได้ว่า งานวิชาการที่มาจากคนในกองทัพเองก็สนับสนุนให้มีการยกเลิกการเกณฑ์ ทหารเช่นกนั 58 56 จารุพล พงษ์สรุ ยิ า, พันตรี, “มาตรการในการแกไ้ ขการเกณฑท์ หาร ตามพระราชบัญญัติราชการทหารพ.ศ. 2497,”, หน้า 117-119. 57 เร่อื งเดียวกนั ., หนา้ 124. 58 TCIJ, สแกนลายพราง: ปญั หาทา้ ทายกองทพั ‘เกณฑ์ทหาร’ ยุคประชากรลด-สงครามเปลย่ี น [ออนไลน]์ , 2015. Retrieve from http://www.tcijthai.com/news/2015/31/scoop/5581 67

วารสารนติ สิ ังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ ปที ี่ 10 ฉบบั ท่ี 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 ภาคส่วนนักการเมือง ในรอบหลายปที ผ่ี า่ นมา วิลาศ จันทร์พิทกั ษ์ จากพรรคประชาธิปตั ย์ เปน็ ผ้ทู ก่ี ลา่ วถงึ การ ยกเลิกการเกณฑท์ หารอย่างสมำ�่ เสมอ วิลาศใหเ้ หตุผลวา่ การนำ� ทหารไปฝกึ สามเดอื น จากน้ันให้ ทหารไปท�ำหน้าที่รับใช้นายทหารระดับสูง หรือให้ทหารกลับบ้าน แต่ต้องให้เจ้านายรับเงินเดือน แทน ถอื วา่ เปน็ การทจุ รติ รปู แบบหนึง่ วิลาศกล่าววา่ “การฝกึ ทหารเพ่อื หวงั ใหเ้ ป็นก�ำลังรบยามศึก สงคราม ท่ีสุด กลายเป็นรบไม่เป็น เพราะมัวแต่เอาทหารไปถูบ้าน เล้ียงหมา หากมีการประเมิน ตัวเลขทหารที่เกณฑ์เข้าไป และไปเป็นทหารรับใช้ ผมว่าเกินครึ่ง ไม่เชื่อลองไปดูตามร้าน สวสั ดิการทหาร องคก์ รตา่ ง ๆ ของรฐั กเ็ อาทหารเกณฑ์ทัง้ นั้น ไปใช้แรงงาน ชงกาแฟ ปิง้ ขนมปัง ถือว่าไม่ถูก การเอาทหารเกณฑ์ไปอยู่ตามบ้านถือเป็นคอร์รัปช่ันอย่างหนึ่ง หนักสุดคือการยึดเงิน เดือนทหาร การอ้างว่าเอาทหารไปดูแลระดับผู้บังคับบัญชานั้น ต้องถามว่าอาชีพทหารมันต่างกับ อาชพี อนื่ หรอื หนว่ ยงานอนื่ กม็ ผี บู้ งั คบั บญั ชา ทำ� ไมไมเ่ หน็ มคี นไปดแู ลบา้ งละ่ ทหารเปน็ เทวดาหรอื ”59 อย่างไรก็ตาม เป็นท่ีน่าเสียดายที่ในภาคส่วนนักการเมืองแทบจะไม่ขบคิดและถกเถียงถึงปัญหาน้ี เท่าทค่ี วร ภาคสว่ นวชิ าการ ในส่วนของวิชาการท่ีมีข้อเสนอให้ยกเลิกการเกณฑ์ทหารน้ัน จะให้ความส�ำคัญกับการต้ัง คำ� ถามประเดน็ วา่ ดว้ ย “ชาต”ิ เนอื่ งจากสงั คมไทยมกั ผลติ ซำ�้ มายาคตวิ า่ การเกณฑท์ หารคอื การรบั ใชช้ าตแิ ละเป็นการแสดงออกต่อความรกั ชาติ อยา่ งไรก็ตาม ครั้งหน่ึง ป๋วย อ๊ึงภากรณ์ ปัญญาชน คนส�ำคัญของสังคมไทยเคยกล่าวว่า “เร่ืองการรับใช้ชาติ การท�ำสาธารณประโยชน์ให้แก่ส่วนรวม นนั้ ไมเ่ พยี งแตอ่ ยทู่ ก่ี ารเกณฑท์ หาร หรอื ไมอ่ ยทู่ กี่ ารรบั ราชการทหารอยา่ งเดยี ว”60 เชน่ เดยี วกบั สรุ ชาติ บ�ำรุงสขุ ได้ตอบคำ� ถามที่ว่า “สงั คมไทยมกั น�ำคำ� ว่ารับใชช้ าตไิ ปผูกกบั การเป็นทหาร อันทจ่ี ริง คิดว่ามีวิธีไหนในการรับใช้ชาติอีกไหม?” สุรชาติตอบว่า “ในบางสังคม ค�ำว่าการรับใช้ชาติอาจมี ทางออก เชน่ ไปชว่ ยงานในโรงพยาบาล รับใช้ชาตมิ ี 2 มติ ิ คือรับใช้ในภาคสนาม หรือไม่ก็มาอย่ใู น บริบท Social services การบรกิ ารสังคม”61 ขณะท่ี เนตวิ ทิ ย์ โชติภทั ร์ไพศาล ประธานสภานสิ ิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ชูป้ายข้อความขณะท่ียื่นเอกสารขอผ่อนผันการเกณฑ์ทหารว่า “การรกั ชาติ ควรทำ� ไดห้ ลายทาง การบงั คบั เกณฑท์ หารเปน็ สงิ่ ลา้ สมยั และเกนิ จำ� เปน็ ” เนตวิ ทิ ยใ์ ห้ 59 “วลิ าศ ช้ี ทหารเกณฑ์เกินคร่งึ กลายเป็นทหารรบั ใช้ จ้ี ยกเลิก ซัดเป็นคอรร์ ปั ชน่ั อยา่ งหนึ่ง,” มติชนออนไลน ์ (5 เมษายน 2560), เขา้ ถึงจาก https://www.matichon.co.th/news/519449 60 อ้างใน สมชาย ปรีชาศิลปกุล, “จ่านวิ และปว๋ ย”: สมมติเสวนาว่าด้วยเสรภี าพในมโนธรรม การเกณฑท์ หาร และการรับใช้ชาติ” [ออนไลน]์ , 2560. เขา้ ถงึ จาก https://www.the101.world/thoughts/when-ja-new- meets-ajarn-puey/ 61 พิมพ์ชนก พุกสขุ , “สรุ ชาติ บำ� รุงสุข เกณฑท์ หาร เรอ่ื ง’ร้อน’เดิมๆ ประจ�ำเมษายน,” ,: 13. 68

การเกณฑ์ทหารกบั การทรมาน และการละเมดิ สทิ ธิมนษุ ยชนตอ่ ทหารเกณฑ์ในประเทศไทย: บทวิเคราะห์จากมมุ มองหนังสอื รฐั ศาสตร์ไม่ฆ่า เหตุผลว่า “การรักชาติไม่ได้มีรูปแบบเดียว ส่วนความคิดที่ว่าต้องรับใช้ชาติโดยการเป็นทหารนั้น เปน็ ความคดิ ทลี่ า้ หลงั หมดสมยั ความคดิ แบบนเ้ี ปน็ การยกยอ่ งทหารวา่ ทหารเปน็ คนรกั ชาตอิ ยกู่ ลมุ่ เดียว แล้วกลุม่ อนื่ ๆ ไม่สำ� คญั หรอื อยา่ งไร เชน่ คนกวาดพน้ื พอ่ บา้ นแมบ่ ้าน พ่อค้า แมค่ า้ ครู ฯลฯ ทุกคนไม่มีความส�ำคัญเลยใช่ไหมนอกจากทหาร แล้วทหารอ้างแบบนี้ใช่ไหมถึงปกครองบ้านเมือง แบบน้ี ด้วยการอ้างวา่ รักชาติ ควรยกเลิกไดแ้ ล้ว การอา้ งว่าทหารกลุ่มเดยี วทร่ี ักชาติ” 62 ควรตอ้ งกลา่ วเสริมดว้ ยวา่ คนหน่มุ สาวในบางประเทศสามารถแสดงออกถึงการรักชาตไิ ด้ หลายทาง เชน่ นกั เรยี นในประเทศฟลิ ปิ ปนิ ส์ ทงั้ โรงเรยี นภาครฐั และเอกชน สามารถเลอื กแสดงออก ได้หนึง่ โครงการจากสามโครงการเหลา่ นี้ เปน็ ระยะเวลาสองภาคการศึกษา คือ โครงการรว่ มดแู ล สวัสดิการพลเมือง โครงการฝึกทักษะการค�ำนวณ และโครงการฝึกทหาร เช่นเดียวกับประเทศ เยอรมนี ซึ่งคนหนุ่มสาวสามารถร่วมแสดงความรักชาติได้ผ่านกิจกรรมต่าง ๆ อาทิ อาสาเข้าร่วม เปน็ หนว่ ยดบั เพลงิ หนว่ ยพยาบาล ตลอดจนอาสาดูแลผสู้ งู อายุ เป็นต้น63 ภาคส่วนอืน่ ๆ นอกจากนี้ยงั มีบุคคลสาธารณะ เชน่ วรี ะ สมความคิด เลขาธกิ ารเครือขา่ ยประชาชนตา้ น คอรร์ ปั ชน่ั สนบั สนนุ ใหม้ กี ารสมคั รทหารแทนการเกณฑท์ หาร โดยใหเ้ หตผุ ลวา่ การเกณฑท์ หารนำ� ไปสกู่ ารสนิ้ เปลอื งงบประมาณ และวรี ะยงั กลา่ วอกี วา่ “นอกจากนยี้ งั มปี ญั หา คนทเ่ี กณฑไ์ ปแลว้ ใช้ เสน้ สาย ไม่อยากถกู ฝึก หรือฝกึ ไมน่ าน กไ็ ปรบั ใชน้ ายท่บี า้ นจนปลดระวาง กลายเป็นการเอาทหาร เกณฑไ์ ปเปน็ ทหารรบั ใช้ใหน้ ายทหาร ซ่ึงเป็นการใชง้ บประมาณแผ่นดนิ ไปดูแล ทหารรับใชม้ เี ยอะ มาก โดยการเกณฑท์ หารเยอะ ๆ แตไ่ ม่นำ� มาใช้เปน็ การสูญเสียทรพั ยากร เพราะชายหน่มุ คนหนึง่ ต้องมาเปน็ ทหาร 2 ปี ซ่ึงเวลา 2 ปี เขาสามารถเอาไปใช้ทำ� งานหาเลย้ี งครอบครัว เปน็ ก�ำลังส�ำคัญ ของชาติ แต่ต้องเสียไปถึง 2 ปี ประเทศจะได้ประโยชน์จากเขาแค่การฝึก นอกจากนี้ยังพบเรื่อง ปัญหาการคอรร์ ปั ช่ัน เช่น เงินการฝึก เบยี้ เล้ยี ง หรอื สวัสดิการ ที่ปรากฏว่ามีปญั หาดงั กล่าวจริง ๆ เพราะมขี า่ วเกดิ ขนึ้ บอ่ ยครง้ั จนกลายเปน็ เหมอื นธรุ กจิ เปน็ เรอ่ื งผลประโยชนม์ ชิ อบ เขา้ มาเกย่ี วขอ้ ง ซง่ึ ตนไม่ได้กล่าวหา เพราะข่าวปรากฏเยอะ” นอกจากนี้ วีระยังกลา่ วถงึ การละเมิดสทิ ธมิ นุษยชน ต่อทหารเกณฑต์ ามท่ีปรากฏขา่ วในทุกๆ ปีด้วย64 สว่ นทหารเกณฑค์ นหนึ่งกลา่ วว่า “คุณอยา่ ลมื นะ 62 ฟ้ารงุ่ สีขาว, “เนตวิ ทิ ย’์ ยื่นผ่อนผัน-ชปู า้ ยตา้ นบังคบั เกณฑท์ หาร,” [ออนไลน์], 2560. เข้าถึงจาก http:// news.voicetv.co.th /Thailand /477048.html 63 John Draper and Siwach Sripokangkul, “Transform conscription to national service ,” Bangkok Post (30 September 2017), Retrieve from https://www.bangkokpost.com/opinion/ opinion/1334063/transform-conscription-to-national-service 64 “วรี ะ หนนุ เลกิ เกณฑท์ หาร เปลยี่ นเปน็ ระบบสมคั รใจ ช้ี โลกเปลย่ี นไปแลว้ ,” มตชิ นออนไลน์ (5เมษายน 2560), เข้าถึงจาก https://www.matichon.co.th/news/519258 69

วารสารนติ สิ งั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 ครับ เดก็ คนหนงึ่ ท่โี ตขน้ึ มา ไดร้ บั การอบรม ไปศึกษาหาความรู้ บางคนจบปริญญาตรี ปรญิ ญาโท คดิ ดนู ะครบั ตอ้ งมาทำ� งานแบบนน้ี ะ่ ครบั ตดั หญา้ อยใู่ นกองรอ้ ย มนั ไมถ่ กู เลย มนั เปน็ การใชแ้ รงงาน คนในลกั ษณะทผี่ ดิ นะ่ แทนทเ่ี ขาจะไดอ้ อกไปทำ� งานทำ� การขา้ งนอก” 65 ขณะทผ่ี สู้ รา้ งเพจ “ยกเลกิ เกณฑท์ หาร” ซง่ึ ปจั จบุ นั มผี ตู้ ดิ ตามเกอื บสห่ี มนื่ คน ไดใ้ หส้ มั ภาษณถ์ งึ เหตผุ ลทสี่ งั คมไทยจำ� เปน็ ตอ้ ง ยกเลกิ การเกณฑท์ หารวา่ 1. การเกณฑท์ หารขดั กบั ปฏญิ ญาสากลวา่ ดว้ ยสทิ ธมิ นษุ ยชน ซงึ่ ทปี่ ระชมุ สมัชชาใหญแ่ หง่ สหประชาชาติ ให้การรบั รองตามข้อมตทิ ่ี 217 A (III) เม่ือวนั ท่ี 10 ธนั วาคม พ.ศ. 2491 โดยประเทศไทยออกเสียงสนับสนุน 2.การเกณฑ์ทหารเป็นการใช้แรงงานทาสรูปแบบหนึ่ง คอื พลทหารมหี นา้ ท่รี ับคำ� สัง่ อยา่ งเดยี วโดยปราศจากข้อโต้แยง้ หรอื ท้วงติงใด ๆ 3.การเหยียดเพศ เหยยี ดอายุ ผหู้ ญงิ และผชู้ ายควรมสี ทิ ธใ์ิ นการเปน็ ทหารเทา่ เทยี มกนั 4.ปญั หาวนิ ยั และคณุ ภาพของ ทหารเกณฑ์ ดอ้ ยกว่า เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศที่ใช้ระบบสมคั รทหารแบบสมัครใจ 5.ชาตินยิ ม และความแข็งกร้าวทางการทหาร รัฐที่คิดว่าตัวเองสามารถบังคับประชาชนให้ไปร่วมสงครามได้ ตามใจชอบ ย่อมไม่มีวันที่จะคิดถึงคุณค่าและความความสุขของประชาชนในยามสงบ 6.ความสิ้น เปลอื งและสูญเสียทางเศรษฐกจิ ในยามทบ่ี า้ นเมอื งสงบ ผลตอบแทนต่อต้นทนุ ของการเกณฑ์ทหาร ในยามสงบอยู่ในระดับต่�ำ เน่ืองจากการเกณฑ์ทหารมีต้นทุนที่รัฐต้องจ่ายโดยตรงในการฝึกอบรม และการที่ประชาชนมิได้ไปประกอบอาชีพของตนนั้นเป็นการใช้แรงงานจ�ำนวนมากของชาติไปใน ทิศทางที่ไม่เพิ่มผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ 7.ประเทศไทยไม่อยู่ในภาวะที่สุ่มเส่ียงที่จะเกิด สงคราม และไม่มีสงครามมากว่า 50 ปีแล้ว 8.กองทัพขยายขอบเขตอ�ำนาจมากเกินความจ�ำเป็น และแทรกแซงอ�ำนาจของฝ่ายบริหาร 9.ทหารเกณฑ์ไม่มีสวัสดิการที่ดีพอในการด�ำรงชีวิต และ 10.การเกณฑ์ทหารท�ำให้เกิดการทุจริตเรียกรับสินบนมากมาย เช่น การจ่ายเงินเพื่อไม่ต้องเป็น ทหารเกณฑ์ตามทป่ี รากฏเปน็ ขา่ วอยเู่ สมอ ๆ กอ่ นวนั ตรวจเลือก66 เปน็ เรอื่ งทนี่ า่ มคี วามหวงั เมอ่ื พจิ ารณาถงึ สถานการณด์ า้ นสทิ ธมิ นษุ ยชนของประเทศตา่ ง ๆ ในชว่ งกวา่ สองทศวรรษทผ่ี า่ นมาควบคกู่ บั ความคดิ รฐั ศาสตรไ์ มฆ่ า่ หลายประเทศไดแ้ สดงถงึ ศกั ยภาพ ของมนษุ ยใ์ นการสรา้ งสงั คมปราศจากความรนุ แรง หลายประเทศไดย้ กเลกิ โทษประหารชวี ติ หลาย ประเทศยกเลิกกองทัพ และประเทศจ�ำนวนมากได้ยอมรับหลักเคารพในมโนธรรมของพลเมืองท่ี ปฏเิ สธภารกจิ ทางทหาร (conscientious objection to military conscription) ผเู้ ขียนจงึ หวงั ใหส้ งั คมไทยปรบั ตวั เพอ่ื เขา้ ถงึ กระแสการเคารพในสทิ ธมิ นษุ ยชนและศกั ดศิ์ รขี องมนษุ ย์ ทงั้ นี้ สงั คม ท่ีดีคือสังคมที่ต้องให้ทางเลือกกับประชาชน ขณะที่การเกณฑ์ทหารท่ีผ่านมาถูกท�ำราวกับว่าเป็น ความปกติและไมถ่ ูกต้งั ค�ำถามอย่างหยัง่ ลึกถึงความไมจ่ ำ� เปน็ ทตี่ ้องคงเอาไว้ 65 ทวศี ักดิ์ เกิดโภคา, คุยกับ 4 ทหารเกณฑ์ เม่อื หนา้ ทห่ี ลักรัว้ ของชาติ คือการตดั หญา้ [ออนไลน]์ , 2558. เข้า ถงึ จาก https://prachatai. com/journal/2015/08/6100 66 ชวศิ วรสนั ต,์ คยุ กบั แอดมนิ เพจ ‘ยกเลกิ เกณฑท์ หาร’: ทำ� ไมคนรนุ่ ใหมไ่ มอ่ ยากเกณฑท์ หาร [ออนไลน]์ , 2557. เขา้ ถึงจาก https:// deklanghong.com/content/2014/10/49 70

การเกณฑ์ทหารกับการทรมาน และการละเมิดสทิ ธมิ นุษยชนต่อทหารเกณฑ์ในประเทศไทย: บทวิเคราะห์จากมุมมองหนงั สือรัฐศาสตร์ไม่ฆา่ ไม่เพียงเท่านั้น นับจากการเปล่ียนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475 เรื่อยมา กองทัพได้มี บทบาทส�ำคัญในทางการเมืองไทย เกิดการรัฐประหารและกบฏบ่อยคร้ังโดยกองทัพ กองทัพเป็น สถาบนั ทถ่ี กู ตรวจสอบไมไ่ ด้ ควบคมุ ไมไ่ ดแ้ ละถว่ งดลุ ไมไ่ ด6้ 7 การยกเลกิ การเกณฑท์ หารสามารถสน่ั คลอนความเช่ือวา่ กองทพั เปน็ องคก์ รส�ำคัญท่สี ุดและแตะตอ้ งไมไ่ ด้ เช่นเดยี วกบั เป็นการสน่ั คลอน มายาคตวิ า่ ดว้ ยความมนั่ คง ทม่ี องวา่ ความมน่ั คงดา้ นทางทหารเทา่ นนั้ ทส่ี ำ� คญั ทสี่ ดุ การยกเลกิ การ เกณฑ์ทหารยังน�ำไปสู่การลดปัจจัยอ่ืน ๆ ที่น�ำไปสู่การส้ินเปลืองงบประมาณทั้งด้านอุตสาหกรรม การผลิตอาวุธ และสลายวฒั นธรรมอ�ำนาจนิยมคา่ ยทหาร ท่ีสำ� คญั การยกเลกิ การเกณฑท์ หารยงั เปน็ การใหค้ วามสำ� คญั กบั ภาคพลเรอื นไวส้ งู กวา่ สถาบนั กองทพั อนั เปน็ ความสมั พนั ธท์ ก่ี องทพั ตอ้ ง ถกู ควบคุมโดยพลเรอื น ซึ่งถือวา่ เป็นหลกั การสำ� คญั ของระบอบประชาธิปไตย 67 Siwach Sripokangkul and Paul Chambers, “Returning Soldiers to the Barracks: Military Reform as the Crucial First Step in Democratizing Thailand,” Pertanika Journal of Social Sciences and Humanities 25, 1(2017): 1-20. 71

วารสารนติ สิ ังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ ปที ี่ 10 ฉบับท่ี 2 กรกฎาคม-ธนั วาคม 2560 บรรณานกุ รม กระทรวงการคลัง. (2560). สาระน่ารู้บัญชีอัตราเงินเดือนและค่าจ้าง, (ออนไลน์). เข้าถึงจาก https://www.mof.go.th/home/salary.html กองสัสดี หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน. (2560). สิทธิประโยชน์ของทหารกองประจ�ำการ. (ออนไลน)์ .เขา้ ถงึ จาก http://www.sussadee.com/2017/04102017_4.pdf ไกรสทุ ธนิ นั ท์ วงษอ์ ำ� นวย. (2541). ปจั จยั ทมี่ คี วามสมั พนั ธก์ บั การตดั สนิ ใจเขา้ รบั การเกณฑท์ หาร ของทหารกองประจ�ำการ : ศึกษาเฉพาะกรณีทหารกองประจ�ำการสังกัดหน่วยทหาร ในพน้ื ทจ่ี งั หวดั ขอนแก่น. วิทยานิพนธป์ ริญญาศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาสังคมวทิ ยา การพัฒนา บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ . ชนากานต์ อาทรประชาชิต. (2557). สถิติการตรวจเลือกทหารกองเกิน. TCIJ. เข้าถึงจาก http://www.tcijthai.com/news/2014/05/watch/4294 ชวิศ วรสนั ต์. (2557). คุยกับแอดมินเพจ ‘ยกเลิกเกณฑท์ หาร’: ทำ� ไมคนรนุ่ ใหม่ไมอ่ ยากเกณฑ์ ทหาร. เข้าถงึ จาก https://deklanghong.com/content/2014/10/49 ชยั วฒั น์ สถาอานนั ท.์ (2552). คำ� น�ำ. ใน เกลน็ ดี. เพจ. (ศโิ รตม์ คลา้ มไพบูลย์ (แปล)). รฐั ศาสตร์ ไม่ฆา่ . กรุงเทพฯ: คบไฟ. จารุพล พงษ์สรุ ิยา, พันตร.ี (2546). มาตรการในการแกไ้ ขการเกณฑท์ หาร ตามพระราชบญั ญตั ิ ราชการทหารพ.ศ.2497. วิทยานิพนธ์ปริญญานิติศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยรามคำ� แหง. “ทบ.แจ้งชายไทยเกณฑท์ หาร 1-12 เม.ย. เผยปนี ต้ี อ้ งการ 103,097 นาย.” (2560, มีนาคม 29). ไทยรัฐออนไลน.์ เข้าถงึ จาก https://www.thairath.co.th/content/899175 ทวีศักดิ์ เกิดโภคา. (2558). คุยกับ 4 ทหารเกณฑ์ เมื่อหน้าท่ีหลักร้ัวของชาติ คือการตัดหญ้า. ประชาไท. เข้าถงึ จาก https://prachatai.com/journal/2015/08/61005 ทวีศักดิ์ เกิดโภคา. (2560). ศพสุดท้ายอีกก่ีคร้ัง?: รวมกรณีซ้อมทรมาน-ตายแปลกในค่าย คุก บา้ นพกั นายทหาร. ประชาไท. อา้ งองิ จาก https://prachatai.com/journal/ 2017/04/70894 นันทิยา สว่างวุฒธิ รรม. (2525). การควบคมุ กำ� ลังคนในสมัยรตั นโกสนิ ทร์ก่อนการจัดการ เกณฑ์ ทหาร (พ.ศ. 2325-2448). กรุงเทพฯ: ภาควิชาประวตั ิศาสตร์ บัณฑติ วิทยาลัย จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. 72

การเกณฑท์ หารกับการทรมาน และการละเมิดสิทธมิ นุษยชนต่อทหารเกณฑ์ในประเทศไทย: บทวเิ คราะห์จากมุมมองหนังสอื รัฐศาสตร์ไมฆ่ ่า เพจ, เกล็น ดี. (ศิโรตม์ คล้ามไพบลู ย์ (แปล)). (2552). รฐั ศาสตร์ไมฆ่ า่ . กรุงเทพฯ: คบไฟ. พิมพ์ชนก พุกสุข.(2559, เมษายน). สุรชาติ บ�ำรุงสุข เกณฑ์ทหาร เรื่อง’ร้อน’เดิมๆ ประจ�ำ เมษายน. หน้า 13. “พลทหารเพลียกลับบ้านขอไปนอน พบอีกทีเลือดออกปากดับคาเตียง แม่เชื่อถูกซ่อมโหด” (2560, สิงหาคม 20). ข่าวสดออนไลน์. เขา้ ถึงจาก https://www.khaosod.co.th/ breaking-news/news_480075 รอบินสัน, เจมส์ เอ. (2542). ศาสตร์สูน่ โยบายไมฆ่ า่ . ใน เกล็น ด.ี เพจ. (ศโิ รตม์ คลา้ มไพบลู ย์ (แปล)). (2552). รัฐศาสตรไ์ มฆ่ ่า. กรุงเทพฯ: คบไฟ. “‘แม่ทหารเกณฑ์’ พาลูกร้อง ‘บิ๊กตู่’ เหตุถูกสั่งลงโทษจนเจ็บขาหัก.” (2560, เมษายน 28). ไทยรฐั ออนไลน์. เขา้ ถึงจาก https://www.thairath.co.th/content/925685 “แมเ่ ผยคำ� พดู สดุ ทา้ ย พลทหารตายในคา่ ยทส่ี รุ าษฎรฯ์ ‘ผมถกู ซอ้ ม ผมเจบ็ มาก’”. (2560, เมษายน 2). ไทยรฐั ออนไลน์. เข้าถึงจาก https://www.thairath.co.th/content/902682 ฟา้ รงุ่ สขี าว. (2560). ‘เนติวทิ ย์’ ย่นื ผอ่ นผัน-ชูป้ายต้านบังคบั เกณฑท์ หาร. VoiceTV21. เขา้ ถึง จาก http://news.voicetv.co.th/thailand/477048.html “ร้องสอบพลทหารตาย ไมเ่ ชอื่ อบุ ตั ิเหตุ แฉพริ ุธเร่งให้เผาศพ.” (2552, เมษายน 25). ร้องสอบ พลทหารตาย ไมเ่ ช่ืออบุ ัตเิ หตุ แฉพิรธุ เร่งให้เผาศพ. ไทยรัฐออนไลน.์ เข้าถงึ จาก https:// www.thairath.co.th/content/1868 “’ร้อยตรี’ พ่อทหารในคลปิ รบั ไมไ่ ด้ลูกถูกซอ้ ม เรยี กร้องคนทำ� รบั ผิดชอบ.” (2559, พฤศจิกายน 19).ไทยรัฐออนไลน์. เขา้ ถงึ จาก https://www.thairath.co.th/content/787992 “เรื่องยังเงียบ กรณีล่ามโซ่พลทหาร! ต้นสังกัดอยู่ระหว่างสอบสวน.” (2558, สิงหาคม 21). ไทยรฐั ออนไลน์. เข้าถงึ จาก https://www.thairath.co.th/content/519892 “รมช.กลาโหมให้เรียกทหารบริการแทนทหารรับใช้ ย�้ำอยู่กับผู้ใหญ่ได้ความรู้.” (2558, สิงหาคม 24). มตชิ นออนไลน.์ เข้าถึงจาก http://m.matichon.co.th/readnews.php?newsid =1440414558 วิเชียร ศรีภูธร, เรอื ตร.ี (2555). ภาวะสขุ ภาพจิตทหารใหม่ ตอนท่ี ๑.นาวกิ ศาสตร,์ 95(9), 86-87. “วิลาศ ช้ี ทหารเกณฑเ์ กินครงึ่ กลายเป็นทหารรบั ใช้ จี้ ยกเลกิ ซัดเปน็ คอร์รปั ช่ันอย่างหนง่ึ .” (2560, เมษายน 5). มติชนออนไลน์. เข้าถึงจาก https://www.matichon.co.th/ news/519449 73

วารสารนติ ิสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ปีท่ี 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธนั วาคม 2560 “วีระ หนุนเลิกเกณฑ์ทหาร เปล่ียนเป็นระบบสมัครใจ ช้ี โลกเปล่ียนไปแล้ว.” (2560, เมษายน 5). มติชนออนไลน์. เข้าถงึ จาก https://www.matichon.co.th/news/519258 สมชาย ปรีชาศิลปกุล. (2560). “จ่านิวและป๋วย”: สมมติเสวนาว่าด้วยเสรีภาพในมโนธรรม การเกณฑ์ทหาร และการรับใช้ชาติ. เข้าถึงจาก https://www.the101.world/ thoughts/when-ja-new-meets-ajarn-puey/ “สลดพลทหารเครียด ซึมเศร้ายิงตัวตายคาด่านตรวจ.” เดลินิวส์. (2560, เมษายน 11). เข้าถึง จาก https://www.dailynews.co.th/regional/240499 Adam, A. (2012). Military conscription as a means of stabilizing democratic regimes. Public Choice, 150(3/4), 715-730. Bieri, M. (2015). Military conscription in Europe: new relevance, (online). Retrieve from http://www.css.ethz.ch/content/dam/ethz/special-interest/gess/cis/ center-for-securities-studies/pdfs/CSS-Analyse180-EN.pdf Chen, S.T., Lai, J.W., & Pang, A. (2015 ). The effect of military service system change on the demand for military expenditure. Defence and Peace Economics, 26(6), 623-633. Draper, J. and Sripokangkul, S. (2017). Transform conscription to national service. Bangkok Post. (2017, September 30). Retrieve from https://www.bangkok- post.com/opinion/ opinion /1334063/transform-conscription-to-national- service Dungen, P.V.D. (2016). Press Releases. Retrieve from http://www.nonviolentresis- tance.info/eng/ press/pressall.htm Garaño, S. (2010). The Opposition Front against Compulsory Military Service: The Conscription Debate and Human-Rights Activism in Post-dictatorship Argentina. Genocide Studies and Prevention: An International Journal, 5(2), 174-190. Gate, J. G. & Herman, J. L.. (2014). Transgender military service in the United State, (online). Retrieve from https://williamsinstitute.law.ucla.edu/wp-content/ uploads/ Transgender-Military-Service-May-2014.pdf 74

การเกณฑ์ทหารกบั การทรมาน และการละเมิดสทิ ธิมนุษยชนต่อทหารเกณฑ์ในประเทศไทย: บทวเิ คราะห์จากมุมมองหนังสอื รัฐศาสตร์ไมฆ่ ่า Irene, O. (2013). Nonkilling Political Leadership. Retrieve from http://nonkilling.org/ center/publications -media/periodicals-global- nonkilling-working-papers/ Keller, K., Poutvaara, P., & Wagener, A. (2009). Military Draft and Economic Growth in OECD Countries. Defence and Peace Economics, 20(5), 373-393. Lau, M.I., Poutvaara, P., & Wagener, A. (2004). Dynamic costs of the draft. German Economic Review, 5(4) 381-406. Laukkala, T., Partonen, T., Marttunen, M., & Henriksson, M. (2014). Suicides among military conscripts between 1991–2007 in Finland- A descriptive replication study. Nordic Journal of Psychiatry, 68(4), 270-274. Levi, M. (1996). The Institution of Conscription. Social Science History, 20(1), 133-167. McCarthy, N. (2013). The state of military conscription around the world, (online). Retrieve from https://www.statista.com/chart/3907/the-state-of-military- conscription-around-the-world Poutvaara, P., & Wagener, A. (2009). The Political Economy of Conscription. Retrieve from https://pdfs.semanticscholar.org/feb9/e7c857868f1c561adc- 8574c4ec11f52d9983.pdf Satha-Anand, C. (2017). Glenn D. Paige: pioneer of nonkilling studies and peace researcher (1929-2017), (online). Retrieve from http://nonkilling.org/cen- ter/2017/01/23/glenn-d-paige-1929-2017 Scupham, W. (2014). Friend, fellows, citizens and soldiers: The evolution of French revolution army, 1792-1799. Primary Source 5 (1), 24-31. Retrieve from http://www.indiana.edu/~psource/PDF/Current%20Articles/Fall2014/4%2 0Scupham% 20Fall%2014.pdf Sheehan, J.J. (2011). The Future of Conscription: Some Comparative Reflections. Daedalus,140(3), 112-121. Song, K. (2015). Between Global Dreams and National Duties: the Dilemma of Conscription Duty in the Transnational Lives of Young Korean Males. Global Networks: A Journal of Transnational Affairs, 15(1), 60-77. 75

วารสารนติ สิ ังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ ปีที่ 10 ฉบับท่ี 2 กรกฎาคม-ธนั วาคม 2560 Stefan, A. (2011). THUS SPOKE EINSTEIN on LIFE and LIVING: Wisdom of Albert Einstein in the Context. New Jersey: Institute for Advanced Physics Studies. Sripokangkul, S. & Chambers, P. (2017). Returning Soldiers to the Barracks: Military Reform as the Crucial First Step in Democratizing Thailand. Pertanika Journal of Social Sciences and Humanities, 25(1), 1-20. TCIJ. (2015). สแกนลายพราง: ปัญหาท้าทายกองทัพ ‘เกณฑ์ทหาร’ ยุคประชากรลด - สงครามเปล่ียน. Retrieve from http://www.tcijthai.com/news/2015/31/ scoop/5581 Weber, M. (1965). Politics as a vocation. Philadelphia: Fortress Press. Wikipedia. (2008). Conscription map of the world. Retrieve from https://en.wikipedia.org/wiki/Conscription Translated Thai References Athonprachachit, C. (2014, May 28). Sathiti kan truat lueak thahan kongkoen [Statistics for selection the reserve forces]. Retrieved October 19, 2017, from http://www.tcijthai.com/news/2014/05/ watch/4294 Dailynews. (2017, April 11). Salot phon thahan khriat suem sao ying tua tai kha dan truat [Severely Depressed Soldier Shoots Himself at a Checkpoint]. Retrieved October 18, 2017, from https://www.dailynews.co.th/regional /240499 Khaosod. (2017, August 20). Phon thahan phlia klapban kho pai non phop ik thi lueat okpak dap kha tiang mae chuea thuk som hot [A fatigue draftee went back his home for sleep but when he was found later, his mount was bleeding. His mother believed he was tortured brutally]. Retrieved October 20, 2017, from https://www.khaosod.co.th/breaking-news /news_480075 Koetphokha, T. (2015, August 24). Khui kap 4 thahan ken muea nathi lak rua khong chat khue kan tat ya [A talk with 4 Draftees: Their Task Is to Mow 76

การเกณฑ์ทหารกบั การทรมาน และการละเมดิ สิทธมิ นุษยชนต่อทหารเกณฑ์ในประเทศไทย: บทวิเคราะห์จากมุมมองหนงั สือรฐั ศาสตร์ไมฆ่ า่ Grass]. Retrieved October 19, 2017, from https://prachatai.com/ journal/ 2015/08/61005 Koetphokha, T. (2017, April 4). Sop sutthai ik ki khrang?: ruam korani som thora- man - tai plaek nai khai khuk banphak naithahan [The Last Death? Torture and Death in the Military Base]. Retrieved October 19, 2017, from https:// prachatai.com /journal/2017/ 04/70894 Kong satsadi nuai banchakan raksa dindaen. (2017). Sitthi prayot khong thahankong- prachamkan [Privileges of military officer]. Retrieved October 20, 2017, from http://www.sussadee.com/2017/04102017_4.pdf Krasuangkankhlang. (2017). Sara na ru banchi attra ngoenduean lae khachang [Useful knowledge about salary and wage]. Retrieved October 20, 2017, from https://www.mof.go.th/home/salary.html Matichon. (2015, August 24). Romocho kalahom hai riak thahan borikan thaen thahan rapchai yam yu kap phuyai dai khwamru [Minister of Defence Calls it Soldiers Serving Soldiers and Stresses that Staying with Higher Officers Offers Knowledge]. Retrieved October 19, 2017 from http://m.matichon.co.th/ readnews.php?newsid=1440414558 Matichon. (2017, April 5). Veera nun loek ken thahan plian pen rabop samakchai chi lok plian pai laeo [Veera supports Abolishing Conscription]. Retrieved October 20, 2017 from https://www.matichon.co.th/news/519258 Matichon. (2017, April 5). Vilas chi thahan ken koen khrueng klaipen thahan rapchai chi yokloek sat pen khorapchan yang nueng [Vilas Says Half of Draftees are Servant Soldiers, Calls for a HaltAsIt Is a Form of Corruption]. Retrieved October 20, 2017 from https://www.matichon.co.th /news /519449 Paige, G., D. (2009). Ratthasat mai kha [Nonkilling Global Political Science]. S. Klam- paiboon (Translated). Bangkok: Kobfai. 77

วารสารนิตสิ งั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ ปที ี่ 10 ฉบบั ท่ี 2 กรกฎาคม-ธนั วาคม 2560 Phongsuriya, C. (2003). Mattrakan nai kan kaekhai kan ken thahan tam phraratchabanyat ratchakan thahan phoso 2497 [A Measure for Consider the Recruit Follow the Act of Legislation Soldiiers A.D. 2497] (Master’s thesis, Ramkhamhaeng University). Phuksuk, P. (2016, April 9). Surachat bamrungsuk ken thahan rueang ron doem doem pracham mesayon [Talk with Surachart Bamrungsuk]. Retrieved October 20, 2017, from https://www.matichon.co.th/news/100329 Preechasinlapakun, S. (2017, April 12). Cha nio lae puai sommot sewana wa duai seriphap nai manotham kan ken thahan lae kan rapchai chat [Ja New and Puey: An Imaginary Dialogue about Conscription]. Retrieved October 19, 2017 from https://www.the101.world/thoughts/when-ja-new-meets-ajarn- puey/ Robinson, J., A. (1999). Sat su nayobai mai kha [Science toward Nonkilling policy]. In G. D. Paige, Ratthasat mai kha [Nonkilling Global Political Science]. (p. 23). S. Klampaiboon (Translated). Bangkok: Kobfai. Satha-anand, C. (2009). Khamnam [Introduction]. In G. D. Paige, Ratthasat mai kha [Nonkilling Global Political Science] (p. 5). S. Klampaiboon (Translated). Bangkok: Kobfai. Sawangwutthitham, N. (1982). Kan khuapkhum kamlang khonnai samai rattanakosin kon kan chatkan ken thahan (phoso 2325-2448) [Control of manpower during the Bangkok Period Prior to the introduction of modern conscription (A.D. 2325-2448)] (Master’s thesis, Chulalongkorn University). Srikhao, F. (2017, April 4). ‘Netiwit’ yuen phonphan - chu pai tan bangkhap ken thahan [Netiwit Reported for Military Drafting]. Retrieved October 18, 2017, from http://news.voicetv.co.th/thailand/ 477048.html Sriphuthon, W. (2012). Phawa sukkhaphapchit thahan mai ton thi 1 [Mental Health and the New Draftees], Naval Science Journal, 95(1), 86-87. TCIJ. (2015, May 31). Sakaen lai phrang: panha thathai kongthap yuk prachakon lot - songkhram plian [Military Camouflage: The Army Problem in an Era of 78

การเกณฑ์ทหารกับการทรมาน และการละเมิดสิทธิมนษุ ยชนต่อทหารเกณฑ์ในประเทศไทย: บทวเิ คราะหจ์ ากมมุ มองหนังสอื รฐั ศาสตร์ไมฆ่ า่ Population Decreases and the Form of War Changes]. Retrieved October 18, 2017, from http://www.tcijthai.com/news/2015/31/ scoop/5581 Thairath. (2009, April 25). Rong sop phon thahan tai mai chuea ubattihet chae phirut reng hai phao sop [Investigation into Soldier’s Death, Accident Not Believed, Body Urgently Cremated]. Retrieved October 19, 2017, from https:// www.thairath.co.th/content/1868 Thairath. (2015, August 24). Rueang yang n Thairath. (2015, August 24). Rueang yang ngiap korani lam so phon thahan ! tonsangkat yu rawang sopsuan [Undisclosed Case of Chaining a Soldier! Case under Investigation]. Retrieved October 19, 2017, from https://www. thairath.co.th/content/519892 Thairath. (2016, November 19). Roi tri ‘ pho thahan nai khlip rap mai dai luk thuk som riakrong khon tham rapphitchop [Second Lieutenant and Father of Beaten Soldier in Video Clip Calls for Perpetrators to Take Responsibility]. Retrieved October 19, 2017, from https://www.thairath.co.th/content /787992 Thairath. (2017, April 2). Mae phoei khamphut sutthai phon thahan tai nai khai thi surat paiyannoi ‘ phom thuk som phom chep mak [Mother Reveals Last Words of Soldier who Died in SuratThaniCamp ‘I Have Been Beaten and I Am in a Lot of Pain’]. Retrieved October 18, 2017 from https://www.thairath. co.th/content/902682 Thairath. (2017, April 28). Mae thahan ken ‘ pha luk rong ‘ bik tu ‘ het thuk sang longthot chon chep kha hak [Mother of Draftee Files Complaint that “Burpee” Punishment is the Cause of a Broken Leg]. Retrieved October 18, 2017, from https://www.thairath.co.th/content/925685 Thairath. (2017, March 29). “Thobo chaeng chai thai ken thahan 1-12 mesayon phoei pi ni tongkan 103,097 nai,” [Military Announces that Reporting for the Military Draft from April 1-12 Requires 103,097 Troops]. Retrieved October 19, 2017, from https://www.thairath.co.th/content/899175 79

วารสารนิตสิ ังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ปีที่ 10 ฉบบั ท่ี 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 Wongamnuai, K. (1998). Patchai thi mi khwam samphan kap kan tatsinchai khao rap kan ken thahan khong thahankongprachamkan: sueksa chapho korani thahankongprachamkan sangkat nuai thahan nai phuenthi changwat khon kaen [Factors related to decision making for the recruitment of privates: A Case Study of Privates in Changwat Khon Kaen]. (Master’s thesis, Khonkaen University). Worasan, C. (2014, October 13). Khui kap aet min phet ‘ yokloek ken thahan’: thammai khon run mai mai yak ken thahan [Talk with the Administrator: ‘Abolition of Conscription in Thailand’]. Retrieved October 18, 2017, from https://deklanghong.com/content/ 2014 /10/49 ______________________________________________________________________ หนว่ ยงานผแู้ ตง่ : วทิ ยาลยั การปกครองทอ้ งถนิ่ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ 123 มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ อ.เมอื ง จ.ขอนแกน่ 40002 เมลต์ ิดตอ่ ผเู้ ขียนหลัก: [email protected] Affiliation: College of Local Administration, Khon Kaen University, 123 Khon Kaen University,Thailand 40002 Corresponding author E-mail : [email protected] 80

วารสารนติ สิ ังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ ปที ่ี 10 ฉบบั ท่ี 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS พระพุทธศาสนากับศักดิศ์ รคี วามเป็นมนุษย์ : ทา่ ทีและการปฏบิ ตั ิต่อทาส Buddhism toward Human Signity: Behavior and How to Treat Slave เจษฎา ทองขาว Jesada Thongkaow คณะนิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยทักษณิ วิทยาเขตสงขลา 140 หมู่ 4 ต�ำ บลเขารูปชา้ ง อ�ำ เภอเมือง จังหวัดสงขลา 90000 Faculty of Law Thaksin University 140, Moo 4 , Tambon Khoa-Roob-Chang , Muang Songkhla 90000 เมล์ติดตอ่ : [email protected] E-mail: [email protected] บทคัดย่อ พระพทุ ธศาสนาเปน็ ศาสนาทมี่ คี วามเปน็ อกาลโิ ก คอื ไมม่ เี งอ่ื นไขและเวลาและเปน็ จรงิ อยู่ ตลอดเวลาไม่วา่ จะในอดีต ปจั จุบนั หรอื อนาคต หลักธรรมทีป่ รากฏในพระไตรปิฎกคอื สง่ิ ที่ยนื ยัน ถึงเร่ืองน้ีได้เป็นอย่างดี ในสมัยพุทธกาลพระพุทธองค์ได้ทรงส่ังสอนให้พุทธสาวกเคารพในศักด์ิศรี ความเปน็ มนษุ ยซ์ ง่ึ เปน็ หลกั การสำ� คญั ของโลกเสรปี ระชาธปิ ไตยในยคุ ปจั จบุ นั ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากการ ท่ีพระองค์ทรงปฏิเสธวรรณะซ่ึงเป็นคติความเช่ือของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ซึ่งเป็นศาสนาด้ังเดิม ของชาวอนิ เดยี ทรงหา้ มมใิ หม้ กี ารบวชใหท้ าส ทรงหา้ มมใิ หภ้ กิ ษแุ ละภกิ ษณุ มี ที าสไวค้ อยรบั ใช้ และ ทรงวางแนวทางให้คฤหัสถ์ปฏิบัติต่อทาสโดยค�ำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และทรงห้ามมิให้ อบุ าสกคา้ ขายมนษุ ยอ์ กี ดว้ ยซง่ึ แนวปฏบิ ตั แิ ละขอ้ หา้ มเหลา่ นต้ี า่ งมคี วามสอดคลอ้ งกบั ปฏญิ ญาสากล ว่าด้วยสิทธิมนุษยชน และกฎหมายระหว่างประเทศอ่ืนๆ รวมท้ังกฎหมายภายในของรัฐต่างๆ ใน ปจั จุบันอย่างน่าอศั จรรย์ ค�ำส�ำคัญ: พระพุทธศาสนา, ศักดิ์ศรีความเปน็ มนษุ ย์, ทาส, ค้ามนุษย์ 81

วารสารนติ สิ ังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ปที ่ี 10 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม-ธนั วาคม 2560 Abstract It can be said that Buddhism is a religious that is “Agaligo” which means that the Buddhist’s doctrines are always true regardless of time ( past, present or future) and conditions. The doctrines that are inscribed in the Tripitaka can reaffirm such claim. In Buddhists’ era, the Buddha taught to respect human dignity of others which seems to be the main idea of democracy in the liberal society. Lord Buddha argued that the teaching of Hindu Brahmin, one of religious in India, particularly on the castes and classes. His teaching related to being slave includes avoiding the ordination to the slave, having the slave to serve monks and nuns been also forbid- den. Moreover, he regulated principle regarding how to treat slave to householder. An act as a human trafficking of a layman has been refused as well. These guidelines and the prohibitions are consistent with the Universal Declaration of Human Rights and related to international law as well as domestic laws of civilized states. Keywords: Buddha, Human dignity, Slave, Human Trafficking 1. อารมั ภบท ท่ามกลางกระแสของโลกโลกาภิวัฒน์ในปัจจุบันท่ีท่ัวโลกต่างตระหนักและให้ความส�ำคัญ กับเรื่องของศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ภายใต้แนวคิดพ้ืนฐานที่ว่าศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์เป็นพื้นฐาน ของสิทธิเสรีภาพท้ังปวง มนุษย์ทุกคนจึงควรได้รับการปฏิบัติต่อกันอย่างเสมอภาคเท่าเทียมกัน องค์การระหว่างประเทศและรัฐต่างๆ จึงได้พยายามร่วมมือกันเพื่อแก้ไขปัญหาการละเมิดศักด์ิศรี ความเป็นมนุษย์ที่ยังคงปรากฏให้เห็นอยู่ในท่ัวทุกมุมโลก หน่ึงในปัญหาส�ำคัญของปัญหาดังกล่าว ไดแ้ ก่ ปญั หาการคา้ มนษุ ยซ์ งึ่ เปน็ การคา้ ขายทาสในยคุ ใหมอ่ นั เนอื่ งมาจากความตอ้ งการแรงงานเพอ่ื ขบั เคลอ่ื นระบบเศรษฐกิจ ในความเป็นจรงิ แลว้ การน�ำเอาคนลงเปน็ ทาสน้ันเปน็ ประเพณที ี่ยอมรบั กันโดยท่ัวไปมาต้ังแต่ยุคดึกด�ำบรรพ์ทั้งในซีกโลกตะวันตกและซีกโลกตะวันออก เนื่องจากการใน อดตี กาลนน้ั การมที าสไวใ้ นครอบครองเปน็ การแสดงออกถงึ ความมงั่ คงั่ ทางเศรษฐกจิ จนกระทงั่ ประ มาณคริสตศตวรรษท่ี 18 ภายหลงั จากลัทธิเสรปี ระชาธปิ ไตยไดก้ ่อก�ำเนดิ ข้นึ การต่อส้เู รยี กรอ้ งเพ่ือ ปลดปล่อยคนให้พ้นจากการเป็นทาสภายใต้แนวคิดหลักความเสมอภาคของปัจเจกชนจึงได้เร่ิมแผ่ ขยายไปยงั ประเทศตา่ งๆ การนำ� เอาคนลงเปน็ ทาสจงึ ไดห้ มดสน้ิ ไป อยา่ งไรกต็ ามหากพจิ ารณายอ้ น 82

พระพทุ ธศาสนากบั ศกั ด์ิศรคี วามเป็นมนษุ ย์ : ทา่ ทีและการปฏบิ ตั ิต่อทาส กลบั ไปในสมยั พทุ ธกาล (623 – 543 ปีก่อนครสิ ตกาล) จะพบว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงมที า่ ที ที่ไม่เห็นด้วยกับการน�ำเอาคนลงเป็นทาสในประเทศอินเดียและทรงปลูกฝังหลักการเคารพศักดิ์ศรี ความเปน็ มนษุ ยใ์ หแ้ กพ่ ทุ ธศาสนกิ ชนซง่ึ มคี วามสอดคลอ้ งพอจะเทยี บเคยี งกบั แนวคดิ ของหลกั ความ เสมอภาคและความพยายามในการแกป้ ญั หาการละเมดิ ศกั ดศ์ิ รคี วามเปน็ มนษุ ยโ์ ดยนำ� เอาคนลงเปน็ ทาสในลักษณะของการค้ามนุษย์ในปัจจุบันไว้อย่างน่าสนใจ บทความนี้ผู้เขียนจะกล่าวถึงปรัชญา และแนวคิดท่ีเก่ียวกับทาสที่ปรากฏในพระไตรปิฎก เพ่ือเป็นการยืนยันถึงความความเป็น “อกาลิ โก” คือไม่มีเง่ือนแห่งเวลา1 ของหลักธรรมค�ำสอนในพระพุทธศาสนาที่สอดรับกับหลักความเสมอ ภาค และบทบญั ญตั กิ ฎหมายทม่ี งุ่ ขจดั ปญั หานำ� เอาคนลงเปน็ ทาสในทกุ รปู แบบในปจั จบุ นั เพอื่ เปดิ มุมมองโลกทัศนร์ ะหวา่ งกฎหมายกบั พระพทุ ธศาสนา อน่ึงผู้เขียนเองหาได้มีความเช่ียวชาญหรือแตกฉานในหลักธรรมของพระพุทธศาสนาที่ ปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎกแต่อย่างใดไม่ จึงจ�ำเป็นต้องอาศัยพระไตรปิฎกฉบับภาษาไทยในการ อรรถาธบิ าย โดยอา้ งองิ จากพระไตรปฎิ กภาษาไทยฉบบั หลวง ซง่ึ กรมศาสนา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ไดจ้ ดั พมิ พใ์ นปฉี ลองรชั ดาภเิ ษก พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี 9 พทุ ธศกั ราช 2514 รวม ทง้ั อรรถกถา2 และตำ� ราทางพระพทุ ธศาสนาตา่ งๆ เพอ่ื ประกอบการอรรถาธบิ ายในบทความเรอ่ื งนี้ 2. ข้อความคิดท่ัวไปเก่ียวกับหลกั ธรรมในทางพระพทุ ธศาสนา พระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาพุทธ หมายถึง ศาสนาของทา่ นผู้รู้ ซ่ึง “พทุ ธะ” หรือ “ผูร้ ู”้ ในที่นี้หมายถึง พระสมณโคดมหรือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ซึ่งตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง และ ทรงสอนให้ผอู้ ื่นรู้ตามได3้ สิ่งที่พระพุทธองค์ทรงตรสั รู้น้ีมใิ ชส่ ง่ิ ทีท่ รง “เดา” หรือ “คิดคน้ ” ข้นึ มา แตเ่ ป็นกฎความจริงในธรรมชาตอิ ันมอี ยแู่ ล้วในทกุ กาลสมยั มอี ยกู่ อ่ นทพี่ ระพุทธเจา้ จะตรสั รู้ และ ปัจจุบันก็ยังคงเป็นความจริงอยู่เช่นเดิม4 และเม่ือพระพุทธองค์ทรงค้นพบกฎนี้จึงได้น�ำมาเปิดเผย และเผยแผใ่ หป้ ถุ ชุ นชาวโลกไดร้ ตู้ าม ภายหลงั จากทพ่ี ระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ไดเ้ สดจ็ ดบั ขนั ธป์ รนิ พิ พาน ได้ 3 เดือน พระอรหันต์จ�ำนวน 500 รูป ได้มีการประชุมกัน และเรียกการประชุมครั้งน้ีว่า 1 สโรช สนั ตะพนั ธ,์ุ (2549) พระพทุ ธศาสนากบั หลกั พนื้ ฐานกฎหมายมหาชน, สบื คน้ วนั ท่ี 1 เมษายน 2560, จาก http:// www.pub-law.net/publaw/view.aspx?id=931. 2 อรรถกถา คือ ค�ำอธิบายหรือขยายความบาลีในพระไตรปิฎก เพ่ือให้ผู้ที่สนใจศึกษาพระไตรปิฎกเข้าใจความหมายของ ถอ้ ยคำ� บาลซี ง่ึ ทำ� ความเขา้ ใจไดย้ ากไดอ้ ยา่ งลกึ ซง้ึ มากขน้ึ ผสู้ นใจโปรดอา่ นเพมิ่ เตมิ ใน ธรรมรกั ษา (นามแฝง), พระไตรปฎิ ก ฉบับชาวบ้าน, กรุงเทพฯ:รงุ่ แสงการพมิ พ์, 2540, หนา้ 8-9. 3 ทองหลอ่ วงษ์ธรรมา, ศาสนาสำ� คัญของโลก, กรงุ เทพฯ:โอเดยี นสโตร,์ 2551, หน้า 91. 4 นธิ นิ นั ท์ วศิ วเวศวร (บรรณาธกิ าร), พทุ ธเศรษฐ...ใน...ธรรมศาสตร์ โดยพระอาจารยอ์ ารยวงั โส วดั ปา่ พทุ ธพจนห์ รภิ ญุ ไชย, กรงุ เทพฯ:บริษทั อัมรินทร์พรนิ้ ติง้ แอนด์ พับลชิ ชง่ิ จ�ำกดั (มหาชน), 2555, หน้า 124. 83

วารสารนติ ิสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ปที ี่ 10 ฉบบั ท่ี 2 กรกฎาคม-ธนั วาคม 2560 “การสงั คายนา” หรอื “สงั คตี ”ิ โดยมพี ระมหากสั สปะท�ำหน้าท่ีเปน็ ประธานซกั ถาม “ธรรม” และ “วินัย” อย่างเป็นระบบ คือ ตามล�ำดับและหมวดหมู่5 ในส่วนของธรรมน้ัน ได้แก่ หลักธรรมที่ พระพุทธองคท์ รงตรสั ไว้ โดยแบง่ เป็นสองประเภท คือ ธรรมท่ีพระพทุ ธองคต์ รสั ไว้ตามกาลเทศะท่ี เกย่ี วขอ้ งกบั บคุ คลหรอื เหตกุ ารณ์ และธรรมทแี่ สดงเฉพาะเนอื้ หาลว้ นๆ สว่ นวนิ ยั ไดแ้ กพ่ ทุ ธบญั ญตั ิ เกย่ี วกบั ความประพฤตขิ องภกิ ษแุ ละภษิ ณุ ี จงึ เรยี กพระธรรมวนิ ยั นร้ี วมกนั วา่ “พระไตรปฎิ ก”6 หลงั จากเสรจ็ สน้ิ การสงั คายนาครงั้ นจี้ งึ ไดม้ กี ารถา่ ยทอดพระธรรมวนิ ยั ดงั กลา่ วดว้ ยการทอ่ งจำ� สบื ตอ่ กนั มา เรียกวิธีนี้ว่า “มุขปาฐะ” ต่อมาจึงได้มีการจารึกพระไตรปิฎกเป็นลายลักษณ์อักษรในการ สังคายนาพระไตรปิฎก คร้ังที่ 4 เมอื่ ประมาณปี พ.ศ. 460 ท่ปี ระเทศศรีลังกา ซึง่ การถา่ ยถอดโดย การจารกึ เปน็ ลายลักษณอ์ กั ษรนี้ เรียกว่า โปตถกาโรปนะ7 และสืบทอดต่อมาจนถงึ ปัจจบุ นั หลักธรรมที่ปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎกนั้นเม่ือพิจาณาถึงสารัตถะของหลักธรรมในเร่ืองที่ เก่ียวกับทาสในอินเดียในสมัยพุทธกาลอย่างถ่ีถ้วนจะพบว่า มีความสอดคล้องกับหลักความเสมอ ภาค การพยายามแก้ไขปัญหาการค้าทาสหรือการค้ามนษุ ย์ และหลักการปฏบิ ตั ทิ เ่ี หมาะสมต่อผู้ใช้ แรงงานในปัจจุบันอย่างมีนัยส�ำคัญ ซ่ึงหลักการดังกล่าวต่างก็อยู่ภายใต้แนวคิดสิทธิมนุษยชนและ ศักดศิ์ รคี วามเป็นมนษุ ย์ซ่ึงเปน็ หลกั การสากลทท่ี วั่ โลกให้การยอมรบั จงึ อาจกล่าวได้ว่าธรรมวินัยท่ี พระพุทธองคไ์ ด้ทรงตรัสไว้ในสมยั พุทธกาลนน้ั ด�ำรงอยู่บนพื้นฐานของความเปน็ จริงอย่ตู ลอดเวลา ไมว่ า่ จะยุคใดหรอื สมัยใดกต็ าม ดงั พทุ ธพจนท์ ี่วา่ “อปุ ปฺ าทา วา ภกิ ขฺ เวตถาคตานอํ นปุ ปฺ าทา วา” เปน็ ตน้ แปลความวา่ “ภกิ ษทุ งั้ หลาย พระตถาคตเจ้าท้ังหลายจะอบุ ัติขนึ้ หรอื ไม่ก็ตาม ธาตนุ ั้นคือ ธรรมฐติ ิ (ความด�ำรงอยู่ ตามธรรมชาติ) ธรรมนิยาม (กฎธรรมชาติ) อิทัปปัจจยตา (ภาวะที่สรรพส่ิงเกิดดับ ตามเหตุตามปัจจัย) กย็ งั มอี ยู่ พระตถาคตเจ้ายอ่ มตรัสรูท้ ่ัวถึงซง่ึ ธาตุอันนัน้ แล้วบอก แสดง บัญญัติ แตง่ ตง้ั เปิดเผย จำ� แนก ทำ� ใหเ้ ขา้ ใจงา่ ย”8 5 พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ. ปยตุ โต), พระไตรปฎิ ก : สง่ิ ท่ชี าวพุทธตอ้ งรู้, พมิ พ์ครงั้ ที่ 15, กรุงเทพฯ: สำ� นกั พิมพ์จันทร์ เพญ็ , 2554, หน้า 16. 6 พระไตรปิฎก หรือ ตปิ ฎิ ก คือ คมั ภรี ์วา่ ค�ำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึง่ ตอ่ มาไดม้ ีการจัดทำ� และรวบรวมไวเ้ ปน็ หมวด หมู่ โดยแบ่งออกเป็น 3 หมวดใหญ่ ประกอบด้วย พระวินัยปิฎก ได้แก่ ข้อบัญญัติเก่ียวกับหลักการปฏิบัติของภิกษุ และภกิ ษณุ ,ี พระสุตตนั ตปฎิ ก ได้แก่ พระสตู รทพ่ี ระพุทธองค์ได้เทศนาส่ังสอน หรอื ตรสั ในโอกาสตา่ งๆ ตามสมควร และ พระอภธิ รรมปฎิ ก ไดแ้ ก่ หลกั ธรรมในเชิงวชิ าการล้วนๆ ทีไ่ ม่เกี่ยวข้องกบั เหตุการณห์ รือเร่ืองราวใดๆ. 7 พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต),พระไตรปิฎก : สง่ิ ท่ชี าวพทุ ธต้องร,ู้ หน้า 18-24. 8 พระธรรมโกศาจารย์, (2560), พระพุทธศาสนากับทฤษฎีควอนตัม : ความเหมือนท่ีแตกตา่ ง, สืบคน้ วันที่ 1 เมษายน 2560, จากhttp://www.mcu.ac.th/site/articlecontent_desc.php?article_id=686&articlegroup_id=21. 84

พระพุทธศาสนากบั ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ : ท่าทีและการปฏบิ ัติต่อทาส 3. แนวคดิ ในการนำ� เอาคนลงเปน็ ทาสในซกี โลกตะวันตกและซกี โลกตะวนั ออก ในอดตี กาลประเพณกี ารนำ� เอาคนลงเปน็ ทาสนน้ั เปน็ ทย่ี อมรบั กนั โดยทวั่ ไปในทว่ั ทกุ มมุ โลก ท้ังทางซีกโลกตะวันตกและซีกโลกตะวันออก เนื่องจากระบบทาสเป็นเครื่องมือส�ำคัญในการจัด ระบบชนชั้นทางสังคมและเป็นแรงงานในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้ังในภาคเกษตรกรรมและ อตุ สาหกรรม ซง่ึ ในสว่ นนผ้ี เู้ ขยี นจะกลา่ วถงึ ววิ ฒั นาการในการนำ� เอาคนลงเปน็ ทาสและกระแสความ คลีค่ ลายตัวในเร่ืองดงั กลา่ วทัง้ ในซีกโลกตะวันตก และซีกโลกตะวันออก (อนิ เดยี ) ดงั น้ี 3.1 แนวคิดการน�ำเอาคนลงเปน็ ทาสในซกี โลกตะวันตก การน�ำเอาคนลงเป็นทาสในซีกโลกตะวันตกนั้น ปรากฏหลักฐานว่ามีอยู่ต้ังแต่ในยุค อารยธรรมกรกี โบราณ ดงั จะเหน็ ได้จากงานเขียนของ Aristotle ซ่งึ เขาเหน็ วา่ “ทาสคือเครื่องจกั ร (machine) ท่ีมีชีวิต” และสังคมจำ� เปน็ ต้องมีทาสเพือ่ ขบั เคล่อื นระบบเศรษฐกิจ9จากหลกั ฐานทาง ประวตั ิศาสตรพ์ บวา่ ในยคุ กรกี โบราณนน้ั พวกทาสไดแ้ กบ่ คุ คลทม่ี หี นสี้ นิ และยอมขายตนเองลงเปน็ ทาส รวมทั้งเชลยศึกทีถ่ กู กวาดตอ้ นมาจากการทำ� สงคราม ดังนั้นในเอเธนส์จงึ มีการซอื้ ขายทาสกัน โดยเสรแี ละเปดิ เผย โดยบคุ คลทเ่ี ปน็ ทาสนนั้ มสี ถานะเปรยี บเสมอื นทรพั ยส์ นิ ของนายทาส นายทาส จะปฏบิ ตั ติ อ่ ทาสของเขาอยา่ งไรกไ็ ดด้ งั นน้ั ทาสจงึ มหี นา้ ทตี่ อ้ งปฏบิ ตั ติ ามคำ� สงั่ ของนายทาสในฐานะ ผู้คอยรับใช้ซึ่งส่วนใหญ่แล้วทาสเหล่าน้ีมักจะเป็นแรงงานส�ำคัญในภาคอุตสาหกรรมและ เกษตรกรรม10ต่อมาเม่ือเข้าสู่ยุคของอารยธรรมโรมัน (ประมาณ 500 ปีก่อนคริสตกาล – คริสต์ ศตวรรษท่ี 10) ประเพณที าสเหล่านกี้ ย็ งั คงมอี ยูเ่ ชน่ เดิม โดยทาสในสมยั โรมนั นั้น ได้แก่ กลุ่มบคุ คล ทถี่ กู กวาดตอ้ นมาในฐานะเชลยศกึ หรอื ถกู ขายลงเปน็ ทาส โดยทก่ี ฎหมายโรมนั ไดก้ ำ� หนดใหน้ ายทาส สามารถท่ีจะใช้แรงงาน หรือขายทาสได้ ในขณะเดียวกันนายทาสก็สามารถปลดปล่อยให้ทาสพ้น จากการเปน็ ทาสเมอื่ ใดกไ็ ด้ และนายทาสไมม่ สี ทิ ธทิ จ่ี ะลงโทษ ทรมานทาสหรอื ฆา่ ทาสไดต้ ามอำ� เภอ ใจ11แม้กฎหมายโรมันจะให้สทิ ธแิ กท่ าสมากขน้ึ กต็ าม แตก่ ย็ งั มีการแบ่งแยกทาสให้มคี วามแตกต่าง กบั คนทว่ั ไปอยา่ งเหน็ ไดช้ ดั โดยคนทเี่ ปน็ ทาสนนั้ จะถกู บงั คบั ใหส้ วมปลอกคอทม่ี แี ผน่ ปา้ ยเหลก็ สลกั ข้อความว่า ถ้าผู้ใดจับทาสท่ีหนีไปได้แล้วส่งคืนเจ้าของ ผู้นั้นจะได้รางวัลตอบแทน ส่วนทาสที่ พยายามหนีครั้งแล้วคร้ังเล่าจะถูกตีตราท่ีหน้าผากด้วยเหล็กเผาไฟ ตราส่วนใหญ่จะเป็นอักษร F 9 อัธยา โกมลกาญจน์, ประวตั ศิ าสตร์อารยธรรมกรีก-โรมัน, พิมพ์ครงั้ ท่ี 5, กรงุ เทพฯ:ส�ำนกั พิมพม์ หาวทิ ยาลยั รามคำ� แหง, 2541, หน้า 71. 10 บุญศรี มีวงศ์อุโฆษ, กฎหมายรัฐธรรมนูญ, พิมพ์ครั้งท่ี 3, กรุงเทพฯ: โครงการต�ำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์, 2552, หน้า 3 – 18 และอัธยา โกมลกาญจน,์ ประวัตศิ าสตร์อารยธรรม กรกี -โรมัน, หนา้ 71. 11 ปรดี ี เกษมทรัพย,์ , นติ ิปรชั ญา, พมิ พ์ครัง้ ที่ 13, กรุงเทพฯ:โครงการตำ� ราและเอกสารประกอบการสอน คณะนติ ศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,์ 2557, หน้า 131-132. 85

วารสารนิติสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ ปที ่ี 10 ฉบบั ท่ี 2 กรกฎาคม-ธนั วาคม 2560 ย่อมาจาก fugitivus ซ่งึ หมายถึงผูห้ ลบหน1ี 2 หลังจากอาณาจักรโรมันล่มสลายเมื่อทวีปยุโรปเข้าสู่ยุคกลางทาสได้กลายเป็นเคร่ืองมือ ส�ำคัญในการปกครองภายใต้ระบบศักดินาสวามิภักดิ์เพื่อสนับสนุนระบบชนชั้น ทาสในยุคน้ีจึงมี ความสำ� คญั ในฐานะทเี่ ปน็ ผตู้ ดิ ตามและคอยรบั ใชช้ นชน้ั ปกครองเปน็ แรงงานในภาคเกษตรและเปน็ ก�ำลังพลในการท�ำสงครามแย่งชิงดินแดนระหว่างอาณาจักรต่างๆ เรื่อยมาจนกระทั่งเข้าสู่ยุคฟื้นฟู แนวคิดการน�ำเอาคนลงเป็นทาสในซีกโลกตะวันตกเริ่มเปลี่ยนแปลงไปภายหลังมีการปฏิวัติ อุตสาหกรรมจนกระท่ังเข้าสู่ยุคของการล่าอาณานิคม เม่ือความต้องการทรัพยากรเพ่ือตอบสนอง การอปุ โภคบรโิ ภคเพม่ิ มากขนึ้ ทาสไดก้ ลายเปน็ แรงงานสำ� คญั ทข่ี บั เคลอ่ื นระบบเศรษฐกจิ เพอ่ื ปอ้ น ผลผลิตทางการเกษตรเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรม จึงท�ำให้บรรดานักล่าอาณานิคมจับชาวอาณานิคม โดยเฉพาะชาวพน้ื เมอื งในดนิ แดนในทวปี แอฟรกิ าใหก้ ลายเปน็ แรงงานทาส โดยในยคุ นแ้ี นวคดิ เรอ่ื ง การน�ำเอาลงเป็นทาสได้พัฒนาเป็นธุรกิจการค้าขายทาสอย่างเสรี13 เช่น ในประเทศอังกฤษ ในปี ค.ศ. 1660 มีการจดทะเบียนบริษัทค้าทาสที่ถูกกฎหมาย ช่ือ เดอะ รอยัล แอฟริกัน คอมปาน1ี 4 เปน็ ต้น อยา่ งไรกด็ ใี นยคุ ดงั กลา่ วการขนสง่ ทาสจากทวปี แอฟรกิ าไปยงั ดนิ แดนทวปี ยโุ รปและอเมรกิ า นน้ั ต้องขนสง่ ทางเรอื ซงึ่ การขนส่งทาสแต่ละครงั้ น้นั มกี ารเกณฑ์แรงงานทาสลงเรือเปน็ จ�ำนวนมาก สภาพความเปน็ อยขู่ องทาสในเรือจึงมคี วามแออัดและเกิดโรคระบาดในหมูท่ าส เช่น ไข้เหลอื ง ไข้ มาลาเรยี ฯลฯ ทาสบางสว่ นลม้ ตายในเรอื ในขณะทที่ าสทร่ี อดชวี ติ กเ็ ปน็ พาหะนำ� โรคระบาดดงั กลา่ ว ไปสทู่ วปี ยโุ รปและอเมรกิ า15 ประกอบกบั ในชว่ งระยะเวลาดงั กลา่ วแนวคดิ ปรชั ญากฎหมายธรรมชาติ (Natural Law) ได้รบั การฟน้ื ฟูขน้ึ มาอกี ครัง้ ภายใต้กระแสแนวคดิ แบบเสรีนิยม16 โดยมนี กั ปรชั ญา ท่สี ำ� คัญ เช่น Samuel Pufendorf, John Locke, Jaen Jacque Roasseau เป็นต้น ซงึ่ แนวคิดน้ี เชื่อว่า มนุษย์ทุกคนเป็นปัจเจกชนที่มีอิสระในตนเอง สิทธิในชีวิตและร่างกายเป็นสิทธิท่ีมนุษย์ทุก คนมีอยู่ตามธรรมชาติ โดยแนวคิดนี้ได้ถือก�ำเนิดข้ึนเพื่อลดทอนอ�ำนาจของกษัตริย์ในระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ และได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งพัฒนาเป็นการปกครองใน 12 Jehovah’s witnesses, “Did you know?,What was life like foe slaves in the Roman world”. The Watch- tower, Vol. 135 (No. 7), 1 April , 2014, p. 13. 13 สทุ ศั น์ ยกสา้ น, (2560), William Wilberforce ผมู้ ีบทบาทเลกิ ค้าทาสในอังกฤษ, สืบค้นวนั ท่ี 20 ตลุ าคม 2560, จาก http://www.manager.co.th/science/viewnews.aspx?NewsID=9600000004190. 14 นฤพนธ์ สุดสวาท, (2556), ทาสกบั สงครามสู่อสิ รภาพ, สบื ค้นวนั ท่ี 20 ตุลาคม 2560, จาก https://www.thairath. co.th/content/344193. 15 สทุ ศั น์ ยกส้าน, (2560), William Wilberforce ผมู้ บี ทบาทเลิกคา้ ทาสในอังกฤษ, สบื ค้นวันท่ี 20 ตุลาคม 2560, จาก http://www.manager.co.th/science/viewnews.aspx?NewsID=9600000004190. 16 ผสู้ นใจโปรดอา่ นเพิ่มเติมใน ปรีดี เกษมทรพั ย,์ นติ ิปรชั ญา, หน้า 202 – 220. 86

พระพทุ ธศาสนากบั ศักด์ศิ รคี วามเป็นมนุษย์ : ทา่ ทแี ละการปฏบิ ัตติ ่อทาส ระบอบประชาธปิ ไตย ดงั นนั้ กระแสความคดิ ในการตอ่ ตา้ นการมที าสและการคา้ ทาสจงึ เรมิ่ ถอื กำ� เนดิ ขนึ้ ในประเทศองั กฤษ โดยในปี ค.ศ. 1772 เมื่อ Granville Sharp ไดเ้ สนอกฎหมายให้ทาสตา่ งดา้ ว ท่ีเดนิ ทางเขา้ มาในองั กฤษจะไดร้ บั อิสรภาพแต่กฎหมายดงั กล่าวก็ไมผ่ า่ นความเห็นชอบของรฐั สภา ตอ่ มาในปี ค.ศ. 1789 William Wilberforce สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรขององั กฤษ ไดเ้ สนอกฎหมาย ตอ่ ตา้ นการคา้ ทาสเขา้ สรู่ ฐั สภาอกี ครง้ั แมใ้ นทา้ ยทสี่ ดุ กฎหมายดงั กลา่ วจะไมผ่ า่ นความเหน็ ชอบของ รัฐสภาแต่ก็ท�ำให้กระแสการต่อต้านการค้าทาสในอังกฤษเริ่มขยายตัวเพ่ิมมากข้ึน และมีความ พยายามท่ีจะเสนอให้มีการตรากฎหมายต่อต้านการค้าทาสหลายคร้ัง จนกระท่ังในปี ค.ศ. 1807 กฎหมายเลกิ การคา้ ทาสจงึ ผา่ นความเหน็ ชอบจากรฐั สภาขององั กฤษ17 สว่ นในทวปี อเมรกิ านน้ั ภาย หลังจาก 13 อาณานิคม ประกาศอสิ รภาพจากองั กฤษ ทำ� ให้เกดิ รัฐใหม่ คอื สหรัฐอเมริกา แมใ้ นค�ำ ประกาศอิสรภาพของสหรัฐอเมริกาจะมีการรบั รองวา่ มนษุ ยท์ กุ คนมสี ิทธิ เสรีภาพ และความเสมอ ภาคซ่ึงได้รับอิทธิพลมาจากแนวคิดเสรีนิยมก็ตาม แต่การน�ำเอาคนลงเป็นทาสยังเป็นที่แพร่หลาย อยู่ในบางมลรัฐ จนกลายเป็นความขัดแย้งระหว่างมลรัฐทางตอนเหนือซึ่งไม่ยอมรับการมีทาสกับ มลรัฐทางตอนใตท้ ี่สนับสนุนใหม้ ีการคา้ ขายทาสไดอ้ ยา่ งเสรี และนำ� ไปสสู่ งครามกลางเมือง (Civil War) ระหว่างฝา่ ยเหนือกับฝ่ายใตใ้ นปี ค.ศ. 1861 – 186518 ในระหว่างทที่ ั้งสองฝ่ายก�ำลงั สูร้ บกนั ในปี ค.ศ. 1863 ประธานาธิบดี Abraham Lincoln ได้อาศยั อ�ำนาจตามรัฐธรรมนญู มาตรา 2 ข้อ 2 ประกาศเลกิ ทาส (Emancipation Proclamation) และภายหลงั จากสงครามกลางเมอื งดงั กลา่ ว สิ้นสุดลงจึงไดม้ ีการแกไ้ ขเพิม่ เตมิ รัฐธรรมนูญ (ฉบับท่ี 13)19 ซึง่ การแกไ้ ขเพ่ิมเติมรฐั ธรรมนูญครง้ั นี้ นักประวตั ิศาสตรส์ หรัฐอเมรกิ าเห็นกนั วา่ เป็นการปฏวิ ตั อิ เมริกา ครั้งที่ 2 เพราะว่าการยกเลิกทาส ในสหรัฐอเมริกา คือ จุดเริ่มต้นของการเติมเต็มคำ� ประกาศอสิ รภาพทีใ่ ห้ค�ำม่ันสญั ญา มนษุ ย์ทกุ คน มคี วามเทา่ เทยี มกนั (all men are created equal)20 นบั ตัง้ แต่นนั้ เป็นต้นมากระแสการต่อต้าน การน�ำเอาคนลงเป็นทาสก็ได้แผ่ขยายไปยังประเทศต่างๆ ซ่ึงในบางประเทศเกิดข้ึนโดยสันติวิธีใน ขณะท่ีบางประเทศเกิดข้ึนโดยใช้ความรุนแรง จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1945 เมื่อได้มีการก่อต้ัง 17 สุทศั น์ ยกส้าน, (2560), William Wilberforce ผู้มีบทบาทเลกิ ค้าทาสในอังกฤษ, สบื ค้นวันท่ี 20 ตลุ าคม 2560, จาก http://www.manager.co.th/science/viewnews.aspx?NewsID=9600000004190. 18 ผู้สนใจโปรดอ่านเพ่ิมเติมใน อนันตชัย จินดาวัฒน์, ประวัติศาสตร์อเมริกา, พิมพ์คร้ังท่ี 2, กรุงเทพฯ : ยิปซี, 2556, หนา้ 517 – 572. 19 รฐั ธรรมนูญแกไ้ ขเพมิ่ เติม ฉบับที่ 13 ขอ้ 1 การมที าสหรือขา้ รบั ใช้โดยไม่สมัครใจไม่อาจมีไดใ้ นสหรฐั หรือดินแดนทีอ่ ย่ภู ายใตอ้ ำ� นาจสหรัฐ เว้นแตก่ รณีเปน็ การ ลงโทษสำ� หรับผกู้ ระท�ำความผดิ อาญาตามกฎหมาย ขอ้ 2 ใหร้ ฐั สภามีอ�ำนาจในการบงั คับให้เป็นไปตามบทบญั ญัตนิ โ้ี ดยการตราเป็นกฎหมายอยา่ งเหมาะสม. 20 Linda R. Monk, The World We Live By: Your Annotated Guide to the Constitution, New York : A Stone- song Press Book 2003, p. 209 อ้างถึงใน มานิตย์ จุมปา และพรสนั ต์ เลี้ยงบญุ เลิศชัย, รัฐธรรมนญู แหง่ สหรัฐอเมรกิ า ค�ำอธบิ ายเรียงมาตราพรอ้ มค�ำพพิ ากษาศาลฎีกา กรงุ เทพฯ: วญิ ญชู น, 2552, หน้า 191 – 192. 87

วารสารนิตสิ ังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ ปีท่ี 10 ฉบบั ท่ี 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 สหประชาชาติ จึงเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าการน�ำเอาคนลงเป็นทาสไม่ว่ารูปแบบใดก็ตามถือ เปน็ การละเมดิ ต่อสทิ ธมิ นษุ ยชนซึ่งเป็นสิทธขิ ัน้ พน้ื ฐานสำ� หรับมนุษยท์ ุกคน ซง่ึ หลกั การดงั กล่าวได้ รบั การรบั รองไวใ้ นปฏญิ ญาสากลวา่ ดว้ ยสทิ ธมิ นษุ ยชน (Universal Declaration of Human Rights 1948)21 3.2 แนวคิดการน�ำเอาคนลงเป็นทาสในซกี โลกตะวันออก ในทางซกี โลกตะวนั ออกนนั้ 22 แนวคดิ เรอื่ งการนำ� เอาคนลงเปน็ ทาสนน้ั ไดถ้ อื กำ� เนดิ ขน้ึ เพอ่ื ใช้เป็นเครื่องมือส�ำคัญในการก�ำหนดสถานะชนชั้นส่ิงที่ยืนยันถึงแนวคิดน้ีได้แก่ ระบบวรรณะใน ประเทศอินเดีย ซ่ึงแต่เดิมเป็นท่ีตั้งของอารยธรรมลุ่มแม่น้�ำสินธุ (ประมาณ 2500-1500 ปีก่อน ครสิ ตกาล) โดยมชี าวพ้ืนเมืองเดิมคือชาวดราวเิ ดียน23 (Dravidian) หรือมิลกั ขะ ต้ังถ่ินฐานอย2ู่ 4ตอ่ มาชาวอารยนั 25 หรืออรยิ กะได้เขา้ มารกุ รานดนิ แดนดงั กลา่ วเม่อื ประมาณ 1,500 ปี ก่อนครสิ ตกาล และครอบครองดนิ แดนบรเิ วณนีแ้ ทนพวกดราวิเดยี น และนำ� ระบบการปกครองแบบราชามาใชใ้ น การปกครอง และเมอื่ ระบบดงั กลา่ วผสมผสานกบั แนวคดิ ดง้ั เดมิ ของพวกดราวเิ ดยี นทน่ี บั ถอื เทพเจา้ และภตู ผปี ศี าจจงึ ทำ� ใหเ้ กดิ ระบบวรรณะขน้ึ โดยการยกสถานะของกษตั รยิ เ์ ปน็ สมมตเิ ทพ มพี ราหมณ์ เป็นสือ่ กลางในการสือ่ สารระหว่างกษตั รยิ ก์ บั เทพเจ้าด้วยการประกอบพิธกี รรมต่างๆ ในชว่ งแรกๆ ทพี่ วกอารยนั เขา้ มาตง้ั ถนิ่ ฐานนนั้ ระบบวรรณะยงั ไมม่ คี วามเขม้ งวดมากนกั มกี ารแบง่ ชนชน้ั ในสงั คม เป็น 3 ชนชั้นกว้างๆ คือ นักรบ นกั บวช และสามญั ชน จนกระทั่งพวกอารยนั สามารถยึดครองดนิ แดนแถบลมุ่ แมน่ �ำ้ สินธุไดท้ ้งั หมด พวกดราวเิ ดยี นจึงถอยร่นไปอยู่ทางตอนใต้ ส่วนพวกท่เี หลอื อยูก่ ็ ถูกจับเป็นทาสจึงท�ำให้คนท้ังสองเชื้อชาติแต่งงานและเก่ียวดองเกลื่อนกลืนเป็นพวกเดียวกัน พวก อารยนั ซง่ึ รงั เกยี จพวกดราวเิ ดยี นเปน็ ทนุ เดมิ อยแู่ ลว้ เนอื่ งจากเปน็ พวกดราวเิ ดยี นเปน็ พวกผวิ ดำ� รปู รา่ งหนา้ ตาอปั ลกั ษณ์ จงึ หาวธิ กี ดี กนั ไมใ่ หท้ งั้ สองชนเผา่ เกย่ี วดองกนั อกี ตอ่ ไป เพอ่ื รกั ษาความบรสิ ทุ ธ์ิ ของเชอ้ื ชาตทิ ำ� ใหเ้ กดิ ระบบวรรณะ (Caste) ขน้ึ เพราะคำ� วา่ วรรณะ แปลวา่ สี ดงั นนั้ ระบบวรรณะ ก็คือการกดี กนั สผี วิ น่ันเอง26 21 ข้อ 4 บุคคลใดจะตกอยใู่ นความเป็นทาส หรือสภาวะจ�ำยอมไม่ได้ ทั้งน้ี ห้ามความเป็นทาส และการค้าทาสทกุ รปู แบบ. 22 บทความนจ้ี ะกล่าวถึงแตเ่ ฉพพาะทาสในอารยธรรมอินเดียโบราณเทานนั้ . 23 สนั นิษฐานวา่ เปน็ พวกเผ่านโิ กรเผ่าหนง่ึ มีรปู รา่ งเต้ีย ผวิ ดำ� จมกู กว้าง เป็นพวกหยาบคายและปา่ เถื่อน. 24 ประภสั สร บุญประเสรฐิ , ประวัตศิ าสตร์เอเชียใต้, พิมพ์ครัง้ ที่ 9, กรุงเทพฯ: ส�ำนกั พิมพ์มหาวทิ ยาลยั รามค�ำแหง, 2548, หน้า 53. 25 สันนิษฐานว่าเป็นพวกยุโรเปียนอารยัน มีผิวขาว รูปร่างสูงใหญ่ จมูกโด่ง ศีรษะค่อนข้างยาว ผมสีอ่อน และรูปหน้าได้ สัดสว่ น. 26 ดนยั ไชยโยธา, ประวตั ศิ าสตรเ์ อเชียใตย้ ุคโบราณ, กรงุ เทพฯ:บริษทั อักษรเจริญทศั น์ อจท. จ�ำกัด, 2527, หน้า 51-52 และ ประภสั สร บญุ ประเสริฐ, ประวตั ิศาสตรเ์ อเชยี ใต้, หนา้ 58-63. 88

พระพทุ ธศาสนากบั ศักด์ิศรคี วามเปน็ มนษุ ย์ : ท่าทีและการปฏิบตั ิตอ่ ทาส ระบบวรรณะถูกสร้างขึ้นมาภายใต้แนวความคิดแบบเทววิทยาตามความเช่ือของศาสนา พราหมณ-์ ฮนิ ดู ซงึ่ ปรากฏในคมั ภรี ฤ์ คเวทวา่ “จากปากของเขา (ปรุ ษุ ) กลายเปน็ พราหมณ์ จากแขน ทั้งสองกลายเป็นราชัน (กษัตริย์ ) จากตะโพกทั้งสองเป็นไวศยะ (แพศย์) และจากเท้าท้ังสอง ศทู รกเ็ กดิ มา”27 ชาวฮนิ ดเู ชอื่ ในเรอื่ งของการเวยี นวา่ ยตายเกดิ และเชอ่ื วา่ พระพรหมทรงสรา้ งมนษุ ย์ และก�ำหนดหน้าท่ีของมนุษย์แต่ละคนไว้เพ่ือให้เกิดสันติ จึงท�ำให้เกิดวรรณะ 4 วรรณะ และแบ่ง หน้าที่ (ธรรมะ) ของแต่ละวรรณะออกจากกันอย่างชดั เจน28 และหากคนในวรรณะใดได้ปฏิบตั ติ าม หนา้ ทขี่ องตนเองได้อยา่ งถึงพรอ้ มแลว้ ก็จะไดเ้ กดิ ในวรรณะท่สี งู ขึ้นในภพชาติต่อไป29 ระบบวรรณะ จึงกลายเป็นเครื่องมือในการก�ำหนดสถานะและหน้าท่ีของคนในสังคมอินเดียโบราณได้เป็นอย่างดี อนั เปน็ การแสดงใหเ้ หน็ ถงึ สตปิ ญั ญาของชาวอารยนั ทสี่ ามารถนำ� เอาหลกั ของศาสนาพราหมณ-์ ฮนิ ดู กับศาสตร์แห่งการปกครองและกฎหมายมาบูรณาการร่วมกันเพ่ือให้เกิดผลใช้บังคับได้จริงได้อย่าง ลงตัว ดงั ตาราง ตารางแสดงการแบง่ วรรณะตามความเชอ่ื ของศาสนาพราหมณ-์ ฮนิ ดู ท่ีมาของแตล่ ะวรรณะ วรรณะ ท่ยี ึดโยงกบั พระผ้เู ปน็ หน้าท่ีทางสงั คม ชนเผ่า พราหมณ์ เจ้า อารยนั กษตั ริย์ อารยนั พระโอษฐ์ ผู้สั่งสอน ศึกษาพระเวท, ส่งั สอนศลิ ปวทิ ยา, ประกอบพธิ ีกรรม (ปาก) ทางศาสนา พระพาหา ผู้ ปกครองบ้านเมอื ง, บำ�บดั ทกุ ขบ์ ำ�รุงสุขแก่บา้ นเมือง, (แขน) ปกครอง, ป้องกนั ภยั จากศึกสงคราม ผู้ปกป้อง แพศย์ พระเพลา ผรู้ องรับ สรา้ งและขบั เคลอ่ื นระบบเศรษฐกิจ ประกอบ อารยัน (ตะโพก) กสิกรรมและพาณชิ ยกรรม เชน่ ทำ�ไรท่ ำ�นา งานฝมี อื เลยี้ งสตั วค์ า้ ขาย 27 ทองหลอ่ วงษ์ธรรมา, ศาสนาส�ำคัญของโลก, หนา้ 47. 28 การจัดโครงสร้างชนชั้นทางสังคมโดยการแบ่งงานกันท�ำตามหน้าท่ีในระบบวรรณะของอินเดียน้ัน มีความคล้ายคลึงกับ การแบ่งกลมุ่ คนของเพลโตซึง่ ได้แบ่งคนออกเป็น 3 กล่มุ ได้แก่ นักปกครอง ผูช้ ว่ ยนักปกครอง และชนชั้นกรรมาชีพ โดย เพลโตใช้คุณธรรมและสติปัญญาเป็นเกณฑ์ในการจัดแบ่งและก�ำหนดหน้าท่ีของคนเหล่าน้ัน ผู้สนใจโปรดอ่านเพ่ิมเติมใน ปรดี ี เกษมทรพั ย์, นติ ิปรัชญา, หน้า 110-113. 29 ดนัย ไชยโยธา, ประวตั ิศาสตร์เอเชียใต้ยุคโบราณ, หนา้ 100. 89

วารสารนติ ิสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ปที ี่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 ศทู ร พระบาท ผู้รบั ใช้ รบั ใชค้ นในวรรณะพราหมณ์ กษัตริย์ และแพศย์ ดราวิ (เท้า) เดยี น จากตารางดังกล่าวจะเห็นได้ว่า ชาวอารยนั ไดใ้ ช้ระบบวรรณะในการสรา้ งชนช้ันทางสงั คม ขน้ึ มาเพอื่ กดี กนั ชาวดราวเิ ดยี น จงึ ทำ� ใหเ้ กดิ วรรณะศทู ร ซง่ึ ถอื เปน็ ชนชน้ั ตำ�่ สดุ และกดี กนั พวกศทู ร มใิ ห้มีสถานะในทางสงั คมเทยี บเท่ากบั วรรณะอ่นื ๆ เชน่ ห้ามมิให้น่งั เสมอกับวรรณะอน่ื หากฝ่าฝืน วรรณะอน่ื ยอ่ มสามารถตเิ ตยี นหรอื ลงโทษศทู รผนู้ น้ั ได3้ 0ดงั นน้ั โดยทวั่ ไปแลว้ วรรณะศทู รจงึ มสี ถานะ เปน็ ทาสท�ำหน้าที่รบั ใช้วรรณะอ่ืน ๆ และเพื่อมใิ ห้มกี ารละเมิดกฎแหง่ วรรณะ คัมภรี ์มนูศาสตร์ยงั ไดก้ ำ� หนดใหม้ วี รรณะยอ่ ยๆ ในกรณที มี่ กี ารแตง่ งานขา้ มวรรณะเกดิ ขน้ึ และกดี กนั มใิ หช้ ายทมี่ วี รรณะ ต่�ำแต่งงานกับหญิงท่ีมีวรรณะสูงกว่า เช่น บุตรที่เกิดจากบิดาที่อยู่ในวรรณะศูทรกับมารดาอยู่ใน วรรณะพราหมณ์นั้น จะถูกเรียกว่า “จัณฑาล”31 ซ่ึงถือว่าเป็นชั้นต่�ำสุด และเป็นท่ีรังเกียจเหยียด หยามจากวรรณะอน่ื ๆ เปน็ อยา่ งมาก หนา้ ทขี่ องพวกจณั ฑาล จงึ ไดแ้ กง่ านทตี่ อ้ งอยกู่ บั ความสกปรก เช่น ลา้ งสว้ ม ขนอจุ จาระ ซ่อมรองเท้า ขอทาน เปน็ ต้น และเพอ่ื ป้องกันมใิ ห้พวกจัณฑาลเขา้ ใกล้ คนวรรณะอนื่ ๆ พวกนจี้ งึ มกั มสี ญั ลกั ษณโ์ ดยการแขวนลกู กระพรวน และเมอื่ เวลาเดนิ ไปเดนิ มาตอ้ ง ถือไมเ้ คาะบอกว่าตนเองเปน็ จัณฑาลอยูต่ ลอดเวลา32 อิทธิพลของระบบวรรณะในอินเดียได้แผ่ขยายไปยังอาณาจักรโบราณในทวีปเอเชีย การ ขายตนเองลงเป็นทาสหรือการขายคนในครอบครัวลงเป็นทาสเป็นประเพณีท่ีชาวเอเชียให้การ ยอมรับกันโดยท่ัวไปว่าสามารถท�ำได้ ทาสจึงกลายเป็นแรงงานท่ีส�ำคัญและกลายเป็นเครื่องมือใน การจดั ระเบยี บชนชนั้ ทางสงั คมทห่ี ยงั่ รากลกึ อยกู่ บั วถิ ใี นการดำ� เนนิ ชวี ติ ของชาวเอเชยี ทไี่ ดร้ บั อทิ ธพิ ล ทางวฒั นธรรมจากอารยธรรมอนิ เดยี โบราณมาอยา่ งชา้ นาน ซง่ึ แมแ้ ตป่ ระเทศไทยเองกย็ อมรบั ใหม้ ี การซื้อขายทาสกนั ได้โดยมีการรับรองการมีทาสไว้ใน “พระอยั การทาส” ซึ่งเป็นกฎหมายที่ตราข้ึน ตั้งแต่ในสมัยกรุงศรีอยุธยาสืบเน่ืองมาจนกระท่ังมีการเลิกทาสในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัว 4. ทรรศนะในทางพระพุทธศาสนากับการนำ� เอาคนลงเปน็ ทาส ในสมัยพทุ ธกาลนั้น ไดม้ ีการแบ่งทาสออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ ทาสเกดิ ภายใน คือ ลกู ที่ 30 เรื่องเดียวกนั , หนา้ 98. 31 มหาตมะ คานธี เรยี กคนเหล่านวี้ ่า พวก “หริชน” แปลวา่ คนของพระเจ้า. 32 ดนยั ไชยโยธา, ประวัติศาสตรเ์ อเชียใต้ยคุ โบราณ, หนา้ 101-102. 90

พระพทุ ธศาสนากับศกั ดศ์ิ รีความเป็นมนุษย์ : ทา่ ทแี ละการปฏบิ ตั ติ อ่ ทาส เกดิ จากทาส (ทาส)ี ยอ่ มเป็นทาสเช่นเดียวกบั มารดาผใู้ หก้ ำ� เนดิ , ทาสทช่ี ่วยมาด้วยทรพั ย์ คอื ทาส ทน่ี ายทาสซอ้ื ตวั มาจากนายเงนิ ผอู้ นื่ แลว้ นำ� ทาสนนั้ มาเปน็ ทาสของตน, ทาสทเ่ี ขานำ� มาเปน็ เชลย คอื ทาสท่ีถูกกวาดต้อนมาภายหลังจากท่ีกษัตริย์เป็นผู้ชนะสงครามฝ่ายที่แพ้สงครามก็จะถูกจับลงเป็น ทาส และบคุ คลทย่ี อมเปน็ ทาสเอง คอื ทาสทย่ี อมขายตนเองลงเปน็ ทาสเพอ่ื ใหไ้ ดร้ บั การเลยี้ งดหู รอื คุ้มครองจากผเู้ ป็นนายทาส ซึง่ การน�ำเอาคนลงเปน็ ทาสในสมยั พทุ ธกาลเป็นประเพณีท่สี บื ทอดมา จากระบบวรรณะตามคตคิ วามเชอื่ ของศาสนาพราหมณ์ – ฮนิ ดู ทาสจงึ มสี ถานะเปน็ เหมอื นทรพั ยส์ นิ อย่างหนง่ึ ของนายทาส และมหี น้าทีร่ ับใช้และทำ� ตามคำ� สงั่ ของนายทาสอย่างเดยี วเทา่ น้นั อย่างไร ก็ตามในทรรศนะของพระพุทธศาสนา พระพุทธองค์ได้ทรงวางแนวทางให้พุทธบริษัท 4 รวมถึง พุทธศาสนิกชนปฏิบัติต่อบุคคลที่เป็นทาสในยุคน้ันโดยค�ำนึงถึงศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ ซ่ึงปรากฏ อยู่ในพระไตรปิฎกทัง้ ในฐานะท่เี ปน็ “ธรรมะ” และ “วินยั ” ดงั น้ี 4.1 ทรรศนะในการปฏบิ ตั ติ อ่ ทาสท่ีปรากฏในพระสุตตันตปิฎก ในทางพระพทุ ธศาสนานนั้ “ธรรมหรอื ธรรมะ” คอื ความจรงิ ทม่ี อี ยตู่ ามธรรมดา เปน็ กฎ ท่ีมีอยู่ตามธรรมชาติ แม้พระพุทธเจ้าจะเกิดหรือไม่เกิดก็มีอยู่อย่างนั้น33 เมื่อพระพุทธองค์ทรง ตรสั รพู้ ระองคท์ รงคน้ พบธรรมและเขา้ ถงึ ตวั ความจรงิ ของธรรมน้ี และไดน้ ำ� เอาธรรมทพ่ี ระองคท์ รง ค้นพบเทศนาส่ังสอนให้แก่ผู้อื่นให้ได้ทราบและปฏิบัติตาม ซึ่งธรรมที่พระพุทธองค์ทรงแสดงตาม โอกาสตา่ งๆ นนั้ ได้ถูกบนั ทึกไว้ในพระสุตตนั ตปฎิ กในเวลาต่อมา ดังนนั้ ธรรมะท่ปี รากฏในพระสุต ตันตปิฎกจึงล้วนแต่เป็นกฎของธรรมชาติที่เป็นความจริงท่ีมนุษย์ทุกคนไม่อาจปฏิเสธได้ อีกทั้งยัง คคู่ วรตอ่ การทม่ี นษุ ยท์ กุ คนควรนอ้ มนำ� ไปปฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ ผลทสี่ อดคลอ้ งกบั ธรรมชาตซิ งึ่ กค็ อื ประโยชน์ สุขของชวี ิตแกต่ นเองและผอู้ น่ื โดยธรรมท่พี ระพุทธองค์ไดท้ รงแสดงเทศนาไว้น้ันสว่ นหนง่ึ ไดก้ ลา่ ว ถึงการปฏบิ ตั ติ อ่ ทาสในฐานะท่ี “ทาสเป็นมนุษย์เฉกเช่นเดยี วกับชนชน้ั วรรณะอ่ืน ๆ ” กลา่ วคือ มี การแสดงถึงท่าทีของพระพุทธศาสนาที่มีการติเตียนต่อคติความเชื่อในเรื่องวรรณะของศาสนา พราหมณฮ์ ินดู การวางแนวทางให้คฤหสั ถ์ปฏิบัติต่อทาสโดยคำ� นงึ ถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และ ทา่ ทีของพระพุทธศาสนาในการนำ� คนลงเปน็ ทาสหรือซือ้ ขายทาส ซึง่ มรี ายละเอยี ดดังน้ี 4.1.1 ทา่ ทีของพระพุทธศาสนาตอ่ คตคิ วามเช่ือในเรอ่ื งวรรณะของศาสนาพราหมณ์- ฮนิ ดู หากพจิ ารณาถงึ คตคิ วามเชอื่ เรอ่ื งระบบวรรณะในอนิ เดยี โบราณเปรยี บเทยี บกบั แนวคดิ ทาง ด้านสิทธิมนุษยชนในปัจจุบันนั้น จะพบว่าคติความเชื่อดังกล่าวมีลักษณะของการละเมิดศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์อย่างชัดแจ้ง เน่ืองจากการแบ่งสถานะและหน้าท่ีของบุคคลโดยระบบวรรณะนั้น เป็นการเลือกปฏิบัติต่อบุคคลโดยอาศัยความแตกต่างของเชื้อชาติเป็นเกณฑ์ส�ำคัญ แต่ในสมัย 33 สมเด็จพระพทุ ธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยตุ ฺโต) , นติ ศิ าสตรแ์ นวพทุ ธ, พิมพค์ รัง้ ท่ี 20, กรงุ เทพฯ: วญิ ญชู น, 2560, หน้า 25. 91

วารสารนิติสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ ปีท่ี 10 ฉบบั ท่ี 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 พุทธกาลน้ัน พระสัมมาสัมพุทธเจ้ามิได้ทรงแบ่งคนออกเป็นวรรณะต่างๆ ตามคติความเชื่อของ พราหมณ์ – ฮนิ ดูแตอ่ ย่างใด ดงั ปรากฏใน อัคคญั สตู ร พระสตุ ตันตปฎิ ก ทฆี นกิ าย ปาฏิวรรค สรปุ ใจความได้ว่า เมื่อครัง้ ท่พี ระผมู้ ีพระภาคประทับอยู่ ณ ปราสาทของนางวิสาขา ในบพุ พาราม เขตกรุงสา วตั ถี ไดต้ รสั ถาม สามเณรวาเสฏฐะและสามเณรภารทวาชะ ผซู้ ง่ึ เคยเปน็ วรรณะพราหมณแ์ ละไดม้ า บวชเปน็ สามเณรวา่ พวกพราหมณ์ทเ่ี ปน็ ญาตขิ องทง้ั สองไดว้ า่ กลา่ วตเิ ตียนวา่ อยา่ งไรบ้าง สามเณร ทั้งสองทูลว่า ถูกด่าว่าอย่างรุนแรงท่ีละท้ิงวรรณะพราหมณ์ซึ่งเป็นวรรณะประเสริฐอันเกิดจาก พระโอษฐข์ องพระพรหม เหตใุ ดจงึ มาเขา้ รตี กบั พวกศรี ษะโลน้ ซงึ่ เปน็ วรรณะตำ่� ทราม พระพทุ ธองค์ จงึ ตรัสวา่ พวกพราหมณ์เหล่าน้นั มไิ ด้รจู้ ริง เพราะพราหมณท์ งั้ หลายล้วนเกิดมาจากช่องคลอดของ นางพราหมณี หาไดเ้ กดิ จากพระโอษฐ์ของเทา้ มหาพรหมแต่อย่างใดไม่ ดงั นน้ั ไมว่ ่าจะเป็นวรรณะ พราหมณ์ กษัตริย์ แพศย์ หรือศทู ร ตา่ งกม็ ิไดเ้ กดิ จากพระพรหม แต่ล้วนเกิดมาจากชอ่ งคลอดของ ผเู้ ปน็ มารดาเสมอกนั ทง้ั สนิ้ และไมว่ า่ จะเกดิ มาจากวรรณะใดกต็ ามหากประพฤตกิ ายสจุ รติ วจสี จุ รติ มโนสจุ ริต ก็ควรไดร้ บั การยกย่องวา่ ประเสรฐิ แตห่ ากวรณะทง้ั สีป่ ระพฤติกายทุจริต วจีทุจริต มโน ทุจริต กค็ วรไดร้ บั การติเตยี นวา่ เลวทราม34 อัคคัญญสูตรดังกล่าวแสดงให้เห็นชัดแจ้งว่า พระพุทธองค์มิได้ทรงแบ่งแยกคนจากชนช้ัน วรรณะ แตท่ รงแบง่ แยกคนออกเป็น 2 จำ� พวก โดยอาศยั หลักการการประพฤตธิ รรมเป็นเกณฑ์ อนั ไดแ้ ก่ 1) บคุ คลทป่ี ระพฤตอิ ยใู่ นกศุ ลธรรม ซงึ่ เปน็ บคุ คลทคี่ วรคา่ แกก่ ารยกยอ่ งสรรเสรญิ ไมว่ า่ บคุ คล นั้นจะเกดิ จากชนชน้ั วรรณะใดก็ตาม และ 2) บคุ คลทีป่ ระพฤติอยูใ่ นอกุลศลธรรมซ่งึ หากผทู้ ีเ่ กดิ ใน วรรณะพราหมณห์ รอื กษตั รยิ ป์ ระพฤตอิ ยใู่ นอกศุ ลกรรมกส็ มควรแกก่ ารถกู ตำ� หนติ เิ ตยี น ดงั นนั้ ชาติ ก�ำเนิดหรือความแตกต่างทางเชื้อชาติท่ีต่างกันจึงมิอาจลดคุณค่าของศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของ บุคคลใดได้ ซึ่งเปน็ การแสดงให้เหน็ วา่ ในทรรศนะของพระพุทธศาสนานั้นมนษุ ย์ทุกคนไม่วา่ จะเกดิ ในเช้ือชาติหรอื วรรณะใดมนุษยท์ กุ คนยอ่ มมีความเสมอภาคกันนั่นเอง 4.1.2 ทา่ ทีของพระพทุ ธศาสนากับการวางแนวทางให้คฤหัสถ์ปฏบิ ัตติ ่อทาสโดยค�ำนึง ถงึ ศักดิ์ศรคี วามเป็นมนุษย์ สภาพสงั คมของอนิ เดยี ในสมยั พทุ ธกาลทย่ี งั คงยดึ ถอื และเครง่ ครดั ในระบบวรรณะอยา่ งเขม้ งวดท�ำให้ชาวอินเดียส่วนใหญ่ยังคงนิยมท่ีจะมีทาสไว้ในปกครองในฐานะคนรับใช้และในฐานะ แรงงาน ซ่ึงพระพุทธองค์ไม่สามารถที่จะสั่งการให้บุคคลเหล่าน้ีปลดปล่อยทาสให้เป็นไทได้เว้นแต่ บคุ คลดงั กลา่ วจะสมคั รใจทจ่ี ะปลดปลอ่ ยทาสเหลา่ นนั้ เอง ดงั นนั้ พระพทุ ธองคจ์ งึ ไดท้ รงวางแนวทาง 34 กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ, พระไตรปิฎกฉบับหลวง เล่มที่ 11, พิมพ์คร้ังท่ี 2, กรุงเทพฯ:หน่วยพิมพ์และ จ�ำหนา่ ยศาสนภณั ฑ์ (โรงพมิ พก์ ารศาสนา), 2514, หนา้ 71 – 76. 92

พระพุทธศาสนากับศักดศิ์ รีความเป็นมนุษย์ : ท่าทแี ละการปฏิบัติตอ่ ทาส ใหบ้ คุ คลทย่ี งั คงยดึ ตดิ กบั ระบบวรรณะปฏบิ ตั ติ อ่ ทาสในฐานะทเ่ี ปน็ มนษุ ยค์ นหนง่ึ มใิ ชป่ ฏบิ ตั ติ อ่ ทาส ในฐานะทเี่ ปน็ ทรพั ยส์ นิ ของนายทาส โดยใหค้ ำ� นงึ ถงึ ความเหมาะสมตามสมควรประหนงึ่ วา่ ทาสหรอื คนรับใช้เป็นสมาชกิ คนหนง่ึ ในครอบครวั ซงึ่ ปรากฏในพระไตรปฎิ กสรปุ ใจความไดว้ ่า เมื่อครั้งท่ีอุคคตสรีรพราหมณ์ก�ำลังจะประกอบพิธีบูชายัญด้วยการจุดไฟเผาโคตัวผู้ โคตัว เมีย ลูกโค แพะ และแกะอย่างละ 500 ตัว ด้วยความเช่ือว่าเม่ือกระท�ำการเช่นนี้แล้วย่อมจะได้ อานสิ งคแ์ หง่ บญุ มาก พระพทุ ธองคจ์ งึ ไดต้ รสั สงั่ สอนอคุ คตสรรี พราหมณว์ า่ การกระทำ� เชน่ นนี้ อกจาก จะไมไ่ ดบ้ ญุ แลว้ กลบั ยงั เปน็ บาปตดิ ตวั ไปมากมายอกี ดว้ ย ดงั นนั้ การบชู าทถ่ี กู ตอ้ งและจะไดอ้ านสิ งส์ ที่ดีนั้นจะต้องบชู าไฟ 3 ประการ เรยี กว่า “อคั คสิ ูตร” ดังปรากฏในพระสตุ ตนั ตปิฎก องั คุตรนกิ าย สตั ตก-อัฏฐก-นวกนิบาตว่า “...ดูกรพราหมณ์ ไฟ 3 กองนี้ควรสักการะ เคารพ นบั ถือ บชู า บรหิ ารให้เปน็ สขุ โดย ชอบ 3 กองเป็นไฉน คือ ไฟคืออาหไุ นยบคุ คล 1 ไฟคอื คหบดี 1 ไฟคือทักขิไณยบุคคล 1....กไ็ ฟคือคหบดีเปน็ ไฉน คนในโลกน้ี คือ บุตร ภรรยา ทาส หรอื คนใช้ น้เี รียกวา่ ไฟ คอื คหบดี ฉะน้ัน ไฟคอื คหบดจี ึงควรสักการะ เคารพ นบั ถอื บูชา บริหารใหเ้ ปน็ สขุ โดยชอบ...”35 การท่พี ระพทุ ธองค์ทรงตรสั ถึงอัคคสิ ูตรนน้ั เปน็ การแสดงให้เหน็ ถึงคณุ และโทษของไฟ ดัง นนั้ หากบคุ คลใดบชู าไฟในทางทไี่ มถ่ กู ตอ้ ง ยอ่ มกอ่ ใหเ้ กดิ โทษได้ เชน่ การบชู ายญั คอื การประหาร สัตว์ เป็นบาป เป็นการสร้างทางไปสู่อกุศล แต่ถ้าบุคคลใดบูชาไฟอย่างถูกต้องย่อมก่อให้เกิด ประโยชน์ ซงึ่ ไฟทค่ี วรบชู าในทนี่ รี้ วมไปถงึ การบชู าไฟคหบดี ซงึ่ ไดแ้ กก่ ารบำ� รงุ เลย้ี งดคู นในครอบครวั อนั ประกอบดว้ ย สามี ภรรยา บตุ รธดิ า รวมทงั้ ข้าทาสบรวิ ารซ่งึ เปน็ ทาสที าสาดว้ ย ดังนั้นนายทาส จึงต้องปฏิบัติต่อทาสซึ่งเป็นบริวารในครอบครัวให้เหมาะสมตามสมควรซ่ึงย่อมก่อให้เกิดความสุข ในครอบครวั หลักปฏบิ ัตติ ่อทาสอีกประการหน่งึ ทป่ี รากฏในพระสตุ ตนั ตปฎิ ก คือ การปดิ ปอ้ งทิศ 6 ซง่ึ พระพทุ ธองคไ์ ดต้ รัสสง่ั สอนแก่สงิ คาลกมาณพ สรปุ ใจความได้ว่า กอ่ นที่บดิ าของสงิ คาลกมาณพจะ ถึงแก่กรรม ได้ส่ังเสียแก่สิงคาลกมาณพให้ไหว้ทิศ 6 สิงคาลกมาณพจึงได้ทูลถามพระผู้มีพระภาค เจา้ วา่ เขาไหวท้ ศิ กนั อยา่ งไร พระพทุ ธองคจ์ งึ ตรสั กบั สงิ คาลกมาณพวา่ อรยิ กสาวกพงึ ละกรรมกเิ ลส 4 ประการ ไมท่ ำ� บาปเพราะเหตุ 4 ประการ และไมข่ อ้ งแวะอบายมขุ 6 ประการ ยอ่ มเปน็ ผปู้ ราศจาก บาปกรรม 14 ประการ และไดช้ อื่ วา่ เปน็ ผปู้ ดิ ปอ้ งทศิ 6 ได้ ดงั ปรากฏในพระสตุ ตนั ตปฎิ ก ทฆี นกิ าย 35 กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ, พระไตรปิฎกฉบับหลวง เล่มที่ 23, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ:หน่วยพิมพ์และ จำ� หน่ายศาสนภณั ฑ์ (โรงพมิ พ์การศาสนา), 2514, หน้า 44 – 47. 93

วารสารนิตสิ ังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ ปีท่ี 10 ฉบบั ท่ี 2 กรกฎาคม-ธนั วาคม 2560 ปาฏิวรรค สงิ คลากสตู ร วา่ “...ดกู รคฤหบดบี ตุ ร กอ็ รยิ สาวกเปน็ ผปู้ กปดิ ทศิ ทง้ั 6 อยา่ งไร ทา่ นพงึ ทราบทศิ 6 เหลา่ นี้ คอื พงึ ทราบมารดาบดิ าวา่ เปน็ ทศิ เบอ้ื งหนา้ ...ทาสและกรรมกรเปน็ ทศิ เบอื้ งตำ่� ...”36 ค�ำว่า ปิดป้องทิศ น้ัน หมายถึง ปิดช่องต่อระหว่างตนกับบุคคลท่ีเก่ียวข้องตามฐานะใน ทิศ 637 หรอื อีกนัยหน่งึ หมายถึงหลกั การปฏิบตั ิต่อกนั ระหวา่ งบุคคลตามสถานะและหนา้ ที่พงึ มตี ่อ กันนนั่ เอง สำ� หรับการปฏบิ ัตติ อ่ ทิศเบื้องตำ่� นั้น พระพุทธองคไ์ ด้ตรสั สงั่ สอนสงิ คาลกมาณพว่า “...ดูกรคฤหบดีบุตรทาสกรรมกรผู้เป็นทิศเบื้องต่�ำอันนายพึงบำ� รุงด้วยสถาน 5 คือ ดว้ ยจดั การงานใหท้ ำ� ตามสมควรแกก่ ำ� ลงั 1 ดว้ ยใหอ้ าหารและรางวลั 1 ดว้ ยรกั ษาใน คราวเจบ็ ไข้ 1 ดว้ ยแจกของมีรสแปลกประหลาดใหก้ นิ 1 ดว้ ยปลอ่ ยในสมยั 1ฯ…”38 จากกรณีดังกล่าวจะเห็นได้ว่า แม้ในสมัยพุทธกาลจะยังคงมีประเพณีทาสอยู่ก็ตาม แตพ่ ระพทุ ธองคก์ ท็ รงสอนใหน้ ายทาสเคารพตอ่ สทิ ธขิ องทาสและปฏบิ ตั ติ อ่ ทาสอยา่ งเหมาะสมดว้ ย ความเมตตาปราณเี สมอื นหนงึ่ วา่ ทาสเปน็ เพอื่ นมนษุ ยร์ ว่ มโลกและเปน็ คนในครอบครวั ในขณะทค่ี ติ ความเชื่อของอินเดียโบราณ และคติความเช่ือของกรีก-โรมันซ่ึงอยู่ในช่วงระยะเวลาเดียวกันกับใน สมยั พทุ ธกาลกลบั มองวา่ นายทาสจะปฏบิ ตั ติ อ่ ทาสจะอยา่ งไรกไ็ ด้ เพราะทาสเปน็ ทรพั ยส์ นิ ของนาย ทาสเท่าน้ัน 4.1.3 ท่าทีของพระพุทธศาสนากับการน�ำเอาคนลงเป็นทาสและการคา้ ขายทาส ในพระไตรปฎิ กไดก้ ลา่ วถงึ หลกั ธรรมวา่ ดว้ ยการคา้ ขายทอี่ บุ าสกไมค่ วรประกอบ 5 ประการ หรือทเ่ี รยี กว่า “มจิ ฉาวณิชชา 5”ไว้ โดยสตั ตวณชิ ชาหรอื การค้าขายสตั ว์ ก็เปน็ ข้อห้ามประการ หนง่ึ ทพี่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ ตรสั ไวว้ า่ ไมพ่ งึ กระทำ� ดงั ปรากฏใน พระสตุ ตนั ตปฎิ ก องั คตุ รนกิ าย ปญั จก นบิ าต จตตุ ถปณั ณาสก์ วณิชชสูตร วา่ “ดูกรภกิ ษทุ ้ังหลาย การค้าขาย 5 ประการนี้ อันอุบาสกไม่พงึ กระทำ� 5 ประการเปน็ ไฉน คอื การค้าขายศาตรา 1 การค้าขายสตั ว์ 1 การค้าขายเนอื้ สัตว์ 1 การคา้ ขาย นำ้� เมา 1 การคา้ ขายยาพษิ 1 ดกู รภกิ ษทุ งั้ หลายการคา้ ขาย 5 ประการนแี้ ล อนั อบุ าสก ไมพ่ งึ กระท�ำ ฯ…”39 36 กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ, พระไตรปฎิ กฉบบั หลวง เล่มท่ี 11, หนา้ 169. 37 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, พระไตรปิฎกแก่นธรรม ฉบับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พระสุตตันตปฎิ ก เล่ม 1, กรุงเทพฯ: โรงพมิ พม์ หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, 2551, หน้า 229. 38 กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ, พระไตรปิฎกฉบบั หลวง เล่มที่ 11, หนา้ 171. 39 กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ, พระไตรปฎิ กฉบับหลวง เล่มท่ี 22, พมิ พ์ครัง้ ท่ี 2, กรุงเทพฯ: หนว่ ยพมิ พ์และ จ�ำหน่ายศาสนภัณฑ์ (โรงพิมพ์การศาสนา), 2514, หน้า 206. 94

พระพุทธศาสนากบั ศักด์ิศรีความเปน็ มนษุ ย์ : ทา่ ทีและการปฏบิ ัติต่อทาส ในอรรถกถาได้อธบิ ายวา่ สตั ตวณชิ ชาในทนี่ ้ีหมายถงึ การคา้ มนุษย4์ 0 อันได้แก่ การจา้ งวาน แลกเปล่ียนดว้ ยเงนิ ทองเพื่อสำ� เรจ็ ความพอใจทเี่ น่ืองด้วยชีวติ มนษุ ย์ เช่น การซ้อื ประเวณี ตลอดถงึ การคา้ ขายเด็ก การค้าทาส ตลอดจนการใชแ้ รงงานเดก็ และสตรีอยา่ งทารุณเพ่อื ผลก�ำไร ซ่งึ ในสมัย พทุ ธกาลนนั้ การซอ้ื ขายทาสและการคา้ ประเวณเี ปน็ สง่ิ ทบี่ คุ คลทวั่ ไปสามารถจะกระทำ� ไดเ้ นอ่ื งจาก มิได้ขัดต่อกฎหมาย แต่พระพุทธองค์กลับทรงเห็นว่า แม้การกระท�ำดังกล่าวจะไม่ต้องห้ามตาม กฎหมาย แตก่ ็เป็นการกระทำ� ท่ที ารณุ โหดร้ายและเบียดเบยี นชวี ติ ผอู้ นื่ ซ่งึ ขดั ตอ่ หลักศีลธรรมอัน ดแี ละขดั กบั หลกั มนษุ ยธรรม เนอื่ งจากเปน็ การกระทำ� ทที่ ำ� ใหม้ นษุ ยห์ มดอสิ รภาพในตนเอง41 ดงั นนั้ อบุ าสกหรอื อบุ าสกิ า ซง่ึ เปน็ ผใู้ กลช้ ดิ พระรตั นตรยั และยอมรบั นบั ถอื พระรตั นตรยั เปน็ ทพ่ี งึ่ เพอื่ เปน็ แนวทางในการด�ำเนนิ ชวี ิตของตนจึงไมพ่ งึ กระท�ำการดังกล่าว 4.2 ทรรศนะในการปฏบิ ตั ติ อ่ ทาสทปี่ รากฏในพระวินยั ปฎิ ก สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยตฺโต) ได้อธิบายว่า วินัย” คือ การจัดตั้งวางระบบ แบบแผนทีเ่ ป็นสมมุติเพอื่ วางเกณฑ์กตกิ าในสังคม42 ส่วน “วินยั ” หรือ “พระวินยั ปฎิ ก” ที่ปรากฏ อยู่ในพระไตรปิฎกน้ัน หมายถึง ระเบียบแบบแผนที่พระพุทธองค์ทรงบัญญัติขึ้นเพื่อใช้เป็นหลัก ปฏิบัตใิ นการอยู่ร่วมกันในหม่สู งั ฆะ ซง่ึ ได้แก่ ภิกษแุ ละภิกษุณ4ี 3 ดังน้นั วินยั จึงมใิ ชแ่ ค่เพียงขอ้ หา้ มท่ี ห้ามประพฤติซึ่งหากผู้ใดฝ่าฝืนย่อมต้องได้รับโทษเท่าน้ัน แต่วินัยยังเป็นเครื่องมือในการฝึกเพ่ือ สนับสนุนและพัฒนาให้สังฆะสามารถปฏิบัติตนเพ่ือให้เข้าถึงธรรมได้อีกด้วย44 ซ่ึงในพระวินัยปิฎก เองกไ็ ด้มีการบญั ญตั ถิ ึงความสัมพันธร์ ะหว่างภิกษุและภกิ ษณุ ีกบั ทาสไว้ ท้ังการห้ามมใิ หม้ กี ารบวช ใหท้ าส และการห้ามมใิ ห้ภกิ ษแุ ละภกิ ษุณมี ที าสไว้คอยรบั ใช้ ซึง่ มีรายละเอยี ดดังน้ี 4.2.1 การหา้ มมิให้มกี ารบวชใหท้ าส ในสมัยพุทธกาลน้ันมีทาสหลายคนได้ขอบวชเป็นภิกษุเพ่ือให้ตนเองหลุดพ้นจากการเป็น ทาส พระพทุ ธองคจ์ งึ ทรงบญั ญตั พิ ระวนิ ยั หา้ มมใิ หม้ กี ารบวชใหท้ าส ดงั ปรากฏใน มหาขนั ธกะ พระ วินยั ปิฎก มหาวรรค ภาค 1 สรปุ ใจความวา่ 40 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, พระไตรปิฎกแก่นธรรม ฉบับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พระสตุ ตันตปิฎก เลม่ 3, กรุงเทพฯ:โรงพิมพม์ หาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2551, หน้า 321 และ อรรถกถา อังคตุ ตรนิ กาย ปญั จกนบิ าต จตตุ ถปณั ณาสก์ อปุ าสกวรรคที่ ๓ วณชิ ชสตู ร, สบื คน้ วนั ท่ี 1 เมษายน 2560, จาก http://www.84000. org/tipitaka/attha/attha.php?b=22&i=177 41 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, พระไตรปิฎกแก่นธรรม ฉบับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พระสุตตันตปฎิ ก เลม่ 3,หน้า 321. 42 สมเดจ็ พระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยตุ โฺ ต) , นิตศิ าสตร์แนวพทุ ธ, หน้า 40 – 41. 43 เรือ่ งเดยี วกัน, หนา้ 23 – 34. 44 เรื่องเดียวกัน, หนา้ 68 – 72. 95

วารสารนิติสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปที ่ี 10 ฉบบั ท่ี 2 กรกฎาคม-ธนั วาคม 2560 ทาสคนหนึ่งหนีไปบวชเป็นพระภิกษุ นายทาสพบทาสคนน้ันเข้าจึงทักท้วงว่า เหตุใดทาส คนนัน้ จงึ บวชได้ จงึ ติเตยี นว่า เหตุไฉนจึงให้ทาสบวชได้ พระพทุ ธองคจ์ ึงตรสั วา่ “ดกู รภิกษทุ ั้งหลาย คนเปน็ ทาสภิกษไุ มพ่ ึงบวช รปู ใดให้บวช ต้องอาบตั ิทุกกฎ”45 สง่ิ ทน่ี า่ พจิ ารณาในประเดน็ น้ี คอื การทพี่ ระพทุ ธองคท์ รงหา้ มมใิ หบ้ วชใหท้ าสนนั้ ถอื เปน็ การ กดี กนั ทาสออกจากเหลา่ พระภกิ ษสุ งฆ์ อนั เปน็ การจำ� กดั สทิ ธขิ องบคุ คลและเปน็ การเลอื กปฏบิ ตั ติ อ่ บุคคลทม่ี ีสถานะแตกต่างกนั ใชห่ รือไม่? หากพจิ ารณาถงึ เหตุผลในข้อนี้ใหถ้ ถี่ ว้ นจะพบว่า ประเพณี ทาสในอนิ เดยี นนั้ ฝงั รากลกึ อยกู่ บั ระบบวรรณะมาอยา่ งชา้ นาน ซงึ่ พระพทุ ธองคไ์ มส่ ามารถทจ่ี ะทำ� ให้ ระบบทาสสิ้นไปได้ แต่เหตุผลท่ีพระพุทธองค์ทรงห้ามมิให้บวชให้ทาสนั้นเนื่องจากไม่ต้องการให้ผู้ เปน็ ทาสปลดแอกตนเองใหเ้ ปน็ ไทดว้ ยการหนมี าบวช แตก่ ารมาบวชนน้ั ตอ้ งการเปน็ บวชเพอื่ ศกึ ษา พระธรรมซ่ึงพระพุทธองค์ทรงตรัสรู้เพ่ือให้เข้าถึงหนทางแห่งการดับทุกข์ และยังเป็นกุศโลบายให้ นายทาสกระทำ� ในสงิ่ ทเี่ ปน็ กศุ ลธรรมโดยการใหอ้ สิ ระแกท่ าสทต่ี อ้ งการจะออกบวช ดงั นน้ั แลว้ หาก ทาสคนใดประสงค์จะบวชจึงจักต้องได้รับอิสรภาพจากนายทาสก่อน ก่อนที่บุคคลใดจะบวช พระอปุ ชั ฌายจ์ งึ ตอ้ งมกี ารสวดถามอนั ตรายกิ ธรรม 13 ขอ้ กอ่ น และหนง่ึ ในนนั้ พระอปุ ชั ฌายจ์ ะถาม ผูบ้ วชวา่ “ภชุ ิสโสสิ๊ (เธอเปน็ ไทย ( มิใชท่ าส) หรือ ? ) ผบู้ วชพงึ รบั ว่า “อามะ ภนั เต (ขอรบั เจา้ ข้าฯ) ดังปรากฏในมหาวรรค ภาค 1 อุโบสถขนั ธกะ พระวนิ ัยปิฎก วา่ “...ดกู รภิกษทุ ั้งหลายเราอนญุ าตให้ภกิ ษุผใู้ หอ้ ปุ สมบท ถามอันตรายกิ ธรรม 13 ขอ้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แล พึงถามอุปสัมปทาเปกขะอย่างนี้...เป็นชายหรือ เป็นไทย หรอื ...”46 นอกจากนกี้ ารทพ่ี ระพทุ ธองคไ์ มท่ รงอนญุ าตใหม้ กี ารบวชใหท้ าสนนั้ ยงั เปน็ การปอ้ งกนั การ แบ่งชนชัน้ วรรณะในหมสู่ งั ฆะได้อกี ด้วย เพราะเมื่อทาสไดร้ บั อิสระและได้บวชเปน็ ภกิ ษุหรือภิกษณุ ี แล้วและย่อมได้รับสิทธิทั้งปวงเทียบเท่ากับภิกษุรูปหรือภิกษุณีรูปอ่ืน47ดังปรากฏในพระวินัยปิฎก จุลวรรค ภาค 2 ว่า “ดูกรภกิ ษทุ ้งั หลาย เปรียบเหมือนแม่นำ�้ ใหญ่บางสาย คอื แมน่ �ำ้ คงคา ยมนุ า อจิรวดี สรภู มหี ไหลถงึ มหาสมทุ รแลว้ ยอ่ มละนามและโคตรเดมิ เสยี ถงึ ซงึ่ อนั นบั วา่ มหาสมทุ ร 45 กรมการศาสนา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, พระไตรปฎิ กฉบบั หลวง เลม่ ที่ 4, พมิ พค์ รง้ั ที่ 2, กรงุ เทพฯ:หนว่ ยพมิ พแ์ ละจำ� หนา่ ย ศาสนภณั ฑ์ (โรงพมิ พ์การศาสนา), 2514, หนา้ 146. 46 กรมศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ,พระไตรปฎิ กฉบบั หลวง เล่มที่ 4, หน้า 181-182. 47 สุชีพ ปุญญานุภาพ, คุณลักษณะพิเศษแห่งพระพุทธศาสนา บทที่ 3 การเลิกทาส, สืบค้นวันท่ี 1 เมษายน 2560 จากhttp://www.dharma-gateway.com/ubasok/sucheep/sucheep-01-03.htm 96

พระพุทธศาสนากับศกั ดิศ์ รีความเปน็ มนุษย์ : ทา่ ทแี ละการปฏบิ ตั ิต่อทาส ทีเดยี ว วรรณะ 4 เหลา่ นี้ คือ กษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศทู ร ก็เหมอื นกนั ออกจาก เรือนบวชเป็นบรรพชิต ในธรรมวินัยท่ีตถาคตประกาศแล้ว ย่อมละชื่อตระกูล เดมิ เสยี ...”48 ด้วยเหตุน้ีในสมัยพุทธกาลจึงมีทาสหรือทาสีจ�ำนวนมากท่ีได้รับการปลดปล่อยให้เป็นไท และออกบวชจนสามารถบรรลุมรรคผล เช่น พระปุณณิกาเถรีภิกษุณีผู้ซ่ึงเคยเป็นทาสในเรือนเบี้ย ของอนาถบณิ ฑกิ เศรษฐี เปน็ ตน้ จะเหน็ ไดว้ า่ การทพี่ ระพทุ ธองคท์ รงบญั ญตั พิ ระวนิ ยั ไวเ้ ชน่ นี้ แสดง ใหเ้ ห็นวา่ ทรงมไิ ด้รงั เกียจหรือเหยยี ดหยามผเู้ ปน็ ทาสแต่อย่างใด ในทางตรงขา้ มพระวินัยข้อนกี้ ลบั ทำ� ให้ทาสไดม้ ีโอกาสเปน็ อิสระและยกสถานะของตนให้สูงข้นึ เทยี บเท่ากับปัจเจกชนทั่วไปอกี ด้วย 4.2.2 การหา้ มมิให้ภิกษุและภกิ ษณุ ีมที าสไว้คอยรับใช้ ในพระไตรปิฎกได้กล่าวถึงพุทธบัญญัติที่พระพุทธองค์ทรงห้ามมิให้ภิกษุรับทาสท่ีมีผู้มอบ ให้ ดงั ปรากฏในเตวชิ ชสตู ร ทฆี นกิ าย พระสตุ ตันตปฎิ ก สลี ขันธวรรค วา่ “ดูกรวาเสฏฐะ อยา่ งไรภิกษุจงึ ชอ่ื วา่ เป็นผถู้ งึ พร้อมด้วยศลี ... 17. เธอเวน้ ขาดจากการรับทาสแี ละทาส...”49 และในพระวนิ ยั ปิฎกก็ไดท้ รงห้ามมใิ ห้ภษิ ุณีมีทาสไวใ้ ช้ ดังปรากฏใน จลุ วรรค ภาค 2 ภกิ ขุ นขี ันธกะ วา่ “สมัยน้ันภิกษุณีฉัพพคีย์...ใช้กรรมกรให้บ�ำรุง ใช้กรรมกรหญิงให้บ�ำรุง...ตรัสว่า ดูกรภกิ ษทุ ง้ั หลาย ภิกษณุ ี...ไมพ่ งึ ใชท้ าสให้บำ� รุง ไม่พงึ ใชท้ าสใี ห้บำ� รงุ ...”50 ในสมยั พทุ ธกาลนั้นการท่ีบุคคลใดไดต้ ดั สินใจบวชเปน็ ภกิ ษหุ รอื ภิกษุณีย่อมถอื ว่าบคุ คลดงั กล่าวได้ตัดสินใจละเว้นปลีกตัวออกไปจากการเบียดเบียน และปลีกตัวออกจากกาม ท้ังกิเลสกาม และวตั ถกุ าม ดงั นน้ั การทภี่ กิ ษหุ รอื ภกิ ษณุ มี ที าสไวค้ อยรบั ใชน้ นั้ กถ็ อื เปน็ การเบยี ดเบยี นชวี ติ มนษุ ย์ ประการหนึ่ง พระพุทธองค์จึงทรงห้ามมิให้ภิกษุหรือภิกษุณีมีทาสไว้รับใช้ นอกจากน้ีแล้วการท่ี พระพทุ ธองคท์ รงหา้ มมใิ หภ้ กิ ษหุ รอื ภกิ ษณุ มี ที าสไวร้ บั ใช้ ยงั เปน็ การสรา้ งความเสมอภาคในหมภู่ กิ ษุ และภิกษุณี เน่ืองจากเป็นการแสดงให้เห็นว่าไม่มีภิกษุหรือภิกษุณีรูปใดท่ีจะได้รับการปฏิบัติแตก ต่างไปจากภิกษุหรือภิกษุณีรูปอื่น อีกทั้งยังเป็นการแสดงออกถึงการให้ภิกษุและภิกษุณีในฐานะท่ี 48 กรมการศาสนา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, พระไตรปฎิ กฉบบั หลวง เลม่ ที่ 7, พมิ พค์ รงั้ ที่ 2, กรงุ เทพฯ:หนว่ ยพมิ พแ์ ละจำ� หนา่ ย ศาสนภัณฑ์ (โรงพมิ พก์ ารศาสนา), 2514, หน้า227. 49 กรมการศาสนา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, พระไตรปฎิ กฉบบั หลวง เลม่ ที่ 9, พมิ พค์ รง้ั ที่ 2, กรงุ เทพฯ:หนว่ ยพมิ พแ์ ละจำ� หนา่ ย ศาสนภัณฑ์ (โรงพมิ พก์ ารศาสนา), 2514, หน้า 418-419. 50 กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ, พระไตรปิฎกฉบับหลวง เล่มท่ี 7, พิมพ์คร้ังท่ี 2, (กรุงเทพฯ: หน่วยพิมพ์และ จำ� หนา่ ยศาสนภณั ฑ์ (โรงพมิ พก์ ารศาสนา), 2514, หน้า 272-273. 97

วารสารนติ ิสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ ปที ี่ 10 ฉบบั ท่ี 2 กรกฎาคม-ธนั วาคม 2560 เป็นพุทธสาวกมีวัตรปฏิบัติที่เป็นแบบอย่างท่ีดีให้พุทธศาสนิกชนได้ยึดถือและปฏิบัติตาม และเปน็ การยนื ยันได้เป็นอยา่ งดีพระพุทธองคม์ ิได้ปรารถนาท่จี ะให้มีทาสในพระพทุ ธศาสนา 4.3 ทรรศนะในทางพระพทุ ธศาสนาในการนำ� เอาคนลงเป็นทาสกบั ความสอดคลอ้ งกบั กฎหมายในยคุ ปจั จบุ ัน ในการท�ำความเข้าใจถึงความสอดคล้องของหลักธรรมในทางพระพุทธศาสนากับหลัก กฎหมายน้ัน จะต้องพิจารณาถึงความจริงท่ีว่า พระพุทธศาสนาน้ันได้อุบัติข้ึนภายหลังจากท่ีพระ สมั มาสมั พทุ ธเจา้ ไดท้ รงตรสั รู้ และหลกั ธรรมในทางพระพทุ ธศาสนามคี วามเปน็ โลกตุ รธรรมทมี่ งุ่ เนน้ ให้พุทธศาสนิกชนยึดถือปฏิบัติในส่ิงท่ีเป็นกุศลกรรมเพ่ือให้ไปถึงจุดหมายปลายทางคือความหลุด พ้นจากทุกข์หรือนิพพาน ส่วนกฎหมายน้ันเป็นส่ิงที่มนุษย์ท่ัวไปคิดค้นและบัญญัติขึ้นเพ่ือใช้เป็น เคร่ืองในการควบคุมความประพฤติและความสงบเรียบร้อยของคนในสังคมในแต่ละยุคแต่ละสมัย ซง่ึ มีความเปน็ โลกยี ธรรม อย่างไรก็ตามการนำ� เอาหลักธรรมในพระพุทธศาสนามาเปรียบเทียบกบั แนวคิดของกฎหมายนนั้ เปน็ การเปรยี บเทียบในลักษณะแสดงความเห็นในเชงิ ปรชั ญาประการหนง่ึ เทา่ นนั้ 51 ในทรรศนะของผเู้ ขยี นเหน็ วา่ “ธรรมะ” นน้ั พอทจี่ ะเทยี บเคยี งไดก้ บั “ทฤษฎอี นั เปน็ ทมี่ า ของกฎหมาย” สว่ น “วนิ ยั และสกิ ขาบท” เปรยี บเสมอื นตวั บทกฎหมายเพอื่ ใหบ้ คุ คลประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ ตาม ซง่ึ หากพิจารณาถึงสารตั ถะส�ำคัญเกีย่ วกับทา่ ทีทพ่ี ระพุทธศาสนามีต่อทาสทป่ี รากฏในพระสตุ ตันตปิฎกและพระวินัยปิฎกจะพบว่า ธรรมะและวินัยในเรื่องที่เกี่ยวกับท่าทีท่ีมีต่อทาสในสมัย พุทธกาลนัน้ แม้พระพุทธองคจ์ ะมิไดต้ รสั ถงึ หลกั การในเร่อื งศักดศิ์ รคี วามเปน็ มนษุ ย์ไว้โดยตรง แต่ ท่าทีที่มีต่อทาสในทางพระพุทธศาสนากลับมีความสอดคล้องกับหลักการในเร่ืองศักด์ิศรีความเป็น มนษุ ยแ์ ละกฎหมายอนื่ ทเี่ กย่ี วขอ้ งในยคุ ปจั จบุ นั ซง่ึ พอจะเทยี บเคยี งกนั ไดอ้ ยา่ งนา่ อศั จรรย์ และเปน็ เครอ่ื งมือยืนยนั ได้เปน็ อย่างดวี ่าหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาทีป่ รากฏในพระไตรปฎิ กน้นั มคี วาม เป็น “อกาลโิ ก”ดังน้ี 4.3.1 ทรรศนะในทางพระพุทธศาสนาในการน�ำเอาคนลงเปน็ ทาสกบั หลกั ความ เสมอภาค 51 สำ� หรบั ประเดน็ ทวี่ า่ ศาสนาเปน็ เรอ่ื งเดยี วกบั ปรชั ญาหรอื ไมน่ นั้ ยงั คงเปน็ ประเดน็ ทย่ี งั คงมกี ารถกเถยี งกนั อยู่ โดยทา่ นพทุ ธ ทาสภกิ ขุ ก็ได้ยนื ยันว่า หลักธรรมของศาสนาทุกศาสนานั้นไม่ใช่ปรชั ญา เพราะเปน็ เรอ่ื งทย่ี ุตแิ ล้วไม่ใชท่ รรศนะหรือความ คดิ เหน็ ตามแนวคิดในแบบของปรชั ญา และพระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต) ก็มีความวา่ พระพทุ ธศาสนา คอื ค�ำสอน ของพระสมณโคดมผซู้ ่งึ เป็นศาสดาได้ตรสั ไวเ้ พอื่ เปน็ หลกั การในการด�ำเนนิ ชีวิตทีม่ ีความแนน่ อนชดั เจนอยูใ่ นตัวเอง แตก ต่างจากปรัชญาท่ีเป็นเร่ืองของการถกเถียง การคิดหาเหตุผลเป็นส�ำคัญของบรรดานักปรัชญา ผู้สนใจโปรดอ่านเพ่ิมเติม ใน นาถยา กัลโยธิน, ธมั มกิ สงั คมนิยม, กรงุ เทพฯ : สุขภาพใจ, 2548, หน้า 42-48, พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยตุ โต), พระไตรปิฎก : ส่งิ ท่ชี าวพทุ ธต้องร,ู้ หน้า 3. 98

พระพุทธศาสนากบั ศักดศิ์ รคี วามเปน็ มนษุ ย์ : ท่าทีและการปฏิบัติตอ่ ทาส การที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงต�ำหนิติเตียนการแบ่งประเภทของคนโดยการน�ำเอาชาติ ตระกลู หรือวรรณะตามคติความเชอื่ ของศาสนาพรหมณ์ – ฮินดู มาเป็นเครอ่ื งมอื ในการแบง่ ชนช้นั ทางสังคมนั้นนั้น และการห้ามมิใหม้ ีการบวชให้ทาสนน้ั เมือ่ พจิ ารณาถงึ ธรรมวินยั เหลา่ นี้จะพบวา่ มีความสอดคล้องกับปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights 1948) ขอ้ 1 ข้อ 2 และขอ้ 4 ซึ่งได้รบั รองถึงศักด์ิศรีความเป็นมนษุ ยแ์ ละความเสมอภาคไว้ ดงั นี้ ข้อ 1 มนุษย์ทั้งปวงเกิดมามีอิสระและ เสมอภาคกันในศักดิ์ศรีและสิทธิต่างในตน มีเหตุผลและมโนธรรม และควรปฏิบัตติ อ่ กันด้วยจติ วญิ ญาณแห่งภราดรภาพ ข้อ 2 ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพทั้งปวง ตามท่ีก�ำหนดไว้ในปฏิญญานี้ โดยปราศจากการแบ่งแยกไมว่ า่ ชนดิ ใด อาทิ เช้ือชาติ ผวิ เพศภาษา ศาสนา ความ คิดเห็นทางการเมืองหรือทางอ่ืน พื้นเพทางชาติหรือสังคม ทรัพย์สิน การเกิดหรือ สถานะอ่ืน นอกเหนือจากน้ี จะไม่มีการแบ่งแยกใดบนพื้นฐานของสถานะทางการ เมืองทางกฎหมาย หรอื ทางการระหว่างประเทศของ ประเทศ หรือดนิ แดนทีบ่ คุ คล สังกัด ไม่ว่าดินแดนน้ีจะเป็นเอกราชอยู่ในความพิทักษ์มิได้ปกครองตนเอง หรืออยู่ ภายใต้การจำ� กัดอธปิ ไตยอน่ื ใด ข้อ 4 บคุ คลใดจะตกอยใู่ นความเปน็ ทาส หรอื สภาวะจำ� ยอมไม่ได้ ทัง้ น้ี หา้ มความ เป็นทาสและการคา้ ทาสทกุ รปู แบบ จากปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ที่ห้ามมิให้มีการเลือกปฏิบัติต่อบุคคลโดยเหตุ แห่งชาตกิ �ำเนดิ เป็นการแสดงใหเ้ ห็นถงึ “หลกั ความเสมอภาค” (Principle of Equality) ซง่ึ เป็น หลักการสากลท่ีนานาประเทศต่างให้การยอมรับในฐานะท่ีเป็นสิทธิขั้นพ้ืนฐานของมนุษย์ ซ่ึงเมื่อ กล่าวถึงหลักความเสมอภาค โดยนัยแล้ว หมายถึง ความเสมอภาคในกฎหมาย กล่าวคือ บุคคล ทกุ คนมสี ทิ ธแิ ละหนา้ ทท่ี างกฎหมายโดยเสมอกนั ซง่ึ มไิ ดห้ มายความเพยี งแตค่ วามเสมอภาคในการ มีวัตถุสิ่งของเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงความเสมอภาคในสิทธิ หน้าที่ หรือภาระอีกด้วย52 ดังน้ัน หลกั ความเสมอภาคจงึ เปน็ หลกั การพ้ืนฐานทสี่ �ำคญั ของสิทธิ เสรีภาพ และศกั ดิ์ศรีความเปน็ มนุษย์ ทบ่ี ญั ญตั ไิ วใ้ นรฐั ธรรมนญู ของรฐั เสรปี ระชาธปิ ไตย เนอ่ื งจากหลกั ความเสมอภาคเปน็ หลกั ประกนั ที่ จะทำ� ใหเ้ สรภี าพเกดิ ขน้ึ ไดจ้ รงิ 53 กลา่ วคอื แมร้ ฐั ธรรมนญู จะใหก้ ารรบั รองสทิ ธิ เสรภี าพ และศกั ดศิ์ รี 52 หลวงประดษิ ฐ์มนธู รรม, “ค�ำอธบิ ายกฎหมายปกครอง”, ใน ประชมุ กฎหมายมหาชนและเอกชนของปรีด ี พนมยงค์, กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2526, หน้า 154 อ้างถงึ ใน สมคดิ เลศิ ไพฑูรย์, “หลกั ความเสมอภาค” ใน วารสารนิติศาสตร,์ ปที ี่ 30 ฉบับท่ี 2 มิถนุ ายน 2543, หนา้ 166. 53 เกรยี งไกร เจรญิ ธนาวัฒน์, (2548) หลักความเสมอภาค, สืบค้นวันท่วี นั ท่ี 23 มถิ นุ ายน 2558 , จาก http://www. pub-law.net/publaw/view.aspx?id=657&Page=1 99


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook