ได้ ผอู้ พยพยา้ ยถนิ่ ฯ กส็ ามารถเรม่ิ ตน้ เขา้ สกู่ ระบวนการยน่ื คำ� ขอปรบั เปลยี่ นสถานะ เป็นคนตา่ งดา้ วเขา้ เมอื งโดยชอบดว้ ยกฎหมาย มีสิทธอิ าศัยถาวรได้ทนั ที (2) กรณที ผี่ อู้ พยพยา้ ยถน่ิ ฯ จบการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรแี ลว้ ไมค่ วรตอ้ ง สนใจวา่ เขาหรอื เธอไดร้ บั การสำ� รวจเพอื่ จดั ทำ� ทะเบยี นในชว่ งปใี ด กใ็ หส้ ามารถเรมิ่ ตน้ เข้าสกู่ ระบวนการยนื่ ค�ำขอปรับเปลี่ยนสถานะเปน็ คนตา่ งดา้ วเข้าเมืองโดยชอบ ดว้ ยกฎหมาย มีสิทธิอาศยั ถาวรได้ทนั ทีเช่นกนั ประการทีส่ อง-กรณผี อู้ พยพยา้ ยถ่ินรุน่ ลกู (ถกู นบั ว่าเปน็ คนนอก) แตเ่ กิด ใน (4) ในกรณเี จเนอเรชนั ที่ 2 ทมี วจิ ยั เสนอวา่ ใหต้ ดั เงอื่ นไขการปรบั สถานะฯ ทผ่ี กู ตดิ กบั เงอื่ นเวลาการเขา้ เมอื งของคนรนุ่ พอ่ แมท่ งิ้ ไปโดยใหพ้ จิ ารณาจากขอ้ เทจ็ จรงิ เพียงแค่วา่ “เกิดในประเทศไทยจริงหรอื ไม่” หากพสิ จู นไ์ ด้ว่าจุดเกาะเกีย่ วกับ ประเทศไทยโดยการเกิดตามหลักดินแดนมีอยู่จริงก็ย่อมเพียงพอแล้วต่อการเป็น ผู้ทรงสิทธทิ ่ีจะขอสัญชาตไิ ทย ประการสุดท้าย-เป็นประเด็นที่ไม่ได้กล่าวถึงในเน้ือหาหลักของบทความ แตส่ ำ� คญั และเหมาะสมทจ่ี ะตอ้ งกลา่ วถงึ ไวใ้ นตอนทา้ ยน้ี นน่ั คอื ในระหวา่ งทางการ พฒั นาสถานะบคุ คลขา้ งตน้ สง่ิ สำ� คญั ประการหนงึ่ ทม่ี องขา้ มไปไมไ่ ดก้ ค็ อื ขอ้ จำ� กดั ของเจ้าหน้าท่ใี นหนว่ ยงานรฐั ทีท่ �ำหนา้ ทีพ่ จิ ารณาขอ้ เทจ็ จริง พยานหลักฐานตา่ งๆ รวมถึงใช้ดุลพินิจออกค�ำส่ังต่อค�ำร้องค�ำขอแต่ละประเภท เน่ืองจากกฎหมาย นโยบายแตล่ ะฉบับมีความเชอื่ มโยงกบั กฎหมายฉบบั อ่นื ๆ จงึ คอ่ นขา้ งยากและซบั ซ้อนในตัวเอง นอกจากน้ียังมีหนังสือสั่งการท่ีออกเพ่ืออธิบายตีความกฎหมาย มาตราต่างๆ นโยบายเรื่องต่างๆ ท่ีมีจ�ำนวนร่วมร้อยฉบับในแต่ละปี ความสับสน ต่อกฎหมายนโยบายจ�ำนวนมากเป็นเรื่องที่ชวนให้เข้าใจเห็นใจในการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่รัฐ แต่ในขณะเดียวกันก็พบว่าความไม่เข้าใจ ความสับสนได้น�ำไปสู่ สภาวะ “เกียร์ว่าง” ต่อค�ำร้องค�ำขอ กลายเป็นความล่าช้า ล่าช้าเกินสมควร 200 วารสารนิตสิ ังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ ปีท่ี 9 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2559)
ในการปฏิบัติตามอ�ำนาจหน้าที่ ดังนั้นการประมวลกฎหมาย นโยบาย และทาง ปฏิบัติเพื่อพัฒนาเป็น “เกณฑ์กลาง” เป็นเรื่องอีกหน่ึงเรื่องใหญ่ท่ีหน่วยงานท่ี เกีย่ วขอ้ งอยา่ งกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยต้องเริ่มต้นลงมือทำ� เข้านอก ออกใน 201
บรรณานกุ รม กรมการปกครอง, คู่มอื การก�ำหนดสถานะของบคุ คลบนพ้ืนท่สี งู เล่ม 2, มมป. กรมการปกครอง, กระทรวงมหาดไทย, คู่มือปฏิบัติงานโครงการพิจารณาให้ สถานะคนต่างด้าวแก่ชาวเขาที่อพยพเข้ามาในประเทศตามมติคณะ รฐั มนตรเี มือ่ วันท่ี 3 ตลุ าคม 2538, มีนาคม 2544 ดรุณี ไพศาลพาณิชย์กลุ และกรกนก วัฒนภมู ,ิ การพฒั นาสทิ ธใิ นสญั ชาตไิ ทย โดย หลกั ดนิ แดนกรณคี นอพยพยา้ ยถนิ่ (ชนกลมุ่ นอ้ ย) รนุ่ ที่ 2, รายงานผลการ ศึกษาล�ำดับท่ี 3, กิจกรรมพัฒนาองค์ความรู้เพ่ือการขับเคล่ือนนโยบาย ด้านสิทธิในสุขภาวะของผู้มีปัญหาสถานะบุคคล (ธันวาคม 2557 – พฤศจกิ ายน 2558) ในชดุ โครงการพฒั นาและขบั เคลอ่ื นองคค์ วามรทู้ เี่ ออ้ื ต่อการพฒั นาสุขภาวะของผูม้ ปี ญั หาสถานะบคุ คล, สสส. สำ� นกั 9 ดรุณี ไพศาลพาณชิ ยก์ ุล และคณะ, รายงานวิจยั ชดุ โครงการพัฒนาองค์ความรู้ และขบั เคลอ่ื นขอ้ เสนอแนะทเี่ ออ้ื ตอ่ การพสิ จู นแ์ ละพฒั นาสทิ ธใิ นสถานะ บุคคลเพื่อสุขภาวะของผู้มีปัญหาสถานะบุคคล (1 ตุลาคม 2557-31 มีนาคม 2559) สนับสนุนโดยส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้าง สขุ ภาพ (สสส.) ส�ำนกั 9 ดรณุ ี ไพศาลพาณิชยก์ ุล และคณะ, ขอ้ เสนอตอ่ การพฒั นากฎกระทรวง และ (ร่าง) กฎกระทรวงเพื่อก�ำหนดนิยาม “ผู้ซึ่งมีลักษณะอ่ืนในความหมายของคน ไทยพลัดถ่ิน” เพื่อการคืนสิทธิในสัญชาติไทยให้แก่คนเช้ือสายไทยภาค เหนือท่ปี รากฏตัวในอำ� เภอแมส่ อด อ�ำเภอพบพระ และอ�ำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก (ฉบับวันท่ี 1 พฤษภาคม 2558) ผลการศึกษาล�ำดับท่ี 3, กจิ กรรมพฒั นาองคค์ วามรเู้ พอ่ื การขบั เคลอ่ื นนโยบายดา้ นสทิ ธใิ นสขุ ภาวะ ของผมู้ ปี ญั หาสถานะบคุ คล (ธนั วาคม 2557 – พฤศจกิ ายน 2558) ในชดุ 202 วารสารนติ ิสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ ปที ี่ 9 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2559)
โครงการพฒั นาและขบั เคลอ่ื นองคค์ วามรทู้ เ่ี ออ้ื ตอ่ การพฒั นาสขุ ภาวะของ ผู้มีปัญหาสถานะบุคคล, สสส. ส�ำนัก 9, เสนอต่อคณะกรรมการปฏิรูป กฎหมายแห่งชาติ ในการประชมุ วนั ที่ 6 พฤษภาคม 2558. ดรณุ ี ไพศาลพาณชิ ยก์ ลุ และชาติชาย อมรเลศิ วฒั นา, “การพฒั นาสทิ ธิเข้าเมือง โดยชอบดว้ ยกฎหมายและสทิ ธิอาศัยถาวร กรณผี ้อู พยพย้ายถ่ิน (ชนกลุ่ม น้อย) เข้ามาอาศัยอยู่ในประเทศไทยเป็นเวลานานแล้ว, รายงานผลการ ศึกษาล�ำดับที่ 2. เข้านอก ออกใน 203
บรรณานุกรมภาษาไทยทแ่ี ปลเปน็ ภาษาอังกฤษ Department of provincial administration, (n.d.). Manual (No.2) on per- sonal legal status of person who live in high land (in Thai). Department of provincial administration, ministry of interior, (n.d.). Guide- line for considering and giving alien status to hill tribe people who migrant into the kingdom under cabinet resolution on 3 October 1995, March 2001. (in Thai). Paisanpanichkul, D and Wathanabhoom K. (n.d.). Legal Concept and process on accessing to Thai nationality by jus soli : migrant people ( minority) who born in Thailand (Generation 2), A report No.3 under Research project for recommendation on Well-being of Stateless and Natonality-less person in Thailand, (December 2014- November 2015), supported by Thai Health Promotion Fund (in Thai). Paisanpanichkul, D and others, Project for verification and develop- ment of right to legal status of Stateless and Natonality-less person in Thailand, (October 2014- March 2016), supported by Thai Health Promotion Fund (in Thai). Paisanpanichkul, D and others, Recommendation for definition and process for returning Thai nationality for Thai Displace, Report No.3 under Research project for recommendation on Well-being of Stateless and Natonality-less person in Thailand, (December 2014- November 2015), supported by Thai Health Promotion Fund (in Thai). 204 วารสารนิตสิ งั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ ปีที่ 9 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2559)
Paisanpanichkul, D and Wathanabhoom K. (n.d.). Legal Concept and process on accessing to Thai nationality by jus soli : migrant people ( minority) who born in Thailand (Generation 2), A report No.3 under Research project for recommendation on Well-being of Stateless and Natonality-less person in Thailand, (December 2014- November 2015), supported by Thai Health Promotion Fund (in Thai). Paisanpanichkul, D and Amornletwattana, C. (n.d.). Legal Concept and process on accessing to Permanent Residence status for : migrant people ( minority), A report No.2 under Research project for recommendation on Well-being of Stateless and Natonality-less person in Thailand, (December 2014- November 2015), sup- ported by Thai Health Promotion Fund (in Thai). เขา้ นอก ออกใน 205
“บัตรสกั ใบ” มันยังส�ำ คัญเสมอ กรกนก วัฒนภมู ิ บทคัดย่อ1 แมห้ ลกั สทิ ธมิ นษุ ยชน รวมถงึ กฎหมายระหวา่ งประเทศแผนกคดบี คุ คล จะ ยนื ยนั วา่ สทิ ธมิ นษุ ยชนคอื สทิ ธแิ ละเสรภี าพทถ่ี อื วา่ ตดิ ตวั คนทกุ คนมาแตก่ ำ� เนดิ ไม่ อาจถกู พรากไปไดโ้ ดยไมท่ ำ� ลายความเปน็ มนษุ ยเ์ พยี งแคเ่ ปน็ มนษุ ย์ กถ็ กู ถอื วา่ เปน็ ผ้ทู รงสิทธใิ นสิทธมิ นษุ ยชนแลว้ แตใ่ นทางปฏบิ ตั ิการเข้าถงึ สิทธิ การใชส้ ทิ ธขิ ้ันพน้ื ฐานดา้ นตา่ งๆ ปฏเิ สธไมไ่ ดว้ า่ จำ� เปน็ ตอ้ งผา่ น “บตั รสกั ใบ” (Identification paper) ทสี่ ามารถพสิ จู นย์ นื ยนั ตวั บคุ คลโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ หากบคุ คลนน้ั ตอ้ งการเขา้ ถงึ หรอื ใช้สิทธิระดับอ่ืนๆ เช่น กลุ่มสิทธิเรียกร้องให้รัฐกระท�ำการ (status positivus) เอกสารพสิ ูจน์ทราบตวั บุคคลยิง่ กลายเปน็ ส่งิ จำ� เป็น คนไร้รัฐไร้สัญชาติเป็นกลุ่มคนท่ีเข้าใจถึงความจ�ำเป็นของเอกสารพิสูจน์ ทราบตวั บคุ คลในระดบั ทคี่ นทมี่ รี ฐั มสี ญั ชาตอิ าจจนิ ตนาการไปไมถ่ งึ บทความนบ้ี อก เลา่ ถงึ ผหู้ ญงิ คนหนงึ่ ทไ่ี รร้ ฐั ไรส้ ญั ชาติ เปา้ หมายไกลสดุ ของเธอคอื การพสิ จู นว์ า่ เธอ (ชาตพิ นั ธอ์ุ าขา่ ) มสี ญั ชาตไิ ทย ซงึ่ ไมใ่ ชเ่ รอื่ งงา่ ยแตภ่ ายใตส้ ภาพไรร้ ฐั ขอ้ จำ� กดั กลบั เพม่ิ ยงิ่ ข้นึ ไปอีกแมว้ า่ รัฐไทยจะมกี ฎหมายนโยบายเปดิ กว้างสำ� หรบั การพิสจู น์และ พัฒนาสิทธิในสถานะบุคคลแต่กระบวนการบังคับใช้กฎหมายที่เดินด้วยความไม่ เขา้ ใจ รวมถงึ ทัศนคติทผี่ ู้บังคบั ใชก้ ฎหมายมตี ่อคนตา่ งดา้ วท่ีไร้รฐั ไรส้ ัญชาติ ยง่ิ เตมิ ความยากใหม้ ากข้นึ อกี หลายสบิ เท่า คำ� ส�ำคัญ: เอกสารพิสจู น์ตน; คนไร้รฐั ไร้สัญชาต;ิ คนไร้เอกสารพสิ จู น์ตน; สิทธิ การเดินทาง; การพิสูจน์สถานะบุคคล 1 นกั กฎหมาย, โครงการเฝา้ ระวงั สภาวะไรร้ ฐั 499/7 ถ.เทศบาล 7 ต.ระแหง อ.เมอื งตาก จ.ตาก 63000. E-mail: [email protected] 206 วารสารนิตสิ ังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ ปีท่ี 9 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2559)
The Way of Verification as a Thai Nationality Kornkanok Wathanabhoom2 Abstract2 Event though, human rights principle and private international law affirm that human rights is rights and liberty which is every single human being have when they were born and cannot separated unless destroy humanity. Just be a human, you are rights holders in human rights, but in practice to access the rights, exercising of basic rights have to use pass one card which can approve identity particularly if this person want to access or exercise higher level of rights, status positivus, for example, identification paper is necessary. Stateless people are group of people who understand a nec- essary of identification paper while state people could not imagine. This article will tell a story of a stateless woman, her goal is proving that she is Akha, an ethnic minority, who have a right to Thai nation- ality. It is not easy under a condition of being stateless person, more- over, there are a lot of restrictions. Even though, Thai government have launched laws and poli- cies for verifying and developing right to personal legal status, there are problems on law enforcement and attitude of authorities which are made much more difficult to nationality-less persons. keywords: identification paper; stateless persons/nationality-less persons; undocumented persons; Rights to travel; Verification of personal legal status 2 A lawyer, Stateless Watch 499/7 , Thetsaban 7 Rd, Rahaeng Tambon, Mueang Tak District, Tak 63000. E-mail: [email protected] เขา้ นอก ออกใน 207
1. “บัตรแสดงตนทีร่ ะบุเลขประจ�ำตวั สบิ สามหลกั ”: อปุ กรณส์ ำ� คัญในการ เขา้ ถงึ สทิ ธิ สทิ ธมิ นุษยชน (Human rights) คือบรรดาสิทธิและเสรภี าพทถี่ อื ว่าตดิ ตัว คนทุกคนมาแต่ก�ำเนิด และไม่อาจถูกพรากไปได้โดยไม่ท�ำลายความเป็นมนุษย3์ ดังน้ัน เพียงแค่เป็นมนุษย์ก็ย่อมถูกถือว่าเป็นผู้ทรงสิทธิในสิทธิมนุษยชนแล้ว อาทิ สิทธิท่ีจะได้รับการรับรองความเป็นบุคคลตามกฎหมายเป็นสิทธิข้ันพื้นฐาน ของมนุษย์ภายใต้หลักสิทธิมนุษยชน รวมถึงภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดบี คุ คล4 กลา่ วอกี อยา่ งกค็ อื รฐั มหี นา้ ทอี่ อกเอกสารแสดงตนหรอื รบั รองตวั บุคคลตามลักษณะของจุดเกาะเก่ียวระหว่างบคุ คลดงั กล่าวกับรฐั ไทย อาทิ รัฐไทย ต้องจดั ทำ� บัตรประจำ� ตัวประชาชนเพอ่ื รบั รองวา่ เปน็ คนสัญชาติไทย ออกสตู ิบตั ร เพอื่ รบั รองขอ้ เทจ็ จรงิ วา่ เกดิ ในประเทศไทย (ทะเบยี นคนเกดิ ) จดั ทำ� ทะเบยี นบา้ น หรือทะเบียนประวัติประเภทต่างๆ เพ่ือรับรองว่าบุคคลดังกล่าวอาศัยอยู่ ในประเทศไทย (ทะเบียนคนอยู่) รัฐมีหน้าท่ีจัดหาบริการสาธารณสุขข้ันพื้นฐาน หากบุคคลประสงค์จะจดทะเบียนสมรส รัฐก็มีหน้าที่ต้องรับด�ำเนินการในฐานะท่ี มนั เปน็ บริการพ้ืนฐาน ฯลฯ แตส่ ำ� หรบั สทิ ธลิ กั ษณะอน่ื อาทิ สทิ ธใิ นการทำ� งานบางอาชพี การประกอบ ธุรกจิ การมีหลกั ประกนั สขุ ภาพ สิทธิทจี่ ะมสี ญั ชาติไทย ฯลฯ กลา่ วเฉพาะรัฐไทย มนุษย์ทุกคนอาจไม่ใช่ผู้ทรงสิทธิกลุ่มน้ี เนื่องจากมันถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มสิทธิเรียก ร้องใหร้ ัฐกระท�ำการ (status positivus) กล่าวคือ บคุ คลมิอาจจะบรรลคุ วามม่งุ 3 วรพจน์ วศิ รตุ พชิ ญ.์ สทิ ธแิ ละเสรภี าพตามรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2540, กรงุ เทพฯ : วิญญชู น, 2543, หน้า 40 4 ข้อ 6 ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน Universal Declaration of Human Rights (UDHR) ทุกคนมสี ทิ ธิที่จะได้รบั การยอมรับทุกแหง่ หนวา่ เป็นบคุ คลตามกฎหมาย และขอ้ 16 กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางแพ่ง(พลเมือง) และการเมือง International Convenant on Civil and Political Rights (ICCPR) บุคคลทกุ คนมสี ทิ ธิทีจ่ ะได้รับการ ยอมรับว่าเป็นบุคคลตามกฎหมายในทุกแหง่ หน 208 วารสารนิติสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ ปที ่ี 9 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2559)
หมายได้ หากปราศจากการเข้ามาด�ำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งจากรัฐ โดยหลัก บุคคลท่ีจะมีสิทธิกลุ่มน้ีได้ก็จะต้องเป็นบุคคลที่เป็นคนชาติหรือมีสัญชาติไทย5 แตก่ ใ็ ช่วา่ คนต่างด้าวหรอื ผไู้ มม่ ีสัญชาติไทยหรือแม้แต่คนไร้สัญชาตจิ ะไม่สามารถ เข้าถึงสิทธิประเภทนี้เพราะมีความชัดเจนว่ามีสิทธิบางอย่างที่รัฐไทยเห็นว่าควร ก�ำหนดหรือรับรองสิทธิให้กับคนท่ีไม่มีสัญชาติไทยได้โดยมีเง่ือนไข เช่น หากคน ตา่ งดา้ วนน้ั เปน็ คนไรส้ ญั ชาตแิ ตม่ จี ดุ เกาะเกย่ี ว6 กบั รฐั ไทยแลว้ กย็ อ่ มมสี ทิ ธใิ นหลกั ประกนั สุขภาพได7้ อย่างไรก็ดี การเข้าถึงสิทธิหรือใช้สิทธิข้ันพื้นฐานหรือสิทธิอ่ืนๆ ไม่ว่าจะ เป็นคนสัญชาติไทยหรือคนไม่มีสัญชาติไทยโดยเฉพาะกลุ่มคนไร้สัญชาติจ�ำเป็น จะต้องมีหลักฐานมาแสดงหรือยืนยัน ทางปฏิบัติที่ผ่านมาส่ิงที่หน่วยงานรัฐหรือ หน่วยบรกิ ารตา่ งๆ (โรงเรยี น สถานพยาบาล ธนาคาร ไปรษณยี ์ ฯลฯ) เรียกถามถงึ กค็ ือ “เอกสารพสิ ูจนท์ ราบตวั บคุ คล” (identification paper) หรอื บัตรแสดงตน ทรี่ ฐั ไทยดำ� เนนิ การออกให้ ประเดน็ นมี้ ลี กั ษณะสากลเพราะบางประเทศทไี่ มม่ กี าร 5 Status positivus หมายถึง กลมุ่ ของสทิ ธทิ ่ีการใช้สทิ ธิและเสรีภาพของปัจเจกบุคคลมอิ าจ จะบรรลุความมุ่งหมายได้หากปราศจากการเข้ามาด�ำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งจากฝ่ายรัฐ สิทธิและเสรภี าพประเภทนแ้ี สดงออกมาในรปู ของสิทธิประเภท “สิทธิเรยี กร้อง” สทิ ธิเรียก รอ้ งใหก้ ระทำ� การ สทิ ธใิ นการดำ� เนนิ คดี ตามทศั นะของ Jellinek เหน็ วา่ สทิ ธทิ เี่ ปน็ ศนู ยก์ ลาง ของสิทธิประเภทนี้คือ สิทธิเรียกร้องที่จะได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย (Anspruch auf Rechtsschutz), ดูเพ่ิมเติม บรรเจิด สิงคะเนติ. หลักพ้ืนฐานเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพ และ ศักดศ์ิ รคี วามเป็นมนุษย.์ กรงุ เทพฯ : วญิ ญูชน, 2552, หนา้ 52-53 6 จดุ เกาะเกี่ยว (connecting point or points de rattachement in French) หมายถึง เครอ่ื งทดสอบ (tests) ทเี่ ป็นสงิ่ ก�ำหนดหรอื ตัวตดั สนิ ในการปรบั ใชก้ ฎหมาย ซึ่งขอ้ เท็จจริง หนงึ่ ๆอาจมจี ดุ เกาะเกย่ี วเพยี งหนงึ่ เดยี วหรอื มากกวา่ หนงึ่ กไ็ ด,้ ดเู พมิ่ เตมิ ,ประสทิ ธ์ิ ปวิ าวฒั น พานิช. ค�ำอธิบายกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล, กรุงเทพฯ:ส�ำนักพิมพ์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์, 2551, หน้า 149. 7 มติคณะรฐั มนตรี เมือ่ วนั ที่ 23 มนี าคม 2553 และเมอื่ วนั ท่ี 20 เมษายน 2558 รับรองใหค้ น ไร้สัญชาติที่อาศยั อย่ใู นประเทศไทยเปน็ เวลานาน และไดร้ บั การจัดท�ำทะเบียนโดยกรมการ ปกครองในฐานะชนกลมุ่ นอ้ ย สามารถมหี ลกั ประกันสขุ ภาพได้ อธบิ ายโดยสรุปคอื ได้รบั ชดุ สิทธปิ ระโยชน์เช่นเดียวกับหลักประกันสขุ ภาพของคนไทย หรอื ทค่ี ุ้นชินกนั ว่า “บตั รทอง” เข้านอก ออกใน 209
ใช้บัตรประชาชน แต่การแสดงตนเพื่อการเข้าถึงและใช้สิทธิในการเข้ารับบริการ สาธารณะดา้ นตา่ งๆ กผ็ กู ตดิ ไปกบั บตั รประเภทอนื่ เชน่ (เลข)ประกนั สงั คม หรอื ใบ ขบั ข่ี สำ� หรบั ประเทศไทยบตั รประจำ� ตวั ทรี่ ฐั ไทยออกใหก้ บั คนไทยหรอื คนตา่ งดา้ ว ไรส้ ญั ชาตจิ ะมลี กั ษณะรว่ มกนั คอื บตั รจะมเี ลขสบิ สามหลกั ทร่ี ะบหุ รอื จำ� แนก (iden- tify) บุคคล ประโยชนด์ า้ นหนง่ึ ของบตั รประจ�ำตัวส�ำหรบั คนไรส้ ัญชาติกค็ ือ แมจ้ ะ (ยงั )ไมม่ ปี ระเทศใดรบั เขาหรอื เธอเปน็ คนชาติ (ไรส้ ญั ชาต)ิ แตก่ ารไดร้ บั การบนั ทกึ / ระบตุ วั บคุ คลโดยรฐั ไทยมนั สง่ ผลใหเ้ ขาหรอื เธอคนดงั กลา่ วไมไ่ รร้ ฐั เพราะไดร้ บั การ ยอมรับเป็นประชากรหรือราษฎรต่างด้าวในประเทศไทยสามารถใช้เอกสารแสดง ตนเพือ่ พสิ จู นต์ ัวบคุ คลเพอ่ื เปน็ ตวั ชว่ ยในการเขา้ ถงึ สทิ ธิ ใช้สทิ ธิดา้ นตา่ งๆ ไม่ว่าจะ เป็นสิทธิข้ันพ้นื ฐานหรอื สทิ ธอิ ่นื ๆ ทีร่ ัฐไทยก�ำหนดรับรองให้ ส�ำหรับคนไร้เอกสารพิสูจน์ทราบตัวบุคคล (undocumented person) หรอื คนไรร้ ัฐ (stateless person) แลว้ การมีบัตรแสดงตนสักใบจึงมีความส�ำคัญ ไม่แพก้ ารมีสัญชาติ มนั อาจเปน็ เรือ่ งเข้าใจไมง่ ่ายนกั ถึงความยากล�ำบากของคนไร้ เอกสารพสิ ูจนท์ ราบตวั บคุ คล การทำ� ความรูจ้ กั เข้าใจชีวิตจรงิ ของใครสกั คนน่าจะ พอชว่ ยได้ บทความนจี้ ะเลา่ ถงึ ความพยายามของผหู้ ญงิ ชาตพิ นั ธอ์ุ าขา่ คนหนงึ่ ทใ่ี ช้ ความพยายามในหลายวิธีการเพ่ือให้ได้มาซึ่งเอกสารแผ่นหน่ึงท่ีมีความส�ำคัญกับ ชวี ติ ไร้รัฐไร้สญั ชาติของเธอ ชอื่ ของเธอคือ อาภรณ์ (นามสมมต)ิ 8 2. จุดเริม่ ต้นของกระบวนการพสิ จู น์วา่ “เปน็ คนไทย” คอื การมบี ตั รสักใบ “ฉนั ไมม่ สี ญั ชาติ ฉนั ไมม่ ีเอกสารอะไรเลย” อาภรณ์ หญงิ วยั กลางคนอาศยั อยจู่ งั หวดั ระนองอยกู่ นิ กบั ชายสญั ชาตไิ ทย มลี กู ดว้ ยกนั 2 คน เธอเลา่ วา่ เธอเกดิ ทแี่ มส่ าย ถกู หลอกมาอยทู่ จ่ี งั หวดั ระนองตง้ั แต่ 8 กรณีศึกษาท่ี 11 ของโครงการพัฒนาองค์ความรู้เพื่อการพิสูจน์และพัฒนาสิทธิในสุขภาวะ ของผูม้ ีปัญหาสถานะบุคคลโดยกระบวนการมสี ว่ นร่วมฯ, อา้ งแล้ว 210 วารสารนิตสิ งั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ ปีที่ 9 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2559)
อายุ 12 ปี เธอไมม่ ที ะเบยี นบา้ น ไมม่ บี ตั รประชาชนทยี่ นื ยนั วา่ เธอเปน็ คนไทย ไมม่ ี เอกสารแสดงตนอะไรสกั ใบ เธอจงึ ไรท้ ง้ั สญั ชาตแิ ละไรร้ ฐั มาตลอด 40 กวา่ ปที ผ่ี า่ น มา ขอ้ มลู เพิ่มเติมมามีความซับซอ้ นเพ่มิ ข้นึ เธอเปน็ กลุ่มชาตพิ ันธ์ุอาข่าเกิดเมือ่ วัน ท่ี 9 สงิ หาคม 2514 ที่อ�ำเภอแมส่ าย จงั หวัดเชียงราย เทา่ ทจ่ี �ำได้พอ่ เธอเป็นคน สัญชาติไทยชาตพิ ันธุ์อาขา่ แม่เธอมชี ื่อ แต่ไม่มีนามสกลุ ในสายตาของกฎหมาย สถานะบคุ คลของอาภรณต์ ามกฎหมายสญั ชาต ิ และกฎหมายคนเข้าเมอื ง ตามคำ� บอกเลา่ ของอาภรณ์ หากเธอสามารถพสิ จู นไ์ ดว้ า่ เปน็ บตุ รของบดิ า ซ่ึงมีสัญชาติไทยจริงก็เท่ากับว่าเธอมีสัญชาติไทยตามหลักสืบสายโลหิตจากบิดา (มาตรา 7 พ.ร.บ.สญั ชาติ พ.ศ.2508 แกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 และฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535 (ฉบบั 4) พ.ศ.25519 และ มาตรา 2110 พ.ร.บ.สญั ชาติ (ฉบับท่ี 4) พ.ศ.2551 โดยจะตอ้ งเขา้ สกู่ ระบวนการพสิ จู นต์ ามมาตรา 7 วรรคสองแหง่ พ.ร.บ.สญั ชาติ พ.ศ. 2508 แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั 4) พ.ศ.255111 อยา่ งไรกด็ ี ในระหวา่ งการพสิ จู น์ อาภรณ์ ยังตกอยใู่ นขอ้ สนั นิษฐานของกฎหมายว่า “เปน็ คนต่างด้าว” และเป็นคนตา่ งด้าว เขา้ เมืองผดิ กฎหมาย (มาตรา 57 พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ.252212) 9 มาตรา 7 บุคคลดงั ต่อไปน้ยี ่อมไดส้ ญั ชาติไทยโดยการเกิด (1) ผู้เกดิ โดยบิดาหรอื มารดาเป็นผ้มู ีสญั ชาตไิ ทย ไม่ว่าจะเกิดในหรือนอกราชอาณาจักรไทย (2) ผเู้ กดิ ในราชอาณาจกั รไทย ยกเว้นบคุ คลตามมาตรา 7 ทวิ วรรคหน่งึ 10 มาตรา 21 บทบัญญัติวรรคสองของมาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ. 2508 ซ่ึงเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติน้ี ให้มีผลใช้บังคับกับผู้เกิดก่อนวันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใช้ บังคับด้วย 11 ค�ำวา่ บิดาตาม (1) ให้หมายความรวมถงึ ผ้ซู งึ่ ไดร้ บั การพิสจู นว์ า่ เป็นบิดาของผเู้ กดิ ตามวิธกี าร ท่ีก�ำหนดในกฎกระทรวง แม้ผู้น้ันจะมิได้จดทะเบียนสมรสกับมารดาของผู้เกิด และมิได้ จดทะเบียนรับรองผูเ้ กดิ เป็นบุตรกต็ าม 12 มาตรา 57 เพอ่ื ประโยชนแ์ หง่ พระราชบญั ญตั นิ ี้ ผใู้ ดอา้ งวา่ เปน็ คนมสี ญั ชาตไิ ทย ถา้ ไมป่ รากฏ หลักฐานอนั เพยี งพอท่พี นักงานเจา้ หนา้ ที่จะเชอ่ื ถอื ได้วา่ เป็นคนมสี ัญชาตไิ ทย ให้สันนิษฐาน ไว้กอ่ นวา่ ผนู้ นั้ เปน็ คนต่างด้าวจนกว่าผู้น้ันจะพิสจู น์ไดว้ า่ ตนมสี ัญชาตไิ ทย เข้านอก ออกใน 211
ในอกี ทางหนงึ่ หากอาภรณไ์ มส่ ามารถพสิ จู นไ์ ดว้ า่ ตนมบี ดิ าเปน็ คนสญั ชาติ ไทยจริงภายใต้กฎหมายสัญชาติท่ีใชบ้ งั คบั ณ วนั ที่เธอเกดิ เธอยอ่ มมสี ัญชาติไทย โดยหลักดินแดน (มาตรา 7)13 แต่ “ถูกถอนสัญชาติ” โดยผลของประกาศ คณะปฏิวัติฉบับที่ 33714 และในปี 2551 ท่ีผ่านมา เธอจะได้สัญชาติไทยคืน การพิสูจน์ตามวรรคหน่ึง ให้ยื่นค�ำขอต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ตามแบบและเสียค่า ธรรมเนียมตามท่ีก�ำหนดในกฎกระทรวง หากผู้นั้นไม่พอใจค�ำสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่จะ รอ้ งขอตอ่ ศาลใหพ้ จิ ารณากไ็ ด้ ในกรณีท่ีมีการร้องขอต่อศาล เมื่อได้รับค�ำร้องขอแล้ว ให้ศาลแจ้งต่อพนักงานอัยการ พนักงานอยั การมีสทิ ธทิ จ่ี ะโต้แยง้ คดั คา้ นได้ 13 มาตรา 7 บุคคลดงั ตอ่ ไปนี้ยอ่ มไดส้ ญั ชาตไิ ทยโดยการเกิด (1) ผเู้ กดิ โดยบิดาเปน็ ผูม้ ีสญั ชาติไทย ไม่วา่ จะเกดิ ในหรือนอกราชอาณาจักรไทย (2) ผเู้ กดิ นอกราชอาณาจกั รไทยโดยมารดาเปน็ ผมู้ สี ญั ชาตไิ ทย แตไ่ มป่ รากฏบดิ าทชี่ อบดว้ ย กฎหมายหรือบิดาไม่มสี ญั ชาติ (3) ผู้เกิดในราชอาณาจักรไทย 14 ประกาศคณะปฏวิ ัติ ฉบบั ที่ 337 (วนั ท่ี 14 ธันวาคม 2515) โดยทพี่ ิจารณาเหน็ วา่ บุคคล ท่ีเกิดในราชอาณาจักรไทยโดยบิดาหรือมารดาเป็นคนต่างด้าวที่เข้ามาอยู่ในราชอาณาจักร ไทยโดยไมช่ อบดว้ ยกฎหมายวา่ ดว้ ยคนเขา้ เมอื ง หรอื บดิ าหรอื มารดาเปน็ คนตา่ งดา้ วทเ่ี ขา้ มา ในราชอาณาจักรไทยโดยได้รบั อนญุ าตให้เขา้ มาอยเู่ พยี งชว่ั คราว หรอื เป็นกรณพี เิ ศษเฉพาะ ราย บคุ คลเหลา่ นแ้ี มจ้ ะมสี ญั ชาตไิ ทย แตก่ ม็ ไิ ดม้ คี วามจงรกั ภกั ดตี อ่ ประเทศไทย เพอ่ื ปอ้ งกนั และรักษาความมั่นคงแห่งชาติ สมควรมิให้บุคคลดังกล่าวมีหรือได้สัญชาติไทยอีกต่อไป หัวหน้าคณะปฏิวตั ิจงึ มคี �ำสงั่ ดงั ต่อไปน้ี ข้อ 1 ให้ถอนสญั ชาตไิ ทยของบรรดาบุคคลทเี่ กดิ ในราชอาณาจกั รไทย โดยบิดาเปน็ คน ตา่ งดา้ ว หรือมารดาเป็นคนต่างดา้ วแต่ไมป่ รากฏบดิ าทีช่ อบด้วยกฎหมาย และในขณะทเี่ กิด บดิ าหรอื มารดาน้ันเป็น (1) ผู้ท่ไี ดร้ บั การผ่อนผันใหพ้ ักอาศยั อยู่ในราชอาณาจกั รไทยเป็นพิเศษเฉพาะราย (2) ผทู้ ไ่ี ด้รบั อนญุ าตใหเ้ ข้าอยใู่ นราชอาณาจักรไทยเพียงช่ัวคราว หรอื (3) ผทู้ ่ีเขา้ มาอยใู่ นราชอาณาจกั รไทยโดยไมไ่ ด้รบั อนุญาตตามกฎหมายวา่ ด้วยคนเข้าเมอื ง ทั้งน้ี เว้นแต่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยพิจารณาเห็นสมควรและส่ังเฉพาะราย เปน็ ประการอื่น 212 วารสารนิตสิ ังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ ปีที่ 9 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2559)
(มาตรา 23 พ.ร.บ.สัญชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.255115) แต่เธอจะสามารถใชส้ ทิ ธใิ น สญั ชาติไทยไดก้ ็ตอ่ เมอื่ เธอไปยืน่ คำ� ขอลงรายการสญั ชาติในทะเบียนบ้าน (เพิม่ ชื่อ ของเธอเขา้ ไปในทะเบยี นบา้ น ประเภท ท.ร.14 ซง่ึ เปน็ ทะเบยี นบา้ นสำ� หรบั คนไทย) สถานะบุคคลตามกฎหมายทะเบยี นราษฎร อาภรณเ์ ปน็ “คนไรร้ ฐั ” ตงั้ แตว่ ันท่ีเธอเกดิ เพราะไมม่ กี ารดำ� เนนิ การตาม กฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร (ไม่มีการแจ้งเกิด ไม่มีการเพ่ิมชื่อเข้าใน ทะเบียนประวัติ หรือทะเบียนบ้าน) แม้เธอจะไม่ต้องใช้ชีวิตอย่างหลบซ่อนไม่มี ปญั หามากนกั ในการดำ� เนนิ ชวี ติ ประจำ� วนั ดว้ ยความทสี่ ามเี ธอเปน็ คนสญั ชาตไิ ทย จงึ ตัดปัญหาใดๆ ท่ีอาจจะมใี นการตดิ ตอ่ กับราชการในเร่ืองตา่ งๆ เมือ่ เธอเจบ็ ปว่ ย ครอบครวั กพ็ อมกี ำ� ลงั จา่ ยคา่ ยาคา่ หมอทคี่ ลนิ กิ เอกชนในตวั เมอื งจงั หวดั ระนอง จะ มเี พยี งเรอื่ งเดยี วกค็ อื เธอไมส่ ามารถเดนิ ทางออกนอกตวั จงั หวดั ระนองได้ การทไ่ี มม่ ี บัตรแสดงตนอะไรเลยหากถูกเจ้าหน้าที่ตรวจพบเข้าเธออาจถูกส่งไปเกาะสอง ประเทศเมยี นมารท์ ่ีเธอไมเ่ คยรูจ้ ัก ในปี 2554 รฐั ไทยมีนโยบายส�ำรวจและจัดท�ำทะเบียนใหก้ ับคนทปี่ รากฏ ตวั ในประเทศไทย แตไ่ มม่ เี อกสารแสดงตนใดๆ (มตคิ ณะรฐั มนตรวี นั ท่ี 18 มกราคม 2548 เรื่องยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคลประกอบกับ ระเบียบสํานักทะเบียนกลางว่าด้วยการสํารวจและจัดทําทะเบียนสําหรับบุคคลท่ี 15 มาตรา 23 บรรดาบุคคลท่ีเคยมีสัญชาติไทยเพราะเกิดในราชอาณาจักรไทยแต่ถูก ถอนสัญชาตไิ ทยตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับท่ี 337 ลงวันท่ี 13 ธนั วาคม พทุ ธศักราช 2515 ขอ้ 1 และผทู้ เี่ กดิ ในราชอาณาจกั รไทยแตไ่ มไ่ ดส้ ญั ชาตไิ ทยตามประกาศของคณะปฏวิ ตั ิ ฉบับท่ี 337 ลงวนั ท่ี 13 ธนั วาคม พุทธศกั ราช 2515 ขอ้ 2 รวมถงึ บุตรของบคุ คลดังกลา่ ว ท่ีเกิดในราชอาณาจักรไทยก่อนวันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับและไม่ได้สัญชาติไทยตาม มาตรา 7 ทวิ วรรคหนึ่ง แหง่ พระราชบัญญตั สิ ัญชาติ พ.ศ. 2508 ซึ่งเพมิ่ เติมโดยพระราช บัญญัตสิ ัญชาติ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2535 ถ้าบุคคลผนู้ ้นั อาศัยอยจู่ รงิ ในราชอาณาจักรไทยติดต่อ กันโดยมหี ลกั ฐานทางทะเบยี นราษฎร และเป็นผมู้ คี วามประพฤติดี หรือท�ำคุณประโยชนใ์ ห้ แกส่ งั คมหรอื ประเทศไทย ใหไ้ ดส้ ญั ชาตไิ ทยตงั้ แตว่ นั ทพี่ ระราชบญั ญตั นิ ใี้ ชบ้ งั คบั เวน้ แตผ่ ซู้ งึ่ รัฐมนตรีมคี ำ� ส่ังอนั มผี ลให้เปน็ ผมู้ ีสัญชาตไิ ทยแลว้ กอ่ นวนั ท่พี ระราชบัญญตั ินใี้ ชบ้ งั คบั เขา้ นอก ออกใน 213
ไม่มีสถานะทางทะเบียน พ.ศ.254816) คนที่เข้ารับการส�ำรวจจะได้รับการจัดท�ำ ทะเบยี นประวตั ิ (ประเภท ท.ร.38 ก17) ไดร้ บั บตั รประจำ� ตวั ทรี่ ะบเุ ลขประจำ� ตวั สบิ สามหลัก (เลขหลักแรกข้ึนต้นด้วยเลขศูนย์ เลขหลักท่ีหก-เจ็ด เป็นเลขแปด-เก้า) ชอ่ื เตม็ คอื “บตั รประจำ� ตวั ผไู้ มม่ สี ถานะทางทะเบยี น” แตอ่ าภรณแ์ ละคนทวั่ ไปคนุ้ กบั ชื่อ “บตั รหัวศูนย”์ สำ� หรับอาภรณ์แล้วมันเปน็ เรอื่ งชวนยนิ ดีเพราะหมายถงึ โอกาสคร้ังสำ� คญั ท่ีจะท�ำให้เธอมีบัตรเหมือนสามี เหมือนลูกของเธอ เหมือนคนอ่ืนๆ ท่ีเธอรู้จัก แตท่ ุกอยา่ งยงั คงไมใ่ ชเ่ รอื่ งง่ายสำ� หรับเธอ เดือนกุมภาพนั ธ์ 2554 มเี จา้ หนา้ ท่ีมาตง้ั หนว่ ยรับการส�ำรวจแตห่ นว่ ยรับ การสำ� รวจมาไม่ถึง “หมู่ 6” ท่เี ธออาศยั อยู่ โดยไม่ลงั เลแม้แต่น้อยเธอตดั สนิ ใจไป ขอรบั การสำ� รวจท่ี “หมู่ 4” ซง่ึ เป็นหมบู่ ้านที่ตั้งอยู่ติดๆ กนั ขั้นตอนแรกผา่ นไปได้ ดว้ ยดี เพียงแค่ใบตอบรับการส�ำรวจ (แบบ 89/1) มนั กท็ �ำให้เธอดใี จอย่างทไ่ี ม่เคย เปน็ มากอ่ น หลงั จากนน้ั เธอกเ็ ขา้ สกู่ ระบวนการ “ประชาคมหมบู่ า้ น” เพอ่ื ใหค้ นใน ชมุ ชนยนื ยนั วา่ “รจู้ กั อาภรณ์ อาภรณอ์ าศยั อยทู่ นี่ จ่ี รงิ ” ซง่ึ เธอกผ็ า่ นขนั้ ตอนนเี้ ชน่ กนั แมว้ า่ การประชาคมหมู่บา้ นจะทำ� ขน้ึ ท่ีหมู่ 4 โดยเธอให้เหตุผลวา่ “กห็ มบู่ า้ น มันตดิ ๆ กนั คนมันกร็ จู้ ักกันหมด” เดอื นสงิ หาคมปเี ดยี วกนั ความรสู้ กึ หมดหวงั ถกู แทนทค่ี วามดใี จอยา่ งมดิ ชดิ เธอได้รับแจ้งจากเจ้าหน้าท่ี (ด้วยวาจา) ว่า เธอ “ไม่ผ่านการพิจารณาของคณะ 16 ข้อ 4 ให้นายทะเบียนอำ� เภอและนายทะเบยี นทอ้ งถ่ินจัดใหม้ ีการส�ำรวจและจัดทำ� ทะเบียน ประวัติของบุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนท่ีมีภูมิล�ำเนาหรือถ่ินที่อยู่ขณะส�ำรวจอยู่ในเขต ของส�ำนกั ทะเบียนน้นั ๆ ตามแบบ ท.ร.38 ก และบนั ทึกขอ้ มลู ไวใ้ นระบบคอมพิวเตอรข์ อง สำ� นกั ทะเบยี น และตามขอ้ 2 แหง่ หนงั สอื สง่ั การสำ� นกั ทะเบยี นกลาง ท่ี มท 0309.1/ว 29516 ลงวนั ท่ี 15 ธนั วาคม 2553 17 ทะเบยี นประวตั ทิ ำ� หนา้ ทคี่ ลา้ ยทะเบยี นบา้ น (ประเภท ท.ร.14) ของคนสญั ชาตไิ ทย โดย ท.ร. 38 ก. จะสะทอ้ นวา่ คนทม่ี ชี อ่ื อยใู่ นทะเบยี นประเภทนคี้ อื คนทไ่ี มม่ สี ทิ ธอิ าศยั เปน็ คนเขา้ เมอื ง ผิดกฎหมาย และได้รับการผอ่ นผันให้อาศัยอยูใ่ นประเทศไทยเปน็ การชวั่ คราว 214 วารสารนิติสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ปที ี่ 9 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2559)
กรรมการอ�ำเภอ” เพราะมีคนยกประเด็นว่าเธอมาส�ำรวจผิดหมู่บ้านและการ ประชาคมทรี่ ับรองเธอน้ันไม่ถูกต้อง แน่นอนวา่ เธอไม่เขา้ ใจเหตผุ ลของกรรมการฯ เพราะหากตอ้ งการส�ำรวจคนไมม่ ีบตั รเพอื่ ทำ� บัตรให้ กเ็ ธอนี่ไง คนท่ีไมม่ ีบตั รอะไร เลย ไม่มมี า 40 กวา่ ปีแล้ว ! ดว้ ยความชว่ ยเหลอื จากชาตชิ าย อมรเลศิ วฒั นา ทนายความประจำ� คลนิ กิ กฎหมายดา้ นสทิ ธแิ ละสถานะบคุ คล ศนู ยส์ งั คมพฒั นา มลู นธิ คิ าทอลกิ สรุ าษฎรธ์ านี (คลินิกกฎหมายระนอง) เดอื นกนั ยายนในปีต่อมาอาภรณฟ์ ้องคดีตอ่ ศาลปกครอง จงั หวัดนครศรีธรรมราช (คดีหมายเลขด�ำท่ี 233/2555) ว่าส�ำนกั ทะเบียนอ�ำเภอ เมืองระนองกระท�ำการทางปกครองที่ไม่ชอบ18 และละเมิดต่อเธอ ศาลมีค�ำสั่ง ยกฟ้อง)19 เปน็ ทน่ี า่ เสยี ดายวา่ ในคำ� พพิ ากษานน้ั พจิ ารณาถงึ เงอื่ นไขทางเทคนคิ เกยี่ ว กบั การกระทำ� ตามขนั้ ตอนทางปกครองหรอื ไมเ่ ทา่ นนั้ ขอ้ เรยี กรอ้ งอน่ื ๆ ทศี่ าลเหน็ ว่าไม่ได้ส่งผลให้คดีเปล่ียนแปลงไปศาลจึงไม่จ�ำต้องวินิจฉัย ท�ำให้ไม่ได้เห็นค�ำ 18 ค�ำสั่งทางปกครองใดที่ออกมาโดยไม่สอดคล้องกับเงื่อนไขแห่งความชอบด้วยกฎหมายที่ กฎหมายเรยี กรอ้ ง ค�ำสั่งทางปกครองนน้ั ยอ่ มเป็นค�ำสงั่ ทางปกครองท่มี ีความบกพรอ่ ง และ โดยทั่วไปแล้วย่อมถือว่าเป็นค�ำส่ังทางปกครองท่ีไม่ชอบด้วยกฎหมาย, ดูเพ่ิมเติม วรเจตน์ ภาครี ตั น์. กฎหมายปกครอง ภาคทัว่ ไป. กรงุ เทพฯ : นติ ิราษฎร,์ 2554, หน้า 195-196 19 “โดยหลกั ทว่ั ไปของการรบั รองบคุ คล ผใู้ หก้ ารรบั รองจะตอ้ งเปน็ ผทู้ ม่ี สี ว่ นเกยี่ วขอ้ งกบั บคุ คล ที่ตนเองรับรอง จึงจะมีอ�ำนาจให้การรับรองได้ โดยไม่อาจให้การรับรองบุคคลที่ตนไม่ได้มี สว่ นเกยี่ วข้องได้ เมอ่ื ผฟู้ ้องคดีมภี ูมิลำ� เนาอยบู่ า้ นเลขท่ี xx หมทู่ ่ี 6 ต.บางรนิ้ อ.เมืองระนอง จ.ระนอง ซงึ่ มใิ ชป่ ระชากรในหมบู่ า้ นหมทู่ ี่ 4 ต.บางรน้ิ ประชากรในหมบู่ า้ นหมทู่ ี่ 4 และผใู้ หญ่ บา้ นหม่ทู ่ี 4 ซ่งึ ไมไ่ ดเ้ ป็นผู้ใหญบ่ ้านของผฟู้ อ้ งคดี จงึ ย่อมไมม่ ีอำ� นาจทจ่ี ะใหก้ ารรับรองผูฟ้ อ้ ง คดี ว่าเป็นผูอ้ พยพเขา้ มาอยู่ตดิ ตอ่ กันในประเทศไทย โดยอาศยั อยทู่ ่ีหมู่ที่ 6 ต.บางร้ิน เปน็ เวลานานได้ ดงั นัน้ การทผ่ี ้ฟู ้องคดีเขา้ รับการประชาคมหมบู่ า้ นในหมทู่ ี่ 4 จงึ เปน็ การไมถ่ ูก ตอ้ งและถอื ไดว้ า่ ยงั ไมไ่ ดร้ บั การประชาคมหมบู่ า้ นตามภมู ลิ ำ� เนาทต่ี นเองอยอู่ าศยั แตอ่ ยา่ งใด ..ค�ำสง่ั ของผู้ถูกฟอ้ งคดีท่ี 1 จงึ ชอบดว้ ยกฎหมายแลว้ พพิ ากษายกฟ้อง ” คำ� พพิ ากษาศาลปกครองนครศรธี รรมราช คดหี มายเลขแดงที่ 62/2558 ลงวนั ท่ี 25 มนี าคม 2558 เข้านอก ออกใน 215
พิพากษาท่ีเป็นบรรทัดฐานถึงการรับรองยืนยันสิทธิในสถานะบุคคลตามกฎหมาย ทะเบยี นราษฎรหรอื รบั รองความเปน็ บคุ คลตามกฎหมายรวมถงึ หนา้ ทข่ี องผถู้ กู ฟอ้ ง คดแี ละเจา้ หนา้ ทร่ี ฐั ผรู้ บั ผดิ ชอบงานทะเบยี นราษฎรในการรบั รองสทิ ธใิ นความเปน็ บุคคลตามกฎหมายที่ค�ำฟอ้ งระบุไวใ้ นท้ายฟ้อง คร้งั ท่สี องของความหวงั ที่ถูกดบั ลงแต่อาภรณ์ยงั คงถามหาหนทางอ่ืนๆ ณ เวลาน้ันอาภรณ์เริ่มมีปัญหาสุขภาพเธอและครอบครัวเริ่มมีค่าใช้จ่าย มากขึ้น ช่องทางที่พอจะเยียวยาได้คือเธอซื้อหลักประกันสุขภาพกับโรงพยาบาล ระนอง ในราคา 2,700 บาท/ป2ี 0 ‘เรม่ิ นับหนึ่งใหม่อกี ครง้ั ในวันท่เี ร่มิ อ่อนลา้ แตม่ นั คอื ชัยชนะแรก’ ภายใตก้ ารดำ� เนนิ งานใหค้ วามชว่ ยเหลอื ทางกฎหมายซงึ่ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของ โครงการพฒั นาองคค์ วามรเู้ พอื่ การพสิ จู นแ์ ละพฒั นาสทิ ธใิ นสขุ ภาวะของผมู้ ปี ญั หา สถานะบุคคลโดยกระบวนการมีส่วนร่วม21 เพื่อสนับสนุนให้อาภรณ์ได้รับเอกสาร 20 มันคล้ายกับหลักประกันสุขภาพ (หรือที่คุ้นชินกันว่า “บัตรทอง”) ของคนไทย หรือหลัก ประกันสขุ ภาพของแรงงานขา้ มชาติ 3 สัญชาติทีน่ โยบายรฐั ไทยกำ� หนดใหแ้ รงงานฯ ต้องซอื้ หลกั ประกนั สขุ ภาพหากจะเขา้ สกู่ ระบวนการขอใบอนญุ าตทำ� งาน โดยรฐั ไทยยอมรบั ขอ้ เทจ็ จริงว่ามีคนจ�ำนวนหนึ่งท่ีปรากฎตัวในประเทศไทยโดยปราศจากเอกสารแสดงตน หรือเป็น แรงงานข้ามชาติท่ีมีใบอนุญาตท�ำงาน หากคนกลุ่มน้ีเจ็บป่วย ต้องเข้ารับการรักษาที่โรง พยาบาลในประเทศไทยอาจมีความเสี่ยงหากคนกลุ่มนี้ไม่สามารถจ่ายค่ารักษาพยาบาลได้ รัฐไทยจึงมีนโยบายเปิดให้คนต่างด้าวท่ีไม่มีเอกสารแสดงตน แรงงานฯ ท่ีไม่ได้ข้ึนทะเบียน บตุ รหลานแรงงานฯ สามารถซ้ือหลักประกันสขุ ภาพได้ ในราคา 2,700 บาท/คน/ปี (2,200 บาทคอื ราคาของหลกั ประกนั สขุ ภาพ/ชดุ สทิ ธปิ ระโยชนท์ จี่ ะไดร้ บั อกี 500 บาทสำ� หรบั การ ตรวจสขุ ภาพ) ตามประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอื่ งการตรวจสุขภาพและประกันสุขภาพ คนตา่ งดา้ ว วันท่ี 13 สงิ หาคม 2556 โดยชุดสทิ ธปิ ระโยชนจ์ ะเหมือนกับหลักประกนั สุขภาพ ของคนสญั ชาตไิ ทย และแรงงานข้ามชาติทีข่ ้นึ ทะเบียนมใี บอนุญาตทำ� งาน 21 ซึ่งอยู่ภายใต้ชุดโครงการพัฒนาองค์ความรู้และขับเคลื่อนข้อเสนอแนะที่เอ้ือต่อการพิสูจน์ และพฒั นาสทิ ธใิ นสถานะบคุ คลเพอื่ สขุ ภาวะของผมู้ ปี ญั หาสถานะบคุ คล (1 ตลุ าคม 2557- 31 มนี าคม 2559) ดำ� เนนิ การโดยโครงการเฝา้ ระวงั สภาวะไรร้ ฐั สนบั สนนุ โดยสำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนุนการเสริมสร้างสขุ ภาพ (สสส.) ส�ำนกั 9 216 วารสารนิตสิ งั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ ปที ่ี 9 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2559)
พิสจู นท์ ราบตัวบคุ คลได้เรมิ่ ตน้ ขนึ้ ในเดือนเมษายน 2558 อาภรณเ์ ดนิ ไปสำ� นกั ทะเบยี นอำ� เภอเมอื งระนองอกี ครงั้ ในเวลานนั้ ทมี วจิ ยั ได้จัดท�ำบทวิเคราะห์สถานะบุคคลตามกฎหมายกรณีอาภรณ์และความเห็นทาง กฎหมายถงึ อำ� เภอเมอื งระนอง และกรมการปกครองสว่ นกลาง22 ใน 3 ประเดน็ คอื (1) หารือถึงแนวทางเยียวยาแก้ไขการท่ีเธอถูกปฏิเสธการจัดท�ำทะเบียนประวัติ เนอ่ื งจากเธอไปสำ� รวจผดิ หมบู่ า้ น (2) หารอื ถงึ ความเปน็ ไปไดท้ จ่ี ะดำ� เนนิ การรบั รอง ความเปน็ บคุ คลตามกฎหมายผา่ นอกี ชอ่ งทางหนงึ่ คอื การจดั ทำ� ทะเบยี นใหเ้ ธอโดย อาศยั กฎหมายวา่ ดว้ ยการทะเบยี นราษฎร23 และประการสดุ ทา้ ย มนั ควรจะมคี วาม เปน็ ไปไดห้ ากเธอจะพสิ จู นค์ วามเปน็ “ลกู พอ่ ไทย (อาขา่ )” หรอื อกี หนทางคอื พสิ จู น์ 22 คพส.ที่ 17/2558 กรณศี ึกษาท่ี 6 จาก 25 กรณีเพือ่ นำ� ร่องการพฒั นาองคค์ วามร้เู พื่อการ พิสูจน์และพัฒนาสิทธิในสุขภาวะของผู้มีปัญหาสถานะบุคคลในพ้ืนท่ีอ�ำเภอเมืองระนอง จ.ระนอง ลงวันท่ี 8 มิถนุ ายน 2558 23 ในปี 2551 ไดม้ กี ารแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ กฎหมายวา่ ดว้ ยการทะเบยี นราษฎรโดยกำ� หนดใหก้ รมการ ปกครองมอี ำ� นาจในการจดั ทำ� ทะเบยี นประวตั ใิ หแ้ กค่ นตา่ งดา้ วกลมุ่ อน่ื ๆ ท่ี ไมใ่ ช่ คนเขา้ เมอื ง ถกู กฎหมายมสี ทิ ธอิ าศยั ชวั่ คราว, คนตา่ งดา้ วทไ่ี ดร้ บั การผอ่ นผนั ใหอ้ าศยั อยใู่ นราชอาณาจกั ร เป็นกรณพี ิเศษเฉพาะราย รวมถึงบุตรทเ่ี กิดในราชอาณาจกั ร โดยเพิ่มเติมเป็นวรรคสองของ มาตรา 38 พ.ร.บ.การทะเบียนราษฎร 2534 แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบบั ที่ 2) 2551 “ใหน้ ายทะเบยี นอำ� เภอหรอื นายทะเบยี นทอ้ งถน่ิ จดั ทำ� ทะเบยี นบา้ นสำ� หรบั คนซงึ่ ไมม่ สี ญั ชาติ ไทยท่ีได้รบั อนุญาตให้อาศยั อยใู่ นราชอาณาจกั รเป็นการชัว่ คราว และคนซ่งึ ไม่มสี ัญชาติไทย ท่ีได้รับการผ่อนผันให้อาศัยอยู่ในราชอาณาจักรเป็นกรณีพิเศษเฉพาะรายตามกฎหมายว่า ด้วยคนเข้าเมืองตามที่รัฐมนตรีประกาศก�ำหนด และบุตรของบุคคลดังกล่าวที่เกิดในราช อาณาจกั ร ในกรณผี มู้ รี ายการในทะเบยี นบา้ นพน้ จากการไดร้ บั อนญุ าตหรอื ผอ่ นผนั ใหอ้ าศยั อยใู่ นราชอาณาจกั ร ใหน้ ายทะเบียนจำ� หนา่ ยรายการทะเบยี นของผนู้ ้ันโดยเร็ว “ให้ผู้อ�ำนวยการทะเบียนกลางจัดให้มีทะเบียนประวัติส�ำหรับคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยอ่ืน นอกจากที่บญั ญตั ิไว้ตามวรรคหนง่ึ ตามทรี่ ฐั มนตรปี ระกาศก�ำหนด” อยา่ งไรกด็ ี ทะเบยี นประวตั เิ ปน็ เพยี งเอกสารรบั รองวา่ บคุ คลนนั้ อาศยั อยใู่ นประเทศไทย เท่าน้ัน ไม่ได้เป็นเอกสารรับรองว่าคนดังกล่าวเข้าเมืองถูกกฎหมาย หรือมีสิทธิอาศัยใน ประเทศไทยอย่างถูกตอ้ งตามกฎหมาย เอกสารดงั กลา่ วคอื ทะเบยี นประวัติและบตั รประจ�ำ ตวั บคุ คลผไู้ มม่ สี ถานะทางทะเบยี นราษฎร จะไดร้ บั การกำ� หนดเลขประจำ� ตวั สบิ สามหลกั ขน้ึ ต้นด้วยเลข 0 โดยเลขหลักที่ 6 และ7 จะเป็นเลข 00 เขา้ นอก ออกใน 217
ว่าเธอคือลูกของชนกลมุ่ นอ้ ยชาติพันธุอ์ าข่าเพ่ือจะได้รบั การสำ� รวจในฐานะ “บตุ ร ของชนกลุม่ น้อย” และแลว้ ความหวงั กป็ รากฏอกี ครง้ั เมอ่ื ทางกรมการปกครองมหี นงั สอื ตอบ กลบั ในทุกประเดน็ ส�ำคัญ24 คอื (1) ทางกรมการปกครองเห็นว่าหากเธออา้ งวา่ เธอ เป็นชาวเขาดงั้ เดมิ เธอควรกลับไปพิสจู นโ์ ดยยน่ื คำ� ร้องท่ีอำ� เภอแม่สาย (2) กรณีที่ เธอเคยได้รบั การสำ� รวจและมใี บตอบรบั (แบบ 89/1) เป็นหลักฐานควรส่งเรอื่ งให้ คณะกรรมการหมู่บ้านท่ีเธออยู่เป็นคนรับรองและส่งเร่ืองกลับมายังส่วนกลางเพ่ือ ใหส้ ว่ นกลางเปดิ ระบบเพอื่ จดั ทำ� ทะเบยี นและบตั รให้ และหากกรรมการหมบู่ า้ นไม่ รับรองหรอื มีความน่าสงสยั อาภรณม์ สี ิทธทิ จี่ ะไดร้ ับการจัดท�ำทะเบยี นโดยใชช้ อ่ ง มาตรา 38 วรรคสองฯ โดยกรมการปกครองแจ้งว่าทกุ ประเด็นนีไ้ ด้แจ้งไปถึงผวู้ ่า ราชการจงั หวดั ระนองเพอ่ื แจง้ ใหส้ ำ� นกั ทะเบยี นอำ� เภอเมอื งระนองดำ� เนนิ การแลว้ ค�ำตอบของกรมการปกครองช่วยยืนยันสิทธิท่ีอาภรณ์มีและยืนยันถึง อ�ำนาจหน้าทขี่ องสำ� นกั ทะเบยี นท่จี ะต้องดำ� เนินการเพ่ือใหเ้ ธอมเี อกสารแสดงตน มันคอื ชัยชนะเลก็ ๆ การออกเดินทางเพอ่ื กลบั บา้ น ข้อความจากกรมการปกครองท่ีระบุว่าอาภรณ์ควรกลับไปแม่สายเพื่อยื่น ค�ำร้องเพ่ือพิสูจน์ความเป็นลูกพ่อไทยเป็นข้อความท่ีส�ำคัญและเป็นสิ่งที่ทีมวิจัย อยากให้กรมการปกครองเอ่ยออกมา เพราะโดยปกติของการเดินทางออกนอกเขตพื้นท่ีของคนไร้สัญชาติซ่ึงไม่ วา่ จะถอื บตั รประจำ� ตวั คนซง่ึ ไมม่ สี ญั ชาตไิ ทยหรอื บตั รประจำ� ตวั บคุ คลทไ่ี มม่ สี ถานะ ทางทะเบียนซ่ึงมีภูมิล�ำเนาอยู่ในจังหวัดใดถือว่าจังหวัดน้ันคือพื้นท่ีควบคุม หาก ประสงค์จะเดินทางออกนอกจังหวัดจะต้อง “ขออนุญาตออกนอกพ้ืนท่ี” โดยจะ 24 มท 0309.1/11442 ลงวันท่ี 24 มิถุนายน 2558 และ มท 0309.1/11438 ลงวันท่ี 24 มิถนุ ายน 2558 218 วารสารนติ ิสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ ปีที่ 9 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2559)
ต้องมีเหตุตามที่ประกาศกระทรวงมหาดไทยเร่ืองการอนุญาตให้คนต่างด้าวบาง จ�ำพวกเข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรเป็นการช่ัวคราวเพ่ือรอการส่งกลับและก�ำหนด เขตพนื้ ท่คี วบคมุ 25 จะต้องได้รบั อนุญาตเสยี ก่อนจึงจะออกนอกเขตจงั หวัดได2้ 6 มีประเด็นว่าประกาศกระทรวงมหาดไทยฯ ฉบับนี้ไม่ได้กล่าวถึงคนไร้ เอกสารพิสูจน์ตน ดังน้นั หากอาภรณ์ไปลองยน่ื ขออนญุ าตออกนอกจงั หวัดระนอง เพื่อไปเชียงราย คำ� ตอบอาจเปน็ ไปไดท้ ง้ั “อนุญาต” กบั “ไม่อนญุ าต” แต่แม้ว่าจะมีคำ� สั่งอนุญาตแต่การเดินทางไปจังหวัดเชียงรายซ่ึงเป็นพื้นที่ ชายแดนน้ัน อาภรณ์ย่อมต้องพบกับ “ด่าน” ที่เรียกหาเอกสารแสดงตนของผู้ โดยสารเสมอ ถึงเวลาน้ันเพียงใบอนุญาตให้ออกนอกพื้นที่ ท�ำให้ทีมวิจัยประเมิน ว่ายังอาจเสี่ยงอยู่ ดังน้ันหนังสือจากกรมการปกครองจึงเป็น “ตัวช่วย” ท่ีดีเมื่อ อาภรณไ์ ปยน่ื ขออนญุ าตออกนอกพนื้ ท่ี โดยแนบหนงั สอื ตอบจากกรมการปกครอง ไปด้วย ทางส�ำนักทะเบียนอ�ำเภอเมืองระนองก็อนุญาตให้ด้วยดีนอกจากนี้ทาง 25 ข้อ 4 ให้คนตา่ งดา้ วอยู่ในเขตพื้นทค่ี วบคุมตามข้อ 3 และใหม้ กี ารรายงานตัวเพื่อการควบคุม ตรวจสอบตามท่กี ระทรวงมหาดไทยกำ� หนด เม่ือมีเหตุจ�ำเป็นต้องออกนอกเขตพ้ืนที่ควบคุมเพื่อปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เป็นพยานศาล ไดร้ ับหมายเรียกจากพนกั งานสอบสวน มีหนังสือเรียกตวั จากหน่วยงานของ รฐั เพอื่ การรักษาพยาบาล หรือเหตุจำ� เปน็ อยา่ งอืน่ คนตา่ งด้าวจะออกนอกเขตพนื้ ท่คี วบคมุ ไดโ้ ดยยน่ื คำ� ขอออกนอกเขตพนื้ ทค่ี วบคมุ ไดต้ อ่ ผมู้ อี ำ� นาจ เวน้ แตใ่ นกรณที ม่ี คี วามจำ� เปน็ โดย เรง่ ด่วนและไมอ่ าจรอการขออนุญาตได้ให้ออกนอกเขตพน้ื ทค่ี วบคุมได้ แตจ่ ะตอ้ งแจง้ ให้ผมู้ ี อำ� นาจทราบโดยดว่ น 26 ข้อ 5 คนตา่ งดา้ วจะออกนอกเขตพืน้ ที่ควบคุมได้ เมอ่ื ได้รับอนุญาตจากผมู้ อี �ำนาจดังต่อไปน้ี (1) ปลัดกระทรวงมหาดไทยหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายในเขตท้องที่กรุงเทพมหานครหรือ ระหวา่ งจงั หวดั (2) ผู้วา่ ราชการจงั หวัดหรอื ผ้ทู ่ไี ดร้ บั มอบหมายในเขตท้องที่จังหวัด (3) นายอ�ำเภอ ปลัดอ�ำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจ�ำก่ิงอ�ำเภอ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายในเขต ท้องท่อี ำ� เภอ หรือกงิ่ อ�ำเภอ ทัง้ นี้ ใหเ้ ปน็ ไปตามแนวทางทา้ ยประกาศ เข้านอก ออกใน 219
อ�ำเภอเมืองระนองยังออกหนังสือรับรอง (เลขท่ี 52/2558) “เพื่อรับรองว่า อาภรณ์อยู่ระหว่างการพิสูจน์สถานะบุคคลท่ีอ�ำเภอเมืองระนองจริงและมีความ จำ� เปน็ จะตอ้ งเดนิ ทางไปตดิ ตอ่ สบื หาขอ้ มลู หาพยานหลกั ฐานในพนื้ ทอี่ ำ� เภอแมส่ าย จังหวัดเชียงราย” อีกด้วย โดยที่มุมซ้ายล่างของหนังสือฉบับดังกล่าวติดรูปถ่าย อาภรณ์ไว้ด้วย นับว่ากรณีของอาภรณ์เป็นกรณีตัวอย่างของอ�ำเภอเมืองระนองในเร่ือง การขออนญุ าตออกนอกพื้นท่ีของคนไรร้ ัฐ กลางเดอื นสงิ หาคม 2558 ทนายชาติชาย ในฐานะทีมวจิ ัย อาภรณแ์ ละ สามีของเธอก็เดินทางจากอ�ำเภอเมืองระนองข้ึนไปเหนือสุดแดนสยามที่อ�ำเภอ แมส่ าย จังหวัดเชยี งราย และยงั ได้ขา้ มฝงั่ ไปยังเมอื งท่าขีเ้ หล็ก ประเทศเมยี นมาร์ เมอื่ พบความจรงิ แลว้ ก็พบว่ามันสร้างความเจ็บปวด ท่ีอ�ำเภอแม่สาย อาภรณ์ไม่สามารถตามหาร่องรอยพ่อของเธอ แต่ที่ หมบู่ า้ นแหง่ นนั้ ทนายชาตชิ ายแกะรอยจนเจอเพอื่ นบา้ นของแมเ่ ธอและไดเ้ จอญาติ ของแม่ เปน็ เรอ่ื งโชคดที บ่ี ตั รประจำ� ตวั และทะเบยี นบา้ นของแมเ่ ธอยงั อยู่ มนั แสดง ว่าแม่ของเธอเป็นคนสัญชาติไทยแล้วเพราะได้รับการลงรายการสัญชาติไทยตาม ระเบียบส�ำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการพิจารณาลงรายการสถานะบุคคลใน ทะเบยี นราษฎรให้แกบ่ ุคคลบนพื้นทสี่ ูง พ.ศ.2543 โดยอำ� เภอพบพระ จงั หวัดตาก โดยนอ้ งชายตา่ งพ่อกไ็ ด้ลงรายการสญั ชาตไิ ทยพรอ้ มกับแมเ่ ธอดว้ ย แต่เมอ่ื ถามถงึ กไ็ ด้รบั คำ� ตอบเพยี งว่า “เห็นเขาวา่ กนั ว่า ตายไปแลว้ ” ส่วน ญาตคิ นอน่ื ๆ กไ็ มม่ ใี ครไดร้ บั การลงรายการสญั ชาตไิ ทยหรอื มบี ตั รประจำ� ตวั คนไทย เลย แต่ข่าวร้ายที่สุดก็คือแม่ของเธอเสียชีวิตไปแล้วและศพถูกฝังไว้ที่สุสานคริสต์ ทที่ า่ ขเ้ี หลก็ ประเทศเมยี นมาร์ ภาพทอ่ี าภรณร์ ำ่� ไหต้ อ่ หนา้ หลมุ ศพมารดาในสสุ าน27 27 ชาตชิ าย อมรเลศิ วฒั นา. “คน”เรมิ่ ตน้ เรอ่ื งอาภรณ.์ ..คนไรร้ ฐั ผไู้ มส่ น้ิ ความหวงั . กรงุ เทพฯ :2559,หนา้ 100. 220 วารสารนติ สิ งั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2559)
นั้น อาจสะเทือนความรู้สึกของใครหลายคน แต่คงไม่เท่ากับความพยายามของ ผหู้ ญงิ คนหนง่ึ ทจี่ ะพสิ จู นว์ า่ เธอมสี ทิ ธใิ นสญั ชาตไิ ทย แตก่ ม็ าพบพยานหลกั ฐานชนิ้ ส�ำคญั ในวนั ทส่ี ายไปซ่ึงนนั่ คอื แม่ของเธอที่ไร้ลมหายใจ “บัตรสกั ใบไปกอ่ น” ทีมวิจัยกลับไปยังอ�ำเภอเมืองระนองเพื่อแจ้งความคืบหน้า เม่ือหนทาง พิสูจน์และเข้าถึงสิทธิในสัญชาติไทยนั้นริบหรี่แต่รัฐไทยยังต้องด�ำเนินการเพื่อ ไม่ให้บุคคลตกอยู่ในสถานะไร้รัฐโดยการรับรองความเป็นบุคคลตามกฎหมาย ให้กับอาภรณ์ เดอื นตุลาคม 2558 อาภรณก์ ไ็ ด้รบั “บัตรหวั ศูนย”์ (หรอื บตั รประจ�ำตวั บุคคลท่ไี มม่ สี ถานะทางทะเบียน เลขหลักท่หี ก-เจ็ด เป็นเลขศูนย-์ ศนู ย)์ หลังการเริ่มต้นเดินทางด้วยความหวังว่าชีวิตจะแตกต่างไปจากเดิม ดีขึ้นจากเดิมเพ่ือตามหาร่วมปีแต่สิทธิในสัญชาติไทยยังคงห่างไกลออกไปแต่อย่าง น้อย วันน้ีเธอก็ได้รับการรับรองตัวบุคคลมีชื่อในทะเบียนราษฎรของรัฐไทย มบี ตั รประจำ� ตวั ไมม่ ากกน็ อ้ ยนติ ฐิ านะของอาภรณม์ คี วามมน่ั คงมากขนึ้ การเขา้ ถงึ สิทธิขั้นพ้ืนฐานอื่นๆ ก็ตามมา เมื่อเธอสามารถแสดงตนว่าเป็นบุคคลในการ ดูแลของรฐั ไทย 3. บทสรปุ บนเสน้ ทางทก่ี ฎหมายนโยบายรฐั ไทยเปดิ ใหใ้ ครตอ่ ใครสามารถพสิ จู นส์ ทิ ธิ ในสัญชาตไิ ทยของตวั เองได้แตจ่ ากกรณขี องอาภรณ์ ได้ทำ� ใหเ้ หน็ ว่าเสน้ ทางท่ีเปิด กว้างน้นั เตม็ ไปด้วยอปุ สรรค ข้อจ�ำกดั ณ วันที่ขาดพยานหลักฐานเพอ่ื ยนื ยันกย็ าก ย่ิงท่ีจะได้รับการยอมรับจากรัฐไทยว่าตนเป็นคนชาติโดยเงื่อนไขส�ำคัญท่ีส่งผลให้ อาภรณ์ไม่สามารถเข้าถึงพยานหลักฐานได้ก็คือสถานะคนต่างด้าวเข้าเมืองผิด กฎหมายทีถ่ ูกตีตราไว้ เขา้ นอก ออกใน 221
และหากจะพจิ ารณาถงึ เรอื่ งทน่ี า่ จะงา่ ยกวา่ เชน่ การเขา้ ถงึ เอกสารพสิ จู น์ ทราบตัวบุคคลซึ่งก็เช่นเดียวกัน แม้จะมีกฎหมายนโยบายรับรองสิทธิไว้ แตห่ นทางการไดม้ าซงึ่ บตั รสกั ใบกย็ งั เปน็ เรอ่ื งยาก ทงั้ ๆ ทบี่ ตั รใบนนั้ ไมไ่ ดท้ ำ� ใหก้ าร เข้าเมืองของเธอถูกกฎหมายไม่ได้ท�ำให้เธอมีสิทธิอาศัยโดยถูกต้องในประเทศไทย แต่มันก็ยังคงเป็นเร่ืองยากและยากส�ำหรับคนธรรมดาคนหน่ึงที่ไม่มีความรู้ทาง กฎหมาย และหากว่าไม่มีทนายความหรืองานวิจัยเข้าไปสนับสนุน ไม่ใช่เรื่องเกิน เลยเกินไปที่จะกล่าวว่ายังมีคนไร้รัฐไร้สัญชาติอีกจ�ำนวนไม่น้อยก�ำลังเผชิญกับ อปุ สรรค ข้อจ�ำกัดเหมือนกรณขี องอาภรณ์ ข้อเสนอแนะประการหน่ึงท่ีงานวิจัยเสนอก็คือการปรับปรุงเกณฑ์การรับ ฟังพยานหลักฐานเพื่อการสนับสนุนส่งเสริมให้คนไร้รัฐไร้สัญชาติสามารถเข้าสู่ กระบวนการพสิ จู นแ์ ละพฒั นาสทิ ธขิ องตนเอง ไมว่ า่ จะเปน็ สทิ ธใิ นสญั ชาตไิ ทย หรอื เพียงแค่สิทธทิ จี่ ะได้รับเอกสารพิสจู น์ทราบตวั บคุ คล 222 วารสารนติ สิ ังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปที ี่ 9 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2559)
บรรณานกุ รม ชาตชิ าย อมรเลิศวัฒนา. (2559) “คน”เร่มิ ต้น เรื่องอาภรณ.์ ..คนไร้รฐั ผู้ไม่สิ้น ความหวงั . กรุงเทพฯ : บรรเจดิ สงิ คะเนต.ิ (2552). หลกั พนื้ ฐานเกยี่ วกบั สทิ ธเิ สรภี าพ และศกั ดศ์ิ รคี วาม เป็นมนุษย,์ กรุงเทพฯ : วญิ ญชู น. ประสิทธิ์ ปวิ าวัฒนพานชิ .(2551). ค�ำอธิบายกฎหมายระหวา่ งประเทศแผนกคดี บุคคล, กรงุ เทพฯ: สำ� นักพิมพม์ หาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์. วรพจน์ วศิ รตุ พชิ ญ.์ (2543). สทิ ธแิ ละเสรภี าพตามรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั ร ไทย พุทธศักราช 2540, กรุงเทพฯ : วญิ ญชู น. วรเจตน์ ภาคีรัตน.์ (2554). กฎหมายปกครอง ภาคท่ัวไป. กรุงเทพฯ : นิติราษฎร์. เขา้ นอก ออกใน 223
บรรณานกุ รมภาษาไทยทีแ่ ปลเปน็ ภาษาอังกฤษ Amornlertwattana, C. (2016). Case study of Arporn…a stateless person who never give up, Bangkok: (in Thai) Singkaneti, B. (2009). Basic principle related with rights and liberty and human dignity, Bangkok: Vinyuchon. (in Thai) Pivavatnapanich, P. (2008). Explanation of private international law, Bangkok: Thammasat University Press. (in Thai) Visrutpich, V. (2000). Rights and Liberty according to constitute of Thailand B.E.2540(1997). Bangkok: Vinyuchon. (in Thai) Pakeerut, W. (2011). Administrative law in general. Bangkok: Nitirat. (in Thai) 224 วารสารนติ สิ งั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ ปที ่ี 9 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2559)
ค�ำ แนะน�ำ การจดั ท�ำ ตน้ ฉบบั บทความเพอ่ื พจิ ารณาตพี มิ พ์ในวารสารนติ สิ งั คมศาสตร์ วารสารนติ สิ งั คมศาสตร์ มกี ำ� หนดออกปลี ะ 2 ฉบบั ฉบบั ท่ี 1 มกราคม – มถิ นุ ายน และฉบับท่ี 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 1. ประเภทของเรอ่ื งทีจ่ ะตพี ิมพ ์ 1) รายงานการวจิ ยั ทางดา้ นนิติศาสตรเ์ ป็นบทความวิจัย 2) บทความวิชาการทางด้านนติ ศิ าสตรเ์ ป็นบทความ 3) บทความวิจารณ์หนงั สือหรือบทความปรทิ รรศน์ 2. รูปแบบการเขียนบทความ บทความวิจัย บทความวชิ าการทางด้านนิตศิ าสตร์ ควรมคี วามยาวต้ังแต่ 5,000 คำ� แตไ่ มค่ วรยาวกวา่ 15,000 คำ� (จำ� นวนคำ� ถอื ตามการนบั จำ� นวนคำ� ใน Microsoft Word) ลงในกระดาษขนาด A5 ระยะหา่ งจากขอบกระดาษ ดา้ นบน ดา้ นลา่ ง ดา้ นซา้ ย 2 เซนตเิ มตร ด้านขวา 1.5 เซนติเมตร แบบอักษร TH Sarabun PSK ในเนื้อหาขนาด 15 point ในเชิงอรรถ 12 Point และมขี ้อมูลตามล�ำดบั ดังต่อไปนี้ 1. ชอ่ื เรอื่ งภาษาไทย ชือ่ เรือ่ งภาษาองั กฤษ 2. ช่อื -นามสกลุ , ต�ำแหนง่ , หนว่ ยงานที่สังกัด ทั้งภาษาไทยและภาษาองั กฤษ 3. บทคดั ย่อ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 4. หัวข้อเรอ่ื ง 5. เนื้อหา 6. การจัดองคป์ ระกอบ สามารถจัดไดต้ ามความเหมาะสม 7. บรรณานุกรม 8. บรรณานุกรมภาษาไทยที่แปลเปน็ ภาษาองั กฤษ 3. การเตรียมตน้ ฉบบั 1) เอกสารบทความวิชาการ/วิจยั (ตามข้อ 2) จ�ำนวน 2 ชุด พร้อมแบบน�ำสง่ ต้นฉบับ จ�ำนวน 1 ชุด เขา้ นอก ออกใน 225
2) ซดี -ี รอม จ�ำนวน 1 แผ่น ประกอบด้วย ก. ไฟล์บทความ นามสกลุ .doc หรอื .docx ข. ไฟล์ภาพประกอบ นามสกุล .jpg, jpeg หรือ RAW หรือ TIFF ความละเอียด 300 Pixel / High Resolution ขนาดไฟลไ์ ม่ต�่ำกวา่ 500KB 4. การจดั ส่ง กองบรรณาธิการวารสารนติ สิ ังคมศาสตร์ ส่งท:่ี คณะนติ ิศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ 239 ถนนหว้ ยแกว้ ต�ำบลสเุ ทพ อำ� เภอเมอื ง จังหวัดเชียงใหม่ 50200 โทรศพั ท์ 0-5394-2921 โทรสาร 0-5321-2914 e-mail : [email protected] สง่ บทความออนไลน์ : www.law.cmu.ac.th/ojs/index.php/CMUJLSS และ www.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS 5. การพจิ ารณาบทความ กองบรรณาธิการจะท�ำหน้าที่พิจารณากล่ันกรองบทความและจะแจ้งผลการ พิจารณาให้ผู้ส่งบทความทราบภายใน 1 เดือน นับตั้งแต่วันที่ได้รับบทความ ท้ังนี้ กอง บรรณาธกิ ารจะท�ำหนา้ ทีป่ ระสานงานกับผ้สู ง่ บทความในทกุ ขน้ั ตอน กองบรรณาธิการจะด�ำเนินการจัดรูปแบบของบทความให้เป็นระบบเดียวกันทุก บทความกอ่ นน�ำเสนอให้ผ้ทู รงคุณวุฒิ (peer review) พิจารณา จากนั้น จงึ ส่งบทความที่ ได้รับการพิจารณาในเบ้ืองต้นให้กับผู้ทรงคุณวุฒิ (peer review) จ�ำนวน 2 ท่าน เป็นผู้ พจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบในการตพี มิ พเ์ ผยแพรบ่ ทความ โดยใชเ้ วลาพจิ ารณาแตล่ ะบทความ ไม่เกนิ 1 เดือน ผลการพจิ ารณาของผทู้ รงคณุ วุฒิดงั กลา่ วถอื เป็นสน้ิ สดุ จากน้ัน จงึ ส่งผล การพจิ ารณาของผทู้ รงคณุ วฒุ ใิ หผ้ สู้ ง่ บทความ หากมกี ารแกไ้ ขหรอื ปรบั ปรงุ ใหผ้ สู้ ง่ บทความ แกไ้ ขและนำ� สง่ กองบรรณาธกิ ารภายในระยะเวลา 15 วนั นบั ตง้ั แตว่ นั ทไี่ ดร้ บั ผลการพจิ ารณา กองบรรณาธกิ ารนำ� บทความทผ่ี า่ นการพจิ ารณาและแกไ้ ขแลว้ เขา้ สกู่ ระบวนการ เรยี บเรยี งพมิ พ์และการตีพมิ พ์ โดยใช้ระยะเวลาด�ำเนนิ การประมาณ 1-2 เดอื น ผสู้ ง่ บทความจะไดร้ บั “วารสารนติ สิ งั คมศาสตร”์ จำ� นวน 2 เลม่ เปน็ การตอบแทน ภายใน 1 เดือนนบั ต้ังแตว่ ารสารนติ ิสังคมศาสตรไ์ ด้รบั การเผยแพร่ และผสู้ ่งบทความจะได้ รบั คา่ ตอบแทนตามความเหมาะสม 226 วารสารนิตสิ ังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ ปีท่ี 9 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2559)
6. การอ้างเอกสาร การอา้ งองิ เอกสารในเนอื้ เรอ่ื งใชร้ ะบบเชงิ อรรถของวารสารนติ สิ งั คมศาสตร์ มหี ลกั เกณฑ์ ดังนี้ การอา้ งองิ แบบเชงิ อรรถ (footnote citation) วธิ กี ารอา้ งองิ แบบนเ้ี ปน็ การอา้ งองิ โดยแยกสว่ นเนื้อหากบั การอา้ งองิ ออกจากกนั แต่อยู่ภายในหนา้ เดยี วกัน โดยใหก้ ารอ้างองิ อยสู่ ว่ นลา่ งของหนา้ กระดาษ มเี สน้ ขดี คนั่ ขวางประมาณ 1/3 ของหนา้ กระดาษ เนอื้ หาสว่ น ทีต่ ้องการอ้างใหล้ งหมายเลขก�ำกับ เรียงล�ำดับตามล�ำดบั การอ้าง 1) รูปแบบอ้างองิ แบบเชงิ อรรถ 1.1 การอ้างอิงส�ำหรับเอกสาร ส่ิงพมิ พ์ หนังสือ ต�ำรา งานวิจยั รปู แบบ 1 ผแู้ ตง่ ,/ชื่อเร่อื ง,/สถานท่ีพิมพ์:/ ส�ำนักพมิ พ์,/ปที พี่ มิ พ์,/หน้า/เลขหน้า. 1.2 การอา้ งองิ ส�ำหรบั บทความวารสารใชร้ ปู แบบเดยี วกบั บรรณานุกรม รูปแบบ 1 ผแู้ ตง่ ,/“ชือ่ บทความ”,/ช่ือวารสาร,/ปีท่ี (ฉบบั ท่ี)/ :/หน้า;/วาระทีอ่ อก. 1.3 การอ้างอิงสำ� หรบั บทความหนังสือพมิ พ์ รปู แบบ 1 ผแู้ ต่ง,/ “ช่อื บทความ”/ชอื่ หนังสือพิมพ,์ /;วนั ท่ี เดอื น ปที อ่ี อก./หน้าที่. 1.4 การอา้ งองิ แบบเชงิ อรรถจากการสมั ภาษณ์ รูปแบบ 1 ช่อื นามสกลุ ผทู้ ่ใี หส้ ัมภาษณ,์ /ต�ำแหนง่ (ถา้ มี),/วนั ท่สี มั ภาษณ์. 2 ขอ้ กำ� หนดการอา้ งองิ ซำ�้ การอา้ งองิ แบบเชงิ อรรถนมี้ รี ปู แบบสำ� หรบั การอา้ งองิ ซำ�้ ในกรณที เ่ี คยอา้ งมาแลว้ และเรยี บเรยี งไว้ในหน้าเดยี วกัน มี 2 วิธี ดงั นี้ วิธที ี่ 1 เรอ่ื งเดยี วกนั = Ibid. (มาจากคำ� เตม็ ภาษาละตนิ วา่ Ibidem) ใชใ้ นกรณี อา้ งองิ ซำ�้ ตดิ กนั ไมม่ ีเชงิ อรรถอน่ื ค่นั วิธที ี่ 2 “ชือ่ ผแู้ ต่ง, ช่ือหนังสอื , เลขหนา้ ” ใชใ้ นกรณที ่ีอา้ งองิ ซ�้ำไมต่ ิดกัน โดยมี เชิงอรรถอ่ืนค่นั และไมไ่ ด้อ้างหนา้ เดมิ เขา้ นอก ออกใน 227
7. การเขียนบรรณานุกรม เอกสารอา้ งองิ ทกุ เรอ่ื งทป่ี รากฏในรายการอา้ งองิ ใหน้ ำ� มาเขยี นเปน็ บรรณานกุ รม ทุกรายการ มีหลักเกณฑด์ งั น้ี 1) จดั ทำ� รายการสงิ่ พมิ พภ์ าษาไทยกอ่ น ตามดว้ ยรายการสง่ิ พมิ พภ์ าษาตา่ งประเทศ 2) การอา้ งอิงท่ีเปน็ ตวั เลขใชเ้ ลขอารบกิ ทุกกรณี 3) เรยี งล�ำดบั ตามตวั อักษรของผ้แู ต่ง ก. เขียนชอ่ื ทุกคนทีร่ ่วมเขยี นเอกสารภาษาไทย ให้เขียนชอ่ื ทกุ คนเรยี ง กนั ไป คั่นด้วยจุลภาค (,) ข. คนสดุ ทา้ ยใหเ้ ชือ่ มด้วย “และ” เช่น วลั ลภ สนั ตปิ ระชา, ขวญั จติ ร สนั ติประชา, และชูศักดิ์ ณรงคเ์ ดช. ค. เอกสารทม่ี ผี เู้ ขยี นชดุ เดยี วกนั ใหเ้ รยี งลำ� ดบั ตามปี จากปที พ่ี มิ พก์ อ่ น- ปีทพ่ี ิมพ์หลงั ต่อๆ มา แตห่ ากเป็นปเี ดยี วกนั ให้ใส่ ก ข ค กำ� กบั ไวท้ พี่ ทุ ธศักราช หรอื A B C กำ� กบั ไวท้ คี่ รสิ ตศ์ กั ราชโดยเรยี ง ตามลำ� ดบั ของเลม่ ทพี่ มิ พก์ อ่ น-หลงั และตามลำ� ดบั ตวั อกั ษร ของชื่อเร่อื งส�ำหรับชอ่ื เร่อื งใหใ้ ชต้ ัวเอน ง. ชอ่ื ผแู้ ตง่ ในรายการถดั จากรายการแรกใหแ้ ทนช่ือผเู้ ขยี นด้วยการขดี เสน้ ใต้ จำ� นวน 16 เคาะ (8 ตวั อกั ษร) ตามดว้ ยจุด (.) จ. บรรณานุกรมท่ีมคี วามยาวเกนิ 1 บรรทดั ในการพิมพ์/เขยี นบรรทัด ท่ี 2 ใหเ้ ยื้องเข้าประมาณ ½ นว้ิ 4) ชอื่ เรอ่ื งหนงั สอื ชอ่ื บทความ ชอื่ วารสารภาษาตา่ งประเทศ ใหข้ น้ึ ตน้ ดว้ ยอกั ษร ตวั พมิ พใ์ หญ่ทุกค�ำ ยกเว้นคำ� บรุ พบทและสนั ธาน 5) หากไม่ปรากฏเมืองทีพ่ ิมพ์ ส�ำนักพิมพ์ ให้ใช้คำ� วา่ ม.ป.ท. หรือ n.p. หากไม่ ปรากฏปที ี่พมิ พใ์ หใ้ ชค้ ำ� ว่า ม.ป.ป. หรือ N.d. 6) ในกรณไี ม่มชี ื่อผู้แตง่ ผรู้ วบรวม ผู้แปล หรอื บรรณาธิการ ให้ลงรายการชอ่ื เรอื่ งแทน 7) ลำ� ดับการเขยี นและเครือ่ งหมายวรรคตอนให้ใชด้ งั น้ี 228 วารสารนติ สิ งั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ปีท่ี 9 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2559)
หนังสือ (1) ผ้แู ต่ง 1 คน ไทย ช่อื //สกลุ ./(ปพี มิ พ)์ ./ชือ่ เรอ่ื ง/(พมิ พ์ครง้ั ท่)ี ./สถานที่พิมพ:์ /ส�ำนักพมิ พ์. องั กฤษ สกลุ ,/อกั ษรยอ่ ชื่อ./(ปีพมิ พ์)./ชื่อเรือ่ ง./(พิมพค์ รงั้ ท่ี.)./สถานท่ีพมิ พ์:/ส�ำนกั พิมพ์. (2) ผ้แู ต่ง 2 คน ไทย ชื่อ//สกุล/และ/ช่ือ//สกุล./(ปีพิมพ์)./ชื่อเรื่อง/(พิมพ์คร้ังท่ี)./สถานท่ีพิมพ์:/ ///////ส�ำนกั พมิ พ.์ องั กฤษ สกุล,/อักษรย่อช่ือ.,/&/สกุล,/ช่ือ./(ปีพิมพ์)./ช่ือเร่ือง./(พิมพ์คร้ังที่)./สถานท่ี/ //////พิมพ:์ /สำ� นกั พิมพ.์ **ถา้ ผแู้ ตง่ มากกวา่ 3 คน ใหม้ เี พยี งชอื่ ผแู้ ตง่ คนแรก เวน้ วรรค แลว้ ตามดว้ ย “และอน่ื ๆ”หรอื et al** บทความบรรณาธิการ ไทย ช่อื //สกุล./(ปีพิมพ)์ ./ช่อื บทความ./ใน/ชื่อ//สกลุ บรรณาธกิ าร/ (บ.ก.),/ชอื่ หนงั สอื / ///////(เลขหนา้ )./สถานทพี่ มิ พ:์ /ส�ำนกั พิมพ.์ อังกฤษ สกุล,/อักษรยอ่ ช่ือ./(ปีพิมพ)์ ./ชื่อบทความ./In/สกุล,/ช่อื ./(Ed. หรือ Eds.),/ ///////ชอ่ื หนงั สอื /(เลขหนา้ )./สถานทีพ่ มิ พ์:/สำ� นักพิมพ.์ วารสาร ไทย ชอื่ //สกลุ ./(ปพี มิ พ)์ ./ชอ่ื บทความ./ชอ่ื วารสาร,/เลขของปที (่ี เลขของฉบบั ท)่ี ,/เลขหนา้ . องั กฤษ สกุล,/อักษรยอ่ ชื่อ./(ปีพมิ พ)์ ./ชื่อบทความ./ช่ือวารสาร,/เลขของปีท่(ี เลขของฉบบั ท)่ี ,/ ///////เลขหนา้ . หนังสอื พมิ พ์ ไทย ชื่อ//สกลุ ./(ปี,/วนั /เดือน)./ชอ่ื คอลัมน์./ช่อื หนงั สอื พิมพ์,/เลขหน้า. อังกฤษ สกลุ ,/อักษรย่อช่ือ./(ป,ี /เดือน/วนั )./ช่อื คอลมั น.์ /ชอ่ื หนงั สอื พมิ พ,์ /เลขหน้า. วทิ ยานพิ นธ์ ไทย ช่ือ//สกุล./(ปีที่เผยแพร่)./ช่ือวทิ ยานพิ นธ์./ระดับปรญิ ญา,/ชื่อสาขาวิชาหรือ ///////ภาควิชา/คณะ/ชอ่ื มหาวิทยาลยั . อังกฤษ สกุล,/อักษรย่อช่ือ./ช่ือวิทยานิพนธ์/(ระดับปริญญา)./ชื่อสาขาวิชาหรือภาควิชา/ ///////คณะ/ชอ่ื มหาวทิ ยาลยั . เข้านอก ออกใน 229
เวบ็ ไซต์ ไทย ช่ือ//สกลุ ผู้เขยี น./(ปีท่เี ผยแพร)่ ./ช่ือบทความ./สืบคน้ วันท่ี/xx/เดือน/ปี,/จาก/URL องั กฤษ สกุล,/อกั ษรย่อช่ือผเู้ ขยี น./(ปีที่เผยแพร่)./ช่อื บทความ./Retrieved/เดอื น/วนั ,/ป,ี ///////from/URL การสมั ภาษณ์ ไทย ชอื่ //สกุล./(ปี,/วัน/เดือน)./สัมภาษณ์โดยชือ่ /สกลุ ./ต�ำแหนง่ (ถา้ มี),/สถานท่ี. องั กฤษ สกลุ ,/อกั ษรย่อชอื่ ./(ป,ี /วนั /เดอื น)./Interviewed by/อกั ษรยอ่ ชอ่ื ./สกุล/ ///////[วธิ ีการบันทึก]./ตำ� แหนง่ ของผูถ้ กู สมั ภาษณ,์ /เมอื ง 230 วารสารนิติสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ ปีท่ี 9 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2559)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231