Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Abstract Book

Abstract Book

Published by taweelap_s, 2019-07-25 21:23:26

Description: Abstract Book KM12

Keywords: KM12

Search

Read the Text Version

การประชุมสมั มนาเครอื ข่ายการจัดการความรู้ ครั้งที่ 12 | หน้า i สารบัญ ท่ี เรอื่ ง หนา้ สารบญั ..............................................................................................................................................i 1 การประเมนิ ผู้เรียนโดยรปู แบบ S-PASS Learner Assessment by S-PASS Model..................... 1 2 เทคนิคการเขียนข้อเสนอโครงการวจิ ยั เพื่อขอทนุสนบั สนุนจากงบประมาณ แผน่ ดินและงบภายนอก อ่นื ๆ Techniques for Writing Research Proposals for Funding Support from the Government Budget and Other External Sources................................................................ 2 3 การจดั การองค์ความร้เู รื่องเทคนิคการเขียนผลงานวิจัยเพ่ือตีพมิ พใ์ นวารสารวชิ าการระดับนานาชาติ ที่อย่ใู นฐานข้อมลู งานวจิ ยั Q1, Q2 Knowledge Management on Research Writing Techniques for Publication in International Journals in The Research Database Q1, Q2................................................................................................................................................... 3 4 การจัดการเรียนรู้: การบรู ณาการการเรยี นการสอนสูย่ ุคไทยแลนด์ 4.๐ Knowledge management: The learning integration towards Thailand 4.0........................................... 4 5 โครงการพฒั นาศักยภาพทางธรุ กิจสาหรบั วิสาหกิจชมุ ชนหมู่ 7 ต.บงึ กาสาม อ.หนองเสอื จ.ปทุมธานี ตอ่ ยอดสู่การบรู ณาการการเรยี นร้แู บบ WIL .................................................................................... 5 6 การหมุนเกลยี วความรู้แบบหลายมิติ สาหรับการจดั การเรียนรแู้ บบบรู ณาการสะเต็มศึกษา The Multidimensional Knowledge Spiral for Learning Management base on STEM Education...................................................................................................................................... 6 7 การจัดการเรียนการสอนตามกรอบซดี ีไอโอเพ่ือสรา้ งบัณฑิตนักสร้างสรรคน์ วัตกรรม กรณีศึกษา วิทยาลัยการแพทยแ์ ผนไทย มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี Producing of Inventive Graduate Based on CDIO Framework Pedagogy: A Case Study of Thai Traditional Medicine College, Rajamangala University of Technology Thanyaburi ........................... 7 8 โครงการอบรมผลติ ภณั ฑข์ องท่ีระลึกจากเศษไม้............................................................................... 8 9 แนวปฏบิ ัตทิ ีด่ ี ภายใตป้ ระเด็น การกระตุ้นความสนใจในการเรยี น................................................... 9 10 โครงการพฒั นาธรรมมคั คุเทศกเ์ พื่อรองรับนักท่องเทยี่ วต่างชาติ The English Development Project for Monks, Novices, and Locals to Serve Foreign Tourists................................. 10 11 นวตั กรรมการเรียนการสอนรูปแบบโครงงานเป็นฐาน PBL (Project-based Learning) คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ Innovative Learning of Project-based Learning for Faculty of Architecture................................................................................................................................ 11 12 การบูรณาการออกแบบ-ผลติ -ชดุ ประกอบถอดตลบั ลูกปนื เข้าเพลาและตัวเรอื น มแี หวนล็อกพรอ้ ม ภาพเคล่อื นไหว 3 มติ ิ Integrated Design-Produce-and Assemble of Ball Bearing with Retaining Ring in Shaft & Bore and 3-D Animation............................................................. 12

หน้า ii | การจัดการความรูส้ ู่มหาวทิ ยาลัยนวตั กรรม สารบัญ ท่ี เรอ่ื ง หน้า 13 เทคนิคการจดั การเอกสารจัดซ้ือ - จัดจ้าง ในระบบการจดั ซ้ือจัดจ้างภาครัฐ โดยวิธเี ฉพาะเจาะจง อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ...................................................................................................................... 13 14 การรายงานสถติ ิการลาของบุคลากร บน Google Spreadsheet Leave statistics of personnel by Google Spreadsheet ........................................................................................................... 14 15 การประยุกตใ์ ชแ้ นวคิดการจัดการความรู้ ในรายวชิ าโครงงานสาขาวิชาเทคโนโลยเี ครื่องเรือน และ การออกแบบ Knowledge Management Apply for Project Subject : Program in Furniture Technology and Design.......................................................................................... 15 16 เทคนคิ แนะนาการกรอกคะแนนและเกรดนักศึกษาผ่านระบบ Technical Recommendation for Inputting Students’ Scores and Grades through the ASCAR’s System......................... 16 17 การจดั การความรู้เพื่อการเขียนโครงรา่ งการวิจัยผา่ นการเรียนรู้จากการปฏิบตั ิ Knowledge Management for Research Proposal Writing Through Action Learning.......................... 17 18 แนวทางการพัฒนาการเข้าสูต่ าแหนง่ ทางวชิ าการของอาจารย์คณะศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ Guidelines for Lecturers working in the Faculty of Liberal Arts, Rajamangala University of Technology Krungthep to Enhance the Academic Ranks ........................................................................................................................................... 18 19 การบูรณาการเทคโนโลยีรว่ มกับการจัดการการเรยี นการสอนสาหรับนักศึกษา คณะบริหารธรุ กจิ ปี 2560 คณะกรรมการจัดการความรู้คณะบรหิ ารธรุ กจิ .................................................................... 19 20 การสรา้ งความร่วมมือดา้ นการจดั การความรูส้ มู่ หาวิทยาลัยนวตั กรรม Development of Knowledge Management Collaboration to Innovative University .................................. 20 21 โครงการบูรณาการการมีส่วนรว่ มเพ่อื พฒั นาแอปพลเิ คชนั ฐานขอ้ มลู ความเชี่ยวชาญ สาหรับนกั วิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ An Integrated Project for Participation to Improve Database Application Expertise for Engineering Faculty Researchers............................................. 21 22 โครงการบรกิ ารวิชาการแกส่ ังคมการผลิตตวั เรอื นเคร่อื งประดับแหวนเงนิ ลงยาถมเงนิ กลุ่มชมุ ชน บา้ นพุพลู อาเภอหนองหญ้าปล้อง จังหวัดเพชรบรุ ี Academic service project for the society, the production of jewelry, silver rings, niello Ban Phu Phlu Community Group Nong Ya Plong District Phetchaburi Province................................................................................. 22 23 ระบบจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ (MOOC)........................................................................ 23 24 การพัฒนาทักษะนักประดิษฐห์ ุ่นยนต์จ๋วิ The Acquisition inventor tiny Robots ................... 24

การประชมุ สมั มนาเครอื ข่ายการจัดการความรู้ คร้ังที่ 12 | หนา้ iii สารบัญ ที่ เรือ่ ง หนา้ 25 โครงการถ่ายทอดความรู้ดา้ นการออกแบบเชิงบูรณาการ สกู่ ารขบั เคลื่อนเศรษฐกจิ ชมุ ชน ด้วย เทคโนโลยีทางการออกแบบ Integrated design knowledge transfer for local economic development from design technology project ................................................................. 25 26 การพฒั นารปู แบบการสอนภาษาตา่ งประเทศ ยุค 4.0 ของคณะศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลรตั นโกสนิ ทร์................................................................................................... 26 27 แนวทางพัฒนาการเรียนรสู้ กู่ ารเปน็ บณั ฑิตนักปฏิบตั ิ ของนักศกึ ษาคณะบริหารธรุ กจิ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์................................................................................................... 28 28 การพฒั นาระบบตดิ ตามการใช้งบประมาณประจาปีผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ของ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา Development of monitoring system of fiscal budget via mobile devices for Rajamangala University of Technology Lanna ............................... 29 29 การจัดการความรู้การสื่อสารภายในองค์กร กรณีศกึ ษา สถาบันถา่ ยทอดเทคโนโลยสี ูช่ มุ ชน Internal Communication Knowledge Management, A case study of Community of Technology Transfer Center ................................................................................................... 30 30 ระบบจัดเกบ็ เอกสารทะเบยี นประวัติพนกั งานในสถาบนั อดุ มศกึ ษา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราช มงคลล้านนา Storage System for Records of Employees in Higher Education Institution, Rajamangala University of Technology Lanna................................................ 31 31 ระบบนับจานวนบณั ฑิต เพื่อการรายงานผลอย่างมปี ระสิทธิภาพ ในพธิ ีพระราชทานปริญญาบตั ร Graduate counting system to increase the effectiveness of the graduation report... 32 32 ระบบการสง่ั ซ้ือวัสดอุ ปุ กรณ์สานกั งานออนไลน์ The online system for office supplies order purchasing .................................................................................................................................. 33 33 การเชก็ สต็อกศิลปวฒั นธรรมผ่านแผนท่ที างวฒั นธรรม : กรณศี กึ ษาอาเภอแม่แจม่ จังหวัดเชียงใหม่ Cultural Check Stocks through Cultural mapping: case study at Maechaem District, Chiang Mai Province ................................................................................................................. 34 34 องค์ความรดู้ า้ นการวจิ ัยสูก่ ารเพ่ิมปริมาณงานวจิ ยั ในองค์กร The Research Knowledge to Increasing Organization Research Number........................................................................... 35

หนา้ iv | การจัดการความรสู้ ู่มหาวทิ ยาลยั นวตั กรรม สารบญั ท่ี เรื่อง หนา้ 35 การประยุกตใ์ ช้ Google Application เพ่ือการจดั การข้อมูลสารสนเทศ และเพิ่มประสิทธิภาพใน งานประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา กองวิเทศสัมพันธ์และการประกนั คุณภาพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลศรวี ิชยั Applying Google Application to disposal Information Management System And to Increase Effectiveness of the system for Quality Assurance Department. Division for International Affairs and Quality Assurance. Rajamangala University of Technology Srivijaya......................................................................................... 36 36 การบริหารจัดการการฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาของ หลักสตู รครศุ าสตร์อุตสาหกรรมบัณฑติ Management of Teaching Practice in Institutes of Bachelor of Science in Technical education.................................................................................................................................... 37 37 การพัฒนาระบบบรหิ ารจดั การข้อมูลสารสนเทศด้านการประกันคุณภาพ โดยใช้ระบบ SMART QUALITY ASSURANCE (SQA) The development of quality management information system using SMART QUALITY ASSURANCE (SQA) ............................................................ 38 38 การพัฒนาผลติ ภณั ฑ์จากตาลโตนดของชุมชนตาบลบางเขยี ด อาเภอสงิ หนคร จังหวดั สงขลา โดยใช้ เครอ่ื งมอื การจดั การความรู้ Product development of Palmyra palm (Borassus flabellifer L.) of Bangkeiad community Singhanakhon district Songkhla province by using knowledge management tools .............................................................................................. 39 39 การประยุกต์ใช้การจดั การความร้ตู อ่ การสร้างกิจกรรมอนรุ ักษ์และฟื้นฟูการละเล่นพื้นบา้ น สาหรับ กลมุ่ เยาวชนในรายวิชาศกึ ษาท่ัวไปของนักศึกษาระดับปริญญาตรี Application of knowledge management to the creation and conservation activities of folk games for youth groups in general education courses for undergraduate students................................. 40 40 การพัฒนาสื่อการเรียนการสอนวชิ าชีวิตกบั เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อสรา้ งเสริมการเรยี นรู้ บนพน้ื ฐาน แนวคดิ ห้องเรยี นกลับดา้ น ............................................................................................................. 41 41 เพอื่ นชว่ ยเพื่อนจัดการความรู้สคู่ วามเขา้ ใจในเร่ืองอนุพันธ์ Peer Assist Knowledge Management toward the Understanding in Derivative ..................................................... 42 42 การใชก้ ารจัดการความรู้ในการสร้างสร้างแนวปฏบิ ัติทีด่ ีต่อการเรียนการสอน ในรายวิชาคณิตศาสตร์ 1 The Use of Knowledge Management in Developing the Best Practice in Teaching Mathematics 1........................................................................................................................... 43 43 กระบวนการพัฒนา T E A M Model : กลไกบนั ได 4 ขั้น ส่กู ารจัดการเรยี นรู้ตามแนวคิดห้องเรยี น กลับดา้ น The Development Process TEAM Model : the four steps of reverse classroom concept for learning management.................................................................... 44

การประชุมสัมมนาเครอื ขา่ ยการจดั การความรู้ คร้ังท่ี 12 | หนา้ v สารบัญ ที่ เรือ่ ง หน้า 44 การประยุกต์ใชแ้ นวคดิ การจดั การความรู้ ผ่านโครงการคหกรรมศาสตร์จิตอาสา แบง่ ปันเพื่อน้อง สรา้ งฝนั สูช่ มุ ชน Knowledge Management Apply for Project: Volunteer Project of Home Economics .................................................................................................................................. 45 45 กิจกรรม การแข่งขัน STEM เพ่อื พัฒนาทักษะด้านอาชีพ Activities STEM for TVET Competition ............................................................................................................................... 46 46 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในวิชามนษุ ยสมั พนั ธ์และการพัฒนาบุคลกิ ภาพด้วยกระบวนการเรยี นรู้ ตามแนวจติ ตปญั ญาศึกษา เพื่อสร้างเสรมิ การทางานเป็นทีม และการจัดกจิ กรรมจติ สาธารณะ Learning Management in Human Relations and Personality Development subject through the Learning Process of Contemplative Education for Team Work and Public Mind’s Activity ........................................................................................................................... 47 47 แนวปฏบิ ัตทิ ด่ี กี ารจดั การเรียนร้วู ชิ าแหลง่ พลงั งานทางเลือก : พลงั งานชวี มวล จากห้องเรยี นสู่ ปฏบิ ตั กิ าร Best practice, learning management of Alternative Energy Sources : “Biomass Energy” from classrooms to operations............................................................ 48 48 การจัดการความรูเ้ พื่อพฒั นาระบบทะเบยี นหนังสอืราชการออนไลน์ : MT-Document Knowledge management for on-line official letter registration system development............................................................................................................................. 49 49 การประยุกตใ์ ช้แนวคิดของ Management Cockpit ในการบริหารงาน สาหรับการติดตามเอกสาร การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน และตวั ชว้ี ดั ระดับเป้าประสงค์ ดว้ ย Google Application คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชยั Application of Management Cockpit concepts in administration for tracking internal quality assurance documents and target level indicators with Googlesheet Faculty of Engineering; Rajamangala University of Technology Srivijaya......................................................................................... 51 50 การจัดการเรยี นรใู้ นรายวชิ าสังคมศาสตร์ผ่านชุมชนโดยใชเ้ คร่ืองมือ การจดั การความรู้ Learning Management of Social Science Subject through the Community by Using Knowledge Management Tools ............................................................................................. 53 51 การจัดการความรขู้ ยะทะเลบนชายฝั่งเพือ่ พัฒนาหนว่ ยการเรียนการสอน Knowledge Management Marine Debris on Coast for Instruction Unit development..................... 54

หน้า vi | การจดั การความรู้สู่มหาวิทยาลยั นวัตกรรม สารบัญ ท่ี เร่ือง หนา้ 52 การจดั การเรียนการสอนสกู่ ารบรกิ ารวิชาการโรงเรยี นวดั ไมฝ้ าดเพื่อการพัฒนาทยี่ ่ังยืน ตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง Teaching and learning management for community services at Wat Mai Fad School for sustainable development based on the sufficiency economy philosophy ............................................................................................................... 55 53 การพฒั นาและการขยายผลเทคโนโลยีเตาประหยัดพลังงานในชุมชนลุ่มน้าทะเลสาบสงขลา The Development for Extension of Technology of Saving Energy Stove in the Communities of Songkhla Lake Basin................................................................................... 56 54 การใช้กิจกรรมบทบาทสมมติเพอื่ พฒั นาทักษะดา้ นการสือ่ สารภาษาตา่ งประเทศ ของนักศึกษาสาขา ภาษาตา่ งประเทศ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรวี ิชัย Using Role-Playing Activities to Improve Foreign Languages Communication Skills of Students in Foreign Languages Department, Rajamangala University of Technology Srivijaya......................................... 57 55 การพฒั นาระบบติดตามข้อสงั่ การออนไลน์ โดยใชร้ ะบบ Office Command Management (OCM) The Development of Online Command Tracking System with Office Command Management (OCM) ............................................................................................. 58 56 การดาเนินการขั้นตอนการ รับ-สง่ หนงั สือราชการ ของสาขาเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม คณะครุศาสตร์ อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรวี ชิ ยั Implementation of the Procedure Documents Unit .................................................................................................... 59 57 การสร้างความเข้มแขง็ ทางด้านพลังงานให้กับโรงเรียนบา้ นคลองหอยโขง่ Strengthening Ban Khlong Hoi Kong school through alternative energy......................................................... 60 58 การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรูด้ ว้ ยการศกึ ษาจากชุมชน The Development of Learning Management Systems through Educational from the Community................................ 61 59 ระบบจดั เก็บเอกสารอิเลก็ ทรอนิกส์ e-Document System Electronic document storage system e-Document System .................................................................................................. 62 60 การบริหารจดั การการฝึกงานของนักศึกษาด้วยระบบ Internship Management Internship Management System................................................................................................................ 63 61 การวางแผนเทคนิคการแก้ไขปญั หาการดาเนินการจดั ซื้อจัดจา้ ง Planning of operations techniques for solving problems in procurement operations......................................... 64 62 การคัดเลือกครดู ีเด่น มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรีวชิ ยั Outstanding Teacher Selection Rajamangala University of Technology Srivijaya................................................................. 65

การประชมุ สัมมนาเครือข่ายการจดั การความรู้ ครงั้ ที่ 12 | หน้า vii สารบญั ที่ เรือ่ ง หนา้ 63 แนวปฏบิ ัติในการส่งข้อเสนอโครงการวจิ ยั สถาบันสาหรบั บุคลากร คณะครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรมและ เทคโนโลยี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวชิ ยั โดยใชร้ ะบบ ระบบ DRMS ระบบบรหิ าร งานวจิ ัย Guidelines for submitting proposals for research institutes for personnel Faculty of Industrial Education and Technology Rajamangala University of Technology Srivijaya Using the DRMS system, research management system............ 66 64 “การจดั การเบกิ - จ่ายเคร่ืองมือชา่ งดว้ ยระบบออนไลน์” (Tool Management Online) สาหรบั นักศึกษา Tool Management Online........................................................................................ 67 65 สืบสานภมู ปิ ัญญาไทยโดยบรู ณาการศาสตรเ์ ทคโนโลยี ภายใตโ้ ครงการศกึ ษาวิถีชีวติ ชุมชน ตาลโตนด ต.ทา่ หิน อ.สทิงพระ จ.สงขลา Inheritance of thai wisdoms by integrated science technology under Tan Tanod community lifestyle Tha Hin, Sathing Phra District, Songkhla....................................................................................................................... 68 66 การขบั เคล่ือนคณะครศุ าสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีส่วู ัฒนธรรมองคก์ ร การจดั การความรู้ 4.0 Driving the Faculty of Industrial Education and Technology to Corporate CultureKnowledge Management 4.0..................................................................................... 69 67 ปัญหาและอุปสรรคดา้ นปจั จัยพ้นื ฐานในการประกอบกิจการอตุ สาหกรรม ผลติ ชิน้ ส่วนยานยนต์ ขนาดยอ่ ม และขนาดกลางในเขตกรุงเทพฯและปรมิ ณฑล The Problem and Solution Guidelines in the Automotive Industry SMEs in Bangkok and Near Province ............. 70 68 การจดั การเรียนการสอนภาษาอังกฤษด้วยเทคนคิ การเรียนร้แู บบลงมอื ทา English Learning Management with Active Learning ........................................................................................ 71 69 การพัฒนาศกั ยภาพผู้ประกอบการโอทอปด้วยวิทยส์ ร้างอาชีพในพ้ืนทีจ่ ังหวัดชัยนาท Potential Development of OTOP Entrepreneurs with Science to Create a Career in the Chainat Province ....................................................................................................................... 72 70 การพัฒนากระบวนการผลติ ผลติ ภัณฑ์นา้ ผกั น้าผลไม้พร้อมด่มื ของกล่มุ วิสาหกิจชุมชน กกขนากพลสั ให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานของการผลิตอาหารสูเ่ ชิงพานิชยท์ ่ยี ง่ั ยืนโดยการมสี ่วนรว่ ม ของชมุ ชน Development of production process for ready-to-drink juice products of the community enterprise group to achieve the quality of food production standards to be sustainable by the participation of the community............................ 73 71 การบรู ณาการการเรยี นการสอนกบั การสรา้ งสรรคน์ วตั กรรมทางความคดิ และมีสว่ นรว่ มในการทานุ บารุงศิลปวฒั นธรรม Integration Of Knowledge And Ideas With Innovative Creation And Cultural Preservation................................................................................................................ 74

หน้า viii | การจดั การความรู้สมู่ หาวทิ ยาลยั นวัตกรรม สารบัญ ท่ี เรือ่ ง หนา้ 72 พัฒนาคน พัฒนางาน พฒั นาองค์กร พัฒนาประเทศ Developing Human resources, Operations, the Organization, and the Country ................................................................. 75 73 การสมคั รบญั ชีสมาชิกอนิ เทอรเ์ นต็ แบบชัว่ คราว ดว้ ยเคร่ืองอา่ นบัตรประชาชน Internet Account Registration For non-members by using the ID card reader ............................................ 76 74 การพฒั นาบัณฑติ นักปฏบิ ัติสู่ความเปน็ เลิศโดยผา่ นศนู ยบ์ ัณฑติ นกั ปฏบิ ัติ: เพือ่ ก้าวสู่การเป็น มหาวทิ ยาลยั นวตั กรรม Excellence Hands-on Learner through Hands-on Center: Step forward to Innovative University............................................................................................ 77 75 แนวทางเพื่อพฒั นาการขอตาแหนง่ ทางวชิ าการสู่องค์กรแห่งการเรยี นรูอ้ ยา่ งยัง่ ยืน The Development Guideline for the Academic Position Request to Learning Organization for Sustainable........................................................................................................................... 78 76 การพัฒนาระบบฐานข้อมูลสหกิจศกึ ษา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน Development of the Cooperative Education Database System for Rajamangala University of Technology Isan ........................................................................................................................ 79 77 การแกป้ ัญหาการสาเร็จการศึกษาลา่ ชา้ ของนักศึกษา สาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยราี ชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร Problems Solving to the Early Educate of Students in Department of Plant Science Faculty of Natural Resources Rajamangala University of Technology Isan Sakon Nakhon Campus............................. 80 78 แนวปฏบิ ัติในการบรหิ ารจดั การงบประมาณโครงการ Managing a Project Budget................... 81 79 การบริหารหลักสตู รเพ่ือสง่ เสริมกจิ กรรม Startup Curriculum management for Startup activity supporting .................................................................................................................... 82 80 การนาระบบจองพื้นท่บี ริการ มาใช้เพ่ือพัฒนางานบรกิ ารแผนกงานศนู ย์การเรียนด้วยตนเอง Implementing the service area reservation system for developing service work in the department of Self-Access Center................................................................................. 83 81 การพัฒนาระบบจัดตารางการเรยี นการสอน : สานักศึกษาทัว่ ไป THE DEVELOPMENT OF COURSE MANAGEMENT SYSTEM : GENERAL EDUCATION.................................................. 84 82 แนวปฏิบัติที่ดสี าหรบั การยกระดบั บัณฑติ นกั ปฏิบตั ิสูน่ ักนวตั กรรมเพื่อเป็นกาลงั ของแผ่นดนิ Good practice in enhancing hand-on graduates to be innovators for the land Force ......... 85 83 การถา่ ยทอดการจดั การความรทู้ ีด่ ขี องศูนย์บัณฑิตนักปฏิบตั ิส่ธู ุรกิจชมุ ชน Transfer Knowledge Management of Hands-on Center to community enterprise .......................................... 86

การประชุมสมั มนาเครอื ขา่ ยการจัดการความรู้ ครั้งท่ี 12 | หนา้ ix สารบัญ ที่ เรอ่ื ง หน้า 84 กระบวนการจดั ทาข้อเสนอการวจิ ยั ภายใต้แผนบูรณาการวจิ ัยและนวตั กรรมให้ตอบโจทย์ยุทธศาสตร์ การพฒั นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วจิ ัย และนวัตกรรม กรณีศกึ ษา : มหาวิทยาลยัเทคโนโลยรี าช มงคลอสี าน Processes for Developing research proposal under Integrated Research Program and Innovation to meet the strategy for developing science, technology, research, and innovation Case Study: Rajamangala University of Technology Isan.. 87 85 การจดั การความรเู้ พื่อลดสถติ ิการไม่ยื่นขอสาเร็จการศึกษา ของนักศึกษามหาวิทยาลยั เทคโนโลยี ราชมงคลอสี าน นครราชสีมา......................................................................................................... 88 86 การพฒั นาระบบฐานข้อมลู การบริหารงานสหกจิ ศกึ ษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน Database System Development of Cooperative Education Management for Rajamangala University of Technology Isan ........................................................................ 89 87 การสร้างสรรคส์ ่ือการเรียนการสอนพณิ อยา่ งย่ังยืน The Creating a Sustainable Phin Teaching Media........................................................................................................................................... 90 88 การประยุกตก์ ระบวนการวิจยั สกู่ ารพฒั นาการเรยี นการสอน Application of research processes to teaching and learning development ............................................................ 91 89 การใช้ Facebook กับการเรียนการสอน Using Facebook with teaching ............................... 92 90 เทคนิคการสรา้ งสรรค์ผ้าพระบฏนครศรีธรรมราช.......................................................................... 93 91 วิถีค่าย วิถีศิลปิน ........................................................................................................................... 94 92 การสอนวิชาชพี เครื่องสายไทยในศตวรรษที่ 21 Knowledge management in Thai stringed vocational teachingin the 21st century................................................................................ 95 93 การผลิตโพนเพ่ือธุรกจิ ชมุ ชน.......................................................................................................... 96 94 การจดั การงานศลิ ป์เพ่ือธุรกิจชมุ ชนบา้ นตะปอนใหญ่ จ.จันทบุรี The art knowledge management for local business of Ban Tapon Yai, Chanthaburi.................................... 98 95 เทคนคิ การเขียนรายงานการสรา้ งสรรคผ์ ลงานศลิ ปะ..................................................................... 99 96 รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ดนตรไี ทยระดับประถมศึกษาส่ชู มุ ชน THE MODEL OF LEARNING MANAGEMENT IN THAI MUSIC FOR ELEMENTARY EDUCATION TO THE COMMUNITY ............................................................................................................................. 100 97 การจัดการความร้สู ู่ชุมชนด้วยวงมโหรีอสี าน The Knowledge for Community by Mahoree Ensemble .................................................................................................................................. 101 98 การจดั การเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาให้นักเรยี น นักศึกษามีวนิ ัย Teaching Management to Develop the Student Discipline...........................................................................................102

หน้า x | การจัดการความรูส้ ูม่ หาวิทยาลยั นวตั กรรม สารบญั ท่ี เร่อื ง หน้า 99 โขนสด จังหวัดลพบุรี...................................................................................................................104 100 การปรบั วงมโหรีเครอ่ื งเดีย่ วเพอ่ื การประกวด The Improvement for Mahoree Khrueang Deaw in Music Competition..................................................................................................105 101 เทคนคิ การเขียนงานวิจัยทางด้านนาฏศลิ ป์ไทย Technique to write the research about Thai Dramatic Arts............................................................................................................................106 102 เพลงขอทานจงั หวัดสุโขทัย Sukhothai Beggar Songs ..............................................................107 103 การถ่ายทอดท่ารา โขนลิงของคุณครวู โิ รจน์ อยสู่ วสั ดิ์ ..................................................................108 104 แนวทางการเสนอหวั ข้อวิจยั /สรา้ งสรรค์ใหไ้ ด้รับทุน Good practice for proposing topics for research / creation to receive scholarships ......................................................................109 105 รับงานในขณะเรยี นอย่างไร เพอ่ื ไมใ่ ห้กระทบตอ่ ความรู้ดา้ นวชิ าการ How to get a job while studying to do not affect academic knowledge ..............................................................110 106 การสอนดนตรีไทยให้กับชุมชน “โรงเรยี นวัดโป่งแรด” TEACHING THAI MUSICFORCOMMUNITY “WATPONGRAD SCHOOL” .........................................................111 107 เทคนคิ การสร้างแรงบนั ดาลใจการสรา้ งสรรคผ์ ลงานศิลปะ..........................................................112 108 เทคนิคการตบี ทของนาฏศลิ ป์ไทย................................................................................................113 109 แนวทางการเตรียมตัวนกั ศึกษาฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ครูสอดคล้องกับการเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ของนักศึกษาวิทยาลัยนาฏศลิ ป ชลธชิ า กฤษณมิตร และคณะ ฝา่ ยอุดมศึกษาคณะทางาน การ จัดการความรู้ในสว่ นของนักศึกษา...............................................................................................114 110 การจดั การกลอนลาของหมอลาสมชาย เงินล้าน The Knowledge Klonlam of Molam Somchai Ngernlan...................................................................................................................115 111 รูปแบบการส่งเสริมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม เพ่ือพฒั นาศักยภาพสู่การเป็นผูฝ้ ึกสอนกฬี าระดับชาติ Participatory Learning Promotion Model for Developing Potentials to Become National Coaches....................................................................................................................116 112 เทคนคิ การเขียนบทความวจิ ยั Research Article Writing Technique .....................................117 113 ระบบการประกันคณุ ภาพภายในของโรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบรุ ี INTERNAL QUALITY ASSURANCE SYSTEM IN SUPHANBURI SPORT SCHOOL ...................................................118 114 การพฒั นาระบบฐานข้อมูลด้านการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน สถาบนั การพลศึกษา : IPE QA Online Development in Data Base System of Internal Educational Quality Assurance, Institute of Physical Education: IPE QA Online ...........................................120

การประชุมสมั มนาเครือข่ายการจดั การความรู้ ครั้งท่ี 12 | หนา้ xi สารบัญ ท่ี เรอื่ ง หน้า 115 การพฒั นานวัตกรรมทางศาสตร์การกีฬา โดยใช้วิธกี ารจัดการความรู้เปน็ ฐาน Knowledge Management Approach Based Development of Innovation in Sports ........................121 116 การทางานเป็นทีมของบุคลากรสายสนบั สนนุ สถาบันการพลศกึ ษา วิทยาเขตกรงุ เทพ Title Supportive Personnel Teamwork at Institute of Physical Education Bangkok Campus .....................................................................................................................................123 117 การพัฒนากระบวนการออกแบบและสรา้ งเคร่ืองมือทดสอบการทรงตวั รูปตัววาย โดยใช้การจดั การ ความรู้เปน็ ฐาน ............................................................................................................................124 118 Knowledge Management Approach Based Development for Procedures of Designing and Constructing Y-Balance Test.........................................................................................124 119 แนวทางการจดัการเหมืองข้อมูลด้วย Google Sheets สาหรบั การออกแบบและกาหนดยุทธศาสตร์ องค์กร Data Mining Management Guidelines by Google Sheet for Designing and Formulating Corporate Strategies........................................................................................125 120 การจดั การความรู้โดยใช้เครือข่ายสงั คมออนไลนส์ าหรับการทางาน Knowledge Management using Social Network for Work .............................................................................................126 121 เทคนิคการจดั ทาวารสารวชิ าการเพื่อรองรบั การเข้าสูฐ่ าน TCI Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University Research Journal management technique based on TCI standard .................................................................................................................................... 127 122 เทคนคิ การจดั ประชุมวชิ าการระดบั ชาติ Knowledge Management on Thai National Conference Management......................................................................................................128 123 พฤติกรรมการรบั ชมละครไทยออนไลนข์ องวยั รุน่ เวยี ดนาม The online Thai drama viewing behavior of Vietnamese youth.............................................................................................129 124 แนวปฏบิ ตั ิทด่ี ใี นการใหบ้ ริการส่ือหนงั สอื องค์ความรดู้ ิจทิ ลั ของสถาบนั ถ่ายทอดเทคโนโลยีส่ชู ุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลล้านนา Best Practice for e-book online services of RMUTL mini-book knowledge Collections, Community Technology Transfer Center (CTTC), Rajamangala University of Technology Lanna (RMUTL)..................................................130



การประชมุ สัมมนาเครือข่ายการจัดการความรู้ คร้งั ท่ี 12 | หนา้ 1 การประเมินผเู้ รยี นโดยรปู แบบ S-PASS Learner Assessment by S-PASS Model จฑุ าภรณ์ ขวญั สังข์ Juthaporn Kwansang วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี ปทมุ ธานี ประเทศไทย 12130 Thai Traditional Medicine College, Rajamangala University of Technology Thanyaburi, 12130 Thailand [email protected] บทสรุป หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสุขภาพและความงาม เป็นสาขาท่ีมีการจัดการ เรียนการสอน โดยนาศาสตร์การแพทย์แผนไทย การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม และการแพทย์ ทางเลือก มาประยุกต์ในการ ดูแลสุขภาพและความงาม ตลอดจนการบูรณการกับสถาน ประกอบการหรือชุมชน (Work Integrated Learning ;WIL) ส่งเสริมใหน้ ักศึกษาท่ีจบมาเป็น บณั ฑติ นกั ปฏบิ ัติ (Hands-on) จึงต้องมีรูปแบบการประเมิน ผู้เรียนท่ีเป็นของตัวเอง S-PASS Model เป็นรูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการประเมินผู้เรียนในการลง ปฏิบัติงานจริง มีการวาง แผนการปฏิบัติงานเป็นขั้นตอน และการประเมินผลโดยใช้แบบประเมินที่ต่างกันใน แตล่ ะขั้นตอน รูปแบบ S- PASS จงึ ช่วยให้อาจารยแ์ ละนักศึกษาทราบถึงข้ันตอนในการลงปฏบิ ตั ิงาน ข้อดีและ ข้อควรปรับปรุงของตนเอง เพ่ือนามาใช้ในการปรับปรุงการสอน วางแผนการเรียน และการ ประเมินผู้เรยี นใน คร้งั ต่อไป คาสาคญั ประเมินผู้เรียน บูรณการกับสถานประกอบการ รูปแบบ S-PASS

หน้า 2 | การจัดการความร้สู ู่มหาวิทยาลัยนวัตกรรม เทคนิคการเขยี นขอ้ เสนอโครงการวิจัยเพื่อขอทนุสนับสนุนจากงบประมาณ แผ่นดนิ และงบภายนอกอื่นๆ Techniques for Writing Research Proposals for Funding Support from the Government Budget and Other External Sources โสภดิ า วศิ าลศักดิก์ ลุ อรวลั ภ์ อุปถมั ภานนท์ บทคดั ย่อ การจัดการความีร้ เร่ือง เทคนิคการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยเพ่ือขอทุนสนับสนุนจากงบประมาณ แผ่นดินและงบภายนอกอื่นๆ เป็นการดาเนินงานเพ่ือสนับสนุนให้อาจารย์และนักวิจัยประจาคณะเทคโนโลยี คหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีองค์ความีร้ท่ีดีในการจัดทาข้อเสนอโครงการวิจัย เพ่ือขอรับงบประมาณสนับสนุนการจดั ทาวิจยั อย่างต่อเนื่องเป็นประจาทุกปี โดยวิธีการจัดการความีร้ เป็นการ ดาเนินงานตามกระบวนการจ้ดการองค์ความีร้ 7 ข้ันตอน โดยเร่ิมต้นจากสารวจความต้องการในการจัดการ องค์ ความีร้ภายในหน่วยงาน และดาเนินการสกัดองค์ความีร้จากผี้เช่ียวชาญภายในคณะเทคโนโลยีคหกรรม ศาสตร์ จานวน 6 ท่าน โดยจาแนกประเด็นองค์ความีร้ออกเป็น 6 ประเด็น เพ่ือนาองค์ความีร้ท่ีได้ไป ดาเนินการจัดทาคู่มือ และเผยแพร่ให้ผ้ีทูสนใจตอ่ไป ผลการสารวจความต้องการในการจัดการองค์ความีร้ พบว่า อาจารย์ประจาคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี มคี วามต้องการ ในการจัดการองค์ความีร้ เร่ือง เทคนิคการเขียน ข้อเสนอโครงการวิจัยเพ่ือขอทุนสนับสนุนจากงบประมาณ แผ่นดนิ และงบภายนอกอ่นื ๆ ร้อยละ 50 และหลงั จากการดาเนนิ การสกัดองค์ความีรจ้ ากผี้เชีย่ วชาญทงั้ 6 ทา่ น เพื่อนามาจัดทาคู่มือการจัดการองค์ความีร้ในการเผยแพร่ พบว่า ผู้ใช้คู่มือการจัดการองค์ความีร้มีความพึง พอใจตอ่ คมู่ ือการจดั การองค์ความีร้อยใู่ นนระดับมากทีส่ ุด (คา่ เฉล่ยี 4.52 + 0.56) คาสาคัญ ขอ้ เสนอโครงการวจิ ยั ทุนสนับสนุนงานวจิ ยั การจัดการองค์ความีร้

การประชุมสมั มนาเครือข่ายการจดั การความรู้ ครงั้ ที่ 12 | หนา้ 3 การจัดการองค์ความรู้เรื่องเทคนคิ การเขยี นผลงานวจิ ัยเพ่ือตพี ิมพ์ในวารสารวิชาการระดบั นานาชาติ ทีอ่ ยใู่ นฐานข้อมูลงานวิจัย Q1, Q2 Knowledge Management on Research Writing Techniques for Publication in International Journals in The Research Database Q1, Q2 วรนศุ ย ทองพลู (Voranuch Thongpool) อคั คพงศ พนั ธุพฤกษ (Akapong Phunpueok) เนตรนภิส แกวชวย (Netnapit Kaewchuay) อญั ชลี ทองกาเหนิด (Unchalee Tonggumnead) คณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี ต.คลองหก อ.ธัญบรุ ี จ.ปทุมธานี 12110 [email protected] บทสรปุ การจัดการองคความรูเร่ืองเทคนิคการเขียนผลงานวิจัยเพื่อตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ ท่ีอยูใน ฐานขอมูลงานวิจัย Q1, Q2 ของคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธญั บุรี มี จุดมุงหมายเพ่ือใหเกดิ การแลกเปลี่ยนเรียนรู แลเกดิ แนวทางการปฏบิ ัติทดี่ ีในการพฒั นางานวจิ ยั ใหได ตีพิมพใน วารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ีมีระดับสูงข้ึน โดยในการดาเนินกิจกรรม คณะกรรมการไดทาการ เชิญอาจารยที่มี ประสบการณในการตีพิมพผลงานวจิ ัยในระดับ Q1, Q2 มาถายทอดประสบการณ และจดั ทา เปนแนวทางการปฏิบัติที่ ดีต้ังแตเทคนิคการเลือกระดบั วารสารวิชาการระดับนานาชาติเพ่ือตีพิมพผลงานวิจัย และ เทคนิคการเขียนผลงานวจิ ัย เพื่อตีพมิ พในวารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ีอยูในฐานขอมลู งานวิจยั Q1, Q2 จากผลการดาเนินกิจกรรมพบวาสามารถกระตุนใหอาจารยในคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี พัฒนา งานวิจัยและสงบทความเพื่อตีพิมพในวารสารระดับนานาชาติมากข้ึน โดยในปการศึกษา 2560 มีบทความ ตีพิมพใน วารสารวิชาการระดับนานาชาติจานวน 33 บทความ โดยเพ่ิมข้ึนจากปการศึกษา 2559 คิดเปนรอย ละ 22.22 และในจานวนนม้ี ีบทความที่อยูในฐานขอมูลงานวจิ ัย Q1, Q2 จานวนทั้งสน้ิ 6 บทความ

หน้า 4 | การจัดการความรู้สู่มหาวทิ ยาลยั นวตั กรรม การจัดการเรียนร:ู้ การบรู ณาการการเรยี นการสอนสูย่ ุคไทยแลนด์ 4.๐ Knowledge management: The learning integration towards Thailand 4.0 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วันทนยี ์ เขตตก์ รณ์ Assistant Professor Dr. Wanthanee Khetkorn สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี [email protected] บทสรปุ บทความนี้ผู้เขียนได้มีการถอดบทเรียนผ่านกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จากโครงการ การจัดการ เรียนรู้ ประจาปีการศึกษา 2560 กลุ่มเป้าหมายคือผู้สอนที่สนใจในคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เกี่ยวกับประเด็นปัญหาในช้ันเรียน การ เปล่ียนบทบาทของผู้สอนกับ การเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 และเทคนิคการจดั การเรียนการสอนใหไ้ ด้ผลลัพธ์ท่ีตัง้ ไว้โดยเน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ ท้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อสกัดองค์ความรู้เกี่ยวกับ การบูรณาการการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีไปสู่แนวปฏิบัติท่ีดี และเผยแพร่ องค์ความรู้ท่ีได้ให้กับผู้สอนที่สนใจสามารถนาไปใช้ในการพัฒนา กระบวนการจัดการเรียนการสอน เพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ของผู้เรียนและส่งเสริมให้ผู้เรียนมีสมรรถนะเป็น บัณฑิตท่พี ร้อมสยู่ คุ “ไทยแลนด์ 4.0” ตอ่ ไป คาสาคญั การจดั การเรียนรู้ การบูรณาการการเรียนการสอน ไทยแลนด์ 4.0

การประชุมสัมมนาเครือข่ายการจดั การความรู้ ครั้งท่ี 12 | หนา้ 5 โครงการพฒั นาศกั ยภาพทางธรุ กิจสาหรบั วิสาหกจิ ชุมชนหมู่ 7 ต.บึงกาสาม อ.หนองเสือ จ.ปทมุ ธานี ต่อยอดสู่การบูรณาการการเรียนรแู้ บบ WIL ผศ.ดร.สลิตตา สาริบุตร สาขาการตลาด คณะบรหิ ารธรุ กจิ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี [email protected] บทสรุป สาขาวิชาการตลาดคณะบริหารธุรกิจ ได้จัดทาโครงการบริการทางวิชาการอย่างต่อเนื่องโดยจัด โครงการพัฒนาศักยภาพทางธุรกิจสาหรับวิสาหกิจชุมชน หมู่ 7 ต.บึงกาสาม อ.หนองเสือ จ.ปทุมธานี มวี ัตถุประสงค์ 2 ประการคือ 1.วิสาหกิจชุมชนสามารถจัดทาแผนทางการตลาด (Marketing Plan) และมีการ สรา้ งเครอื ข่ายกบั วสิ าหกิจชมุ ชนอื่นทีป่ ระสบความสาเร็จ เพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้รว่ มกัน 2.นักศึกษา ได้รับการ พัฒนาผ่านการเรียนการสอนแบบ Work Integrated Learning การดาเนนิ การดงั กล่าวได้บูรณาการรายวิชา ของสาขาวิชาการตลาดที่จัดการเรียนการสอนใน ลักษณะ Work Integrated Learning: Wil ใน 4 รายวิชา ได้แก่ 1. การบริหารการค้าปลีก 2. การบริหารการตลาด 3. การบริหารการขาย 4. การตลาดลูกค้าสัมพันธ์ เพ่อื เป็นการสรา้ งสะพานเช่ือมโยง ระหวา่ งการศึกษาในปจั จบุ นั ของนกั ศกึ ษากบั วิชาชีพในอนาคตเปิดโอกาสให้ นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ และ ผสมผสานความรู้ทางทฤษฎีท่ีได้จากการเรียนกับประสบการณ์การฝึกปฏิบัติใน สถานประกอบการท่ีอยู่ใน โลกแห่งความเป็นจริงสาขาวิชาการตลาดจึงได้ดาเนินการพัฒนากระบวนการ จัดการความรู้(Knowledge Management) มาประยุกต์ใช้ โดยการนาองค์ความรู้จากการให้บริการทาง วิชาการแก่สังคม มาบูรณาการกับ การเรียนการสอน จากผลการดาเนินการดังกล่าวท่ีมีเปาาหมายเพื่อการ พัฒนาชุมชนโดยการบูรณาการ การเรียนการ สอน การบริการวิชาการ โดยดาเนินการอย่างต่อเนื่อง ตามนโยบายของมหาวิทยาลัย สามารถสร้างการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development) ก่อให้เกิด ความสาเร็จของการพฒั นาชุมชนในดา้ นตา่ งๆ นกั ศกึ ษาสามารถเรยี นรจู้ ากกิจกรรม (Activity Base Learning) ได้ความรู้และโจทย์จริงจากชุมชน และ การลงมือทาโดยบูรณาการกับความรู้ในห้องเรียน โดยใชก้ ระบวนการ จัดการความรู้ในการดาเนิน กระบวนการสามารถพัฒนากระบวนการเรียนรู้และถ่ายทอดองความรู้ ระหว่าง มหาวิทยาลยั ชมุ ชน และ ภาคธรุ กจิ อุตสาหกรรมซึ่ง ถอื เปน็ สามเสาหลักของการพัฒนา (Triple Helix) คาสาคญั Work Integrated Learning Activity Base Learning Knowledge Management Marketing

หน้า 6 | การจัดการความรูส้ ู่มหาวทิ ยาลัยนวตั กรรม การหมนุ เกลยี วความรู้แบบหลายมติ ิ สาหรบั การจัดการเรียนรูแ้ บบบรู ณาการสะเต็มศึกษา The Multidimensional Knowledge Spiral for Learning Management base on STEM Education ดร.จฬุ าลักษณ์ วฒั นานนท์ (Julaluk Watthananon) อาจารย์ สาขาวชิ าวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี [email protected], [email protected] บทคัดย่อ การวิจัยในคร้ังนม้ี ีวัตถปุ ระสงคเ์ พือ่ 1) ปรับปรุงเทคนิค กระบวนการของการจดั การเรยี นรู้แบบ บูรณา การสะเต็มศึกษาด้วยการหมุนเกลียวความรู้แบบหลายมิติ 2) ประเมินประสิทธิผลการปรับปรุง เทคนิค กระบวนการ ของการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการสะเต็มศึกษาด้วยการหมุนเกลียวความรู้แบบ หลายมิติ ผลการวิจัย พบว่า ผลการปรับปรุงเทคนิค กระบวนการของการจัดการเรยี นรู้แบบบรู ณาการ สะเต็มศกึ ษาดว้ ย การหมุนเกลียวความรู้แบบหลายมิติ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติด้วยกระตุ้นการเรียนรู้ แบบแอกทีฟ (Active Learning) และสามารถสร้างความร้จู ากการปฏบิ ตั ิรว่ มกนั อย่างมวี จิ ารณญาน ส่วนผลการทดลองใช้การจัดการ เรียนรู้แบบบูรณาการสะเต็มศึกษา พบว่า 1. การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการสะเต็มศึกษาด้วย Model 3 มีคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียน และมีกระบวนการคิดวเิ คราะห์หลังเรียน สูงกวา่ ก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 2. การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการสะเต็มศึกษาด้วย Model 2 มีคะแนนผลสัมฤทธ์ิ ทางการ เรียน และมีกระบวนการคดิ วเิ คราะห์หลังเรียน สงู กว่าก่อนเรียนอย่างมนี ัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 3. การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาด้วย Model 3 มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และมี กระบวนการคิด วเิ คราะหห์ ลังเรียน สูงกวา่ ผเู้ รยี นที่เรยี นดว้ ย Model 2 มนี ัยสาคญั ทางสถิตทิ ี่ระดบั .01 คาสาคญั สะเต็มศึกษา การจัดการเรียนรู้ การหมนุ เกลียวความร้แู บบหลายมติ ิ

การประชุมสัมมนาเครอื ข่ายการจดั การความรู้ ครัง้ ท่ี 12 | หน้า 7 การจดั การเรยี นการสอนตามกรอบซีดีไอโอเพื่อสร้างบัณฑติ นักสร้างสรรคน์ วัตกรรม กรณศี ึกษาวทิ ยาลัยการแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี Producing of Inventive Graduate Based on CDIO Framework Pedagogy: A Case Study of Thai Traditional Medicine College, Rajamangala University of Technology Thanyaburi รงุ่ นภา ศรานุชิต (Rungnapa Sranujit) สุรตั วิ ดี ทง่ั ม่งั มี (Suradwadee Thungmungmee) ไฉน นอ้ ยแสง (Chanai Noysang) เขมจิรา จามกม (Khemjira Jarmkom) กัญญ์ธศยา อัครศิริฐรตั นา (Kunthasaya Akkarasiritharattana) ณฐา คปุ ตัษเฐยี ร (Natha Kuptasthien) [email protected] บทสรุป วทิ ยาลยั การแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี ตอบสนองเปา้ หมายในการกา้ วสู่ การเป็นมหาวิทยาลัยนวัตกรรม โดยดาเนินการจัดการความรู้เร่ืองวิธีจัดการเรียนการสอนและการพัฒนา หลักสตู รเพอ่ื สร้างบัณฑิตของวทิ ยาลัย ฯ ให้เป็นนักสรา้ งสรรค์นวัตกรรมเพื่อสุขภาพ โดยคัดเลือกกรอบซีดีไอ โอ (CDIO framework) เป็นรูปแบบหน่ึงในการจัดการเรียนการสอน CDIO framework มุ่งเน้นให้นักศึกษา เข้าใจปัญหา จากนั้น ออกแบบและสร้างวิธีแก้ปัญหานั้น ๆ ในรูปแบบนวัตกรรมต้นแบบหรือกระบวนการ ต้นแบบได้ กระบวนการนี้จะ ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตให้มีความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรมซ่ึง สอดคล้องกับเป้าหมายของมหาวิทยาลัย ฯ การดาเนินการเร่ิมจากการแลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์การใช้ CDIO framework ของ CDIO master trainer กบั อาจารย์ท่ีเปน็ กลุ่มเปา้ หมายซ่ึงต้องนา CDIO framework ไปประยุกต์ใช้ โดยมีเป้าหมายของการจัดการความรู้คือ ต้องมีการนา CDIO framework ไปประยุกต์ใช้เป็น แนวทางในการจัดการเรียนการสอน 2 รายวิชา และมีหลักสูตร ใหมท่ ี่พฒั นาขึ้นตามกรอบ CDIO framework จานวน 1 หลักสูตร ผลการดาเนินงานพบว่ามีการนา CDIO framework ไปใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน 3 รายวิชา มีผลงาน นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงามทส่ี รา้ งสรรคโ์ ดยนักศกึ ษามากกวา่ 25 ผลงาน ในจานวน นี้มีผลงานที่ ผู้ประกอบการจากภายนอกและอาจารย์ของวิทยาลัย ฯ สั่งซ้ือ ซึ่งสร้างความภาคภูมิใจให้แก่ นักศึกษา สาหรับการ พัฒนาหลักสูตรใหม่ตาม CDIO framework นั้น ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้ใช้ CDIO framework เป็นกรอบในการ พัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมผลิตภัณฑ์สุขภาพ ซ่ึงเป็นหลักสูตรที่สถานประกอบการมีส่วน ร่วมในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือผลิตบัณฑิตนักสร้างสรรค์ นวัตกรรมเพ่ือสุขภาพ ขั้นตอนการประยุกต์ใช้ CDIO framework ในการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนา หลักสูตรเพื่อสร้างบัณฑิตผู้สร้างสรรค์นวัตกรรมนี้ถูกสรุปและ จัดทาเป็นคู่มือช่ือการจัดการศึกษาเพ่ือสร้าง บัณฑติ นักปฏิบัติและสรา้ งสรรคน์ วตั กรรม วทิ ยาลยั การแพทย์แผนไทย คาสาคัญ นวตั กรรม กรอบซดี ีไอโอ ผลติ ภณั ฑ์ตน้ แบบ บณั ฑิตนักปฏิบตั ิ นักสรา้ งสรรค์นวตั กรรม

หน้า 8 | การจัดการความรูส้ ู่มหาวทิ ยาลัยนวตั กรรม โครงการอบรมผลติ ภณั ฑ์ของทรี่ ะลึกจากเศษไม้ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารยธ์ นเดช วรวงษ์ การบริการวิชาการแก่สังคมเป็นหนึ่งในภารกิจท่ีสนองนโยบายการบริหารงานของรัฐในการ พัฒนา ประเทศให้มีความเจริญรุ่งเรืองข้ึนและขยายวงกว้างออกไปสู่ชนบท ซ่ึงมหาวิทยาลัยเป็นแหล่ง รวมทรัพยากร บุคคลและองค์ความรู้ที่หลากหลายมีความเช่ียวชาญ และความถนัดในด้านต่างๆ ซึ่ง การให้บริการวิชาการ นอกจากเป็นการทาประโยชน์ให้สังคมแล้ว มหาวิทยาลัยยังได้รับประโยชน์ใน ด้านต่างๆ เป็นผลพวงท่ีตามมา อีกหลายอย่าง เช่น เป็นการเพ่ิมพูนความรู้และสร้างประสบการณ์ สาหรับอาจารย์ อันนามาสู่การพัฒนาท้ัง อาจารย์และนักศึกษา โดยมีการดาเนินงานตามพันธกิจหลัก 4 ด้านคือ ด้านการเรียนการสอน ด้านการวิจัย ด้านการบริการวิชาการแก่ชุมชนและสังคม และ ด้านทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีปรัชญาในการสร้างผลงานวิจัย สร้างสรรค์ สิ่งประดิษฐ์ และนวัตกรรมด้านศิลปกรรมศาสตร์ บนพื้นฐาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่สามารถ ถ่ายทอดองค์ความรู้ สร้างคุณค่า หรือมูลค่าเพ่ิมของผลิตผลให้แก่ ประเทศ ซ่ึงในปีงบประมาณ 2561 น้ี คณะได้รับภารกิจในการบริการวิชาการให้กับชุมชนในพ้ืนท่ี ตาบลบึง บา อาเภอหนองเสือ จังหวัด ปทุมธานี วัตถุประสงค์ของการบริการในครั้งน้ีเป็นการนาเอาทรัพยากรท่ีมีอยู่ใน พ้ืนท่ีมาเป็นฐานใน การเสรมิ สร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มให้เกิดขึ้นกับผู้ที่อาศัยอยู่ในชุมชนน้ัน อยา่ งย่ังยืนต่อไป ในอนาคต ผรู้ ับผิดชอบโครงการผลิตภณั ฑข์ องทรี่ ะลึกจากเศษไม้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธนเดช วรวงษ์ ภาควิชา ทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เป็นผู้ท่ีมีความรู้ ความสามารถ ทางด้านศิลปกรรมและงานประยุกต์ศิลปกรรม สามารถถ่ายทอดเอาความรู้จากศาสตร์ ทางด้านศิลปะไปเพ่ิม มูลค่าทรัพยากรวัตถุดิบในชุมชนให้กับผู้คนในชุมชนได้มองเห็นเป็นช่องทางใน การปรับความคิดนาเอา ทรัพยากรธรรมชาติหรือทรัพยากรท่ีเป็นชิ้นส่วนเศษของวัสดุต่างๆท่ีมีอยู่ใน ชุมชน นามาปรับแต่ง เพิ่มเติม ให้เกิดมีมูลค่าขึ้นมาได้ อาจจะเป็นที่มาของรายได้อีกช่องทางหนึ่ง ให้กับครอบครัวก็เป็นได้ แล้วยงั เป็นการลด เศษส่ิงที่อาจจะเป็นขยะท่ีสร้างมลพิษให้กับส่ิงแวดล้อมได้ โครงการอบรมผลิตภัณฑ์ของท่ีระลึกจากเศษไม้ เป็นโครงการบริการวิชาการท่ีสอดคล้องกับ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย 20 ปี ระยะท่ี 1 (พ.ศ. 2561-2564) เปน็ โครงการใหม่ไดม้ ี การดาเนินการในปี พ.ศ.2561

การประชุมสมั มนาเครอื ขา่ ยการจดั การความรู้ ครั้งที่ 12 | หน้า 9 แนวปฏิบตั ิท่ีดี ภายใต้ประเด็น การกระตุ้นความสนใจในการเรียน นายชิรพงษ์ ญานุชิตร คณะเทคโนโลยีสีอสารมวลชน มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยราี ชมงคลธัญบุรี วิวัฒนาการของเทคโนโลยี ส่งผลต่อความเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของมนุษย์ โดยความ เปลี่ยนแปลงที่ ชัดเจนเริ่มข้ึนตั้งยุคกาเนิดเคร่ืองคอมพิวเตอร์ พัฒนาเป็นเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นโลกของการติดต่อส่ือสาร ในระบบดิจิทลั จนมาถึงในปจั จุบันเทคโนโลยีสารสนเทศ เสมือน เปน็ ปัจจัยหนงึ่ ท่มี ีสาคัญและมีความจาเปน็ ต่อ การดาเนินชีวิตท่ีไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ซึ่งนับวัน จะย่ิงมีบทบาทต่อชีวิตประจาวันมากข้ึน ทั้งในกลุ่มคน รุน่ ใหม่ และคนร่นุ ก่อน อย่างมีนัยสาคัญ วิถีชีวิตของมนุษย์ช่วงหน่ึงท่ีสาคัญคือการอยู่ในระบบการศึกษา ทั้งนี้ เพื่อการได้มาซ่ึง ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิตที่ถูกต้อง เหมาะสม และสามารถช่วยพัฒนา ประเทศชาติ ให้เจริญก้าวหน้าตามยุคสมัย ซ่ึง สิ่งหลักสาคัญของการศึกษา ประกอบไปด้วย นักศึกษา ผู้สอน และความรู้ในด้านวิชาการ โดยมีการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา เพ่ือ อานวยให้การส่งผ่านความรู้ จากผูส้ อนไปยังนกั ศกึ ษา เกดิ ประสทิ ธผิ ลสูงสุด แต่อย่างไรก็ตาม ใน การดาเนินการสอนจริง ผทู้ ี่มบี ทบาทมาก ท่ีสุด คือ ผู้สอน ที่จะต้องใช้ความสามารถ รวมถึง เทคนิควิธีที่จะสามารถสร้างความสนใจในการเรียน ให้เห็น ความสาคัญของความรู้วิชาการ ซ่ึงต้อง ปรบั ตัวอย่างมาก เนื่องจากผู้เรียน ในปจั จุบัน มีวิถีชวี ิตที่ตอบสนองต่อ สิง่ เร้าจากสื่อต่าง ๆ ผ่าน เทคโนโลยีที่สามารถเข้าถึงได้ทุกที่ ทุกเวลา ผ่านอุปกรณ์ Smart Phone ซ่ึงมีกันอยู่ ทุกคน การตอบสนองต่อส่ิงเร้าของกลุ่มนักศึกษาท่ีสังเกตเห็นได้ชัดคือ การใช้สื่อสังคมออนไลน์ Facebook โดยนักศึกษามากกว่าร้อยละ 90 เมื่อเข้าห้องเรียน ต้องเข้าสู่ระบบ ทั้งผ่านเคร่ือง คอมพิวเตอร์ ในห้องเรียน หรือผ่าน Smart Phone ซึ่งการควบคุมดูแลเป็นไปได้ยาก ดังน้ัน การ การจัดการเรียนการสอนจึงจาเป็นต้อง ใช้เทคนิควิธีท่ีหลากหลาย ในการดาเนินการสอนให้มี ประสิทธิภาพ สามารถกระตุ้นความสนใจการเรียนใน ห้องเรียน การเรียนการสอนของคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มีท้ังรายวิชาท่ีเป็นภาคทฤษฎีและ ปฏิบัติ โดยนักศึกษาส่วนใหญ่ จะให้ความสนใจในการเรียนภาคปฏิบัติเป็นอย่างมาก แตกต่างกับ ภาคทฤษฎี ซึ่งจาเปน็ ต้องใช้การจดั การความรเู้ พอ่ื ให้แนวปฏิบตั ทิ ่ีดี เพ่ือสง่ เสริมการเรียนรขู้ อง นกั ศกึ ษาใหด้ ีย่ิงขึ้น โดยยึด กระบวนการจัดการความรู้เพ่ือดึงความรู้ที่มีอยู่ในตัวบุคคล มาพัฒนา เป็นแนวปฏิบัติที่ดี โดยในที่นี้ จะขอ กล่าวถึง แนวปฏบิ ตั ิที่ดี ในประเดน็ ด้านการผลิตบณั ฑิต ภายใต้หัวข้อ การกระตุน้ ความสนใจในการเรยี น

หนา้ 10 | การจัดการความรู้สู่มหาวิทยาลยั นวัตกรรม โครงการพฒั นาธรรมมคั คเุ ทศกเ์ พื่อรองรับนักท่องเทยี่ วต่างชาติ The English Development Project for Monks, Novices, and Locals to Serve Foreign Tourists นางสาวสอุ าสาฬห สวุ รรณเทพ (Miss Suarsaraha Suwannathep) อาจารย์ประจาสาขาภาษาตะวันตก คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี [email protected] บทสรปุ การเปดิ เสรแี ห่งอาเซียนสง่ ผลใหภ้ าษาอังกฤษเป็นภาษาราชการที่มีความจาเป็นต่อการทางานและการ สื่อสาร ภาษาอังกฤษใช้กันอย่างแพร่หลายในสถานศึกษา สถานที่ทางาน สถานท่ีท่องเท่ียว รวมทั้งวัดต่างๆ ในส่วนของสถานศึกษา นักเรียน นักศึกษา ต้องลงเรียนวิชาภาษาอังกฤษ เป็นวิชาบังคับ ในสถานท่ีทางาน พนักงานต้องใช้ภาษาอังกฤษในการติดต่อสื่อสารทางธุรกิจ ในสถานท่ี ท่องเท่ียว นักท่องเท่ียวใช้ภาษาอังกฤษ เป็นภาษาหลักในการสือ่ สาร รวมทั้งในวัดวา อาราม ตา่ งๆ ด้วยเช่นกัน นกั ทอ่ งเทย่ี วปัจจบุ นั นิยมเที่ยวชมวัดซ่ึง เป็นสถานที่น่าสนใจ จากท่ีกล่าวมาข้างต้น ภาษาอังกฤษเก่ียวข้องกับคนเราทุกด้าน จากความสาคัญของ ภาษาองั กฤษดงั กล่าว จึงไดม้ ีการจัดทาโครงการพัฒนาธรรมมคั คุเทศก์เพื่อรองรับนักท่องเท่ียวชาวต่างชาติข้ึน โครงการน้ีมวี ัตถุประสงค์เพ่ือ สร้างเจตคติที่ดตี ่อภาษาอังกฤษและความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษให้แก่พระภิกษุ สามเณร และคนในชุมชนในเร่ืองของการนาชมศาสนสถาน นอกจากน้ันยังให้ความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษใน เร่ืองการทกั ทาย การบอกวัน เวลา การขอร้อง การบรรยายสิง่ ของและการบอกทางแด่พระภิกษุ สามเณรและ คนในชุมชน กล่มุ เปา้ หมายในโครงการแบ่งออกเปน็ 2 รนุ่ รุ่นที่ 1 คอื พระภิกษุและสามเณรที่บวชเณรภาคฤดู ร้อนและพระภิกษุ ณ วัดปัญญา จานวน 150 รูป เข้าร่วมโครงการในเดือนเมษายน กลุ่มรุ่นท่ี 2 คือ สามเณร ราหุล (สามเณรที่จาพรรษา ณ วัดปัญญา) จานวน 30 รูป และประชาชนท่ีสนใจในพ้ืนท่ีจังหวัดปทุมธานี จานวน 10 คน เข้าร่วมโครงการในเดือนพฤษภาคม ในส่วนของวิธีการดาเนินงาน ผู้เข้าร่วมอบรมในแต่ละรุ่น แบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม แต่ละกลุ่มเรียนภาษาอังกฤษเป็นฐานหมุนเวียนกันไปกับอาจารย์ทั้งชาวไทยและอาจารย์ ชาวต่างชาติ เคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บข้อมูลคือแบบสอบถาม ผลของการดาเนินงานแสดงให้ทราบว่าผู้เข้าร่วม อบรมส่วนใหญ่เป็นสามเณร อายุ 11-15 ปี และโครงการน้ีมีประโยชน์ต่อผู้เข้าร่วมอบรม ผู้เข้าร่วมอบรมกิด ทัศนคติท่ีดีต่อภาษาอังฏษเพ่ิมข้ึน ร้อยละ 80 และผู้เข้าอบรมมีความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษเพ่ิมข้ึน ร้อยละ 89.12 นอกจากนั้น ผู้เข้าร่วมอบรมยังสามารถใช้ภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวันได้จริง มีความมั่นใจในการพูด ภาษาอังกฤษและสามารถถา่ ยทอดความรดู้ ้านภาษาองั กฤษใหก้ ับผู้อ่ืนได้ คาสาคัญ พฒั นาธรรม มัคคุเทศก์ นกั ท่องเท่ียวต่างชาติ

การประชมุ สมั มนาเครือข่ายการจัดการความรู้ ครง้ั ที่ 12 | หน้า 11 นวัตกรรมการเรียนการสอนรูปแบบโครงงานเป็นฐาน PBL (Project-based Learning) คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ Innovative Learning of Project-based Learning for Faculty of Architecture นายกติ ติกุล บญุ เปล่ยี น (Gittigul Boonplien)1 นางสาวศตี ลา กล่นิ รอด (Sritala Klinrod)2 นายขจร สที าแก (Khajorn Seetakae)3 นางสาวชิษณชุ า ขมั ภรัตน (Chidsanucha Khamparat)4 อาจารยประจาคณะสถาปตยกรรมศาสตร มทร.ธญั บรุ ี [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] บทสรปุ การสรางนวัตกรรมการเรียนการสอนรูปแบบโครงงานเปนฐาน PBL (Project-based Learning) ดวยกระบวนการจัดการความรูสูมหาวิทยาลัยนวัตกรรม เปนส่ิงที่องคกรตองให ความสาคัญต้ังแตระดับผู บริหาร ผูรับผิดชอบหลักสูตร และผูสอนรวมกันจัดกิจกรรมการ แลกเปลี่ยนเรียนรู เพ่ือคนหาแนวทางการ พฒั นารปู แบบการเรียนการสอน ใหมีความชัดเจนและ ทันสมัย เปนเทคนิคใหมที่ทาใหผูสอนจัดการเรียนการ สอนใหกับผูเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ เปนไปตามทิศทางการขับเคล่ือนมหาวิทยาลัยและวัตถุประสงคของ หลักสูตร ทาใหผูเรียน สามารถเรียนรูไดดีมากยิ่งขึ้น ผูสอนใชเทคนิคการเรียนการสอนไดเช่ียวชาญ นาไปสู บัณฑิตนัก ปฏิบัติผูเช่ียวชาญนวัตกรรมและเทคโนโลยีดานสถาปตยกรรม เกิดมุมมองรวมกันที่เห็นถึง ความสาคัญของชุมชนแหงการเรียนรู เกิดเปนแนวทางปฏิบัติที่ดีสามารถนาไปพัฒนาตนเอง ทีม และ กระบวนการทางานภายในคณะฯที่เปนระบบขั้นตอนมากยิ่งขึ้น สูการสรางนวัตกรรมการ เรียนการสอน จาเปนตองพัฒนาเพือ่ ทาใหชุมชนแหงการเรียนรูมปี ระสทิ ธิภาพและย่ังยืนตอไป คาสาคัญ นวัตกรรมการเรยี นการสอน การเรียนการสอนรปู แบบโครงงานเปนฐาน ชุมชนแหงการเรียนรู

หนา้ 12 | การจดั การความรูส้ ู่มหาวทิ ยาลัยนวัตกรรม การบรู ณาการออกแบบ-ผลิต-ชดุ ประกอบถอดตลบั ลูกปืนเขา้ เพลาและตวั เรือน มีแหวนล็อกพร้อมภาพเคล่ือนไหว 3 มติ ิ Integrated Design-Produce-and Assemble of Ball Bearing with Retaining Ring in Shaft & Bore and 3-D Animation มานพ ตันตระบณั ฑติ ย์ (Manop Tantrabandit) Associate Professor, Faculty of Technical Education, Rajamangala University Technology Thanyaburi, Thailand บทสรปุ ในการเรียนการสอนวิชา ภาคปฏิบัติชิ้นส่วนเคร่ืองจักรกล สาขาครุศาสตร์วิศวกรรมเครื่องกล หลักสูตร 5 ปี มักจะพบปัญหาการเตรียมชุดฝึกที่สามารถปฏิบัติการประกอบและถอดได้ แต่ ชุดประกอบ ชิ้นส่วนเครื่องจักรกลสาเรจ็ รูปที่มีขนาดพอเหมาะ (ไม่ใหญ่และหนักเกินไป) ไม่มี ผ้ผู ลิตจาหน่าย มักจะอยู่ตาม จุดต่างๆ ของเครื่องจักรกล จึงทาให้การเรียนการสอนภาคปฏิบัติ ช้ินส่วนเคร่ืองจักรกลระดับพื้นฐานไม่มี ประสิทธิภาพเพราะนักศกึ ษาไมส่ ามารถฝึกทกั ษะการ วดั ช้ินส่วนก่อนประกอบและฝกึ ปฏบิ ัติการประกอบและ ถอดด้วยเคร่ืองมือท่ีถูกต้องได้ การออกแบบพัฒนา-ผลิต-ชุดประกอบถอดตลับลูกปืนเข้าเพลาและตัวเรือนมี แหวนล็อกท่ี เปน็ นวัตกรรมสื่อการสอนภาคปฏบิ ตั ิจงึ มคี วามจาเปน็ อยา่ งยิง่ เพราะจะต้องให้นักศึกษาช้นั ปี ที่ 4 สาขาครุศาสตร์วิศวกรรมอุตสาหการ ได้มีโอกาสฝึกการออกแบบพัฒนาเขียนแบบดว้ ย โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ชดุ ประกอบฯนี้ เขียนแบบงานสงั่ผลิต ตามมาตรฐาน ญี่ปน่ ุหรือ ยุโรป (ชุดประกอบน้ีประกอบด้วยตลบั ลูกปืน เม็ดกลมร่องลึก ปลายเพลาและตัวเรือนมี แหวนล็อกอยู่) จากน้ันนาไปผลิตช้ินส่วนตามแบบงานส่ังผลิต ฝึก ปฏิบตั ิการวัดช้ินส่วนก่อน ประกอบและสาธิตการประกอบและถอดดว้ ยเคร่ืองมือท่เี หมาะสมถูกตอ้ ง แบบงาน ส่งั ผลติ ชิ้นสว่ นฯจะถกู นามาทาเป็นภาพเคลื่อนไหว 3 มิตดิ ้วยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ เพื่อใช้เปิดให้ ผู้เรียนได้ดู ขั้นตอนการประกอบและถอดก่อนไปสาธิตภาคปฏิบัติให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติตาม ชุดฝึกสาเร็จรูปน้ีเป็นส่วนหน่ึง ของโครงงานฯนักศึกษาช้ันปีที่ 4 จะถูกออกแบบให้ผู้เรียน สามารถเข้าใจและมีทักษะในประกอบงานสวม ช้ินส่วนเครื่องจักรกล ได้ถูกต้องตามหลักการ มีน้าหนักเบา ถือด้วยมือเปล่าได้สะดวก สามารถนาไปใช้สอน นักศกึ ษาได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

การประชุมสมั มนาเครือข่ายการจัดการความรู้ คร้ังที่ 12 | หนา้ 13 เทคนคิ การจัดการเอกสารจัดซอื้ - จัดจ้าง ในระบบการจัดซอ้ื จัดจา้ งภาครัฐ โดยวธิ เี ฉพาะเจาะจง อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ วราพร ชาญชยั ฤทธ์ิ สถาบนั วจิ ยั และพัฒนา มหาวทิ ยาลยเั ทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ [email protected] บทสรปุ การจัดการความรู้เรื่อง เทคนิคการจัดการเอกสารจัดซื้อ - จัดจ้าง ในระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ โดยวิธี เฉพาะเจาะจง อย่างมีประสิทธิภาพ ของสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กรุงเทพ รวบรวมข้อมูลมาจากผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้าง ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่พัสดุ และ หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ และใช้กระบวนการจัดการความรู้ด้วยการแลกเปล่ียนเรียนรู้ผ่านช่องทางการพูดคุย การสอนงาน การสนทนากันในกลุ่มบุคลากรซ่ึงมีองค์ความรู้อยู่ในตัวตน และการเรียนรู้โดยการปฏิบัติ ท้ังนี้ ได้รวบรวมขั้นตอนการปฏิบัติงานเอกสารการจัดซื้อ - จัดจ้าง ในระบบการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ โดยวิธี เฉพาะเจาะจง เพ่ือใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการองค์กร และเป็นเครื่องมือสร้าง มาตรฐานการปฏิบัติงาน ท่ีมุ่งไปสู่การบริหารคุณภาพท่ัวทั้งองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ ทางานได้มาตราฐานตามเป้าหมาย เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุและผู้ท่ีสนใจให้มีความเข้าใจ สามารถนา ข้ันตอนดังกล่าว มาดาเนินการได้อย่างถูกต้องตามระเบียบ ส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานอย่าง สูงสุด ในการดาเนินการจัดการความรีเรื่อง เทคนิคการจัดการเอกสารจัดซ้ือ - จัดจ้าง ในระบบการจัดซื้อจัด จ้างภาครฐั โดย วธิ ีเฉพาะเจาะจง อย่างมีประสิทธิภาพ เม่ือกลั่นกรองความรู้แล้วจะจัดทาเป็นค่มู ือเทคนิคการ จัดการเอกสารจัดซ้ือ - จัดจ้าง ในระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ โดยวิธีเฉพาะเจาะจง อย่างมีประสิทธิภาพ เผยแพร่ให้แก่บุคลากรของสถาบันวิจัยและพัฒนา และเผยแพร่ทางเว็บไซด์ให้ผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุของ หน่วยงานต่าง ๆ นาไปใชป้ ระโยชนใ์ นการปฏิบตั งิ านต่อไป คาสาคัญ การจดั ซ้ือ จดั จา้ ง

หน้า 14 | การจัดการความรสู้ ู่มหาวิทยาลัยนวัตกรรม การรายงานสถิตกิ ารลาของบุคลากร บน Google Spreadsheet Leave statistics of personnel by Google Spreadsheet นายจักรนิ จันทร์ประเสริฐ (Chakrarin Chanprasert) นักวชิ าการศกึ ษา สานกั งานประกันคุณภาพการศึกษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ [email protected] บทสรปุ แต่เดิม การรายงานสถิติการลาของบุคลากรสานักงานประกันคุณภาพการศึกษา มีการดาเนินท่ี ค่อนข้าง ยุ่งยาก และล่าช้า จึงมีการออกแบบตารางบันทึกและคานวนวันลา ผ่าน Google Spreadsheet เพ่ือทาให้การคานวน วันลา ทาได้สะดวก และรวดเรว็ มากข้ึน รวมทั้งทุกคนสามารถตรวจสอบข้อมลู ย้อนหลัง ได้ ผ่านเว็บไซต์ ซึ่งใช้ แบบฟอร์มสถิติการลาของกองบริหารงานบุคคลเป็นต้นแบบ ศึกษาและสอบถาม ระเบียบลาของบุคลากร จากเว็บไซต์ และเจ้าหน้าที่ของกองบริหารงานบุคคล เมื่อได้โปรแกรม จึงมีการสอน การใช้งานต่อผู้ใช้ เริ่มใช้งานจริง แล้วจึง แลกเปล่ียนเรียนรู้กับหน่วยงานอ่ืนๆ ผ่านการประชุม ผลของการ แลกเปล่ียนเรียนรู้ ได้แบบฟอร์มสถิติการลาตามแบบ ของกองบริหารงานบุคคล บน Google spreadsheet ทส่ี ามารถดขู ้อมูลได้ผ่านเวบ็ ไซต์ ส่ังพมิ พ์ได้ทนั ที คาสาคญั สถติ กิ ารลา Google Spreadsheet Cloud

การประชุมสัมมนาเครือข่ายการจดั การความรู้ ครงั้ ท่ี 12 | หน้า 15 การประยกุ ต์ใชแ้ นวคดิ การจัดการความรู้ ในรายวชิ าโครงงานสาขาวิชาเทคโนโลยเี ครื่องเรือน และการออกแบบ Knowledge Management Apply for Project Subject : Program in Furniture Technology and Design วชิ ยั พรมาลัยรุ่งเรอื ง (Wichai Pornmalairungrueang) ดเิ รก กาญจนรูจี (Direk Kanchanarugee) สูนฤต เงินสง่ เสริม (Sunarit Ngernsongserm) ธนวรรณ เวียงสมี า (Thanawan Viengsima) กติ ติ จรินทรท์ อง (Kitti Jarinthong) สุรยิ า สงคอ์ นิ ทร์ (Suriya Song-inn) คณะวิทยาศาสตรีและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยัเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ บทสรปุ สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องเรือนและการออกแบบ เปิดทาการเรียนการสอนในระดับ ปริญญาตรี 4 ปี มีรายวิชาโครงงานเป็นรายวิชาชีพสุดท้ายที่นักศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนก่อน สาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ซึ่งในรายวิชาดังกล่าวประสบปัญหาในหลายเรื่องเช่น นักศึกษา เสนอหัวข้อโครงงานไม่มีความเหมาะสมกับ การศึกษาในระดบั ปรญิ ญาตรี นักศึกษาทาโครงงานไม่บรรลุผลตามระยะเวลาท่ีกาหนด โครงงานบางโครงงาน ลม้ เหลวไม่สามารถดาเนินการต่อไปให้ จบโครงงาน หรือการขาดอาจารย์ท่ีปรึกษาประจาโครงงานท่ีเหมาะสม ฯลฯ เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ทางทีมผู้สอนดาเนินการได้นาแนวทางของที่เครือ บริษัทซีเมนต์ไทย (SCG) ที่ไดด้ าเนินการการจัดการความรู้ (Knowledge Management) มาใช้ และประสบความสาเรจ็ จนเป็น ทย่ี อมรับ มาประยุกตใ์ ช้ในรายวชิ าโครงงานดว้ ย 5 กจิ กรรมดงั นี้ 1) การสารวจตัวเองของนักศึกษา 2) การสารวจตัวเองของคณาจารย์ประจา 3) การจับคู่ความรู้ 4) กิจกรรมเวทีแลกเปล่ียนการเรียนรู้ 5) ระบบการให้คาปรึกษาผ่าน social media online พบว่ากิจกรรม ท้ังหมดเป็นการสร้างบรรยากาศที่ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของ นักศึกษาและคณาจารย์ ให้เกิดการ แบ่งปนั ความรู้ซึ่งกนั และกนั นักศึกษามคี วามสาเร็จในการทา โครงงานมากขึน้ เม่ือเทียบกบั ปีท่ผี ่านมา สง่ ผลให้ จานวนผู้สาเร็จการศึกษาในปีที่ผ่าน(ปีการศึกษา 2559) มีจานวน 21 คนสูงกว่าจานวนผู้สาเร็จการศึกษาในปี การศึกษา 2558 ท่ีมีจานวนเพียง 13 คน คิดเป็นเพ่ิมขึ้น 161% ซึ่งเป็นผลดีต่อการจัดการเรียนการสอนของ สาขาวชิ าฯ คาสาคัญ การจดั การความรู้ โครงงาน Knowledge Management Project

หนา้ 16 | การจัดการความรสู้ ู่มหาวทิ ยาลยั นวัตกรรม เทคนิคแนะนาการกรอกคะแนนและเกรดนักศึกษาผ่านระบบ Technical Recommendation for Inputting Students’ Scores and Grades through the ASCAR’s System นางธัญลกั ษณ์ ทวีธนสมบัติ นายอลงกรณ์ อยูส่ าราญ* สานกั ส่งเสรมิ วิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ *[email protected] บทคัดย่อ สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน เป็นหน่วยงานสนับสนุนที่เกี่ยวข้องกับการเรียน การสอน มีการบริการงานทะเบียนอย่างถูกต้อง รวดเร็ว งานบริการของ สวท. ประกอบด้วยงานต่าง ๆ คืองานบริการ ข้อมูล ข่าวสาร ประเภทจัดการศึกษา งานลงทะเบียนเรียน งานสถิติ นักศึกษา คืนสภาพ สาเร็จการศึกษา นักศึกษาลงทะเบียนเรียนในรายวิชา อาจารย์ผู้สอน ประเมินผลการศึกษา โดยบันทึก คะแนนและเกรดราย ภาคเข้าสู่ระบบ สานักส่งเสริมวิชาการฯ มีระบบเพ่ือรองรับการดาเนินการนี้ ดังน้ันหน่วยงานจึงเห็น ความสาคัญ ในการจัดการความรู้ หัวข้อ “เทคนิคแนะนา การกรอก คะแนน และเกรดนักศึกษาผ่านระบบ” เพ่ือให้เป็นมาตรฐานของการบันทึก คะแนน และเกรด นักศึกษาในแนวทางเดียวกัน ในปีการศึกษา 2560 การจัดการความรู้ โดยการกาหนดประเด็นความรู้ เพื่อให้บุคลากร กลุ่มเป้าหมาย ท่ีจะ พัฒนาความรู้ และ ทักษะด้วยการแบ่งปันแลกเปลี่ยน เรียนรู้ มีขั้นตอน กระบวนการวิธีการ เพ่ือให้ผู้เก่ียวข้อง ผู้ปฏิบัติ ได้แนว ปฏิบัติท่ีดี ใช้ในการปฏิบัติ จริง กรรมการจัดการความรู้ ได้ติดตาม ผลการดาเนินการ เผยแพร่ ผู้ได้รับความรู้ ว่าได้นาความรู้ไปปฏิบัติได้จริง อีกท้ังได้นา ความรู้ ทั้งผู้รู้และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไปประมวลผล เป็นคู่มือ ปฏบิ ตั งิ าน คาสาคญั แนะนาการกรอกคะแนน การกรอกคะแนน เกรดนกั ศึกษา

การประชมุ สมั มนาเครอื ขา่ ยการจดั การความรู้ ครั้งที่ 12 | หน้า 17 การจดั การความรู้เพื่อการเขียนโครงรา่ งการวิจัยผา่ นการเรยี นรู้จากการปฏบิ ัติ Knowledge Management for Research Proposal Writing Through Action Learning ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ จริ าภรณ์ พงษศ์ รีทัศน์ (Jiraporn Pongsritasana) คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ [email protected] บทสรปุ การจัดการความรู้เพ่ือการเขียนโครงร่างการวิจัยผ่านการเรียนรู้จากการปฏิบัติ เป็นการนาแนวทาง การจัดการความรู้มาออกแบบการเรียนการสอนในรายวิชาระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์ หัวข้อการเขียน โครงร่าง การวิจัย โดยรูปแบบการเรียนการสอนดังกล่าว ประกอบไปด้วยการเรียนรู้จากการปฏิบัติ และ เคร่ืองมือการจัดการ ความรู้ อันได้แก่ ชุมชนนักปฏิบัติ การถอดบทเรียน และเพื่อนช่วยเพ่ือน โดยมีข้ันตอน คือ มอบหมายให้ผู้เรียนมี การเรียนรู้จากการปฏิบัติ โดยไปศึกษาค้นคว้าเพ่ือเขียนโครงร่างการวิจัย นาเสนอ ตอ่ คณะกรรมการพิจารณาโครง ร่างการวิจัย หลังจากไดข้ ้อเสนอแนะจากคณะกรรมการพิจารณาโครงรา่ งการ วิจัยแล้ว ให้ผู้เรียนในแต่ละกลุ่มมา ถอดบทเรียน และจัดกิจกรรมเพื่อนช่วยเพ่ือน โดยให้กลุ่มท่ีประสบ ความสาเร็จมาเลา่ วิธกี ารทางานให้เพือ่ นฟัง หลังจากน้นั ใหผ้ ู้เรยี นต้ังกลมุ่ ชุมชนนักปฏิบัติ โดยจาแนกตามกลุ่ม ท่ีทาหัวข้อวิจัยท่ีคล้ายคลึงกัน เพ่ือแลกเปลี่ยน ความรู้ท่ีได้จากการทางาน และช่วยกันหาแนวทางในการ ปรับปรุงโครงร่างการวิจัยให้สมบูรณ์ ผลการดาเนินงาน พบว่า ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการแสวงหา ความรู้ ความวิตกกังวลลดลง สามารถส่งงานได้ตรงตาม กาหนดเวลา นอกจากน้ีผู้เรียนยังได้แนวทางในการ แสวงหาความรูไ้ ปประยุกตใ์ ชใ้ นการเรียน การทางาน และการใช้ชีวิตได้ คาสาคญั การเรยี นรูจ้ ากการปฏิบตั ิ ชมุ ชนนักปฏบิ ัติ การถอดบทเรยี น เพื่อนช่วยเพ่ือน โครงรา่ งการวจิ ัย

หนา้ 18 | การจัดการความรสู้ ู่มหาวิทยาลยั นวัตกรรม แนวทางการพัฒนาการเข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาการของอาจารย์คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ Guidelines for Lecturers working in the Faculty of Liberal Arts, Rajamangala University of Technology Krungthep to Enhance the Academic Ranks ผูชวยศาสตราจารย ชฎาจนั ทร โชคนิรันดรชยั Chadachan Choknirandonchai คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ [email protected] บทสรปุ คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ไดกาหนดแนวทางจัดการ ความรู (Knowledge Management) ดานการผลิตบัณฑิตภายใต หัวขอ “การพัฒนาศักยภาพ บุคลากรคณะ ศลิ ปศาสตรสูความเปนเลศิ ในยคุ 4.0” มีเปาหมายเพ่ือพัฒนาศกั ยภาพและเปนการ กระตุนสงเสริมใหบุคลากร คณะศิลปศาสตรพัฒนาตนเองดานวิชาการ ผานกิจกรรมการ แลกเปล่ียนเรียนรู ระหวางวันที่ 19-23 มีนาคม 2561 ณ โรงแรม เคป ราชา ศรรี าชา จังหวัด ชลบรุ ี กิจกรรมการดาเนินงานไดแก การบรรยายและฝกปฏิบัติ ผูเขารวมโครงการไดแก อาจารยท่ีมีความ สนใจจากสาขาวิชาตาง ๆ จานวน 106 คน เคร่ืองมือท่ีใชในการเก็บขอมูลไดแก แบบสอบถามประเมินความ พงึ พอใจตอการเขารวมโครงการ ผลการดาเนินงานพบวา ผูเขารวม โครงการมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับองค ความรูดานการเขียนตาราหรือหนังสือในระดับเพ่ิมข้ึน สามารถนาองคความรูจากการเขารวมโครงการน้ีไปใช ประโยชนในการเขียนตาราหรือหนงั สือใน ระดับเพ่ิมขึ้น ไดคาคะแนนเฉล่ียรวม 4.65 คืออยูในระดับมากท่ีสุด คิดเปนรอยละ 93 ของระดับ ความพึงพอใจท้ังหมด สาหรับแนวทางการพัฒนาที่ควรเพิ่ม คือ ควรจัดกลุ ม ฝกปฏิบัติการจริงเปน ระดับ ๆ ไดแก ระดับเร่ิมตน ระดับมีผลงานแลวและระดับปรับแกตามคาแนะนาของ ผูเช่ียวชาญ และควรมีการติดตามผลงานทุกระยะ ผูเขารวมโครงการเห็นวาเปนการพัฒนาการเขียนตาราได ในเวลารวดเร็ว กระชบั และไดประโยชนมาก คาสาคัญ ผลงานวิชาการ ตาแหนงทางวชิ าการ อาจารยคณะศลิ ปศาสตร

การประชุมสมั มนาเครอื ข่ายการจดั การความรู้ คร้ังที่ 12 | หนา้ 19 การบูรณาการเทคโนโลยรี ว่ มกบั การจดั การการเรยี นการสอนสาหรับนักศึกษา คณะบรหิ ารธรุ กิจ ปี 2560 คณะกรรมการจัดการความรู้คณะบรหิ ารธุรกิจ คณะบรหิ ารธรุ กิจ บทคัดย่อ ในปีการศึกษา 2560 คณะบริหารธุรกิจได้ดาเนินการอย่างต่อเน่ืองในการจัดการความรู้เพื่อนาไปสู่ การพัฒนาการ สอน โดยมุ่งเน้นการใช้เทคโนโลยีมาช่วยในเรื่องการเรียนการสอนโดย Google Application for Education สาหรับเคร่ืองมือ การจัดการความรู้ที่ใช้ คือ เทคนิคเพื่อนช่วยเพื่อน (Peer Assist) และ เทคนิค Intranet นาไปสู่แลกเปลี่ยนและแบ่งปันความรู้ ภายในคณะฯ และนอกคณะ ซ่ึงอยู่บนพื้นฐานของ กระบวนการ PDCA (Plan-Do-Check-Act) ในการดาเนินการจัดการความรู้ ครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้เกิด การจัดทาเอกสารคู่มือการใช้งาน Google Application for Education 1 ฉบับ และเพ่ือให้มี อาจารย์ที่นา ความรู้ไปใช้อย่างน้อยจานวน 1 คน คณะกรรมการจัดการความรู้คณะบริหารธุรกิจ ได้ดาเนินการจัดทาคู่มือ การใช้งาน Google Application for Education ในปีการศึกษา 2558 และทาการเผยแพร่แก่อาจารย์คณะ บริหารธุรกิจ เพื่อให้เกิดการจัดเก็บองค์ความรู้การ จดั การการเรียนการสอน และทาให้อาจารย์สามารถเข้าถึง ข้อมูลที่จัดเก็บทั้งหมดจานวน 108 คน และนาไปสู่การปรับใช้ ผลการดาเนินการคณะกรรมการการจัดการ ความรู้คณะบริหารธุรกิจสามารถจัดทาคู่มือการใช้งาน Google Application for Education และในปี การศึกษา 2560 มีอาจารย์สามารถใช้งานระบบ Google Application for Education ได้ ในแต่ละสาขาวิชา ต้งั แต่ 1 คนขน้ึ ไป และดาเนินการเผยแพร่ขอ้ มลู การจดั การการเรียนการสอนในระบบสาขาละ 1 คน คาสาคัญ การบรู ณาการ เทคโนโลยี การเรียนการสอน

หนา้ 20 | การจดั การความรู้สู่มหาวทิ ยาลัยนวตั กรรม การสรา้ งความรว่ มมือดา้ นการจดั การความรู้สูม่ หาวิทยาลัยนวัตกรรม Development of Knowledge Management Collaboration to Innovative University นฤศร มังกรศลิ า (Narusorn Mangkornsila) หวั หน้างานจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร [email protected] บทสรุป การสร้างความร่วมมือการจัดการความรู้ต้ังแต่อดีตจึงถึงปัจจุบัน มีแนวโน้มในการ พัฒนาการจัดการ ความรู้ท่ีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพ่ิมขึ้น เน่ืองจากการใช้เครื่องมือการ จัดการความรู้ (KM Tools) ที่เหมาะสมกับการสร้างความร่วมมือในช่วงแรกที่เริ่มต้นการพัฒนา และส่งเสริมจากการจัดการความรู้ในรูป แบบเดิมของหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย เช่น การเล่า เรื่องทรงพลัง (Story Telling), แผ่นพับการจัดการ ความรู้ (KM Brochure), แนวปฏิบัติที่ดี (Good Practice) และเครื่องมือการจัดการความรู้อ่ืนๆ ท่ีเกิดขึ้นจาก การปฏิบัติได้จริงจนเกิดเป็น ผลสัมฤทธ์ิของบุคลากรภายในมหาวิทยาลัย แต่ส่ิงท่ีเป็นกาแพงขวางกั้นการ พัฒนาและส่งเสริม การจัดการความรู้ให้เกิดการต่อยอด คือ การรับรู้การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือ ขบั เคลื่อนการ จัดการความรู้ให้เกิดประโยชนน์ ั้นควรดาเนินการให้เกิดข้นึ เปน็ รูปธรรม และส่ิงทีเ่ ปน็ อุปสรรคใน การสร้างความร่วมมือด้านการจัดการความรู้ คือ ความไม่กล้าท่ีจะสร้างสรรค์ หรือ เปลี่ยนแปลง ไปสู่ นวัตกรรมการจดั การความรู้ใหม่ๆ รวมถงึ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีค หกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร มองเห็นถึง คุณค่าและความสาคัญของการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสร้างความร่วมมือในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการความรู้มุ่งสู่ การเป็นมหาวิทยาลัยนวัตกรรมอย่างเต็มรูปแบบ โดยเฉพาะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางด้านการจัดการ ความรู้ที่มหาวิทยาลัยได้จัดเตรียมไว้ให้ เพื่อการพัฒนาองค์ความรู้ และการถ่ายทอด หรือเผยแพร่องค์ความรู้ ในระยะยาวไดอ้ ย่างยงั่ ยนื จนเปล่ียนเป็นพลังในการสร้างความร่วมมือด้านการจัดการความรู้จึงเป็นสิ่งท่ีสาคัญ ต่อการพฒั นา องคค์ วามรรู้ ว่ มกันของหน่วยงานภายในมหาวทิ ยาลัยนวัตกรรมได้ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ มหาวิทยาลัยได้จัดเตรียมเอาไว้ เช่น เว็บบล็อก (Web Blog) หรือส่ือสังคมออนไลน์ (Social Media) ท่ีมี ศกั ยภาพมาใชใ้ นการสร้างความร่วมมอื ดา้ นการจัดการความร้รู ะหว่างกันได้ คาสาคญั : การสรา้ งความรว่ มมอื การจดั การความรู้ มหาวิทยาลัยนวตั กรรม

การประชมุ สัมมนาเครือข่ายการจัดการความรู้ ครง้ั ที่ 12 | หน้า 21 โครงการบูรณาการการมีส่วนรว่ มเพอ่ื พัฒนาแอปพลิเคชนั ฐานข้อมูลความเชี่ยวชาญ สาหรบั นักวิจยั คณะวศิ วกรรมศาสตร์ An Integrated Project for Participation to Improve Database Application Expertise for Engineering Faculty Researchers อาจารย์ธวชั ชัย ชาติตานาญ1 ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์สุรสิทธิ์ ประกอบกิจ2 ผูช้ ่วยศาสตราจารยก์ ุลยศ สุวันทโรจน์3 Thawachchai Chattamnan1 Surasit Prakobkit2 Kullayot Suwantaroj3 หวั หนา้ งานการจัดการความรู้1 หัวหน้างานบรกิ ารวชิ าการ2 ผู้ชว่ ยคณบดี3 คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มทร.พระนคร [email protected] [email protected] [email protected] บทสรปุ ภาษา จาวา (Java) สามารถพัฒนาเปน็ โปรแกรมตา่ ง ๆ ท่ีทางานอยบู่ น เดสก์ ท้อป(Desktop) บน เว็ป เซอร์เวอร์ เว็ปเซอวิส เว็ปไคล์นแอนท์ (Web Server / Web Service / Web Client) เหมือนกับภาษาอื่นๆ เช่น ภาษา พีเอซพี (PHP) ใชพ้ ัฒนาโปรแกรมบน เว็ปเซอร์เวอร์ ท่ีทางานผ่าน เวป็ เบราเซอร์ (Web Browser) และกลุ่ม วีบีดอทเน็ต (VB.NET) ก็สามารถพัฒนาโปรแกรมบน เดส์กท้อป หรือจะแบ่งออกเป็นพวก Web (ASP.Net) / Web Services และอื่น ๆ ก็ได้เช่นเดียวกัน และที่สาคัญในขณะน้ีภาษา จาวา สามารถพัฒนา โปรแกรมบน โมบายด์ (Mobile) ของ แอนดรอย (Android) ได้และมีความน่าเชื่อถือสามารถขยายระบบได้ ง่าย ซ่ึงในระดับองค์กรมีการนาไปใช้งานเป็นจานวนมาก และซัพพอร์ทได้ง่ายต่อการใช้งานของบุคคล ภาษา จาวา มีเคร่ืองมือ (tools) ท่ีเป็น Open Source ให้ใช้งานหลากหลายครอบคลุมมีกลุ่มคนช่วยพัฒนาเรื่อยๆ และนามาใช้งานได้จริงมี library และ framework หลายแบบและเป็น Open source รวมถึงใช้ได้กับ ระบบปฏบิ ัติการ ทัว่ ไป คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร มีนักวิจัยที่มีความเช่ียวชาญ ทางดา้ น วิศวกรรมหลายแขนง เช่น สาขาวชิ าวิศวกรรมโยธา วศิ วกรรมเครอื่ งกล วิศวกรรมไฟฟ้า วศิ วกรรมอุต สาหการ เป็นต้น แต่เน่ืองจากการเก็บข้อมูลในรูปแบบเอกสารทาเกิดขั้นตอนสาหรบั การสืบค้น อีกทั้งต้องเก็บ เอกสาร หลักไว้ที่สานักงาน โครงการวิจัยน้ีจึงได้สร้างแอปพลิเคชันฐานข้อมูลความเช่ียวชาญของนักวิจัยของ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ไว้ในรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์แนวคิดการออกแบบเพื่อเข้าถึงข้อมูลของนักวิจัย เบื้องตน้ สามารถทาได้โดยใช้รหัสของผู้ใช้ระบบ จากแนวคิดการสร้างแอปพลิเคชันฐานข้อมูลนักวิจัยบน ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ดังกล่าวจะแก้ปัญหาการสืบค้นข้อมูลนักวิจัย โดยที่การใช้สมาร์ทโฟนทาให้ได้รับ ความสะดวกในการเข้าถึงข้อมูลอย่างรวดเร็ว เพื่อสอบรับกับนโยบาย มหาวิทยาลัยดิจิตอล และ การสร้าง นวตั กรรม คาสาคญั ภาษาจาวา ฐานขอ้ มลู สาเร็จรูป โทรศัพท์มือถือ

หนา้ 22 | การจดั การความรสู้ ู่มหาวิทยาลัยนวตั กรรม โครงการบริการวชิ าการแก่สงั คมการผลิตตัวเรือนเครอื่ งประดับแหวนเงินลงยาถมเงิน กลุ่มชุมชนบ้านพุพลู อาเภอหนองหญ้าปล้อง จังหวดั เพชรบุรี Academic service project for the society, the production of jewelry, silver rings, niello Ban Phu Phlu Community Group Nong Ya Plong District Phetchaburi Province อาจารยจ์ ักรกฤษณ์ ย้ิมแฉ่ง1 อาจารย์ธวัชชยั ชาตติ านาญ2 ผู้ช่วยศาสตราจารยส์ รุ สิทธิ์ ประกอบกิจ3 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์กุลยศ สวุ นั ทโรจน์4 Jakkrit Yimchang1 Thawachchai Chattamnan2 Surasit Prakobkit3 Kullayot Suwantaroj4 วิศวกรรมการผลติ เครื่องประดับ1 หัวหนา้ งานการจดั การความรู้2 หัวหนา้ งานบริการวชิ าการ3 ผชู้ ่วยคณบดี4 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.พระนคร [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] บทสรุป การบริการวิชาการด้านการผลติ เครื่องประดับลงยาถมเงิน ซึ่งเปน็ เคร่ืองประดับท่ีมีความงามเฉพาะตัว ของเครื่องถมจะยังคงได้รับความนิยมตลอดมา จนช่างไม่สามารถผลิตได้ทัน แต่ช่างผู้ผลิตเคร่ืองถมต่างต้อง ประสบกับปัญหาต้นทุนการผลิตท่ีสูงข้ึนเป็นอย่างมาก นอกจากนี้ช่างฝีมือดีก็นับวันจะลดลง เพราะเป็นงานที่ ต้องใช้ฝีมือ และความละเอียดประณีตสูง เคร่ืองถมเป็นศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย กลุ่มชุมชนบ้านพุ พลู อาเภอหนองหญ้าปล้อง จังหวัดเพชรบุรี มีเอกลักษณ์ทางด้านสิ่งทอที่มีลวดลายประจาท้องถ่ิน การทา อาชีพเสริมเป็นแนวทางในการพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็ง มีรายได้เสริมในครัวเรือน การบริการวิชาการแก่สังคม โดยนาองค์ความรู้ด้านการผลิตเครื่องประดับแหวนเงินลงยาถมเงิน จึงเป็นองค์ความรู้ท่ีนักวิจัยได้สะสม ประสบการณ์การผลิตผลิตเคร่ืองประดับที่จะถ่ายทอดสู่ชุมชนได้เป็นอย่างดี สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต เครื่องประดับ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร มีนักวิจัยท่ีมีความเช่ียวชาญ ทางด้านการผลิตเคร่ืองประดับ เช่น การขึ้นรูปตัวเรือน งานฝังอัญมณี งานเครื่องถมลงยา เป็นต้น แต่ เน่ืองจากการเกบ็ ขอ้ มูลเบอื้ งตน้ ของกลุ่มชุมชนบา้ นพพุ ลู ยังขาดความเข้าใจใน กระบวนการผลิตเครอ่ื งประดับ นักวิจัยจึงจัดทากระบวนการผลิตในรูปแบบเอกสารบรรยายขั้นตอนสาหรับการ ผลิตตัวเรือนเคร่ืองประดับ โครงการบริการวิชาการแก่สังคมนี้จึงได้ถ่ายทอดองค์ความรู้พื้นฐาน แนวคิดการ ออกแบบ การใช้เคร่ืองมือ การสร้างช้ินงานต้นแบบแหวน เพ่ือเข้าถึงข้อมูลของผู้รับการอบรมและฝึกปฏิบัติคร้ัง นี้นักวิจัยสามารถวัดผล จากพฤติกรรมการเข้าร่วมวัดผลจากชนิ้ งานสาเรจ็ หลงั การฝึกอบรม คาสาคญั การออกแบบ เงนิ เครอ่ื งถม

การประชุมสมั มนาเครือขา่ ยการจดั การความรู้ ครงั้ ท่ี 12 | หนา้ 23 ระบบจดั การเรยี นการสอนแบบออนไลน์ (MOOC) นางสาวรุงอรณุ คงสวสั ด์ิ สถาบันสหวิทยาการดจิ ิทลั และหุนยนต มหาวทิ ยาเทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร โทร. 089-8810404 [email protected] บทสรปุ การสรางสรรคส่ือการเรียนการสอนแบบออนไลนในศตวรรษท่ี 21 สูองคกรแหงการ เรียนรูที่ยังยืน เปนส่ิงที่ผูสอนและผูเรียนจะตองปรับรูปแบบการเรียนและการสอนใหเหมาะสม ตามยุคตามสมัย เปนการ ประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาท่ีมีความทันสมัยเพิ่มขึ้น ในสถาบันการศึกษา (Acadamia) ระหวางผูเรียนและผูสอนโดยมีความสะดวกรวดเร็วเนนผูเรยี น เปนศูนยกลาง (Child Center) เพ่อื ใหเกิดการ แลกเปล่ียนเรียนรู(Knowledge Sharing) วิธีการเรียนการสอนแบบออนไลนทาใหผูเรียนสามารถเขาใจใน เน้ือหาบทเรียนไดอยางรวดเร็ว ผูเรียนสามารถเขาถึงการเรียนการสอนแบบออนไลน์ (MOOC) ไดทุกที่ ทุกเวลา ระบบการเรียน การสอนแบบออนไลน (MOOC) เนนการใชเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเพื่อ สงเสริมให ผูสอนและผูเรียนไดใชทักษะทางดานเทคโนโลยีดิจิทัลทาใหเกิดการเปล่ียนแปลงของผูเรียนท่ีเขา สูยุคศตวรรษท่ี21 ประกอบกับการออกนอกระบบของสถาบันการศึกษาในประเทศไทย ส่ือการ เรียนและ วิธีการเรียนเองก็มีการปรับเปลี่ยนไปตามสมัย ในตอนนี้เราจะวากันดวยเรื่องของ MOOC (Massive Open Online Course) หรือการศึกษาแบบเปดในรปู แบบบทเรยี นออนไลน คาสาคัญ ระบบการเรียนการสอนแบบออนไลน องคกรแหงการเรยี นรูทยี่ ังยนื

หนา้ 24 | การจัดการความรูส้ ู่มหาวทิ ยาลัยนวตั กรรม การพัฒนาทักษะนกั ประดษิ ฐ์หุ่นยนตจ์ ิว๋ The Acquisition inventor tiny Robots อาจารยข์ นิษฐา ดีสบุ ิน อาจารย์สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพวิ เตอร์ คณะครศุ าสตร์อุตสาหกรรม [email protected] [email protected] บทสรุป ในการจัดกระบวนการเรียนการสอน โดยนานวัตกรรมการศึกษามาประยุกต์ใช้ จะช่วยส่งเสริมให้ ผเู้ รียน เกิดการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง สามารถเรยี นรูไ้ ด้ทกุ เวลาตามความต้องการ นวตั กรรมการเรยี นรู้ จะเกิดข้ึน ได้ต้องอาศัย วิธีคิด ที่ออกนอกกรอบเดิม พอสมควร คือ จะต้อง ออกนอก “ร่อง” หรือ ช่องทางเดิม ๆ ที่เคย ชิน เรียกได้ว่าจะต้องปรับเปลี่ยนแนวคิด หรือ กระบวนทัศน์ที่มีอยู่เดิมเก่ียวกับการเรียนรู้เสียใหม่ จากท่ีเคย เข้าใจว่า การเรียนรู้ คือ การศึกษา เพียงเพื่อให้ ได้รู้นั้น มาเป็นการเรียนรู้ที่นามาใช้พัฒนางาน พัฒนา ชีวิต และพัฒนา สังคม ประเทศชาติ ซึ่งเป็น ความรู้ที่แนบแน่นอยู่กับงาน เก่ียวพันอยู่กับปัญหา เป็นความรู้ท่ีมี บริบท การเรยี นรูต้ ามกระบวนทัศน์ใหมน่ จ้ี งึ มกั เริม่ ต้นดว้ ยการพฒั นาตัวโจทยข์ ึ้นมาก่อน โดยใช้ปัญหา หรอื ส่ิง ท่ีเกิดขึ้นในชีวิตประจาวันเป็นหลักเรียกได้ว่ามีความต้องการที่จะแก้ไขปัญหาหรือพัฒนา ส่ิงต่างๆ ให้ดีขึ้นจึง เปน็ แรงผลักดันที่ทาให้เกดิ การเรียนรู้น้ีขึ้น มีวิธีการอย่างไรท่ีจะทาให้ผูเ้ รียน สามารถเรยี นรไู้ ด้เอง สามารถคิด เอง ทาเอง และแก้ปัญหาเองได้ โดยครูเป็นเพียงผู้ช้ีแนะ คอย ให้คาแนะนาในการเรียนรู้ ที่ถูกต้องและ เหมาะสม เคร่ืองมอื ท่ีใช้ในการดาเนินกจิ กรรมเปน็ ส่ือการเรยี นการสอนดา้ นเทคโนโลยที ่ีเลือก นาไปใชใ้ นการ พฒั นาทักษะนักเรียน คือ 1) เทคโนโลยี LEGO WeDo 2.0 2) แบบประเมินผล การพัฒนาทักษะนักประดิษฐ์ หุ่นยนต์จิ๋ว กลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนโรงเรียนบ้านแก่งประลอม จานวน 20 คน (เป็นนักเรียนสัญชาติ ไทย มอญ พม่า ลาว) วิธีการเก็บข้อมูลจากการนาเสนอและ อภิปรายผลงานจนได้หัวข้อโครงการและแนวทางการ ดาเนินโครงการ ผลการวิเคราะห์ผู้เข้าอบรมนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ และความพึงพอใจของผู้เข้ารับ การอบรม ปรากฏว่า ดา้ นความพึงพอใจในภาพรวมของการจดั กิจกรรมคดิ เปน็ รอ้ ยละ 95 ดา้ นการประเมินผล เนื้อหาวิชา 1) ความรู้ก่อนเข้ารับการฝึกอบรมคิดเป็นร้อยละ 43 2) ความรู้ท่ี ได้รับหลังการฝึกอบรม คิดเป็น ร้อยละ 86 3) เนื้อหาวิชามีความสอดคล้องกับหัวข้อที่บรรยาย คิดเป็นร้อยละ 94 และ 4) ความรู้ที่สามารถ นาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการปฏิบัติงานได้ คิดเป็นร้อยละ 96 ผลการประเมินตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรม ปรากฏว่า 1) การสร้างโอกาสการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีการประดิษฐ์และการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ควบคุมหุ่นยนต์ให้กับ เยาวชน คิดเป็นร้อยละ 98 2) เยาวชนได้มีโอกาสเสริมสร้างเทคนิคการเรียนรู้ด้วย หุ่นยนต์และ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ กับวิทยากรท่ีให้ความรู้และผู้ที่ร่วมอบรม คิดเป็นร้อยละ 99 3) เยาวชนรู้จักวิเคราะห์เป็นและรู้จักการใช้ความคิดพิจารณาในเร่ืองท่ีสนใจ เข้าถึงแหล่งข้อมูล ความรู้ คิดเป็น ร้อยละ 99 คาสาคญั ห่นุ ยนต์

การประชมุ สัมมนาเครือข่ายการจัดการความรู้ ครั้งท่ี 12 | หนา้ 25 โครงการถา่ ยทอดความร้ดู ้านการออกแบบเชิงบรู ณาการ สู่การขบั เคล่อื นเศรษฐกจิ ชุมชน ด้วยเทคโนโลยที างการออกแบบ Integrated design knowledge transfer for local economic development from design technology project นางสาวณัฐณิชา สวนทอง1 นายวชั รพล สนุ นทรราช2 นายศิรวชั ร์ พัฒคุ้ม3 1นกั ศกึ ษาสาขาวชิ าการออกแบบผลิตภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม 2นกั ศึกษาสาขาวิชาการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 3นกั วิชาการการศึกษา ผ้คู วบคุมโครงการ คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร [email protected] [email protected] [email protected] บทสรปุ จากการจดั กจิ กรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้ในเรอ่ื งรูปแบบการเรียนการสอนโดยการใชห้ ลกั การบรู ณาการ โดยให้นักศึกษามีประสบการณ์จริงจากการทางานโดยการแลกเปล่ียนเรียนรู้จาก กลุ่มของผู้นานักศึกษาโดยมี อาจารย์เป็นผู้คอยเสนอแนะ ทาให้เกิดโครงการพัฒนาและถ่ายทอด ความรู้ด้านการออกแบบเชิงพาณิชย์ สู่การขบั เคล่ือนเศรษฐกิจชมุ ชนด้วยเทคโนโลยีทางการ ออกแบบ ซึ่งมีรูปแบบการจัดการเรยี นการสอนทค่ี วบคู่ ไปกับปฏิบัติงานจริง ซึ่งจัดเป็นโครงการที่ ได้นาโจทย์จากชุมชน มาสู่ห้องเรียน และจากห้องเรียนสู่การ ถ่ายทอดความรู้ของนักศึกษาสู่ ชุมชนภายนอก โดยนักศึกษาแต่ละคนจะนาความรู้มาเข้าสู่กระบวนการ ทางการจัดการความรู้ โดยอาศัยเคร่ืองมือต่าง ๆ ของการจัดการความรู้ร่วมกับเพ่ือนนักศึกษาของทางคณะ และ นักศึกษาของมหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว เพื่อให้งานสาเร็จลุล่วง โดยจากการจัดโครงการดังกล่าว ทาให้ ทางชุมชน ได้รับความรู้ใหม่ทางด้านเทคโนโลยีทางการออกแบบและยังมีการสร้างเครือข่ายวิสาหกิจระหว่าง ชุมชน และการนาความรู้ท่ีได้รับไปต่อยอดทางเชิงพาณิชย์ ซึ่งการแลกเปล่ียน เรียนรู้ในครั้งนี้สามารถนาไป ปรับใช้ในการพัฒนาตนเองในด้านการทางานแบบเป็นกลุ่ม โดยรับฟังความคิดเห็นจากส่วนรวมเพ่ือน นามา ประยุกตใ์ นเกิดผลสมั ฤทธิอ์ ยา่ งมีประสิทธิภาพ คาสาคัญ เทคโนโลยที างการออกแบบ เคร่ืองมือทางการจดั การความรู้ เครือขา่ ยวิสาหกจิ ชุมชน การแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ สนิ คา้ ชุมชน

หน้า 26 | การจดั การความรู้สู่มหาวทิ ยาลัยนวตั กรรม การพัฒนารปู แบบการสอนภาษาต่างประเทศ ยุค 4.0 ของคณะศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสนิ ทร์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชัยวฒั น์ ประสงค์สร้าง คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสนิ ทร์ โทร. 065-562-6197 โทรสาร 02-222-2814 [email protected] [email protected] บทสรุป จากการประชุมเชิงพัฒนาเพื่อการแลกเปล่ียนของอาจารย์ผู้สอนที่มีประสบการณ์สอนไม่นอ้ ยกว่า 10 ปี และผู้บริหารของคณะศิลปศาสตร์ โดยมีการวางกรอบร่วมกันในการจัดการความรู้ (KM) คร้ังน้ี ซึ่งมาจาก การ ทบทวนปัญหาการเรียนการสอนด้านภาษาต่างประเทศในปีการศึกษาทีผ่ า่ นมา มาแชร์แลกเปลี่ยนทบทวน ร่วมกัน ของอาจารย์ผู้สอนทุกคนใน วิทยาเขตพ้ืนท่ี บพติ รพมิ ุข จักรวรรดิ โดยกาหนดกรอบด้านการเรียนการ สอนไว้ 4 ประเดน็ คือ 1) รูปแบบการสอนภาคทฤษฎี 2) รูปแบบการสอนภาคปฏิบัติ 3) รปู แบบการสอนโดย เนน้ กิจกรรม 4) รปู แบบการสอนแบบบรู ณาการส่ือการเรียนการสอนร่วมกบั เกมหรอื กิจกรรมในหอ้ งเรียน โดย มีการประชุม แลกเปลี่ยนจากอาจารย์ผู้มีประสบการณ์สอนมากกว่า 10 ปี จานวน 15 คน และ ผู้ร่วมเข้าฟัง แลกเปล่ียนเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ อาจารยใ์ หม่ที่มีประสบการณ์สอนนอ้ ยกว่า 3 ปี จานวน 20 คน โดยมกี ารจัดประชุม 4 คร้ัง และ ให้ อาจารย์ใหม่นาองคค์ วามรู้ไปทดลองใช้และทดลองปฏิบัตจิ ริงกับนักศึกษาที่สอนในภาคเรยี นท่ี 1/2561 หลังจาก นั้นกลับมาแชร์แลกเปล่ียนกับเพื่อนอาจารย์ถึงข้อดีและข้อจากัดและการประยุกต์รูปแบบ การสอนให้มีความ เหมาะสมกับผู้เรียน ซึ่งองค์ความรู้แต่ละด้านทั้ง 4 ด้านสรุปได้ดังน้ี 1. รูปแบบการสอน ภาคทฤษฎีโดยใช้วิธกี ารสอนภาคทฤษฎีของรายวชิ าแบบบรรยาย การเรยี นการ สอนโดยเน้นการใหผ้ ู้เรียนเป็น สาคญั ซ่ึงผสู้ อนสามารถ แบ่งออกเปน็ 3 ข้ันตอน 1 ขน้ั การเตรยี มความพร้อมของ ผู้สอนและผเู้ รยี น 2.ขน้ั สอน ข้ันตอนการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร ได้แก่ – การนาเสนอเน้ือหา (Presentation ในขั้นนี้ผู้สอนจะให้ข้อมูล ทางภาษาแก่ผู้เรียน ซึ่งนับเป็นการเริ่มต้นการเรียนรู้ มีการนาเสนอ เนื้อหาใหม่โดยจะมุง่ เน้นให้ผู้เรียนได้รับรู้ และทาความเข้าใจเก่ียวกับความหมายและรูปแบบภาษาทีใ่ ชก้ ันจริง โดยทั่วไป รวมท้งั วธิ กี ารใช้ภาษาไม่ว่าจะ เป็นด้านการออกเสียง ความหมาย คาศัพท์และโครงสร้างไวยากรณ์ท่ี เหมาะสมกับสถานการณ์ต่าง ๆ ควบคู่ ไปกับการเรยี นรูก้ ฎเกณฑ์ - ขั้นการฝึกปฏิบตั ิ (Practice) เป็นขนั้ ตอนทใ่ี ห้ ผู้เรียนไดฝ้ ึกใชภ้ าษาที่เพงิ่ จะเรยี นรู้ ใหม่จากขั้นการนาเสนอเน้ือหาในลักษณะของการฝึกควบคุมหรือช้ีนา (Controlled Practice Directed Activities) - ขั้นการใช้ภาษาเพ่ือการสื่อสาร (Production) การฝึกใช้ ภาษาเพื่อการส่ือสารเปรียบเสมือน การถ่ายโอนการเรยี นรภู้ าษาจากสถานการณใ์ นช้นั เรียนไปสู่การนาภาษาไปใช้ จริงนอกช้ันเรยี น 3.ขั้นสรุปและ ประเมินผล การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือกันเรียนรู้ เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนร่วมกัน เรียนรู้โดยมีเป้าหมายกลุ่ม รว่ มกัน น้ันคือ“ผลสัมฤทธ์ิ ของกลุ่มมาจากค่าเฉล่ียของผลสัมฤทธิ์ของสมาชิกทุกคน ร่วมกัน” ความสาเร็จมา

การประชมุ สมั มนาเครอื ขา่ ยการจัดการความรู้ คร้ังที่ 12 | หนา้ 27 จากความรับผิดชอบร่วมกันโดยใช้ส่ือคือใบงาน ใบความรู้ หรือใบการร่วมกิจกรรมต่างๆ โดยเทคนิคการใช้ วธิ ีการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (learner-centered Instruction) โดยการใช้รูปแบบ การการเรียนรู้ แบบรว่ มมือ (Cooperative Learning Approach) ตามแนวทางการจดั กจิ กรรมการสอนภาษา ดังน้ี 1.คิดและคุยกัน (Think-Pairs-Share) 2. คู่ตรวจสอบ (Pairs Check) มุมสนทนา (Confers) ร่วมกันคิด (Numbered Heads Together) เป็นการจัดการเรียนการสอนที่แบ่งผู้เรียนเป็นกลุ่มย่อย ๆ ๒. รปู แบบการสอนภาคปฏบิ ัติ ข้ันตอนการสอนโดยใช้กจิ กรรมนามี 5 ชั้น ดงั นี้ 1) ข้นั แนะน ำ 2) ขั้นการแบ่งกลุ่ม ให้คละกัน แล้วให้กลุ่มต้ังช่ือกลุ่ม เขียนช่ือกลุ่ม และสมาชิกบนป้าย นิเทศ 3) ข้ันสร้างกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ 4) ขั้น ตรวจสอบ 5) ประเมินผลและให้คะแนนแต่ละคน ผู้สอนทาการทดสอบเพ่ือดูว่าต้อง สอนเพิ่มเติมหรือไม่ให้ เกรด และคิดคะแนนกลุ่ม 3. รูปแบบการสอนโดยเน้นกิจกรรม ซึ่งสามารถสรุปได้ดังนี้ 3.1 การเรียนแบบ Learning by Doing 3.2 อาจารย์เป็น “นักออกแบบกิจกรรม Activity Designer”มืออาชีพท่ีสามารถ “มองเห็นภาพ กิจกรรม” 3.3 อาจารย์เป็นผู้“สร้าง Constructed”ให้เกิดมีขึ้นในตัวคุณครูในเวลานี้ก็คือ “ความคิดวิเคราะห์ critical Thinking”3.4 เน้นกิจกรรมกลุ่มโดยทุกคนมีส่วนร่วม 4 รูปแบบการสอนแบบ บูรณาการสื่อการเรียนการสอนร่วมกับเกมหรือกิจกรรมในห้องเรียน การใช้ส่ือจริง (Authentic material) ท่ี ผเู้ รียนสามารถพบได้ในชีวติ ประจาวันในการสอน (โฆษณาทาง ทวี ี, ประกาศรับสมคั รงาน, รายงานข่าว สารคดี คลิปวีดิโอต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในชีวิตจริง ไม่ใช่สื่อที่สร้างมาเพ่ือการเรียนการสอนเพียงอย่างเดียว) เพ่ือกระตุ้นให้ ผู้เรียนเหน็ คุณค่าของการเรียนภาษาท่ีจะต้องนาไปใช้ในการประกอบ อาชีพ และเพื่อดึงดดู ความสนใจและการ มสี ว่ นรว่ มของนกั ศึกษา

หนา้ 28 | การจดั การความรูส้ ู่มหาวทิ ยาลยั นวัตกรรม แนวทางพฒั นาการเรียนรู้สู่การเป็นบณั ฑติ นักปฏิบตั ิ ของนักศึกษาคณะบริหารธรุ กิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรตั นโกสินทร์ นธิ ินพ ทองวาสนาส่ง อาจารยป์ ระจาสาขาการจดั การ คณะบรหิ ารธุรกจิ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ [email protected] บทสรปุ การส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเข้าร่วมโครงการแข่งขันทักษะทางวิชาการในระดับชาติและ นานาชาติ นับเป็นปัจจัยสาคัญที่ช่วยพัฒนาการเรียนรู้สู่การเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติ ของนักศึกษาใน คณะ บริหารธุรกจิ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ โดยสาระในบทความนม้ี งุ่ นาเสนอ แนวทางในการ ดาเนินงานเพอ่ื พัฒนาองคค์ วามรูใ้ ห้แก่นักศึกษาสกู่ ารเป็นบณั ฑติ นักปฏิบัติ โดยมงุ่ เนน้ ทผี่ ลลัพธ์ของการเรยี นรู้ เป็นหลัก เพื่อให้แก่อาจารย์ผู้สอนในระดับอุดมศึกษาได้นาเอาแนวคิดดังกล่าว ไปประยุกต์ใช้ในการสร้าง รูปแบบการเรียนการสอนภายใต้การเรียนรู้โดยการปฏิบัติ (Action Learning) และการสอนงาน (Coaching) แก่นักศึกษาในเชงิ ประจกั ษไ์ ด้ โดยผลลพั ธ์ของการเรยี นรู้ ดงั กล่าวจะสะท้อนใหอ้ าจารยผ์ ูส้ อนและนักศึกษาเกิด การพัฒนาศักยภาพของตนเองอย่างต่อเน่ืองจน เป็นที่ยอมรับต่อคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและองค์กร ภายนอก ดังน้ันการส่งเสริมใหน้ ักศึกษาเข้า รว่ มโครงการแข่งขันทักษะทางวิชาการในระดับชาติและนานาชาติ นอกจากจะเป็นเคร่ืองมือสาคัญท่ี ส่งผลให้นักศกึ ษาเกิดการพัฒนาศักยภาพสู่การเปน็ บัณฑิตนักปฏิบตั ิแล้ว ยัง ส่งผลต่อการสร้างช่ือเสียง และความน่าเชื่อถือของมหาวิทยาลัย ให้เป็นที่ยอมรับต่อหน่วยงานในระดับสากล อกี ด้วย คาสาคญั การพฒั นาการเรยี นรู้ บัณฑิตนกั ปฏบิ ัติ นกั ศกึ ษาคณะบรหิ ารธรุ กจิ ทักษะทางวชิ าการ

การประชุมสมั มนาเครอื ข่ายการจัดการความรู้ ครงั้ ท่ี 12 | หน้า 29 การพฒั นาระบบติดตามการใชง้ บประมาณประจาปีผ่านอุปกรณเ์ คลอ่ื นที่ของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลล้านนา Development of monitoring system of fiscal budget via mobile devices for Rajamangala University of Technology Lanna ว่าท่รี อ้ ยตรวี รกมล สันชมุ ภู1 ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารยศ์ ุภชยั อคั รนรากลุ 2 WALRAKAMOL SANCHUMPOO1 SUPACHAI AUKARANARAKUL2 นกั วิชาการคอมพิวเตอร์ กองนโยบายและแผน1 รักษาการผอู้ านวยการกองนโยบายและแผน2 [email protected] [email protected] บทสรปุ การพัฒนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือ (1) เพื่อพัฒนาระบบติดตามและประเมินการใช้งบประมาณ ประจาปีผ่านอุปกรณ์ เคล่ือนท่ีของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (2) เพ่ือประเมินประสิทธิภาพ การทางานของระบบติดตามและประเมิน การใช้งบประมาณประจาปีผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ของ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ประชากรท่ีใช้ในการพัฒนาครั้งนี้ คือ บุคลากรในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลล้านนา วิทยาเขตเชียงใหม่ จานวน 14 คน โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ (1) กลุ่มผบู้ ริหาร (2) กลุ่มผู้ ปฏิบัติ (3) กลุ่มกองคลัง เป็นการพัฒนาเชิงคุณภาพโดยใช้ การสัมภาษณ์เชิงลึกแบบรายบุคคล แนวทางการ วิเคราะห์เน้ือหาคาสัมภาษณ์ และได้ใช้กรอบแนวคิดในการปฏิบัติงานที่เป็น ลาดับขั้นท่ีชัดเจนตามวงจรการ พฒั นาระบบ (System Development life Cycle: SDLC) ผลการพฒั นาพบว่า (1) การออกแบบและพัฒนา ระบบ ส่วนของเจ้าหน้าท่ีสามารถนาข้อมูลเข้าระบบข้อมูลในสิทธิของ Admin และมีเคร่ืองมือในการจัดการ ระบบ ส่วนของผู้บริหารสามารถเข้ามาดูข้อมูลได้ 3 รายการ คือ การติดตามงบประมาณ เงินแผ่นดิน การ ตดิ ตามงบประมาณเงินรายได้ และการดูสถติ ิงบประมาณย้อนหลัง 3 ปี ตง้ั แต่ปีพุทธศักราช โดยสามารถเลือก ดูเฉพาะเขตพื้นที่ได้ ดาวน์โหลด และเขียนบันทึกที่หน้าจอท่ีแสดงกราฟได้ (2) การประเมินประสิทธิภาพของ ระบบ ด้านเทคนิค การทดสอบของทุกกระบวนทั้ง 4 ด้าน สามารถทางานได้ตามปกติไม่พบปัญหาใด ด้าน กระบวนการทางานสามารถช่วยลด ข้ันตอนการทางาน (3) การประเมินประสิทธิภาพของการใช้ระบบจาก กลุ่มตวั อยา่ ง พบวา่ ระบบมีประสทิ ธภิ าพและ ประสทิ ธิผลสูงกว่าระบบเกา่ และก่อใหเ้ กิดนวตั กรรมการพฒั นา ระบบติดตามและประเมินผลการใช้งบประมาณของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านได้ ซ่ึงควรมีการ พฒั นาให้สามารถใชง้ านไดจ้ รงิ เพ่ือใหเ้ กดิ ประโยชน์และความยัง่ ยืนตอ่ องคก์ ร คาสาคัญ ระบบตดิ ตามและประเมนิ การใช้งบประมาณ, อปุ กรณเ์ คลื่อนท่ี

หน้า 30 | การจดั การความรสู้ ู่มหาวิทยาลัยนวตั กรรม การจดั การความรู้การสอื่ สารภายในองค์กร กรณศี ึกษา สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน Internal Communication Knowledge Management, A case study of Community of Technology Transfer Center เกรยี งไกร ศรีประเสริฐ1 นริศ กาแพงแก้ว2 เสงยี่ ม คนื ดี3 กลุ ินา ศกั ดิ์ศริ ิศรีฟ้า4 Krienkrai Sriprasert1 Naris Khampangkaew2 Sa-ngiam Khuendee3 Kulina Saksirisrefar4 [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] นกั วชิ าการศกึ ษา1 นักวชิ าการคอมพวิ เตอร์2 นกั วิเคราะห์นโยบายและแผน3 เจ้าหน้าท่ีบรหิ ารงานทวั่ ไป4 สถาบนั ถา่ ยทอดเทคโนโลยีสู่ชมุ ชน มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา บทสรุป การวิจัยครั้งน้ี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการติดต่อส่ือสารของบุคลากรสถาบันถ่ายทอด เทคโนโลยีสู่ ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เก็บรวบรวมข้อมูลจากบุคลกร สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ ชมุ ชน จานวน 17 คน โดยใช้แบบสอบถาม ลักษณะปลายปิดและปลายเปิดและการสร้างเครื่องมือจาลองการ นาเสนอสถานการณ์จริงของผลการดาเนินงานและ เน้ือหาท่ีครบรอบด้าน เพ่ือให้องค์กรเกิดการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ระหว่างผู้บริหารและบุคลากร ผ่าน กระบวนการจัดการความรู้ที่ดี โดยมุ่งหวังให้ได้ซึ่งองค์ความรู้และ แนวทางปฏบิ ตั ิงานทีด่ ี ผลการศึกษาพบว่า ปัญหาการติดต่อสื่อสารด้านผู้ส่งข่าวสารโดยรวมอยู่ในระดับมาก คือ การแจ้ง ข่าวสารกระช้ันชิดเกินไป ล่าช้าเกินไปทาให้ไม่สามารถปฏิบัติงานได้ (µ=4.35, s=0.48) ด้านปัญหาการ ติดต่อส่ือสารด้านตัวข่าวสารโดยรวมอยู่ในระดับมาก และพิจารณาเป็นรายขอ พบว่า มีปัญหาประเด็นด้าน ใจความสาคัญและความยาวของสารท่ีสื่อสารมีความเหมาะสม ความ บิดเบือนของข่าวสารท่ีส่งต่อกันหลาย ทอด และความน่าเช่ือถือได้ของแหล่งข้อมูลข่าวสาร (µ=3.47, s=0.85) และปัญหาการตดิ ต่อสื่อสารด้านผู้รับ ข่าวสารโดยรวมอยูaในระดับมาก เมอื่ พิจารณาเป็นรายข้อพบว่าประเด็นด้านผู้รับข่าวสารมีเวลาในการปฏิบัติ ตามข่าวสารท่ีไดรับจาก การส่งสารกะทันหันหรือระยะเวลาแบบกระช้ันชิดมาก (µ=4.06, s=0.73) และ แนวทางในการ แก้ไขปัญหา ควรสนับสนุนให้ผู้ส่งสารใช้วิธีการหลายอย่าง ได้แก่ การส่งผ่านหัวหน้างานเพ่ือ กระจายต่อข่าวสารแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา การเวียนเร่ืองที่สาคัญเรื่องด่วนถึงตัวบุคคลโดยตรง และ การสaงจด หมายอเิ ล็กทรอนกิ ส์ถงึ บุคลากร คาสาคญั การสอื่ สารภายในองค์กร อินโฟกราฟฟิก เคร่ืองมือจาลอง

การประชมุ สัมมนาเครือขา่ ยการจัดการความรู้ คร้ังท่ี 12 | หนา้ 31 ระบบจัดเก็บเอกสารทะเบยี นประวัติพนักงานในสถาบนั อุดมศกึ ษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา Storage System for Records of Employees in Higher Education Institution, Rajamangala University of Technology Lanna ศรญั ญา อนิ ทร์คาเช้อื 1 พีรวัฒน์ ไชยแก้วเมร์2 บุคลากร มทร.ล้านนา1 ตาแหน่งนักวชิ าการคอมพิวเตอร์ มทร.ล้านนา2 [email protected] [email protected] บทสรุป จากกระบวนการจัดเก็บเอกสารทะเบียนประวัติของพนักงานในสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนาท่ีบรรจุแต่งต้ังตามหน่วยงานต่าง ๆ ทั้ง 6 พื้นท่ี คือ เชียงใหม่ เชียงราย ตาก น่าน พิษณุโลก และลาปาง จัดเก็บในรูปแบบของเอกสารเพียงอย่างเดียว ซึ่งเกิดความยุ่งยากในการขอ สาเนาทะเบียนประวัติ เพ่ือตรวจสอบประวัติ จัดเก็บเป็นฐานข้อมูล รวมทั้งผู้ท่ีเก่ียวข้องในการนาไป ประกอบการปฏิบัติงานด้านบริหารงานบุคคลมีหลากหลายงาน ทาให้เอกสารชารุด สูญหาย และการใช้ สถานทแ่ี ละอปุ กรณ์ในการจัดเกบ็ ที่เพ่ิมมากขน้ึ จงึ ได้นา กระบวนจัดการความรู้มาใช้แก้ไขปญั หา โดยไดจ้ ัดทา ระบบการจัดเก็บเอกสารทะเบียนประวัติ ของพนักงานในสถาบันอุดมศึกษา เพื่ออานวยความสะดวกในการ จดั เกบ็ เอกสาร และชว่ ยลด ปญั หาเอกสารชารดุ การสญู หายของเอกสาร การสบื คน้ ข้อมูลเอกสาร รวมทั้ง กระบวนการ ทางานสะดวกรวดเรว็ และง่ายตอ่ การใชง้ าน ขอ้ เสนอแนะ เพ่ือประโยชน์ตอ่ การปฏิบัติงาน และ การอานวยความสะดวกให้กบั ผูใ้ ชง้ าน และผ้รู ับบริการ จงึ ควรพัฒนาใหส้ ามารถเชอ่ื มโยงระบบที่เกี่ยวขอ้ งกับ งานบุคคลทห่ี ลากหลาย ระบบให้เป็นระบบเดยี วกนั และขยายผลการเกบ็ เอกสารของบคุ ลากรประเภทตา่ ง ๆ คาสาคัญ เอกสารทะเบยี นประวัติ ขยายผล

หนา้ 32 | การจดั การความร้สู ู่มหาวทิ ยาลัยนวัตกรรม ระบบนับจานวนบณั ฑติ เพือ่ การรายงานผลอย่างมีประสิทธภิ าพ ในพธิ ีพระราชทานปริญญาบตั ร Graduate counting system to increase the effectiveness of the graduation report จิรวฒั น์ แก้วรากมุข (Jirawat Kaewrakmuk)1 วีรภทั ร กันแก้ว (Weeraphat Kankaew)2 นกั วิชาการคอมพวิ เตอร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลล้านนา [email protected] [email protected] บทสรุป การจัดการองค์ความรู้ในเร่ือง ระบบนับจานวนบัณฑิต เพื่อการรายงานข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ได้จัดทาข้ึนเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการรายงาน ข้อมูลบัณฑิตท่ีเข้ารับ พระราชทานปริญญาบัตร ซึ่งประกอบด้วยข้อมูล จานวนบัณฑิตทั้งหมด จานวนบัณฑิตท่ีได้รับพระราชทาน ปริญญาบัตรแล้ว จานวนบัณฑิตที่รอรับพระราชทานปริญญาบัตร และข้อมูลทางสถิติ อาทิเช่น อัตราเฉลี่ย จานวนบัณฑิตที่รับพระราชทานปริญญาต่อ นาที และระยะเวลาที่คาดว่าจะรับพระราชทานปริญญาเสร็จส้ิน เป็นต้น โดยมีความถูกต้อง และ แม่นยาตามสถานการณ์จริง รวมถึงสามารถรายงานข้อมูลได้อย่างครบถ้วน ตามท่สี านกั พระราชวัง หรือบคุ คลอ่ืนที่มีความต้องการทราบขอ้ มลู โดยกระบวนการจัดทาระบบดังกลา่ ว ได้ใช้ เครื่องมือ การจัดการความรู้ (KM TOOLS) คือ การทบทวนหลังปฏิบัติการหรือการถอดบทเรียน (After action review, AAR) เป็นหลักแนวคิดในพัฒนาระบบ และนาเทคโนโลยีเซนเซอร์ (Sensor Technology) ตรวจสอบการตัดผ่านปริญญาบัตรเข้ามาประยุกต์ใช้งานในการนับจานวนบัณฑิต แทนการใช้คนควบคุมการ นับจานวนบัณฑิต ทาให้สามารถรายงานข้อมูลได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และแม่นยามากย่ิงข้ึน จา กการ สมั ภาษณ์ผู้ใช้งาน และผทู้ ี่ต้องการทราบขอ้ มูล พบว่ามีความพงึ พอใจในการรายงานขอ้ มูลด้วยระบบนบั จานวน บัณฑิตเป็นอย่างมาก นอกจากน้ี ระบบดังกล่าวได้ มีการจดลิขสิทธิ์เป็นผลงานของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลล้านนาแล้ว ต้ังแตว่ นั ท่ี 26 มกราคม 2560 อีกท้งั ได้นาระบบไปใช้งานกับ มทร.ลา้ นนา ทกุ พน้ื ท่ี ท้ังน้ไี ด้มี การเผยแพร่ และให้คาปรึกษาการจัดทาระบบนับจานวนบัณฑิตด้วยเซนเซอร์ในการประยุกต์ใช้ในงาน พระราชทานปริญญาบัตรกับ มทร.อนื่ ๆ อีกดว้ ย คาสาคญั นับจานวนบณั ฑิต เซนเซอร์นบั จานวน เซนเซอร์ มทร.ล้านนา ปริญญาบตั รล้านนา

การประชุมสมั มนาเครือขา่ ยการจดั การความรู้ ครงั้ ท่ี 12 | หน้า 33 ระบบการสง่ั ซ้อื วสั ดุอปุ กรณ์สานกั งานออนไลน์ The online system for office supplies order purchasing นายวีรภทั ร กนั แก้ว1 นายจิรวัฒน์ แก้วรากมขุ 2 นกั วิชาการคอมพวิ เตอร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา [email protected] [email protected] บทสรปุ จากการสั่งซ้ือวัสดุอุปกรณ์ส้านักงานท่ีผ่านมา ได้พบปัญหาความีซ้าซ้อน และความไม่ถูกต้องของ จานวนวัสดุอุปกรณ์สานักงาน ซ่ึงสาเหตุหนึ่งในน้ัน คือ การบันทึกและรวบรวม ข้อมูลจากเอกสารในรูปแบบ กระดาษ อีกท้ังยังพบว่า มีความยุ่งยากในการสรุปจ้านวนวัสดุ อุปกรณ์ส้านักงาน เพ่ือส่ังซื้อและน้าเสนอต่อ หน่วยงานที่รับผิดชอบ จากปัญหาดังกล่าว จึงได้นาหลักการการถอดความรู้จากผู้รู้สู่ความรู้ชัดแจ้ง (Tacit Knowledge to Explicit Knowledge) เพ่ือนาความรู้มาพัฒนาการส่ังซ้ือวัสดุอุปกรณ์สานักงานได้อย่างเป็น ระบบ โดยมีการปรับเปล่ียน วิธีการสั่งซ้ือวัสดุอุปกรณ์ส้านักงานผ่านระบบออนไลน์ ซึ่งทาให้การส่ังซ้ือ และ การสรุปรายงาน การส่ังซื้อมีความสะดวก ถูกต้อง และรวดเร็ว อีกท้ังระบบการสั่งซื้อวัสดุอุปกรณ์ส้านักงาน ออนไลน์นี้ ยังสามารถสรุปรายงานการส่ังซื้อได้ท้ังไฟล์ Excel และ PDF นอกจากน้ีได้มีการนา หลักการการ ทบทวนหลงั การปฏิบัติงาน (After Action Reviews, AAR) ในการหาข้อบกพร่อง ของระบบ เพื่อเป็นแนวทาง ในการปรบั ปรงุ และพัฒนาระบบใหส้ มบูรณ์ และตรงตามความต้องการของผ้ใู ชง้ านอยู่เสมอ คาสาคญั ส่งั ซอ้ื วสั ดุออนไลน์ วัสดสุ านักงาน วสั ดุออนไลน์

หน้า 34 | การจัดการความรู้สู่มหาวิทยาลยั นวัตกรรม การเชก็ สต็อกศลิ ปวัฒนธรรมผ่านแผนที่ทางวฒั นธรรม : กรณศี กึ ษาอาเภอแม่แจ่ม จังหวดั เชียงใหม่ Cultural Check Stocks through Cultural mapping: case study at Maechaem District, Chiang Mai Province ศักด์นิ รินทร ชาวง้วิ (Mr. Saknarin Chao-ngiw) นักวิชาการศึกษา, ศูนยวัฒนธรรมศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลลานนา [email protected] บทสรปุ การศึกษาทางดานศิลปวัฒนธรรม เพอ่ื การพัฒนาชมุ ชน จาเปนตองมกี ารสารวจทนุ ทางวัฒนธรรมของ ตนเอง เพื่อรักษามรดกทางวัฒนธรรม (Cultural Heritage) ทั้งวัฒนธรรมท่ีจับตองได (Tangible Cultural Assets) และวัฒนธรรมที่จับต องไมได (Intangible Cultural Assets) อันจะนาไปสู แผนความร วมมือ (Cooperation Plan) พัฒนาแผนท่ีวัฒนธรรม (Cultural Mapping) ออกแบบกระบวนการมีสวนรวมเพ่ือให เกิดพื้นที่วัฒนธรรม (Cultural Space) โดยเฉพาะเป าหมายสูงสุดคือ การต อยอดและสงเสริมใหเกิด ผูประกอบการทางวัฒนธรรม (Cultural Entrepreneur) ท่ีสรางรายไดดวยทุนทางศิลปะและวัฒนธรรม ดงั นั้น ความรูสวนใหญ เกิดจากความรูที่มีอยูในตวั คน ท่ีเรียกวา Tacit Knowledge ฉะนั้นจึงตองมี การแปลง ความรูนั้นมาสู Explicit Knowledge ทงั้ การ Externalization และ Combination ทั้งที่เปนมรดกภูมิปัญญา ท่ีจับตองได (Tangible Heritage) และ มรดกภูมิปญญาท่ีจับตองไมได (Intangible Heritage) ในพ้ืนท่ีหนึ่งๆ ผานการบอกเลาเร่ืองราว (Story Telling) ทั้งการสัมภาษณเชิงลึก บันทึกภาพ สังเกต มาสูการทา แผนที่ทาง วัฒนธรรม (Cultural Mapping ) และพื้นท่ีทางวัฒนธรรม (Cultural Space) เพื่อการพัฒนาใน ด าน เศรษฐกิจและสงั คมตอไป คาสาคัญ Cultural Heritage Cultural Mapping Cultural Check Stocks

การประชมุ สมั มนาเครอื ข่ายการจัดการความรู้ ครง้ั ท่ี 12 | หน้า 35 องค์ความรู้ดา้ นการวิจัยสูก่ ารเพมิ่ ปรมิ าณงานวิจัยในองค์กร The Research Knowledge to Increasing Organization Research Number คงศกั ด์ิ ตยุ้ สบื (Khongsak Tuisuep)1 ภานวุ ัฒน์ วริ ัชเกษม (Panuwat Verutcarsam)2 กร จันทรวโิ รจน์ (Korn Chantaraviroat)3 กนกวรรณ เวชกามา (Kanokwan Vechgama)4 1อาจารย์สาขาบริหารธรุ กจิ 2เจ้าหนา้ ทบี่ รหิ ารงานท่วั ไป 3อาจารยส์ าขาบริหารธุรกิจ 4ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยส์ าขาวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้ นนา ลาปาง [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] บทสรปุ กิจกรรมการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อการเพ่ิมปริมาณผลงานวิจัยระดับสถาบัน ขับเคล่ือนโดย ทีมงานคณาจารย์และบุคลากรภายในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลาปาง โดยใช้เครื่องมือการ จัดการความรู้ด้านฐานความรู้บทเรียนและความสาเร็จ และ การเล่าเร่ือง โดยกิจกรรมมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพ่ือส่งเสริมสนับสนนุ ให้มีกระบวนการด้านการวิจยั เป็น แนวทางสาหรบั บุคลากร 2. เพื่อเพิม่ จานวนการขอ สนับสนุนทุนวิจัยในปีถัดไปหลังจากการจัด กิจกรรม ผลจากการจัดกิจกรรมได้รูปแบบในการดาเนินการต้ังแต่ การขอสนับสนุนงบประมาณ จนกระทั่งถึงการเขียนบทความวิจัยในรูปแบบกระบวนการชื่อ ESPUA ซ่ึงย่อมา จาก ค้นหาความ เช่ียวตนเอง (Expertise), ทราบแหล่งทุนเป้าหมาย (Source of fund), เขียนโครงร่าง นาเสนอ ขอสนับสนุนทุน (Proposal and research), นาผลจากการวิจัยไปใช้ประโยชน์ (Useful research) และ การเขียนบทความวิจัย (Article of research) ผลจากดาเนินกิจกรรมด้านการ วิจัยตามกระบวนการ ส่งผลให้ปริมาณการขอสนบั สนนุ ทนุ วิจัยเพ่ิมขึน้ จากปี 2559 รอ้ ยละ 40 เป็นระยะเวลา 2 ปี คาสาคัญ การวิจัย องค์ความรู้ การจัดการความรู้

หนา้ 36 | การจดั การความรูส้ ู่มหาวิทยาลัยนวตั กรรม การประยุกตใ์ ช้ Google Application เพื่อการจดั การข้อมูลสารสนเทศ และเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในงานประกัน คุณภาพการศึกษา กองวเิ ทศสัมพนั ธ์และการประกนั คณุ ภาพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ัย Applying Google Application to disposal Information Management System And to Increase Effectiveness of the system for Quality Assurance Department. Division for International Affairs and Quality Assurance. Rajamangala University of Technology Srivijaya ชนาธิป ลีนนิ (Chanatip Leenin) จุฑาทิพย์ แซล่ ่ิม (Jutathip Sae - Lim) เจ้าหน้าทบี่ ริหารงานท่ัวไป กองวิเทศสัมพนั ธ์และการประกันคุณภาพ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ยั [email protected] บทสรุป งานประกันคุณภาพการศึกษาเป็นภารกิจที่สาคัญและถือเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการ บริหาร การศึกษา ท่ีต้องดาเนินการอย่างต่อเน่ือง เป็นปัจจุบันและมีประสิทธิภาพ การประยุกต์ใช้ Google Application ซึ่งเป็นแอปพลิเคชันสาเร็จรูปกับงานประกันคุณภาพการศึกษา สามารถ ประยุกต์ใช้งานได้โดย ไม่เสียค่าใช้จ่าย ตอบสนองแนวคิดในการลดการลงทุนและได้ผลลัพธ์ท่ีมี ประสิทธิภาพ สามารถนามาลด ข้ันตอนและกระบวนการในการทางาน ตลอดจนการตรวจสอบ ข้อมูลและการเข้าถึงข้อมูลร่วมกันของ ผู้ปฏิบัติงาน จากผลการดาเนินการประยุกต์ใช้ Google Application ในงานประกันคุณภาพการศึกษา ใน 2 กิจกรรมหลัก ประกอบไปด้วย 1) ระบบรายงานข้อมูลสารสนเทศตามรอบระยะเวลาการดาเนินงานออนไลน์ (ด้วย Google Sheet , Google Docs) และ 2) ระบบแบบตอบรับแบบสารวจและแบบประเมินผลออนไลน์ (ด้วย Google Form) ส่งผลในการช่วยลดขั้นตอน กระบวนการในการทางาน ตลอดจนการ ตรวจสอบข้อมูล ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น จากเดิมร้อยละ 44.70 เป็นร้อยละ 98.61 โดยประสิทธิภาพในการทางานสูงข้ึนจาก เดมิ คดิ เป็นร้อยละ 54.67 คาสาคญั การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ ข้อมูลสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ งานประกนั คณุ ภาพ

การประชมุ สมั มนาเครือข่ายการจดั การความรู้ คร้ังท่ี 12 | หนา้ 37 การบริหารจดั การการฝกึ ปฏิบัติการสอนในสถานศกึ ษาของ หลักสตู รครุศาสตร์อุตสาหกรรมบณั ฑติ Management of Teaching Practice in Institutes of Bachelor of Science in Technical education อนกุ ูล นนั ทพุธ (Anugool Nuntaput)1 ตวงรัก กาญจนนกุ ลู (Tuangrak Kanjananukul)2 1หัวหนา้ สานักงานคณบดี 2เจ้าหน้าทบ่ี รหิ ารทั่วไป คณะครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มทร.ศรีวิชยั [email protected] [email protected] บทสรุป การบริหารจัดการการฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาของหลักสูตรครุศาสตร์ อุตสาหกรรมบัณฑิต (หลักสตู ร 5 ปี) ได้ดาเนินการตามพระราชบัญญตั ิสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ ทก่ี าหนดให้ ผู้ขอรับใบอนุญาต เป็นผู้ประกอบวิชาชีพควบคุม ต้องผ่านการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามหลักสูตร ปริญญาทางการศึกษาเป็นเวลา ไม่น้อยกว่าหน่ึงปี และผ่านเกณฑ์การประเมินปฏิบัติการสอนตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขที่คณะกรรมการคุรุ สภากาหนด และประกาศคุรุสภา เร่ือง การรับรองปริญญาและ ประกาศนียบัตรทางการศกึ ษาเพื่อการประกอบวิชาชีพ ขอ้ ๑๓ ทกี่ าหนดให้ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู ที่คุรุสภาให้การรับรองเป็นคุณวุฒิท่ีขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ท้ังนี้ ผู้สาเร็จการศึกษาต้องผ่านการ รบั รองมาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพครูตามที่คุรุสภากาหนด งานฝกึ ปฏิบัติการสอนจึงได้จัดทาเปน็ คู่มือการ ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู เป็นแนวทางในการบริหารจัดการให้ นักศึกษา อาจารย์นิเทศก์ ครูพ่ีเลี้ยง สถานศึกษาศึกษาเครือข่ายและบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องได้ใช้สาหรับการฝึกปฏิบัติการ สอนของนักศึกษา และเร่ิม ใช้คู่มือในการบริหารจัดการมาตั้งแต่ พ.ศ. 2557-ปัจจุบัน โดยคู่มือฉบับน้ีจะมีเน้ือหาท่ี เกี่ยวข้องกับ บทบาท หน้าท่ีของบุคลากรและหน่วยงานที่เก่ียวข้องกับการฝึกปฏิบัติการสอน นักศึกษาปฏิบัติการสอน อาจารย์ นิเทศก์ ครูพ่ีเลี้ยง ขั้นตอนการฝึกปฏิบัติการสอน การประเมินผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู เกณฑ์การ ประเมินผลการปฏิบัติการสอน เครื่องมือประเมินการปฏิบัติการสอนของนักศึกษา เป็นต้น และครอบคลุม ขน้ั ตอนการ ดาเนนิ งาน 3 ขัน้ ตอนคือ 1) ก่อนส่งตวั นักศึกษาไปฝึกปฏิบัติการสอน 2) ระหว่างท่ีนักศกึ ษากาลัง ฝกึ ปฏิบัติการสอน และ 3) หลังจากนักศึกษาฝึกปฏิบัติการสอนเสร็จส้ิน จากการดาเนินการเป็นระยะเวลา 4 ปี (2557-2560) มีผลสาเร็จจากการบรหิ ารจดั การการฝึกปฏิบัตกิ ารสอน 4 ประการคอื จานวนอาจารยน์ ิเทศท่ี มคี ณุ สมบตั ิครบถว้ น จานวน 25 คน จานวนครพู เี่ ลีย้ งจานวน 140 คน เครือข่าย สถานศึกษาเครือขา่ ยสาหรับ การฝึกปฏิบัติการสอนที่เป็นไปตามเกณฑ์ที่คุรุสภากาหนดจานวน 31 แห่ง และมีจานวน นักศึกษาท่ีสาเร็จ การศกึ ษาแลว้ ได้รับใบประกอบวชิ าชีพครู จานวนทง้ั ส้ิน 424 คน คาสาคัญ การบรหิ ารจัดการ การปฏบิ ตั ิการสอน คุรุสภา วิชาชีพครู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook