Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Other

Other

Published by taweelap_s, 2019-05-21 02:39:00

Description: Other

Search

Read the Text Version

แนวทางการจดั การเหมอื งขอ้ มลู ดว้ ย Google Sheets สาหรบั การออกแบบและ กาหนดยุทธศาสตร์องคก์ ร Data Mining Management Guidelines by Google Sheet for Designing and Formulating Corporate Strategies พรพรรณ วรี ะปรยี ากรู ผู้อานวยการสานกั ยทุ ธศาสตรแ์ ละตดิ ตามประเมินผล/อาจารยผ์ สู้ อน วทิ ยาลยั เซาธอ์ สี ทบ์ างกอก บางนา กทมฯ [email protected] บทสรปุ สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา เป็นอีกแหล่งข้อมูลปริมาณมากและหลากหลาย ท่ีต้อง ได้รบั การจดั การ วิธกี ารจัดการข้อมูลกระทาได้หลายหลายวิธี สาหรับวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ได้จัดทาเหมืองข้อมลู ด้วย Google Sheet เพ่ือออกแบบและกาหนดยุทธศาสตร์ของวิทยาลัยโดย ดาเนินการเชิงกระบวนการ 3 แนวทาง ได้แก่ 1) การหาความรู้ในฐานข้อมูลที่อยู่ในรูปไฟล์ต่างๆ เช่น Word หรือ Excel และ PDF สู่การออกแบบ ตัวแปรหรือชุดความรู้ใน Google Sheet 2) การจัดการเหมืองข้อมูลด้วย Google Sheets ท่ีใช้“กระบวนการออกแบบการวิเคราะห์ ข้อมูล” และสูตรเฉพาะท่ีจาเป็น เช่น ผลรวม ค่าเฉลี่ย ค่าความสัมพันธ์ 3) การออกแบบและ กาหนดยุทธศาสตร์องค์กร 4 มิติเพื่อการใช้ฐานข้อมูลของผู้บริหารในเชิงพยากรณ์ ทั้งในมิติ การวิเคราะห์ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความคุ้มค่า และความยั่งยืน การประยุกต์ใช้นี้นามาสู่ ข้อเสนอเชิงทฤษฎที ่วี ่า ทกุ สถานศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษา สามารถออกแบบและกาหนดยุทธศาสตร์ การบริหารฯ ด้วย Google Sheet 2 ชีทหลัก แต่แนวทางการจัดการเหมืองข้อมูลจะต้องไม่ แตกต่างจากประสบการณ์หรือความคุ้นชินในการจัดการกับข้อมูลต่างๆ แบบเดิมๆ ของ ผู้เกีย่ วขอ้ ง คาสาคญั แนวทางการจดั การ เหมืองข้อมูล Google Sheet ยทุ ธศาสตร์องค์กร บทนา การดาเนนิ งานต่างๆ ของสถาบันการศกึ ษาระดบั อุดมศึกษา เม่ือดาเนินการมากกว่า 1 ปี ขึ้นไปขอ้ มูลจะเร่ิมมากขึ้นในทุกงาน ท้ังงานบริหาร งานแผน งานงบประมาณ งานทะเบียน ฯลฯ การทาเหมืองข้อมูล (Data Mining: DM) ซึ่งเป็นกระบวนการจัดกระทาในเชิงวิเคราะห์หรือเชิง เทคนิคกับข้อมูลและสารสนเทศจานวนมาก (large information) ท่ีมุ่งเน้นการค้นหารูปแบบ และความสัมพันธ์ภายในชุดข้อมูล (Hand, D. and et al.: 2001) ท่ีเป็นความรู้ ความจริง ที่แฝง อยู่ในข้อมูลหรือสารสนเทศ ให้สามารถนามาใช้ในการวิเคราะห์หรือทานายสิ่งต่างๆ ท่ีจะเกิดขึ้น (useful information) ได้อย่างมีเหตุผล (valid information) โดยไม่ต้องมีการกาหนดคาส่ัง หรือภาษาเชิงโครงสร้างใด (Structured Query Language: SQL) ทาให้ผู้บริหารหรือผู้มีส่วน เกี่ยวข้องสามารถนาข้อมูลไปประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (actionable) หรืออย่างน้อย

ท่ีสุดสามารถสืบค้นข้อมูลท่ีเป็นชุดความรู้ที่เป็นประโยชน์ได้ง่าย สะดวก ถูกต้อง จากฐานข้อมูล ขนาดใหญ่ (Knowledge Discovery from very large Databases : KDD) อันนามาซ่ึงความ ได้เปรียบในการแข่งขันหรือการวางแผนเชิงกลยุทธ์ รวมถึงการบรรลุวัตถุประสงค์ในเชิงธุรกิจ (business object determination) วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก เป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาเอกชนแห่งหน่ึงท่ี ได้รับอนุมตั จิ ัดตง้ั เมื่อ 27 มนี าคม 2542 และได้รับการรับรองวิทยฐานะสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ในปพี .ศ. 2543 ปจั จบุ ันเปดิ การเรยี นการสอนทั้งหมด 6 คณะ 14 สาขาวชิ า ได้แก่ ระดับปริญญา ตรปี ระกอบด้วยคณะบญั ชีและ วิทยาการจัดการ (4 สาขา) คณะโลจิสติกส์และเทคโนโลยีการบิน (1 สาขา) คณะศลิ ปศาสตร์ (1 สาขา) คณะนติ ศิ าสตร์ (1 สาขา) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (5 สาขา) และระดับปริญญาโท คณะบัณฑติ วิทยาลัย (2 หลักสูตร 2 สาขาวิชา) ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง กับการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรต่างๆ วิทยาลัยได้จัดซื้อระบบปฏิบัติการหลายระบบเพ่ือ นามาใช้จัดการข้อมูลและสารสนเทศปริมาณมาก ให้เป็นระบบเกิดประสิทธิภาพต่อการจัดการ โดยจัดซื้อจากบริษัทวิช่ันเน็ต จากัด ท้ัง ระบบบริการการศึกษา (e-Registrar) ซ่ึงเป็นระบบ ทะเบียนนักศึกษาออนไลน์ ระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหาร (MIS/ ERP) ระบบสารบัญ อิเล็กทรอนกิ ส์ (e-Document) เป็นตน้ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลและสารสนเทศปริมาณมากท่ีเกี่ยวข้องกับงานด้านแผน เช่น แผนปฏิบัติการ แผนกลยุทธ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ต่างๆ ของวิทยาลัย ที่ปรากฏในรูปโครงการหรือ กิจกรรมพัฒนาหรือกิจกรรมนอกหลักสูตรสาหรับนักศึกษา บุคลากรภายใน และประชาคม ภายนอกวิทยาลัย ที่ต้องได้รับการจัดสรรงบประมาณและอนุมัติดาเนินการ ต้ังแต่อดีตจนถึง ปัจจุบัน ยังไม่มีระบบและกระบวนการจัดกระทากับข้อมูลเหล่าน้ีแต่อย่างใด ทาให้ข้อมูลและ สารสนเทศที่เกี่ยวข้องเหล่าน้ีมีสภาพเป็นเอกสารกระดาษที่ต้องใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บมาก ไม่ว่า จะเป็น โครงการพัฒนานักศึกษา เอกสารกิจกรรมพัฒนานักศึกษา เอกสารเกี่ยวกับการวัดและ ประเมินผลการจัดกิจกรรมหรือโครงการ เอกสารเกี่ยวกับการจัดการการเงินที่เกี่ยวข้อง รวมถึง ข้อมูลสถิติต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ได้แก่ สถิติจานวนโครงการในแต่ละไตรมาสหรือภาคการเรียน จานวนนักศึกษาหรือบุคลากรหรือ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เก่ียวข้อง จานวนเงินงบประมาณท่ีใช้ ฯลฯ ด้วยเหตุน้ีสานักยุทธศาสตร์และติดตามประเมินผล วิทยาลัยเซาท์อีสบางกอก จึงเร่ิม ดาเนินการจัดการความรู้ระยะท่ี 1 เม่ือ ตุลาคม 2561 ด้วยเครื่องมือสาคัญคือ การเรียนรู้จาก บทเรียนท่ีผ่านมา (lesson learn) ด้วยวิธีการถอดบทเรียนและคัดกรองปัญหาและความ ผิดพลาดที่เกิดจากการใช้ข้อมูลที่จัดเก็บแบบเอกสารกระดาษและไฟล์ เช่น PDF หรือ Word หรือ Excel ผลการวิเคราะห์พบว่า การใช้ข้อมูลหรือสารสนเทศจากเอกสารกระดาษและไฟล์ แบบต่างๆ ข้างต้น ไม่สามารถทวนสอบความผิดพลาดได้ ดังน้ันสานักยุทธศาสตร์ฯ จึงใช้ เคร่ืองมือจัดการความรู้แบบ “ทบทวนสรุปบทเรียน” (After Action Review: AAR) เพื่อค้นหา โอกาสและอุปสรรคในการใช้ข้อมูลและสารสนเทศ จนนามาสู่ข้อค้นพบท่ีว่า วิธีปฏิบัติท่ีดี (Best Practice) และแนวทางการปรับปรุงเพ่ือให้เกิดผลดีคือ “การทาเหมืองข้อมูล” โดยเฉพาะอย่าง ยิ่ง “การจดั ทาเหมืองข้อมูลด้วย Google Sheet” จึงนามาสู่ความสาคัญและความจาเป็นในการ จัดการความรู้เพ่ือค้นหาแนวปฏิบัติที่ดี เพ่ือนามาสู่แนวทางการออกแบบและกาหนดยุทธศาสตร์

องค์กรได้ในลาดับถัดไป ทั้งน้ีรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการดาเนินงานจัดทาเหมืองข้อมูลด้วย Google Sheet ดังกล่าวและผลเชิงอรรถประโยชน์ต่อการออกแบบและกาหนดยุทธศาสตร์ องคก์ รปรากฏรายละเอยี ดในหัวข้อถดั ไป วธิ ดี าเนนิ งาน ในการจัดการความรู้เพ่ือออกแบบและกาหนดยุทธศาสตร์องค์กรคร้ังนี้ ฐานการจัดการ ความรู้อ้างอิงจากแนวคิดทฤษฎีระบบ (System Theory) กล่าวคือ ในส่วนนาเข้า (input) จะ ประกอบด้วย ข้อมูล สารสนเทศและ Google Sheet ส่วนกระบวนการ (process) คือ กระบวนการจัดกระทากับข้อมูลและสารสนเทศ (ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง) ด้วยสูตรหรือฟังก์ชั่นท่ี เหมาะสมกับระดับและลักษณะของข้อมูลหรือสารสนเทศ โดยมีฐานคติเบ้ืองต้นท่ีจาเป็นในส่วน กระบวนการคือ ก) ข้อมูลหรือสารสนเทศนั้นมีระดับการวัด (level of measurement) ข) ชุด ขอ้ มลู ต่างๆ มคี วามสมั พนั ธ์ระหว่างกนั (inter correlation) สว่ นผลลัพธ์ปลายทาง (output) คือ ผลการประมวลและจัดกระทากับข้อมูลและสารสนเทศ ท่ีสามารถนาไปใช้เพื่อการออกแบบและ กาหนดแนวทางการดาเนินการตามยทุ ธศาสตร์องค์กรได้ สาหรับ“ยทุ ธศาสตร์องค์กร” ในการวจิ ัยนีม้ ีนยั หมายถงึ แนวทางทดี่ ีท่ีสุดท่ีกาหนดไว้เป็น กรอบหรือทิศทางการดาเนินการเพ่ือให้บรรลุวิสัยทัศน์ของวิทยาลัยฯ ที่ว่า “เป็นองค์กรที่สร้าง บัณฑิตนักปฏิบัติมืออาชีพ” ท่ีมีอัตลักษณ์ “ด้านการจัดการและเทคโนโลยี” การไปสู่วิสัยทัศน์ ดังกล่าวได้ จักต้องอาศัยองค์ประกอบสาคัญ 4 ส่วน ได้แก่ คุณภาพอาจารย์ การบูรณาการ แนวคดิ การสรา้ งบัณฑติ และคุณภาพงานวจิ ยั และบริการวชิ าการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง “การสร้าง บัณฑิต” ดังนั้นแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการ ด้วยเคร่ืองมือ “การจัดทาเหมืองข้อมูล ด้วย Google Sheet” น้ี ผู้วิจัยจึงให้นัยเช่นเดียวกับเครื่องมือท่ีเป็น “ฐานความรู้” (Knowledge Bases) เพราะการจัดทาเหมืองข้อมูลดังกล่าว เป็นการเก็บข้อมูลและสารสนเทศในเชิงตัวแปร หรือชุดความรู้ไว้อย่างเป็นระบบระเบียบ เป็นฐานข้อมูลที่ทาให้ฝ่ายบริหารและฝายปฏิบัติ สามารถนาไปใช้เพ่ือการบริหารจัดการงานท่ีเก่ียวข้องได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง ขณะเดียวกันมี เครื่องมือเชิงระบบคือ ระบบเครือข่ายส่ือสาร (Internet) สาหรับการจัดเก็บและการเข้าถึงได้ อย่างสะดวกทุกท่ที ุกเวลา ดังน้ันการวิจัยเรื่องนี้ ซึ่งเน้นการจัดการความรู้เพื่อออกแบบและกาหนดยุทธศาสตร์ องค์กร จึงจัดเป็นการพัฒนาองค์กรอีกรูปแบบหนึ่ง (OD: Organization Development) ท่ี มุ่งเน้นให้เกิด “การบริหารการเปลี่ยนแปลง” (change management) ในระดับยุทธศาสตร์ ปลายทางท่ีเน้นจึงมีทั้งประสิทธิภาพด้านการเงิน ด้านคุณภาพการศึกษา ด้านการให้บริการทาง การศึกษา รวมถึงท่ีส่งผลดีต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคลากรภายในวิทยาลัยฯ เพื่อสะท้อน วธิ ีดาเนินการ กระบวนการ และแนวทางการดาเนินงานจดั การความรู้ด้วย “ฐานความรู้” จึงสรุป ไดด้ งั น้ี

ภาพท่ี 1 การจัดการความรเู้ พื่อออกแบบและกาหนดยุทธศาสตร์วิทยาลยั เซาธ์อีสท์บางกอก ออกแบบโดย พรพรรณ วีระปรยี ากูร. 2562 ในการออกแบบและกาหนดยุทธศาสตร์องค์กร มีกระบวนการสาคัญ 2 กระบวนการ ได้แก่ กระบวนการคน้ หาความรใู้ นฐานข้อมลู วทิ ยาลัยฯ เพื่อทาความกระจ่างในข้อมูล การบูรณา การข้อมูล การเปล่ียนรูปข้อมูล และการลดปริมาณข้อมูล ก่อนเข้าสู่กระบวนการจัดทาเหมือง ข้อมูล ที่เน้นวิธีแบบท่ีเป็นขั้นตอนหรือกระบวนการ (Algorithm) เริ่มจากการแบ่งประเภทข้อมูล (Classification) ตามด้วยการจัดกลุ่มข้อมูล (Clustering) เพื่อระบุตัวแปรเป้าหมายที่ตรงกับ ความต้องการผู้ใช้งาน และการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลหรือตัวแปร (Association) เพื่อ นามาส่คู วามนา่ จะเปน็ ในการออกแบบและกาหนดยุทธศาสตรอ์ งค์กร Google Sheets เป็นซอร์ฟแวร์ มีการทางานคล้าย โปรแกรม Microsoft Excel ถูก นามาจดั การข้อมูลเก่ียวกับโครงการของวิทยาลัยฯ ในรูปแบบของตาราง ที่สามารถคานวณ และ สรา้ งฟอรม์ ตารางต่างๆ ผ่าน Internet (อินเตอร์เน็ต) ได้ ทาให้สามารถทางานได้หลาย ๆ เคร่ือง พร้อมกนั ท่สี าคญั สามารถคานวณความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรหรือข้อมูลและสารสนเทศปริมาณ มากที่เก่ียวข้องกับงานด้านแผนของวิทยาลัยฯ ท่ีปรากฏในรูปโครงการหรือกิจกรรมพัฒนาหรือ กิจกรรมนอกหลักสูตรท่ีต้องได้รับการจัดสรรงบประมาณและอนุมัติดาเนินการ สาหรับนักศึกษา บคุ ลากร และประชาคมภายนอกวทิ ยาลัย

ผลและอภปิ รายผลการดาเนนิ งาน ภายใต้กระบวนการเชิงขั้นตอนของการทาเหมืองข้อมูลในการวิจัยครั้งน้ีประกอบด้วย การคัดข้อมูลที่ไม่เกี่ยวข้องออก (Data Cleaning) การรวมข้อมูลท่ีมีหลายแหล่งให้เป็นข้อมูลชุด เดียวกัน (Data Integration) การดึงข้อมูลสาหรับการวิเคราะห์จากแหล่งที่บันทึกไว้ (Data Selection) การแปลงข้อมูลให้เหมาะสมสาหรับการใช้งาน (Data Transformation) การค้นหา รูปแบบที่เป็นประโยชน์จากข้อมูลท่ีมีอยู่ (Data Mining) การประเมินรูปแบบท่ีได้จากการทา เหมืองข้อมูล (Pattern Evaluation) การนาเสนอความรู้ที่ค้นพบ (Knowledge Representation) ได้นามาสู่ผลการดาเนินงาน เพื่อออกแบบหรือกาหนดแนวทางการจัดการ เหมืองข้อมูลด้วย Google Sheet สาหรับการออกแบบและกาหนดยุทธศาสตร์องค์กร ท่ีผลและ การอภปิ รายผลการดาเนนิ งาน สามารถจาแนก ได้ 3 ส่วน ดงั นี้ 1. ความรู้ในฐานข้อมูล จากการดาเนินงานกระบวนการค้นหาความรู้ในฐานข้อมลู วิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นข้อมูลในรูปไฟล์ Word หรือ Excel และ PDF โดยในเอกสารเหล่านี้จะมี แบบฟอร์มท่คี ลา้ ยคลึงกนั ประกอบด้วย ช่อื หน่วยงาน ลาดับท่ีโครงการ ชื่อโครงการ ชื่อกิจกรรม ข้อมูลพ้ืนฐาน (ประเภทโครงการ ลักษณะโครงการ) ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ วิทยาลยั ความสอดคลอ้ งกับการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน (สกอ.) ความสอดคล้องกับการ ประกันคุณภาพการศึกษาภายนอก (สมศ.) หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของโครงการ กลุ่มเป้าหมาย วิธีดาเนินการ สถานท่ีดาเนินการ งบประมาณ ดัชนีช้ีวัดความสาเร็จ ผลท่ีคาดว่า จะได้รับ การตรวจสอบจากผ้บู รหิ ารท่ีเกย่ี วข้อง และผลการประเมินโครงการ ผลท่ีได้จากการสกัดความรู้ท่ีซ่อนอยู่ในข้อมูลเหล่าน้ี (knowledge extraction) เมื่อ นามาวิเคราะห์สังเคราะห์ จัดระบบข้อมูล รวมถึง บูรณาการข้อมูล เปลี่ยนรูปแบบข้อมูล ลด รูปแบบข้อมูลตามกระบวนการของการค้นหาความรู้ พบว่า ข้อมูล สามารถจัดการได้ด้วย Google Sheet โดยใช้ชีทน้อยท่ีสุดได้ ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ชีท ชีทแรกจะเป็นการระบุจานวน โครงการแยกตามหนว่ ยงาน แยกตามไตรมาส แยกตามยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ภาพที่ 1 แสดงการออกแบบ “ความรูใ้ นฐานขอ้ มลู ” เพ่ือใชส้ าหรับการบริหารจัดการ

ภาพที่ 2 แสดง “การจดั ระบบเพ่อื บรู ณาการ เปลี่ยนรปู ข้อมลู และลดการซ้าซ้อนของข้อมูล” จากภาพท่ี 2 ซึ่งเป็นชีทที่ 2 ท่ีเน้นการจัดระบบเพื่อบูรณาการ เปลี่ยนรูปข้อมูลและลด การซ้าซ้อนของข้อมูล อันจะทาให้การกากับ ติดตาม ประเมินผลการดาเนินการเป็นไปได้อย่าง สะดวกต่อการใช้งาน ชีทท่ีออกแบบใหม่นี้ เป็นการนาข้อมูลท่ีมีอยู่ มาจัดระบบเพ่ือให้วิเคราะห์ และนาผลการวิเคราะหไ์ ปใช้ประโยชน์ในเชงิ บรหิ ารตอ่ ได้ ผลท่ีได้จากการออกแบบ ชีทที่ 2 คือ การวิเคราะห์ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความ คุ้มค่า และ ความย่ังยืนของการทาโครงการหรือกิจกรรม ท่ีวิเคราะห์จากข้อมูลที่มีอยู่ไม่ว่าจะ เป็นงบประมาณ ระยะเวลาท่ีใช้ จานวนคนเข้าร่วม ผลการประเมินความพึงพอใจด้านต่างๆ ต่อ โครงการ/กิจกรรมท่ีจัด กาไรท่ีเกิดข้ึน การได้เครือข่ายความร่วมมือ เป็นต้น ทั้งนี้การออกแบบ การวเิ คราะหไ์ ดท้ าการกาหนดสูตรคานวณพ้ืนฐานทีต่ ้องการไวใ้ นคอลมั น์ทีต่ ้องการ 2. การจดั การเหมืองขอ้ มลู ดว้ ย Google Sheets ภายหลังที่ผวู้ จิ ัยได้การออกแบบ “ความร้ใู นฐานขอ้ มลู ” ในกระบวนการน้ี ผู้วิจัยได้ออกแบบ “กระบวนการออกแบบการวิเคราะห์ ข้อมูล” โดยอาศัยสูตรท่ีจาเป็นสาหรับการวิเคราะห์ใน Google Sheets ซึ่งประกอบด้วย ผลรวม คา่ เฉล่ยี คา่ ความสัมพนั ธ์ รวมถงึ ค่าสถิตทิ ี่ใช้เพ่อื การพยากรณ์ได้ เมื่อขอ้ มูลถูกจัดระบบได้ ตามชีทท่ี 1 และ 2 ดังภาพข้างต้น ข้อมูลจะถูกจัดระบบ ท้ังน้ีข้อมูลท่ีเป็นถ้อยความหรือ

สารสนเทศจะถูกแปลงเปน็ ตัวเลข เพอ่ื สามารถนาไปใช้หรืองา่ ยตอ่ การวิเคราะห์ด้วยสถิติต่อได้ ไม่ วา่ จะเป็นการแปลงข้อมูลรายไตรมาส เช่น จานวนโครงการหรือกิจกรรมด้วย 0 และ 1 หรือการ ระบุระดบั ความพึงพอใจด้วยค่าเฉล่ีย อย่างไรกต็ ามเพ่ือให้งา่ ยต่อการนาไปใช้ของผู้บริหารที่ไม่เก่ง ในด้านสถติ ิ การจัดกลุ่มข้อมูลดว้ ย Google Sheets ผู้วิจยั ได้ออกแบบการจัดกลุ่มข้อมูลแบบใกล กัน (Nearest neighbor) โดยการรวมหน่วยที่คล้ายกันมากที่สุดเข้าไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน ซึ่ง นักวิชาการหลายท่านระบุว่า เป็นเทคนิค k-nearest neighbor ก่อนจะสร้างภาพข้อมูล (data visualization) ทสี่ ามารถนาข้อมูลบางส่วนไปจัดกระทาเชิงวิเคราะห์ผ่านโปรแกรมการวิเคราะห์ อื่นๆ ต่อได้ ผลที่ได้จากการจัดการในข้ันตอนนี้คือ จานวนชีทและสถิติหรือวิธีการวิเคราะห์ใน รายละเอยี ดประกอบของแต่ละชที 3. การออกแบบและกาหนดยทุ ธศาสตรอ์ งคก์ ร เมอ่ื กลา่ วถึงยุทธศาสตร์องคก์ ร ซ่ึงเปน็ ทิศทาง หรือนโยบาย ท่ีอาจรวมถึงกระบวนการท่ีวิทยาลัยฯ ต้องใช้ในการตัดสินใจสาหรับการ บรหิ ารจดั การทรัพยากรที่มีอยู่จากัด ให้สามารถสนองตอบต่อความต้องการ ความคาดหวังของผู้ มสี ว่ นได้สว่ นเสียน้นั ในการจดั การเหมืองข้อมลู ที่เก่ียวข้องด้วย Google Sheets สาหรับการวิจัย น้ี เน้นออกแบบผ่านมิติหรือประเด็นสาคัญ 4 มิติ ได้แก่ การวิเคราะห์ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความคุ้มค่า และความยั่งยืน เพ่ือนาผลมาใช้กาหนดและออกแบบหรือกากับทิศทาง การ ดาเนินงานของวิทยาลัยฯ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในส่วนของการกาหนดโครงการ/กิจกรรมหลักท่ี จาเป็นต่อการบริหารจัดการตามวิสัยทัศน์ พันธกิจของวิทยาลัย ผลที่ได้จากการใช้ Google Sheets ช่วยในการจัดทาเหมอื งขอ้ มูลคอื ไดร้ ูปแบบของขอ้ มูลทีง่ า่ ยและสะดวกต่อการวิเคราะห์ ผลท่ีได้จากการจัดการในข้ันตอนน้ีคือ ผลการวิเคราะห์ที่อยู่ในรูปของกราฟ หรือตาราง สรุป ทป่ี ระกอบดว้ ยผลการวเิ คราะหเ์ ชิงปรมิ าณ และคาอธบิ ายประกอบ ประเด็นการอภิปรายเพ่ิมเติมสาหรับผลการดาเนินการเชิงกระบวนการทั้ง 3 เม่ือ อภิปรายตามกระบวนการเชิงขั้นตอนของการทาเหมอื งข้อมูลในการวิจัย สรปุ ไดด้ ังน้ี 1. การคดั ขอ้ มูลทไ่ี มเ่ ก่ยี วข้องออก นับเป็นเรื่องสาคญั แต่เป็นเรื่องยากต่อการจดั การ เนื่องจากความต้องการในการใช้ข้อมูลของผู้บริหารแต่ละบุคคลมีฐานความเข้าใจต่อข้อมูล แตกต่างกัน ดังนั้นในการวิจัยจึงต้องอาศัย วิสัยทัศน์ และพันธกิจของวิทยาลัย รวมถึงหน้าที่เป็น ตัวกากบั เพ่อื ใหก้ ารคดั ข้อมูลที่ไม่เกยี่ วขอ้ งออกสามารถกระทาได้อยา่ งรวดเรว็ 2. การรวมขอ้ มูลท่มี หี ลายแหลง่ ให้เปน็ ขอ้ มลู ชดุ เดยี วกนั ปัญหาสาคัญอยูท่ ี่ สกุลไฟลท์ ี่ แตกต่างกันดังน้ันในการรวมแม้จะเป็นชื่อตัวแปรเดียวกันแต่ะระบบการจัดเก็บต่างกัน ดังน้ัน ผู้วิจัยต้องออกแบบวิธีการเก็บและบรรจุไว้ใน Google Sheets และเพื่อป้องกันความผิดพลาด หรือความคลาดเคล่ือนในการจัดการข้อมูล ดั้งน้ันการจัดเก็บส่วนใหญ่จะมีการลงรหัสข้อมูลด้วย 0 และ 1 เป็นหลัก แต่หากข้อมูลใดทุกส่วนงานเก็บไว้ในสกุลไฟล์แม้จะแตกต่างกันและมีรูปแบบ เดียวกัน ในการวิจัยจะเก็บตาม “ค่า” ของข้อมูลนั้นๆ เพื่อให้ง่ายต่อการนาไปใช้ เช่น ระดับ คา่ เฉลีย่ ของความพึงพอใจ หรอื จานวนเงิน/งบประมาณที่ใชจ้ ริง (บาท) เป็นต้น 3. การดึงข้อมลู สาหรับการวิเคราะหจ์ ากแหลง่ ท่ีบันทึกไว้ และการแปลงข้อมูลให้

เหมาะสมสาหรบั การใช้งาน ปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการย่อยนี้ ส่วนใหญ่เป็นเรื่องของการเก็บ ข้อมูลไว้ใน Google Sheets ท่ีผู้บริหารบางส่วนไม่สามารถใช้ข้อมูลตามช่องทางน้ีได้ ดังนั้นทาง แก้คอื ตอ้ งมกี ารออกแบบคมู่ ือการใช้งานไว้ 2 ระดับ ได้แก่ ระดับผู้ใช้ข้อมูลเชิงบริหารและระดับ ผู้ปฎบิ ตั กิ าร (ทั้งเก็บและกรอกข้อมูล) 4. การค้นหารูปแบบทีเ่ ป็นประโยชน์จากข้อมูลทมี่ ีอยู่ รวมทงั้ การประเมนิ รูปแบบที่ได้ จากการทาเหมืองข้อมูล และการนาเสนอความรู้ท่ีค้นพบ จุดสาคัญอยู่ท่ี “การนาเสนอ” ท้ัง ความรทู้ ่คี น้ พบ และวธิ กี ารหรอื แนวทาง ดงั น้ันการระบสุ ูตรหรือสถิติที่มากเกินไปเพ่ือประมวลผล ไว้ใน Google Sheets อาจส่งผลเสียต่อการใช้ข้อมูลโดยผู้บริหาร จึงควรเน้นเฉพาะสถิติพ้ืนฐาน เป็นสาคัญ สรปุ การจัดการเหมืองข้อมูลด้วย Google Sheet สาหรับการออกแบบและกาหนด ยุทธศาสตร์ของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก มีแนวทางเชิงกระบวนการ 3 แนวทาง ได้แก่ 1) การหาความรู้ในฐานขอ้ มูลทอี่ ยใู่ นรปู ไฟล์ Word หรอื Excel และ PDF เพ่ือนาสู่การออกแบบ ตัวแปรหรือชุดความรู้ใน Google Sheet 2) การจัดการเหมืองข้อมูลด้วย Google Sheets ด้วย “กระบวนการออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล” และสูตรที่จาเป็น เช่น ผลรวม ค่าเฉลี่ย ค่าความสัมพันธ์ ที่นาไปสู่การใช้ข้อมูลในเชิงพยากรณ์ได้ และ 3) การออกแบบและกาหนด ยุทธศาสตร์องค์กร ผ่าน 4 มิติเพื่อการใช้ฐานข้อมูลของผู้บริหารสาหรับการบริหารจัดการเชิง พยากรณ์ ได้แก่ การวิเคราะห์ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความคุ้มค่า และความย่ังยืน ข้อเสนอ เชงิ การประยกุ ตใ์ ช้ จากการวจิ ัยนส้ี ะทอ้ นว่า วทิ ยาลยั ฯ สามารถออกแบบและกาหนดยุทธศาสตร์ ด้วย Google Sheet เพียง 2 ชีทหลัก แต่ความรู้ท่ีผู้มีส่วนเก่ียวข้องและผู้บริหารได้รับและ สามารถใช้ข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในการจัดการความรู้และระบบการจัดการข้อมูลจะต้อง ไมแ่ ตกต่างจากประสบการณ์/ความค้นุ ชินในการจดั การกับขอ้ มลู ต่างๆ แบบเดิมๆ บรรณานกุ รม Hand, D., Mannila, H., & Smyth, P. 2001. Principles of Data Mining: Adaptive Computation and Machine Learning Series. MIT Press. Certo C.Samuel and Perter. 1990. Strategic Management: A Focus on Process. (New York: McGraw-Hill). Pearce, John A.,ll, and Richard B. Robinson, Jr. 1988. Strategic Management : Strategy Formulation and Inplementaion.

รูปแบบการนาเสนอแนวปฏิบัติทดี่ ี โครงการประชมุ สมั มนาเครอื ข่ายการจดั การความรู้ฯ คร้งั ท่ี 12 “การจัดการความร้สู มู่ หาวทิ ยาลยั นวัตกรรม” (Knowledge Management: Innovative University) สาหรบั อาจารย/์ บคุ ลากรสายสนับสนุน/ นกั ศึกษา ชอ่ื เรอ่ื ง/แนวปฏิบตั ิท่ดี ี การจัดการความรู้โดยใชเ้ ครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน์สาหรบั การทางาน ชือ่ -นามสกุล ผู้นาเสนอ อาไพ แจ้งบุญ ชื่อสถาบนั การศกึ ษา มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ หน่วยงาน สานักบริการคอมพิวเตอร์ เบอรโ์ ทรศัพท์มือถือ 0898824564 เบอรโ์ ทรสาร - E-Mail address [email protected]

การจดั การความรูโ้ ดยใชเ้ ครอื ข่ายสงั คมออนไลน์สาหรบั การทางาน Knowledge Management using Social Network for Work อาไพ แจ้งบญุ พชิ ญ์ วมิ ุกตะลพ วรเศรษฐ สวุ รรณิก สานักบรกิ ารคอมพิวเตอร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ [email protected] [email protected] [email protected] บทสรปุ บทความเสนอวิธีการนาเครือข่ายสังคมออนไลน์สาหรับการทางานท่ีช่ือ Workplace ไปใช้ในการจัดการ ความรู้ในงานธุรการ วัตถุประสงค์ของงานนี้คือเพ่ือให้บุคลากรสามารถทางานแทนกันได้ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ดังกล่าว การจัดการความรู้ต้องเข้าใจได้ง่ายและไม่เป็นภาระในการทางาน เรานาเสนอแนวทางปฏิบัติที่ดีในการ จดั การความรูโ้ ดยใช้ Workplace จากผลการปฏิบัติงาน เราสรปุ ได้เปน็ โมเดล Post-Share-Learn Summary This paper presents how to use a social network for work called Workplace for knowledge management in an administration section. The objective of this work is personnel can work in place of each other. To achieve the goal, knowledge management should be easy to understand and do not add any burden to an existing work. We presents our best practice for knowledge management using Workplace. From our practice, we formulate a Post-Share-Learn model. คาสาคัญ knowledge management, social network, facility management 1. บทนา งานธุรการ สานักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รับผิดชอบดูแลงานธุรการ ซ่ึงได้แก่ งาน รา่ งโต้ตอบ การลงทะเบียนรับส่งเอกสาร การค้นหาติดตามและจดั เก็บเอกสาร ตอ่ มามกี ารเพมิ่ งานดา้ นอาคารสถานที่ และงานด้านยานพาหนะเข้ามาอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของงานธุรการ ทาให้งานธุรการมีงานเพิ่มมากขึ้น โดย เฉพาะงานด้านอาคารสถานที่ซึ่งเป็นอาคารสงู 10 ช้ัน ซึ่งต้องดูแลความเรียบร้อย และบารุงรักษา ซ่อมแซมแก้ไขการ ชารุดของอุปกรณ์และตัวอาคารให้พร้อมใช้งาน ปัญหาท่ีพบส่วนใหญ่เป็นปัญหาจากการชารุดของอุปกรณ์ในอาคาร แต่ละปัญหามีผู้แก้ไขได้เพียงคนเดียวเท่าน้ัน ไม่สามารถทางานทดแทนกันได้ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในกรณีท่ีเจ้าหน้าท่ี หลักลาหยุดหรือติดภารกิจอ่ืน ในบางเร่ืองมีความสาคัญมากมีผลกระทบสูงต่อผู้ใช้บริการอาคาร เช่น ไฟฟ้าดับ หรือ ลฟิ ตค์ ้าง เป็นตน้ เพ่ือให้บุคลากรสามารถทางานทดแทนกันได้ จึงจาเป็นต้องนาการจัดการความรู้เข้ามาใช้ ซ่ึงในช่วงแรก ประสบปัญหาคือ บุคลากรไม่เข้าใจวิธีการจัดการความรู้ เนื่องจากบุคลากรส่วนใหญ่ในส่วนงานน้ีมีคุณวุฒิระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายหรอื เทียบเท่า การนากระบวนการจดั การความรูม้ าใช้ในการทางาน จึงไม่ควรบอกกล่าวพูดคุย

ด้วยภาษาทางวิชาการหรือใช้ศัพท์เทคนิค เช่น คุณกิจ คุณลิขิต [1] ควรใช้วิธีการพูดคุยด้วยภาษาง่ายๆ นอกจากน้ัน อีกปัญหาหนึ่งในการจัดการความรู้คือ บุคลากรมองว่าการจัดการความรู้เป็นภาระ หรือเพ่ิมภาระในการทางาน ซึ่ง อาจจะทาใหเ้ กดิ การต่อต้านหรือไมใ่ หค้ วามรว่ มมือ การจัดการความร้จู ึงต้องสามารถทาควบค่กู ันไปกับการปฏบิ ัติงาน โดยไมใ่ ห้เป็นภาระในการทางานประจา ประจวบกับการที่คณะกรรมการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีนโยบายให้ใช้ Workplace เป็นเครื่องมือในการจัดการความรู้ Workplace เป็นเครือข่ายสังคมออนไลน์สาหรับการทางาน เหตุผลที่ คณะกรรมการเลือกเครื่องมือดังกล่าวก็คือ มหาวิทยาลัยสามารถใช้ Workplace โดยไม่มีค่าใช้จ่าย [2] โดยสามารถ ใช้ได้จากทางเว็บเบราเซอร์ https://kasetsart.facebook.com (รูปท่ี 1) หรือใช้จากแอพ Workplace และ Workplace Chat ซึง่ มที ง้ั บน Android (รปู 2) และ iOS และอกี เหตุผลหนง่ึ กค็ อื ไม่ต้องเสยี เวลาเรียนรมู้ าก เนอ่ื งจาก Workplace คล้ายกบั Facebook เพราะท้ังคู่เปน็ บริการจากบรษิ ัท Facebook หัวหน้างานธุรการจึงได้ทดลองนา Workplace มาประยุกต์ใช้ในการจัดการความรู้ โดยมีเป้าหมายคือให้ บคุ ลากรสามารถทางานแทนกันได้ และไม่เพิม่ ภาระในการทางาน รปู ที่ 1 หน้าจอ Workplace ใช้งานผา่ นทางเวบ็ เบราเซอร์ 2. วิธีการดาเนินงาน การดาเนนิ เร่ิมจากการสร้างกลุ่ม ผ้ใู ช้ Workplace สามารถสร้างกลมุ่ ข้นึ มาเองได้ โดยกลุม่ มี 3 แบบคอื กลุ่ม เปิด, กลุม่ ปดิ , และกลมุ่ ลับ บุคลากรทกุ คนในมหาวิทยาลัยสามารถอ่านโพสท์ในกลุ่มเปิดได้ สว่ นโพสทใ์ นกลุ่มปิดและ กลุ่มลับจะอ่านได้เฉพาะสมาชิกกล่มุ เท่านัน้ บุคลากรในมหาวิทยาลยั สามารถค้นหาช่ือและขอเข้าร่วมกลุ่มที่เก่ียวขอ้ ง กบั การทางานหรือกลุ่มที่สนใจได้ แต่กลุ่มลับจะไม่สามารถถกู ค้นหาได้ งานธรุ การได้สรา้ งกลุ่มปิดที่มสี มาชิกเฉพาะทีม บุคลากรในงานธรุ การเพ่ือแลกเปลย่ี นเรยี นรูแ้ ละบันทึกการทางาน

รูปที่ 2 หน้าจอ Workplace บน Android การดาเนนิ งานในชว่ งเริม่ ต้น หัวหนา้ งานจะเปน็ คนเก็บภาพเข้าไปในกลมุ่ บน Workplace เอง ลกู ทีมสามารถ ทางานไปตามปกติ โดยไม่กระทบต่อการทางาน หัวหนา้ งานเป็นผูถ้ ่ายรูปหรือถ่ายวิดโี อเก็บภาพการทางานน้ันไว้ แล้ว อัพโหลดเป็นโพสท์เก็บบน Workplace จากนั้นให้ลูกทีมดูโพสท์รูปภาพหรือวิดีโองานของตัวเองบน Workplace พร้อมพูดคุยแนะนา Workplace ทาแบบนี้ไปสักระยะหน่ึง ลูกทีมเร่ิมคุ้นเคยกับการ “สร้างภาพ” ดีใจท่ีได้เห็นรูป ตวั เองทางานเก็บอยบู่ น Workplace ต่อมาภายหลัง ลูกทีมก็เริ่มถ่ายรูปการทางานของตนเก็บไวเ้ อง หัวหน้างานสอนใหต้ ิดต้ัง Workplace บนมือ ถือตนเอง แนะนาการใช้งานเบ้อื งต้น ลูกทีมสามารถอัพโหลดรปู ภาพโพสท์บน Workplace ได้ด้วยตนเอง จากลูกทีม หน่ึงคนใช้แอพ Workplace ได้ ขยายจนทุกคนมีแอพ Workplace ใช้งาน ปัจจุบันลูกทีมเป็นผู้ “สร้างภาพ” การ ทางานของตนเองได้แล้ว งานธุรการใช้ Workplace ในการจัดการความรู้ โดยใช้การโพสท์, การสร้างเอกสาร, ถ่ายทอดสด, และการ เก็บไฟล์ 2.1 โพสท์ (Post) ผู้ใช้ Workplace สามารถโพสท์ข้อความเข้าไปในกลุ่มและในไทม์ไลน์ของตนเองได้ โดยสามารถโพสท์เป็น ข้อความธรรมดา ข้อความท่ีมีการจัดรูปแบบ รูปภาพ วิดีโอ ฯลฯ เมื่อโพสท์ข้อความไปแล้วสมาชิกในกลุ่มสามารถ

แสดงความรู้สึกโดยกดไลค์ โดยเลือกได้ 6 แบบคือ Like, Love, Haha, Wow, Sad, Angry หรือสามารถเสนอความ คดิ เห็นโดยใชก้ ารคอมเมนต์ตอบไปท่โี พสท์ดงั กล่าวได้ สิ่งท่ีงานธุรการโพสท์ลงในกลุ่มใน Workplace ได้แก่ข้อมูลการปฏิบัติงาน ถ่ายภาพหรือบันทึกเป็นวิดีโอ ปญั หาทพ่ี บ ถา่ ยภาพหรอื บนั ทกึ เป็นวิดโี อการทางานและผลการทางาน แนวปฏิบัตทิ ีด่ ีในการโพสท์ไดแ้ ก่  การจดั รปู แบบข้อความ คอื การทาใหข้ ้อความมหี วั เร่ือง (heading), ตัวหนา, ตวั เอียง, ลิงค,์ รายการ bullet และ ลาดับเลข (รปู ท่ี 3) การจดั รปู แบบช่วยให้ข้อความนา่ อา่ นและอ่านได้เข้าใจงา่ ยมากขนึ้  การแท็ก (tag) ช่ือผู้เกี่ยวข้อง ซึ่งจะแจ้งเตือนไปหาบุคคลดังกล่าว และเป็นการสร้างลิงค์ไปหาโปร ไฟล์ของเขา Workplace มีข้อดีคือทุกบัญชีในนี้จะใช้ชื่อจริง นามสกุลจริง ทาให้ส่ือสารได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ไม่ต้องเดาว่าใครเป็นใคร และสามารถนามาใชเ้ ป็นนามานกุ รมหรือโทรศพั ท์ภายในได้ โดยใชแ้ อพ Workplace Chat ที่สามารถแชท, คยุ เสียง, คยุ ด้วยวิดโี อ ได้  การใส่ hashtag เพื่อจัดหมวดหมขู่ ้อความ เช่น #แมบ่ า้ น ชว่ ยให้สามารถคน้ หาโพสท์ตา่ งๆไดง้ า่ ยขน้ึ  การปักหมุดเพ่ือนาโพสท์ท่ีสาคัญท่ีสุดของกลุ่มไว้ด้านบน แต่ละกลุ่มสามารถมีโพสท์ที่ปักหมุดได้ 1 โพสท์ รูปท่ี 3 การจดั รูปแบบขอ้ ความในโพสท์ 2.2 เอกสารที่สามารถร่วมกนั แกไ้ ข ผู้ใช้ Workplace สามารถสร้างเอกสารท่ีสมาชิกในกลุ่มสามารถแก้ไขร่วมกันได้ (รูปที่ 4) เอกสารดังกล่าว สามารถจัดรูปแบบได้เช่นเดียวกับข้อความในโพสท์ แตกต่างตรงที่สมาชิกคนอ่ืนในกลุ่ม สามารถเข้ามาช่วยกันแก้ไข เอกสารน้ีได้ งานธุรการใช้คุณสมบัตินี้ในจัดเก็บปัญหาการทางาน ข้อมูลของหาย เรื่องร้องเรียน ซึ่งทุกคนในกลุ่มสามารถ เข้ามาเขยี นปญั หาเพ่ิมเติม หรือแจ้งรายการของหาย และการร้องเรียน ได้ แนวปฏบิ ตั ทิ ด่ี ีในการสรา้ งเอกสารทแ่ี ก้ไขร่วมกนั ได้มดี งั นี้

 ใส่รูปภาพไว้ทด่ี ้านบนของเอกสาร เพ่อื ใหม้ ีความน่าสนใจ และค้นหาไดง้ า่ ยขึ้น  เอกสารชนิดน้ีต่างจากโพสท์ตรงท่ีสามารถวางรูปไว้ในเอกสารระหว่างข้อความได้ (ผู้ใช้สามารถ โพสท์รูปและขอ้ ความได้ แต่จะแยกเกบ็ ไวค้ นละสว่ น) การใช้รูปช่วยใหเ้ ขา้ ใจไดช้ ดั เจนขนึ้ 2.3 ถ่ายทอดสด (Live) ผู้ใช้ Workplace สามารถถา่ ยทอดสด (live) ได้นานถึง 4 ช่วั โมงโดยใช้แอพ Workplace บนโทรศัพท์มือถือ สมาชิกกลุ่มจะได้รับการแจ้งเตือนเมื่อมีการไลฟ์ในกลุ่ม และสามารถดูวิดีโอย้อนหลงั ได้ ข้อดีของการไลฟ์คือไม่เปลือง พ้ืนท่ีในการบันทึกวิดีโอลงใน SD card และไม่ต้องเสียเวลาอัพโหลดวิดีโอเข้าไปในระบบ นอกจากการไลฟ์เข้าไปใน กลมุ่ แลว้ ผู้ใชส้ ามารถไลฟ์ลงในไทม์ไลน์ของตนเอง หรือไลฟ์เขา้ ไปในกจิ กรรม (event) ในกลุ่มได้ งานธุรการใช้การไลฟ์เพ่ือบันทึกข้ันตอนการทางานหรือการแก้ปัญหา การจัดเก็บความรู้ด้วยวิธีนี้มีข้อดีคือ เข้าใจได้ง่าย เน่ืองจากหน่ึงภาพมากกว่าหนึ่งพันตัวอักษร และในหน่ึงคลิปวิดีโอมีภาพเป็นจานวนมาก ทาให้เข้าใจ วิธีการได้ง่ายขึ้นและทาให้การจัดเก็บความรู้ไม่เป็นภาระในการทางาน เนื่องจากไม่ต้องเรียบเรียงและเขียนเป็น เอกสาร แนวปฏิบตั ิทีด่ ีในการไลฟ์ไดแ้ ก่  ในกรณีท่ีบันทึกขั้นตอนการทางาน ผู้บันทึกควรจะอธิบายด้วยเสียงท่ีดังฟังชัด ตั้งคาถามเพื่อดึง ความรู้ หรือยา้ สรุปคาพูดของผู้ถูกบนั ทกึ เนื่องจากผถู้ ูกบนั ทึกอาจจะอยู่ไกลออกไป ทาใหไ้ ดย้ ินเสียง ไมช่ ัดเจน  ในกรณีที่ไม่คุ้นเคยกับผู้ถูกบันทึก เช่นมาจากต่างหน่วยงาน ควรจะต้องพูดคุยสร้างความสนิทสนม กอ่ น  ใชโ้ ทรศพั ทม์ อื ถือท่ไี มโครโฟนบนั ทกึ เสียงได้ชดั เจน เพ่ือให้ผ้ฟู ังเขา้ ใจเนอื้ หาได้ง่ายขึน้  ใชไ้ ม้กันสน่ั เช่น DJI เพ่อื ช่วยให้ผชู้ มดูไดส้ บายตา  ใช้โทรศพั ท์มอื ถอื ท่สี ามารถซมู ไดด้ ี เนอื่ งจากในบางครง้ั เราไมส่ ามารถเขา้ ไปใกล้สงิ่ ท่ีเราจะบนั ทกึ ได้ 2.4 เกบ็ ไฟล์ (Files) Workplace ให้พื้นท่ีจัดเก็บไฟล์ รูปภาพ และวิดีโอไม่จากัด [3] โดยสามารถเก็บไฟล์ pdf, doc, ฯลฯ โดย สามารถเก็บไฟล์ช่ือเดียวกันเป็นหลายเวอร์ชันได้ ทาให้การจัดการเวอร์ชันทาได้สะดวก ไม่ต้องใส่เลขเวอร์ชันในชื่อ ไฟล์ และสามารถย้อนไปดูเวอรช์ ันก่อนหนา้ ได้ งานธรุ การใช้คุณสมบตั ินี้ในการเกบ็ สญั ญาแมบ่ า้ นและรปภ. แนวปฏบิ ตั ทิ ดี่ ีในการเกบ็ ไฟลไ์ ด้แก่  ต้ังชื่อไฟล์ให้ตรงกับเน้ือหาของไฟล์  หากมีการเปล่ียนแปลงแก้ไขเนื้อหาในไฟล์ ควรแก้ไขและบันทึกด้วยชื่อเดิม แล้วอัพโหลดข้ึนไปใหม่ Workplace จะเกบ็ ไฟล์ใหม่และเกา่ ดว้ ยชอื่ เดียวกนั แตค่ นละเวอร์ชัน

 หลีกเล่ียงการเก็บไฟล์เป็นจานวนมาก ในกรณีที่เป็นเร่ืองเดียวกันสามารถเขียนแยกออกเป็นบท โดยรวมใหอ้ ยูภ่ ายในไฟลเ์ ดยี วกัน รูปท่ี 4 การแก้ไขเอกสารร่วมกนั 3. ผลและอภปิ รายผลการดาเนินงาน งานธุรการ สบค. ดาเนินงานการจัดการความรู้ผ่าน Workplace โดยไม่ใช้กระดาษ และการใช้ Workplace ทาให้มีองค์ความรู้ให้ทุกคนเข้ามาศึกษาเรียนรู้ ค้นหา เปิดดูได้จากทุกท่ีทุกเวลา ค้นหาได้ง่าย บุคลากรงานธุรการ สบค. ร่วมกันโพสท์ความรู้หรือการปฏิบัติงานเก็บบน Workplace เป็นประจาอย่างสม่าเสมอ ในกลุ่มปิดของงาน ธุรการมโี พสท์เปน็ จานวนประมาณ 600 โพสท์ ตงั้ แตส่ รา้ งกลุ่มเมื่อเดือนกรกฎาคม 2560 ถงึ มกราคม 2562 การจัดเก็บความรู้โดยการโพสท์รูปถ่าย หรือการไลฟ์ มีความเหมาะสมกับการจัดเก็บความรู้ของงานอาคาร สถานที่ เน่ืองจากไม่ต้องเสียเวลาเรียบเรียงข้อความเขียนเป็นเอกสาร สามารถศึกษาได้จากการชมภาพหรือวิดีโอ ซ่ึง ลูกทีมชอบมากกว่าการอ่านเอกสาร และตอบโจทย์คือบุคลากรสามารถทางานทดแทนกันได้ ได้เรียนรู้เสริมทักษะ ความสามารถให้ทางานท่ีไม่เคยปฏิบัติได้ สามารถทางานทดแทนกันได้ เนื่องจากอาคารสานักงานขนาด 10 ช้ัน มี ปัญหาการชารุดของอุปกรณ์ในอาคารเป็นจานวนมาก เจ้าหน้าท่ีได้สอนเพ่ือนร่วมงาน รวมทั้งแม่บ้าน ให้ทดลอง ปฏบิ ตั ิ และสามารถแก้ไขปัญหาดว้ ยตนเองได้ เชน่ แกไ้ ขปัญหาของสุขภัณฑ์ ไดแ้ ก่ ปัญหาส้วมเตม็ ปญั หานา้ จากก๊อก ไหลไม่หยุด ปญั หาสาย/หัวฉดี ชาระชารดุ หรือเสยี ดังแสดงในตารางถัดไป

รายการ เดิม หลงั การแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ หมายเหตุ แก้ปญั หาไฟฟา้ ดับเบือ้ งต้น 0 5 จ า ก เ ดิ ม ป ฏิ บั ติ โ ด ย แก้ปัญหาลิฟต์คา้ งชว่ ยคนออกจากลิฟต์ แก้ปัญหาสุขภัณฑ์ นักวิชาการโสตฯ มาเป็น สง่ เอกสารแทนกนั จนท.ธรุ การ รา่ งหนังสอื ราชการ 0 4 ปฏิบัติจรงิ + ซอ้ ม 1 9 พ นั ก ง า น ส ถ า น ที่ ส อ น เ พ่ื อ น แ ล ะ แ ม่ บ้ า น ใ ห้ สามารถแก้ไขปัญหาได้ + ทาคลิปเพิ่มแม่บ้านปฏิบัติ 1 3 ปฏิบัตจริง 1 12 ปฏบิ ตั จิ รงิ นอกจากน้ัน การใช้คุณสมบัตขิ อง Workplace เชน่ การโพสท์รูปถ่ายหรือการสร้างเอกสารทแี่ ก้ไขรว่ มกนั ทา ให้ได้ทราบปัญหา ส่งผลให้เห็นปัญหาร่วมกันได้ทันทีโดยไม่ต้องนัดประชุม ทาให้เข้าใจปัญหาได้ง่ายขึ้นเน่ืองจากเห็น ภาพถ่ายของจรงิ นาไปสกู่ ารชว่ ยกันวางแผนการพฒั นาและปรบั ปรงุ แก้ไขปญั หา เปน็ การทาวงจรคุณภาพ PDCA การโพสท์รูปทาให้มีหลักฐานผลงานเก็บไว้เป็นประวัติการทางานของตนเอง ก่อให้เกิดความภูมิใจ ได้เห็น ปัญหาหรือจุดท่ีควรปรับปรุง เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาต่อไป และที่สาคัญมากคือก่อให้เกิดความสามัคคี ร่วมแรงร่วมมอื กันทางานมากขึ้น เนื่องจากเพ่ือนร่วมงานได้เห็นว่า ใครทางานอะไร ที่ไหน มีผลงานให้เห็นเป็นท่ีประจักษ์ ซึ่งแต่เดิม ไม่ทราบกัน เกิดการเกี่ยงงาน ไม่ช่วยเหลือกัน เพราะแต่ละคนก็มีหน้าภาระหน้าท่ีหลักประจากันทุกคนอยู่แล้ว การ เก็บขอ้ มลู บน Workplace ทาใหเ้ กิดความเขา้ ใจกนั มากขึ้น มคี วามสามคั คี และทางานอย่างมีความสขุ การจัดการความรู้ของงานธุรการเป็นตัวอย่างนาร่องให้หน่วยงานในมหาวิทยาลัยที่สนใจนา Workplace มา ใช้ร่วมกับการจัดการความรู้ ไปประยุกต์ใช้กับหน่วยงานของตนเองได้ แบ่งปันความรู้การใช้ Workplace กับการ จดั การความรู้ให้หน่วยงานอ่นื เช่น สานักหอสมดุ สานกั งานประกนั คณุ ภาพ นอกจากเร่ืองต่างๆท่ีได้กล่าวมาแล้ว การดาเนินจัดการความรู้โดยใช้ Workplace ที่งานธุรการได้ทามา สามารถนาไปสรุปเปน็ โมเดลการจัดการความรู้แบบทเ่ี ข้าใจไดง้ ่าย ดังจะกลา่ วถงึ ในสว่ นถัดไป 4. โมเดลที่ใชใ้ นการจดั การความรู้ จากการดาเนินงาน สามารถสรุปเป็นโมเดลการจัดการความรู้ช่ือ PSL ย่อมาจาก Post–Share-Learn ประกอบดว้ ย 3 กระบวนการ แบ่งตามสี โดย Post แทนด้วยสีชมพูเข้ม Share แทนด้วยสที อง และ Learn แทนดว้ ย สฟี ้า ดังรูปท่ี 5

รูปที่ 5 โมเดล PSL Post (จัดเก็บความรู้) คือ การทางานควบคู่กันไปกับการจัดเก็บความรู้ ในรูปแบบต่างๆ เช่น โพสท์ข้อความ รปู ภาพ ไลฟ์วิดีโอ กระบวนการนีใ้ ช้สัญลักษณล์ กู ศรช้ีข้นึ หมายถึงการจัดเกบ็ ความรขู้ ้นึ ไปในระบบคลาวด์ Share (แลกเปล่ียนเรียนรู)้ คอื การแบง่ ปันแลกเปลี่ยนความรู้ กระบวนการนใ้ี ช้สญั ลักษณล์ กู ศรชส้ี องทศิ ทาง แสดงถงึ การแลกเปลยี่ น ซึ่งอาจจะเป็นการแสดงความคิดเห็น และเสนอแนวทางแก้ไขปรับปรุง เพ่อื นร่วมงานสามารถ เปิด Workplace เข้ามาเปิดอ่านศึกษาเรียนรู้ได้ทั้งหมดจากทุกอุปกรณ์ ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์มือถือ ได้ทุกทท่ี ุกเวลา สามารถแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ เขยี นแสดงความคดิ เหน็ สอบถามปัญหาข้อสงสยั หรือให้ขอ้ เสนอแนะ ทกุ คนสามารถเขียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันได้ตลอดเวลา รวมถึงการพูดคุยสนทนากันโดยตรงด้วย ท้ังหมดเป็นการ แบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ Learn (ทวนสอบเรียนรู้) คือ การประมวลและกล่ันกรองความรู้ นาไปพัฒนาแก้ไขปรับปรุงเป็นวงจรการ เรียนร้อู ยา่ งต่อเนอื่ ง เชน่ อาจจะนาโพสทส์ าคัญมาปกั หมดุ ไว้ท่ีด้านบนสุดของกลุ่ม รวบรวมเร่ืองทเ่ี กี่ยวข้องเขา้ ดว้ ยกัน ไว้เปน็ โพสทเ์ ดียวโดยสร้างเปน็ ลิงค์ไปยงั โพสท์ต่างๆ แก้ไขโพสท์ทเ่ี ป็นขอ้ ความ จัดทาวิดีโอเรอื่ งเดมิ ข้ึนมาใหม่ให้เข้าใจ ไดง้ ่ายขน้ึ หรอื อธบิ ายไดค้ รบถว้ นสมบูรณม์ ากขน้ึ กระบวนการของโมเดล P-S-L ประกอบด้วยข้ันตอนย่อย มีความสัมพันธ์กัน ดังแสดงในรูปที่ 6 เริ่มต้นจาก ปัญหาหรือตัวงาน เมื่อมีการทางานเพ่ือแก้ไข ก็จะจัดเก็บความรู้ไปพร้อมๆกันโดยแทบจะไม่เกิดภาระเพิ่มเติมในการ ทางาน เม่ือมีโพสท์เก็บความรู้เป็นจานวนมากขึ้น จะยากสาหรับการค้นหาความรู้ จึงใช้วิธีแบ่งหมวดหมู่จัดลาดับ ความสาคัญของความรู้ จัดทาเป็นโพสท์ของสารบรรณความรู้ แบ่งกลมุ่ ความเรอ่ื ง เชน่ เร่ือง ไฟฟ้า ลิฟต์ สขุ ภณั ฑ์ เปน็ ต้น ในแต่ละกลุ่มก็รวบรวมชื่อความรู้ต่าง ๆ ตามลาดับความสาคัญพร้อมทาลิงค์เชื่อมโยงไปยังโพสท์ความรู้ดังกล่าว นนั้ โดยปกั หมดุ โพสท์สารบรรณไว้ ผู้ใช้สามารถเข้ามาเปิดอ่านโพสท์ความรู้ท่ีตอ้ งการไดต้ ลอดเวลา ศึกษาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมกันได้ โดย เขยี นขอ้ ความแสดงความคิดเหน็ สอบถามเร่ืองทส่ี งสัยไม่เขา้ ใจ หรอื ให้ข้อเสนอแนะได้ เจ้าของโพสท์สามารถเข้ามาทวนสอบความรู้ พิจารณาข้อความแสดงความคิดเห็นต่าง ๆ ของเพ่ือนร่วมงาน หากความรเู้ รอ่ื งใดยังไมส่ มบูรณ์ ใหห้ าแนวทางปรับปรุงความรู้ใหด้ ียง่ิ ข้นึ แลว้ เลอื กวิธกี ารปรับปรุงทเ่ี หมาะสมที่สุดมา ดาเนนิ การปรบั ปรงุ วธิ ีการแกไ้ ขปัญหาหรือการถ่ายทอดความรู้ใหม้ ีเนื้อหาความรู้กระชบั สมบรู ณ์ เขา้ ใจง่ายทสี่ ุด แลว้ วนซ้านาไปปฏิบัติ ทางาน จัดเก็บความรู้ แบ่งหมวดหมู่ความรู้จัดลาดับความสาคัญ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จนได้ ความร้ทู ่ีสมบรู ณ์

รูปที่ 6 การเชอื่ มโยงภายในโมเดล PSL 5. สรปุ Workplace เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการส่ือสารในองค์กร โดยท่ีใช้บัญชีที่เป็นชื่อจริง ทาให้การส่ือสารภายใน องค์กรทาได้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทุกคนในองค์กรสามารถติดต่อสื่อสารกันได้โดยใช้ช่ือจริงในการค้นหา ไม่ต้อง เสียเวลาสแกน QR code เพอ่ื เพิม่ เพือ่ น และในการสนทนาในกลุม่ ใหญ่ไม่ต้องเดาวา่ ใครเป็นใครในกรณีที่ใช้นามแฝง บทความนี้เราได้นา Workplace มาใช้ในการจัดการความรู้ Workplace ซึ่งได้รับการสนับสนุนจาก Facebook ให้สถานศึกษาหรือหน่วยงานไม่แสวงหาผลกาไรใช้งานได้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย [3] และใช้ซอฟต์แวร์ท่ี เกี่ยวข้องอื่นที่เป็นฟรีแวร์ ได้แก่ OBS (Open Broadcaster Software) และ ZoomIt โดยได้นาเสนอโมเดล Post Share Learn ซึ่งเหมาะสมและตอบโจทยง์ านธรุ การ นอกจากการนั้น เรายังสามารถบูรณาการขยายผลต่อไปยังการใช้บริการอื่นๆ เช่น ทาบอทเรื่องการจองใช้ รถยนต์ บอทเรื่องการแจ้งหนังสือเวียนอิเล็กทรอนิกส์ การส่งข้อมูลสลิปเงินเดือน การแจ้งเตือนข้อมูลมลภาวะฝุ่น PM2.5 เปน็ ต้น บรรณานกุ รม [1] เฉลิมพล ประเสริฐสังข์, “บทบาทการดาเนินงาน และทักษะ คุณเอ้ือ คุณอานวย คุณกิจ คุณลิขิต”, Retrieved January 27, 2019, from https://www.gotoknow.org/posts/540286 [2] Facebook, “ใช้ Workplace แบบถาวร: ฟรีสาหรับองค์กรไม่แสวงหาผลกาไรและการศึกษา”, Retrieved January 26, 2019, from https://web.facebook.com/workplace/workplaceforgood?path= workplaceforgood [3] Facebook, “การกาหนดราคาของ Workplace: รายการฟีเจอร์ในแพ็คเกจต่างๆ”, Retrieved January 26, 2019, from https://www.facebook.com/workplace/pricing?path=pricing

เทคนคิ การจดั ทาวารสารวิชาการเพ่ือรองรับการเข้าสู่ฐาน TCI Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University Research Journal management technique based on TCI standard ศรินยา โพธ์นิ อก1, เลิศชาย สถติ ยพ์ นาวงศ์2, สจุ ิตกลั ยา มฤครฐั อินแปลง3 และสุขรกั ษ์ แซ่เจย่ี 4 สถาบนั วจิ ัยและพัฒนา1 คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี2,3,4 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา [email protected], [email protected], [email protected], [email protected] บทสรุป การดาเนินการจัดการความรู้นี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจและให้แนวทางในเทคนิคการจัด จดั ทาวารสารวิชาการราชภัฏกรงุ เก่าเพ่ือรองรับการเข้าสฐู่ าน TCI ท่ชี ดั เจนและเปน็ รปู ธรรมมากขึน้ เพ่ือให้เป็นองค์กร แห่งการเรียนรู้ โดยใช้บุคลากรของสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา จานวน 13 คน โดยดาเนินการจัดประชุมแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างบุคลากรภายในหน่วยงาน 8 ครั้ง โดย บุคลากรของสถาบันวิจัย และพัฒนาได้พูดคุย แลกเปล่ียนเรียนรู้ ด้านประสบการณ์เทคนิคการจัดทาวารสารวิชาการเพ่ือรองรับการเข้าสู่ฐาน TCI ซ่ึงแต่ละคนได้นาเสนอวิธีการปฏิบัติเฉพาะตัว ท่ีทาให้การประสานงานของตนประสบความสาเร็จ หรือไม่สาเร็จ ซ่ึงผลการดาเนินงานพบว่าความรู้ท่ีได้จากความรู้ที่ฝังในตัวบุคคล หรือความรู้ที่เห็นชัดแจ้ง ถูกจัดรวบรวมให้เป็น ระบบ และถูกนามาวิเคราะห์สรปุ เพื่อสร้างเป็นเทคนิคจัดทาวารสารเพ่ือรองรับการเข้าสู่ฐาน TCI โดย มีขั้นตอนดังนี้ คือ 1. การเลือกกองบรรณาธิการผู้ทรงคุณวุฒิ 2. การกาหนดรูปแบบเล่มวารสาร 3. การคัดเลือกบทความท่ีมี คุณภาพเพ่ือลงตีพิมพ์ในวารสาร 4. เกณฑ์อายุวารสารของฐาน TCI 5. การประชาสัมพันธ์วารสารเพ่ือให้เป็นที่รู้จัก 6. การเก็บหลักฐานเพื่อเตรียมรับการตรวจสอบจาก TCI ซ่ึงจากผลการจัดการเรียนรู้พบว่าปัจจุบันบุคลากรภายใน หน่วยงานสามารถปฏิบัติงานแทนเจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบได้ทุกท่าน และทาให้ระบบการจัดทาวารสารมีประสิทธิภาพ และผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพวารสารเข้าสู่ฐาน TCI กลุ่ม 2 นอกจากน้ันหน่วยงานระดับคณะ และสถาบันของ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ได้นาความรู้ไปใช้เพ่ือเตรียมจัดทาวารสารวิชาการเพื่อรองรับการเข้าสู่ฐาน TCI ซึ่งพบวา่ วารสารวทิ ยาการจัดการปริทัศน์ สาขามนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ไดผ้ ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพ วารสารเข้าสฐู่ าน TCI กล่มุ 2 เชน่ เดียวกนั คาสาคญั วารสารวชิ าการ ดชั นอี า้ งองิ วารสารไทย ความรู้ฝังลึก ความร้ภู ายนอก การจัดการความรู้ Summary The objective of this knowledge management (KM) was to establish the understanding of Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University Research Journal management towards the TCI standards. The proposed KM technique was achieved by the Research and Development team cooperation of Phranakhon Si Ayutthaya Rajchabhat University. Based on the TCI standards, 8 times of team meetings were conducted in order to extract each staff’s tacit on how to manage the journal system. Both tacit and explicit knowledge were organized and analyzed for obtaining the Journal management technique, which includes the following concepts: 1. Editorial team selection, 2. Journal template, 3. Quality journal selection, 4. TCI’ s time requirement 5. Public relation 6. Document collecting for TCI assessment. Therefore, all staff understands all the proposed KM concepts and can effectively manage the Journal, which is now certified by TCI (2nd group) standard. Moreover, other departments in the university have been used our proposed KM

concepts to organize and manage their Journals until one of them was certified by the TCI (2nd group) standard as well. Keywords Research journal, Thai-Journal citation index, Tacit knowledge, Explicit knowledge, Knowledge management บทนา เนื่องด้วยสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยามีพันธกิจหลักทั้งหมด 5 ด้าน คือ 1) ส่งเสริม สนบั สนนุ ให้บคุ ลากรของมหาวทิ ยาลัยผลิตงานวิจยั งานสร้างสรรค์เพื่อสรา้ งองค์ความรู้ใหม่นาไป สคู่ วาม เป็นเลิศทางวิชาการ และสร้างความเข้มแข็งให้ท้องถิ่นสังคม 2) ส่งเสริม สนับสนุน ให้เกิดความร่วมมือในการทางาน วิจัยรูปแบบของเครือข่ายวิจัยในภาครัฐและเอกชน ทั้งระดับท้องถิ่น ระดับชาติและนานาชาติ 3) ส่งเสริม สนับสนุน การเผยแพร่งานวิจัยทั้งระดับชาติและนานาชาติ การนาผลงานวิจัยงานสร้างสรรค์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อท้องถิ่น และประเทศชาติ 4) ส่งเสริม สนับสนุนงานบริการวิชาการ งานถ่ายทอดเทคโนโลยี การนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ เพอื่ ใหเ้ กิดประโยชน์ต่อท้องถิ่น และประเทศชาติ และ 5) พัฒนาระบบสนับสนุนงานวจิ ัย ระบบประกันคุณภาพ งานวิจยั ประสานหรือดาเนนิ การวจิ ยั สถาบนั เพ่ือเปน็ ขอ้ มูลสาหรบั การวางแผนพัฒนามหาวิทยาลัย จากพันธกิจดังกล่าวข้างต้น ทาให้สถาบันวิจัยและพัฒนามีการบริหารจัดการงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่มี คุณภาพโดยมีแนวทางการดาเนินงานที่เป็นระบบและมีกลไกส่งเสริมสนับสนุนครบถ้วนเพ่ือให้สามารถดาเนินการได้ ตามแผนท่ีกาหนดไว้ ทั้งนี้กระบวนการส่งเสริมการเผยแพร่ผลงานวิจัย เพ่ือผลักดันไปสู่การใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ นับว่ามีความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง และเป็นการสะท้อนคุณภาพของผลงานวิจัย ซ่ึงสถาบันวิจัยและพัฒนาดาเนินการ จัดทาวารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และพัฒนาระบบการจัดทาวารสารอย่าง ต่อเนื่อง ซึ่งแนวทางการเผยแพร่ผลงานวิจัยช่องทางหนึ่ง คือ การตีพิมพ์บทความวิจัยในวารสารที่อยู่ในศูนย์ดัชนี อ้างอิงวารสารไทย (Thai Journal Citation Index-TCI) ดังน้ัน สถาบันวิจัยและพัฒนาจึงต้องขับเคลื่อนให้ วารสารวิชาการท่ีมีอยู่ได้รับการประเมินเพื่อเข้าในฐานTCI ตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพของศูนย์ดัชนีอ้างอิง วารสารไทย (Thai Journal Citation Index-TCI) เน่อื งจาก TCI มภี ารกิจหลัก 5 ประการคือ 1.พัฒนาฐานขอ้ มลู เพ่ือ การสืบค้นผลงานวิจัยและผลงานวิชาการตลอดจนข้อมูลการอ้างอิงของบทความท่ี ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการไทย 2.คานวณและรายงานค่า Journal Impact Factors ของวารสารวิชาการไทยที่มีอยู่ในฐานข้อมูล TCI (เรียกว่า TCI impact factors) 3.ให้ความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับ journal impact factors, h-index และคุณภาพผลงานวิจัยใน ระดับสากล 4.วิจัยและเผยแพร่ผลงานวิจัย เพ่ือนาไปสู่การยกระดับผลงานวิจัยไทยในเวทีนานาชาติ 5. ร่วมมือกับ หน่วยงานระดับชาติและนานาชาติเพื่อพัฒนาวารสารไทย ซ่ึงถ้าผ่านตามเกณฑ์ในการประเมินคุณภาพวารสารใน ฐานขอ้ มลู TCI จะทาให้วารสารมีคุณภาพและมีกระบวนการจัดทาวารสารท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพมากข้นึ ซ่ึงกระบวนการจัดทาวารสารตามเกณฑ์ในการประเมินคุณภาพวารสารในฐานข้อมูล TCI น้ัน มีเกณฑ์การ ประเมินหลายข้อและวิธีการดาเนินงานของงานวารสารมีหลายข้ันตอน แต่เน่ืองจากเจ้าหน้าที่วิจัยของสถาบันที่ รับผิดชอบงานวารสารมีเพียง 1 คน ดังนั้นในกรณีเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบลาป่วย ติดภารกิจ รวมถึงการสับเปล่ียน ตาแหน่งงาน จึงจาเป็นต้องมีเจ้าหน้าท่ีคนอ่ืนสามารถปฏิบัติหน้าที่ด้านงานวารสารแทน สถาบันวิจัยและพัฒนาจึง จัดทาการจัดการความรู้โดยการถ่ายถอดองค์ความรู้จากบุคลากรท่ีมีประสบการณ์ซึ่งสาคัญที่สุด ร่วมแลกเปล่ียน ความคิด เล่าประสบการณ์ ทักษะทางคอมพิวเตอร์ในการจัดการ เทคนิคต่างๆ สอดคล้องกับ บุญดี บุญญากิจ และ คณะ, 2547 ท่ีกล่าวว่าการจัดการความรู้ มีองค์ประกอบท่ีสาคัญ ได้แก่ คน เทคโนโลยี และกระบวนการความรู้ โดยเฉพาะคนหรือทรัพยากรมนุษย์ถือเป็นองค์ประกอบท่ีสาคัญท่ีสุด เพื่อให้เกิดองค์ความรู้และแนวปฏิบัติท่ีดีต่อ บุคลากรของสถาบนั วจิ ยั และพฒั นา

วิธกี ารดาเนินงาน 1. วิเคราะห์เกณฑ์มาตรฐาน TCI เทียบกับระบบการบริหารจัดการของวารสารราชภัฏกรุงเก่า เพ่ือวางแนวทาง จัดทาการจัดการความร้เู รื่องเทคนคิ การจดั ทาวารสารวชิ าการเพื่อรองรบั การเขา้ สูฐ่ าน TCI 2. ดาเนินการจัดการความรู้โดยใช้กระบวนการจัดการความรู้ 7 ข้ันตอน ของสานักงาน ก.พ.ร.และสถาบันเพิ่ม ผลผลิตแหง่ ชาติ ดังน้ี 2.1. การบง่ ชี้ความรู้ องค์ความร้ทู จ่ี าเปน็ (knowledge) : เทคนิคการจดั ทาวารสารวชิ าการเพ่ือรองรับการเข้าสฐู่ าน TCI ประเด็นยุทธศาสตร์ : ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การพัฒนานวัตกรรม องค์ความรู้และการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ สุขภาพและส่งิ แวดลอ้ ม ตวั ชวี้ ดั : ความรเู้ กยี่ วกับการจัดทาวารสารวิชาการเพอื่ รองรบั การเขา้ สู่ฐาน TCI เป้าหมายของตวั ชวี้ ดั : ไดอ้ งค์ความรูเ้ กีย่ วกบั การจัดทาวารสารวชิ าการเพือ่ รองรับการเข้าสู่ฐาน TCI สถาบันวิจัยและพัฒนา ดาเนินการจัดทาวารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เริ่มจัดทาข้ึนโดยผู้บริหารสถาบันวิจัยมีความคิดริเริ่มและเขียนโครงการเพื่อของบประมาณ สนับสนุน และเร่ิม ดาเนินการโดยเจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบ ต้ังแต่ปี 2557 จนถึงปัจจุบัน แต่เน่ืองจาก มีเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานวารสาร เพียง 1 คนและงานวารสารจะตอ้ งดาเนินงานตลอดทง้ั ปี โดยจัดทาวารสารปลี ะ 3 ฉบับ ในกรณเี จ้าหนา้ ที่ผรู้ บั ผิดชอบ ลาป่วย ติดภารกิจ หรือสับเปล่ยี นตาแหน่งงาน จึงต้องมีคนปฏิบัติหน้าที่แทนและต้องมีความรู้เรอ่ื งการจัดทาวารสาร เพ่ือให้กับบุคลากรสามารถปฏิบัติหน้าท่ีแทนได้ นอกจากน้ีมีหน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอกเข้ามาขอ คาปรึกษาเกี่ยวกับการจัดทาวารสารและเทคนิคต่างๆในการจดั ทาวารสาร สถาบันวิจัยและพัฒนาจึงจัดทาการจัดการ ความรู้ เร่ือง เทคนิคการจัดทาวารสารวิชาการเพื่อรองรับการเข้าสู่ฐาน TCI จากนั้นร่วมกันกาหนดปฏิทิน ในการ จัดทาแผนการจัดการความรู้ และปฏิทินดาเนินการจัดการความรู้กระบวนการจัดการความรู้ 7 ข้ันตอน เพ่ือให้เกิด ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ สถาบันวิจัยและพัฒนามีการดาเนินงานการจัดการความรู้ ได้แก่ดาเนินงานจัดทาแผนงานการจัดการความรู้ กรอบในการดาเนินงานและได้กาหนดแผนงานการจัดการความรู้ไว้ในแผนปฏิบัติงานประจาปีของสถาบันวิจัยและ พัฒนา โดยมกี ารกาหนดตัวชว้ี ดั เป้าหมายของตัวชว้ี ดั ให้มีความสอดคล้องกับยทุ ธศาสตร์ของหน่วยงานให้ชัดเจนเพ่ือ เป็นแนวปฏิบัติและดาเนินงานของหน่วยงาน สถาบันวิจัยและพัฒนาดาเนินการโดยการถ่ายถอดความรู้จากผู้บรหิ าร และเจ้าหน้าท่ีที่รบั ผิดชอบและมีประสบการณ์ดา้ นงานวารสาร สอดคล้องกับผลงานวิจัยของลดั ดา เจียมจติ ต์ตรง และ คณะ, 2553 ท่ีพบว่าเคร่ืองมือต่างๆ ที่กลุ่มบริหารองค์กรนามาใช้เพื่อส่งเสริมการจัดการความรู้มีดังน้ี 1.การกาหนด แผนงานการจัดการความรู้ (Knowledge Management Plan) เพื่อเป็นกรอบในการดาเนินงาน เช่น ได้กาหนด แผนงานการจัดการความรู้ไว้เป็นส่วนหน่ึงของแผนปฏิบัติงาน จึงจาเป็นท่ีจะต้องมีการกาหนดเป้าหมาย ขั้นตอนการ ดาเนินงาน และตัวชี้วัดผลสาเร็จที่ชัดเจน มีการจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาสายงาน ไปสู่องค์การแห่งการเรียนรู้ เพ่ือ ใช้เป็นกรอบและแนวทางในการดาเนินงานเช่นกัน 2.2. การสร้างและแสวงหาความรู้ คณะกรรมการดาเนินงานการจัดการความรู้ สถาบันวิจัยและพัฒนาศึกษาและดาเนินการจัดประชุม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหวา่ งบุคลากรภายในหนว่ ยงานและเรียนรู้จากผู้มีประสบการณ์ โดยบุคลากรภายในหน่วยงานได้ พูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้านประสบการณ์เทคนิคกระบวนการจัดทาวารสารวิชาการเพื่อรองรับการเข้าสู่ฐาน TCI ซ่ึงแต่ละคนได้นาเสนอวิธีการปฏิบัติเฉพาะตัว ท่ีทาให้การประสานงานของตนประสบความสาเร็จ หรือไม่สาเร็จ ซึ่งมี ประชมุ การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ จานวน 8 คร้ัง 2.3. จดั การความร้ใู หเ้ ปน็ ระบบ คณะกรรมการดาเนินงานการจัดการความรู้ สถาบันวิจัยและพัฒนา ดาเนินการนาความรู้ที่ได้จากดาเนินการ จัดประชุมแลกเปลยี่ นเรียนรู้ระหว่างบุคลากรภายในหน่วยงาน มาจดั องค์ความรู้ใหเ้ ป็นระบบ เพื่อจะนาความรเู้ หลา่ นี้

ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ โดยการจัดเก็บความรอู้ อกเป็นประเภทตา่ งๆ ท่ีทาให้เขา้ ใจงา่ ยและค้นหาง่าย ซึ่งสถาบันวิจัย และพฒั นาได้จัดความรู้ที่ได้ ดงั นี้ ความรทู้ ี่ฝงั อยู่กบั ตัวคน และความรทู้ ี่เห็นชดั ในงานวารสารท่ีมอี ยแู่ ล้ว 2.4. การประมวลผลและกลั่นกรองความรู้ คณะกรรมการดาเนินงานการจัดการความรู้ สถาบันวิจัยและพัฒนานาองค์ความรู้ท่ีได้จากการจัดให้เป็น ระบบ มาวิเคราะห์และกลั่นกรอง เพื่อหาแนวปฏิบัติท่ีดีและเหมาะสมแล้วจัดทาเป็นคู่มือฉบับร่าง “เทคนิคจัดทา วารสารวิชาการเพื่อรองรับการเข้าสู่ฐาน TCI” และเตรียมนาเสนอต่อการประชุมบุคลากรประจาสถาบันวิจัยและ พัฒนา เพอ่ื ขอรับฟงั ข้อเสนอแนะ 2.5. การเขา้ ถึงความรู้ 2.5.1. เผยแพร่คู่มือเทคนิคจัดทาวารสารวิชาการเพื่อรองรับการเข้าสู่ฐาน TCI ให้กับบุคลากรสถาบันวิจัย และพัฒนา คณะหน่วยงาน และเผยแพร่บนเว็บไซต์สถาบันวิจัยและพัฒนา และทาง Facebook สถาบนั วจิ ัยและพฒั นา 2.5.2. นาคมู่ อื เทคนคิ จัดทาวารสารวิชาการเพอื่ รองรับการเข้าสู่ฐาน TCI เผยแพรใ่ นระบบสารสนเทศ เช่นส่ือ ออนไลน์ ได้แก่ เวบ็ ไซต์ Facebook เป็นตน้ 2.6. การแบ่งปนั แลกเปล่ียนความรู้ จัดประชุมแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างบุคลากรภายในสถาบันวิจัยและพัฒนา เพ่ือช้ีแจงแนวทางการปฏิบัติ ตามคู่มือจัดทาวารสารวิชาการเพ่ือรองรับการเข้าสู่ฐาน TCI นาคู่มือไปเผยแพร่ให้กับ คณะ หน่วยงาน ของ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา และจดั ประชมุ แลกเปล่ยี นความร้โู ดยมี คณะ และหนว่ ยงานอืน่ เข้าร่วมด้วย 2.7. การเรียนรู้ สถาบันวจิ ัยและพัฒนา ถอดบทเรียนและสรุปผลการเรียนรู้ จากการปฏิบัติตามคู่มือ จากผลการประเมินโดย การสัมภาษณ์ความพึงพอใจและการนาไปใช้ของผู้ใช้คู่มือเทคนิคจัดทาวารสารวิชาการเพื่อรองรับการเข้าสู่ฐาน TCI ผลและอภปิ รายผลการดาเนนิ งาน 1. ความรู้ท่ไี ดแ้ ละการกลั่นกรองความรู้ ความรทู้ ่ไี ด้คอื การเทคนิคจดั ทาวารสารเพื่อรองรับการเข้าสู่ฐาน TCI โดยไดร้ ับความรู้และความเข้าใจ ข้ันตอนการ จัดทาวารสารและเทคนิคต่างๆจาก ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือ สญั ชาตญาณของแต่ละบุคคลในการทาความเข้าใจในสิ่งต่างๆ เปน็ ความรู้ทีไ่ ม่สามารถถ่ายทอดออกมาเปน็ คาพดู หรือ ลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการทางาน งานฝีมือ หรือการคิดเชิงวิเคราะห์ บางคร้ัง จึงเรียกว่าเป็น ความรู้แบบนามธรรม และความรู้ที่ชัดแจง้ เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถา่ ยทอดได้โดยผ่านวธิ ีต่างๆเชน่ การบันทึก เป็นลายลักษณ์อักษร ทฤษฎีคู่มือต่างๆ และบางคร้ังเรียกว่าเป็นความรู้แบบรูปธรรม โดยสรุปความรู้ที่ได้และการ กล่นั กรองความรู้ ดังน้ี 1.1 การเลือกกองบรรณาธิการผูท้ รงคุณวฒุ ิ 1) กองบรรณาธิการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมาจากหน่วยงานภายนอก ท่ีไม่ใช่หน่วยงานท่ีจัดทาวารสาร ซ่ึงต้องไม่น้อย กวา่ 50 % ผทู้ รงคณุ วุฒิทง้ั หมด 2) กองบรรณาธิการผู้ทรงคณุ วุฒิต้องครอบคลุมสาขาวิชาท่ีวารสารกาหนด เชน่ วารสารวิจยั ราชภัฏกรงุ เกา่ สาขา มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีกองบรรณาธิการผู้ทรงคุณวุฒิตามสาวิชาด้านบริหารธุรกิจ ด้านการศึกษา ด้าน รฐั ศาสตร์ ด้านนิติศาสตร์ ด้านวฒั นธรรม สงั คม เศรษฐกิจ และประวตั ศิ าสตร์ ซงึ่ ตรงตามที่วาสรสารกาหนด 3) กองบรรณาธกิ ารผู้ทรงคุณวฒุ ิต้องเป็นผู้ท่ีมีประสบการณ์ มีตาแหน่งวิชาการระดับศาสตราจารย์ ด้านงานวิจัย การเขียนบทความวจิ ยั และบทความวิชาการทด่ี เี ยีย่ ม ซง่ึ จะสามารถตดั สนิ และใหข้ ้อเสนอแนะเกยี่ วกับวารสารได้อย่างดี

1.2 การกาหนดรูปแบบเลม่ วารสาร 1) วารสารต้องกาหนดการรับบทความให้ชัดเจน ว่าบทความวิจัยหรอื บทความวิชาการสาขาใดสามารถลงตพี ิมพ์ ได้ เช่น วารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บทความท่ีสามารถตีพิมพ์ได้มีดังนี้ ด้าน บริหารธุรกิจ ด้านการศึกษา ด้านรัฐศาสตร์ ดา้ นนติ ิศาสตร์ ดา้ นวฒั นธรรม สังคม เศรษฐกิจ และประวัติศาสตร์ 2) วารสารจะต้องมีการกาหนดออกเผยแพร่ให้ชัดเจนว่า 1 ปี จะจัดทากี่ฉบับ และแต่ละฉบับอยู่ระหว่างเดือน ใดบา้ ง เชน่ วารสารวจิ ัยราชภัฏกรงุ เกา่ สาขามนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ จะออกเผยแพร่ ปีละ 3 ฉบบั ดังน้ี ฉบบั ที่ 1 เดือนมกราคม – เมษายน ฉบับท่ี 2 เดอื นพฤษภาคม – สิงหาคม ฉบับที่ 3 เดอื นกนั ยายน – ธนั วาคม 3) กองบรรณธิการวารสาร ต้องมีชื่อปรากฏอยู่ในเล่มวารสาร โดยประกอบด้วยรายชื่อ ตาแน่งทางวิชาการ และ ตน้ สังกัดของกองบรรณธกิ ารแต่ละท่านให้ครบถ้วน 4) เกณฑ์การพิจารณาบทความ ต้องมีเกณฑ์การพิจารณาที่ชัดเจนโดยอธิบายให้ผู้ส่งบทความและผู้อ่านวารสาร สามารถเข้าใจได้ เช่น วารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์บทความจะผ่านการประเมิน โดยผู้ทรงคณุ วุฒิในสาขานัน้ จานวน 2-3 ทา่ น ซึง่ กองบรรณาธิการ อาจใหผ้ ู้เขียนปรบั ปรุงให้เหมาะสมยิ่งขึ้น และทรง ไวซ้ ึง่ สิทธใิ์ นการตดั สินตพี มิ พใ์ ห้หรือไม่ก็ได้ 5) คาแนะนาในการจัดเตรียมวารสาร ควรมีคาอธบิ ายโดยรปู แบบละเอียดอย่างครบถ้วนให้ผสู้ ่งบทความสามารถ เข้าใจและปฏิบัติตามได้ เช่น รูแบบการจัดบทความ หน้ากระดาษ ขนาดตัวอักษร วิธีการเขียนเนื้อเรื่อง การเขียน อ้างอิง การใส่ภาพและตาราง เป็นต้น คาแนะนาน้ีควรอยู่ในรูปแบบเอกสาร และนาเผยแพร่ลงเว็บไซต์ของวารสาร ดว้ ย เพื่อใหส้ ะดวกต่อการค้นหา 1.3 การคัดเลือกบทความท่มี ีคณุ ภาพเพ่ือลงตีพมิ พ์ในวารสาร 1) การตรวจบทความเบื้องต้น เจ้าหน้าท่ีผรู้ ับผิดชอบจะต้องตรวจสอบบทความเบ้ืองต้นกอ่ น ดังน้ี การจัดรูปแบบ ให้ตรงกับวารสารกาหนด เช่น การตั้งค่าหน้ากระดาษขนาด B5 การจากัดความยาวไม่เกิน 8 หน้ากระดาษ ส่วนประกอบเน้ือเรื่อง รวมถึงการอ้างอิง เมื่อมีข้อแก้ไขจะส่งคืนผู้ส่งบทความเพ่ือแก้ไขก่อน เม่ือผ่านการตรวจสอบ เบอื้ งต้นแล้ว เจ้าหน้าที่จะดาเนนิ การเสนอบรรณาธกิ าร และสง่ ออกผูท้ รงคุณวฒุ ิตอ่ ไป 2) การคดั เลอื กผู้ทรงคุณวฒุ ปิ ระเมนิ คณุ ภาพบทความ - ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินคุณภาพบทความต้องตรงตามสาขาของบทความ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบต้องหาข้อมูล ผ้ทู รงคณุ วฒุ แิ ละเสนอเรอื่ งเพ่ือพิจารณาจากบรรณาธิการอกี คร้ัง - บทความทุกบทความตอ้ งมผี ู้ทรงคณุ วุฒพิ ิจารณาอย่างน้อยสองท่าน - ในกรณเี ป็นบทความจากบุคคลภายใน ต้องเปน็ ผทู้ รงคุณวุฒิภายนอกตา่ งมหาวิทยาลยั เทา่ นนั้ - ในกรณีท่ีเป็นคนภายนอกมาส่งบทความ ผู้ทรงคุณวุฒิจะเป็นภายนอกทั้งสองท่าน หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ภายนอกหนึ่งท่านและภายในหนึง่ ท่าน 3) การประเมินบทความ วารสารต้องมีแบบประเมินวารสารท่ีละเอียด และมีข้อคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิให้มาก ทสี่ ุด โดยแบบประเมินบทความ ประกอบด้วย - ช่ือเร่ืองบทความ,เลขบทความ - ชอื่ -นามสกลุ ผู้ทรงคณุ วุฒิ - นโยบายลกั ษณะบทความท่ีจะรับตีพิมพ์ - ระดับคะแนนเกณฑ์การพิจารณา เชน่ คณุ คา่ เชงิ วชิ าการ ความชัดเจนสมบรู ณข์ องเนอื้ หา เป็นตน้ - ขอ้ คดิ เหน็ ของผ้ทู รงคณุ วุฒิ โดยทรงไวซ้ ่งึ สทิ ธ์ใิ นการตัดสินตีพมิ พ์ใหห้ รือไม่ก็ได้ - ขอ้ เสนอแนะบทความเพือ่ ให้ผูเ้ ขยี นบทความนาไปปรับใชแ้ ละแก้ไขให้ถูกต้อง

4) การตอบรบั วารสารเพื่อตพี มิ พ์ เจ้าหนา้ ผ้รู ับผิดชอบจะต้องแจ้งผูเ้ ขียนบทความ ดังนี้ - กรณีผู้ทรงคุณวุฒิอ่านบทความทั้งสองท่านมีความคิดเห็นโดยสรุปว่าควรตีพิมพ์ เจ้าหน้าที่จะต้องแจ้งไปยัง ผู้เขียนไปทางอีเมลโดยแนบแบบฟอร์มการช้ีแจงการแก้ไขบทความตามข้อเสนอแนะผู้ทรงคุณวุฒิและแนบผลการ ประเมินบทความเม่ือแก้ไขเสรจ็ ใหส้ ่งบทความมาอีกคร้ังเพื่อออกใบตอบรบั บทความต่อไป - กรณีผู้ทรงคุณวุฒิอา่ นบทความท้งั สองท่านมีความคดิ เห็นโดยสรุปว่าปฏิเสธการตีพมิ พ์ เจา้ หนา้ ทจ่ี ะต้องแจ้ง โดยทาหนังสือส่งคืนบทความไปยงั ผู้เขยี นไปทางอีเมลโดยแนบผลการประเมนิ บทความไปด้วย - กรณผี ู้ทรงคุณวุฒิอา่ นบทความทงั้ สองทา่ นมีความคิดเห็นโดยสรุปต่างกัน โดยท่านที่ 1 ควรตีพมิ พ์ ท่านท่ี 2 ปฏิเสธการตีพิมพ์ ตีพิมพ์ เจ้าหน้าที่จะต้องแจ้งโดยทาหนังสือส่งคืนบทความไปยังผเู้ ขยี นและแนบแบบฟอร์มคาชี้แจง การแก้ไขบทความตามข้อเสนอแนะผู้ทรงคุณวุฒิ และแนบผลการประเมินบทความ และให้ส่งบทความมาอีกครั้ง เพอ่ื ใหผ้ ทู้ รงคุณวฒุ ิทา่ นท่ี 3 ประเมนิ บทความอีกครัง้ 2.4 อายวุ ารสารต้องก่ีปีถึงจะเตรียมตัวเขา้ ฐาน TCI ได้ วารสารต้องมีอายุการตีพิมพ์บทความวิชาการไม่น้อยกว่า 3 ปี หรือตีพิมพ์อย่างต่อเน่ืองไม่น้อยกว่า 6 ฉบับ เช่น วารสารวจิ ยั ราชภฏั กรงุ เก่า สาขามนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ไดด้ าเนนิ การจัดทาวารสารอย่างต่อเน่ือง จานวน 7 ฉบบั 2.5 เวบ็ ไซต์วารสาร วารสารตอ้ งมีเว็บไซต์ ซง่ึ ประกอบดว้ ย 1) บทความออนไลน์ โดยมีเล่มวารสารออนไลน์ทุกฉบับท่ีเคยตีพิมพ์ รวมถึงเล่มวารสารฉบับปัจจุบันท่ีต้องออก เผยแพร่ใหต้ รงตามเวลาที่วารสารกาหนด 2) การดูแลเว็บไซต์ให้เป็นปัจจุบัน เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบจะเปิดเว็บไซต์ไว้ตลอดทั้งวันทาการเพ่ือตรวจรับ บทความ แจง้ สถานะบทความและอพั เดทข้อมูลต่างๆให้เปน็ ปจั จุบนั เสมอ 3) เว็บไซต์วารสารต้องมีรายช่ือปรากฏอยู่ในเล่มวารสาร โดยประกอบด้วยรายชื่อ ตาแน่งทางวิชาการ และต้น สงั กัดของกองบรรณาธิการแตล่ ะท่านให้ครบถ้วน 4) เว็บไซต์ต้องมีข้อมูลเก่ียวกับวารสารดังน้ี ช่ือวารสาร วัตถุประสงค์ นโยบายการจัดพิมพ์ ชื่อเว็บไซต์ กาหนด ออกเผยแพร่ 5) รปู แบบการพมิ พ์ - มีคาอธิบายรูปแบบให้ละเอียดและครบถ้วนให้ผู้ส่งบทความสามารถเข้าใจและปฏิบัติตามได้ เช่น รูปแบบ การจัดบทความ หน้ากระดาษ ขนาดตัวอักษร วิธีการเขียนเน้ือเร่ือง การเขียนอ้างอิง การใส่ภาพและตาราง เป็นต้น คาแนะนานี้ควรอย่ใู นรปู แบบเอกสาร - แบบฟอร์มนาส่งบทความวิจัย/บทความวิชาการ เพื่อนาส่งในระบบวารสาร ซ่ึงจะมีรายละเอียดเบ้ืองต้น ได้แก่ ช่ือบทความ ประเภทบทความ ชอ่ื ผูส้ ่ง สถานที่ติดตอ่ การรับรองบทความ 6) การสง่ บทความออนไลน์ วารสารควรมีระบบออนไลนใ์ นการสง่ บทความเพ่อื พจิ ารณาการตีพมิ พ์ โดยสมัครเป็น สมาชิก ส่งบทความ และตรวจสอบสถานะบทความได้ด้วยตัวเอง ทั้งน้ีเจ้าหน้าท่ีต้องอธิบายได้ถ้าผู้ส่งบทความไม่ เข้าใจและมคี มู่ อื การส่งวารสารผ่านทางระบบออนไลน์ใหด้ ูด้วย 7) สถานะบทความ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบจะต้องอัพเดทสถานะบทความให้เป็นปัจจุบัน ว่าแต่ละบทความถึง ข้ันตอนใด เพื่อให้ผู้ส่งบทความสามารถรับรู้สถานะบทความของตนเองได้ ซ่ึงจะประกอบด้วย ช่ือบทความ ประเภท บทความและสถานะปัจจุบัน เช่น บทความเร่ืองการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทักษะการบริหารความขัดแย้งของ ผู้บริหาร กับการสร้างทีมงานครูในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 ประเภท บทความวจิ ยั สถานะอย่รู ะหวา่ งผูท้ รงคณุ วุฒิประเมินคณุ ภาพบทความ เปน็ ต้น 8) สถานทีต่ ิดตอ่ วารสารต้องมีท่ีตั้งอย่จู รงิ และมีเบอรโ์ ทรศัพท์ อีมลท่สี ามารถตดิ ตอ่ ได้ 2.6 ผู้เขียนบทความ ในวารสารแต่ละฉบับควรมีผู้เขียนบทความภายนอกมากกว่า 25 % ของบทความทั้งหมด บทความภายนอกในที่นี้หมายถึงบทความจากหน่วยงานอ่ืนที่ไม่ใช่หน่วยงานที่จัดทาวารสาร แต่ในกรณีที่บทความมี ผู้เขียนจากทั้งหน่วยงานภายในและภายนอก ใหถ้ ือว่าเปน็ บทความจากหน่วยงานภายนอก

2.7 การประชาสัมพันธ์ ในการจัดทาวารสารใหม่อาจจะไม่เป็นท่ีรู้จักมากนัก จึงต้องมีช่องทางประชาสัมพันธ์ หลากหลายช่องทาง เพื่อให้มีบทความมากขึ้น มีความหลากหลายของบทความมากข้ึน ดังน้ี หนังสือหรือบันทึก โดย ส่ งห นั งสื อ เชิ ญ ช ว น เพื่ อ เข้ า ม า ตี พิ ม พ์ ใน ว า ร ส า ร ซึ่ งห น่ ว ย งา น ท่ี ส่ งไ ป นั้ น ค ว ร อ ยู่ ใน ส า ข า ท่ี ว า ร ส าร ก า ห น ด ไว้ ประชาสมั พนั ธ์ทางเวบ็ ไซตข์ องหน่วยงาน และประชาสัมพนั ธ์ทางสื่อออนไลน์ เชน่ Facebook เป็นต้น 2.8 การเกบ็ หลักฐาน เพ่ือทางานอย่างเป็นระบบและหาเอกสารไดส้ ะดวกและรวดเรว็ ควรจัดจาแนกเอกสารให้เป็น หมวดหมู่ 1) จัดเก็บเอกสารบทความโดยจาแนก ดงั น้ี บทความรอตรวจสอบเบือ้ งต้น บทความรอแกไ้ ข บทความทผี่ ่านการ ประเมนิ แลว้ และ บทความทไ่ี ด้ตอบรับการตพี มิ พแ์ ล้ว โดยจดั เป็นแฟ้มแตล่ ะปี แตล่ ะฉบบั 2) จัดเกบ็ เอกสารผู้ทรงคุณวฒุ ิโดยจาแนก ดงั น้ีรายช่อื ผู้ทรงคุณวุฒิจาแนกตามสาขาวชิ า และประวัติผู้ทรงคณุ วุฒิ จาแนกตามสาขาวชิ า 3) จัดเก็บข้อมูลลงฐานข้อมูลในรูปแบบ Microsoft Excel โดยมีข้อมูลบทความทั้งหมดเรียงตามเลขท่ีบทความ ดังนี้ ช่ือบทความ ประเภทบทความ เช่นบทความวิจัยหรือบทความวิชาการ ช่ือผู้เขียน สถานะผู้เขียน เช่น อาจารย์ นักศึกษาปริญญาโท บุคลภายนอกหรือบุคลภายใน ท่ีอยู่และเบอร์โทรศัพท์ผู้ส่งบทความ รายช่ือผู้ทรงคุณวุฒิที่ ประเมนิ บทความ สถานะการตพี ิมพ์ 4) จัดเก็บข้อมูลหลักฐานเพ่ือเตรียมเข้ารับการพิจารณา เข้าสู่ฐาน ศูนย์ดัชนีอ้างอิงวารสารไทย (TCI) ต้องจัดเก็บ เป็นแฟ้มแต่ละปีแต่ละฉบบั เช่น วารสารวิจัยราชภัฏกรุงเกา่ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 หลักฐานเอกสารต้องอยู่ในแฟ้มเดียวกัน เป็นต้น และในแต่ละแฟ้มจะมีข้อมูลเก่ียวบทความเรียงลาดับชื่อในเล่มวารสาร โดยหลักฐานประกอบด้วย หนังสือ นาส่งบทความ บทความวิจัยหรือบทความวิชาการ หนังสือเชิญผู้ทรงคุณวุฒิอ่านบทความ ผลการประเมินคุณภาพ บทความ และหนังสอื ตอบรบั การตพี มิ พ์ 2. การนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ปัจจุบันบุคลากรภายในหน่วยงานสามารถปฏิบัติงานแทนเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบได้ทุกท่าน เช่น การคัดเลือก บทความท่ีมีคุณภาพ การเข้าระบบเพ่ือตรวจรับบทความ การติดต่อประสานงาน การให้ความรู้กับผู้ติดต่อด้านงาน วารสารซ่ึงทาให้การดาเนินการในส่วนงานวารสารราบรื่น และรวดเร็วมากขึ้น เอกสารไม่หาย เน่ืองจากทราบถึง เทคนิคข้ันตอนและระบบการจัดเก็บหลักฐานท่ีมีระบบ นอกจากนั้นหน่วยงานภายนอกได้แก่คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา ได้นาความรู้และคู่มอื ไปใช้เพือ่ เตรยี มจดั ทาวารสารวิชาการเพื่อรับรองการเข้า สฐู่ าน TCI ซ่ึงปัจจุบันวารสารวิทยาการจดั การปริทัศน์ สาขามนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ได้ผ่านเกณฑ์การประเมิน คุณภาพวารสารเข้าสู่ฐาน TCI กลุ่ม 2 และวารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดย สถาบันวิจัยและพัฒนา ได้ใช้คู่มือเทคนิคการจัดทาวารสารเพ่ือรับรองการเข้าสู่ฐาน TCI อย่างต่อเนื่องเพ่ือรักษา คุณภาพ และเพ่อื รับรองการเข้าสูฐ่ าน TCI กลุ่ม 1 สรปุ การดาเนินการจัดการความรู้ เร่ือง เทคนิคจัดทาวารสารวิชาการเพื่อรองรับการเข้าสู่ฐาน TCI โดยการถอดองค์ ความรู้ของบุคลากรสถาบันวิจัยและพัฒนา และได้ดาเนินการจัดเป็นคู่มือโดยอธิบายเทคนิคและรายละเอียดต่าง ๆ ทเี่ กีย่ วข้องกับการจัดทาวารสารวิชาการเพื่อรองรบั การเข้าสู่ฐาน TCI ทาให้บุคลากรในหน่วยงานมีความรู้ความเข้าใจ นาเทคนิค และทักษะความรู้ เรื่องเทคนิคจัดทาวารสารวิชาการเพ่ือรองรับการเข้าสู่ฐาน TCI ไปประยุกต์ใช้ ซ่ึงสามารถปฏิบัติงานแทนเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบได้ทุกท่าน รวมถึงสามารถนาไปพัฒนางานตนเองให้มีประสิทธิภาพ มากข้ึนในการจดั การงานให้เปน็ ระบบ และหนว่ ยงานภายนอกสามารถนาเทคนคิ การจดั ทาวารสารวิชาการเพือ่ รองรับ การเข้าสู่ฐาน TCI ไปใช้ให้เกิดประโยชน์มากย่ิงขนึ้ ซ่ึงหลังจาการนาคู่มือที่ได้จากการจดั การความรู้มาประยุกต์ใช้งาน จริงทาใหส้ ถาบันวจิ ัยและพฒั นาสามารถนาวารสารวิจยั ราชภัฏกรุงเก่า สาขามนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ เขา้ สู่ฐาน TCI กลุ่ม 2 ได้ นอกจากนั้นหน่วยงานภายนอกได้แก่คณะวิทยาการจัดการ ได้นาความรู้ไปใช้เพ่ือเตรียมจัดทา วารสารวิชาการเพื่อรองรับการเข้าสู่ฐาน TCI ไปใช้ ซงึ่ พบว่าวารสารวิทยาการจัดการปรทิ ัศน์ สาขามนุษยศาสตร์และ

สังคมศาสตร์ได้ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพวารสารเข้าสู่ฐาน TCI กลุ่ม 2 เช่นเดียวกัน แต่อย่างไรก็ตามคู่มือการ จัดการความรู้ครั้งน้ีต้องมีการแก้ไขบางส่วน เช่น การอธิบายลายละเอียดเทคนิคให้ชัดเจนมากขึ้นพร้อมยกตัวอย่าง เป็นตน้ ดงั น้ันคณะกรรมการจัดการความรจู้ งึ ได้ประชุมเพื่อปรบั ปรุงให้คู่มอื การทางานนัน้ มีความสมบูรณ์ย่ิงขึ้น บรรณานุกรม บญุ ดี บุญญากิจ และคณะ. 2547. “การจัดการความรู้ ทฤษฎสี กู่ ารปฏบิ ตั .ิ ” กรงุ เทพฯ: จิรวฒั น์ เอ็กซ์เพรส. ลัดดา เจียมจิตต์ตรง และคณะ. 2553. “การศึกษาเครื่องมือส่งเสริมการจัดการความรู้สาหรับกลุ่มบริหารองค์กร การไฟฟา้ ฝ่ายผลิตแหง่ ประเทศไทย.” วารสารวิทยบรกิ าร. ปที ่ี 21 ฉบับท่ี 3, กนั ยายน-ธันวาคม 2553. ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย. 2562. “ภารกิจของศูนย์ TCI.” สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2562 , จาก http://www.kmutt.ac.th/jif/ public_html/task.html สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. 2560. “แผนปฏบิ ัติการประจาปสี ถาบันวิจัยและ พฒั นา.” สานกั งาน ก.พ.ร.และสถาบนั เพม่ิ ผลผลิตแห่งชาติ. 2548. “คู่มอื การจัดทาแผนการจัดการความรู้.”

เทคนคิ การจัดประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ Knowledge Management on Thai National Conference Management สุจิตรา งามบญุ ปลอด1, กมลวรรณ วรรณธนงั 2, สจุ ิตกัลยา มฤครัฐอนิ แปลง3 และสขุ รักษ์ แซ่เจี่ย4 สถาบนั วิจัยและพฒั นา1 คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์2 คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี3,4 มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา [email protected], [email protected] 2, [email protected], [email protected] บทสรุป การดาเนินการจัดการความรู้น้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจและให้แนวทางในเทคนิคการจัด ประชุมวิชาการระดับชาติ ให้ชัดเจนและเป็นรูปธรรมมากข้ึน เพ่ือให้สถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยุธยาเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ บุคลากรของสถาบันวจิ ัยและพัฒนา จานวน 13 คน จึงได้ดาเนินการจัด ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคลากรภายในหน่วยงานจานวน 8 คร้ัง โดยมีหัวข้อในการประชุมแลกเปล่ียน เรียนรู้ ในด้านประสบการณ์เทคนิคการจัดประชมุ วิชาการระดับชาติ ซง่ึ แตล่ ะคนได้นาเสนอวธิ ีการปฏิบัตเิ ฉพาะตัว ท่ี ทาให้การจัดประชุมวิชาการประสบความสาเร็จ ซ่ึงผลการดาเนินงานพบว่าความรู้ที่ได้จากการดาเนินการจัดความรู้ เทคนิคการจัดประชุมวิชาการระดับชาติ บุคลากรได้รับความรู้และความเข้าใจ ข้ันตอนเทคนิคการจัดประชุมวิชาการ ระดับชาติ จากความรู้ท่ีฝังในตัวบุคคล หรือความรู้ท่ีเห็นชัดแจ้ง ได้แก่ 1. การเขียนโครงการการจัดประชุมวิชาการ ระดับชาติ 2. การวางแผนการดาเนินงาน 3.การจัดทาเว็บไซต์ของการประชุมวิชาการระดับชาติ 4. การ ประชาสมั พันธ์ 5. การลงทะเบยี น 6. การเลือกผู้ทรงคณุ วฒุ ิบรรยายพเิ ศษและประเมนิ คณุ ภาพบทความ 7. การตดิ ต่อ ประสานงาน 8. การดาเนินงานด้านงบประมาณ 9. การจัดรูปแบบงาน 10. การจัดสถานที่การประชุมและโรงแรม 11. การจัดอาหารและเคร่ืองดื่ม ซึ่งจากผลการจัดการเรียนรู้พบว่าปัจจุบันบุคลากรภายในหน่วยงานสามารถ ปฏิบัติงานแทนเจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบได้ทุกท่าน ช่วยสนับสนุนการตัดสินใจและวางแผนดาเนินงานให้ประสบ ความสาเร็จ รวดเร็ว เน่ืองจากมีแหล่งรวบรวมความรู้ท่ีน่าเช่ือถือ และทาให้ระบบการจัดประชุมวิชาการระดับชาติมี ประสิทธิภาพและสาเร็จบรรลุตามเป้าหมายท่ีต้ังไว้ เช่น การจัดประชุมวิชาการระดบั ชาติ “ราชภัฏกรุงเก่า” ประจาปี พ.ศ. 2561 ในระหว่างวันที่ 13 – 14 ธันวาคม 2561 พบข้อผิดพลาดจากการปฏิบัติงานน้อย แต่ในกรณีท่ีมี ข้อผิดพลาดก็สามารถหาวธิ ีแก้ไขไดท้ นั ท่วงที จงึ ทาให้การประชมุ วชิ าการระดับชาติลุลว่ งไปด้วยดี คำสำคัญ ประชุมวิชาการระดับชาติ ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ การจัดการความรู้ การจัดรูปแบบงานประชุม วชิ าการ การประชาสมั พนั ธ์ Summary The purpose of this knowledge management was to establish the understanding in order to obtain the national conference organizing concept. The proposed KM technique was achieved by the Research and Development cooperation of Phranakhon Si Ayutthaya Rajchabhat University. Based on knowledge management, 8 times of team meetings were conducted to extract each staff’s tacit on how to manage the national conference. Both tacit and explicit knowledge were organized and analyzed for obtaining the conference management technique including the following concepts: 1. The national conference proposal writing, 2. Conference timeline plaining, 3. Conference website administration, 4. Public relation management, 5. Conference registration, 6. Qualified Committee Selection, 7 Conference coordination, 8 Financial managements, 9. Conference theme organization, 10. Venue organization, and 11. Food and beverage organization.

Therefore, all members have well understood the proposed KM concepts and can effectively organize the conferences namely the Phranakhon Si Ayutthaya Rajchabhat University Conference (ARUCON 2018) and The 18th International Symposium on Communications and Information Technologies (ISCIT 2018) Keywords National conference, International conference, Knowledge management, Conference theme organization, Public relation บทนำ การประชุมวิชาการระดับชาติ เป็นการประชุมขนาดใหญ่ เนื่องจากมีผู้เข้าร่วมประชุมจานวนมาก การเตรียมการ จัดประชุม จึงมีความสาคัญตั้งแต่การเขียนโครงการ การวางแผนการดาเนินงาน การประชาสัมพันธ์ การออกแบบ รูปแบบงาน การจัดสถานท่ีห้องประชุมใหญ่ ห้องประชุมย่อย จัดส่ิงอานวยความสะดวก และการประสานงานที่ดี ซ่ึง เป็นสิ่งสาคญั ท่ีผู้จัดโครงการต้องจัดการระบบให้ดีท่สี ุดเพ่ือให้งานมปี ระสิทธิภาพ ในท่ีน้จี ะกล่าวถึงการประชุมวิชาการ ระดับชาติท่เี ป็นเวทีให้กบั คณาจารย์ นกั วิจยั นสิ ติ นกั ศกึ ษา และบคุ คลท่ัวไป ได้ร่วมนาเสนอ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัย ในระดับชาติ ทั้งยังเป็นการสร้างบรรยากาศการแลกเปลี่ยนและเรียนรู้ประสบการณ์ ด้านการวิจัยเพื่อประโยชน์แก่ หน่วยงานต่างๆ ทาให้สถาบันวิจัยและพัฒนา โดยการจัดงานประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มศรี อยุธยา มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1.เพ่ือให้คณาจารย์ นักวิจัย นิสิตและนักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มศรีอยุธยา และสถาบันการศึกษาต่างๆ รวมถึงหน่วยงาน องค์กรภายนอก ท้องถ่ินและชุมชนได้ร่วมนาเสนอและเผยแพร่ ผลงานวิจัยออกสู่สาธารณะในรูปแบบของการจัดประชุมวิชาการ การจัดนิทรรศการ 2.เพ่ือสร้างเครือข่ายความ ร่วมมือด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์แลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์ที่ได้จากการทาวิจัย ระหว่างนักวิจัยและ หน่วยงานของรฐั หนว่ ยงานของเอกชนและหนว่ ยงานในชมุ ชนและทอ้ งถน่ิ การจดั ประชุมวิชาการระดับชาติ เรม่ิ จัดทาข้ึนโดยผู้บรหิ ารสถาบนั วจิ ัยและพัฒนาตระหนักถึงความสาคัญของการ วิจัยท่ีเปนกระบวนการสรางองคความรูและภูมิปญญาท่ีสาคัญย่ิง มีความคิดริเริ่มและเขียนโครงการเพื่อขอ งบประมาณสนับสนุน รวมถึงร่วมมือทางวิชาการและวิจัยกับหน่วยงานภายนอก และเร่ิมดาเนินการโดยเจ้าหน้าท่ี ผู้รับผิดชอบ ตั้งแต่ปี 2557 จนถึงปัจจุบัน โดยกระบวนการการจัดงานประชุมวิชาการระดับชาติ เป็นการประชุมที่ ต้องใช้ ทรัพยากรบุคลจานวนมาก ในแต่ละส่วนงาน และงานในหน้าท่ีต่างๆมีหลายขั้นตอน ท้ังในด้านการ 1.การ เขียนโครงการการจัดประชุมวิชาการระดับชาติ 2.การวางแผนการดาเนินงาน 3.เว็บไซต์ของการประชุมวิชาการ ระดับชาติ 4.การประชาสัมพันธ์ 5.การลงทะเบียน 6. การเลือกผู้ทรงคุณวุฒิบรรยายพิเศษและประเมินคุณภาพ บทความ 7.การติดต่อประสานงาน 8.การดาเนินงานด้านงบประมาณ 9.การจัดรูปแบบงาน 10.การจัดสถานที่การ ประชุมและท่ีพัก 11.การจัดอาหารและเคร่ืองด่ืม เพื่อให้ประสบความสาเร็จเป็นไปตามโครงการ แต่เน่ืองจาก เจา้ หน้าท่ีผรู้ ับผิดชอบมีน้อยและรับผดิ ชอบในงานคนละด้าน และงานการจัดประชุมวชิ าการระดับชาติ จะตอ้ งใช้เวลา ในการเตรียมการมากกว่า 8 เดือน ในกรณีเจ้าหน้าท่ีผรู้ ับผดิ ชอบลาปว่ ย หรือติดภารกิจ จึงต้องมคี นปฏบิ ัติหน้าที่แทน สถาบันวจิ ัยและพฒั นาจงึ ต้องมกี ารถ่ายถอดความรู้จากผู้บริหารและเจ้าหน้าท่ีที่รับผิดชอบงานการจัดประชุมวิชาการ ระดับชาติ ให้กับบุคลากรเพื่อสามารถปฏิบัติหนา้ ท่ีแทนได้ นอกจากน้ีมีหน่วยงานในและภายนอกเข้ามาขอคาปรึกษา เก่ียวกับการประชุมวิชาการระดับชาติ ในการจัดทาเทคนิคการประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันวิจัยและพัฒนาจึง จัดทาการจัดการความรู้ เร่ือง เทคนิคการจัดประชุมวิชาการระดับชาติ จากน้ันร่วมกันกาหนดปฏิทิน ในการจัดทา แผนการจัดการความรู้ และดาเนนิ การตามปฏทิ นิ เพื่อใหเ้ กิดประสิทธภิ าพสูงสุด วิธีกำรดำเนนิ งำน การจัดประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันวิจัยและพัฒนา ได้ประชุมเพ่ือแต่งตั้งผู้ปฏิบัติงานในหน้าที่ต่างๆ และ กาหนดปฏิทนิ เพื่อเป็นแนวทางการดาเนินงาน ซึ่งใช้บุคลากรของสถาบันวิจยั และพัฒนาเปน็ หลกั ทมี่ ีหน้าที่รับผิดชอบ

ต่างกันออกไป แต่ละคนจึงมีเทคนิคและวิธีการจัดการในหน้าท่ีของตน และดาเนินการจัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพอื่ ทุกคนจะได้แลกเปลย่ี นประสบการณแ์ ละเทคนิคประสบความสาเรจ็ ของแตล่ ะคน สถาบันวิจัยและพัฒนาได้ดาเนินการจัดการความรู้โดยใช้กระบวนการจัดการความรู้ 7 ขั้นตอน ของสานักงาน ก.พ.ร.และสถาบันเพิม่ ผลผลิตแหง่ ชาติ ดังนี้ 1.การบง่ ช้ีความรู้ องคค์ วามรูท้ ่จี าเปน็ (knowledge) : เทคนคิ การจัดประชมุ วิชาการระดับชาติ ประเด็นยุทธศาสตร์ : ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนานวัตกรรม องค์ความรู้และการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ และสง่ิ แวดลอ้ ม ตัวช้วี ัด : ความรู้เกย่ี วกบั เทคนคิ การจัดประชมุ วชิ าการระดับชาติ เป้าหมายของตัวชว้ี ัด : ไดอ้ งค์ความรเู้ ก่ยี วกบั เทคนิคการจัดประชมุ วิชาการระดับชาติ คณะกรรมการดาเนินงานการจัดการความรู้ สถาบันวิจัยและพัฒนา ประชุมทบทวน และพิจารณาเลือกองค์ ความรู้ท่ีจาเป็น ดังนี้ เนื่องจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มีปรัชญา:สร้างสรรค์ปัญญาเพ่ือพัฒนาท้องถ่ินและสังคม สู่ สากล , ปณิธาน : มุ่งม่ัน พัฒนา สนับสนุนงานวิจัยและบริการวิชาการ อัตลักษณ์ : องค์ความรู้สู่การพัฒนาสังคม , เอกลักษณ์ : งานวิจัยควบคู่การบริการวิชาการสู่การพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืนน้ัน ทาให้สถาบันวิจัย และพัฒนา ดาเนินการจัดงานประชุมวิชาการระดับชาติและร่วมจัดการประชุมกับหน่วยงานภายนอกทุกปี โดยการจัดประชุม วิชาการระดับชาติ การดาเนินงานโดยผู้บริหารสถาบันวิจัยและพัฒนาตระหนักถึงความสาคัญของการวิจัยที่เปนกระ บวนการสร้างองคความรูและภูมิปญญาที่สาคัญย่ิง มีความคิดริเริ่มและเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน รวมถึงรว่ มมอื ทางวชิ าการและวิจัยกับหนว่ ยงานภายนอก และเร่ิมดาเนนิ การโดยเจ้าหนา้ ท่ีผู้รับผิดชอบ ตง้ั แต่ปี 2557 จนถึงปัจจุบัน แต่เน่ืองจากเจ้าหน้าที่ผ้รู ับผดิ ชอบมีน้อยและรับผิดชอบในงานคนละด้าน และกรณีผู้รบั ผิดชอบลาป่วย หรือตดิ ภารกิจ จึงตอ้ งมคี นปฏิบัตหิ นา้ ทแี่ ทน สถาบันวิจัยและพัฒนาจึงต้องมีการถ่ายถอดความรู้จากผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานการจัดประชุม วิชาการระดับชาติ ให้กับบุคลากรเพ่ือสามารถปฏิบัติหน้าท่ีแทนได้ โดยดาเนินการจัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหวา่ งผู้ปฏิบัตงิ านภายในหน่วยงานและเรยี นรู้จากผู้มีประสบการณ์ ดา้ นประสบการณเ์ ทคนิคการจัดประชุมวชิ าการ ระดับชาติ ซึง่ แตล่ ะคนไดน้ าเสนอวธิ กี ารปฏิบัตเิ ฉพาะตวั ที่ทาใหข้ องตนประสบความสาเรจ็ หรอื ไมส่ าเร็จ 2.การสรา้ งและแสวงหาความรู้ คณะกรรมการดาเนินงานการจดั การความรู้ สถาบันวิจัยและพฒั นาศกึ ษา ดาเนินการจัดประชุมแลกเปล่ยี นเรียนรู้ ระหว่างผู้ปฏิบัติงานภายในหน่วยงานและเรียนรู้จากผู้มีประสบการณ์ โดยบุคลากรได้พูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้าน ประสบการณ์ เทคนิค ทักษะ ทัศนคติ รวมถึงพฤติกรรม ซ่ึงแต่ละคนได้นาเสนอวิธีการปฏิบัติเฉพาะตัว ท่ีทาให้การ ประสานงานของตนประสบความสาเร็จ หรือไมส่ าเร็จ ในการจดั กระชุมวิชาการระดับชาติ ซงึ่ มีประชุมการแลกเปลย่ี น เรียนรู้ จานวน 8 คร้ัง ดงั ท่ี ศภุ ามนต์ ศภุ กานต, 2547 กล่าวไว้วา่ การจัดการความรเู้ ป็นเร่อื งของการท่ีองค์การหนึ่งจะ สกัดคุณค่าจากทรัพย์สินทางปัญญาของคนออกมาใช้ประโยชน์อย่างสูงสุดได้อย่างไร จุดสาคัญสาหรับการริเร่ิม เก่ียวกับการจัดการความรู้คือ ความรู้ที่ถือว่ามีค่าสาหรับองค์กรมักจะเก่ียวข้องกับประสบการณ์ทัศนคติ และ พฤติกรรมของบุคคลเป็นสว่ นใหญ่ 3. การจดั การความรูใ้ ห้เป็นระบบ คณะกรรมการดาเนินงานการจัดการความรู้ สถาบันวิจัยและพัฒนา ดาเนินการนาความรู้ที่ได้จากการจัดประชุม แลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างผู้ปฏิบัติงานภายในหน่วยงาน และเม่ือมีเน้ือหาความรู้ที่ต้องการแล้ว จึงจัดองค์ความรู้ให้ เป็นระบบ เพ่ือจะนาความรู้เหลา่ น้ไี ปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนไ์ ด้ โดยการจดั เก็บความรู้ออกเปน็ ประเภทต่างๆ ทท่ี าใหเ้ ขา้ ใจ ง่ายและค้นหาง่าย ซึ่งสถาบันวิจัยและพัฒนาได้จัดความรู้ที่ได้ ดังน้ี ความรู้ที่ฝังอยู่กับตัวคน และความรู้ท่ีมีอยู่ในการ ประชุมวิชาการระดับชาตอิ ยู่แล้ว 4. การประมวลผลและกลนั่ กรองความรู้

คณะกรรมการดาเนินงานการจัดการความรู้ สถาบันวิจัยและพัฒนานาองค์ความร้ทู ี่ได้จากการแลกเปล่ียนเรียนรู้ มาวิเคราะห์ เพ่ือแสวงหาแนวปฏิบัติท่ีดีและเหมาะสมแล้วจัดทาเป็นคู่มือ “เทคนิคการจัดประชุมวชิ าการระดับชาติ” และเตรียมนาเสนอตอ่ การประชมุ บุคลากรประจาสถาบันวจิ ยั และพฒั นา เพอ่ื ขอรบั ฟงั ข้อ เสนอแนะ 5. การเข้าถงึ ความรู้ เผยแพร่คู่มือ “เทคนิคการจัดประชุมวิชาการระดับชาติ” ให้กับบุคลากรสถาบันวิจัยและพัฒนา คณะหน่วยงาน และเผยแพรบ่ นเวบ็ ไซตส์ ถาบันวจิ ยั และพัฒนา และทาง Facebook สถาบนั วจิ ยั และพัฒนา 6. การแบง่ ปนั แลกเปลีย่ นความรู้ จัดประชุมแลกเปล่ียนความรู้บุคลากรภายในสถาบันวิจัยและพัฒนา เพื่อชี้แจงแนวทางการปฏิบัติตาม คู่มือ “เทคนิคการจัดประชุมวิชาการระดับชาติ” นาคู่มือไปเผยแพร่ให้กับ คณะ หน่วยงาน ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยธุ ยา และจัดประชมุ แลกเปลีย่ นความรูโ้ ดยมี คณะ และหน่วยงานอืน่ เขา้ ร่วมด้วย 7. การเรยี นรู้ สถาบันวิจัยและพัฒนา ถอดบทเรียน และสรุปผลการเรียนรู้ จากการปฏิบัติตามคู่มือการเรียนรู้ จากผลการ ประเมินโดยการสัมภาษณ์ความพงึ พอใจและการนาไปใช้ของผู้ใช้คมู่ ือ“เทคนิคการจดั ประชุมวชิ าการระดบั ชาติ” ผลและอภปิ รำยผลกำรดำเนนิ งำน 1.ความรู้ที่ได้และการกลน่ั กรองความรู้ ความรูท้ ี่ได้ คือ เทคนิคการจัดประชุมวิชาการระดับชาติ โดยได้รับความรู้และความเข้าใจ ขั้นตอนเทคนิคการจัด ประชุมวชิ าการระดับชาติ จากความร้ทู ีฝ่ ังในตวั บุคคล หรอื ความรู้ท่ีเห็นชัดแจง้ ได้แก่ 1.1 การเขียนโครงการการจัดประชมุ วิชาการระดับชาติ ในการจดั ประชมุ วิชาการระดบั ชาติ ต้องมีการประชุมการ เขียนโครงการอย่างน้อย 2 คร้ัง เพ่ือกาหนดขอบเขตโครงการให้เหมาะสมและถูกต้องเพ่ือขอรับการอนุมัติ โดยมี ส่วนประกอบการเขียนโครงการดังนี้ 1) ชือ่ โครงการ ต้องประชมุ เพอื่ เลอื กชอื่ ทีส่ ่ือความหมายและสอดคล้องกบั จุดประสงคท์ ่ีจะดาเนนิ งาน 2) ผรู้ บั ผดิ ชอบ ผ้เู ขยี นขอโครงการคอื ผู้รับผดิ ชอบดาเนินโครงการ 3) หลักการและเหตุผล เป็นการแสดงและอธิบายถึงความจาเป็นที่ต้องทาโครงการนี้ โดยกล่าวความสาคัญ ความเป็นมาของโครงการ และเหตุผลต่างๆ ประกอบการนาเสนออย่างมีขั้นตอน เพ่ือให้ผู้พิจารณาอนุมัติโครงการได้ เห็นความจาเป็น 4) วัตถุประสงค์ ต้องกาหนดวัตถุประสงค์ให้มีความสอดคล้องกับ ความเป็นมาของโครงการ กล่าวถึงความ ตอ้ งการทจ่ี ะทาสิง่ ใดส่ิงหนึ่งในลักษณะท่ีเปน็ ไปได้อยา่ งชัดเจน 5) รูปแบบการจัดประชุม โดยการจัดประชุมวิชาการระดับชาติ เป็นรูปแบบใด วิธีใด มีกิจกรรมใดบ้าง โดย เขียนใหช้ ดั เจน เชน่ มีการนาเสนอผลงานวจิ ัยทั้งรูปแบบบรรยายและโปสเตอร์, การบรรยายพิเศษทางวิชาการ, การจัด นทิ รรศการต่างๆ เป็นตน้ 6) กลุ่มเป้าหมาย ใครคือกลุ่มเป้าหมายของโครงการ กลุ่มเป้าหมายที่ได้ประโยชน์จากโครงการน้ี ระบุให้ ชัดเจน เช่น อาจารย์ นักวิจัย นิสิต นักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มศรีอยุธยา และสถาบันการศึกษาต่างๆ ท่ัว ประเทศ บคุ คลทั่วไป เป็นต้น 7) ระยะเวลาและสถานที่ กาหนดช่วงเวลาการดาเนินการโครงการตั้งแต่เร่ิมต้นโครงการจนถึงการสิ้นสุด โครงการ และระบุสถานท่ีดาเนินการโครงการให้ชัดเจน เช่น อาคาร 100 ปี ศูนย์ภาษาและคอมพิวเตอร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา เป็นต้น 8) ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ผลความสาเร็จท่ีจะตามมาเมื่อส้ินสุดโครงการ ประโยชน์ท่ีจะได้รับจาก โครงการนี้ ซ่ึงต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ โดยเขียนให้ชัดเจน เช่น ผู้เข้าร่วมประชุมวิชาการจะได้รับความรู้ แลกเปล่ียนประสบการณ์และเกดิ มุมมองใหม่ๆ เพ่ือนาผลไปประยกุ ต์ใช้ประโยชน์และต่อยอดงานวิจยั ได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม

9) แผนปฏิบัติการจัดโครงการประชุม อธิบายถึงรายละเอียดปฏิทินโครงการ โดยแจกแจงให้เห็นว่าแต่ละ กจิ กรรมจะดาเนนิ การในชว่ งใด ตง้ั แต่เริ่มต้น จนจบโครงการโดยเรียงลาดับจาก วนั เดือน ปี 10) งบประมาณ แจกแจงรายละเอียดค่าใช้จ่ายให้ชัดเจนว่ามีค่าใช้จ่ายใดบ้างแยกตามหมวด เช่น ค่าใช้สอย คา่ ตอบแทน คา่ วัสดุ เป็นต้น 1.2 การวางแผนการดาเนินงาน จะต้องมีการประชุมวางแผนการดาเนินงาน กาหนดทิศทางการดาเนินงาน แบ่ง งานโดยเรมิ่ จากขนั้ ตอนแรกจนถึงข้นั ตอนสุดทา้ ย รวมถงึ ผูร้ บั ผดิ ชอบในแต่ละงาน 1) เรียงลาดับความสาคญั โดยส่ิงไหนสาคัญใหท้ าสง่ิ นน้ั กอ่ น 2) รวบรวมขอ้ มลู จดั เปน็ ข้ันตอนการทางานกอ่ น - หลงั 3) สร้างปฏิทนิ ดาเนินงาน ว่าชว่ งเวลาใดควรทาอะไรแลว้ กาหนดระยะเวลา 4) กาหนดผู้รับผิดชอบในแต่ละงาน เพ่ือความเหมาะสม และเป็นการแบ่งงานรับผดิ ชอบในแต่ละส่วนให้งาน ขบั เคลอ่ื นไปได้อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 5) ทาคาสัง่ แตง่ ตงั้ คณะกรรมการดาเนนิ งานโครงการจัดประชมุ วิชาการระดับชาติ 6) ประชุมติดตามงานเม่ือถึงระยะเวลาที่กาหนด หากมีปัญหาเกิดข้ึน จะได้รีบหาทางแก้ไข หรือปรับเปลี่ยน แผนการดาเนนิ งานใหม่ 1.3 เว็บไซต์ของการประชุมวิชาการระดับชาติ สร้างเพ่ือการประชุมวิชาการระดับชาติเท่าน้ัน เพ่ือเป็นการ ประชาสมั พนั ธ์ และให้ผู้รว่ มงานลงทะเบยี น และตรวจสอบสถานะของตนเองได้ โดยมีรายละเอยี ดเมนดู งั น้ี 1) หน้าหลัก ต้องมีชื่อของการประชุมครบถ้วน บอกถึงจุดประสงค์และกาหนดการสาคญั โดยย่อ เช่น วันเปิด - ปดิ รบั บทความ เปน็ ต้น 2) หลักการ นาโครงการที่เขียนไว้มาใส่ไวใ้ นหน้านี้ โดยลบด้านงบประมาณออก 3) การบรรยายพเิ ศษทางวิชาการ มรี ายช่อื รูปถา่ ยผู้ทรงคุณวฒุ ิบรรยายพิเศษ และช่อื หวั ขอ้ ท่ีจะบรรยายให้ ครบถว้ น 4) สถานะบทความ เจา้ หน้าท่ีผูร้ ับผิดชอบจะต้องอัพเดทสถานะบทความใหเ้ ปน็ ปัจจุบนั ว่าแต่ละบทความถึง ขั้นตอนใด เพ่ือให้ผู้ส่งบทความสามารถรับรู้สถานะบทความของตนได้ด้วยตนเอง ซึ่งจะประกอบด้วย รหัสบทความ แยกตามด้านสาขาวชิ าต่างๆ ชอื่ บทความ สถานะปัจจุบัน และเงอ่ื นไขการนาเสนอและเผยแพร่ 5) สาขาท่เี กีย่ วขอ้ ง จะมีรายละเอยี ดสาขาที่เกย่ี วข้องสามารถสง่ บทความมานาเสนอได้ 6) กาหนดการ มีกาหนดการจริงตั้งแต่เรมิ่ งานจนเสร็จสิน้ การประชมุ 7) สถานท่ี ทางเว็บไซต์ จะต้องมีชื่อให้ชัดเจนว่าจัดประชุมอาคารใด ชื่อที่อยู่ ตาแหน่งที่ตั้ง เช่น ณ อาคาร 100 ปี ศูนย์ภาษาและคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เลขท่ี 96 ถ.ปรีดีพนมยงค์ ต.ประตูชัย อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา 13000 รวมถึงต้องมีรูปถ่ายของอาคารที่จัดประชุมด้วยเพ่ือให้ผู้เข้าร่วม งานถูกท่ี และ มสี ถานท่ีต้ังจาก Google map 8) การส่งบทความ มีระบบออนไลน์ในการส่งบทความเพื่อพิจารณาการการเผยแพร่ โดยจะมีคู่มือการส่ง บทความเปน็ ตัวอย่าง เพื่อใหผ้ ้นู าเสนองา่ ยต่อการสง่ บทความ ท้งั นเ้ี จ้าหน้าทตี่ อ้ งอธบิ ายไดถ้ ้าผสู้ ง่ บทความไมเ่ ข้าใจ 9) การลงทะเบียน ในหน้าการลงทะเบียนมีรายละเอียดบอกท่ีชัดเจนถึงขั้นตอนว่าต้องทาอย่างไรบ้าง เรียงลาดบั เปน็ ขอ้ ๆเพอื่ ใหผ้ ้นู าเสนอเขา้ ใจงา่ ยขึ้น 10) การติดต่อ มชี ื่อหนว่ ยงานทร่ี บั ผิดชอบ เบอรโ์ ทร เบอร์ FAX Facebook หรอื Line เพ่ือตดิ ตอ่ สอบถาม 1.4 การประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ผู้สนใจเข้าร่วมในการประชุมวิชาการระดับชาติเป็นจานวนมาน้ันต้องมีช่องทาง ประชาสัมพันธ์หลากหลายช่องทาง เพื่อให้มีผู้นาเสนอตัดสินใจมาร่วมการประชุมวิชาการระดับชาติ มีความ หลากหลายของผนู้ าเสนอมากขึ้น ดังนี้ 1) หนังสือหรือบันทึก โดยส่งหนังสือเชิญชวนเพื่อเข้าร่วมนาเสนอการประชุมวิชาการระดับชาติ พร้อมกับมี โปสเตอรข์ นาดใหญ่และขนาดกลาง เพ่ือประชาสมั พนั ธด์ ้วย 2) ประชาสัมพนั ธ์ทางเวบ็ ไซต์ของหน่วยงานและขอความอนเุ คราะหห์ นว่ ยงานภายนอกลงเวบ็ ไซต์

3) ประชาสมั พนั ธท์ างสือ่ ออนไลน์ เชน่ เว็บไซต์ Facebook หรือ Line 4) ปา้ ยประชาสมั พันธข์ นาดใหญ่ ติดป้ายประชมุ ในที่บุคลทัว่ ไปมองเห็น 1.5 การลงทะเบยี น แบ่งไดด้ งั นี้ 1) ลงทะเบยี นออนไลน์ - ลงทะเบียนออนไลน์ ต้องบอกขั้นตอนรายละเอียดให้ครบถ้วน โดยเรียงลาดับขั้นตอนให้ผู้นาเสนอทา ตามได้อยา่ งถูกตอ้ ง เตรียมเอกสาร ข้อมูลตา่ งๆ ให้เรยี บรอ้ ย ตัวอย่างดังนี้ - เจ้าของบทความหรือผู้ประสงค์เข้าร่วมงานประชุมวิชาการ ต้องกรอกรายละเอียดในแบบฟอร์ม ล ง ท ะ เบี ย น ให้ ถู ก ต้ อ ง เรี ย บ ร้ อ ย โ ด ย ส า ม า ร ถ ด า ว น์ โ ห ล ด แ บ บ ฟ อ ร์ ม ได้ ที่ website ข อ ง ง า น http://ncsag2016.aru.ac.th - เจ้าของบทความหรือผู้ประสงค์เข้าร่วมงานประชุมวิชาการ ต้องโอนเงินเข้าบัญชีธนาคารกรุงเทพ สาขาอยธุ ยา ประเภทบัญชีออมทรัพย์ เลขท่ีบัญชี 322-5-255XX-X ชอื่ บัญชี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ พระนครศรีอยุธยา กองทนุ สนบั สนุนการวิจยั - ส่งเอกสารหลักฐานในขอ้ 1 และ ขอ้ 2 มาท่ี Email : [email protected] หรือ Fax: 035-322082 - ตรวจสอบสถานะลงทะเบียนไดท้ ี่ website ของงาน http://ncsag2016.aru.ac.th 2) ลงทะเบียนหน้างาน - ลงทะเบียนหน้างาน ถือเป็นส่ิงสาคัญ โดยต้องเตรียมงานทั้งด้านเอกสารใบลงทะเบียน เอกสารสาหรับให้ผู้ มารว่ มงาน และเอกสารทางการเงนิ โดยจะตอ้ งเตรยี มดงั นี้ - ต้องมีป้ายหน้าห้องท่ีมีขนาดใหญ่และที่ชัดเจนว่าท่ีน่ีคือ “ห้องลงทะเบียน” เพราะถือเป็นห้องที่สาคัญมาก ในการทผ่ี นู้ าเสนอจะมาลงทะเบียนยืนยันวา่ ผนู้ าเสนอได้มาถงึ แล้ว - มีป้ายในการลงทะเบียน จะแยกออกเป็นผู้นาเสนอ และผู้เข้าร่วมงาน โดยผู้นาเสนอจะอยู่อีกด้านหน่ึงไม่ อยรู่ วมกนั กบั ผูล้ งทะเบยี นเขา้ รว่ มงาน เพ่อื ไม่ให้สบั สนระหวา่ งลงทะเบียน - มีป้ายตั้งโต๊ะลงทะเบียนแยกเป็นด้านต่างๆ เช่น ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้านวิทยาการจัดการ ด้านการศึกษา ด้านวิจัยสถาบัน ด้านมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ เป็นต้น โดยแต่ละด้านใช้กระดา ษสีต่างกัน ตัวอักษรต้องมีความคมชัด ตัวอักษรไม่ขาดหายเหมือนหมึกที่จะหมด ตัวอักษรมาตรฐานใช้ TH Sarabun PSK เพื่อ อ่านเข้าใจง่าย ตัวอักษรขนาดใหญ่ - ลงทะเบยี นผนู้ าเสนอกจ็ ะแยกด้านกลมุ่ ตา่ งๆ โดยเรยี งจากรหัสบทความที่ผนู้ าเสนอได้รบั - มีบคุ ลากรผู้รับผดิ ชอบลงทะเบียนอยู่อยา่ งนอ้ ยด้านละ 2 คน - มีฝา่ ยต้อนรับคอยแนะนาการลงทะเบียน เช่นเมือ่ ลงทะเบียนเรียบรอ้ ยแล้ว ให้ไปจ่ายเงินท่ีฝ่ายการเงินที่มา รอรบั เงนิ และออกใบเสรจ็ - ฝา่ ยต้อนรับการลงทะเบยี น ผู้รับผิดชอบต้องใส่สทู ให้เปน็ มาตรฐานแต่งตัวดี พูดจาไพเราะ ใช้น้าเสยี งสุภาพ นุ่มนวล แนะนาผูน้ าเสนอและผูร้ ว่ มงานได้ ว่าลงทะเบียนตรงไหน จา่ ยค่าลงทะเบียนทใ่ี ด ช้ไี ม่ผดิ จุด 1.6 การเลือกผูท้ รงคุณวฒุ บิ รรยายพิเศษและผูท้ รงคุณวุฒิประเมินคุณภาพบทความ 1) การเลือกผู้ทรงคุณวุฒิบรรยายพิเศษ กิจกรรมท่ีนอกเหนือจากการนาเสนอ คือการบรรยายพิเศษ ควรจะ เลอื กเรอ่ื งทเ่ี ป็นที่น่าสนใจในขณะน้ัน อยใู่ นกระแส มีผ้สู นใจเยอะ และวทิ ยากรต้องมีชื่อเสียงเป็นที่หน้าสนใจ เพ่ือเป็น แรงจูงใจในการมีผู้เข้าร่วมการประชุม และประชาสัมพันธ์ โดยการใช้ชื่อหัวข้อการบรรยายพิเศษที่น่าสนใจ ดูมีความ พิเศษกว่าการบรรยายแบบธรรมดา ต้องมีความชัดเจน เช่น วิทยากรคือใคร บรรยายเรื่อง วันท่ี เวลา และใช้สีสันท่ี สะดดุ ตา เปน็ ตน้ 2) ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินคุณภาพบทความ การคัดเลือกผู้ทรงคุณวุฒิประเมินคุณภาพบทความต้องตรงตาม สาขาของบทความ เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบต้องหาข้อมูลผู้ทรงคุณวุฒิ บทความทุกบทความต้องมผี ู้ทรงคุณวุฒิพิจารณา อย่างนอ้ ยสองทา่ น 3) ในกรณเี ป็นบทความจากบุคลภายใน ต้องเปน็ ผูท้ รงคุณวฒุ ภิ ายนอกต่างมหาวิทยาลยั เทา่ นนั้

4) ในกรณีท่ีเป็นคนภายนอกมาส่งบทความ ผู้ทรงคุณวุฒิจะเป็นภายนอกท้ังสองท่าน หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ภายนอกหนึ่งทา่ นและภายในหน่ึงทา่ น 1.7 การตดิ ตอ่ ประสานงาน 1) การประสานงานขอความร่วมมือ ผู้ประสานงานต้องมีความเข้าใจให้ชัดเจนในเร่ืองท่ีจะขอความร่วมมือ ก่อน ต่อจากน้ันใช้การพูดคยุ ดว้ ยวาจาตกลงกนั เบ้ืองต้นก่อน พดู ให้ชดั ถ้อยชัดคา ย้ิมแย้ม สภุ าพ เมื่อได้ขอสรปุ แล้วจึง ทาหนงั สือหรือบันทึกขอความร่วมมือ พรอ้ มแนบรายละเอียดตา่ งๆ ท่จี ะขอความร่วมมือด้วย 2) การติดต่อประสานงานไม่เป็นทางการ โดยใชว้ าจาต้องพยายามใชค้ าพดู ทเ่ี หมาะสมกับผทู้ ่ีเราพูดด้วย การ พดู ด้วยวาจาสภุ าพไพเราะก็จะเปน็ ทีช่ ่นื ชอบกบั ผู้ท่ีได้ยนิ และยงั มปี ระโยชน์ต่อตนเองทางดา้ นมารยาทด้วย ช่วยลดข้อ ขัดแยง้ ในการทางาน และสนับสนุนการทางานร่วมกัน 3) การติดต่อประสานงานแบบเป็นทางการ การประสานงานภายในองค์กร หรือภายนอกองค์กร โดยการ ติดต่อประสานงานใช้หนังสือหรือบันทึกนั้น ต้องมีรายละเอียดที่ชัดเจน เช่น เร่ืองอะไร ขอเท็จจริงอย่างไร มีข้อเสนอ อย่างไรบ้าง รวมถึงเอกสารแนบต่างๆ ให้ครบถ้วน พร้อมกับให้ช่ือ ที่อยู่ และเบอร์โทรของผู้ประสานงานแต่ละงานไว้ ดว้ ย เพอื่ ตดิ ตอ่ ได้อยา่ งรวดเรว็ 4) การประสานต้องมีเครื่องอานวยความสะดวก โดยต้องมีเครื่องมือในการประสานงาน เช่น คอมพิวเตอร์ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โทรศัพท์ FAX เป็นต้น ผู้ประสานงานต้องใช้งานเป็น และเครื่องมือเหล่านี้ต้องไม่เสียหรือ ชารุด เพ่ือลดความผิดพลาดในการสื่อสาร และความรวดเร็วของการประสานงาน และยังช่วยประหยัดเวลา และ ทรพั ยากรในการปฏบิ ัติงาน 5) ในกรณีต้องประสานงานจากหน่วยงานอื่นๆ มากกว่า 1 หน่วยงาน แต่เป็นเรื่องเดียวกัน ผู้ประสานงาน จะต้องสามารถทาให้ทุกหน่วยงานหรือทุกฝ่ายเข้าใจตรงกัน ร่วมทางานอย่างมีจุดมุ่งหมายเดียวกัน ตามวัตถุประสงค์ ของงานน้ันๆ โดยขอเชิญประชุมเพ่ือแลกเปล่ียนความคิดเห็นเพ่ือสรุป การทางานต้องช่วยเหลือกันและเป็นไปใน ทศิ ทางเดียวกัน 6) การประสานงานกับผู้ทรงคุณวุฒิ วิทยากร หรือผู้บริหาร ควรใช้วาจาสุภาพ มีข้อมูลท่ีจะสามารถพร้อม สนทนาอยา่ งราบลนื่ ยิม้ แยม้ สวมใสช่ ดุ สุภาพ และตอ้ งมบี ุคลิกภาพท่ีดี เช่น ไมม่ องไปทางอ่นื โดยไม่สนใจค่สู นทนา ไม่ ควรยืนพิงหรอื ยืนพกั เท้า ควรยนื ตวั ตรงสภุ าพ เป็นต้น 1.8 การดาเนนิ งานด้านงบประมาณ 1) การจัดต้ังคณะทางานดาเนินงานด้านงบประมาณ ว่าใครรับผิดชอบในส่วนใด กาหนดดาเนินการเมื่อไหร่ เช่น ดา้ นการจัดแสดง ด้านพิธเี ปิด ด้านอาหารและเครอื่ งดืม่ ด้านคา่ ตอบแทนตา่ งๆ ด้านวสั ดุ ดา้ นเอกสาร เปน็ ต้น 2) ผู้รับผิดชอบในแต่ละด้านต้องควบคุมการใช้งบประมาณที่กาหนดไว้ในโครงการ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และตรงเวลาโดยต้องกาหนดเวลาเพ่อื ให้ทนั ต่อการใช้งบประมาณเพ่ือลดการผดิ พลาด 3)การเลือกร้านค้าหรือร้านอาหาร ต้องเลือกคุณภาพดีราคาไม่เกินจากที่ตั้งงบประมาณไว้ ต่อรองราคาด้วย การขอใบเสนอราคาแต่ละที่แลว้ นาเข้าที่ประชุมเพื่อเลือกร้านค้าหรือรา้ นอาหารต่อไป 4) การซ้ือจ้าง/เบิกจ่าย ต้องตรวจสอบหลักฐานทุกคร้ัง เช่น ใบเสร็จ ใบส่งของ ใบสาคัญรับเงิน บัตร ประจาตวั ประชาชน และรวบรวมดาเนนิ การซอื้ จ้าง/เบิกจา่ ย ตามระยะเวลาที่กาหนด 1.9 การจัดรูปแบบงานประชุมคณะกรรมการท่ีเก่ียวข้องด้านการจัดรูปแบบงานประชุมวิชาการะดับชาติ ซ่ึงเป็น การประชุมทางวิชาการ หมายถึงการชุมนุมในด้านวิชาการหรือวิชาชีพ โดยต้องมีความชัดเจนเริ่มตั้งแต่ต้ังชื่อและ รูปแบบการประชุมวิชาการระดับชาติ ชื่อและรูปแบบของนิทรรศการ รูปแบบสถานที่ โดยวางแผนการดาเนินงาน ดงั นี้ 1) การบรรยายพิเศษ - มกี ารประชุมเลอื กหวั ข้อการบรรยายวา่ ควรบรรยายเกี่ยวกบั ดา้ นใด ขณะนี้กล่มุ เปา้ หมายสนใจด้านใดอยู่ - การเลือกผู้ทรงคุณวุฒิบรรยายพิเศษ ควรมีความร้ใู นหัวข้อนั้นๆ ผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีช่อื เสียงเป็นที่สนใจ เพ่อื เปน็ แรงจูงใจในการมผี ู้เขา้ รว่ มงานจานวนมาก

- ระยะเวลาควรเป็นช่วงเวลาหลังจากพิธีเปิดเสร็จสิ้น ผู้ทรงคุณวุฒิจะเริ่มบรรยายพิเศษต่อ เพ่ือให้ ผูเ้ ขา้ รว่ มประชมุ อยูใ่ นห้องประชุมอยา่ งต่อเนอ่ื ง และการบรรยายพเิ ศษไม่ควรเกิน 40 นาที - กรณมี ีเอกสารแจก ตอ้ งแจกกอ่ นเข้าหอ้ งประชุมและสามารถดาวนโ์ หลดเอกสารบนเวบ็ ไซต์ได้ 2) การนาเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการระดบั ชาติ - มีการประชุมเลือกรูปแบบการการนาเสนอ เนื่องจากเป็นการประชุมขนาดใหญ่ ควรมีการนาเสนอ 2 รูปแบบ คือ ภาคบรรยาย และภาคโปสเตอร์ - กาหนดสาขา กลุ่มเป้าหมายที่จะมานาเสนอผลงานให้สอดคล้องกับโครงการการประชุมวิชาการ ระดับชาติ เช่น ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้านวิทยาการจัดการ ด้านการศึกษา ด้านวิจัยสถาบัน ด้านมนุษย์ ศาสตร์และสงั คมศาสตร์ เป็นตน้ - ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินผล ต้องตรงตามสาขาวิชาน้ันๆ โดยกาหนดให้ ภาคบรรยาย มีผู้ทรงคุณวุฒิ ประเมินผล 2 ทา่ นในแตล่ ะหอ้ ง และภาคโปสเตอร์ มผี ูท้ รงคณุ วุฒิประเมนิ 2 ท่านเชน่ กนั ในแตล่ ะสาขาวิชา - การนาเสนอบทความภาคบรรยาย (Oral Presentation) ผู้นาเสนอต้องส่งบทความฉบับสมบูรณ์ตาม รปู แบบท่ีกาหนดโดยมีเวลาสาหรบั การนา เสนอ 13 นาทแี ละเวลาสาหรับถาม - ตอบ 2 นาที - การนาเสนอบทความภาคโปสเตอร์ ผู้นาเสนอต้องส่งบทความฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบท่ีกาหนด และ นาโปสเตอรใ์ นรูปแบบทกี่ าหนดมาดว้ ย เสนอ 13 นาทีและเวลาสาหรับถาม - ตอบ 2 นาที - เม่ือเสร็จสิ้นการนาเสนอ เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบจะดาเนินเก็บผลการประเมิน ข้อเสนอแนะจาก ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ และการรวบรวมคะแนน - ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินผลการนาเสนอจะต้องมีเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ 1 คน เพ่ืออานวยความสะดวก ระหว่างการประเมิน 3) การจัดนิทรรศการ การวางแผนเป็นขน้ั ตอนก่อนลงมือปฏิบัติ เป็นสิ่งสาคัญ การวางแผนที่ดีจะช่วยให้การ ดาเนนิ งานประสบผลสาเร็จไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ โดยมขี ั้นตอนดงั นี้ - กิจกรรมของนิทรรศการเป็นแบบใด ต้องประชุมปรึกษา ในการเลือกรูปแบบหัวข้อที่จะแสดง นทิ รรศการ เน้ือหาเรื่องราวทจ่ี ัดนิทรรศการต้องมกี ารกาหนดให้สอดคล้องกับโครงการ และเลือกใช้คาเนอ้ื หา รปู ภาพ สี ใหเ้ หมาะสม ดูโดดเดน่ เพ่ือใหผ้ รู้ ่วมงานสนใจและประทบั ใจในงานนทิ รรศการ - กาหนดวตั ถปุ ระสงคข์ องการจดั นิทรรศการ วัตถุประสงค์ของงานประชุมวิชาการระดับชาติด้วย โดยให้ สอดคล้องกบั โครงการทเ่ี ขียนโครงการไว้เร่ิมแรก - กาหนดพื้นท่ีและขนาดในการจัดนิทรรศการ ว่าบริเวณน้ีมีผู้คนเยอะหรือไม่เพราะการจัดนิทรรศการ ต้องอยู่ในท่ีท่ีมีผู้คนตลอดเวลา สถานท่ีจัดนิทรรศการท่ีได้รับความสนใจจากผู้ชมกลุ่มเป้าหมายมักอยู่ไม่ห่างไกลมาก จนเกนิ ไป - ในกรณีมกี ารจัดแสดงนิทรรศการแสดงผลงานวจิ ัยของหน่วยงานอ่นื ๆท้ังภายในและภายนอกองคก์ รน้ัน ต้องมีการประสาน กาหนดแผนผังว่าหน่วยงานแต่ละหน่วยงานจะอยู่ส่วนใด มีรายละเอียดต่างๆ ให้ครบถ้วน เช่น ขนาดของพ้ืนท่ีจัดนิทรรศการ ความยาว ความกว้าง ความสูง มีสิ่งอานวยความสะดวก เช่นปล๊ักไฟมีเพียงพอ แสง สวา่ งมเี พยี งพอ พดั ลมมเี พยี งพอ เปน็ ตน้ - ก่อนลงมือดาเนินงานจัดนิทรรศการนั้นจะต้องมีแผนผังการจัดนิทรรศการ เพ่ือจาลองให้เห็นภาพและ เพื่อดาเนินการให้ถูกต้องตรงตามความต้องการ หลังจากนั้นจึง เตรียมวัสดุอุปกรณ์ให้พร้อม หรืออาจว่าจ้างในงาน บางส่วนต้องอธิบายให้ละเอียดพร้อมภาพประกอบ ในกรณีจ้างเพ่ือจัดนิทรรศการทั้งหมด ต้องมีตัวอย่างการจัด นทิ รรศการรปู แบบเสมือนจริงใหพ้ จิ ารณาและราคาก่อนตกลงว่าจ้าง - การทาการทดลองก่อนประกอบจริง ต้องประชุมผู้รับผิดชอบว่าใครรับผิดชอบส่วนใดให้ทาส่วนน้ัน ทุก คนต้องมีภาพนิทรรศการ และนามาประกอบช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน หลังจากนั้นทดลอง แสง สี เสียง ซึ่งต้องให้ เหมอื นวนั จดั นทิ รรศการจรงิ ทกุ อย่าง ต้องสาเร็จกอ่ นวันงานอยา่ งนอ้ ย 1 สัปดาห์

- การแสดงศิลปวัฒนธรรม การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ มีผู้เข้าร่วมงานและสนใจจานวนมาก จึงควรมี การแสดงศิลปวัฒนธรรม ขององค์กรหรือของจังหวัด เพ่ือเป็นการประชาสัมพันธ์สถานท่ีจัดประชุมด้วย เช่น การ แสดงดนตรี การแสดงราไทย การทาเครอื่ งจกั สาน เป็นต้น - การมอบรางวัลการนาเสนอบทความวจิ ัยดีเดน่ ทง้ั รูปแบบบรรยายและโปสเตอร์ เปน็ การให้กาลงั ใจกับ นักวิจัยหรือผู้นาเสนองาน เพ่ือพัฒนางานวิจัยต่อไป โดยนับคะแนนจากผลการประเมินในช่วงนาเสนอผลงาน จากผ้ทู รงคุณวฒุ ิทั้งหมด โดยรางวลั คือประกาศนยี บตั ร 1.10 การจดั สถานทีก่ ารประชุมและท่ีพัก 1) การจัดสถานที่ในการจัดประชุมวิชาการระดับชาติ ควรดูจากรปู แบบงานว่ามีกิจกรรมใดบ้าง ลักษณะงาน เป็นอย่างไร มีจานวนกลุ่มเป้าหมายก่ีคน ต้องใช้สถานท่ีเยอะหรือไม่ ถ้ามีผู้เข้าร่วมงานจานวนมาก เป็นการประชุม ขนาดใหญ่ มีเทคนิคการเลือกสถานที่คือ เลอื กสถานที่ที่มีห้องประชุมขนาดใหญ่ มีห้องเพียงพอตอ่ การนาเสนอผลงาน ทั้งภาคบรรยาย ภาคโปสเตอร์ และนทิ รรศการ มีหอ้ งรับรองผู้ทรงคุณวุฒิ มีสิ่งอานวยความสะดวกท่ีเหมาะสม เช่น ที่ จอดรถ ห้องรับประทานอาหาร ห้องน้า เป็นต้น และสถานที่จัดการประชุมควรเดินทางสะดวกเป็นท่ีรู้จักของบุคคล ทวั่ ไป 2) การจัดห้องประชุมใหญ่เพื่อบรรยายพิเศษ ต้องมีขนาดใหญ่มีท่ีนั่งเพียงพอกับผู้เข้าร่วมงาน มีชุดรับแขก สาหรับ ประธานเปิดงานและผู้ทรงคุณวุฒิ และมีส่ิงอานวยความสะดวก เช่น คอมพิวเตอร์ เคร่ืองฉายโปรเจคเตอร์ ขนาดใหญ่ ควรใชไ้ มค์โครโฟนไร้สาย มอี ากาศท่ถี ่ายเทสะดวก ดูไม่อดึ อัด เป็นตน้ 3) การจัดห้องนาเสนอภาคบรรยายและภาคโปสเตอร์ การจัดสถานท่ีในการจัดประชุมวิชาการ จะต้องแบ่ง สัดส่วนให้ชัดเจน โดยภาคการบรรยายห้องแต่ละห้องจะอยู่ติดๆ กัน เช่น มี 5 ห้อง 5 ห้องนั้นจะอยู่ติดกันหรือยู่ฝ่ัง เดียวกัน และห้องภาคการนาเสนอแบบโปสเตอร์ก็จะอยู่ติดกันฝ่ังเด๋ียวกัน ซึ่งทุกห้องจะต้องมีกาหนดการของแต่ละ หอ้ งติดไว้ ประกอบด้วย ชือ่ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ ช่อื ผ้นู าเสนอเรยี งตามลาดับ และเวลาให้ชัดเจน 4) การจัดสถานท่ีรับประทานอาหาร ต้องใช้ห้องที่กว้างขวางและโล่ง เหมากับการรับประทานอาหาร โดย การจัดโต๊ะ จะจัดในลักษณะโต๊ะละ 8 ที่ ซ่ึงแต่ละโต๊ะจะไม่ติดกันมากเกินไป ต้องมีที่ให้ผู้เข้าร่วมงานเดินเข้าออก สะดวก อากาศตอ้ งถา่ ยเทสะดวก มเี ครอื่ งปรบั อากาศหรือพดั ลมชว่ ยในการคลายร้อน 5) การจัดสถานที่จอดรถ ควรเลือกสถานท่ีโล่ง และติดป้ายขนาดใหญ่ว่าสถานท่ีน้ีสามารถจอดรถได้ และขอ ความรว่ มมอื จากเจา้ หน้าท่รี กั ษาความปลอดภัยให้อานวยความสะดวกแก่ผู้เข้ารว่ มการประชมุ 6) การขอความร่วมมือในการจัดสถานท่ี ในการจัดสถานที่น้ัน สถาบันวิจัยไม่สามารถทาหน่วยงานเดียวได้ เนื่องจากเป็นงานใหญ่ จึงต้องขอความร่วมมือจากหนว่ ยงานอ่ืน ซ่ึงเทคนิคการขอความรว่ มมือในแตล่ ะด้านนั้น ต้องใช้ เทคนิค คือ การประสานงานที่ดี ก่อนอื่นต้องประชุมว่าในการประชุมวิชาการระดับชาติน้ัน ต้องมีอะไรบ้าง ใครทา อะไร ท่ีไหน อย่างไร ต้องให้ชัดเจนก่อน จึงประสานงานไปแต่ละหน่วยงาน เช่น การจัดสถานที่จัดประชุม ต้องขอ ความร่วมมือจากหน่วยงานอาคารและสถานท่ี โดยการบันทึกขอความอนุเคราะห์จากผู้อานวยการสานักงาน อธิการบดี ซ่ึงในเนื้อหาต้องอธิบายให้ละเอียดและชัดเจนว่าต้องการอะไรบ้าง เช่น บุคลากรก่ีคน โต๊ะกี่ตัว เก้าอ้ีก่ีตัว ชุดรับแขกกช่ี ุด เปน็ ตน้ 7) การจองโรงแรมและท่ีพัก ส่วนที่จะต้องทานอกเหนือจากการจัดสถานท่ี คือ ที่พักและรถรับส่ง โดยการ อานวยความสะดวกตดิ ต่อโรงแรมให้ โดยใชเ้ ทคนิคการประสานงานกับโรงแรมท่ีมีความสะดวก อยู่ไม่ไกลจากสถานที่ จัดการประชุม และมีห้องท่ีสะอาด และต้องจองไว้ล่วงหน้าอย่างน้อย 3-4 สัปดาห์ เพื่อไม่ให้เกิดปัญหา หาโรงแรม ไม่ได้หรือโรงแรมเต็มเป็นต้น และการให้เบอร์โทรผู้ประสานงาน แผนที่การเดินทาง ระยะเวลาการเดินทาง เพ่ือลด ปญั หาการเข้าร่วมประชมุ ไมท่ ันเวลาของผู้นาเสนอ 1.11 การจัดอาหารและเครอ่ื งดม่ื 1) ประชุมวางแผนการดาเนินงานเรื่องอาหาร ต้องจัดอาหารตามจานวนคนที่ต้ังเป้าหมายไว้ แต่กรณีที่มี ผู้เข้าร่วมประชุมจานวนมากกว่าที่ตั้งเป้าหมายไว้ ควรจะจัดเตรียมปริมาณอาหารให้เกินประมาณ 10 -20% เช่น เปา้ หมาย 100 คน ควรจดั เกนิ ไว้ 120 ท่ี เปน็ ต้น อาหารและนา้ ด่มื จะต้องมีเพยี งพอ

2) ประเภทของอาหารต้องมีความหลากหลาย โดยสารวจจากการลงทะเบียนว่ามีอาหารไทยจานวนก่ีคน อาหารอิสลามจานวนก่ีคน อาหารต้องมีรสชาติท่ีดี ถูกปากผู้รับประทาน มีความหลากลาย เช่น กับข้าว ก๋วยเต๋ียว ขนมจนี ของหวานและผลไม้ โดยเลอื กจากร้านท่ีเคยสง่ั ประจาหรือรา้ นทมี่ ีรสขาตอิ ร่อย และมีราคาท่ีเหมาะสม 3) การจัดอาหารจะแยกเป็น 2 ส่วน คือ 1.อาหารสาหรับผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้บริหารและแขกคนสาคัญ โดยจะจัด เซตเป็นโต๊ะอาหาร 2. ผู้เขา้ ร่วมประชมุ และผู้นาเสนอ จัดแบบ buffet ผเู้ ข้าร่วมประชมุ สามารถตักอาหารรับประทาน เองได้ และทานได้หลายอย่าง การจัดอาหารว่างและเครื่องดื่ม จะจัดเป็นชุด ซึ่งประกอบด้วย ขนม 2 อย่าง น้าผลไม้ นา้ เปลา่ โดยให้พร้อมกบั การลงทะเบยี นเพ่ือความรวดเรว็ 2.การนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ 2.1 ภายในหน่วยงาน 1) บุคลากรภายในหน่วยงานสามารถปฏิบัติงานแทนเจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบในแต่ละงานได้ เช่น การวางแผน การดาเนินงาน, การประชาสัมพันธ์, การติดต่อประสานงาน, การลงทะเบียน, การดาเนินงานด้านงบประมาณ, การ จดั สถานที่การประชุมและโรงแรม เปน็ ต้น การให้ความรู้และแนะนากับผตู้ ิดต่อราบรื่น และรวดเร็วมากขึ้น เน่ืองจาก เจ้าหน้าที่แต่ละท่านจะรู้ถึงกระบวนการต่างๆจึงสามารถให้ความรู้จากผู้ติดต่อสอบถามได้ และการจัดการความรู้ยัง- ช่วยสนับสนุนการตัดสินใจและวางแผนดาเนินงานให้ประสบความสาเร็จ รวดเร็ว เนื่องจากมีแหล่งรวบรวมความรู้ท่ี นา่ เชอ่ื ถือ และทาให้ระบบการจัดประชมุ วชิ าการระดับชาติมปี ระสิทธิภาพและสาเรจ็ บรรลุตามเปา้ หมายท่ตี ้ังไว้ 2) บุคลากรสามารถนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในงานของตนได้ ได้ทดสอบความสามารถของตนมีความรู้เพ่ิม มากข้ึนสามารถนาไปพฒั นางานตนเองได้ 2.2 ภายนอกหนว่ ยงาน หน่วยงานภายนอกที่ได้ความรู้จากคู่มือเทคนิคการจัดประชุมวิชาการระดับชาติ มีการนาไปใช้ในการ ดาเนินงานของตน เพ่ือให้มแี นวทางในการจัดการประชุมวิชาการระดับชาติ และเพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชนม์ ากขน้ึ สรปุ การดาเนินการจัดการความรู้ เรือ่ งเทคนคิ การประชุมวชิ าการระดับชาติ ถือวา่ สาคัญย่ิงเนื่องจากเป็นการประชุม ขนาดใหญ่มีขั้นตอนและรายละเอียดจานวนมาก จึงต้องมีความรู้ความเข้าใจ โดยได้จัดทาเป็นคู่มืออธิบายเทคนิค รายละเอียดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการประชุมวิชาการระดับชาติ เพื่อให้บุคลากรภายในหน่วยงานสถาบันวิจัยและ พัฒนา และหน่วยงานภายนอก ได้นาเทคนิคไปใช้ในการจัดประชุมวิชาการระดับชาติ เพื่อให้ขั้นตอนการดาเนินงาน เปน็ ไปอยา่ งเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพบรรลเุ ป้าหมายของงาน และเพ่ือพัฒนาการปฏิบตั ิงานของตนให้ดยี ่งิ ข้นึ โดย การจัดการความรู้มีปัจจัยแห่งความสาเร็จ คือ บุคลากรในหน่วยงานมีความสามัคคี ผู้บริหารองค์กรมีวิสัยทัศน์และ สนับสนุน บุคลากรมีทัศนคติท่ีดีเกี่ยวกับการจัดการความรู้ ซึ่งทาให้การถอดองค์ความรู้ประสบผลสาเร็จและนาไปใช้ ประโยชนไ์ ดจ้ รงิ บรรณำนุกรม จริ าภรณ์ พงษ์ศรที ัศน.์ 2553. “ปจั จัยด้านวัฒนธรรมองคก์ รและการจัดการความรทู้ ม่ี อี ทิ ธพิ ลต่อประสทิ ธิผลของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล.” ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎบี ณั ฑิตสาขาวิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษยม์ หาวทิ ยาลัย รามคาแหง. ศุภามนต์ ศุภกานต์ และ Biz Wisdom. 2547. “การจัดการความรูปแบบที่ถูกต้องนั้นเป็นอย่างไร.” กรงุ เทพมหานคร. ไทยวัฒนาพาณชิ ย.์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. 2561. “แผนปฏิบัติการประจาปีสถาบันวิจัย และพฒั นา.” สานักงาน ก.พ.ร.และสถาบันเพิ่มผลผลิตแหง่ ชาติ. 2548. “ค่มู อื การจัดทาแผนการจดั การความรู้.”

รูปแบบการนําเสนอแนวปฏบิ ัติท่ีดี โครงการประชุมสัมมนาเครอื ขา่ ยการจัดการความรู้ฯ ครัง้ ท่ี12 “การจัดการความรูส้ มู่ หาวิทยาลยั นวตั กรรม” (Knowledge Management: Innovative University) สําหรบั อาจารย/์ บคุ ลากรสายสนบั สนุน/ นักศึกษา ชื่อเร่ือง/แนวปฏิบตั ทิ ด่ี ี นวัตกรรมการบริหารจดั การประชมุ กับนโยบายไทยแลนด์ 4.0 ชอ่ื -นามสกลุ ผู้นาํ เสนอ นายจกั รกฤษณ์ ชํานาญกิจ ช่อื สถาบนั การศึกษา - หน่วยงาน ภาควิชาสรรี วิทยา คณะสตั วแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ เบอรโ์ ทรศพั ทม์ อื ถือ 081-3727054 เบอรโ์ ทรสาร 0-2579-7538 E-Mail address [email protected] ผ้สู ่งแนวปฏบิ ตั ิทีด่ ีตอ้ งนําเสนอเนอื้ หาและเอกสารต่างๆ ทแ่ี สดงถงึ แนวปฏบิ ัตทิ ่ดี ีโดยต้อง ครอบคลุมเนือ้ หาดังน้ี • บทสรปุ (ภาษาไทยให้มขี อความเหมอื นภาษาอังกฤษ ความยาวไมค่ วรเกนิ 300 คาํ ) • Summary (บทสรุปเป็นภาษาอังกฤษ) • คําสําคญั (โปรดระบคุ าํ สําคญั ไมเ่ กนิ 5 คาํ ) • บทนํา (ชี้ให้เห็นความสําคัญ ประเด็นของเร่ือง ปัญหาของกระบวนการ หรือวิธีการ ดาํ เนินงานท่ีผา่ นมาก่อนทีจ่ ะมีการจดั การความร้)ู • วิธีการดําเนินงาน (วิธีการ กระบวนการ และแนวทางการดําเนินงาน โดยระบุและ อธบิ ายการใชเ้ คร่อื งมอื การจัดการความรู้ (KM TOOLS) • ผลและอภปิ รายผลการดาํ เนินงาน (เกิดผลกระทบทีเ่ ป็นประโยชน์หรือสร้างคุณค่า เกิด นวัตกรรมใหม่/สามารถแก้ปัญหาหรือพัฒนาระบบงานเดิมอย่างไร/ปัจจัยที่ทําให้เกิดผลสําเร็จ ปัญหา อปุ สรรคและแนวทางแกไ้ ข) • สรุป (สรุปอธิบายให้เห็นความสําเร็จ และเสนอแนะแนวทางการทํางานในข้ันต่อไป หรือความทา้ ทายในการดําเนนิ กจิ กรรมอนาคตได้อยา่ งไร • บรรณานกุ รม (เอกสารทัง้ หมดทีผ่ ู้เขียนไดใ้ ช้อา้ งองิ ) หมายเหตุ การจัดทาํ เอกสารนําเสนอแนวปฏิบตั ิทด่ี ี 1. ขนาดกระดาษ A4 ไม่เกนิ 10 หนา้ 2. กนั้ หน้าซ้าย 1.5” กนั้ หลงั ขวา 1.25” ขอบกระดาษบน และล่าง 1.25” 3. การพิมพ์ใช้ตัวอักษร “TH SarabunPSK” Font Size 16 ตัวอักษรปกติ หัวข้อใหญ่ Font Size 18 ตวั อักษรหนา

หลักเกณฑก์ ารส่งผลงานเขา้ รว่ มประกวด 1. เป็นบทความนําเสนอแนวปฏิบัติที่ดีท่ีเกิดจากการจัดกิจกรรมการจัดการความรู้ใน องค์กรท่ดี าํ เนินการเพอื่ พฒั นาตนเองและพัฒนาการปฏบิ ัตงิ านในองค์กร 2. สามารถเปน็ กิจกรรมทีใ่ ช้เคร่ืองมอื การจดั การความรู้ (KM TOOLS) มาใชใ้ นกจิ กรรม 3. สามารถอธิบายถึงการนําผลของกิจกรรมไปปรับใช้หรือสามารถอธิบายแนวทางการ นําผลการดําเนินงานไปใช้ประโยชนใ์ นการพัฒนางานและพฒั นาทักษะของตนเอง

องค์ประกอบประเดน็ การเขียนบทความแนวปฏบิ ัตทิ ี่ดี โครงการประชุมสัมมนาเครือข่ายการจัดการความรู้ฯ คร้งั ที่ 12 “การจดั การความรสู้ ่มู หาวิทยาลัยนวตั กรรม” (Knowledge Management: Innovative University) สาํ หรบั อาจารย/์ บคุ ลากรสายสนบั สนุน/ นักศกึ ษา นวัตกรรมการบรหิ ารจดั การประชมุ กับนโยบายไทยแลนด์ 4.0 Innovation of conferencing management in the era of policy “Thailand 4.0” จกั รกฤษณ์ ชาํ นาญกจิ Chakkit Chamnankit เจา้ หนา้ ทบี่ รหิ ารงานท่วั ไป ระดบั ชาํ นาญการ ภาควชิ าสรรี วิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ [email protected] ............................................................................................................... บทสรุป บทความวิชาการคร้ังน้มี จี ดุ มุ่งหมายเพ่อื เสนอแนะแนวทางการปรับปรุง พัฒนา และเพ่ิม ศักยภาพการดําเนินงานการประชุม โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีระบบ QR code เช่น การดาวน์ โหลดไฟล์เอกสารจัดการข้อมูล การเปล่ียนวิธีการดําเนินงานให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน ลดการใช้ กระดาษ และลดข้ันตอนการดําเนินงานที่ซ้ําซ้อน เพ่ือตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ 4.0 อย่าง เป็นรูปธรรมและต่อเน่ือง ซ่ึงเป็นการประยุกต์ใช้นวัตกรรมการบริหารจัดการที่ทันสมัยให้ เหมาะสมกบั สภาพสงั คมไทย คาํ สําคัญ นวตั กรรมการบริหารจดั การประชุม นโยบายไทยแลนด์ 4.0 Summary This statement presents the way how to improve, develope and masximize the potential of the conference process. By adapting QR code technology method such as document filing management, revise the process for more efficient, paperless and duplicated work to reciprocate the era of policy Thailand 4.0 factually. It’s the applied of modern innovative management and suit for Thailand nowadays. Key words: Innovation of conferencing management, policy “Thailand 4.0”

บทนาํ ในศตวรรษท่ี 21 มนุษย์ทั่วโลกกําลังก้าวเดินอย่างต่อเนื่องไปในทิศทางของโลกดิจิทัล สังคมไทยก็เช่นเดียวกันท่ีกําลังก้าวและพัฒนาเข้าไปในระบบที่เช่ือมโลกดิจิทัลกับโลกแห่งความ จริงเข้าด้วยกัน การพัฒนาระบบข้อมูลตลอดจนการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เพื่อเพ่ิมขีด ความสามารถ ในการประเมินผลจากการจัดทําระบบการบริหารจัดการข้อมูล (Information Management System) เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการวิเคราะห์ข้อมูลไปใช้ในการกําหนด ทางเลือกนโยบายและสร้างนวัตกรรมในการบริหารจัดการ (แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) 2559:224) โดยเฉพาะทศวรรษท่ีผ่านมา จะพบได้ว่า หลากหลายนกั คิด นักประดิษฐ์ ผู้รไู้ ดค้ ้นคดิ นวตั กรรมทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างมากมายและ ถูกนํามาใช้ไม่ว่าจะเป็น big data, super software, artificial intelligence และ super computer ซึ่งถกู ประดิษฐ์และพฒั นาอยา่ งตอ่ เน่ือง นบั ตงั้ แต่ท่ีรัฐบาลได้ออกนโยบายไทยแลนด์ 4.0 เพื่อใช้ในการขับเคลื่อนประเทศ โดยให้ ความสําคญั กบั การพฒั นาวทิ ยาการเทคโนโลยี การสรา้ งคุณคา่ ทางเศรษฐกจิ โดยยึดแนวทางการมี ส่วนรว่ มของประชารัฐ บนพ้นื ฐานของความม่ังคั่ง มั่นคง สมดุลและยั่งยืน เพื่อให้ประเทศก้าวพ้น ปัญหาที่กําลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน ท่ีเรียกว่า “สามกับดัก” กับดักแรก คือ “กับดักประเทศรายได้ ปานกลาง (Middle Income Trap)” กับดักท่ีสอง “กับดักความเหลื่อมลํ้า (Inequality Trap)” กับดักท่ีสาม “กับดักความไม่สมดุล (Imbalance Trap)” เพื่อให้ผ่านพ้นปัญหาของประเทศ ดังกล่าว การปรับเปล่ียนกระบวนการเรียนรู้ในระบบการศึกษาของประเทศจึงเป็นประเด็น เร่งด่วนในการบ่มเพาะคนไทยให้เป็น “มนุษย์ท่ีสมบูรณ์ในศตวรรษท่ี 21 จากการสังเคราะห์ องค์ประกอบท่ีสําคัญของการจัดการเรียนรู้ในยุคไทยแลนด์ 4.0 กระทรวงศึกษาธิการ (2559); กองบริหารและประกันคุณภาพการศกึ ษา (2559: 19-27) ดงั น้ัน การสรา้ งนวัตกรรมการบริหารจดั การเช่ือมต่อกบั ระบบการจัดการประชุม โดยใช้ เทคโนโลยี QR code เช่น การดาวน์โหลดไฟล์เอกสารเพ่ือจัดการข้อมูล การเปล่ียนวิธีการ ดําเนินงานให้มีประสิทธภิ าพมากขึน้ ลดการใช้กระดาษ และลดขนั้ ตอนการดาํ เนินงานทซ่ี าํ้ ซอ้ น วิธกี ารดาํ เนินงาน ปีท่ีเร่ิมกระบวนการ ในการประชุมภาควิชาสรีรวิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ในปีงบประมาณ 2562 วัตถปุ ระสงค์และเป้าหมายของกระบวนการ เพอ่ื เสนอแนะแนวทางการปรบั ปรุง พัฒนา และเพิ่มศกั ยภาพการดาํ เนินงานการประชมุ ขอบเขตของการศึกษา เป็นการศึกษาคิดค้นนวัตกรรมการบริหารจัดการประชุม ในส่วนของภาควิชาสรีรวิทยา คณะสตั วแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์

กระบวนการดาํ เนินงาน อธิบายโดยใช้วิธีเปรียบเทียบกระบวนการ/แนวปฏิบัติ (Benchmarking Process) ขั้นตอนการจัดประชุม ระหว่างก่อนใช้ระบบ QR code และขณะใช้ระบบ QR code ของการ ระบบจดั การประชุม ดังน้ี ก่อนใช้ระบบ QR code ขณะใชร้ ะบบ QR code ขั้นตอนกอ่ นการประชมุ ขั้นตอนก่อนการประชุม เริม่ เริม่ เสนอเรอื่ งเข้าประชุม เสนอเรอ่ื งเขา้ ประชมุ ธรุ การภาควิชารับเรือ่ ง ธุรการภาควชิ ารับเรือ่ ง ไม่อนุมตั ิ เอกสารไม่ถกู ต้อง ไมอ่ นมุ ตั ิ เอกสารไม่ถกู ต้อง ตรวจสอบความถกู ต้อง หวั หนา้ ภาควิชา ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง เอกสารถกู ตอ้ ง อนุมัติบรรจวุ าระ เอกสารถูกต้อง อนุมัติ ธรุ การภาควชิ า บรรจวุ าระ - จดั ทาํ เอกสารวาระการประชมุ ศึกษาและสรปุ เรือ่ งเสนอหัวหน้าภาควิชา - จดั ทําหนังสือเชญิ ประชุม พร้อมจดั ทํา QR code เอกสารประชุม (ชชั วาลย์ สุข แก้ไข พรสวรรค.์ วธิ ีการสรา้ ง QR code เพอื่ ดาวนโ์ หลดไฟดเ์ อกสาร) หัวหน้าภาควชิ า แก้ไข ตรวจสอบความถกู ต้อง หวั หน้าภาควิชา ตรวจสอบความถกู ต้อง

กอ่ นใช้ระบบ QR code ขณะใชร้ ะบบ QR code ขัน้ ตอนก่อนการประชุม ขัน้ ตอนก่อนการประชุม หัวหน้าภาควชิ า หวั หน้าภาควิชา ตรวจสอบความถกู ต้อง ตรวจสอบความถกู ต้อง - จดั ทาํ เอกสารวาระการประชุม แก้ไข ไม่มแี กไ้ ข - จัดทําหนงั สือเชิญประชุม จัดส่งระเบยี บวาระการประชมุ ใหก้ ับกรรมการ หัวหนา้ ภาควชิ า ตรวจสอบความถกู ต้อง สิ้นสุด ตวั อย่างหนงั สือ ไมม่ แี ก้ไข จดั สง่ ระเบียบวาระการประชุมให้กับกรรมการ สน้ิ สดุ ข้นั ตอนระหวา่ งการประชุม ข้นั ตอนระหว่างการประชมุ เริม่ เริม่ - รับลงทะเบยี นผมู้ าประชมุ - จดั เตรยี มห้องประชมุ อาหารวา่ งและเครอ่ื งดม่ื - รบั ลงทะเบียนผ้มู าประชมุ - จดั เตรียมเอกสารเพิม่ เติม - จัดเตรยี มหอ้ งประชมุ อาหารวา่ งและเครอ่ื งด่ืม - จัดเตรยี มเอกสารเพมิ่ เตมิ - จดบันทึกการประชุม และประสานเร่ืองต่างๆ - จดบนั ทึกการประชมุ และประสานเร่ืองตา่ งๆ - นับคะแนน (กรณีมีการลงมต)ิ - นบั คะแนน (กรณีมีการลงมต)ิ - จดั เกบ็ เอกสารและอุปกรณห์ ลังเลิกประชมุ - จัดเก็บเอกสารและอปุ กรณห์ ลงั เลกิ ประชมุ ส้ินสุด ส้ินสดุ

ก่อนใชร้ ะบบ QR code ขณะใชร้ ะบบ QR code ข้ันตอนหลังเสรจ็ ส้ินประชุม ขน้ั ตอนหลงั เสร็จสิ้นประชมุ เร่มิ เรมิ่ - จดั ร่างทาํ รายงานการประชมุ - จดั ร่างทาํ รายงานการประชมุ - จดั ทาํ รา่ งสรุปมติย่อทป่ี ระชมุ เสนออธกิ ารบดี - จัดทาํ ร่างสรุปมติยอ่ ท่ปี ระชุม เสนออธกิ ารบดี - จดั ร่างทําประกาศ ระเบยี บ ขอ้ บงั คับ ตามมติ - จัดร่างทาํ ประกาศ ระเบียบ ข้อบงั คับ ตามมติ ทีป่ ระชุม ทปี่ ระชมุ แก้ไข แก้ไข หวั หน้าภาควิชา หวั หนา้ ภาควิชา ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ไม่มขี ้อแกไ้ ข ไม่มีขอ้ แก้ไข หวั หนา้ ภาควชิ า ลงนาม เสนอ คณบดี หวั หนา้ ภาควชิ า ลงนาม เสนอ คณบดี แจง้ สว่ นงานท่เี กย่ี วข้อง แจง้ ส่วนงานท่เี กยี่ วข้อง ส้ินสดุ สนิ้ สดุ นิยามสญั ลักษณ์ พจิ ารณา จดุ เชือ่ มตอ่ ส่อื สาร เริม่ ตน้ /ส้นิ สดุ ดําเนนิ การ

ผลและอภปิ รายผลการดาํ เนนิ งาน ผลจากการดําเนินงานก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กรและสังคมส่วนรวม ในการลดการใช้ กระดาษ ซึ่งหากลดปริมาณการใช้กระดาษลงได้ ก็จะทําให้ปริมาณต้นไม้ท่ีถูกตัดเพื่อนํามาทํา กระดาษในประเทศลดลงเช่นกัน อีกท้ังลดปริมาณการทําลายกระดาษท่ีใช้แล้ว ซ่ึงก่อให้เกิด มลภาวะเป็นพิษต่อส่ิงแวดล้อมอีกทางหน่ึง ดังนั้น การสร้างนวัตกรรมการบริหารจัดการเช่ือมต่อ กับระบบการจัดการประชุม โดยใช้เทคโนโลยี QR code เช่น การดาวน์โหลดไฟล์เอกสารจัดการ ข้อมลู การเปลย่ี นกระบวนการและวธิ กี ารดาํ เนนิ งานให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน ลดการใช้กระดาษ และลดขั้นตอนการดําเนินงานที่ซํ้าซ้อน ซึ่งเป็นการพัฒนาระบบการดําเนินงานที่สอดคล้องกับ นโยบายไทยแลนด์ 4.0 บนพืน้ ฐานของความมั่งคง่ั มั่นคง สมดุลและยง่ั ยนื เพอ่ื ให้ประเทศก้าวพ้น ปญั หาทกี่ าํ ลังเผชญิ อยใู่ นปัจจุบนั ปัจจยั ทีท่ าํ ใหเ้ กิดผลสาํ เร็จ 1. การสนบั สนุนจากผบู้ รหิ ารทเ่ี ข้าใจต่อกระบวนการทาํ งาน เพือ่ สร้างระบบการบริหาร จัดการที่เปน็ แนวปฏิบัติที่ดตี อ่ องคก์ ร 2. ความรว่ มมือร่วมใจของบุคลากรในการผลกั ดันใหเ้ กดิ การพัฒนากระบวนการทาํ งาน 3. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยที ่เี หมาะสม : QR code 4. การแลกเปล่ยี นเรียนรู้ท้งั ส่วนตวั และสว่ นรวม ปัญหาและอุปสรรค 1. เคร่ืองมือหรืออุปกรณ์รับข้อมูลข่าวสาร เช่น มือถือสมาร์ทโฟน แท็บเล็ต ยังไม่ ทันสมยั ซึ่งจะเป็นปญั หาต่อการได้รับข้อมูลข่าวสารผ่าน QR code 2. ขาดระบบเช่อื มตอ่ ข้อมลู สัญญาณ เชน่ ระบบ internet และ/หรอื ระบบ WIFI 3. ผู้รับข้อมูลข่าวสาร ยังพัฒนาความรู้ไม่เท่าทันกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็ว หรือ มอี คตติ อ่ การพัฒนาความร้ใู หเ้ ท่ากนั เทคโนโลยีท่ีเปล่ียนแปลง 4. ขาดความร่วมมอื ของผ้ทู มี่ ีส่วนเก่ียวข้องทกุ ฝา่ ย แนวทางแกไ้ ขปัญหา 1. หากผู้รับข้อมูลข่าวสาร มีปัญหาต่อเครื่องมือและอุปกรณ์รับข้อมูลข่าวสาร แนว ทางแก้ไขจะสง่ ข้อมลู ผา่ นทางชอ่ งทาง email เปน็ ตน้ 2. ในส่วนของขาดระบบเชื่อมต่อข้อมูลสัญญาณ ประเด็นนี้น่าจะไม่มีปัญหาเน่ืองจาก ภาครฐั บาลมีนโยบายสนบั สนุนให้ประชาชนทุกคนเข้าถึงสัญญาณ WIFI ยกเว้นพ้ืนท่ี หา่ งไกล 3. รณรงค์และกระตุ้นเตือนให้ผู้รับข้อมูลข่าวสาร พัฒนาความรู้ให้ทันต่อเทคโนโลยีที่มี การเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ 4. รณรงค์ให้ผ้ทู ่ีมสี ว่ นเกี่ยวข้องทุกฝ่ายตระหนกั ถึงความสําคัญ

สรปุ บทความวิชาการน้ีเสนอรูปแบบนวัตกรรมการบริหารจัดการประชุม โดยการเช่ือมต่อ ระหว่างการบริหารจัดการกับระบบการจัดการประชุม ช้ีให้เห็นถึงความสําคัญของการใช้ เทคโนโลยีมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดด้วยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อตอบสนองต่อ ความต้องการที่หลากหลายของสังคม ให้มีทิศทางท่ีสอดคล้องกับนโยบายไทยแลนด์ 4.0 ซ่ึงให้ ความสําคัญกับการพัฒนาวิทยาการและเทคโนโลยี และการมีส่วนร่วมจากประชารัฐเพ่ือการ พัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศบนพืน้ ฐานของความมน่ั คง มัง่ คั่ง สมดุลและยงั่ ยนื อนึ่ง นวัตกรรมนี้ถือได้ว่าสามารถเป็นแนวปฏิบัติที่ดีสําหรับนําไปใช้ประโยชน์หรือต่อ ยอดนวัตกรรมต่อไป หน่วยงานหรือองค์กร จะได้ประโยชน์จากการลดต้นทุนในการจัดซ้ือ กระดาษมาดําเนินงาน และลดขั้นตอนการดําเนินงาน เพ่ือนําเวลาดังกล่าวไปพัฒนา ปรับปรุง กระบวนการดําเนนิ งานให้มปี ระสทิ ธภิ าพมากขึน้ แนวทางในการพฒั นากระบวนการตอ่ ไป 1. ขยายแนวคิดและแลกเปลี่ยนประสบการณ์สู่ชุมชนนักปฏิบัติ (CoP.) พร้อมสร้าง เครอื ขา่ ยกับหนว่ ยงานอนื่ ๆ เพือ่ ร่วมสรา้ งระบบการปฏบิ ัติงานทีด่ ี 2. พัฒนางานโดยใช้ระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการ ปฏบิ ตั ิงานต่อไป 3. ประยุกตใ์ ช้แนวคดิ นกี้ ับการจดั สอบแบบปรนัย เปน็ ตน้ บรรณานุกรม กองบริหารและประกันคุณภาพการศึกษา. (2559). พิมพ์เขียว Thailand 4.0 โมเดล ขับเคล่ือนประเทศไทยสู่ความม่ังคั่ง ม่ันคง และยั่งยืน. สืบค้น 25 มกราคม 2562, จาก www.libarts.up.ac.th/v2/img/Thailand-4.0.pdf. ชชั วาลย์ สุขพรสวรรค์. วธิ กี ารสรา้ ง QR code เพอ่ื ดาวนโ์ หลดไฟด์เอกสาร. ศนู ยข์ อ้ มูล สารสนเทศ สาํ นักโรคไม่ตดิ . สืบคน้ 25 มกราคม 2562, จาก http://www.thaincd.com/document/doc/HRNCD/วธิ กี ารสรา้ ง QRCODE.pdf. ราชกิจจานุเบกษา. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560- 2564). สบื คน้ เมอื่ 25 มกราคม 2562. Handbook on Applying Environmental Benchmarking in Freight Transportation (2012). Chapter 4 - Steps in Benchmarking Process. from https://www.nap.edu/read/22668/chapter/4

รปู แบบการนาํ เสนอแนวปฏิบัตทิ ด่ี ี โครงการประชมุ สัมมนาเครือขายการจดั การความรูฯ คร้ังท่ี 12 “การจัดการความรูสูมหาวิทยาลยั นวตั กรรม” (Knowledge Management: Innovative University) สาํ หรบั อาจารย/ บุคลากรสายสนบั สนนุ / นักศึกษา ชื่อเร่อื ง/แนวปฏิบัตทิ ดี่ ี PQI: พัฒนาคน พฒั นางาน องคก รกาวหนาอยา งยั่งยนื ช่ือ-นามสกุล ผนู ําเสนอ จเร เลิศสดุ วชิ ัย ชื่อสถาบันการศกึ ษา มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร หนว ยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร เบอรโ ทรศัพทมือถือ 0851146399 เบอรโ ทรสาร 0 2579 2775 E-Mail address [email protected]

องคป ระกอบประเด็นการเขยี นบทความแนวปฏบิ ตั ทิ ดี่ ี โครงการประชุมสัมมนาเครือขายการจดั การความรูฯ ครั้งท่ี 12 “การจัดการความรูสมู หาวทิ ยาลัยนวัตกรรม” (Knowledge Management: Innovative University) สําหรับอาจารย/ บุคลากรสายสนบั สนุน/ นักศกึ ษา PQI: พัฒนาคน พฒั นางาน องคก รกาวหนาอยางย่ังยืน (PQI: Sustainable Development Organization with Developing People and Improving Work Processes) จเร เลิศสดุ วชิ ยั (Charay LERDSUDWICHAI)1 รศ.ดร.พชั ราภรณ ญาณภริ ตั (Patcharaporn YANPIRAT)2 ผศ.ดร.ปานจติ ดํารงกลุ กําจร (Parnjit DAMRONGKULKAMJORN)3 นางสาวชตุ ิมา เทพเฉลิม (Chutima THECHALERM)4 นางสาวภัทรวดี กอบกจิ ชยั สงค (Patarawadee KOBKITCHAISONG)5 ผชู ว ยคณบดี ฝา ยวางแผนและควบคมุ คณะวศิ วกรรมศาสตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร [email protected] รองคณบดี ฝายวางแผนและควบคุม คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร [email protected] ผูชวยคณบดี ฝายวางแผนและควบคมุ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร [email protected] หัวหนา สํานักงานเลขา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร [email protected] 4 เจา หนา ที่บรหิ ารงานทวั่ ไป คณะวศิ วกรรมศาสตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร [email protected] 5 .......................................................................................................................................................... บทสรปุ คณะวศิ วกรรมศาสตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร ดําเนินโครงการพฒั นาผลิตภาพและคณุ ภาพภายในองคกร (PQI: Productivity and Quality Improvement) โดยใชกระบวนการการจัดการความรูเสริมเปนกิจกรรมยอย กระบวนการพัฒนาบุคลากร ดวยเครื่องมือการจัดการความรู เชน ชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) ทีมขามสายงาน (Cross- Functional Team) การทบทว นส รุปบทเรียน (After action review) การส อนงาน (Coaching) พี่เล้ียง (Mentoring) การศึกษาดงู าน (Study tour) และอืน่ เปน ตน กิจกรรมเหลา นถ้ี ูกนาํ ไปใชในแตละขน้ั ตอนของโครงการ PQI ทําใหโครงการ PQI ไมใชเปนเพียงการจัดประกวดคัดเลือกโครงการผลงานคุณภาพของคณะวิศวกรรมศาสตร เทานั้น แตเปนโครงการที่เสรมิ เพ่ิมทักษะความรูใหกับบุคลากรผานเคร่ืองมือ KM ทําใหเกิดการพัฒนาการปฏิบัติงาน ของคณะอยางสมํ่าเสมอ ปจจุบันคณะวิศวกรรมศาสตรมีการพัฒนากระบวนงานและระบบงานซ่ึงสามารถใชงานได

จรงิ อันเปน ผลผลิตจากโครงการฯ จึงถอื ไดว าโครงการ PQI คอื พัฒนาบุคลการ และองคอยางย่งั ยนื ดวยเครื่องมือการ จัดการความรูอ ยา งแทจรงิ Summary Faculty of Engineering Kasetsart University implements the PQI: Productivity and Quality Improvement project using the knowledge management process as a sub-activity for personnel development, with knowledge management tools such as the CoP, cross-functional teams, review of lesson summary, coaching, mentoring, study tour and others etc. These activities are used in each step of the PQI project. Making the PQI project is not just a contest only, but enhances knowledge skills for personnel through KM tools, resulting in the development of the faculty's work regularly. At present, the Faculty of Engineering has developed a procedure and work system that can be used practically. Finally, PQI project is the sustainable development of personnel organization with knowledge management tools. คํ า สํ า คั ญ knowledge management tools, sustainable development, Productivity and Quality Improvement บทนํา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดจัดโครงการพัฒนาผลติ ภาพและคุณภาพภายในองคกร (PQI: Productivity and Quality Improvement) เปนเวลา 7 ป ซ่ึงระยะชวง 4 ปแรกรูปแบบโครงการเปนเพียง งานประกวดผลงานทั่วไปท่ีบุคลากรสายสนับสนุนสงผลงานการปรับปรุงคุณภาพเขาประกวด โดยคณะกรรมการ ตัดสินใหรางวัล แตคณะวิศวกรรมศาสตรใหความสําคัญกับการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน ซ่ึงเปนผูปฏิบัติงาน สนับสนุนการเรียนการสอนของคณะตามความหมายของการพัฒนาบุคลากรของ สุริยา มนตรีภักด์ิ (2550) ท้ังน้ี เพราะความกาวหนาและความสําเร็จของคณะวิศวกรรมศาสตร ไมไดมาจากการเรียนการสอน การวิจัย และการ บริการวิชาการท่ีเปนเลิศเทาน้ัน แตผลการปฏิบัติภารกิจของบุคลากรสายสนับสนุนที่มีประสิทธิภาพจะเปนสวนที่ สําคัญท่ีจะสงเสริมใหคณะวิศวกรรมศาสตร ประสบผลสําเร็จไดดียิ่งข้ึน ตามที่ Chantarasombut (2007) และ Agrawal & Earl(1972) กลาววาการจดั การความรสู ามารถใชพัฒนาบุคลากรเคร่ืองพัฒนาบุคลากร ดังนนั้ ในชวงปถัด มาคณะวศิ วกรรมศาสตรจ งึ ปรบั เปล่ยี นรปู แบบโครงการ PQI ใหม จากเดมิ ทเ่ี ปนเพียงการประกวดผลงานการปรับปรุง คณุ ภาพงาน กเ็ ร่ิมใชกระบวนการการจัดการความรูเสรมิ เปนกิจกรรมยอ ยกระบวนการพฒั นาบุคลากร ดวยเครือ่ งการ จัดการความรูตาม โครงการประชุมสัมมนาเครือขายการจัดการความรู (2559) เชน ชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) ทีมขาม สายงาน (Cross-Functional Team) การทบทวนสรุปบทเรียน (After action review) การสอนงาน (Coaching) พ่ี เล้ียง (Mentoring) การศึกษาดูงาน (Study tour) และอื่นเปนตน กิจกรรมเหลาน้ีถูกนําไปใชในแตละข้ันตอนของ โครงการ PQI ทําใหโครงการ PQI ไมใชเปนเพียงการจัดประกวดคัดเลือกโครงการผลงานคุณภาพของคณะ วิศวกรรมศาสตรเทานั้น แตการจัดกิจกรรมน้ีในโครงการ PQI เปนการเสริมเพิ่มความรใู หกับบุคลากรท่ีผานเครอื่ งมอื KM ทําใหเกิดการพัฒนาการปฏิบัติงานของคณะอยางสม่ําเสมอ ในปจจุบันคณะวิศวกรรมศาสตรมีการพัฒนา กระบวนงานและระบบงานซึ่งสามารถใชงานไดจริง อันเปนผลผลิตจากโครงการฯ จึงถือไดวาโครงการ PQI พัฒนาบุ

คลการ และองคก ร ดว ยเครือ่ งมอื การจัดการความรูอยา งแทจ รงิ กลายเปน ศูนยกลางในการแลกเปล่ยี นเรียนรูระหวาง หนวยงานภายในคณะวิศวกรรมศาสตร และเปนแรงกระตุนใหเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางกาวกระโดดดวยการนํา นวัตกรรมมาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชเปนเคร่ืองมือในการพัฒนาคณะวิศวกรรมศาสตร ตามวิสัยทัศน ท่ีวา “คณะ วิศวกรรมศาสตร มุงสูความเปนเลิศดานวิชาการ วิจัยและนวัตกรรมในระดับสากล ที่สามารถพ่ึงพาตนเองไดอยาง ย่ังยนื ” วธิ กี ารดาํ เนนิ งาน คณะวศิ วกรรมศาสตรไ ดดาํ เนินโครงการ PQI จนถงึ ปจ จุบนั เปนปที่ 7 ซ่งึ ไดมีการพฒั นาโครงการในแตล ะป จนใน ปจจุบันเพิ่มกิจกรรมการพัฒนางานใหกับบุคลากรผูเขารวมโครงการ การจัดโครงการ PQI มีการเปล่ียนแปลงไปจาก ระยะแรกๆ โดยเพ่ิมการพัฒนาบุคลากรในทักษะท่ีจําเปนตอการปรับปรังงานของตนเอง ปรับเปลี่ยนบรรยากาศการ ทํางานใหเ รียนรงู านรอบขาง เสริมวฒั นธรรมการทาํ งานที่ดีขององคก รขนึ้ มาใหม รายละเอยี ดดังน้ี 1. รูปแบบการมีสวนรว มของบุคลากรในสว นงาน โครงการ PQI เปนการประกวดและใหรางวัลโครงงานท่ีบุคลากรสงหัวขอเขาเสนอ ซ่ึงบุคลากรเปนผูเลือก หัวขอเอง และดําเนินการพัฒนาปรับปรุง/สรางส่ิงท่ีเสนอจะทํา จากนน้ั สงผลงานใหกรรมการพิจารณาและตัดสิน ใหรางวัลแตโครงงานท่ีดีเดน การนําบุคลากรเขามามีสวนรวมไดปรับเปล่ียนระยะปปจจุบัน โดยเนนการพัฒนา บุคลากรเปนหลกั ใหญ ไมใชปลอ ยบุคลากรดาํ เนนิ งานเหมอื นในอดีต ซึง่ เปนพฒั นาการของโครงการ PQI 2. ขั้นตอนการดําเนนิ งาน (Work Flow) 2.1 ขัน้ ตอนการดาํ เนินงานเดิม ระยะ 4 ป แรกน้ัน คณะวศิ วกรรมศาสตร ดาํ เนินโครงการ PQI ในรปู แบบการประกวดโครงการทว่ั ไป คือผู เขา ประกวดเสนอหวั ขอที่จะทําดําเนนิ การพัฒนาปรับปรุง/สรา งสิ่งท่ีเสนอจะทํา แลว สง ผลงานใหกรรมการ พจิ ารณา และตัดสินใหรางวลั แตโ ครงงานท่ดี ีเดน กจิ กรรมตามลาํ ดบั ดงั ตารางดา นลาง ข้ันตอนและกจิ กรรม วตั ถปุ ระสงคและความรว มจากสว นงาน 1) ประชาสมั พนั ธก ารจัดโครงการ และเชญิ เขา รว ม ใหบคุ ลากรเขา ใจถงึ โครงการ PQI โดยขอความรว มมือ โครงการ สนับสนนุ จากหวั หนา ภาควิชา/หวั หนาศูนย/ หวั หนา สาํ นกั งาน เลขานุการ 2) บคุ ลากรสมคั รเขารว มโครงการและย่ืนเสนอชื่อผลงาน บุคลากรคดิ คนหัวของานทจี่ ะปรบั ปรุงใหดขี ้นึ เขา รวมประกวด เขา รวมประกวด โดยผานการสนบั สนุนจากหวั หนา ภาควิชา/หัวหนา ศูนย/ หัวหนาสํานักงานเลขานกุ าร 3) บคุ ลากรผเู ขา รวมโครงการเขา ฟงการชีแ้ จงและเขา โครงการ PQI จัดวทิ ยากรสอนใหค วามรูการเขียนโครงการวิจัย อบรมใหค วามรหู ลกั การเขยี นขอ เสนอโครงการวจิ ยั ให 4) บคุ ลากรผเู ขา รวมโครงการใชเวลาในพฒั นาปรับปรงุ บคุ ลากรตอ งศึกษาและพัฒนาปรบั ปรุงงานของตนเอง งานของตนเอง และนาํ เอาผลงานไปใชปฏิบตั ปิ รบั ปรงุ แลวนาํ ไปใชปฏบิ ตั ิปรับปรุงจนไดผ ลสําเรจ็ จนสาํ เร็จ 5) นาํ เสนอผลงานโครงการตอ คณะกรรมการ ตัดสนิ รางวลั คณบดี และ รองคณบดี และกรรมการผูทรงคุณวุฒิ เขา รว ม ตัดสินโครงงานตามเกณฑท ่ีกาํ หนด เชน ประโยชนข อง โครงงานท่ชี วยสนับสนุนการปฏิบตั ิงาน ดาน การลดเวลา

ขน้ั ตอนและกจิ กรรม วัตถปุ ระสงคแ ละความรวมจากสว นงาน 6) คณะประกาศผลโครงการ PQI - มอบรางวลั ทาํ งาน ความสะดวก การลดคาใชจาย ความพึงพอใจของ ผูรบั บรกิ าร เปน ตน คณบดี และ รองคณบดมี อบรางวัล แผนผังการปฏบิ ตั ิงานเดมิ จะเห็นวาในระยะน้ีทางคณะวิศวกรรมศาสตรมิไดใสใจในขั้นตอนท่ี 4 โดยปลอยใหบุคลากรผูเขารวมโครงการใช เวลาในพัฒนาปรบั ปรุงงานของตนเอง และนําเอาผลงานไปใชป ฏบิ ัติปรบั ปรุงเอง คณะวิศวกรรมศาสตรรอรบั ผลสาํ เร็จ ของโครงงานจากผูสมัครเทาน้ัน ดังนั้นมีหลายโครงงานท่ีดําเนินไปแลวไมสําเร็จลลุ วงตามเปาหมายที่เสนอไวกับคณะ วิศวกรรมศาสตร ซ่ึงคณะวิศวกรรมศาสตรไดเล็งเห็นความสําคัญของขั้นตอนน้ี จึงทําการปรับปรุงกิจกรรมของ โครงการ PQI ใหม 2.2 ข้นั ตอนการดําเนนิ งานใหม จากการดําเนินงานโครงการ PQI มาหลายป คณะไดเห็นความสําคัญหลายจุดที่ชวยใหการพัฒนาคณะ วิศวกรรมศาสตรเ ปน ไปอยา งกาวกระโดดและย่ังยนื นั้นคือการพฒั นาบคุ คลากรใหมคี วามรมู ีทักษะในการคดิ หาสาเหตุ ที่มาของปญหาการทํางาน การปรับปรุงข้ัน การการทํางาน ความเขาใจงานรอบขางตนเองของขั้นตอนที่มากอนและ ขั้นตอยท่ีตอเน่ืองจากงานตนเอง น้ันคือส่ิงสําคัญท่ี คณะวิศวกรรมศาสตรเล็งเห็น และท่ีสําคัญการปลอยใหบุคลากร ผูเขารวมโครงการใชเวลาในพัฒนาปรับปรุงงานของตนเองตามลําพัง ไมสามารถดึงศักยภาพของผลงานออกมาได เต็มท่ี คณะวศิ วกรรมศาสตรไดป รบั ปรุงและเพ่มิ เตมิ กจิ กรรมระหวา งการประกวดโครงการดังน้ี ข้นั ตอนและกจิ กรรม วตั ถปุ ระสงคแ ละความรวมจากสว นงาน 1) ประชาสมั พนั ธก ารจัดโครงการ และเชญิ เขา ใหบ ุคลากรเขา ใจถงึ โครงการ PQI โดยขอความรวมมอื สนบั สนนุ จาก รวมโครงการ หวั หนาภาควิชา/หัวหนา ศนู ย/ หัวหนาสาํ นักงานเลขานกุ าร 2) บุคลากรสมัครเขา รวมโครงการและย่ืนเสนอ บคุ ลากรคดิ คน หัวขอ งานท่ีจะปรบั ปรุงใหดีข้ึนเขารว มประกวด โดยผา น ชอ่ื ผลงานเขารวมประกวด การสนับสนนุ จากหัวหนาภาควชิ า/หวั หนาศนู ย/ หัวหนา สาํ นกั งาน เลขานกุ าร 3) บคุ ลากรผสู มัครเขา รวมโครงการนาํ เสนอ - บุคลากรนาํ เสนอแนวคดิ ในงานทค่ี าดวาจะปรับปรุงหรอื พฒั นาโดย แนวคดิ หวั ขอ โครงการ ผา นการสนับสนนุ จากหัวหนาภาควิชา/หวั หนา ศนู ย/ หวั หนา (ชมุ ชนนกั ปฏบิ ัติ CoP, ทมี ขามสายงาน สาํ นกั งานเลขานกุ าร Cross-Functional Team)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook