Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore RMUTT

RMUTT

Published by taweelap_s, 2019-05-14 04:28:00

Description: RMUTT

Search

Read the Text Version

1 การประเมินผ้เู รียนโดยรปู แบบ S-PASS Learner Assessment by S-PASS Model จุฑาภรณ์ ขวญั สังข์ Juthaporn Kwansang วทิ ยาลยั การแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี ปทุมธานี ประเทศไทย 12130 Thai Traditional Medicine College, Rajamangala University of Technology Thanyaburi, 12130 Thailand. Email: [email protected] บทสรุป หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสุขภาพและความงาม เป็นสาขาท่ีมีการจัดการ เรียนการสอนโดยนาศาสตร์การแพทย์แผนไทย การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม และการแพทย์ ทางเลือก มาประยุกต์ในการดูแลสุขภาพและความงาม ตลอดจนการบูรณการกับสถาน ประกอบการหรือชุมชน (Work Integrated Learning ;WIL) ส่งเสริมให้นักศึกษาท่ีจบมาเป็น บัณฑิตนักปฏิบัติ (Hands-on) จึงต้องมีรูปแบบการประเมินผู้เรียนท่ีเป็นของตัวเอง S-PASS Model เป็นรปู แบบการเรียนการสอนที่เน้นการประเมินผู้เรียนในการลงปฏบิ ัตงิ านจรงิ มีการวาง แผนการปฏิบตั ิงานเป็นขัน้ ตอน และการประเมินผลโดยใช้แบบประเมินที่ต่างกันในแต่ละข้ันตอน รูปแบบ S- PASS จึงช่วยให้อาจารย์และนักศึกษาทราบถึงขั้นตอนในการลงปฏิบัติงาน ข้อดีและ ข้อควรปรับปรุงของตนเอง เพื่อนามาใช้ในการปรับปรุงการสอน วางแผนการเรียน และการ ประเมินผ้เู รียนในครง้ั ต่อไป คาํ สําคัญ ประเมนิ ผ้เู รียน บูรณการกบั สถานประกอบการ, รูปแบบ S-PASS Summary Bachelor of Science Program in Health and Aesthetics, a branch which teach using Thai traditional medicine, holistic health care and alternative medicine applied in health and beauty care, as well as the integration with establishment or community ( work integrated learning; WIL) that encourage learners to graduate with hands-on. S-PASS Model is a teaching model that focuses on assessing the learners in the real workplace and evaluation using different assessments at the different stages. S-PASS model helps teachers and Learners to know the steps, advantages and their own improvements for improve teaching study plan and the next assessment of the learners. Key word Learner assessment, Work Integrated Learning, S-PASS Model

2 บทนาํ วิทยาลัยการแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี เปิดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสุขภาพและความงาม ผลิตบัณฑิตที่ประกอบ อาชีพด้านสุขภาพความงามและสปา ตั้งแต่ปีการศึกษา 2550 โดยวิทยาลัยการแพทย์แผนไทยมี การจดั การเรียนการสอนทีเ่ นน้ ฝึกปฏบิ ัตใิ ห้บัณฑติ ที่จบมาเปน็ บัณฑติ นักปฏิบตั ิ (Hands-on) โดย มีสถานที่สาหรับให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติจริงกับลูกค้า และมีการฝึกกับสถานประกอบการ ภายนอก จึงต้องมีการวัดและประเมินผลในการลงฝึกปฏิบัติงานที่มีความเฉพาะต่องานบริการ การประเมินผู้เรียนถือเป็นหัวใจสาคัญในวัดผลการเรียนรู้ของผู้เรียน เพ่ือนาไปใช้ในการพัฒนา ผู้เรียน (จติ ิมา วรรณศรี, 2557, Scarino, 2013) และยงั ช่วยพฒั นาการสอนของผู้สอน การเลอื ก เคร่ืองมือที่มีความเหมาะสมกับสภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นรายบุคคล รายกลุ่ม มีการวาง แผนการเรียน การพัฒนาการสอน โดยนาผลที่ได้จากการประเมินมาวิเคราะห์ ปรับปรุง เปล่ียนแปลงในเชิงสรา้ งสรรค์และมีการเปลี่ยนแปลงในทางบวก (สุวิมล ว่องวาณิช, 2558) การรู้ เรื่องการประเมินเป็นสิ่งที่จาเป็นสาหรับผู้สอน โดยต้องเลือกการประเมินให้สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ท่ีแตกต่างกันของการเรียน ผู้สอนควรพัฒนาวิธีการประเมินเพ่ือนาไปสู่การปฏิบัติ จริงในห้องเรียนและนอกห้องเรียน สามารถออกแบบวิธีการประเมินที่หลากหลาย ให้สอดคล้อง กับลกั ษณะทแี่ ตกตา่ งของผเู้ รียนและให้สอดคลอ้ งกบั รายวิชาท่สี อน (ศุภมาส ชมุ แก้ว, 2561) S-PASS Model เป็นรูปแบบการเรียนการสอน ท่ีเน้นการประเมินผู้เรียนในเร่ืองการ ปฏิบัติในสถานท่ีจริง ท้ังการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย และสถานประกอบการภายนอก มหาวทิ ยาลัยโดยมีข้นั ตอนดังน้ี รปู ที่ 1 ภาพแสดงขบวนการเรยี นรูแ้ บบ S-PASS Model

3 Study (S) เป็นการเรียนรู้ที่ได้จากผู้สอน หรือผู้เรียนค้นคว้าด้วยตนเอง สร้างความรู้จากการ จัดระบบการเรียนรู้ การตีความและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยตนเอง โดยให้ผู้เรียนได้สืบค้นข้อมูลที่ หลากหลายกว้างขวางเพียงพอ หลีกเลี่ยงการสอนซ้าหรือลอกเรียนแบบผู้อ่ืน เพื่อให้ผู้เรียนเกิด องค์ความรูท้ ่ีมีความเข้าใจชัดเจนมากกว่าความรู้ผิวเผิน ทาให้ผู้เรียนนาสิง่ ทีไ่ ด้มาถ่ายทอดให้ผอู้ ื่น รับรู้ ค้นหาความรู้หรือกิจกรรมการเรียนรู้ จนมีความรู้ในด้านนั้นอย่างชานาญหรือเชี่ยวชาญ รูปแบบการเรียนรู้ในปัจจุบันมีวิธีการเรียนรู้หลายวิธี ได้แก่ การจัดกิจกรรมแก้ปัญหาท้าทาย ความสามารถทางวิชาการ (Academic Challenges) การจัดกิจกรรมในสถานการณ์จาลอง (Scenario Challenges) การจัดกิจกรรมเผชิญปัญหาตามสภาพจริง (Real-life problems) (ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์, 2554) โดยในขั้นตอนน้ีสามารถวัดและประเมินผลโดยใช้แบบทดสอบก่อน- หลังการเรียน หรือประเมนิ จากการสอบปากเปลา่ (A) (B) รูปท่ี 2 ภาพ (A) การเรยี นร้ทู คี่ รเู ป็นผสู้ อน ภาพ (B) แสดงนักเรียนเรยี นร้ดู ว้ ยตัวเอง Practice (P) เป็นการฝึกทักษะการปฏิบัติงาน จนเกิดความชานาญ โดยความรู้ที่ได้จากการสอนในชั้น เรียน เช่น การนวดหน้า การใช้เคร่ืองมือเพ่ือความงาม ฝึกฝนจนเกิดเป็นทักษะเฉพาะอาชีพท่ีมี ความชานาญ (Lock, J. and Duggleby, S. 2017) ขั้นตอนน้ีสามารถใช้การประเมินแบบ พฤตกิ รรมกลมุ่ หรือแบบประเมินการสอบปฏิบัติ รูปท่ี 3 ภาพแสดงการฝึกปฏิบตั ิของนักศึกษา

4 Application (A) เป็นการนาความรู้ท่ีได้จากการศึกษา มาประยุกต์ใช้ในงานตัวเอง สถานประกอบการ ชุมชน โรงพยาบาล จนเกิดเป็นลักษณะการทางานหรือการปฏิบัติงานท่ีสอดคล้องกับแหล่งฝึก ปฏิบัติงานอย่างมรี ะบบ (Abery, E., Drummond, C. and Bevan, N. 2015) สามารถใช้ขั้นตอน การประเมินผลแบบนาเสนอโครงงาน เพ่ือตรวจความพร้อมของนักศึกษาก่อนลงปฏิบตั ิงาน หรือ สามารถประเมนิ ผู้เรียนโดยใชร้ ูปแบบนาเสนองาน (A) (B) รูปที่ 4 ภาพ (A) แสดงการประชุมก่อนการออกชุมชน ภาพ (B) แสดงการซอ้ มการสอน กอ่ นลงชมุ ชน Service (S) เป็นการให้บริการกับลูกค้าจริง โดยนาความรู้จากการฝึกฝน การประยุกต์การทางาน โดยนักศึกษาที่ผ่านขั้นตอนการฝึกปฏิบัติเบ้ืองต้นแล้ว ก็ลงจะสอนในชุมชน หรือปฏิบัติงานกับ ลกู คา้ จริงในสถานประกอบการ (เครอื ขา่ ยพัฒนาสหกจิ ศึกษาภาคใตต้ อนบน. 2560, ปณั รสี เอ่ียม สอาด, 2558, Herrington, J, 2005) มีการประเมินโดยนักศึกษาในความพึงพอใจต่อการลง ปฏิบัติงานในรูปแบบ Google form และการประเมินความพึงพอใจจากลูกค้า หรือชุมชนท่ีเป็น ผเู้ รยี น ตลอดจนการประเมนิ จากเจ้าหน้าท่ี และสถานประกอบการ (A) (B) รูปที่ 4 ภาพ (A) แสดงการสอนทาลูกประคบสมนุ ไพรให้กบั เทศบาลลาสามแก้ว ภาพ (B) แสดงการการทาสปาหน้าในบวั สปา วิทยาลยั การแพทย์แผนไทย

5 Satisfaction (S) เป็นความพึงพอใจของผู้สอน และผู้เรียนจากการลงฝึกปฏิบัติงาน มาวิเคราะห์ สงั เคราะห์ เพอ่ื ให้ได้ผลการฝึกปฏบิ ัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของรายวชิ า โดยอาจารย์และผู้เรียน ต้องเข้ามาประชุม นาเสนอปัญหาที่พบ และนาการประเมินผลที่ได้มาพูดคุยในส่วนที่เป็นข้อดี และข้อที่ควรปรับปรุง ผู้ที่ลงปฏิบัติควรได้รับการประเมินในหลายด้าน และนอกจากผู้สอนจะ ประเมนิ แล้ว นกั ศกึ ษาและเจ้าหนา้ ทีเ่ ปน็ คนสงั เกตการณภ์ ายนอก ตอ้ งเป็นผ้ปู ระเมิน รปู แบบการ ประเมนิ สามารถทาได้ทุกขั้นตอนของการลงปฏิบัตงิ าน ดงั แสดงในรปู ท่ี 5 (Clarke, M. 2012) รูปท่ี 5 ภาพแสดงตวั อยา่ งตารางการประเมินผเู้ รียนในการลงฝกึ ปฏบิ ัตโิ ดยรปู แบบ S-PASS วธิ กี ารดาํ เนนิ งาน 1. คณะกรรมการการจัดการเรียนรู้ พิจารณายุทธศาสตร์ท่ี 1 Hands On: การสร้างบัณฑิตนัก ปฏิบัติ เป้าประสงค์ 1 : บัณฑิตมีความรู้ความสามารถ สอดคล้องกับอัตลักษณ์ “นักปฏิบัติมือ อาชพี ด้านวทิ ยาศาสตร์สุขภาพ” และมีคณุ ภาพตามคุณลักษณะบัณฑติ ท่ีพงึ ประสงค์ แนวทางการ ขับเคลื่อนนโยบาย/กลยทุ ธ์ อาจารย์ทผ่ี ่านการฝึกอบรมรูปแบบการเรียนการสอนและประเมนิ ผล แนวใหม่ท่ีเน้นในรูปแบบกิจกรรม Hands-on Professional Pedagogy Model เช่น โครงการ พัฒนากระบวนการเรียนการสอนด้วยนวัตกรรมการจัดการด้านการศึกษาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เชน่ STEM Education Model, CDIO, Finland Model, S-PASS นาความร้ทู ี่ได้จาก การฝึกอบรม มาแลกเปล่ียนเรียนรู้ในกลุ่มอาจารย์ผู้สอน พร้อมกับส่งเสริมให้อาจารย์สามารถ ประยุกต์ พัฒนาและนาไปปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาให้เหมาะสมกับรายวิชา โดยมีเป้าหมายผลิตบัณฑิตมีความรู้ความสามารถสอดคล้องกับอัตลักษณ์ “บัณฑิตนักปฏิบัติมือ

6 อาชีพ” และมีสถานภาพตามคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค์ กาหนดความรู้หลักที่จาเป็นหรือ สาคญั ตอ่ งานหรือกิจกรรมของกลมุ่ หรือองคก์ ร โดยมีการดาเนนิ การดงั นี้ 1.1 แตง่ ตงั้ คณะกรรมการจัดการความรู้ 1.2 สารวจประเด็นปัญหาในการจัดการหรอื ดาเนนิ การเรียน/การสอน ในปกี ารศกึ ษาท่ผี า่ นมา เพื่อเป็นแนวทางในการคัดเลือกประเด็น/รูปแบบ ความร้ทู ่ตี ้องการ 1.3 การประชมุ ระดมสมองเพอ่ื กาหนดประเดน็ ความรทู้ ส่ี อดคล้องกับการผลิตบณั ฑติ นัก ปฏิบัติ ท่ีสอดคล้องกบั อัตลักษณ์ “นกั ปฏิบตั มิ ืออาชีพด้านวิทยาศาสตร์สขุ ภาพ” 2. การเสาะหาความรู้ท่ตี ้องการ 2.1 การระดมสมองเพือ่ แลกเปลย่ี นเรียนรู้จากอาจารย์ผสู้ อน คร้งั ที่ 1 2.2 ถ่ายทอด/แลกเปลี่ยนประสบการณ์ความรู้จากผู้เช่ียวชาญ และกาหนดให้อาจารย์ผู้สอน ระดมสมอง คร้ังท่ี 2 เพื่อแลกเปล่ียนเรียนรู้จากผู้เช่ียวชาญ รวมทั้งสรุปผลหาแนวปฏิบัติ เพ่ือนา องคค์ วามรู้ทไี่ ดไ้ ปปรบั ใช้ในรายวชิ าของหลักสตู รของวิทยาลัยการแพทยแ์ ผนไทย 2.3 การศกึ ษาค้นควา้ รวบรวมข้อมลู เพ่ิมเติมจากแหล่งขอ้ มลู อนื่ ๆ เชน่ การเข้าอบรมโครงการ ทักษะการเรียนรู้การจัดทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ท่ีเน้นสมรรถนะอาชีพ และโครงการ อบรมเชิงปฏบิ ัติการการเขียนและการสอนปฏิบตั ิ 3.การปรับปรงุ ความรู้ให้เหมาะกบั การใช้งาน 3.1 การระดมสมองเพือ่ แลกเปล่ียนเรียนรจู้ ากอาจารยผ์ ู้สอน คร้งั ที่ 3 ดาเนนิ การสรุป คัดเลอื ก ประเด็นท่เี กีย่ วข้องกับการเรียน/การสอน มากาหนดประเด็นความรทู้ เ่ี กย่ี วข้อง และปรับรูปแบบให้เหมาะสมกับการเรียนการสอนเพ่ือผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติของ วิทยาลัย การแพทยแ์ ผนไทย เพอ่ื ดาเนินการในปกี ารศกึ ษา 2559 3.2 คณะกรรมการดาเนินการการจัดการความรู้ จัดเกบ็ เรียบเรียงเป็นเอกสารข้อมลู เพ่อื ให้ สามารถนาไปใช้เป็นรูปแบบในการจัดการเรียนการสอน คณะกรรมการจัดการเรียนรู้เสนอ รูปแบบ S-PASS Model ท่ีคิดค้นโดยอาจารย์จุฑาภรณ์ ขวัญสังข์ ใช้ในรายวิชาท่ีมีการนา นักศึกษาออกฝกึ ปฏิบัติ เรยี นรู้จริงนอกสถานที่ ใหม้ ีการจดั ทาใบงานให้ชัดเจน มีวัตถปุ ระสงคก์ าร สอนท่ีให้นักศึกษาเรียนรู้ตามสภาพจริง (Authentic learning) การพัฒนารูปแบบด้านการ ประเมินในรายวิชาภาคทฤษฎี ท่ีเน้นให้นักศึกษามีการร่วมมือกันทางาน คิดอย่างมีจารณญาณ สามารถแกป้ ัญหาเฉพาะหน้า ทีเ่ ปน็ การสรา้ งทักษะชีวติ ใหก้ บั ตนเอง 4. การประยกุ ตใ์ ชค้ วามรใู้ นกิจการงาน 4.1 การนาขอ้ มูลจากองค์ความรทู้ ี่รวบรวมจดั เกบ็ เป็นเอกสารข้อมูลในข้อ 3 ไปดาเนินการ จดั การเรยี นการสอนในรายวิชาทก่ี าหนด ระยะท่ี 1-4 ดงั น้ี - จัดการรูปแบบการสอน ระยะที่ 1 ในรายวิชาต้นแบบ “ตจวิทยาและการดูแลสุขภาพความ งาม” ซึ่งมีการดาเนินงานต่อเนื่องมาต้ังแต่ปีการศึกษา 2558 ถ่ายทอดรูปแบบการสอน และ จัดรูปแบบการสอน และจัดการเรียนการสอนในรายวิชาหลักการปฐมพยาบาลและการดูแล สุขภาพ ในปกี ารศกึ ษา 1/2558 - การเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้ และนาเสนอการจัดการความรู้ และแนวปฏิบัติท่ีดี ระหว่างหน่วยงาน/สถาบัน โดยมีการนาเสนอรูปแบบการเรียนการสอนแบบ S-PASS โครงการ

7 แลกเปลี่ยนเรยี นรูร้ ะหว่างสถาบันเครือข่ายด้านวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คร้ังที่ 2 ปีการศึกษา 2559 วันท่ี 8 มิถุนายน 2559 ณ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกรียติ จังหวัดสมุทรปราการ โดยไดร้ บั รางวัลแนวปฏิบตั ทิ ่ีดเี รือ่ งการเรียนการสอนรปู แบบแบบ S-PASS -ถ่ายทอดรูปแบบการสอน และจัดรูปแบบการสอน ระยะที่ 2 ปีการศึกษา 1/2559 ในรายวิชา หลักการปฐมพยาบาลและการดูแลสุขภาพ ได้นารูปแบบ S-PASS ไปสอนชุมชนผู้สูงอายุ ทา ผลิตภัณฑ์ในการดูแลสุขภาพจากสมุนไพร ทาการบันทึกและสรุปปัญหา เพ่ือใช้ในการปรับปรุง ครั้งต่อไป -น า เ ส น อ โ ค ร ง ก า ร ก า ร จั ด ก า ร ค ว า ม รู้ ภ า ย ใ น ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ท ค โ น โ ล ยี ร า ช ม ง ค ล ธั ญ บุ รี (Knowledge Management) เม่อื วนั ท่ี 18 ตลุ าคม 2560 ผลการประกวดได้รางวัลท่ี 3 พร้อม นาขอ้ เสนอแนะจากกรรมการมาปรับปรงุ องค์ความรตู้ ่อไป - จัดการรูปแบบการสอน ระยะท่ี 3 ปีการศึกษา 1/2560 นารูปแบบการเรียนรู้แบบ S-PASS ไปใช้ในการประเมินผู้สูงอายุ ในรายวิชาหลักการปฐมพยาบาลและการดูแลสุขภาพ โดยให้ นักศึกษาได้วางแผนการสารวจภาวะข้อเส่ือมของผู้สูงวัยในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบรุ ี มีการเพ่มิ ประเมินผ้เู รียน โดยเพม่ิ ทกั ษะการนาเสนอ - ถา่ ยทอดองค์ความรู้ในเร่อื งการสอนและการประเมินผู้เรียนแบบ S-PASS ในรายวิชาในรายวชิ า “เภสัชกรรมไทยเพอื่ สุขภาพความงาม” “ระเบียบวธิ ีวจิ ยั ทางการแพทย์แผนไทย” และ “ระเบยี บ วิธีวิจยั ด้านสขุ ภาพความงามและสปา” - จดั การรูปแบบการสอน ระยะที่ 4 ในรายวิชาปีการศึกษา 2/2560 ต่อเน่ืองในรายวิชา “เภสัช กรรมไทยเพ่ือสุขภาพความงาม” “ระเบียบวิธีวิจัยทางการแพทย์แผนไทย” และ “ระเบียบวิธี วิจัยด้านสุขภาพความงามและสปา”ได้มีการนาไปใช้ในรายวิชาเภสัชกรรมไทยเพื่อสุขภาพความ งาม 4.2 การสรปุ /ประเมินผล การนารูปแบบการสอนไปใชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน เพ่อื ปรบั ปรงุ รปู แบบการเรียนการสอนในการใชค้ ร้ังต่อไป 5. เตรียมแผนถ่ายทอดความรู้ และการจัดการเรียนการสอนและสกัด “ขุมความรู้” ออกมา บนั ทกึ ไว้ 5.1 คณะกรรมการดาเนินการการจัดการความรู้ ดาเนินกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้ คร้ังที่ 4 เพอ่ื ประมวลผลการสอน วเิ คราะห์ ปญั หา อปุ สรรค ในการนารูปแบบการสอนไปใช้ 5.2 นาข้อมลู ที่ไดจ้ ากการวิเคราะห์ มาบันทกึ รวบรวม จัดเกบ็ ในรปู แบบเอกสารฉบับปรับปรุง 5.3 การเผยแพร่ขอ้ มลู ผา่ นช่องทางต่างๆ เชน่ เอกสาร หนังสอื เวียน เว็บไซด์ของวิทยาลยั พร้อมจัดเป็นคู่มือให้อาจารย์และนักศึกษาสามารถนารูปแบบ S-PASS ไปใช้ในการเรียนรู้ได้ และ นาเสนอโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างสถาบนั เครอื ข่ายด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คร้ัง ท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2560 ณ มหาวิทยาลัยรงั สติ 6.การจดบันทึก “ขุมความรู้” และ “แก่นความรู้” สําหรับไว้ใช้งาน และปรับปรุงเป็นชุด ความรูท้ ่ีครบถ้วน ลุ่มลึก และเชือ่ มโยงมากขึน้ เหมาะตอ่ การใชง้ านมากยิ่งขน้ึ 6.1 การนาข้อมูลทม่ี กี ารสกัดเป็น \"ขุมความรู\"้ และข้อมูลที่ไดจ้ ากการเผยแพรผ่ า่ นเว็บไซต์ และการนาเสนอ มาจัดให้เปน็ ระบบ

8 6.2 การนาขอ้ มลู จากการท่ีจดั ให้เปน็ ระบบแลว้ ไปใช้ในการปฏบิ ัติงานเพ่ือใหเ้ กิดความมน่ั ใจ และนามาแลกเปลยี่ นเรยี นรไู้ ด้ 6.3 รวบรวมข้อมูลเป็น “แก่นความรู้” และปรับปรุงเป็นชุดความรู้ท่คี รบถว้ น ลมุ่ ลึก และ เชือ่ มโยงมากขึ้น เหมาะตอ่ การใชง้ านมากยงิ่ ขึน้ 6.4 นาเสนอแนวปฏิบัตทิ ี่ดี และมีการนาองค์ความร้ไู ปใชช้ ่วงเดอื นเมษายน-พฤษภาคม 2561 ในการย่นื เสนอต่อสถาบนั วิจัยวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) ภายใต้โครงการ คูปองวิทยาศาสตร์ และแหล่งทุนอื่นๆ โดยนาเสนอโครงการแลกเปล่ียนการเรียนรู้ของ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ครงั้ ท่ี 15 มีนาคม 2561 6.5 มกี ารนาแนวปฏิบัติทดี่ ี และนาองคค์ วามรไู้ ปใช้ในรายวชิ า “เภสชั กรรมไทยเพอ่ื สุขภาพ ความงาม” โดยลงสอนชุมชน ผลและอภิปรายผลการดาํ เนินงาน ผลการดาเนินงานในการจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ของวิทยาลัยการแพทย์ แผนไทย มีอาจารย์ที่สนใจนารูปแบบการสอนแบบ S-PASS ไปใชใ้ นการประเมินในรายวิชาเภสัช กรรมแผนไทยเพ่ือความงาม กับนักศึกษาสาขาวิชาสุขภาพและความงาม ชั้นปีที่ 2 ลงสอนชุมชน ในเรื่องการทาแผ่นประคบ ให้กับชุมชน ทาให้นักเรียนท่ีสอนชุมชนได้ทราบถึงข้ันตอนการ ดาเนินงาน และการประเมนิ ผ้เู รียนหลงั การสอน โดยกอ่ นหน้าทไ่ี ม่ได้มีการใช้รูปแบบ S-PASS ทา ให้อาจารย์และนักศึกษาปฏิบัติงานไม่เป็นลาดับขั้นตอน ขาดการวัดและประเมินผลในข้ันตอน การดาเนินการปฏบิ ตั ิงาน โดยสามารถสรุปเป็นประโยชน์ท่ีไดร้ ับดงั นี้ 1. อาจารย์ใหม่สามารถใช้รูปแบบ S-PASS เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน นานักศึกษาลง ปฏิบัติการนอกสถานที่ มีรูปแบบท่ีเป็นลาดับข้ันตอน พร้อมการประเมินเพ่ือใช้ในการ ปรบั ปรงุ คร้ังตอ่ ไป 2. นักศึกษาเข้าใจลาดบั ข้นั ตอนในการปฏิบัตงิ านนอกสถานท่ี สามารถนารูปแบบ S- PASS ไปใช้ในการทางานในอนาคต ช่วยให้นักศึกษามีกระบวนการทางานที่เป็นลาดับข้ันตอน และให้ความสาคัญกบั การประเมนิ ผ้เู รียน ปจั จัยทน่ี าํ ซงึ่ ความสําเร็จ 1. การสนบั สนนุ ของผบู้ รหิ าร ในการส่งเสริมให้อาจารยพ์ ัฒนาทักษะความรู้ในดา้ นต่างๆ 2. การวางแผนการดาเนินงาน โดยคณะกรรมการจัดการเรียนรู้มอบหมายให้อาจารย์ผ้สู อน ทราบล่วงหน้า ทราบถงึ สถานท่ปี ฏิบตั ิงาน รายวชิ า และชั้นปีของนกั ศึกษา 3. มกี ารปรบั ปรุงรปู แบบการสอนและการประเมนิ ผ้เู รียนจากการแลกเปลี่ยนการเรยี นรู้ ปญั หา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข 1. จากการนาเสนอแลกเปล่ียนการเรียนรู้ระหว่างมหาวิทยาลัย มีข้อเสนอแนะในเร่ืองการ ประเมินท่ีมีเอกสารจานวนมาก ทาให้อาจารย์ต้องเสียเวลาจัดการกับเอกสาร ตลอดจน การวิเคราะห์ข้อมูล จึงได้มีการปรับปรุงด้านการประเมินผลการเรียนรู้สาหรับนักศึกษา และอาจารย์ผ่าน Google form ทาให้การประเมินผลได้ง่าย รวดเร็ว และวิเคราะห์ได้ ทนั ที นอกจากน้ียังมีการปรบั ปรุงการประเมินแต่ละข้ันตอนใหใ้ ช้งานได้ง่ายและรวดเร็ว

9 สรุป การประเมินผู้เรียนโดยใช้รูปแบบ S-PASS ทาให้ผู้สอนมีการสอนอย่างมีลาดับขั้นตอน และสามารถใชใ้ นการประเมินผูเ้ รียนพร้อมกันหลังจบการฝึกปฏบิ ัติ การมีรปู แบบการประเมนิ ท่มี ี ลักษณะเฉพาะ ทาให้จัดการเรียนการสอนได้ตามวัตถุประสงค์ของรายวิชา นอกจากการประเมิน ในรายวิชาแล้ว การจัดการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ท้ังในระดับคณะ มหาวิทยาลัย และต่าง มหาวิทยาลัย ทาให้ได้ข้อเสนอแนะ แนวคิดจากการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ นามาปรับปรุงการ เรยี นการสอน การประเมินผเู้ รียนให้มคี วามเหมาะสม และตรงกบั วัตถุประสงคข์ องรายวชิ า ความ จาเป็นของครูผู้สอนคือต้องใช้ผลการประเมิน และพัฒนาวิธีการประเมินให้มีความหลากหลาย สอดคล้องกับลักษณะของผู้เรียนท่ีมีความแตกต่างกัน เพ่ือพัฒนาผู้เรียน และส่งเสริมการเรียนรู้ ของผู้เรียน (ศุภมาศ ชุมแก้ว, 2561) ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ผ้สู อนนอกจากจะต้องมีกลยุทธ์ ทางด้านการสอนแล้ว ต้องมีการปรับเปลี่ยนการประเมินผลการเรียนรู้ให้มีความรวดเร็ว แม่นยา และสามารถนาผลการประเมนิ ไปใช้ได้ทันที ลดเวลาการทางานด้านเอกสาร รปู แบบการประเมิน จะใช้เป็นแบบ Application โดยมีการประเมินผ่าน Smart phone เช่น Quizizz, Classkick, Socreative เปน็ ตน้ นอกจากจะลดงานดา้ นเอกสารแล้ว ผู้สอนและผู้เรียนสามารถรถู้ งึ จดุ เด่น จุด ท่ีควรปรับปรุงของผู้เรียน สามารถนาไปใช้ได้ทันที ใส่ในรปู แบบการประเมินในแต่ละช่วง จะช่วย ใหผ้ เู้ รียนและผสู้ อนสามารถได้ประโยชนร์ ว่ มกันท้ัง 2 ฝ่าย

10 บรรณานกุ รม เครอื ข่ายพฒั นาสหกิจศกึ ษาภาคใต้ตอนบน. 2560. คมู่ อื การจัดการเรียนการสอนเชงิ บูรณาการ กับการทาํ งาน. สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ). พฤศจิกายน. ชยั วัฒน์ สทุ ธริ ตั น์. 2554. การจัดการเรยี นร้ตู ามสภาพจรงิ . นนทบุรี: สหมิตรพรน้ิ ตง้ิ แอนด์พับ ลสิ ชง่ิ . จติ ิมา วรรณศร.ี 2557. การบรหิ ารงานวิชาการในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพร์ ัตนสวุ รรณ การพิมพ์ 3. ปณั รสี เอย่ี มสะอาด. 2558. การประเมนิ ผลการเรยี นรตู้ ามสภาพจริงสาหรบั ครูผู้สอนพลศกึ ษาใน โรงเรยี นขนาดเลก็ . วารสารวชิ าการ สถาบนั การพลศึกษา. 7, 1: 181-192. สุวิมล ว่องวาณชิ . 2558. การวิจัยประเมนิ ความตอ้ งการจาํ เป็น.กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย. ศภุ มาส ชมุ แก้ว. 2561.การประเมินความต้องการจาเป็นการรเู้ ร่อื งการประเมินของครู. วารสาร วทิ ยบรกิ าร มหาวิทยาลยั สงขลานครรนิ ทร์. 29, 1: 88-94. Abery, E., Drummond, C. and Bevan, N. 2015. Work Integrated Learning: What do the students want? A qualitative study of health sciences students’ Experiences of a non-competency based placement. Student Success. 6, 2: 87-91. Clarke, M. 2012. What Matters Most for Student Assessment Systems: A Framework Paper. Whashington DC. The international Bank for Reconstruction and Development/ The world Bank. Jones C. A. 2005. Assessment for Learning. Learning and Skills. Learning and Skills Development Agency. Lock, J. and Duggleby, S. 2017. Authentic Learning in the Social Studies Classrom: Connecting Globally. One World in Dialogue. 4, 1: 20-27. Herrington, J. 2005. Authentic Tasks in E-learning Design. Studies in Learning, Evaluation Innovation and Development-LED. 2, 2:1-8. Scarino, A. 2013. Language assessment literacy as self-awareness: Understanding the role of interpretation in assessment and in teacher learning. Language Testing. 30, 3: 309-327.

เทคนิคการเขียนข้อเสนอโครงการวจิ ยั เพ่อื ขอทนุ สนับสนุนจากงบประมาณ แผ่นดนิ และงบภายนอกอ่ืนๆ Techniques for Writing Research Proposals for Funding Support from the Government Budget and Other External Sources นางสาวโสภดิ า วศิ าลศกั ด์กิ ลุ 1* และ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อรวลั ภ์ อปุ ถมั ภานนท์2 Miss Sopida Wisansakkul1* and Professor Assistant Dr.Orawan Oupathumpanont2 12คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี 12 Faculty of Home Economics Technology, Rajamangala University of Technology Thanyaburi *Corresponding author; E-mail: [email protected] บทคัดย่อ การจัดการความรู้ เรื่อง เทคนิคการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอทุนสนับสนุนจากงบประมาณ แผ่นดินและงบภายนอกอื่นๆ เป็นการดาเนินงานเพื่อสนับสนุนให้อาจารย์และนักวิจัยประจาคณะเทคโนโลยี คหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี มีองค์ความรู้ที่ดีในการจดั ทาข้อเสนอโครงการวิจยั เพื่ อ ขอรับงบประมาณสนับสนุนการจัดทาวิจัยอย่างต่อเน่ืองเป็นประจาทุกปี โดยวิธีการจัดการความรู้ เป็นการ ดาเนินงานตามกระบวนการจดั การองค์ความรู้ 7 ขนั้ ตอน โดยเร่ิมต้นจากสารวจความต้องการในการจดั การองค์ ความรู้ภายในหน่วยงาน และดาเนินการสกัดองค์ความรู้จากผ้เู ช่ียวชาญภายในคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ จานวน 6 ทา่ น โดยจาแนกประเด็นองค์ความรู้ออกเป็น 6 ประเด็น เพ่ือนาองค์ความรู้ที่ได้ไปดาเนินการจดั ทาคมู่ ือ และเผยแพร่ให้ผ้ทู ส่ี นใจตอ่ ไป ผลการสารวจความต้องการในการจดั การองค์ความรู้ พบว่า อาจารย์ประจาคณะเทคโนโลยีคหกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี มีความต้องการในการจดั การองค์ความรู้ เรื่อง เทคนิคการเขียน ข้อเสนอโครงการวิจยั เพื่อขอทนุ สนบั สนนุ จากงบประมาณแผ่นดินและงบภายนอกอ่ืนๆ ร้อยละ 50 และหลงั จาก การดาเนินการสกดั องค์ความรู้จากผ้เู ช่ยี วชาญทงั้ 6 ทา่ น เพือ่ นามาจดั ทาคมู่ อื การจดั การองค์ความรู้ในการเผยแพร่ พบวา่ ผ้ใู ช้คมู่ อื การจดั การองค์ความรู้มีความพงึ พอใจตอ่ คมู่ อื การจดั การองค์ความรู้อยใู่ นระดบั มากทีส่ ดุ (คา่ เฉลยี่ 4.52 + 0.56) คาสาคญั : ข้อเสนอโครงการวจิ ยั ทนุ สนบั สนนุ งานวิจยั การจดั การองค์ความรู้

Abstract Knowledge management on Techniques for Writing Research Proposals for Funding Support from the Government Budget and Other External Sources was aimed to enhance the body of knowledge among the lecturers and researchers in the Faculty of Home Economics Technology, Rajamangala University of Technology Thanyaburi, in relation to preparing research proposals for continuous annual funding support. The 7-step knowledge management was carried out, starting from a survey of the need for knowledge management within the faculty and then six major topics from six experts in the faculty were developed into the form of a handbook for interested personnel. From the survey on the need for knowledge management, it was found that 50% of the lecturers and researchers needed it. Concerning the developed handbook, it was found that the users’ satisfaction was at the highest level with an average of 4.52 + 0.56. Keywords : research proposals, research funding support, knowledge management

บทนา คหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล ธญั บรุ ี ข้อเสนอโครงการวิจัย หมายถึง แผนล่วงหน้า ก่ อ น ล งมื อ ท า ก ารวิ จัย ซึ่ งจ ะ ก า ห น ด ชื่ อ เร่ื อ ง วธิ ีดาเนินงาน ความสาคญั ของปัญหา วตั ถปุ ระสงค์ ขอบเขต วิธีการ วจิ ยั งบประมาณ ตลอดจนประโยชน์ที่คาดวา่ จะได้รับ ในกระบวนการจัดการองค์ความรู้ เรื่อง จากการศึกษาวิจัย เพราะฉะนนั้ การเขียนโครงร่างท่ีดี เทคนิคการเขียนข้ อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอทุน ต้องให้เห็นสภาพปัญหาที่เราทาการศึกษาตงั้ แต่การ สนบั สนนุ จากงบประมาณแผน่ ดินและงบภายนอกอ่นื ๆ เริ่มต้นไปจนกระทง่ั การตอบโจทย์ปัญหาการวิจยั [1] มีกระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) และ ซึ่งในกระบวนการเขียนข้ อเสนอโครงการวิจัยที่ดีนัน้ กระบวนการบริหารจัดการการเปล่ียนแปลง (Chang ผ้เู ขียนจะต้องเร่ิมจากการมีทักษะและเทคนิคในการ Management Process) ดงั ตอ่ ไปนี ้ เขยี นท่ีดี โดยอาจเกิดขนึ ้ จากการจดั การองค์ความรู้ ซึ่ง ขัน้ ตอนท่ี 1 การค้นหาความรู้ เป็นการรวบรวมองค์ความรู้ท่ีมีอย่ใู นองค์กรซ่ึงกระจัด กระจายอย่ใู นตวั บคุ คล หรือเอกสารมาพฒั นาในเป็น 1.1 คณะกรรมการดาเนินงานประชุมระดม ระบบ [2] โดยมีเป้าหมายในการพัฒนางาน และ สมองเพื่อร่วมกนั พจิ ารณาหวั ข้อเรื่องสาหรับการจดั การ พฒั นาคน ที่มีกระบวนการจดั การความรู้เป็นเคร่ืองมือ องค์ความรู้ด้านการวจิ ยั [3] ซึ่งมีหลักการที่สาคัญคือ ทาให้ความรู้ถูกใช้ ถูก ปรับเปลี่ยนและถูกยกระดบั ขึน้ [4] เพื่อเป็นการช่วย ใน ขัน้ ต อ น นี เ้ ป็ น ก ารป ระ ชุม ข อ ง สร้ างความเข้มแข็งด้านการจัดการองค์ความรู้ให้แก่ คณะกรรมการดาเนินงานจดั การองค์ความรู้ด้านการ บคุ ลากรในหนว่ ยงาน วิจยั เพอ่ื ร่วมกนั พจิ ารณากาหนดหวั ข้อเร่ืองสาหรับการ จัดการองค์ความรู้ด้านการวิจัย จานวน 3 เรื่อง จาก ดงั นนั้ คณะกรรมการจัดการองค์ความรู้ (ด้าน การสารวจสภาพแวดล้อมท่ีเป็ นอยู่ในปัจจุบันของ การวิจยั ) จึงได้เล็งเห็นความสาคญั ในการจดั การองค์ องค์กร เพื่อนามาใช้ประการวางแผนด้านการจัดการ ความรู้ ให้กับอาจารย์ประจาคณะเทคโนโลยีคหกรรม ความรู้ตอ่ ไป ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เพอ่ื ให้อาจารย์ทกุ ทา่ นสามารถนาองค์ความรู้ท่ไี ด้รับไป Figure 1. Meeting of the Knowledge ใช้ ประกอบการเขียนข้ อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอ Management Committee งบประมาณสนบั สนุนงานวิจยั อย่างถกู ต้องตอ่ ไป โดย จัดให้ มีการเข้ ามาเรี ยนร้ ู กระบวนการเขียนข้ อเสนอ โครงการวิจัย จนกระท่ังไปส่กู ระบวนการส่งข้อเสนอ โครงการวิจัยเพื่อของบสนับ สนุนงานวิจัยจาก หน่วยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย โดย ผ้เู ชี่ยวชาญท่ีเป็นแหล่งเรียนรู้ภายในคณะเทคโนโลยี

1.2 สารวจความต้ องการหัวข้ อการจัดการ ขอทุนสนับสนุนจากงบประมาณแผ่นดิ นและงบ ความรู้ด้านการวิจยั ภายนอกอ่ืนๆ ตอ่ ไป ขัน้ ตอนท่ี 3 การจดั การความรู้ให้เป็นระบบ ในขนั้ ตอนนีเ้ป็นการสารวจความต้องการ ในการจดั การองค์ความรู้จากกลมุ่ อาจารย์ประจาคณะ เป็ นการรวบรวมองค์ความร้ ู ท่ีได้ จากการจัด เทคโนโลยคี หรรมศาสตร์ จานวน 54 ทา่ น เพื่อนามาหา ประชมุ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในครัง้ ท่ี 1 มาจาแนกประเด็น ผลสรุปของหัวข้ อการจัดการความรู้ และนามา ความรู้อย่างเป็นระบบ เพ่ือนามาจดั ให้เป็นประเด็นใน จดั ลาดบั ความต้องการในการจดั การองค์ความรู้ตอ่ ไป การประชมุ ครัง้ ตอ่ ไป ซงึ่ สามารถจาแนกประเด็นความรู้ ได้ทงั้ หมด 6 ประเดน็ ประกอบด้วย 1.3 การรวบรวมรายช่ือบุคคลท่ีเป็ นแหล่ง ความรู้ภายในคณะ โดยพิจารณาจากผ้ทู ่ีเคยได้รับทนุ 1) การกาหนดหวั ข้องานวจิ ยั สนบั สนนุ จากงบรายจ่าย จานวน 6 ทา่ น ประกอบด้วย 2) ก ารเขี ย น บ ท น า แ ล ะก ารก าห น ด 1) ผศ.ดร.อ้อยทิพย์ ผ้พู ฒั น์ วตั ถปุ ระสงค์ 2) ผศ.ดร.ศรีกาญจนา จตพุ ฒั น์วโรดม 3) การกาหนดขอบเขตการวิจยั 3) ผศ.ดร.เลอลกั ษณ์ เสถียรรัตน์ 4) การตรวจสอบเอกสารและงานวิจัยท่ี 4) ผศ.ดร.สาคร ชลสาคร 5) ผศ.ดร.อรวลั ภ์ อปุ ถมั ภานนท์ เกี่ยวข้อง 6) อาจารย์ณฐั ชรัฐ แพกลุ 5) การเขียนวธิ ีการทดลอง 1.4 การรวบรวมเอกสารที่เก่ียวข้องกับการ 6) แหลง่ เงินทนุ วจิ ยั จดั การองค์ความรู้ ขัน้ ตอนท่ี 4 การประมวลผลและกลนั่ กรองความรู้ ขัน้ ตอนท่ี 2 การสร้างและแสวงหาความรู้ เป็ นการดาเนินการจัดทาคู่มือ “เทคนิคการ เป็ นการประชุมของบุคคลท่ีเป็ นแหล่งความร้ ู เขียน ข้ อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอทุน สนับสนุนจาก ภายในและคณะกรรมการจัดการองค์ความรู้ระดม งบประมาณแผ่นดินและงบภายนอกอื่นๆ” และ สมองรวบรวมองค์ความร้ ู เกี่ยวกับก ารเขียนข้ อเสนอ ดาเนินการกลนั่ กรองความรู้โดยการปรับปรุงค่มู ือฯ ให้ โครงการวิจัย โดยการประชุมระดมความรู้ทงั้ หมด 8 มีระเบียบและมีความถูกต้ อง ชัดเจน รวมทัง้ มีการ ครัง้ ซึ่งบุคคลท่ีเป็นแหล่งความรู้ภายในนาเสนอองค์ ลาดบั เนือ้ หาให้มีความเหมาะสม สามารถถ่ายทอดสู่ ความรู้ครัง้ ละ 3 นาที/ประเด็น โดยฝ่ ายเลขานกุ ารเป็น นักวิจัย คณาจารย์ และผู้สนใจให้เกิดความเข้าใจได้ คนจบั เวลาในการพูดรวมทงั้ จดบนั ทกึ ข้อมลู ท่ีอาจารย์ อยา่ งง่ายดาย แต่ละท่านพูด และประธานเป็นผ้คู วบคุมการพูดของ ขัน้ ตอนท่ี 5 การเข้าถงึ ความรู้ อาจารย์แต่ละท่านหลงั จากนนั้ จะเป็นผู้สรุปประเด็น คณ ะกรรม การจัด การองค์ ค วามร้ ู ด้ านก าร หรือหัวข้อที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพ่ือนาองค์ วิจัยดาเนินการนาคู่มือ “เทคนิคการเขียนข้ อเสนอ ความร้ ูที่ได้ มาจัดให้ เป็ นระบบสาหรับนามาใช้ ในการ โครงการวิจัยเพื่อขอทุนสนับสนุนจากงบประมาณ จดั ทาค่มู ือเทคนิคการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยเพ่ือ แผ่นดินและงบภายนอกอ่ืนๆ” เผยแพร่ข้อมูลลงสื่อ ออนไลน์ และป้ายประชาสัมพันธ์ภายในหน่วยงาน

เพื่อให้นกั วิจยั คณาจารย์ และผ้สู นใจ สามารถเข้าถึง โครงการวิจัยฯ ร้ อยละ 20.00 เรื่อง การเขียนคาขอ องค์ความรู้ และดาวน์โหลดคู่มือไว้ใช้เป็นแนวทาง สิทธิบตั ร/อนสุ ทิ ธิบตั ร ร้อยละ 30.00 และเรื่อง เทคนิค การศกึ ษา การเขียนข้ อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอทุนสนับสนุน ขัน้ ตอนท่ี 6 การแบง่ ปัน งบประมาณการวิจยั ร้อยละ 50.00 ดงั แสดงในภาพท่ี 2 เป็นการดาเนนิ การจดั เวทีเพอ่ื แลกเปลย่ี นเรียนรู้ Techniques for writing 30 50 ให้นกั วิจยั คณาจารย์ภายในคณะเทคโนโลยีคหกรรม research proposals… 20 60 ศาสตร์ได้ ร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับคู่มือ 20 40 “เท ค นิ ค ก ารเขีย น ข้ อ เส น อ โค รงก ารวิ จัย เพื่ อ ขอ ทุน Writing patent / petty สนับสนุนจากงบประมาณแผ่นดินและงบภายนอก patent requests อ่ืนๆ” เพื่อนาข้อเสนอแนะที่เกิดจากผู้นาไปใช้งานจริง Techniques for ไปปรับปรุงคมู่ ือให้มคี วามสมบรู ณ์มากยง่ิ ขนึ ้ determining the… ขัน้ ตอนท่ี 7 การเรียนรู้ 0 หลงั จากเกิดการเรียนรู้มีกลุ่มอาจารย์ภายใน คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ นาค่มู ือ “เทคนิคการ Figure 2. The survey results require knowledge เขียน ข้ อเสนอโครงการวิจัยเพ่ือขอทุน สนับส นุนจาก management. งบประมาณแผ่นดินและงบภายนอกอื่นๆ” ไปใช้เป็น แน วท างใน พัฒ นาข้ อเส นอโค รงการวิจัยเพ่ื อยื่น ขอ ขัน้ ตอนท่ี 2 การสร้างและแสวงหาความรู้ งบประมาณสนบั สนนุ การวจิ ยั ผลการสร้ างและแสวงหาความร้ ูจากบุคคลท่ี ผลและอภปิ รายผลการศกึ ษา เป็ นแหล่งความรู้ภายใน จานวน 6 ท่าน โดยการ ประชมุ ระดมความรู้ทงั้ หมด 8 ครัง้ เพอื่ นาองค์ความรู้ท่ี จากการดาเนินการจัดการความรู้ เรื่อง ได้ รับ ม าจัด ท าคู่มื อ เท ค นิ ค ก ารเขีย น ข้ อ เสน อ เทคนิคการเขียนข้ อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอทุน โครงการวิจัยเพ่ือขอทุนสนับสนุนจากงบประมาณ สนบั สนนุ งบประมาณการวิจยั สามารถรายงานผลและ แผน่ ดินและงบภายนอกอน่ื ๆ ประกอบด้วย อภิปรายผลการดาเนนิ งาน ดงั ตอ่ ไปนี ้ ขัน้ ตอนท่ี 1 การค้นหาความรู้ - การประชุมครัง้ ที่ 1/2560 ในวันศุกร์ที่ 15 ธนั วาคม 2560 เวลา 12.00 น. ผลการสารวจต้องการในการจดั การองค์ความรู้ จากอาจารย์ประจาคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ - การประชุมครัง้ ที่ 2/2560 ในวันศุกร์ที่ 19 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญ บุรี พบว่า มกราคม 2561 เวลา 16.00 น. คณาจารย์สว่ นใหญ่มีความต้องการในการจดั การองค์ ความรู้ ด้านการวิจยั เรื่อง เทคนิคการกาหนดตวั ชีว้ ดั - การประชุมครัง้ ที่ 3/2560 ในวันศุกร์ท่ี 23 ค วาม สาเร็ จ ขอ งก ารถ่ าย ท อ ด เทค โน โลยี จ าก กมุ ภาพนั ธ์ 2561 เวลา 16.00 น. - การประชุมครัง้ ที่ 4/2560 ในวันจันทร์ที่ 12 มีนาคม 2561 เวลา 16.00 น. - การประชุมครัง้ ท่ี 5/2560 ในวนั จันทร์ที่ 26 มนี าคม 2561 เวลา 16.00 น.

- การประชุมครัง้ ที่ 6/2560 ในวันจันทร์ท่ี 9 Figure 3. Knowledge Management Guide เมษายน 2561 เวลา 16.00 น. ขัน้ ตอนท่ี 5 การเข้าถึงความรู้ - การประชุมครัง้ ที่ 7/2560 ในวันพุธที่ 25 ผลการดาเนินงานจัดการองค์ความรู้ เพ่ือ เมษายน 2561 เวลา 16.00 น. เผยแพร่องค์ความรู้แก่อาจารย์ประจาคณะเทคโนโลยี - การประชุมครัง้ ท่ี 8/2560 ในวนั พฤหสั บดีที่ คหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 24 พฤษภาคม 2561 เวลา 16.00 น. ธัญบุรี ผ่านสื่อออนไลน์ ประกอบด้วย เว็บไซต์ของ ขัน้ ตอนท่ี 3 การจดั การความรู้ให้เป็นระบบ คณ ะฯ และ Facebook Fan page รวม ไปถึงการ เผยแพร่ผ่านป้ายประชาสมั พันธ์ภายในหน่วยงาน ดัง จากการนาประเด็นความรู้ทงั้ 6 ประเด็นมาจดั แสดงในภาพท่ี 4 ให้เป็นระบบสาหรับนามาใช้ในการจดั ทาเป็นค่มู ือเพ่ือ เผยแพร่ให้กบั นกั วจิ ยั คณาจารย์ และผู้สนใจ ได้เข้ามา (a) (b) ศึกษาหาความรู้เพื่อนาองค์ความรู้ไปใช้ ให้ เกิด ประโยชน์ตอ่ ไป (c) Figure 3. Dissemination of knowledge เม่ือนาคมู่ ือไปใช้งานจริง คณะกรรมการจดั การ (a) https://www.het.rmutt.ac.th/ (b) E-book องค์ความรู้จะดาเนินการปรับปรุง หรือสร้างองค์ความรู้ บางส่วนให้ เหมาะสมต่อการนาไปใช้ งาน เพื่อให้ and (c) Advertising boards กลมุ่ เปา้ หมายสามารถนาองค์ความรู้ไปใช้ในการเขยี น ข้อเสนอโครงการวิจยั เพื่อขอทุนสนบั สนุนงบประมาณ วิจยั ได้อยา่ งถกู ต้องและเหมาะสม ขัน้ ตอนท่ี 4 การประมวลผลและกลนั่ กรองความรู้ ผลการประมวลผลและกลนั่ กรองความรู้ ทาให้ สามารถจัดทาค่มู ือการจดั การองค์ความรู้ เร่ือง เทคนิค การเขยี นข้อเสนอโครงการวิจยั เพอื่ ขอทนุ สนบั สนนุ จาก งบประมาณแผ่นดินและงบภายนอกอื่นๆ ที่มีเนือ้ หา โดยประมาณ 10 หน้า ประกอบด้วย กระบวนการจดั การ องค์ความรู้, ข้อเสนอโครงการวิจัย, องค์ประกอบของ โครงการวิจัย, เทคนิคการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย, ลกั ษณะของข้อเสนอโครงการวิจัยท่ีดี, หน่วยงานที่ให้ การสนับสนุนการวิจัย, ขนั้ ตอนในการดาเนินการวิจัย, แผนการดาเนินการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย และ สาเหตทุ ไ่ี มไ่ ด้รับทนุ ดงั แสดงในภาพที่ 3

ห ลัง ก ารเผย แพ ร่ อ งค์ ค ว า ม ร้ ู ค ณ ะก รรม ก า ร Table 1. Satisfaction assessment results (more) จัดการองค์ความรู้ ได้ดาเนินการเก็บข้อมูลความพึง พอใจจากกลมุ่ ผ้ใู ช้คมู่ ือการจดั การองค์ความรู้ ได้ผลดงั Evaluation list Average Satisfaction แสดงในตารางท่ี 1 level 3.3 Can use the 4.54 + 0.54 Excellent manual to support Table 1. Satisfaction assessment results the research project Evaluation list Average Satisfaction Total 4.52 + 0.56 Excellent level 1. a book จากตารางท่ี 1 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมี ความพงึ พอใจต่อการใช้ค่มู ือเทคนิคการเขียนข้อเสนอ 1.1 The beauty of 4.38 + 0.70 Good โครงการวิจัยเพ่ือขอทุนสนับสนุนจากงบประมาณ แผน่ ดินและงบภายนอกอ่ืนๆ โดยรวมอย่ใู นระดบั มาก the cover ท่ีสุด (ค่าเฉลี่ย 4.52 + 0.56) ซึ่งมีความพึงพอใจใน ประเด็นหวั ข้อความถูกต้อง ชดั เจนของเนือ้ หา ในด้าน 1.2 Suitability of 4.48 + 0.58 Good เนือ้ หา และประเด็นหวั ข้อสามารถนาไปถ่ายทอดหรือ แบ่งปันความรู้ส่ผู ้อู ่ืนได้ ในด้านการนาไปใช้ประโยชน์ font size อย่ใู นระดบั มากท่ีสดุ (ค่าเฉล่ีย 4.64 + 0.53, 4.64 + 0.56 ตามลาดบั ) รองลงมามีความพงึ พอใจในประเด็น 1.3 Suitability of 4.56 + 0.54 Excellent หวั ข้อความครบถ้วนของเนือ้ หา ในด้านเนือ้ หา อย่ใู น ระดบั มากที่สดุ (ค่าเฉลย่ี 4.62 + 0.53) และมีความพึง the size of the book พอใจในประเด็นหวั ข้อความสวยงามของปก ในด้าน รูปเล่ม ในระดับค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.38 + 2. Content 0.70) 2.1 Content 4.46 + 0.58 Good consistency 2.2 The accuracy 4.64 + 0.53 Excellent of the content 2.3 Content 4.42 + 0.54 Good suitability 2.4 Content 4.62 + 0.53 Excellent completeness 3. Utilization ขัน้ ตอนท่ี 6 การแบง่ ปัน จา ก ก า รด าเนิน ก ารแบ่งปั นค วา ม ร้ ู มี นัก วิจัย 3.1 Can be used 4.42 + 0.50 Good คณาจารย์ภายในคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ ได้ as a guide for writing เข้ ามาร่วมใช้ คู่มือการจัดการความร้ ู และแลกเปล่ียน แนวคิดการจดั ทาข้อเสนอโครงการวจิ ยั ไม่น้อยกวา่ ร้อย research proposal ละ 50 ของจานวนอาจารย์/นักวิจัย สังกัดคณ ะ เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ 3.2 Can be used to 4.64 + 0.56 Excellent transfer or share knowledge to others

ขัน้ ตอนท่ี 7 การเรียนรู้ ช่ือชุดโครงการวิจัย : การพัฒนากระดาษ จากการนาคู่มือ “เทคนิคการเขียนข้อเสนอ จากก้านนัวหลวงสาหรับผลิตสื่อ และผลิตภัณฑ์งาน ประดษิ ฐ์ ประกอบด้วย โครงการวิจัยเพื่อขอทุนสนับสนุนจากงบประมาณ แผ่นดินและงบภายนอกอื่นๆ” ไปใช้เป็นแนวทางใน (1) การพฒั นากระดาษจากก้านบวั หลวง พัฒ นาข้ อเสนอโครงก ารวิจัยเพื่อย่ื นของบประมาณ (2) การผลิตส่ือหุ่นหัวโตจากกระดาษก้าน สนับสนุนการวิจัยมีอาจารย์/นักวิจัย ประจาคณะ บวั หลวง เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ นาองค์ความรู้ท่ีได้รับไปใช้ (3) ผลของการเล่านิทานด้วยหุ่นหัวโประ ในการจัดทาข้อเสนอโครงการวิจยั เพื่อของบประมาณ กอบบทบาทสมมตสิ าหรับเด็กปฐมวยั สนบั สนนุ การวิจยั ประกอบด้วย ประเภทโครงการวิจยั (4) การพัฒนาส่ือการเรียนรู้จากกระดาษ เด่ียว จานวน 8 โครงการ และประเภทชดุ โครงการวิจยั ก้านบวั หลวงเพ่ือส่งเสริมพฒั นาการทางภาษาสาหรับ จานวน 6 โครงการวิจยั ยอ่ ย ดงั นี ้ เด็กปฐมวยั (5) การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์งานประดิษฐ์จาก 1) ประเภทโครงการวิจยั เดี่ยว กระดาษก้านบวั หลวง (1) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมไทยจาก (6) การศึก ษ าช่อ งท างก ารจ าห น่าย ผลติ ภณั ฑ์งานประดษิ ฐ์จากกระดาษก้านบวั หลวง กล้วยและข้าวหอมมะลปิ ทมุ ธานีเพ่ืออตุ สาหกรรมการ โดยทงั้ 14 โครงการ เป็นข้อเสนอโครงการวิจยั สง่ ออก : ขนมกล้วยแผน่ เสริมข้าวและลดนา้ ตาลพร้อม ท่ีจัดทาขึน้ เพ่ือของบประมาณสนับสนุนการวิจัยใน บริโภค ปีงบประมาณ 2563 (2) แผน่ ฟิลม์ ถนอมอาหารจากข้าวเหนยี วดา สรุป (3) การปรับปรุงสมบัติเชิงบริโภคของ กว๋ ยเต๋ียวเส้นใหญ่โดยการเสริมเส้นใยจากรากบวั 1. ปัจจยั ท่สี ง่ เสริมให้กิจกรรมประสบความสาเร็จ (4) การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากข้าว 1.1 ปัจจยั ภายใน ประกอบด้วย : ทบั ทมิ ชมุ แพเพ่อื สขุ ภาพ 1) แหล่งความรู้ที่มีประสบการณ์ตรงในการ (5) การพฒั นาโจ๊กปลายข้าวหอมมะลิชนิด แทง่ เพอื่ เป็นอาหารวา่ งและอาหารพร้อมปรุง ของทุนวิจยั จากงบประมาณแผ่นดินและงบภายนอก (6) การพัฒนาวัสดุทดแทนไม้จากหยวก อื่นๆ กล้วยผสมสารหนว่ งไฟ (7) การประยกุ ต์ใช้มะมว่ งหาวมะนาวโหใน 2) แหล่งความรู้สามารถเข้าถึงได้ง่าย และมี ซอสหมี่กรอบสาเร็จรูป หลายชอ่ งทางในการเผยแพร่ (8) การพัฒนานา้ ดอกบัวหลวงพร้ อมด่ืม ปราศจากนา้ ตาลเพอ่ื สขุ ภาพ 3) มีสถานทแี่ ละสง่ิ อานวยความสะดวกในการ 2) ประเภทชดุ โครงการวจิ ยั จดั กิจกรรมแลกเปลย่ี นเรียนรู้อยา่ งตอ่ เนื่อง 1.2 ปัจจยั ภายนอก ประกอบด้วย : 1) หนว่ ยงานท่ีในงบสนบั สนนุ งานวจิ ยั

2) การในงบประมาณงานวิจัยเป็ นประจา [3] วิจารณ์ พานิช. 2548. การประชมุ ใหญ่สามญั ตอ่ เนอ่ื งทกุ ปี ประจาปี 2548. กรุงเทพมหานคร: สมาคม 2. ผลลพั ธ์ทไี่ ด้จากกิจกรรม ห้องสมดุ แหง่ ประเทศไทย. อาจารย์ประจาคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ [4] Henrie, M., & Hedgepeth, O. Size is important มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี สามารถ in knowledge management. [online] จดั ทาข้อเสนอโครงการวิจยั เพอ่ื ของบสนบั สนนุ งานวจิ ยั available: ได้อยา่ งถกู ต้อง http://www.tlainc.com/articl53.html. Retrieved January 15, 2019. กติ ตกิ รรมประกาศ ขอขอบคุณคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ที่ให้ การ สนบั สนนุ การจดั การองค์ความรู้ รวมทงั้ คณะกรรมการ ดาเนินงานการจดั การองค์ความรู้ ด้านการวจิ ยั ทกุ ทา่ น ในการดาเนินกิจกรรมการจดั การองค์ความรู้จนสาเร็จ ลลุ ว่ งไปได้ด้วยดี เอกสารอ้างอิง [1] เบญจวรรณ บญุ ณรงค์. การเขียนโรงร่างการวิจยั 1. [online] เข้าถงึ ได้จาก: http://www.elearning.ns.mahidol.ac.th/k m/images/stories/research- knowledge/R2R5/_29__54.pdf. วนั ท่ี 15 มกราคม 2562. [2] คณะกรรมการประกนั คณุ ภาพภายใน ระดบั อดุ มศกึ ษา. 2558. คมู่ อื การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในระดบั อดุ มศกึ ษา พ.ศ.2557. กรุงเทพมหานคร: ห้างห้นุ สว่ น จากดั ภาพพิมพ์.



การจดั การองคความรเู รอื่ งเทคนิคการเขียนผลงานวจิ ัยเพื่อตพี ิมพในวารสารวิชาการระดบั นานาชาติ ทอ่ี ยูใ นฐานขอ มูลงานวิจัย Q1, Q2 Knowledge Management on Research Writing Techniques for Publication in International Journals in The Research Database Q1, Q2 วรนศุ ย ทองพลู (Voranuch Thongpool) อัคคพงศ พนั ธพุ ฤกษ (Akapong Phunpueok) เนตรนภสิ แกวชวย (Netnapit Kaewchuay) อัญชลี ทองกําเหนิด (Unchalee Tonggumnead) คณะวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี ต.คลองหก อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี 12110 [email protected] .......................................................................................................................................................... บทสรปุ การจดั การองคความรูเร่ืองเทคนิคการเขียนผลงานวิจัยเพื่อตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ีอยูใน ฐานขอมูลงานวิจัย Q1, Q2 ของคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มี จุดมุงหมายเพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู แลเกิดแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการพัฒนางานวิจัยใหไดตีพิมพใน วารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ีมีระดับสูงขึ้น โดยในการดําเนินกิจกรรม คณะกรรมการไดทําการเชิญอาจารยที่มี ประสบการณใ นการตีพมิ พผ ลงานวิจัยในระดบั Q1, Q2 มาถายทอดประสบการณ และจดั ทาํ เปนแนวทางการปฏิบตั ทิ ่ี ดตี ้ังแตเทคนคิ การเลอื กระดับวารสารวิชาการระดบั นานาชาตเิ พือ่ ตีพมิ พผ ลงานวิจยั และ เทคนิคการเขียนผลงานวิจัย เพื่อตีพมิ พในวารสารวิชาการระดับนานาชาติทอ่ี ยูในฐานขอ มลู งานวจิ ัย Q1, Q2 จากผลการดําเนินกิจกรรมพบวาสามารถกระตุนใหอาจารยในคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี พัฒนา งานวิจัยและสงบทความเพื่อตีพิมพในวารสารระดับนานาชาติมากขึ้น โดยในปการศึกษา 2560 มีบทความตีพิมพใน วารสารวิชาการระดบั นานาชาตจิ าํ นวน 33 บทความ โดยเพิม่ ขึ้นจากปก ารศึกษา 2559 คดิ เปน รอยละ 22.22 และใน จาํ นวนนี้มีบทความท่อี ยใู นฐานขอ มลู งานวิจัย Q1, Q2 จาํ นวนท้ังสน้ิ 6 บทความ Summary Knowledge management on research writing techniques for publication in international journals in the research database Q1, Q2 of the Faculty of Science and Technology, Rajamangala University of Technology Thanyaburi aims to achieve exchange of knowledge and have established good practices in research development to be published in international journals with higher levels. In carrying out the activities, the committee has invited teachers who have experience in publishing research results at the level of Q1, Q2 to transfer experience and formulate good practices from (1) selection techniques for international academic journals for publication of research results and (2) techniques for writing research results for publication in international academic journals that are in the research database Q1, Q2. From the results of the activities, it was found that the teachers in the Faculty of Science and Technology can develop research and submit articles for publication in more international journals. In the academic year 2017, there were 33 articles published in international academic journals, which increased from the academic year 2016, representing 22.22 percent. In this number, there are 6 articles in the research database Q1, Q2. คําสําคัญ การจดั การองคความร,ู การเขยี นบทความ, วารสารวิชาการ, ฐานขอ มูลงานวจิ ยั

บทนาํ การวิจัย หมายถึง การศึกษาคนควา วิเคราะห หรือทดลองอยางมีระบบ โดยอาศัยอุปกรณหรือวิธีการ เพื่อใหพบ ขอ เท็จจรงิ หรอื หลักการไปใชใ นการตั้งกฎ ทฤษฎี หรือแนวทางในการปฏิบัติท่ีดี สําหรับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลธัญบุรีมีพันธกิจในการสรางงานวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรมและงานสรางสรรค สูการผลิตเชิงพาณิชยและการ ถา ยทอดเทคโนโลยี เพอื่ เพม่ิ ขีดความสามารถในการแขง ขันของประเทศ ดังน้ันจึงไดมีการกําหนดประเด็นยุทธศาสตร ของหาวิทยาลัยไว ซ่ึงอยูในประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 การพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรม เพื่อรองรับอุตสาหกรม เปาหมายของประเทศ โดยหน่ึงในตัวช้ีวัดกลยุทธ คือรอยละผลงานวิจัยที่ตีพิมพในกลุมวารสารทางวิชาการระดับ นานาชาติ ท่ีจัดกลุมเปนวารสารท่ีอยูในฐานขอมูลงานวิจัย Q1, Q2 ตอผลงานตีพิมพในวารสารทางวิชาการระดับ นานาชาติ การตีพมิ พบทความวิจัยในวารสารทางวชิ าการ ถอื เปน ขั้นตอนสาํ คญั เพอ่ื นาํ เสนอผลงานวจิ ัยและเผยแพรอ งค ความรูในแวดวงวิชาการหรือวิชาชีพ นอกจากน้ีการตีพิมพบทความวิจัยในวารสารทางวิชาการที่มีรายชื่ออยูใน ฐานขอมูลที่เปนท่ียอมรับในระดับชาติและนานาชาติ ไดถูกนํามาเปนขอกําหนดเพ่ือขอสําเร็จการศึกษาในระดับ บณั ฑติ ศึกษาของสถาบันการศึกษาตาง ๆ ตลอดจนการขอกําหนดตําแหนงทางวิชาการในระดับ ผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารย อีกท้ังยังเปนตัวช้ีวัดดานคุณภาพทางวิชาการของสถาบันอุดมศึกษาอีกดวย ดังนั้นเทคนคิ ในการเขยี นผลงานวจิ ัย โดยเฉพาะอยา งยง่ิ เพื่อใหไดตพี มิ พใ นวารสารทางวิชาการท่ีอยูในฐานขอมูลสากล จึงมีความจําเปนอยางย่ิงสําหรับคณาจารย นักวิจัย และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา เพื่อจะไดพัฒนางานวิจัยของ ตนเองใหส ามารถตีพมิ พเ ผยแพรใ นวารสารวชิ าการทอี่ ยใู นกลมุ เปน วารสารท่ีอยูในฐานขอมูลงานวจิ ัย Q1, Q2 ในการจดั การองคความรขู องคณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เรื่อง เทคนิคการเขียนผลงานวิจัยเพื่อตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ีอยูในฐานขอมูลงานวิจัย Q1, Q2 ไดทํา การสกัดและรวบรวมองคความรูดานเทคนิคการเขียนผลงานวิจัยจากคณาจารยและนักวิจัยจากภายในและภายนอก คณะ ที่มีความสามารถในการตีพิมพผลงานในวารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ีอยูในกลุมเปนวารสารที่อยูใน ฐานขอมูลงานวิจัย Q1, Q2 อีกท้ังยังไดนําเสนอความรู เทคนิค และวิธีการตาง ๆ เพื่อเปนแนวทางใหคณาจารย นักวิจัย นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ตลอดจนผูสนใจ ไดนําไปเปนแนวทางในการปฏิบัติ เพื่อยกระดับคุณภาพทาง วชิ าการในระดับคณะและในระดับมหาวทิ ยาลยั ใหสงู ข้นึ วธิ ีการดาํ เนนิ งาน สําหรบั แนวทางการปฏิบัติท่ีดีของคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เรือ่ งเทคนิคการเขียนผลงานวิจัยเพ่ือตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่อยูในฐานขอมูลงานวิจัย Q1, Q2 ได สรุปและนําเสนอเนื้อหาใน 2 สวนหลัก คือ (1) เทคนิคการเลือกระดับวารสารวิชาการระดับนานาชาติเพื่อตีพิมพ ผลงานวิจัย และ (2) เทคนิคการเขียนผลงานวิจัยเพื่อตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ีอยูในฐานขอมูล งานวิจัย Q1, Q2 โดยมีรายละเอยี ดดังน้ี (1) เทคนคิ การเลือกระดับวารสารวิชาการระดบั นานาชาตเิ พือ่ ตีพิมพผลงานวจิ ยั ในการเลอื กวารสารเพื่อสงผลงานตพี มิ พนั้นควรพิจารณาจากประเด็นตา ง ๆ ดงั น้ี 1. ทบทวนจากวารสารฉบับเกา เพ่ือประเมินขอบเขตเนื้อหาของวารสาร หรือตรวจสอบจาก ฐานขอมูลอางอิงเชน web of science (รูปท่ี 1) ซึ่งเปนฐานขอมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขป (citation database) เพือ่ การคนควาและการอา งอิง สามารถเชอื่ มโยงไปยังบทความหรอื ผลงานอ่ืน ๆ ท่เี ก่ียวของ

รูปท่ี 1 ฐานขอมลู web of science 2. ประเมนิ คุณภาพวารสารจาก impact factor และ ranking ซง่ึ เปนคา บงชถ้ี งึ คุณภาพของวารสาร น้ัน ๆ สําหรับคาชวี้ ดั ท่เี ปนเกณฑใ นการประเมินคุณภาพของวารสาร ไดแก - คา impact factor (IF) คือคาเฉลี่ยจํานวนครั้งของการอางอิงตอบทความในชวงระยะเวลาหนึ่งที่ กําหนด ถาคา IF สูงแสดงวาบทความในวารสารนั้นมีการถูกอางอิงบอยครั้ง บทความสวนใหญของวารสารน้ันมี ผลกระทบตอวิการวิชาการในระดับสูง คา IF จึงเปนเครื่องมือท่ีชวยในการเปรียบเทียบและจัดอัดดับวารสาร เหมาะ สาํ หรบั ใชใ นการเลือกวารสารท่เี หมาะสมเพื่อการตพี มิ พ - คา highly-cited index (h index) คอื คาดชั นีในการประเมินคุณภาพผลงานตีพมิ พใ นวารสารเปน ตวั เลขท่ีแสดง \"จํานวนผลงานวิจยั ทีม่ ีจาํ นวนครั้งของการไดรับการอางองิ เทา กบั หรอื มากกวา จาํ นวนผลงานวจิ ัยน้นั ๆ เชน นักวิจัย A ไดรับคา h index = 10 หมายความวา นักวิจัย A มีผลงานบทความวิจัยตีพิมพจํานวน 10 เรื่อง โดย ทุกๆ บทความน้ัน ไดรบั การอา งอิงอยางนอ ย 10 ครัง้ หรือ มากกวา นอกจากคาชว้ี ัดท้ัง 2 ตัวขางตน ในการเลือกวารสารเพ่ือการตีพิมพเผยแพรผลงานยังตองพิจารณา องคป ระกอบอืน่ ของวารสารดวย เชน การมอี ยูของวารสาร จํานวนปที่ตีพิมพ อัตราการยอมรับ/อัตราการปฏิเสธการ ตีพิมพ สถานะของวารสารท่ีมีคณะกรรมการกลั่นกรองผลงานกอนการตีพิมพ ระยะเวลาของกระบวนการพิจารณา กลั่นกรองโดยผูทรงคุณวฒุ ิ ชอ่ื เสียงของวารสาร ประเภทของตนฉบับ ตลอดจนคา ใชจ า ยทจ่ี ะเกิดขึน้ สาํ หรับการเมินคา journal quartile score (Q) ของวารสารนั้น สารมารถตรวจสอบจาก ฐานขอมูล web of science และ scimago ในทน่ี ี้ขอยกตวั อยา งการตรวจสอบดวยฐานขอ มลู web of science มาโดยสงั เขปดงั น้ี - เขาฐานขอมลู web of science ไปท่ี URL : http://apps.webofknowledge.com/ พิมพช ือ่ วารสาร และเลือกชนิดของสิง่ สืบคนเปน Publication name ดงั แสดงในรปู ที่ 2 แลว กด search - คลกิ ทช่ี ือ่ วารสารเพือ่ แสดงคา journal impact ดงั แสดงในรปู ที่ 3 - เมอื ทาํ การคลกิ ทช่ี อื่ วารสารแลว จะแสดงคา journal quartile score (Q) ดงั แสดงในรปู ที่ 4 รปู ที่ 2 การพิมพช อื่ สารสารและชนิดของส่ิงทสี่ ืบคน ในฐานขอมูล web of science

รูปท่ี 3 เลือกที่ช่ือวารสารเพ่อื แสดงคา journal impact รปู ที่ 4 คา journal quartile score จากฐานขอมลู web of science (2) เทคนิคการเขียนผลงานวิจัยเพ่ือตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ีอยูในฐานขอมูลงานวิจัย Q1, Q2 สาํ หรับเทคนคิ ทน่ี ําเสนอนส้ี ามารถนําไปใชไดจ รงิ ในทางปฏบิ ัติ และสามารถนําไปใชในการตอยอดองคความรู เพื่อพฒั นาและตพี ิมพผ ลงานในวารสารทอี่ ยูในฐานขอมลู สากลได โดยเทคนคิ ตา ง ๆ มรี ายละเอียด ดงั น้ี 1. การใชภาษาอังกฤษในการเขียนบทความวิจัย สําหรับผูวิจัยที่ไมใชเจาของภาษาควรหา native speaker ชวยในการตรวจสอบความถูกตองของการใชคําศัพท รูปแบบประโยค โครงสรางประโยค และการใช ไวยากรณเปนหลัก สวนคําศัพทเฉพาะ เชนชื่อทางวิทยาศาสตร ช่ืออุปกรณ ผูวิจัยควรนํามาตรวจสอบอีกครั้ง ซึ่ง ภาษาทใี่ ชเ ปน สว นสําคัญทจี่ ะทําใหบทความไดรบั การตอบรับใหตีพิมพ แตไมใชประเด็นหลัก ถาเน้ือหาของงานวิจัยดี ผูพิจารณาบทความอาจพิจารณาใหกลับมาแกไขปรับปรุงเน้ือหาหรือภาษาอีกคร้ังและสงกลับเขาไปใหม และใน ปจจุบันบางวารสารมีบริการชวย proof ดวยภาษา ซึ่งจะมีคาใชจายตามที่วารสารน้ัน ๆ กําหนด ในกรณีท่ีนักวิจัย พิจารณาแลววาควรใชบรกิ าร proof ดานภาษา อาจสอบถามกลบั ไปยงั วารสารโดยตรง เพื่อขอคําแนะนําเพ่มิ เติม 2. การตั้งช่ือเรื่องตองกระชับและแสดงถึงภาพรวมของเนื้อหาทั้งหมด ผูวิจัยอาจเขียนเปนประโยค คําถามเพอื่ ดงึ ดดู ความสนใจของผอู าน ในกรณีของงานวจิ ยั เชงิ เปรียบเทียบ ช่ือบทความวิจัยควรมีคําสําคัญท่ีแสดงตัว แปรตาม (dependent variable) ทีศ่ กึ ษา เพือ่ ใหผ ูอานเขา ใจวาเปน งานวจิ ัยในลกั ษณะใด 3. ขอบเขตของงานวิจัยมีความสําคัญในการกําหนดชื่อเร่ืองและรูปแบบที่ตองการนําเสนองานวิจัย ผูเขียนงานวจิ ยั ควรกําหนดประเดน็ วจิ ยั หรอื คาํ ถามวจิ ยั ใหส อดคลอ งและคลอบคลมุ กับเนื้อหาทตี่ องการนําเสนอ 4. รูปแบบการนําเสนองานวิจัยขึ้นอยูกับวารสารงานวิจัย การอานงานวิจัยที่คลายคลึงกับงานวิจัย ของผูวิจัยจะชวยใหผ วู จิ ยั ทราบรูปแบบการเขียนงานวิจยั การเรียงลาํ ดับหวั ขอ และประเด็นที่จะนาํ เสนอไดด ีข้นึ 5. การเขียนบทความวจิ ยั ในสวนบทนาํ หรอื สว นเร่ิมตนของบทความอาจใชภาษาเขียนแบบเดียวกัน กับภาษาทใี่ ชเ ขียนใน magazine ซงึ่ การนําเสนอในลักษณะน้ีทําใหชวนอาน เพ่ิมความนาสนใจมากยิ่งขึ้นสาหรับการ

อานและติดตาม โดยอาจนําเสนอเนื้อหาในลักษณะท่ีเปน story เชน ปญหาคืออะไร ทําไมผูวิจัยถึงศึกษาปญหานี้ การแกป ญหาน้จี ะชว ยตอบโจทยอยา งไร ผลของงานวิจยั มผี ลกระทบในวงกวางมากนอยเพียงใด ซึ่งทําใหเกิดการเชิญ ชวนใหผูพิจารณาบทความอยากอานหรือสนใจท่ีจะอานบทความวิจัยน้ันๆ ตอไปและเขาใจในภาพรวมของงานวิจัย ซงึ่ สงผลโดยตรงตอการพิจารณาบทความ 6. แนวทางการเขียนบทสรุป Results and Discussion ควรพิจารณาจากวารสารท่ีผูวิจัยจะสง ตีพิมพวามีรูปแบบอยางไร บางวารสารแยกสวน Results และ Discussion ออกจากกัน บางวารสารรวมอยูดวยกัน ผูวิจัยควรพิจารณาจาก journal template หรือรูปแบบของบทความท่ีไดรับการตีพิมพไปแลววาเขียนบทสรุป อยางไรเพื่อใหเกิดความชัดเจนในการนําเสนอ พบวาการเขียนสวน results และ discussion มีความสําคัญตอการ พจิ ารณาผลงานเปน อยางมากเนื่องจากเปนบทสรุปท่ีจะทาใหผูอานเกิดความเขาใจในเนื้องานและส่ิงที่ผูเขียนไดตอบ วัตถุประสงคของงานวิจัย ผูวิจัยจึงจาเปนตองเนนการเขียนบทสรุปใหดี มีความชัดเจนในการนาเสนอผลลัพธ และ สรปุ ประเดน็ งานวจิ ยั ใหสอดคลอ งกับวตั ถปุ ระสงคห รอื โจทยวิจัย 7. ผูวิจัยโดยสวนใหญเขาใจวาการตีพิมพบทความในฐาน Q1, Q2 จะตองมีเน้ือหาที่เยอะ แตใน หลายๆ ครงั้ ผูว จิ ัยพบวา เนื้อหาท่ีเยอะมากเกนิ ไปจะกอ ใหเ กดิ ความคลุมเครือและขาดความชัดเจน ผูอานไมสามารถ จับประเด็นได และผลสุดทายคือปฏิเสธการตีพิมพ ผูวิจัยควรกําหนดขอบเขตของเน้ือหาใหชัดเจนตั้งแตเริ่มทํา งานวิจัย เชน อาจแบง เน้อื หาออกเปน 2 สว น เพื่อแยกตีพิมพเปน 2 บทความ ถาเน้ือหามีความชัดเจน มีผลลัพธของ งานวจิ ัยท่ีดีทั้ง 2 บทความก็อาจตีพิมพในฐาน Q1, Q2 ได หรือบทความท่ี 1 อาจตีพิมพในฐาน Q1 และอีกบทความ อาจตีพิมพในฐาน Q3 ไดเปนตน ซึ่งดีกวาการรวมเปนบทความเดียวกันและถูกปฏิเสธการตีพิมพ ซึ่งจะเสียเวลาและ ไมสามารถนาไปใชประโยชนไ ด 8. งานวจิ ัยบางงานอาจทาํ คลา ยๆ กับงานวิจัยอืน่ แตห ากผูว ิจัยเก็บขอ มูลตัวอยางจํานวนมากพอ นํา ขอมูลท่ีเก็บไดมาทําการวิเคราะหทางสถิติ นําเสนอวิธีการวิเคราะหท่ีถูกตองเหมาะสม นําเสนอผลลัพธในมุมมองท่ี หลากหลาย หาความสัมพันธเพิ่มมากย่ิงข้ึน งานในลักษณะนี้ก็สามารถตีพิมพในฐาน Q1, Q2 ไดเชนเดียวกัน โดย เฉพาะงานดานวทิ ยาศาสตร 9. การเขียนบทความวิจัยควรปฏิบัติตามคําแนะนํา (guideline) และรูปแบบ (template) ของ วารสารอยางเครงครัด และควรมีการอางอิงบทความของวารสารท่ีเลือกจะตีพิมพ เพื่อเพิ่มโอกาสในการรับการตอบ รับการตีพมิ พ 10. การเขียน cover letter ควรเขียนใหเขาใจงาย ครอบคลุมเน้ือหาของงานวิจัย ชัดเจนและ นาสนใจ เพอ่ื ทําใหบ รรณาธิการสามารถเขา ใจเนือ้ งานทงั้ หมด 11. ในกรณีที่มีการใหแกไขตามคําแนะนําของคณะกรรมการกล่ันกรองผลงานกอนการตีพิมพ ควร ปฏบิ ัตติ าม แตใ นกรณที ไ่ี มส ามารถแกไขไดใหช แี้ จงเหตุผล 12. ในกรณีท่ถี กู ปฏเิ สธการตีพมิ พ (rejected) ใหด ําเนนิ การแกไ ขและเพิม่ เติมใสว นท่คี ณะกรรมการ กล่ันกรองผลงานแนะนําและทาํ การสงใหมในวารสารเดิม หรอื วารสารใหมท ่ีมีคา impact factor ไมนอ ยกวาเดมิ ผลและอภปิ รายผลการดําเนินงาน จากการจัดกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรูของคณาจารยและนักวิจัยของคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ในป การศึกษา 2559 ดังแสดงภาพกิจกรรมรูปที่ 5 พบวาจํานวนงานวิจัยท่ีไดรับการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับ นานาชาติในปการศึกษา 2560 ของคณาจารยในคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มีจํานวนทั้งสิ้น 33 บทความ เพ่ิม มากขึน้ จากปการศกึ ษา 2559 คิดเปนรอ ยละ 22.22 และเมอ่ื พจิ ารณาจากกราฟในรูปท่ี 6 ซงึ่ แสดงจํานวนงานตพี มิ พ เผยแพรงานวจิ ัยลงในวารสารวิชาการระดับนานาชาตขิ องคณะวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ในป 2556-2560 พบวามี แนวโนม เพ่ิมขึ้น และในผลงานตีพิมพในวารสารระดับนานาชาติ ป 2560 นั้นมีผลงานท่ีอยูในฐาน Q1-Q2 จํานวน 6 ผลงาน ดงั แสดงในตารางท่ี 1

รูปที่ 5 กิจกรรมการแลกเปล่ียนเรียนรดู า นงานวิจัยของคณะวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี รูปที่ 6 จํานวนงานวจิ ัยทีไ่ ดร บั การตพี ิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาตใิ นปก ารศกึ ษา 2556 - 2560 ตารางที่ 1 รายชื่อผลงานทที่ างวชิ าการท่ีไดตพี ิมพในวารสารท่ีอยูใ นฐานขอ มูลงานวิจยั Q1, Q2 รายชื่อผลงานทาง ชอ่ื ผทู ําผลงาน ชอ่ื วารสารและ ว/ด/ป ทตี่ พี ิมพ ระดบั ผลงาน Iterative algorithms with the W. Khuangsatung Optiimization Q2 regularization for the constrained A. Kangtunyakarn Volume 66}2017-Issue 10 Online convex minimization problem and 23/6/201 maximal monotone operators Existence and Convergence Theorem W. Khuangsatung Filomat 32:1 (2018), 305–309 Q2 for Fixed Point Problem of Various A. Kangtunyakarn Nonlinear Mappings and Variational Inequality Problems without Some Assumptions

ตารางที่ 1 รายชื่อผลงานทท่ี างวิชาการท่ไี ดต ีพมิ พในวารสารที่อยใู นฐานขอ มูลงานวจิ ัย Q1, Q2 (ตอ ) รายช่ือผลงานทาง ชอื่ ผูทาํ ผลงาน ชือ่ วารสารและ ว/ด/ป ทีต่ ีพมิ พ ระดับผลงาน Innovative and high performance J. Pansuwan Polymer International Q1 synthesis of microcapsules containing A. Chaiyasat http://dx.doi.org/10.1002/pi.5475 methyl anthranilate by Published 20/10/2017 microsuspension iodine transfer polymerization Intramolecular Hydroamination by a K. Bobuatong ChemCatChem Q1 Primary Amine of an Unactivated H. Sakurai Volume 9, Issue 24, Q2 Alkene on Gold Nanoclusters A DFT M. Ehara Published 8/11/2017 Study Biosensors 2017, 7 ,47 Electrospun chitosan-gelatin S. Teepoo biopolymer composite nanofibers for P. Dawan horseradish peroxidase immobilization N. Barnthip in a hydrogen peroxide biosensor DNA barcoding of the Thai species of E. Jeratthitikul European Journal of Soil Q1 terrestrial earthworms in the U. Bantaowong Biology, 81, 39-47 genera Amynthas and Metaphire S. Panha Available online 20 June 2017 (Haplotaxida: Megascolecidae) อยางไรก็ตามเขียนงานวิจัยใหเปนเลมรายงาน หรือ เปนบทความเพ่ือการตีพิมพก็มีความยากในระดับหน่ึง แลว แตส่ิงที่ผูวิจัยทุกคนตองตระหนักและใหความสําคัญในระหวางการเขียนก็คือการเขียนทั้งหมดควรมีท่ีมาจาก ความรูที่เราไดรับหรือพัฒนามางานวิจัย การเขียนดวยภาษาและสํานวนของตัวเอง โดยทั้งรายงานหรือ บทความนั้น ตอ งปราศจากการคัดลอก (plagiarism) ไมวาจะเปนคัดลอกผลงานตัวเองและผลงานของผูอื่น นอกจากนี้การจัดสรร เวลาหรือการวางแผนในการเขียนบทความเพ่ือการตีพิมพก็เปนเรื่องที่สําคัญ เนื่องจากการเขียนงานวิจัยสําหรับการ ตีพิมพ ตองอาศัยเวลาในการเขียน และการศึกษาเอกสารในสวนทฤษฎีหรืองานวิจัยท่ีเกี่ยวของ เพ่ือปองกันจุดออน ปรับปรุงแกไขงาน ทําใหไ ดงานทีถ่ กู ตองสมบูรณทส่ี ดุ ซ่ึงนกั วจิ ัยมักพบปญ หาดา นเวลา เนอ่ื งมาจากภาระงานท่ีตองทํา ไดแ ก งานสอน การเขา ประชุม การเขารว มกจิ กรรม ทั้งในระดบั สาขา คณะ และมหาวิทยาลัย จึงอาจเปนอุปสรรคตอ การจดั สรรเวลาเพอ่ื เขียนงานวจิ ยั ได สรุป จากการจดั ทาํ แนวทางการปฏบิ ัตทิ ่ีดขี องคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบรุ ี เรื่อง เทคนคิ การเขียนผลงานวจิ ัยเพ่ือตพี มิ พในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีคา impact factor และอยู ในฐานขอมูลงานวิจัย Q1, Q2 ทําใหคณาจารย นักวิจัย และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของคณะวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยสี ามารถพฒั นางานวิจยั ใหสามารถตีพิมพในวารสารวิชาการในระดับที่สูงขึ้นได โดยในปการศึกษา 2560 มี จํานวนบทความท่ีไดตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ 33 เรื่อง และเปนวารสารที่มีผลกระทบสูงจํานวน 6 เรื่อง สําหรับแนวทางในการแกปญหาในเรื่องเวลาในการทําวิจัย อาจใชการจางผูชวยวิจัย หรือแบงงานเปนสวน ๆ และใหนกั ศึกษาในระดับปริญญาตรี และบณั ฑิตศกึ ษาเขา มามีสว นรวม ทั้งน้เี พอ่ื ใหเ กิดการพฒั นานักวิจัยรุนใหมตอ ไป

บรรณานกุ รม [1] นยิ ามเกย่ี วกบั การวิจัย, สบื คนเม่อื วันที่ 3 ก.พ. 2562, จาก http://research.siam.edu/download/define.pdf [2] ยุทธศาสตรแ ละแผนการพัฒนา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 20 ป พ.ศ.2560-2579 [3] web of science, สบื คน เม่ือวนั ที่ 3 ก.พ. 2562, จาก http://apps.webofknowledge.com/ [4] เอกสารแนวปฏิบัติที่เก่ียวการเขียนผลงานทางวิชาการและงานวิจัยของคณาจารยระดับบัณฑิตศึกษา, สืบคนเม่อื วนั ที่ 3 ก.พ. 2562, จาก http://www.mbs.msu.ac.th

รปู แบบการนาเสนอแนวปฏบิ ตั ทิ ด่ี ี โครงการประชมุ สัมมนาเครือข่ายการจัดการความรู้ฯ คร้งั ที่ 12 “การจัดการความรสู้ ูม่ หาวทิ ยาลัยนวตั กรรม” (Knowledge Management: Innovative University) สาหรับอาจารย์ ชอื่ เรอ่ื ง/แนวปฏิบตั ิทด่ี ี การจดั การเรยี นร:ู้ การบรู ณาการการเรยี นการสอนสู่ยคุ ไทยแลนด์ ๔.๐ ชือ่ -นามสกลุ ผู้นาเสนอ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. วันทนีย์ เขตต์กรณ์ ชื่อสถาบันการศกึ ษา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี หน่วยงาน สาขาวชิ าชวี วทิ ยา คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เบอร์โทรศพั ทม์ ือถือ 092-497-9239 เบอร์โทรสาร 02-549-4157 E-mail address [email protected]

การจดั การเรียนรู้: การบูรณาการการเรียนการสอนสยู่ คุ ไทยแลนด์ ๔.๐ Knowledge management: The learning integration towards Thailand 4.0 ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วนั ทนยี ์ เขตต์กรณ์ Assistant Professor Dr. Wanthanee Khetkorn สาขาวชิ าชวี วทิ ยา คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี E-mail address: [email protected] บทสรปุ บทความนี้ผู้เขียนได้มีการถอดบทเรียนผ่านกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ จากโครงการ การจัดการเรียนรู้ ประจาปีการศึกษา 2560 กลุ่มเป้าหมายคือผู้สอนท่ีสนใจในคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เกี่ยวกับประเด็นปัญหาในชั้นเรียน การ เปลี่ยนบทบาทของผู้สอนกับการเรียนการสอนในศตวรรษท่ี 21 และเทคนิคการจัดการเรียนการ สอนให้ไดผ้ ลลัพธ์ทต่ี ั้งไว้โดยเน้นผูเ้ รยี นเป็นสาคญั ท้ังน้มี ีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อสกัดองค์ความรู้เกี่ยวกับ การบูรณาการการเรียนการสอนดา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปสู่แนวปฏิบตั ิท่ีดี และเผยแพร่ องค์ความรู้ท่ีได้ให้กับผู้สอนท่ีสนใจสามารถนาไปใช้ในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการ สอน เพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ของผู้เรียนและส่งเสริมให้ผู้เรียนมีสมรรถนะเป็นบัณฑิตที่พร้อมสู่ยุค “ไทยแลนด์ 4.0” ตอ่ ไป Summary This article has been reviewed from lessons learned through learning activity exchange organizing by knowledge management program in 2017. The target group was interesting lecturers in Faculty of Science and Technology, Rajamangala University of Technology Thanyaburi. The topics were classroom problems, changing role of teacher in 21st century and learning and teaching techniques which are outcome-based education by emphasized student centered learning. The aims of this program were to scrutinize knowledge involved in the learning integration of science and technology to be raised for good practices, and published for other people who interested further pedagogical development for supporting student engagement and competencies ready towards “Thailand 4.0” society. คาสาคัญ: การจดั การเรยี นรู้ การบูรณาการ การเรียนการสอน ไทยแลนด์ 4.0

1. บทนา สังคมไทยในยุคปจั จุบนั คงไม่อาจหลีกหนีคาว่า “ไทยแลนด์ 4.0” ไปได้ เนื่องจากรัฐบาล ปจั จบุ ันมนี โยบายในการปรับเปล่ยี นโครงสรา้ งเศรษฐกจิ ของประเทศ ไปสูก่ ารขับเคลอ่ื นเศรษฐกิจ ด้วยนวัตกรรม (value-based economy) เพ่ือพัฒนาประเทศให้ก้าวพ้นกับดักประเทศท่ีมี รายได้ปานกลาง โดยมุ่งเน้นผลิตนวัตกรรมใหม่ๆ เพ่ือเป็นฐานในการพัฒนาประเทศ และการ ขับเคลื่อนสังคมไทยให้เข้าถึง “ไทยแลนด์ 4.0” ที่แท้จริง ทั้งนี้ย่อมเกิดขึ้นจากการพัฒนา ทรัพยากรมนษุ ย์ให้เปน็ “คนไทย 4.0” ด้วย ดังนั้น การจดั การศึกษาจึงจาเป็นตอ้ งให้ความสาคัญ ในการพัฒนาคนไทยให้มีทักษะ สมรรถนะ และคุณลักษณะที่ตอบสนองเป้าหมายการพัฒนา ประเทศให้ไปสู่ “ไทยแลนด์ 4.0” และด้วยความตอ้ งการให้ประเทศเป็นสงั คมนวัตกรรม ดว้ ยเหตุ น้ีรัฐบาลจึงมุ่งประเด็นไปที่การพัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมาย ได้แก่ กลุ่มอาหาร เกษตร เทคโนโลยีชีวภาพ กลุ่มสาธารณสุข การแพทย์ กลุ่มหุ่นยนตอ์ ัจฉริยะ ระบบดจิ ิทัลเทคโนโลยี และ การบริการท่ีมีคุณภาพสูง เป็นตน้ (Ministry of Industry, 2016) แต่กลับมองข้ามจุดเร่ิมต้นของ การพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์ที่แท้จรงิ ไป น่ันคือ “การปฏิรปู การศึกษา” หากการศึกษาไทยยังไมไ่ ด้ รบั การพัฒนา สังคมไทยยังไม่ใหค้ วามสาคัญและเหน็ คุณคา่ ของความเป็นครู อาชีพครูถูกมองขา้ ม คงเป็นเร่ืองยากที่จะทาให้สังคมไทยก้าวเข้าสู่สังคมไทยแลนด์ 4.0 ท่ีย่ังยืนได้ ทั้งน้ีเป็นเพราะครู เป็นอาชีพท่ีมีบทบาทสาคัญในการสร้างทรัพยากรบุคคลท่ีมีคุณภาพ เพ่ือป้อนเข้าสู่อุตสาหกรรม เปา้ หมายท่ปี ระเทศต้องการน่นั เอง ดังนั้น บทความนี้จึงเป็นแนวทางในการปรับเปลี่ยนแนวคิด บทบาทของครูผู้สอนให้ เรียนรู้ต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก ทันยุคทันสมัย เข้าใจผู้เรียน ควบคู่ไปกับการสอนให้ผู้เรียน เป็นคนดีพร้อมกันไป บทบาทของครูในยุค “ไทยแลนด์ 4.0” จึงต้องเปล่ียนจากครูที่สอนหนังสือ หน้าช้ันเรียน เป็นผู้อานวยความสะดวกในการเรียนรู้ (facilitator) โดยพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนเป็นแบบบูรณาการ (learning integration) สหวิชาการ เชือ่ มโยงความรู้กับจินตนาการ เปล่ียนแปลงไปอย่างเป็นรูปธรรม ให้ผู้เรียนมีทักษะตามความต้องการของศตวรรษท่ี 21 คือ มี ความสามารถในการทางานร่วมกัน การมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ก้าวหน้าดา้ นเทคโนโลยี และมี การส่ือสารที่ดี ซ่ึงการจัดการเรียนรู้แบบนี้จะเป็นการเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ (student centered learning) สร้างความพอใจให้ผู้เรียน กระตุ้นการเรียนรู้ (student engagement) ตลอดจน สามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอน วิธีการวัดและประเมินผลให้สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่ตง้ั ไว้ได้ (constructive alignment) เป็นต้น นอกจากน้ัน บทความนี้ผู้เขียนได้มีการถอดบทเรียน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เก่ียวกับ ปัญหาในชั้นเรียน และเทคนิคการสอนในรูปแบบต่าง ๆ ของอาจารย์ในคณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี จากโครงการการจัดการเรียนรู้ (knowledge

management) ประจาปีการศึกษา 2560 ทั้งน้ีได้มีการสกัดองค์ความรู้เก่ียวกับการบูรณาการ เรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปสู่แนวปฏิบัติท่ีดี ท่ีสามารถตอบโจทย์ความ ต้องการในการพฒั นาผ้เู รียนให้เข้าสู่ “ไทยแลนด์ 4.0” อย่างแทจ้ ริง 2. วิธีการดาเนินงาน การจัดการความรู้ (knowlede management) เป็นเครื่องมือสาคัญในการรวบรวม ความรู้ท้ังท่ีเป็นความรู้ท่ีฝังอยุ่ในตัวบุคคล (tacit knowledge) และความรู้ท่ีชัดแจ้ง (explicit knowledge) มาพัฒนาให้เป็นระบบเพ่ือให้ทุกคนในองค์กรณ์สามารถเข้าถึงความรู้ และมีการ แบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมท้ังนาความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการ ปฏบิ ตั ิงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพขององค์กรใหม้ ีความสามารถในการแข่งขัน ระดับสูง ด้วยเหตุผลนี้ทางคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี จึงได้จัดโครงการการจัดการความรู้ ประจาปีการศึกษา 2560 โดยมีขั้นตอนการดาเนิน โครงการดังภาพท่ี 1 ภาพท่ี 1 แผนภาพการดาเนินงานการจัดการความรู้ (knowledge management) 2.1 กาหนดความรู้หลักที่จาเป็นต่อกิจกรรมของกลุ่มหรือองค์กรท่ีสอดคล้องกับแผน ยุทธศาสตร์วาระเร่งด่วน พ.ศ. 2557 - 2560 ของมหาวิทยาลัย โดยเร่ิมจากการแต่งต้ัง คณะกรรมการดาเนินการและกลุ่มเป้าหมายการจัดการความรู้ ประชุมระดมสมองเพื่อกาหนด ประเด็นความรู้ท่ีสอดคล้องกับการผลิตบัณฑิตสู่ยุคไทยแลนด์ 4.0 โดยพิจารณาถึงองค์ความรู้ที่มี อยู่ภายในตัวบุคคล โดยกลุ่มเป้าหมายที่จะดาเนินการและกิจกรรมการแลกเปล่ียนเรียนรู้คือ อาจารย์ผู้สอนจากทุกสาขาวิชาของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จานวน 20 คน โดยกาหนด

ประเด็นการจัดการเรียนรู้คือ “การบูรณาการรูปแบบการเรียนการสอนเพ่ือผลิตบัณฑิตสู่ยุค ไทยแลนด์ 4.0” 2.2 การเสาะหาความรู้ที่ต้องการ ดาเนินการผ่านกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จานวน 4 คร้ัง ตลอดภาคการศึกษา โดยในแต่ละครั้งจะมีการเชิญผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์ การจัดการเรียนการสอนรูปแบบต่าง ๆ ได้แก่ สเต็มศึกษา (STEM education) ฟินแลนด์โมเดล (Finland model) และการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (active learning) มาบรรยายแลกเปล่ียน ความรู้และประสบการณ์ ประเด็นท่ีแลกเปล่ียนเรียนรู้ประกอบด้วย การวิเคราะห์ปัญหาในช้ัน เรียน การปรับเปลี่ยนมุมมองในการจัดการเรียนการสอนให้ส่งเสริมต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนใน ศตวรรษท่ี 21 แนวทางการสร้างแรงจูงใจและกระตุน้ การเรียนรู้ของผู้เรียน หลักการจัดการเรียน การสอนให้ได้ตามผลลัพธ์การเรียนรู้ท่ีตั้งไว้ และการออกแบบการศึกษาที่มุ่งเน้นสมรรถนะและ ผลลพั ธ์ เป็นตน้ 2.3 การให้อาจารย์กล่มุ เป้าหมายนาองค์ความรู้ แนวคิดรูปแบบการเรยี นการสอนท่ีได้จากการ แลกเปล่ียนเรียนรู้ไปประยกุ ต์ใชจ้ ัดการเรียนการสอน และนาผลสะท้อนทไ่ี ด้ ตลอดจนปญั หาและ อุปสรรค มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเติมเต็มในแต่ละครั้งให้เป็นองค์ความรู้ที่เหมาะกับการเรียน การสอนด้านวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีจนเกดิ เป็นแนวปฏบิ ัตทิ ี่ดี 2.4 การปรับปรุง ดัดแปลง และสร้างความรู้บางส่วนให้เหมาะต่อการใช้งาน โดยจัดทาข้อมูล เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั การจัดการเรียนการสอนโดยเนน้ การบรู ณาการ 2.5 การสกัดองค์ความรู้ บนั ทกึ ในรปู ของเอกสารการจัดการความรู้และคู่มือสาหรบั การบูรณา การรูปแบบการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีสามารถตอบโจทย์ความต้องการ ในการพัฒ นาผู้เรียนให้เข้าสู่ “ไทยแลนด์ 4.0” เพื่อเผยแพร่ให้กับกลุ่มผู้ท่ีสนใจและ บคุ คลภายนอกนาไปใชไ้ ด้ 3. ผลและอภิปรายผลการดาเนินงาน จากการดาเนินโครงการการจัดการความรู้ ประจาปีการศึกษา 2560 ในประเด็นเรื่อง “การบูรณาการรูปแบบการเรียนการสอนเพือ่ ผลติ บณั ฑิตสู่ยคุ ไทยแลนด์ 4.0” เกิดการตกตะกอน ความคิดจากกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของกลุ่มเป้าหมายและสามารถสกัดเป็นองค์ความรู้ ไดด้ งั นี้ 3.1 การวิเคราะห์ปัญหาในช้นั เรยี น ผ ล การวิเค ราะห์ ปั ญ ห าท่ี เกิ ดข้ึ น ใน ชั้น เรียน จาก กิ จกร รม ก ารแ ล ก เป ล่ี ยน เรียน รู้ข อ ง กลุ่มเป้าหมายพบว่า ข้อคิดเห็นจากกลุ่มเป้าหมายที่มีการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีส่วนใหญ่พบปัญหาในการจัดการเรียนการสอนคล้ายคลึงกัน คือ ผู้เรียนเข้าเรียนสาย

เล่นมือถือไม่ตง้ั ใจเรยี น สมาธสิ ้ัน ขาดวนิ ยั และความรับผิดชอบตอ่ งานทไ่ี ด้รับมอบหมาย มีความรู้ พืน้ ฐานไม่ดี ขาดการทบทวนบทเรยี น ผ้เู รยี นไมส่ ามารถวิเคราะหแ์ ละนาความร้ไู ปประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้ 3.2 การปรับเปลย่ี นมุมมองและการเขา้ ใจผเู้ รียน จากการวิเคราะห์ปัญหาท่ีเกิดข้ึนในชั้นเรียนจะเห็นได้ว่า ผู้สอนมุ่งประเด็นปัญหาไปท่ีตัว ผู้เรียน และกล่าวโทษสาเหตุของปัญหาท้ังหมดเกิดจากการท่ีนักศึกษาสามารถเข้าถึงสังคม ออนไลน์ “social media” ได้ง่ายผ่านโปรแกรมสาเร็จรูปบนมือถือ ได้แก่ Facebook Line Instagram และ Youtube เปน็ ตน้ จึงส่งผลใหน้ ักศึกษาไม่สนใจเรียนและมสี มาธิส้ัน แต่หากลอง พจิ ารณาความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ไดร้ ับการพัฒนาจนมีศักยภาพ สูงในปัจจุบัน ผู้เรียนสามารถเข้าถึงความรู้ทุกศาสตร์ผ่านส่ือดิจิทัล เว็บไซต์ สื่อวิทยุ โทรทัศน์ ส่ิงพิมพ์ แบบเรียนออนไลน์ และอ่ืน ๆ อีกมากมาย ความรู้จึงไม่มีขอบเขตจากัด ผู้เรียนไม่ จาเป็นต้องรับความรู้จากในช้ันเรียนเพียงอย่างเดียว ดังน้ัน จึงถึงเวลาท่ีผู้สอนต้องปรับเปลี่ยน แนวคิดและบทบาทของความเป็นครูใหม่ เข้าใจผู้เรียนมากขึ้น เรียนรู้ว่าผู้เรียนมีพื้นฐานความรู้ และความสนใจที่แตกต่างกัน เรม่ิ ต้นจากการปรับทัศนคตขิ องผู้สอนให้มีความเชื่อวา่ ผเู้ รียนทกุ คน สามารถพัฒนาได้ ปรับเปล่ียนรูปแบบการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ (student- centered learning) ผู้สอนต้องใช้เวลาในการบรรยายหรือถ่ายทอดให้น้อยลง แตเ่ น้นกิจกรรมที่ ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมเพ่ือกระตุ้นการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนสนุกกับการเรียน รักการศึกษาค้นคว้าและ เรยี นรดู้ ้วยตนเองโดยอาศัยสือ่ เทคโนโลยใี หเ้ กิดประโยชน์ 3.3 บทบาทของครผู ู้สอนกบั การเรยี นการสอนในศตวรรษท่ี 21 ปัจจุบันเป็นยุคท่ีโลกมีความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วอันสืบเนื่องมาจากความก้าวหน้า ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสารสนเทศ ทาให้โลกอยู่ในยุคการส่ือสารไร้พรหมแดน การ พัฒนาการศึกษาจึงสาคัญอย่างยิ่งเพ่ือเป็นการเตรียมพร้อมรับสถานการณ์ในอนาคต ที่เกิดการ เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ดงั น้ัน ระบบการศึกษาในยุคศตวรรษที่ 21 การจัดการเรียนการสอน จึงจาเป็นต้องมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ การปฏิบัติ และการสร้างแรงบันดาลใจไปพร้อมกัน กล่าวคือ ผู้เรียนจะไม่เป็นเพียงผู้รับ (passive learning) อีกต่อไป แต่ผู้เรียนต้องฝึกการเรียนรู้ จากการลงมือปฏิบัติและการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง (active learning) โดยครูผู้สอนมี บทบาทเป็นผู้อานวยความสะดวกในการสอนหรือ “โค้ช” ท่ีคอยออกแบบการเรียนรู้และช่วยให้ ผู้เรียนบรรลุผล และจากกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อาจารย์กลุ่มเป้าหมายมีความคิดเห็น สอดคล้องกันว่าการเรียนการสอนแต่ละวิธีส่งผลต่อการเรียนรู้ต่างกัน ดังอธิบายได้จากพีระมิด แห่งการเรียนรู้ (learning pyramid) ในภาพท่ี 3 คือการเรียนรู้ที่มีการสอนแบบบรรยาย ผู้เรียน น่ังฟังผู้สอน (passive learning) มีอัตราการเรียนรู้ (retention rate) ต่าเพียงร้อยละ 5 ในทาง

ตรงกันข้ามการให้ผู้เรียนไดฝ้ ึกวิเคราะห์และเปลี่ยนบทบาทเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้อ่นื ทาให้ ผู้เรียนมีอัตราการเรียนรู้ท่ีสงู ขึน้ ภาพท่ี 2 พีระมิดแหง่ การเรยี นรู้ (ดัดแปลงจาก Lalley and Miller, 2007) 3.4 การกระต้นุ การเรียนรู้ของผูเ้ รียน การกระตุ้นการเรียนของผู้เรียน (student engagement) เป็นกิจกรรมหน่ึงที่สามารถ ช่วยสร้างแรงบันดาลใจและความสนในในการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ผู้สอนต้องให้ความสาคัญ โดย อาจารย์กลุ่มเป้าหมายได้เสนอแนวปฏิบัติตามทฤษฎีการเรียนรู้ของ โรเบิร์ต กาเย่ (Robert Gagne) 9 ประการ ได้แก่ 1) เร่งเร้าความสนใจ (gain attention) 2) บอกวัตถปุ ระสงค์ (specify objective) 3) ทบทวนความรู้เดิม (activate prior knowledge) 4) นาเสนอเนื้อหาใหม่ (present new information) 5) ช้ีแนะแนวทางการเรียนรู้ (guide learning) 6) กระตุ้นการ ตอบสนองบทเรียน (elicit response) 7) ให้ข้อมูลย้อนกลับ (provide feedback) 8) ทดสอบ ความรู้ใหม่ (assess performance) และ 9) สรุปและนาไปใช้ (review and transfer) พบว่า แนวคิดของกาเย่สามาถนามาใช้ในระบบการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ โดยตรง โดยการสร้างสถานการณ์เพ่ือดึงดูดความสนใจของผู้เรียน เช่น การใช้สื่อการสอนใน รูปแบบวีดิโอ กราฟิก ภาพเคลื่อนไหว หรือการใช้เสียงประกอบในการเกร่ินเข้าบทเรียน เมื่อ ผู้เรียนเกิดความสนใจที่จะเรียนแล้ว ผู้สอนต้องมีการชี้แจงวัตถุประสงค์ในการเรียนให้แก่ผู้เรียน เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้เดิมท่ีได้เรียนมาก่อนหน้ากับความรู้ใหม่ให้เข้ากัน มีการ ทบทวนความรู้เดิมผ่านกิจกรรมการถาม-ตอบคาถามหรือการแบ่งกลุ่มอภิปราย จากน้ันจึงเสนอ บทเรียนใหม่ผ่านรูปแบบการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีการแนะนาชี้แนวทางในการ เรียนเพื่อจะให้เกิดการเรียนรู้ สร้างกิจกรรมให้ผู้เรียนได้มีกิจกรรมท่ีได้ปฏิบัติจริงและแจ้งผลการ

ปฏิบัติงานให้นักเรียนทราบเป็นระยะเพ่ือเป็นการประเมิน และมีการสรุปเสริมบทเรียนเพ่ือสร้าง ความแม่นยาและการถ่ายโยงความรู้ไปประยุกตใ์ ช้ตอ่ ไป 3.5 การกระตนุ้ การตอบสนองการเรียนรูผ้ ่านบทเรียนออนไลน์ ปัจจุบันระบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (LMS (Learning Management System; LMS) เป็นเคร่ืองมือท่ีสาคัญสาหรับผู้สอน ผู้เรียน ในยุค ศตวรรษที่ 21 ซ่ึงจะช่วยให้ผู้สอนและผู้เรียนติดตอ่ สื่อสาร แสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ลดช่องว่างระหว่างผู้สอนและผู้เรียนได้ดี โดยระบบ LMS ท่ีดีประกอบดว้ ย ระบบจัดการรายวิชา (course management system) ระบบบริหารจัดการข้อมูลผู้เรียน (user management system) ระบบตรวจสอบกิจกรรมและติดตามประเมินผล (test and tracking management system) ระบบจัดการการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์ (communication management system) และจากการที่ e-learning มีการพัฒนากันอย่างแพร่หลายทั้งในสถาบันการศึกษาต่าง ๆ รวมถึง องค์กรทางธุรกิจ จึงมีท้ังซอฟแวร์ท่ีพัฒนาข้ึนโดยสถาบันการศึกษา ได้แก่ Mycourseville, Cmuonline, Maxlearn และซอฟแวร์ท่ีเป็น Open source ได้แก่ Moodle, Atutor และ Claroline เป็นต้น ซ่ึงผู้สอนต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมต่อบริบทของรายวิชา รูปแบบการเรียนการ สอน และความชานาญในการใช้งานของผสู้ อน 3.6 หลกั การจัดการเรียนการสอนให้ได้ผลลัพธ์ท่ตี ัง้ ไว้ การจัดการเรียนการสอนให้ได้ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้ (construct alignment) หมายถึงการ ออกแบบการเรียนการสอนท่ีมีวิธีการวัดและประเมินผลตรงตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายท่ี ผู้สอนกาหนดไว้ (ภาพท่ี 3) โดยผู้สอนจะต้องกาหนดวัตถุประสงค์หรือผลลัพธ์ (learning outcome) ท่ีผู้เรียนต้องได้ให้ชัดเจน เช่น หากต้องการให้ผู้เรียนมีทักษะในการประยุกต์ ผู้สอน ต้องเลือกรูปแบบ วิธีการสอน หรือกิจกรรม (learning activity) ท่ีสามารถส่งเสริมให้นักศึกษา เกิดทักษะในการวิเคราะห์และประยุกต์ได้ และที่สาคัญผู้สอนควรเลือกวิธกี ารวดั และประเมินผล (learning assessment) ท่ีสามารถบอกถึงทักษะการประยุกต์ของผู้เรียนไดจ้ ริง หากผู้สอนเลือก วธิ ีการท่องจาก็จะไมถ่ อื เปน็ constructive alignment เปน็ ต้น 3.7 เทคนคิ การดงึ ศกั ยภาพความสามารถของผ้เู รียน การเรียนการสอนในยุคไทยแลนด์ 4.0 ต้องใช้หลักการเรียนการสอนแบบบูรณาการ ในการส่งเสริมให้ผู้เรียนแสดงศักยภาพของตนเองทั้งด้านการเรียน กิจกรรม ตามยุคสมัยที่ เปลี่ยนแปลงไป ให้ความสาคัญกับจินตนาการพร้อม ๆ ไปกับการเรียนรู้ ต้องสร้างกิจกรรมการ เรียนรู้ท่ีทาให้ผู้เรียนได้รับทักษะท่ีจาเป็นท้ังทักษะการวิเคราะห์ การแก้ปัญหา ความคิด สร้างสรรค์ การสรา้ งนวตั กรรม การเรยี นและการทางานร่วมกนั เป็นทมี ซึ่งจะทาใหผ้ ูเ้ รียนเกิดการ เรียนรู้และเห็นภาพในภาวะผู้นา การส่ือสาร การใช้ข้อมูลและสารสนเทศ เป็นต้น และลักษณะ

ของกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีสามารถดึงศักยภาพของผู้เรียนได้ดีจากการสกัดองค์ความรู้ของ กลุ่มเป้าหมายทน่ี าไปใช้ปฏิบัตแิ ละเห็นผลจริง สรุปไดด้ ังตารางท่ี 1 ตารางท่ี 1 ลักษะกิจกรรมการเรียนรู้ทส่ี ามารถดงึ ศกั ยภาพของผ้เู รียนในยุคไทยแลนด์ 4.0 รปู แบบกิจกรรม ลกั ษณะกจิ กรรมและผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ การเรยี นรู้ การเรียนรู้แบบร่วมมือ แบ่งกลุ่มให้สมาชิกในกลุ่มมีความสามารถที่แตกต่างกัน Collaborative เพื่อให้เกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และมีความรับผิดชอบ learning group ร่วมกันทัง้ ในหนา้ ท่ีของตนเองและสว่ นรวม เทคนิคคู่คิด ให้ผู้เรียนจับคู่กับเพื่อนในการทากิจกรรมหรืออภิปรายหน้าช้ันเรียน Think pair share เพือ่ สร้างความคนุ้ เคยในการกล้าแสดงออก การเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ ผ่านเกมส์ จิ๊กซอว์ โมเดล ซึ่งจะทาให้ผู้เรียนเกิด Creative based การกระตือรอื รน้ เรียนรสู้ ่ิงใหม่ ๆ ฝึกการใชจ้ นิ ตนาการเชือ่ มโยงกระบวนการเรยี นรู้ learning สง่ เสรมิ ใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ การเรียนรดู้ ้วยตนเองและการเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ การเรียนรู้แบบแผนผังความคิด เป็นการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ Concept mapping ให้ผเู้ รียนออกแบบ วางแผน เพือ่ นาเสนอสิ่งทเ่ี ป็นความคิดรวบยอด การเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการในเร่ือง STEM education วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ เพ่ือกระตุ้นให้ผู้เรียน ได้ใช้ทกั ษะต่าง ๆ ในการแกป้ ัญหา และสร้างสรรค์นวตั กรรม เป็นตน้ Problem (project)- การเรียนรู้จากการกาหนดโจทย์ปัญหาหรือโครงงานวิจัย เพ่ือให้ผู้เรียนฝึกค้นคว้า based learning คดิ วเิ คราะห์แก้ปัญหา และจัดทาโครงงานในรปู แบบต่าง ๆ ขึ้นมา Analyze case studies การเรียนรู้แบบกรณีศึกษา เป็นการเรียนรู้จากกรณีตัวอย่าง ข่าวสาร ทันต่อ เหตุการณป์ จั จุบัน ผู้เรียนจะเหน็ ภาพและเข้าใจได้ง่ายมากขนึ้ การสร้างกิจกรรมการเรียนรโู้ ดยการเปดิ พืน้ ที่การสร้างสรรคย์ ่อมส่งผลดีตอ่ ผู้เรียนตอ่ การ มีส่วนร่วม จะสามารถช่วยดึงศักยภาพของผู้เรียนออกมาได้เป็นอย่างดี และเม่ือทาเชน่ นี้บ่อยคร้ัง จะทาให้ผู้เรียนเข้าใจ ค้นพบความชอบและความถนัดของตนเอง ซ่ึงครูผู้สอนจะต้องใช้เทคนิค ผสมผสานการเรยี นและกิจกรรมต่าง ๆ อย่างสมดุล ปรบั การสอนใหเ้ ขา้ กบั ผูเ้ รยี นแต่ละคนเพ่ือดึง ความสนใจต่อวิชาที่ยากหรือไม่ถนัด ที่สาคัญไม่ตีกรอบทางความคิด ไม่ประเมินผลเฉพาะด้าน วชิ าการอย่างเดียว สร้างส่ือการสอนท่ีน่าสนใจ วเิ คราะห์การประเมินผลแต่ละคนเพ่ือดูว่าผู้เรียน คนไหนถนัดวิชาอะไร และพรอ้ มที่จะผลกั ดนั ให้ผู้เรียนไปได้ไกลกวา่ เดมิ สิง่ นจี้ ะทาให้ผู้เรียนมั่นใจ ตัวเองมากข้นึ ทราบความถนัดของตนเอง แมจ้ ะไมไ่ ดเ้ กรดสท่ี กุ วชิ ากต็ าม

ภาพท่ี 3 การจดั การเรียนการสอนใหไ้ ดผ้ ลลพั ธท์ ี่ตัง้ ไว้ (construct alignment) (ดัดแปลงจาก Bigg, 2014) 3.8 ตวั อยา่ งการจดั การเรียนการสอนแบบบูรณาการและผลสะท้อนกลบั ผลจากการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนรู้ ทาให้กลุ่มเป้าหมายอาจารย์ผู้สอนในแต่ละสาขาได้ นาแนวคิด เทคนิค รูปแบบการเรียนการสอน การแก้ปัญหาในช้นั เรียน ไปปรับใช้ในรายวิชาของ ตนก่อนนาผลสะท้อนจากการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญมา แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพ่ือสร้างเป็นคู่มือแนวปฏิบัติที่ดี จากผลการดาเนินงานมีตัวอย่างรายวิชาที่นา องค์ความรู้ที่ได้จากกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ไปปรับใช้ทาให้ผู้เรียนเกิดผลสัมฤทธ์ิในการเรียน ที่ตั้งไว้ เช่น รายวิชาพันธุวศิ วกรรม อาจารย์ผู้สอนคือผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วันทนีย์ เขตต์กรณ์ สาขาวิชาชีววิทยา ท้ังน้ีผู้สอนมีการดาเนินการปรับปรุงรูปแบบการสอน โดยนารูปแบบการเรียน การสอนแบบ active learning และแนวคิดการเรียนรู้แบบฟินแลนด์โมเดลมาใชจ้ ัดการเรียนการ สอนในรายวิชาพันธุวิศวกรรม (รหัสวิชา 09313371) ภาคการศึกษาที่ 2/2560 โดยมีการ ผสมผสานการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ (student centered learning) โดยผู้สอน จะกาหนดกิจกรรมการเรียนการสอน (learning activity) ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์รายวิชา (learning outcome) และมีรูปแบบการประเมินผลที่สอดคล้องกับกิจกรรมการสอน และ สามารถวัดและประเมินผลนกั ศึกษาเป็นรายบุคคลได้ (learning assessment) กิจกรรมการเรียนการสอนที่ใช้ดังแสดงในภาพที่ 4 จะเน้นให้นักศึกษาได้เรียนรู้ด้วย ตนเอง โดยในสัปดาห์แรกของการเรียน ผู้สอนมีการใช้กิจกรรมสัมภาษณ์ (student interview) เปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับรูปแบบการสอนที่นักศึกษาต้องการ สัมภาษณ์

ความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับรายวิชาเพ่ือกระตุ้นให้นักศึกษาสนใจ มีความพร้อม และเข้าใจ วัตถุประสงคข์ องรายวิชาก่อน จากนั้นกิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละสปั ดาห์ ผู้สอนสรา้ งการ เรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน (flipping classroom) คือ เน้นให้นักศึกษามีการสืบค้นข้อมูลด้วย ตนเอง แบง่ กลุ่มคิดวิเคราะห์ร่วมกันในหัวข้อท่ีผู้สอนกาหนด และนาเสนอแนวคิด แบ่งปนั ความรู้ ให้กับเพื่อนต่างกลุ่ม โดยอาจารย์ผู้สอนเป็นผู้สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาและให้คาแนะนา กิจกรรมเหล่านี้สามารถช่วยกระตุ้นให้นักศึกษามีส่วนร่วม และให้ความสนใจกับกิจกรรมใน ระหว่างชัว่ โมงเรยี นมากขึ้น อีกทง้ั ช่วยให้นักศึกษาสามารถเขา้ ใจบทเรียนได้ง่าย สนุกกบั การเรยี น มีทักษะในการนาเสนอและกล้าแสดงความคิดเห็น มีกิจกรรม “mind map” สรุปบทเรียน ท่ีเรียนทั้งหมดใน 1หน้ากระดาษ A4 ซ่ึงช่วยให้นักศึกษาได้ทบทวนบทเรียน ก่อนสอบวัดผลการ เรียนรู้ นอกจากนั้น ผู้สอนมีการนาบทเรียนออนไลน์ Mycourseville เข้ามาพัฒนาการเรียนรู้ ของนักศึกษาในรายวชิ านี้ด้วย โดยบทเรียนออนไลน์ Mycourseville เป็นระบบจัดการการเรียน การสอน (Learning management system) ทีมีรูปแบบการเพิ่มเติมบทเรียน การส่งงาน การ อภิปรายผล การนาเสนองาน และการวัดผลการเรียนรู้ของนักศึกษาผ่านระบบออนไลน์ท่ีใช้งาน ไดง้ ่าย จึงสามารถลดช่องว่างและข้อจากัดต่าง ๆ ในการศึกษา เช่น ส่ือการเรียนการสอน การส่ง การบ้าน และการเชค็ ชื่อเข้าเรียน เปน็ ต้น และในแต่ละกิจกรรมตอนท้ายชั่วโมงเรียน ผ้สู อนจะให้ นักศึกษาประเมินผล (student reflection) กิจกรรมต่าง ๆ เพ่ือเป็นการสะท้อนผลการสอน และเปน็ ประโยชน์ในการนาไปปรบั การสอนในสัปดาหถ์ ัดไป ภาพที่ 4 กจิ กรรมการเรยี นการสอนในรายวชิ าพนั ธุวศิ วกรรมโดยเนน้ ผู้เรียนเปน็ สาคัญ

การดาเนนิ การในรายวิชาทาให้เกดิ ผลสัมฤทธ์ิกบั ผู้เรยี นดังนี้ 1) ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับพันธุวิศวกรรมมากขึ้น มีทักษะในการปฏิบัติการ การปรับปรุงพันธส์ุ ง่ิ มีชีวิต สามารถวางแผนการทดลองเปน็ ระบบขั้นตอนได้ สามารถคิดวิเคราะห์ และถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้อนื่ ได้อย่างถูกต้อง อีกท้ังการเรียนการสอนแบบการสร้างโจทย์ปัญหา การต้ังประเด็นคาถาม และให้ผเู้ รียนไดร้ ว่ มกันอภิปราย เรยี นรู้และเกดิ ทกั ษะทางปญั ญามากขึน้ 2) นักศึกษามีความสนใจ ตั้งใจเรียนรู้ สนุกและมีส่วนร่วมในกิจกรรม กล้าแสดงความ คิดเห็นมากขึ้น การนาบทเรียนออนไลน์ Mycourseville มาใช้ ชว่ ยให้นักศึกษาสามารถทบทวน ความรู้ ผ่านสื่อการสอนในรูปแบบคลิปวีดีโอ ทาให้นักศึกษาเข้าใจบทเรียนได้ง่าย สะดวก สามารถทบทวนบทเรยี นไดต้ ลอดเวลาแมไ้ มไ่ ด้อยใู่ นหอ้ งเรียน อีกทัง้ ระบบแจง้ เตอื นการส่งงานทา ให้นักศึกษามีวินัย มีความรับผดิ ชอบส่งงานไดต้ รงตามกาหนดเวลา 3) ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ผู้สอนในระดับดีมาก เท่ากับ 4.609 และจากข้อเสนอแนะของนักศึกษาแสดงให้เห็นว่า นักศึกษามีความพึงพอใจต่อ รูปแบบการเรียนการสอนท่ีนาเทคนิค active learning มาปรับใช้ และจากการปรับปรุงการ เรียนการสอนสง่ ผลใหผ้ ลการเรียนของผูเ้ รยี นส่วนใหญอ่ ยูใ่ นระดับดี เกรด B ข้นึ ไป คิดเปน็ ร้อยละ 78.13 ซ่ึงสูงกว่าปีการศึกษาท่ีผ่านมาท่ีนักศึกษามีผลการเรียนเกรด B ข้ึนไปเพียงร้อยละ 39.14 และไมพ่ บผเู้ รียนท่มี ผี ลการเรยี นไมผ่ ่าน (เกรด F) หรอื ถอนเรียน (drop out) 4. สรุปและขอ้ เสนอแนะ ปัจจยั ท่สี ่งเสรมิ ให้กิจกรรมการจัดการเรยี นรปู้ ระสบความสาเร็จ คอื การกาหนดประเด็น การจัดการความรู้ให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์วาระเร่งด่วนของมหาวิทยาลัย องค์ความรู้ที่มี อยู่ในตวั บุคคลของบุคลากร ผู้บริหารให้ความสาคัญและให้การสนับสนุนจนทาให้สามารถดาเนิน โครงการได้อย่างต่อเน่ือง นอกจากน้ันการมองว่าปัญหาในการจัดการเรียนการสอนไม่ได้อยู่ท่ี ผู้เรียนอย่างเดียว แต่ข้ึนอยู่กับผู้สอนสามารถถ่ายทอดความรู้ให้เด็กได้อย่างถูกวิธีหรือไม่ การท่ี ผู้สอนเปิดใจและหาแนวทางในการสร้างแรงจูงใจในการเรียน การบูรณาการเรียนการสอน การ ออกแบบการศึกษาท่ีมุ่งผลลัพธ์และดงึ ศักยภาพของผู้เรียนถือเป็นการพฒั นาการจัดการเรียนการ สอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียนสู่การเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติ ทาให้ผู้เรียนมีทักษะการคิดรวิเคราะห์ในการแก้ปญั หาตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างมีเหตุผล ตลอดจนสามารถ นาความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ นสถานการณ์จริงไดอ้ ย่างเหมาะสม 5. บรรณานกุ รม Biggs, J. 2014. Constructive alignment in university teaching. HERDSA Review of Higher Education. 1: 5-22.

Christopher, P. Robert Gagne’s Instruction Design Model; “The Nine Events of Instructions” Retrieved October 13, 2011, from www.slideshare.net /.../robert-gagnes-instruction-design-model-the-nine-events-of-instructions. Ministry of Industry. 2016. 20 years development strategy of Thailand industry 4.0 (2017- 2037). Bangkok, Printed material Lalley, J. and R. Miller. 2007. “The learning pyramid: Does it point teachers in the right direction?” Education and Information Technologies. 128(1): 64-79.

1 โครงการพัฒนาศักยภาพทางธุรกิจสาหรับวิสาหกิจชุมชนหมู่ 7 ต.บึงกาสาม อ.หนองเสือ จ.ปทุมธานี ตอ่ ยอดสู่การบรู ณาการการเรยี นรู้แบบ WIL ผศ.ดร.สลิตตา สารบิ ุตร ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ สาขาการตลาด คณะบรหิ ารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี [email protected] ............................................................................................................................. .................... บทสรปุ สาขาวิชาการตลาดคณะบริหารธุรกิจ ได้จัดทาโครงการบริการทางวิชาการอย่างต่อเนื่องโดยจัด โครงการพัฒนาศักยภาพทางธุรกิจสาหรับวิสาหกิจชุมชนหมู่ 7 ต.บึงกาสาม อ.หนองเสือ จ.ปทุมธานี มวี ัตถปุ ระสงค์ 2 ประการคือ 1.วิสาหกิจชุมชนสามารถจัดทาแผนทางการตลาด (Marketing Plan) และมี การสร้างเครือข่ายกับวิสาหกิจชุมชนอื่นท่ีประสบความสาเร็จ เพื่อแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน 2.นักศึกษา ไดร้ ับการพฒั นาผ่านการเรยี นการสอนแบบ Work Integrated Learning การดาเนินการดังกล่าวได้บูรณาการรายวิชาของสาขาวิชาการตลาดท่ีจัดการเรียนการสอนใน ลักษณะ Work Integrated Learning: Wil ใน 4 รายวิชา ได้แก่ 1. การบริหารการค้าปลีก 2. การ บริหารการตลาด 3. การบรหิ ารการขาย 4. การตลาดลกู ค้าสัมพันธ์ เพื่อเป็นการสร้างสะพานเช่ือมโยง ระหว่างการศึกษาในปัจจุบันของนักศึกษากับวิชาชีพในอนาคตเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ และ ผสมผสานความรู้ทางทฤษฎีที่ได้จากการเรียนกับประสบการณ์การฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการท่ีอยู่ใน โลกแห่งความเป็นจริงสาขาวิชาการตลาดจึงได้ดาเนินการพัฒนากระบวนการจัดการความรู้(Knowledge Management) มาประยกุ ต์ใช้ โดยการนาองค์ความรู้จากการให้บริการทางวิชาการแก่สังคม มาบูรณาการกับ การเรียนการสอน จากผลการดาเนินการดังกล่าวท่ีมีเปาาหมายเพ่ือการพัฒนาชุมชนโดยการบูรณาการ การเรียนการ สอน การบริการวิชาการ โดยดาเนินการอย่างต่อเน่ือง ตามนโยบายของมหาวิทยาลัย สามารถสร้างการ พัฒนาอย่างย่ังยืน(Sustainable Development) ก่อให้เกิดความสาเร็จของการพัฒนาชุมชนในด้านต่างๆ นักศึกษาสามารถเรียนรู้จากกิจกรรม(Activity Base Learning) ได้ความรู้และโจทย์จริงจากชุมชน และ การลงมือทาโดยบูรณาการกับความรู้ในห้องเรียน โดยใช้กระบวนการจัดการความรู้ในการดาเนิน กระบวนการ สามารถพัฒนากระบวนการเรียนรู้และถ่ายทอดองความรู้ ระหว่างมหาวิทยาลัย ชุมชน และ ภาคธุรกิจอตุ สาหกรรมซง่ึ ถือเปน็ สามเสาหลักของการพฒั นา(Triple Helix) Summary The Business Administration Program in Marketing had arranged for the ongoing academic service projects by launching the business potential development project for the community enterprise of Moo 7, Beung-ga-sam sub-district, Nongsue district,

2 PathumThani. The aims were to 1) for the community enterprise to be able to arrange for the Marketing Plan and to form the network with other successful community enterprises to co-exchange the knowledge; 2) for the students to reach toward the development through the form of Work Integrated Learning. This process had integrated each subject in the course of Business Administration Program on Marketing that offered in form of Work Integrated Learning: Wil in four subjects: 1. Retailing management 2. Marketing management 3. Selling Management 4. Customers Relationship Management. This was to form the bridge to link between the current study of the students and their future vocational to allow them with chances to apply and blend the theoretical knowledge from the classes with the reality practicing experiences with the enterprises. The Business Administration Program in Marketing was then processed to develop the Knowledge Management process to apply by bringing the knowledge from social academic service to integrate with the teaching& learning activities. From the results of the implementation, it was with the aims toward the ongoing development of the community via the integration of teaching& learning and academic services according to the university’s policy toward the Sustainable Development. This would lead to the successful community development in each aspect that students can learn from the Activity Base Learning. They would obtain the knowledge and real questions from the community then, implement through the integration with the classroom knowledge using the knowledge management process to run and be able to develop the learning and knowledge transferring process among the university, community and business sector as well as industry which were considered as the Triple Helix of the development. คาสาคญั Work Integrated Learning, Activity Base Learning, Knowledge Management, Marketing บทนา จากแผนพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ได้กาหนดประเด็นยุทธศาสตร์: ยทุ ธศาสตร์การพัฒนางานบรกิ ารวชิ าการเพื่อตอบสนองคุณภาพชีวิตท่ีย่ังยืนของชุมชน และเศรษฐกิจเมือง ใหม่ จากประเด็นยุทธศาสตร์ดังกล่าวมหาวิทยาลัยฯ ได้กาหนด ขอบเขตการพัฒนาพื้นท่ี (Area based) เพื่อการพัฒนาอย่างย่ังยืนด้วย Social Engagement และ Smart City ไว้ 5 จังหวัด ได้แก่ ปทุมธานี นครนายก ฉะเชงิ เทรา ปราจีนบรุ ี และ สระแกว้ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ได้ยึดถือการให้บริการทางวิชาการแก่ สังคมเป็นหนง่ึ ในภารกิจหลัก และได้นาประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 ของมหาวิทยาลัยมาวางเป็นกรอบแนวทาง

3 ในการใหบ้ รกิ ารทางวิชาการแกส่ ังคมเช่นเดียวกัน การใหบ้ ริการทางวชิ าการแกช่ มุ ชนและสังคม จึงต้องการ ยกระดับคุณภาพชีวิตของหมู่บ้าน ชุมชน ให้มีความย่ังยืน โดยการถ่ายทอดนวัตกรรมและเทคโนโลยีแบบ บูรณาการอย่างมีส่วนรว่ ม เพื่อแกป้ ญั หาและผลกระทบของหม่บู า้ น ชมุ ชน อย่างเขม้ แข็งและย่งั ยืน แนวทางการดาเนินการ สาขาวิชาการตลาดจดั ทาโครงการบรกิ ารทางวิชาการอยา่ งตอ่ เน่ือง โดยในปีงบประมาณ 2560 ได้ จัดทาโครงการบริการทางวิชาการ “โครงการพัฒนาศักยภาพทางธุรกิจสาหรับวิสาหกิจชุม ชนหมู่ 7 ต.บึงกาสาม จ.ปทมุ ธานี” โดยดาเนนิ การในพนื้ ทอี่ ยา่ งตอ่ เนอื่ งเปน็ ปที ี่ 4 สาขาวิชาการตลาดได้กาหนดวัตถุประสงค์ของ การให้บริการทางวชิ าการในโครงการดงั กลา่ วไว้ 2 ประการคือ 1.วสิ าหกจิ ชมุ ชนสามารถจดั ทาแผนทางการ ตลาด (Marketing Plan) ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 2. วิสาหกิจชุมชน มีการสร้างเครือข่ายกับ วิสาหกจิ ชมุ ชนอืน่ ที่ประสบความสาเร็จ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ตามนโยบายของมหาวิทยาลัยโดยใช้ รปู แบบ University-Community-Industrial :RMUTT UCI Model หรือ Triple Helix ภาพประกอบที่ 1 RMUTT Social Engagement Framework ในปีการศึกษาท่ี 1/2560 ทางสาขาวิชาการตลาดได้มีการจัดการเรียนการสอนในลักษณะ Work Integrated Learning: Wil ใน 4 รายวิชา ได้แก่ 1. การบริหารการค้าปลีก 2. การบริหารการตลาด 3. การบริหารการขาย 4. การตลาดลูกค้าสัมพันธ์ ซึ่งวัตถุประสงค์ของการจัดการเรียนการสอนในลักษณะ WIL เพอ่ื เป็นการสร้างสะพานเชื่อมโยงระหว่างการศึกษาในปัจจุบันของนักศึกษากับวิชาชีพในอนาคตเปิด โอกาสให้นักศึกษาไดป้ ระยกุ ตใ์ ช้ และผสมผสานความรทู้ างทฤษฎที ีไ่ ดจ้ ากการเรยี นกบั ประสบการณ์การฝึก ปฏิบัติในสถานประกอบการที่อยู่ในโลกแหง่ ความเป็นจริง (real world) ทางคณาจารย์สาขาวิชาการตลาด จึงได้ทาการประชุมเพ่ือหารอื ถึงวิธีการในการนาองคค์ วามรู้จากการให้บริการทางวิชาการแก่สังคม มาบูรณาการ กับการเรยี นการสอน เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชนก์ บั นกั ศกึ ษาในรายวชิ า WIL มากที่สดุ เครื่องมอื ในการจดั การความรู้ การดาเนนิ กระบวนการในการจัดการความรู้ ได้ประยุกต์ใช้โมเดลการจัดการความรู้ SECI Model (Nonaka และ Takeuchi,1995) มาเป็นแนวทางในการดาเนินการ เพ่ือก่อให้กิดกระบวนการที่เป็น ระบบและสรา้ งความย่งั ยืนตอ่ การดาเนนิ การ

4 ภาพประกอบท่ี 2 SECI Model ของ Nonaka และ Takeuchi วิธกี ารดาเนินงาน การดาเนินการได้ประยุกต์กระบวนการเพื่อสร้างความสัมพันธ์การหลอมรวมความรู้ในองค์กรระหว่าง ความรู้ฝังลึก (Tacit Knowledge) กับความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) ใน 4 กระบวนการ เพื่อยกระดับ ความรใู้ ห้สงู ขน้ึ อยา่ งต่อเน่ืองเป็นวฎั จักร เรม่ิ จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Socialization) การสกัดความรู้ออกจาก ตัวคน (Externalization) การควบรวมความรู้ (Combination) และการผนกึ ฝังความรู้ (Internalization) และวน กลับมาเริ่มต้นทาซ้าท่ีกระบวนการแรก เพือ่ พัฒนาการจดั การความรใู้ หเ้ ปน็ งานประจาท่ยี ัง่ ยนื 1. การแลกเปลยี่ นเรียนรู้ (Socialization) : Tacit to Tacit เป็นกระบวนการเพื่อสัมพันธ์ทางสังคมในการส่งต่อระหว่างความรู้ฝังลึก(Tacit knowledge) ดว้ ยกัน เปน็ การแบ่งปันประสบการณ์แบบเผชิญหน้าระหว่างผู้รู้ เช่น การประชุมร่วมกับชุมชน การระดมสมอง ที่มาจากความรู้ การเรียนรู้ และประสบการณ์ของแต่ละบุคคล เฉพาะเรื่อง ในพ้ืนท่ีชุมชนบึงกาสาม แล้วนามาแบ่งปัน แลกเปล่ียนเรียนรู้ในสภาพแวดล้อมเดียวกัน ที่มิใช่เป็นเพียงการอ่านหนังสือ คู่มือ หรือ ตารา โดยมีการปฏบิ ัตดิ ังนี้ 1. คณาจารย์สาขาวชิ าการตลาดวางแผนการลงพ้นื ทีใ่ ห้บริการทางวิชาการแก่ชุมชนบึงกาสามใน โครงการ “การพัฒนาศักยภาพทางธุรกิจสาหรับวิสาหกิจชุมชนหมู่ 7 ต.บึงกาสาม อ.หนอง เสือ จ.ปทุมธานี” โดยจะมีการคัดเลือกนักศึกษาจานวนหนึ่งเป็นผู้ช่วยในการลงพื้นที่เพ่ือเก็บ ข้อมูลเบื้องต้น โดยจะทาการอบรมเร่ือง Business Model Canvas: BMC ให้แก่นักศึกษา กลุ่มน้ีก่อนลงพ้ืนที่ หลังจากทุกอย่างเตรียมพร้อมแล้วจึงทาการลงพ้ืนที่เพ่ือให้บริการทาง วชิ าการแก่ชุมชนบึงกาสาม ตามโครงการทวี่ างไว้ 2. คณาจารย์สาขาวชิ าการตลาด พร้อมนักศึกษาตัวแทนกลุ่ม ลงพื้นท่ีในการให้บริการทางวิชาการแก่ ชุมชนบึงกาสาม เป็นระยะเวลา 2 วัน (ในวันท่ีเสาร์ที่ 20 - วันอาทิตย์ท่ี 21 พฤษภาคม 2560) หลังจากการให้บริการทางวิชาการเรียบร้อยแล้ว ทางคณาจารย์และนักศึกษาผู้ช่วย จะทาการ

5 ประชุม พูดคยุ เพือ่ รวบรวมเน้อื หาจากการอบรม วิเคราะห์และนาองค์ความรู้ท่ีได้มาเรียบเรียงเป็น กรณศี ึกษา เพื่อใชใ้ นการเรยี นการสอนในรายวิชาการบรหิ ารการตลาด ในภาคเรียนที่ 1/2560 ภาพประกอบท่ี 2 การลงพืน้ ท่ีชุมชนบึงกาสาม โดยคณาจารย์และนกั ศึกษา 2. การสกัดความรู้ออกจากตัวคน (Externalization) : Tacit to Explicit เป็นกระบวนการสร้างความสัมพันธ์กับภายนอกในการส่งต่อระหว่างความรู้ฝังลึก ( Tacit knowledge) กับความร้ชู ัดแจ้ง (Explicit knowledge) โดยนาเสนออย่างเป็นรูปแบบและ เป็นการพัฒนา องค์ความรู้ท่ีถูกฝังอยู่ในความรู้ฝังลึกให้สื่อสารออกไปภายนอก โดยแผนภาพBusiness Model Canvas แผนภูมิ เอกสารท่ีสนับสนุนให้เกิดการสื่อสารระหว่างผู้เรียนรู้ด้วยกันท่ีเข้าใจได้ง่าย ซึ่งความรู้ฝังลึกจะถูก พัฒนาให้ตกผลึกและถูกกล่ันกรอง แล้วนาไปสู่การแบ่งปัน เปลี่ยนเป็นฐานความรู้ใหม่ท่ีถูกนาไปใช้สร้าง ผลติ ภณั ฑใ์ หม่ในกระบวนการใหม่ โดยมกี ารปฏบิ ตั ดิ งั น้ี 1. นากรณีศึกษาท่ีได้จากการลงพ้ืนที่ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม มาใช้ในการเรียนการสอนวิชาการ บริหารการตลาด ให้นักศึกษาฝกึ วเิ คราะห์รว่ มกนั โดยใช้เครื่องมือคือ Business Model Canvas: BMC ทาการวเิ คราะหแ์ ละวางแผน จนเกิดความเขา้ ใจและสามารถวิเคราะหไ์ ด้อยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม 2. กาหนดแผนงานใหน้ ักศึกษา เพื่อให้เกิดการบูรณาการองค์ความรู้สู่ชุมชน โดยให้นักศึกษาจับกลุ่ม และเลือกพื้นที่ (เลือกชุมชนใดก็ได้ภายใต้ Area Base ของมหาวิทยาลัย) กลุ่มละ 1 ชุมชน ไม่ซ้า กัน โดยให้นักศึกษานาองค์ความรู้ที่ได้เรียนมา นามาวิเคราะห์และหาแนวทางในการพัฒนา วิสาหกิจชุมชน ให้สามารถดาเนินกิจการได้อย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึนในลักษณะแผนการตลาด โดยต้องนาเสนอแผน พร้อมนาส่งรูปเล่มรายงานแก่อาจารย์ผู้สอนในสัปดาห์ท่ี 15 นอกจากน้ียัง ตอ้ งมกี ารจัดแสดงผลงานเพ่อื เผยแพรแ่ ก่บคุ คลท่วั ไปในวนั “Marketing Day” ต่อไป ภาพประกอบท่ี 3 การนาเสนอ Business Model Canvas ของผูป้ ระกอบการในชุมชน

6 ภาพประกอบท่ี 4 บรรยากาศการเรยี นรู้กรณีศึกษาในห้องเรยี น (ฝึกวิเคราะหโ์ ดยใช้ Business Model Canvas) ภาพประกอบที่ 6 การลงพ้นื ท่ีของนักศึกษา 3. การควบรวมความรู้ (Combination) : Explicit to Explicit เป็นการดาเนินการเพ่ือความสัมพันธ์การรวมกันของความรู้ชัดแจ้ง (Explicit knowledge) ท่ีผ่าน การจัดระบบ และบูรณาการความรู้ที่ต่างรูปแบบเข้าด้วยกัน เช่น นาความรู้ไปสร้างต้นแบบใหม่ ไป สรา้ งสรรค์งานใหม่ ได้ความรใู้ หม่ โดยความรู้ชัดแจ้งได้จากการรวบรวมความรู้ภายในหรือภายนอกองค์กร แล้วนามารวมกัน ปรับปรุง หรือผ่านกระบวนการที่ทาให้เกิดความรู้ใหม่ แล้วความรู้ใหม่จะถูกเผยแพร่แก่ สมาชิกในองคก์ ร ผ่านการปฏบิ ัตดิ ังน้ี 1. นาองค์ความรู้ที่ได้จากการลงพ้ืนท่ีให้บริการทางวิชาการมาจัดทาเอกสารเพ่ือใช้ในการเรียน การสอน ในรายวิชาการบริหารการตลาดในภาคการศึกษาท่ี 1/2560 ได้กรณีศึกษาท้ังหมด 4 กรณีศึกษา ได้แก่ 1. แผนธุรกิจน้าผ้ึงมะนาว คุณสัจจะ สุขสถิตย์ 2. แผนธุรกิจกระเป๋าจาก วัสดเุ หลอื ใช้ คณุ จีราภา แสงณรงค์ 3. แผนธรุ กจิ น้าพริกลูกทุ่งสุพรรณ คุณวสันต์ สุขเกษม 4. แผนธุรกิจผลิตภัณฑ์จากกล้วย คุณบังอร ฉายาทับเพื่อให้ผู้เรียนได้ทาการวิเคราะห์ธุรกิจ โดยใช้ Business Model Canvas และวางแนวทางในการแก้ปญั หาอยา่ งเหมาะสม 2. ดาเนินการพัฒนาผลงานของนักศึกษาโดยการจัดกิจกรรมและสร้างความท้าทายและเพ่ิม ทักษะการนาเสนอให้กับนักศกึ ษาผา่ นกิจกรรม

7  สรปุ เนื้อหาในรปู เลม่ รายงาน และการนาเสนอของนักศกึ ษา  การประเมินผลงานจากคณะกรรมการ (ท้ังภายในและภายนอก) ในการจัดแสดงผล งานในวัน “Marketing Day” ประเมินสัมฤทธิ์ผลทางการเรียน โดยวัดจากผลการ เรยี นของนักศกึ ษา ภาพประกอบที่ 7 การนาเสนอรปู เลม่ รายงานของนักศึกษา ภาพประกอบที่ 8 บรรยากาศงานวัน “Marketing Day” 4. การผนกึ ฝังความรู้ (Internalization) :Explicit to Tacit เปน็ กระบวนการในการสร้างวามสัมพันธ์ภายในที่มีการส่งต่อความรู้ชัดแจ้ง (Explicit knowledge) สู่ ความรู้ฝังลึก (Tacit knowledge) แล้วมีการนาไปใช้ในการพัฒนาชุมชน ครอบคลุมการเรียนรู้และลงมือทา ซ่ึงความรู้ชัดแจ้งถูกเปล่ียนเป็นความรู้ฝังลึกในระดับบุคคลแล้วกลายเป็น องค์ความรู้ของชุมชนและของ คณะและมหาวิทยาลยั ตอ่ ไป ผ่านการปฏิบตั ดิ งั นี้ 1. การบูรณาการกับการเรียนการสอน ฝึกให้นักศึกษาได้ทางานร่วมกัน (Collaboration) ได้มี การมอบหมายงานให้แก่นักศึกษาในรายวิชาการบริหารการตลาด เพื่อต่อยอดพัฒนาองค์ ความรู้สชู่ มุ ชน โดยแบง่ นักศึกษาออกเป็นกลุ่ม ไดน้ กั ศกึ ษาท้งั หมด 12 กล่มุ (12 ชมุ ชน) คือ

8 1. ฟาร์มเห็ดม่นั ศรี จ. สระแก้ว 2. วสิ าหกจิ ชุมชนกลมุ่ แมบ่ ้านเกษตรกรบา้ นหนองยางสามัคคี จ. นครนายก 3. วิสาหกิจชุมชนบ้านบึงสมบรู ณ์ จ. ปทุมธานี 4. วิสาหกิจชมุ ชน ไทรทอง จ. ปทุมธานี 5. กลมุ่ เครอ่ื งหนัง BURAWA จ. สระแกว้ 6. วสิ าหกิจชุมชนบงึ บา จ. ปทุมธานี 7. สวนมะนาวลุงเพิ่ม จ. ปทมุ ธานี 8. วสิ าหกิจชมุ ชนผา้ สไบมอญ ชมุ ชนคขู วาง จ. ปทมุ ธานี 9. กลุ่มผลติ ขา้ วอนิ ทรยี ์ ผู้ใหญ่เล็ก บงึ กาสาม จ. ปทมุ ธานี 10. กลมุ่ วสิ าหกิจชมุ ชนบึงยี่โถ จ. ปทมุ ธานี 11. กลุม่ วิสาหกจิ ชุมชนบงึ บา จ.ปทมุ ธานี 12. กล่มุ วสิ าหกจิ ชุมชนผู้สูงอายุ อ.ธัญบรุ ี จ.ปทมุ ธานี 2. นกั ศึกษาจดั ทารูปเลม่ รายงานเพื่อนาเสนออาจารย์ผู้สอน และจัดแสดงผลงานเพ่อื เผยแพร่ ผลงานแก่บุคคลทั่วไปในวนั “Marketing Day” (วนั ท่ี 4 ตุลาคม 2560) 3. อาจารย์ผู้สอนนาเสนอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รวมถึงข้อผิดพลาดที่ควรปรับปรุง ให้ คณาจารย์ในสาขาได้รับทราบในท่ีประชุม เพื่อหาแนวทางแก้ไขข้อผิดพลาดร่วมกัน สาหรับ ขอ้ ผิดพลาดท่ีพบ คอื นักศึกษาส่วนใหญ่วิเคราะห์ข้อมูลในส่วนของงบการเงินยังไม่ถูกต้องนัก ซ่ึงแนวทางในการแก้ไข คือก่อนลงพ้ืนท่ีในคร้ังต่อไปจะมีการอบรมให้ความรู้ทางด้านงบ การเงินท่ีเหมาะสมกับกิจการในลักษณะวิสาหกิจชุมชน หรืออาจหารือร่วมกับสาขาวิชา การเงิน เพ่ือจัดหานักศึกษามาเป็นพ่ีเล้ียงคอยให้คาแนะนาช้ีแนะในส่วนของการจัดทางบ การเงินของกิจการ และนาข้อเสนอแนะทไ่ี ด้ไปปรับปรุงในปตี ่อไป ผลและอภปิ รายผลการดาเนนิ งาน ผลที่ไดร้ บั ด้านการเรียนการสอน จากการนาองค์ความรู้จากกระบวนการจัดการความรู้ นโยบายของมหาวิทยาลัย และการบูรณาการ รายวิชา และการให้บริการทางวิชาการแก่สังคม มาบูรณาการกับการเรียนการสอนในรายวิชาการบริหาร การตลาด ผลการดาเนินงานพบวา่ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาการบริหารการตลาดดีข้ึน เม่ือเปรียบเทียบในรายวิชา เดยี วกันในปีการศกึ ษา 1/2559 ก่อนจะมีการเรียนการสอนในลกั ษณะ WIL

9 ตารางที่ 1 ตารางเปรยี บเทียบผลการเรยี นของนักศึกษาในรายวชิ าการบริหารการตลาดกอ่ นและหลงั ใช้ หลักสตู ร WIL ระดับผลการเรียน ปีการศึกษา 1/59 ปกี ารศกึ ษา 1/60 จานวน (คน) จานวน (คน) A57 B+ 10 52 B 34 77 C+ 65 26 C 31 11 D+ 0 0 D00 F20 จากตารางท่ี 1 จะเหน็ ได้วา่ ระดบั ผลการเรยี นของผเู้ รยี นในรายวชิ าการบริหารการตลาด ดีขึ้นเม่ือ ปรับการเรียนการสอนเป็นลักษณะ WIL นอกจากนี้ยังไม่มีนักศึกษารายใด ได้ระดับผลการเรียนต่ากว่า C ท้ังนี้เน่ืองจากมีการปรับสัดส่วนค่าระดับคะแนนของงานภาคปฏิบัติให้สูงข้ึน (จากการเรียนการสอนใน ลักษณะเดิมท่ีสัดส่วนคะแนนการสอบและคะแนนผลงานเป็น 70:30 เปล่ียนเป็นคะแนนสอบร้อยละ 30 สว่ น 70 เป็นคะแนนภาคปฏบิ ตั ิ) โดยเป็นการวัดจากผลงานจากการลงพ้ืนที่ปฏิบัติจริง ไม่มีการสอบกลาง ภาค คงไว้แค่การสอบวัดผลปลายภาคเท่าน้นั ซึ่งจากการท่ีได้นาองค์ความรู้จากการให้บริการทางวิชาการ มาทาการอบรมให้ผู้เรียนก่อนการลง พื้นที่ จะสามารถทาให้ผูเ้ รียน เขา้ ใจบริบทของวสิ าหกจิ ชมุ ชน และวิเคราะห์ประเด็นปัญหา และร่วมกันหา แนวทางแก้ไข ได้อย่างเหมาะสมมากขึ้น ส่งผลให้นักศึกษามีความมั่นใจในการลงพ้ืนท่ีปฏิบัติงานจริงมาก ขนึ้ ดว้ ย 2. นักศึกษาสามารถจัดทาแผนธุรกิจท่ีสอดคล้องกับกลุ่มเปาาหมายที่นักศึกษาเลือก ภายใต้การ วิเคราะห์ปัญหา โอกาสทางการตลาด การใช้ประโยชน์จากข้อมูลการตลาดในการวางแผนได้อย่าง เหมาะสม โดยจากการตรวจรูปเล่มผลงานและการนาเสนอผลงานของนักศึกษา พบว่า รายงานของ นักศึกษาทงั้ 12 กลุม่ มีความถกู ต้องในเชงิ วิชาการ มีการวิเคราะห์ธุรกิจโดยใช้ Business Model Canvas ได้อย่างเหมาะสม มีการวางแผนในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาธุรกิจ ได้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่ธุรกิจ กาลังเผชญิ อยูใ่ นขณะน้นั จากการพดู คยุ และสอบถามผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนท่ีนักศึกษาไปลงพ้ืนที่ พบว่าทุกๆ วิสาหกิจชุมชนมีความพึงพอใจในผลงานของนักศึกษา หลายๆ ธุรกิจมีรายได้เพ่ิมมากข้ึนจาก การปฏิบัติตามคาแนะนาของนักศึกษา อาทิเช่น สวนมะนาวลุงเพิ่ม ต.บึงบา อ.หนองเสือ จ.ปทุมธานี ท่ีมี การปรับปรุงบรรจุภัณฑ์และเพ่ิมผลิตภัณฑ์ใหม่ รวมถึงการขยายช่องทางจัดจาหน่ายแบบออนไลน์ กลุ่มผลิต ขา้ วอนิ ทรีย์ ของผูใ้ หญเ่ ล็ก ต.บงึ กาสาม อ.หนองเสือ จ.ปทมุ ธานี ท่ีมีการปรับปรุงบรรจุภัณฑ์ มีการใส่ story และคุณประโยชน์ตามชนิดของข้าวให้เหมาะสมกับกลุ่มผู้บริโภค และขยายช่องทางการจัดจาหน่ายไปยัง หน่วยงานราชการ เชน่ มหาวิทยาลัย หน่วยงานเทศบาล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook