Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore RMUTI

RMUTI

Published by taweelap_s, 2019-05-17 00:18:28

Description: RMUTI

Search

Read the Text Version

พฒั นาคน พฒั นางาน พัฒนาองค์กร พฒั นาประเทศ Developing Human resources, Operations, the Organization, and the Country ไกรศรี ศรีทัพไทย (Kraisri Srithupthai)1 พเิ ชษฐ เวชวิฐาน (Pichet Wechvitan)2 นพดล หงษส์ วุ รรณ (Noppadol Hongsuwan)1 ขนษิ ฐา ทุมา (Kanitta Thuma)1 รตั นา อินทเกตุ (Rattana Inthaket)1 อาจารย์ สาขาวิชาการแพทย์แผนไทย คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตสกลนคร1 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ สาขาวิชาการแพทยแ์ ผนไทย คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร2 .............................................................................................. .................................................. บทสรปุ การทางานในปัจจุบันการสอนงานเป็นปัจจัยสาคัญที่สุดของการส่งเสริมให้เกิดการพัฒนา งาน พัฒนาคน อย่างมั่นคง และย่ังยืน นั้น จะต้องอาศัยความร่วมมือของการทางาน สาขาวิชา การแพทย์แผนไทย คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขต สกลนคร ได้ทาความร่วมมือข้อตกลงระหว่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขต สกลนคร กบั บริษัทเจริญสุข ฟาร์มา ซัพพลาย จากัด จงั หวดั นครปฐม และ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี ราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร กับ วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ สะหวันนะเขต สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว เพ่ือเป็นการตระหนักถึงความสาคัญในการพัฒนางาน เพ่ือนสอนเพ่ือน เพื่อให้เกิดทักษะการเรียนรู้จริง ไม่ว่าจะเป็นการเรียนรดู้ ้านการปฎิบัติการ การผลิตวัตถุดิบสมุนไพร ที่ไดม้ าตรฐาน และเป็นการพัฒนาคน ด้านวิชาการการแพทยแ์ ผนไทย และด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ที่เกี่ยวข้อง เพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ให้เป็นมาตรฐานสากล พัฒนาองค์ความรู้ บุคลากร และทักษะต่างๆ ทางวิชาการ ไปสู่การปฏิบัติงานด้านการแพทย์แผนไทยและวิทยาศาสตร์สุขภาพ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ คาํ สําคญั พฒั นาคน พัฒนางาน พฒั นาองคก์ ร พฒั นาประเทศ

Summary Factor in promoting developments of the work and personnel in the organization. For stability and sustainability of such developments, cooperation at work is required. In case of Thai Traditional Medicine Major, Natural Resources Faculty, Rajamangala University of Technology Isan Sakonnakhon Campus, collaborative work is endorsed via agreements between Rajamangala University of Technology Isan Sakonnakhon Campus and Charoensuk Pharma Supply Co.,Ltd., Nakhon Pathom Province, and also between Rajamangala University of Technology Isan Sakonnakhon Campus and College of Health Sciences Savannakhet, Lao PDR. These agreements were made with recognition in importance of operational development via peer coaching in the workplace. The main objective is to promote practical skills in terms of operational learning and standard herbal raw materials processing. The collaboration also aims to develop human resources regarding technical Thai medical profession and relevant health sciences in order to improve the country’s teaching and learning arrangements to meet international standards. The knowledge, personnel, and technical skills will be developed efficiently toward effective operations in the fields of Thai medicine and health sciences. Keyword: Developing Human resources, Operations, Organization, Country บทนาํ การทางานเป็นปัจจัยสาคัญท่ีสุดของการส่งเสริมให้เกิดการพัฒนางาน พัฒนาคน อย่าง ม่ันคง และย่งั ยนื สาขาวชิ าการแพทย์แผนไทย คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร ได้ทาความร่วมมือข้อตกลงระหว่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร กับ บริษัทเจริญสุข ฟาร์มา ซัพพลาย จากัด จังหวัดนครปฐม และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร กับ วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ สะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ได้ตระหนกั ถึงความสาคัญในการพัฒนางาน ด้วยการผลิตวัตถุดิบสมุนไพรท่ีได้มาตรฐาน การพัฒนาคนดา้ นวิชาการการแพทย์แผนไทย และด้าน วิทยาศาสตรส์ ุขภาพทเ่ี ก่ยี วข้องเพื่อพัมนาการจัดการเรียนการสอน พัฒนาองค์ความรู้ บุคลากร และ ทกั ษะต่างๆ ทางวิชาการ ไปสกู่ ารปฏบิ ัติงานด้านการแพทย์แผนไทยและวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ อยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ อย่างมัน่ คง ยั่งยืน ตอ่ ไป

วิธีการดําเนนิ งาน 1. ติดต่อประสานงานเพ่ือทาความร่วมมือกาหนดกรอบความร่วมมือ ซึ่งรายละเอียดในแต่ ละโครงการท้ังสองฝ่าย จะได้ร่วมกนั พิจารณา 2. จัดพธิ ีทาบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับบรษิ ัทเจริญสุข ฟาร์มา ซัพพลาย จากัด ที่ศาลา กลางจังหวดั นครปฐม โดยมที า่ นผวู้ ่าราชการจังหวัดนครปฐมเป็นประธานในงาน 3. จัดพิธีทาบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับ วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ สะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยมรี ัฐมนตรดี า้ นการสาธารณสขุ สาธารณรฐั ประชาธิปไตย ประชาชนลาวมารว่ มลงนาม 4. ดาเนินกิจกรรมตามข้อตกลงท่ีกาหนดไว้โดยภาคีทั้งสองฝ่ายจะสนับสนุน อานวยความ สะดวก และส่งเสริมความร่วมมือในสาขาวิชาการแพทย์แผนไทย (หลักสูตรการแพทย์แผนไทย บณั ฑติ ) หรอื สาขาอน่ื ๆ ทเี่ กี่ยวข้อง แก่อาจารย์ นักศึกษา บคุ ลากร ซ่ึงรวมถึงกจิ กรรมดงั ตอ่ ไปน้ี ๔.๑ การบรกิ ารวชิ าการ ๔.๒ การจดั การเรยี นการสอน ๔.๓ การฝึกงานนักศึกษา ๔.๔ การวจิ ัย ๔.๕ การผลิตวตั ถดุ บิ สมนุ ไพร ผลและอภปิ รายผลการดาํ เนนิ งาน วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ สะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ผลการดาเนนิ งานจากทไ่ี ด้ดาเนินการทาความร่วมมือถูกกตอ้ งเรียบรอ้ ยแล้ว นั้น ในสว่ นของ วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ สะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ได้จัดทา โครงการให้บริการวิชาการโครงการส่งเสริมการอนุรักษ์ภูมิปัญญาและการดูแลสุขภาพการใช้ สมุนไพร โดยได้ดาเนินการในวันท่ี ๒๐-๒๒ มิถุนายน ๒๕๖๐ ณ วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ สะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และในเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ จะมีการจัด กิจกรรมสัมพันธ์ท่ีดีต่อกันโดยมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร มหาวทิ ยาลยั นครพนม มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และ วิทยาลัยวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ สะหวนั นะเขต เพ่ือเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการพัฒนางานด้านการบริการวิชาการ การจัดการเรียนการสอน และการวิจัย ตลอดจนการศึกษาดูงาน ให้แก่ นักศึกษา บุคลากร ที่เก่ียวข้องอย่างม่ันคง และย่ังยืน ตอ่ ไป

พธิ ลี งนามความร่วมมือ

กจิ กรรมบริการวิชาการท่เี ป็นตวั ขบั เคล่อื น

บรษิ ทั เจริญสุข ฟาร์มา ซัพพลาย จากัด จงั หวัดนครปฐม หลังจากทีได้ดาเนินการ ทาความร่วมมือแล้ว ได้ตระหนักถึงความสาคัญในการพัฒนางาน ด้ายการผลิตวัตถุดิบสมุนไพรที่ได้มาตรฐาน เพ่ือให้สอดคล้องกับการดาเนินงานหลักของแพทย์แผน ไทยด้านสมุนไพรไทย การพัฒนาคนด้านวิชาการการแพทย์แผนไทย ได้จัดส่งนักศึกษาไปฝึงานด้าน เภสัชกรรมไทย เพ่ือเป็นการฝึกปฎิบัติอย่างจริงและเป็นประสบการณ์ให้กับนักศึกษา ตลอดจนการ ขยายแหล่งเพาะปลกู สมุนไพรเพื่อสง่ บริษัทโดยการสง่ เสริมการปลกู สมนุ ไพรคุณภาพตามระบบ GAP เพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ได้เชิญเจ้าของสถานประกอบการมาเป็นอาจารย์บรรยายพิเศษ ด้านการรักษาคุณภาพสมุนไพร และการสังเกตสมุนไพรท่ีมีประสิทธิภาพตลอดจนการพัฒนาองค์ ความรู้ บุคลากร และทักษะต่างๆ ทางวิชาการ ไปสู่การปฏิบัติงานด้านการแพทย์แผนไทยและ วิทยาศาสตร์สขุ ภาพ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ อย่างม่ันคง ย่ังยนื เพื่อขับเคลื่อน Thailand 4.0 ต่อไป



ผลสาํ เรจ็ ของงาน/แนวทางปฎิบัตทิ ีด่ ี ไดส้ ร้างความร่วมมือและพัฒนาเครอื ข่ายทงั้ ในและตา่ งประเทศ เพื่อเปน็ การเพ่มิ ประสทิ ธิภาพในการทางาน และเป็นการสรา้ งและต่อยอดองคค์ วามรู้ให้กบั บคุ ลากร อาจารย์ และ นักศึกษา อีกทั้งผทู้ ี่มสี ่วนเกีย่ วข้องทง้ั หมดยังสามารถใชป้ ระโยชนข์ องการสรา้ งความรว่ มมือและ พฒั นาเครือขา่ ยได้อย่างสงู สดุ

สรุป ความสาเร็จของการดาเนินกิจกรรมการทาความร่วมมือกับสถานประกอบการ และ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องด้านสุขภาพ เน้นเรื่องการแบ่งปันความรู้ การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เพ่ือช่วย เพ่ือน ใหเ้ กิดงาน เกดิ การพัฒนาองค์ความรู้ และแนวปฎบิ ัติที่ดี น่ีคอื การพัฒนาคน จากนั้นการทเ่ี รา ได้ร่วมมือกันพัฒนาในสิ่งท่ีนตเองชอบแล้วจะส่งผลทาให้เกิดการพัฒนางาน พัฒนาองค์กร และ พัฒนาประเทศชาติ สามารถเป็นต้นแบบที่ดีให้กับหน่วยงานอื่นที่เก่ียวข้อง หรือผู้ท่ีสนใจในเน้ือหา กิจกรรมที่สัมพันธ์อันดี ไปปรับใช้ในการทางานในปัจจุบัน จึงเรียกว่า การจัดการความรู้ไปสู้แนว ปฎิบตั ิท่ีดี เอกสารประกอบผลงาน บนั ทกึ ข้อตกลง ระหวา่ งมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตสกลนคร กับ บรษิ ัทเจริญสุข ฟาร์มา ซัพพลาย จากดั บนั ทกึ ข้อตกลง ระหว่างมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตสกลนคร กบั วทิ ยาลัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ สะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการสง่ เสรมิ การอนรุ กั ษภ์ ูมปิ ัญญาและการดแู ลสุขภาพการใช้ สมุนไพร มติสภามหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอสี าน หนงั สอื ขอแสดงความยินดีกับดษุ ฎบี ณั ฑิตกติ ตมิ ศกั ดิ์

การสมคั รบญั ชสี มาชกิ อินเทอร์เนต็ แบบช่วั คราว ด้วยเครอ่ื งอ่านบตั รประชาชน Internet Account Registration For non-members by using the ID card reader ชยั วฒั น์ แดงจนั ทึก1 พลากร ชาญสูงเนนิ 1 มงคล ทองคา1 ปรชี า สมหวัง2 1นักวชิ าการคอมพิวเตอร์ สานักวทิ ยบริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน 2อาจารย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอสี าน อเี มล : [email protected], [email protected], [email protected] [email protected] .............................................................................................. ............................................................ บทสรุป บริการเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตของมหาวทิ ยาลยั เปน็ การใหบ้ ริการตามพระราชบัญญัติว่าดว้ ย การกระทาความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ ต้องผ่านขั้นตอนลงทะเบียนในระบบจัดการบัญชีสมาชิกอินเทอร์เน็ต เพ่ือ ขอรับรหัสผู้ใช้และรหัสผ่านสาหรับใช้บริการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย แต่ปัญหาของการลงทะเบียน สาหรับบุคคลภายนอกที่ยังไม่เป็นสมาชิกในระบบการให้บริการสารสนเทศของมหาวิทยาลัย พบว่าเจ้าหน้าท่ีต้อง กรอกข้อมูลของแต่ละบุคคลในระบบทีละคน หากมีผู้ขอใช้จานวนมากจะส่งผลใหผ้ ู้ขอใช้บริการต้องเสียเวลารอกรอก ขอ้ มูลการลงทะเบียนทาให้เกิดความล่าช้าของการให้บริการ วตั ถุประสงคข์ องการวิจัยนี้เพื่อลดขั้นตอนและระยะเวลา ในการลงทะเบียนบริการบัญชีสมาชิกอินเทอร์เน็ตแบบช่วั คราว จากการร่วมกันแลกเปลี่ยนองค์ความรู้แบบชุมชนนกั ปฏิบัติ (Communities of Practice หรือ CoP) และผลจากข้อสรุปจากความรู้ที่มีอยู่ในตัวของบุคคล (Tacit Knowledge) ได้พัฒนาโปรแกรมอ่านบัตรประชาชนและดาเนินการลงทะเบียน ผลการดาเนินงานแสดงให้เห็นถึง ประสิทธิภาพของระบบสามารถกาหนดรหัสผ้ใู ชแ้ ละรหสั ผา่ นแบบอัตโนมตั แิ ละลดระยะเวลาและข้ันตอนปฏิบัติงานใน การลงทะเบยี นบรกิ ารบัญชสี มาชกิ อนิ เทอรเ์ นต็ แบบชว่ั คราวลงไดร้ อ้ ยละ 87.04 ของการลงทะเบียนแบบกรอกข้อมลู คําสาํ คญั การจดั การความรู้ เครอื่ งอา่ นบตั ร สมคั รอินเทอร์เน็ต อนิ เทอร์เน็ตชวั่ คราว Summary Computer network and internet service is a service under the computer service of Law in Thailand. The service must go through the registration process in the internet member account management system. It is the process of receiving user IDs and passwords for the use of university’s computer network services. The problems of registration process for outsiders who are non- members that the staff must fill out the information of each person in the system one by one. Many people need to wait to fill in the registration information for a long time resulting in delays in the service. The purpose of this research is to reduce the steps and timing of registering Internet non- membership services. It is a sharing the knowledge of the community of practitioners from the knowledge contained in the person that has been developed a program to read ID cards and register. As a result shown that propose method can improve performance of shorten the time and work procedures for registering Internet non-membership services by 87.04 percent. Keyword: Knowledge management, Card Reader, Internet register, Non-members account

บทนาํ บริการเครือข่ายและอินเทอร์เน็ตของมหาวิทยาลัยให้บริการเป็นไปตามข้อปฏิบัติของพระราชบัญญัติว่าดว้ ย การกระทาความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ ทางมหาวิทยาลัยจึงได้มีระเบียบและแนวปฏิบัติด้านการใช้ทรัพยากร สารสนเทศเพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจของการให้บริการบุคลากรโดยเฉพาะบริการเครือข่ายและอินเทอร์เน็ต ต้องมี ความรู้จากการนาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ ซ่ึงการให้บุคลากรได้แลกเปล่ียนความรู้พัฒนาทักษะ ความเข้าใจ และ ความคิดที่แตกต่างกัน เป็นส่ิงท่ีจะสร้างความรู้และเป็นนักนวัตกรรมคิดค้นส่ิงใหม่ได้น้ันต้องอาศัยการเรียนรู้และมี กระบวนการพัฒนาตนเองประกอบด้วย 1) วางแผนเรียนรู้ด้วยตนเอง 2) พัฒนาความรู้เชิงเทคนิค 3) พัฒนาทักษะ ความรู้ใหม่ 4) ใช้เคร่อื งมือช่วยเรยี นรู้ 5) ปรบั พฤตกิ รรมสร้างบรรยากาศที่สง่ เสริมนวตั กรรม 6) ค้นหาโอกาส 7) สร้าง ผังความคิด 8) ทดลองความคิดนวัตกรรม 9) ประเมินความคิดสร้างนวัตกรรม 10) ไม่ละเลยความขัดแย้งเชิง สร้างสรรค์หากบุคลากรมีพฤติกรรมและทักษะในการเรียนรู้ด้วยตนเอง จะทา ให้องค์กรมีบุคลากรที่มีความรู้ หลากหลาย มีทักษะในการปฏิบัติงานได้ดีย่ิงข้ึน (มุจลินทร์ ผลกล้า, วสันต์ อติศัพท์, อิ่มจิต เลิศพงษ์สมบัติ, และ ชิด ชนก เชิงเชาว์, 2558) ซึ่งระบบเทคโนโลยีสารสนเทศจะมีบทบาทต่อการบริหารจัดการความรู้เป็นอย่างยิ่งซึ่งข้อมูล สารสนเทศ (Information) ไม่ใช่ความรู้ หากแต่เป็นข้อมูล (Data) ซึ่งเป็นข้อมูลดิบที่ยังไม่มีการแปลความหมาย สารสนเทศ (Information) เป็นข้อมูลที่ผ่านกระบวนการเรียบเรียง ตีความ วิเคราะห์ และให้ความหมายแลว้ ความรู้ (Knowledge) คือส่ิงที่ได้จากกระบวนการที่มนุษย์รับข้อมูลผ่านกระบวนการคิด เปรียบเทียบเช่ือมโยง จนเกิดเป็น ความเขา้ ใจและนาไปใช้ (บษุ กร วฒั นบุตร, 2557) ความรู้ท่ีมีอยู่ในตัวคนโดยนัยเป็นความรู้ที่สามารถถ่ายโอนผ่านกระบวนการขัดเกลาทางสังคมท่ีเป็นความรู้ โดยปริยายในผอู้ ื่น ซ่ึงความรู้โดยปรยิ ายน้ี จะกลายเป็นความรู้ทชี่ ัดแจ้งผ่านกระบวนการถ่ายโอนความรู้ โดยความรูท้ ี่ ชัดแจ้งจะสามารถโอนไปยังความรู้ท่ีชัดแจ้งในคนอ่ืน ๆ ผ่านกระบวนการของการรวมกัน โดย The SECI model (กัลยารัตน์ ธีระธนชัยกุลม, 2557) (นลวัชร ขุนลา และเกษราภรณ สุตตาพงค์, 2558) เป็นกระบวนการในการสร้าง ความรู้ท่ีเกิดจากความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) และความรู้ท่ีฝังลึกอยู่ในตัวบุคคล (Tacit Knowledge) ท่ี ประกอบด้วย 4 กระบวนการ ประกอบดว้ ย S = Socialization คือ การสร้างความรู้ด้วยการแบ่งปันประสบการณ์โดยการพบปะสมาคม และพูดคุยกับ ผอู้ น่ื ซ่งึ จะเปน็ การถา่ ยทอด แบง่ ปนั ความร้ทู ีอ่ ย่ใู นตัวบคุ คลไปให้ผอู้ ่ืน E = Externalization คอื การนาความรูใ้ นตวั บคุ คลท่ีได้นามาพูดคยุ กันถา่ ยทอดออกมาใหเ้ ป็นสง่ิ ท่ีจบั ต้องได้ หรอื เป็นลายลักษณอ์ กั ษร C = Combination คือ การผสมผสานความร้ทู ี่ชดั แจง้ มารวมกนั และสร้างสรรค์สง่ิ ใหม่ ๆ เพอ่ื ให้สามารถนา ความรู้นน้ั ไปใชใ้ นทางปฏบิ ตั ิได้ I = Internalization คือ การนาความรู้ท่ีได้มาใหม่ไปใช้ปฏิบัติหรือลงมือทาจริง ๆ โดยการฝึกคิด ฝึก แกป้ ญั หาจนกลายเป็นความรแู้ ละปรบั ปรงุ ตนเอง ความรู้ที่ฝังลึกอยู่ในตัวบุคคล (Tacit Knowledge) เป็นส่วนสาคัญของบุคลากรในสานักวิทยบริการและ เทคโนโลยสี ารสนเทศและสามารถนามาประยุกตใ์ ช้กับกระบวนการทางานดา้ นตา่ ง ๆ ได้ (กติ ตญิ าภรณ์ ซุยลา, 2550) สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ได้ให้ความสาคัญด้าน การดาเนินการด้านการจัดการความรู้ในองค์กรมาใช้ ประกอบกับมหาวิทยาลัยได้ให้ความสาคัญและผลักดันให้มีการ จัดการความรู้ในองค์กรอย่างต่อเนื่อง จึงมีการดาเนินการตั้งชุมชนนักปฏิบัติ ซ่ึงชุมชนคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี สารสนเทศได้ดาเนินการรวบรวม สร้าง จัดระเบียบ แลกเปลี่ยน และประยุกต์ใช้ความรู้ในองค์กร โดยประเด็นปัญหา ของการให้บริการอินเทอร์เน็ตของบุคคลภายนอก พบปัญหาว่าต้องลงทะเบียนในระบบจัดการบัญชีสมาชิก อินเทอร์เน็ต เพื่อขอรับรหัสผู้ใช้และรหัสผ่านสาหรบั ใช้บรกิ ารเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย ด้วยการกรอก ข้อมูลของแต่ละบุคคลในระบบทีละคน หากมีผู้ขอใช้จานวนมากจะส่งผลให้ผู้ขอใช้บริการต้องเสียเวลารอการ ลงทะเบียนทาให้เกิดความล่าช้าของการให้บริการ ดังนั้นงานวิจัยน้ีจึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือลดขั้นตอนและระยะเวลาใน การลงทะเบียนบริการบัญชีสมาชิกอินเทอร์เน็ตแบบชั่วคราว ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกบั

คอมพวิ เตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ตามความในมาตรา ๒๖ วา่ ดว้ ย ผใู้ ห้บรกิ ารต้องเก็บรกั ษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ไว้ ไม่น้อยกว่าเก้าสิบวันนับแต่วันที่ข้อมูลน้ันเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ผู้ให้บริการจะต้องเก็บรักษาข้อมูลของผู้ใช้บริการ เท่าท่ีจาเป็นเพื่อใหส้ ามารถระบุตัวตนของผูใ้ ช้บรกิ ารน้ันได้นับตงั้ แต่เรม่ิ ใช้บริการ วิธีการดําเนนิ งาน แนวทางการดาเนินงานของการจัดการความรู้เพื่อแก้ปัญหาการบริการระบบการสมัครบัญชีสมาชิก อินเทอร์เน็ตแบบช่ัวคราว ซ่ึงอาศัยเคร่ืองมือชุมชนนักปฏิบัติ (Communities of Practice หรือ CoP) เปนเคร่ืองมือ การจัดการความรูก่อใหเกิดพฤติกรรมการแลกเปล่ียนเรียนรูตลอดเวลา ซึ่งมีประเด็นสาระหรือหัวขอความรู (Knowledge Domain) ที่สมาชิกมีความสนใจรวมกันที่จะพูดคุยแลกเปลี่ยนกัน และสรางความสัมพันธในกลุมด้วย กันซ่ึงมาจากตางหนวยงาน หรือต่างองคกร ชวยเหลือซึ่งกันและกันในการแกไขปญหา โดยเน้นให้สมาชิกซ่ึงเปนผู ปฏิบัติงานจริงในเรื่องนั้น ๆ นาความรูที่ไดจากการปฏิบัติงาน เชน เคล็ดลับ แนวทางแกไขปญหา และแนวปฏิบัติที่ เป็นเลิศ (Best Practice) มาแลกเปล่ียนและพัฒนา (สมชัย เจียรกุล, 2557) รวมท้ังสรางฐานขอมูล ความรูหรือแนว ปฏิบัติรวมกัน โดยมขี ัน้ ตอนการดาเนินงานดังนี้ 1) พูดคุยปัญหาที่พบและให้สมาชิกเสนอความคิดเห็นปัญหาที่แท้จริงเกิดจากอะไร ส่วนไหนของการ ปฏบิ ตั ิงาน 2) เมอื่ พบปญั หาท่ีตอ้ งการแกไ้ ข สมาชกิ ศกึ ษาขอ้ มูล เครอ่ื งมอื และแนวทางวธิ กี ารแก้ปัญหาทดี่ ีทสี่ ดุ 3) ดาเนนิ การพัฒนาจดั ทาระบบเพอ่ื แก้ปญั หา 4) ทดสอบการใชง้ าน สังเกตการเปล่ยี นแปลงของปัญหา 5) สรปุ ผลการดาเนนิ งานและการพฒั นาเพิ่มเตมิ การใช้วิธีการชุมชนนักปฏิบัติมาเป็นเคร่ืองมือในการจัดการความรู้ ซ่ึงเป็นกลุ่มคนที่มาจากกลุ่มงานเดียวกัน มีความสนใจในเรอื่ งเดยี วกัน รวมตวั กันอย่างเปน็ ทางการและไม่เปน็ ทางการ โดยมวี ัตถปุ ระสงค์เพอ่ื แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสร้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ (จรีรัตน์ สุวรรณ์, 2553) ในเร่ืองการแก้ปัญหาบริการระบบการสมัครบัญชีสมาชิก อินเทอร์เน็ตแบบช่ัวคราว โดยเน้นการลดระยะเวลาในการปฏิบัติงานส่วนของการกรอกบันทึกข้อมูลของผู้ขอใช้ บริการ ดว้ ยการใชเ้ คร่ืองอ่านบัตรประจาตัวประชาชน ซึง่ นอกจากน้ียงั สามารถนาวิธกี าร เครอ่ื งมือนไ้ี ปประยุกต์ใช้กับ ระบบงานอ่ืน ๆ เพอื่ เพ่ิมประสทิ ธิภาพการปฏบิ ตั งิ านหรือการให้บริการได้ ผลและอภิปรายผลการดําเนนิ งาน จากการแลกเปล่ียน และประยุกต์ใช้ความรู้ในองค์กร ซึ่งประเด็นปัญหาของการให้บริการอินเทอร์เน็ตของ บุคคลภายนอก จากกระบวนการเดิมมขี ั้นตอนประกอบด้วย 1) ผใู้ ช้ขอลงทะเบียนกิจกรรมผ่านระบบ 2) ผดู้ ูแลระบบ อนุมัติกจิ กรรมและกาหนดผ้รู บั ผิดชอบ 3) กรอกขอ้ มูลบคุ คลทวั่ ไปและกาหนดรหสั ผ่าน ซง่ึ เปน็ ขนั้ ตอนที่ใชร้ ะยะเวลา ในการปฏิบัติงานมาก 4) อนุมตั พิ ร้อมแจง้ รหัสผูใ้ ช้และรหัสผ่าน แสดงดงั ภาพที่ 1 User Admin

ภาพท่ี 1 แสดงกระบวนการให้บรกิ ารลงทะเบียนบริการบัญชีสมาชิกอินเทอร์เน็ตแบบชั่วคราวแบบเดมิ จากการดาเนนิ กิจกรรมจัดการความรู้ได้มีความเห็นร่วมกนั ว่าต้องพัฒนาโปรแกรมสาหรับอ่านข้อมลู จากบัตร ประจาตัวประชาชนเชื่อมโยงกับระบบลงทะเบยี นบริการบญั ชสี มาชิกอนิ เทอร์เน็ตแบบช่วั คราว ซงึ่ ไดป้ รับปรุงข้ันตอน การกรอกและบันทึกข้อมูลด้วยการนาเคร่ืองอ่านบัตรประจาตัวประชาชนมาใช้อ่านข้อมูล มีขั้นตอนดังน้ี 1) เลือก โครงการหรือกจิ กรรมท่ีลงทะเบียนไว้ 2) เสียบบัตรประจาตัวประชาชนเข้ากบั เครื่องอา่ นบตั ร 3) โปรแกรมอ่านข้อมูล ตรวจสอบและบนั ทึกข้อมลู 4) แสดงรหัสผู้ใชแ้ ละรหสั ผ่าน แสดงดงั ภาพที่ 2 User Admin ภาพที่ 2 แสดงกระบวนการให้บริการลงทะเบียนบริการบัญชสี มาชิกอินเทอร์เน็ตแบบชั่วคราวแบบใหม่ โปรแกรมเพิ่มบญั ชสี มาชิกอินเทอรเ์ นต็ ซ่ึงมขี ้ันตอนเริม่ จากเลอื กโครงการทลี่ งทะเบียนขออนุมตั ิไว้บนระบบ ซงึ่ โครงการท่ีไดร้ ับอนุมตั ิและยังไม่หมดอายุจะถูกนามาแสดงเป็นรายการให้เลือกแสดงดังภาพท่ี 3 ภาพท่ี 3 หนา้ แสดงรายการโครงการบัญชสี มาชิกอินเทอร์เนต็ เมอื่ เลือกโครงการแลว้ ใชบ้ ัตรประจาตัวประชาชนเสียบเข้ากับเครอ่ื งอา่ นบตั รแสดงดงั ภาพที่ 4

ภาพที่ 4 แสดงการอา่ นขอ้ มูลจากเครื่องอ่านบัตร ระบบจะดึงข้อมูลท่ีจาเป็นประกอบด้วยหมายเลขบัตรประจาตัวประชาชน ช่ือ-นามสกุลภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษแสดงให้ตรวจสอบผ่านหน้าจอโปรแกรม หากไม่พบข้อผิดพลาดระบบจะแจ้งข้อความ “เพ่ิมข้อมูล เรียบรอ้ ยแล้ว” ดงั ภาพท่ี 5 ภาพท่ี 5 แสดงการอา่ นข้อมลู และการเพ่ิมขอ้ มลู หากตรวจพบข้อมูลท่ีมีอยู่ในระบบแล้วหรือมีการเพิ่มข้อมูลซ้าระบบจะแจ้งข้อความ “มีข้อมูลในระบบแล้ว” แสดงดงั ภาพที่ 6

ภาพท่ี 6 แสดงการแจง้ เตือนกรณเี พ่ิมข้อมลู ซ้า เมื่อเพ่ิมข้อมูลของผู้ขอใช้แล้วโปรแกรมแสดงรายช่ือผู้ลงทะเบียนโดยกาหนดรหัสผู้ใช้และรหัสผ่านใ ห้โดย อตั โนมตั ิ แสดงดงั ภาพที่ 7 ภาพท่ี 7 หนา้ แสดงรายชอ่ื ผูท้ ีล่ งทะเบยี น หากลงทะเบียนข้อมูลผู้ขอใช้เรียบร้อยแล้วสามารถปริ้นรหัสผู้ใช้และรหัสผ่านให้กับผู้ขอใช้บริกา รได้ผ่าน โปรแกรมแสดงดังภาพที่ 8

ภาพท่ี 8 แสดงการปริ้นรหัสผู้ใชแ้ ละรหสั ผ่าน ปจั จยั ท่ที าใหเ้ กิดผลสาเรจ็ เม่อื นาระบบการสมัครบัญชีสมาชิกอินเทอร์เน็ตแบบช่ัวคราว ดว้ ยเคร่อื งอ่านบัตร ประชาชนมาใช้ช่วยลดระยะเวลาการให้บริการลงได้เนื่องจากไม่ต้องเสียเวลาในการกรอกข้อมูล และยังสามารถอ่าน ขอ้ มูลไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ปญั หา อุปสรรคและแนวทางแก้ไข ระบบท่ีพฒั นาเป็นโปรแกรมท่ีต้องนาไฟล์ไปใชใ้ นลักษณะ Portable ต้อง นาไฟล์ไปเปิดกับเคร่ืองที่เช่ือมต่อกับเครืออ่านบัตรประจาตัวประชาชน และยังขาดการกาหนดสิทธิของผู้ใช้ ซึ่ง แนวทางแก้ไขต้องระดมความคิดจากกลุ่มเจ้าหน้าท่ีที่มีประสบการณ์เพื่อร่วมหาแนวทางการพัฒนาโปรแกรมใน ลกั ษณะการทางานผา่ นเว็บไซตโ์ ดยไมต่ อ้ งนาไฟล์ Portable ไปเปดิ ใช้งาน สรุป ผลจากการดาเนินกิจกรรมแลกเปล่ียนองค์ความรู้ จากการนาปัญหาด้านระยะวลาของการบริการระบบ ลงทะเบียนบริการบัญชีสมาชิกอินเทอร์เน็ตแบบชั่วคราว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดระยะเวลาการให้บริการและการ ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมลู ได้พฒั นาโปรแกรมการสมัครบัญชสี มาชิกอินเทอร์เน็ตแบบชั่วคราว ดว้ ยเครื่องอ่าน บัตรประชาชน ซ่ึงสามารถลดระยะเวลาของขั้นตอนการกรอกข้อมูลบุคคลภายนอกท่ีเข้ามาขอใช้บริการระบบ สารสนเทศของมหาวิทยาลัยได้ ข้อเสนอแนะของการทางานยังขาดการกาหนดสิทธ์ิของผู้นาโปรแกรมไปใช้เพิ่ม บคุ คลภายนอกและต้องพฒั นาโปรแกรมเพิ่มเตมิ ใหส้ ามารถทางานในลกั ษณะเวบ็ แอพพลิเคช่ันหรอื ผา่ นเว็บไซต์ได้ บรรณานกุ รม กิตติญาภรณ์ ซุยลา. 2550. “การจัดการความรู้เพ่ือพัฒนาการบริหารจัดการเทศบาลตําบลหนองหิน กิ่ง อําเภอหนองหิน จงั หวดั เลย.” วิทยานิพนธศ์ ิลปศาสตรมหาบณั ฑติ , มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เลย. กัลยารตั น์ ธีระธนชัยกุล. 2557. “การจดั การความรู.้ ..ปัจจยั สูค่ วามสาเร็จ.” วารสารปัญญาภิวฒั น์. 5, 134- 144. จรีรัตน์ สุวรรณ์. 2553. “รูปแบบการพัฒนาครูคณิตศาสตร์ในจังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ และน่าน เพื่อให้มี คุณภาพตามมาตรฐานครคู ณิตศาสตรโ์ ดยใชก้ ารจดั การความรู.้ ” รายงานการวจิ ัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราช ภัฏอุตรดติ ถ.์

บุษกร วัฒนบุตร. 2557. “การจัดการความรู้เพ่ือองค์กรแห่งการเรียนรู้.” วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลําปาง. 3, 1: 46-56. มุจลินทร์ ผลกล้า, วสันต์ อตศิ พั ท,์ อ่มิ จติ เลิศพงษ์สมบตั ิ, และ ชดิ ชนก เชงิ เชาว์. 2558. “KmFI Model เพ่ือ การพัฒนาสมรรถนะการจัดการความรู้และสมรรถนะนวัตกรรมของ สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ.” วารสารวิทยบรกิ าร มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์. 26, 3: 1-16. นลวัชร ขุนลา และเกษราภรณ สุตตาพงค์. 2558. “การจัดการความรู้สู่การสร้างองค์กรท่ีประสบ ความสาเร็จ.” วารสารนักบริหาร. 35, 1:133-141. สมชัย เจียรกุล. 2557. “รูปแบบการบริหารการจัดการความรู้แบบมีส่วนรว่ มในสถานศึกษาข้ันพน้ื ฐาน.” วทิ ยานิพนธ์ ครศุ าสตรดษุ ฎีบณั ฑิต การบรหิ ารการศึกษา, มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุบลราชธาน.ี

การพัฒนาบัณฑติ นักปฏบิ ัติสู่ความเปน็ เลิศโดยผา่ นศูนย์บัณฑิตนกั ปฏบิ ตั ิ: เพอื่ ก้าวสู่การเปน็ มหาวิทยาลยั นวัตกรรม Excellence Hands-on Learner through Hands-on Center: Step forward to Innovative University เพชรไพรรนิ อุปปิง (Phetphrairin Upping)1 สรุ ิยา แก้วอาษา (Suriya Kaewarsa) 2 ชลีนุช คนซือ่ (Chaleenuch khonsue)3 มานิตย์ สานอก (Manit Sanok) 4 ทิพวรรณ์ ศิรมิ าตร (Tippawan Sirimatr)5 วมิ ลใย เทอื กตาถา (Wimolyai Tuaktata) 6 ฐานติ ย์ เกษร (Thanit Kesorn)7 วมิ ลสริ ิ มสุ ิกา (Wimolsiri Musika)8 โสภิดา สมั ปัตตกิ ร (Sopida Sampattikorn)9 สาวิตรี บุตรศรี (Savitree Butrsri) 10 1-3ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ คณะอตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตสกลนคร [email protected] 4-10อาจารย์ คณะอตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอสี าน วิทยาเขตสกลนคร [email protected], [email protected], [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] ............................................................................................................................. ............................ บทสรุป ศนู ย์บัณฑิตนักปฏิบัติเป็นแหลง่ ฝึกปฏิบัติทักษะทางวิชาชีพมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้าง ทักษะให้นักศึกษามีความเช่ียวชาญในวิชาชีพ เพื่อส่งเสริมการนานวตกรรมการเรียนการสอนมา ใช้ในการจัดการความรู้ในวิชาชีพ เพื่อก้าวสู่การเป็นมหาวิทยาลัยนวตกรรม ศูนย์บัณฑิตนัก ปฏิบัติ “สหกรณ์จาลอง” ออกแบบการสอนแบบบูรณาการ โดยใช้หลักการ PDCA สามารถ ส่งเสริมการเรียนรู้ของนักศึกษา ซ่ึงนักศึกษาได้รับท้ังความรู้ ทักษะความเชี่ยวชาญในการ ปฏิบัติงานทั่วท้ังองค์กร ความคิดริเร่มิ สร้างสรรค์ การทางานร่วมกับผู้อ่นื และการเรยี นรจู้ ากการ ปฏิบัติงานจริง และสามารถพัฒนานวตกรรมการสอนให้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงโดยมีความ พึงพอใจต่อการสอนโดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก ( X =4.55, S.D.=0.65) ปัจจัยสู่ความสาเร็จ ในการสอนบณั ฑิตนกั ปฏิบัตโิ ดยการใช้ศูนย์บัณฑิตนกั ปฏิบตั ิเปน็ แหลง่ เรยี นร้จู ะตอ้ งประกอบด้วย 1) หลักสูตร 2) สถานประกอบการ 3) อาจารย์ 4) นักศึกษา 5) ห้องปฏิบัติการ และ 6) การ บริหารจัดการที่ดี ตามหลักการ PDCA ทุกหลักสูตรสามารถบูรณาการข้ามศาสตร์และเช่ือมโยง กันทั่วทั้งองค์กรจะสามารถทาให้ “ศูนย์บัณฑิตนักปฏิบัติ” ประสบความสาเร็จและสามารถ พัฒนานวัตกรรมความรู้ไดอ้ ย่างยงั่ ยืน คาสาคญั : การสอนแบบบรู ณาการ ศูนยบ์ ัณฑติ นักปฏบิ ตั ิ มหาวทิ ยาลยั นวตกรรม The objective of Hands-On center was to promote professional skill for step forward to being innovative university. “ Cooperative Hands-On Center” design of integrated teaching by using the PDCA principle. This lead to promote student learning which students gain both knowledge and professional skills in operations throughout the organization. Additional creativity working with others

2 and learning from real work and able to develop the teaching of the instructors to learn from the actual experience with satisfaction to the overall teaching at a high level ( X = 4.55, SD = 0.65). The successful of the Hands-on Center should consist of 1) Curriculum 2) Business Enterprise 3) Teacher 4) Student 5) Laboratory and 6) Good management. All factors can be integrated across disciplines and linked throughout the PDCA and organization to enable \"Hands- one Center for Practitioners\", successful and able to develop innovative knowledge sustainably. Keyword: Integrated Teaching, Hands-on Center, Innovative University บทนา การส่งเสริมการเรียนรู้ของนักบัญชีเพ่ือก้าวสู่การเป็นมหาวิทยาลัยนวตกรรม เป็นการ สง่ เสริมการเรียนรู้ของนักบัญชียุคดิจิทัล ที่จะต้องขยายบทบาทจากความรับผิดชอบในการจัดทา บัญชีและรายงานทางการเงิน ไปสู่การบทบาทท่ีจะช่วยเพ่ิมมูลค่าให้กับองค์กรมากข้ึน โดยนัก บัญชีจะต้องใช้ระบบสารสนเทศทางบัญชีในการรวบรวม วิเคราะห์และประมวลผลอย่างมีระบบ รวดเร็ว ถูกต้อง และทันเวลา รวมท้ังมีส่วนร่วมในการวางแผนกลยุทธ์ขององค์กรเพ่ือนาเสนอ ข้อมูลท่ีส่งผลต่อการตัดสินใจของผู้บริหาร การพัฒนาการสอนโดยการประยุกต์ใช้กระบวนการ เรียนการสอนแบบบูรณาการ (Integrated) โดยใช้ศูนย์บัณฑิตนักปฏิบัติเป็นแหล่งฝึกปฏิบัติ ทักษะทางวิชาชีพ “สหกรณ์จาลอง” ปัจจุบันสหกรณ์ในประเทศไทยมีจานวน 8,194 แห่ง ดังน้ัน การบูรณาการสอนการเรียนโดยใช้หลักการของสหกรณ์เป็นแหล่งเรียนรู้โดยใช้การบูรณาการ รสอนเป็ น กิจกรรมเป็ นฐาน (Activity-Based Learning) การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ (Experiential Learning) การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) และ การเรยี นรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning) รวมถึงการบูรณาการข้ามศาสตร์ ในหลายหลักสูตร ในรายวิชาต่าง ๆ การสอนในห้องเรียน การค้นหาความรู้ผ่านทางส่ือต่าง ๆ รวมทั้งสื่อทางดิจิทัล การทาวิจัย การเรียนรู้แบบพี่สอนน้อง การเรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญและการ เรยี นร้จู ากการปฏบิ ตั งิ านจรงิ เป็นตน้ การสอนแบบบูรณาการจะชว่ ยสง่ เสริมการเรยี นรู้ทดี่ ที ว่ั ทั้ง องค์กร ซ่ึงวิจารณ์ พานิช (2556) กล่าวว่า อาจารย์กับนักศึกษาควรต้องเรียนรู้และรับผิดชอบ ร่วมกันโดยผ่านการปฏบิ ัติในกระบวนการจัดการเรยี นการสอนเพื่อก่อให้เกิดการเรียนรตู้ ลอดชีวิต ดังนั้น การจัดการเรียนการสอนที่ดีควรประกอบด้วยวิธีการสอนหลากหลายรูปแบบและส่งเสริม การเรียนรู้อย่างยั่งยืนตลอดชีวิต การสอนโดยผ่านศูนย์บัณฑิตนักปฏิบัติจึงเป็นการสอนอีก รปู แบบหน่ึงทีส่ ามารถพัฒนาการเรยี นรูข้ องนกั ศกึ ษา วธิ ีการดาเนนิ งาน 1. การวางแผน (Plan) ดาเนินการดังนี้ 1.1 ประชุมจัดต้งั ศูนย์บัณฑติ นักปฏบิ ัติ สหกรณ์จาลอง โดยมอี งคป์ ระกอบทีส่ าคญั ดงั น้ี 1) หลักสูตร 2) สถานประกอบการ 3) อาจารย์ 4) นักศึกษา 5) ห้องปฏิบัติการ และ 6) การ บริหารจดั การ 1.2 ขออนุมัตโิ ครงการ

3 1.3 แตง่ ตงั้ คณะกรรมการผูร้ บั ผดิ ชอบศนู ย์บัณฑติ นักปฏบิ ัติ 2. การดาเนนิ โครงการ (Do) ดาเนนิ การดงั น้ี 2.1 วเิ คราะหร์ ูปแบบการสอน/ความตอ้ งการของผเู้ รียน 2.2 เตรยี มหลกั สูตรและรายวิชาที่เข้ารว่ มการสอนแบบบูรณาการในศูนย์บณั ฑติ นัก ปฏิบตั ิ 2.3 ดาเนินการสอนตามรูปแบบต่าง ๆ 2.4 สรปุ ผลลัพธก์ ารดาเนนิ งานแตล่ ะรายวิชา 3. การประเมินโครงการ (Check) ดาเนินการดงั น้ี 3.1 ประเมนิ ขอ้ มลู เชิงคณุ ภาพ โดยผลลัพธก์ ารดาเนนิ งานในสหกรณจ์ าลอง 3.2 ประเมินข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษา ความพึง พอใจต่อการจัดการเรียนการสอน การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมทางสถิติ และสถิติท่ีใช้คือ คา่ เฉลี่ย และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน 4. การปรบั ปรงุ การดาเนินโครงการ (Act) ดาเนนิ การดงั น้ี 4.1 นาผลการประเมนิ ความพึงพอใจ มาวเิ คราะห์เปรียบเทียบ เพือ่ หาแนวทางในการ ปรบั ปรงุ พฒั นา 4.2 นาผลสรุปการดาเนินงานและข้อคิดเห็นของหลักสูตร อาจารย์ นักศึกษา สถาน ประกอบการ เข้าท่ีประชุมโปรแกรมวิชาการบัญชี เพื่อแลกเปล่ียนเรียนรู้ วิเคราะห์ ตัดสินใจ เพือ่ วางแผนการสอนในปถี ัดไป รวมท้งั จดั ทารายงานรปู เลม่ รายงานเสนอผบู้ รหิ ารของคณะ ผลและอภิปรายผลการดาเนนิ งาน ผลการดาเนนิ โครงการส่งเสริมการเรียนรดู้ ้านการบริหารความเสย่ี งองค์กร และการ ตรวจสอบภายใน ซ่งึ ใช้วธิ ดี าเนินโครงการโดยยดึ หลัก PDCA สามารถสรปุ ผลไดด้ ังน้ี 1. การวางแผน (Plan) การจดั ตัง้ ศูนย์การเรียนรู้สหกรณจ์ าลอง เพ่ือเป็นแหล่งเรยี นรู้ และผลิตบัณฑิตนกั ปฏิบัติโดยใชห้ ้องเรียนเปรยี บเสมือนสถานที่ทางาน โดยมีองค์ประกอบ ดังนี้ 1) หลกั สตู ร 2) สถานประกอบการ 3) อาจารย์ 4) นักศึกษา 5) ห้องปฏบิ ัติการ และ 6) การ บรหิ ารจดั การ โดยมกี ารทดสอบก่อนเรยี น (Pretest) เก่ยี วกบั ความรู้พ้นื ฐานของนกั ศกึ ษา มี การวเิ คราะห์แบบทดสอบก่อนเรียน รวมถึงปัญหาในการสอนปีทผี่ า่ นมาจาก มคอ.5 เพอ่ื หา แนวทางในการปรับปรุงการสอน ทาใหท้ ราบข้อมลู ความตอ้ งการหรอื ปัญหาของนักศึกษาแลว้ นาเขา้ สู่การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนร้ใู นโปรแกรมวชิ าการบญั ชี ชว่ ยใหส้ ามารถพัฒนาโครงการ และออกแบบกจิ กรรมในโครงการได้ตรงกับความต้องการของนักศึกษา ดงั จะเห็นไดจ้ ากผลการ ประเมนิ ความพึงพอใจในการจดั การเรยี นการสอนโดยภาพรวมอยูใ่ นในปี 2559 อยใู่ นระดบั มาก และในปี 2560 อยู่ในระดบั มากที่สดุ รวมถึงสามารถจัดกิจกรรมไดต้ ามแผนที่ได้กาหนดไว้ 2. การดาเนินโครงการ (Do) อาจารย์ผ้สู อนดาเนินการสอนโดยใชศ้ นู ยบ์ ณั ฑิตนักปฏิบัติ เปน็ แหล่งเรียนรเู้ ช่อื มโยงกับ หลกั สูตร สถานประกอบการ อาจารย์ นักศึกษา ห้องปฏิบัติการ และ การบรหิ ารจดั การ 2.1 วเิ คราะหร์ ปู แบบการสอน/ความตอ้ งการของผเู้ รยี น การพฒั นาการสอนโดยการประยุกตใ์ ช้กระบวนการเรยี นการสอนแบบบูรณาการ

4 (Integrated) โดยใชศ้ นู ยบ์ ัณฑิตนักปฏบิ ัติเปน็ แหลง่ ฝกึ ปฏบิ ตั ิทักษะทางวชิ าชีพ ศนู ย์บณั ฑติ นัก ปฏบิ ตั ิ “สหกรณ์จาลอง” บรู ณาการสอนการเรียนโดยใช้กจิ กรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning) การเรยี นรเู้ ชิงประสบการณ์ (Experiential Learning) การเรยี นร้โู ดยใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน (Problem-Based Learning) และการเรียนรโู้ ดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning) รวมถึงการบรู ณาการข้ามศาสตรใ์ นหลายหลกั สตู ร ในรายวชิ าต่าง ๆ การสอนใน ห้องเรียน การค้นหาความรู้ผ่านทางส่อื ต่าง ๆ รวมทัง้ สือ่ ทางดิจิทลั การทาวิจัย การเรียนร้แู บบพี่ สอนน้อง การเรยี นรจู้ ากผู้เช่ียวชาญและการเรียนร้จู ากการปฏบิ ตั ิงานจรงิ เปน็ ต้น 2.2 เตรยี มหลักสตู รและรายวชิ าที่รว่ มบรู ณาการในศนู ย์บัณฑติ นกั ปฏบิ ตั ิ หลักสตู รบญั ชีบัณฑิต ได้แก่ 1) วชิ าการบริหารความเส่ียงองค์กรและการควบคมุ ภายใน เป็นวิชาหลกั 2) วชิ าการบัญชตี ้นทุน 3) วชิ าโปรแกรมสาเร็จรปู ทางบัญชี 4). วิชาการ วิเคราะหร์ ายงานทางการเงนิ 5) วชิ าการวางแผนและควบคมุ ทางบญั ชี 6) วชิ าการวิจัยทาง บญั ชี 7) วชิ าการภาษอี ากร หลกั สตู รบรหิ ารธุรกิจ สาขาระบบสารสนเทศ ได้แก่ วชิ าโครงงาน ทางระบบสารสนเทศ หลกั สตู รวิศวกรรมไฟฟา้ ได้แก่ วิชาโครงงานวศิ วกรรมไฟฟา้ 2.3 ดาเนนิ การสอนตามรปู แบบต่าง ๆ ตารางท่ี 1.1 ตารางสรปุ การดาเนินการสอนแบบบูรณาการ ชือ่ วิชา การบูรณาการสอนใน ผลลัพธ์ของการสอน ศนู ย์บัณฑติ นกั ปฏบิ ัติ หลกั สูตรบญั ชบี ณั ฑิต 1 . ก า ร บ ริ ห า ร ค ว าม เสี่ ย ง การให้ความสาคญั กับการมสี ว่ นรว่ มของ กิจกรรมตรวจสอบภายในของศูนย์ องค์การและการตรวจสอบ ทุกคนในองค์กร ธรรมาภบิ าล ความ สหกรณ์จาลองภาคเรียนละ 2 คร้ัง ภายใน โปร่งใส ตรวจสอบได้ ซ่ึงจะทาใหอ้ งค์กร คือ หลังสอบกลางภาคและหลงั สอบ ใช้ รู ป แ บ บ ก า ร ส อ น แ บ บ พัฒนาไดอ้ ย่างย่ังยืน รวมถงึ การบริหาร ปลายภาค สามารถจัดทารายงาน Problem-Based Learning ความเสยี่ งองคก์ ร และการควบคมุ การตรวจสอบภายในตามแบบที่กรม Experiential Learning ภายใน ตรวจบัญชีสหกรณ์ กาหนดเป็น ผู้สอน ผศ.ดร.เพชรไพ รริน ประจาทุกปีตั้งแต่ปี 2554 จนถึง อปุ ปงิ ปัจจุบัน 2. การบัญชีตน้ ทนุ นักศึกษาสามารถคานวณต้นทุนสินค้า การต้ังราคาขายสินค้าในสหกรณ์ ใช้ รู ป แ บ บ ก า ร ส อ น แ บ บ สาเร็จรูปและนาข้อมูลต้นทุนใช้ในการ จาลองโดยวิธี Mark up Problem-Based Learning ตัดสินใจตั้งราคาขายสินค้าสาหรับธรุ กิจ Activity-Based Learning ซ้ือมาขายไป (Merchandising) ในศูนย์ ผู้สอน ผศ.ดร.เพชรไพ รริน สหกรณจ์ าลอง อุปปงิ 3. โปรแกรมสาเรจ็ รูปทางบัญชี การบันทึกบัญ ชีและจัดทารายงาน การประยุกต์โปรแกรม Express ใน ใช้ รู ป แ บ บ ก า ร ส อ น แ บ บ ทางการเงินโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป การจัดทาบัญชีและรายงานทางการ Problem-Based Learning ทางบญั ชี เงิน ของศู น ย์ บั ณ ฑิ ต นั กป ฏิ บั ติ Activity-Based Learning “สหกรณ์จาลอง” โดยใช้โปรแกรม ผูส้ อน สาเร็จรูป Express ต้ังแต่ปี 2559 อาจารย์วิมลใย เทือกตาถา เปน็ ต้นมา อาจารย์สาวติ รี บตุ รศรี

5 ชือ่ วิชา การบูรณาการสอนใน ผลลัพธ์ของการสอน ศนู ย์บณั ฑติ นกั ปฏิบตั ิ 4. การวิเคราะห์รายงานทาง การวิเคราะห์งบการเงินของสหกรณ์ นักศึกษาสามารถจัดทาการวเิ คราะห์ การเงิน จาลอง ตั้งแต่ปี 2554 จนถึงปัจจุบัน ผลการดาเนินงานของสห กรณ์ ใช้ รู ป แ บ บ ก า ร ส อ น แ บ บ และสามารถนาข้อมูลไปใช้วางแผนใน จ า ล อ งตั้ งแ ต่ ปี 2554 จ น ถึ ง ปี Problem-Based Learning การจัดทางบประมาณในปีตอ่ ๆ ไปได้ ปัจจุบันโดยใช้ทฤษฎีทางบัญชีและ ผสู้ อน การจัดทารายงานทางการเงินตาม อาจารยท์ พิ วรรณ์ ศริ มิ าตร มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน 5. การวางแผนและควบคุม การจั ด ท าราย งาน ป ระ จ าปี แ ล ะ นกั ศึกษาจัดทารายงานประจาปีเป็น ทางการบัญชี นั กศึ กษ าได้ จั ด ท าโค รงการค วาม ประจาทุกปี และการจัดทาโครงการ ใช้ รู ป แ บ บ ก า ร ส อ น แ บ บ รับผดิ ชอบต่อสังคม ความรับผิดชอบต่อสังคม โดยในปี Project-Based Learning 2559 ได้ จั ด ท าโค รงการค วาม Activity-Based Learning รับผิดชอบต่อสังคมโรงเรียนบ้านคัน ชา อ.สว่างแดนดิน ณ บ้านคันชา ผู้สอน จั ง ห วั ด ส ก ล น ค ร ปี 2560 อาจารย์วมิ ลสิริ มสุ ิกา โครงการช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้า ท่วม ณ โรงเรียนบ้านแก้ง อาเภอ วานรนิวาส จังหวัดสกลนคร และ ปี 2561 โรงเรียนบ้านบะฮี อาเภอ พรรณนานิคม จงั หวดั สกลนคร 6. วจิ ยั ทางการบญั ชี การออกแบบหัวข้อโครงการวิจัยให้ ผลสาเร็จของโครงงานวิจัยทางบัญชี ใช้ รู ป แ บ บ ก า ร ส อ น แ บ บ สัมพันธ์กับการปฏิบัติงานภายในของ ปี 2558 เรื่อง ระบบบัญชีและการ Project-Based Learning สหกรณ์จาลอง ควบคุมภายในของสหกรณ์ ผสู้ อน ปี 2559 เรื่อง การนาโปรแกรม 1. ผศ.ดร.เพชรไพรริน อุปปิง สาเร็จรูป Express มาใช้ในงาน 2. อาจารยว์ ิมลสริ ิ มสุ ิกา สหกรณ์และสามารถปิดงบจัดทา บัญชีและรายงานทางการเงินผ่าน โปรแกรมสาเร็จรูปได้สาเรจ็ ในต้ังแต่ ปี 2559 เป็นต้นมา ปี 2561 การวางระบบบัญชีร้านค้า ชุมชนต้นแบบ นักศึกษาสามารถ ออกแบบระบบบัญชีสาหรับร้านค้า ชุมชนให้กับร้านค้าชุมชนต้นแบบ บ้านบึงโนใน ไดป้ ระสบความสาเร็จ 7. ภาษีอากร การนาความรู้ทางบัญชแี ละภาษอี ากรมา โครงการ “สหกรณ์จาลองนาความรู้ ใช้ รู ป แ บ บ ก า ร ส อ น แ บ บ ใช้ในการบริหารจัดการสหกรณ์ ใน สู่ชุมชม” ณ บ้านบึงโนใน อาเภอ Project-Based Learning รปู แบบของสหกรณร์ ้านค้า สว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร ให้ ผ้สู อน ความรู้แก่ร้านค้าธงฟ้าประชารัฐ อาจารย์ฐานติ ย์ เกษร และสหกรณ์ร้านค้าชุมชน ในการ จดั ทาบญั ชี และการภาษอี ากร และ

6 ชือ่ วิชา การบูรณาการสอนใน ผลลัพธข์ องการสอน ศูนย์บัณฑิตนักปฏบิ ัติ สามารถวางระบบบัญชีให้กับรา้ นค้า ชุมชนบ้านบึงโนใน รวมถึงวางระบบ ส า ร ส น เท ศ ใน ก า ร น า เค ร่ื อ ง คอมพิวเตอร์และโปรแกรมขายมาใช้ ในการขายและการตรวจนับสินค้า คงเหลือได้จรงิ หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขา ระบบสารสนเทศ โครงงานทางด้านระบบสารสนเทศ วิดีทัศน์ แนะนาศูนย์บั ณ ฑิตนัก 8. โครงงานวิจัยระดับปริญญษ นักศึกษาสามารถจัดทาวิดีทัศน์ ได้ ปฏิบัติ และ จัดทาวิดีทัศน์สาหรับ ตรี จานวน 2 ชุด ได้แก่ 1) วีดีทัศน์แนะนา เป็นคู่มือการปฏิบัติงานของ “ศูนย์ ใช้ รู ป แ บ บ ก า ร ส อ น แ บ บ ศูนย์บัณฑิตนักปฏิบัติ และ 2) จัดทา ส ห ก รณ์ จ าล อ ง” โด ย วีดี ทั ศ น์ Project-Based Learning วิดีทัศน์สาหรับเป็นคู่มือการปฏิบัติงาน ส า ม า ร ถ น า ม า ใ ช้ ใ น ก า ร ผูส้ อน ของ “ศูนยส์ หกรณจ์ าลอง ประชาสัมพันธ์สหกรณ์จาลอง และ ผศ.ดร.ชลนี ชุ คนซอื่ วีดีทัศน์คมู่ ือการปฏิบัติงาน สามารถ อาจารยม์ านติ ย์ สานอก นามาใช้ในการแนะนาให้กับรุ่นน้อง ท่ีเข้ามาเป็นคณะกรรมการในการ ดาเนนิ งานของสหกรณ์ได้จริง หลกั สูตรวิศวกรรมไฟฟา้ 9 . วิ ช า โ ค ร ง ง า น ท า ง โครงงานทางวิศวกรรมไฟฟ้า นักศึกษา โครงงานทางวิศวกรรมไฟฟ้าเร่ือง วิศวกรรมไฟฟ้า สามารถเก็บข้อมูลการใช้พลังงานไฟฟ้า การประหยัดพลังงานไฟฟ้า ภายใน ใช้ รู ป แ บ บ ก า ร ส อ น แ บ บ แล ะส าม ารถจัด ท าโป รแกรม การ ห้องปฏิบัติการสหกรณ์จาลอง โดย Project-Based Learning ประหยัดพลังงานไฟฟ้าไดจ้ ริง ได้ติดต้ังอุปกรณ์ควบคุมการใช้ไฟฟ้า ผสู้ อน คือมิเตอร์ และอุปกรณ์ประหยัด ผศ.ดร.สุรยิ า แกว้ อาษา ไฟฟ้าโดยการเปล่ียนหลอดไฟเป็น แบบประหยัดพลังงาน บันทึกการใช้ ไฟ การฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับ ก า ร ป ร ะ ห ยั ด พ ลั งงา น ไฟ ฟ้ า ผลการวิจัยพบ ว่าศูนย์สห กรณ์ จาลองสามารถประหยัดไฟฟ้าได้ ตามแนวทางการปฏิบัติพลังงาน ไฟฟา้ ได้มากกวา่ 5% 2.4 สรุปผลลัพธก์ ารดาเนินงานแตล่ ะรายวชิ า การทบทวนหลังการปฏิบัติ ในประเด็นนักศึกษาได้เรียนรู้องค์ความรู้อะไรบ้าง อธิบาย รายละเอียดโดยสังเขป (วิธีการ/ข้ันตอนการทา) และนักศึกษาจะนาองค์ความรู้น้ันไปประยุกต์ใช้ อย่างไรบ้าง โดยการเขียนข้อสรุปลงในกระดาษ จากนั้นแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนาเสนอ ซง่ึ สามารถ สรุปประเดน็ การเรียนรู้ได้ดังนี้ 2.4.1 องคค์ วามรู้

7 1) หลักสูตรบัญชีบณั ฑิต องค์ความรู้เกีย่ วกับการกากับดูแลกิจการท่ดี ี การ บริหารความเส่ยี งองคก์ ร การควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน การวเิ คราะหร์ ายงานทาง การเงนิ การบัญชีต้นทุน การวิจยั ทางบญั ชี และการใชโ้ ปรแกรมสาเร็จรปู ในงานบัญชี ซึ่ง นกั ศึกษาสามารถสร้างรายการทางบัญชโี ดยใช้เอกสารต่าง ๆ เป็นส่ือในการเรยี นรู้ แทนการสร้าง โจทย์แบบฝึกหัดเดิม แตเ่ ปน็ การเรยี นรู้จากการปฏบิ ตั ิงานจริง ทาใหเ้ กิดนวตกรรมการเรยี นรูท้ าง วชิ าชีพบัญชี 2) หลกั สูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาระบบสารสนเทศ องค์ความรู้ เก่ียวกบั การจดั การสารสนเทศในการประชาสัมพันธ์ และการฝกึ อบรมการปฏิบัติงาน 3) หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้า องค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดการพลังงานไฟฟ้า และการประหยดั พลังงานในไฟฟา้ ในองค์กร 2.4.2 การนาความรู้ไปประยุกตใ์ ช้ 1) ด้านการเรียนรู้ ได้แก่ สามารถนามาปรับใช้และประยุกต์ใช้ในการ เรยี นการสอน และประยุกตก์ ารทางานในองคก์ รต่าง ๆ เป็นต้น 2) ด้านการปรับใช้ในชีวิตประจาวัน ได้แก่ เศรษฐกิจพอเพียงตาม หลักการของสหกรณ์ที่เน้นในเร่ืองของการออม และการลงทุน เพ่ือให้นักศึกษาสามารถสร้าง อาชีพด้วยตนเองและสามารถบริหารจัดการชีวิตได้อย่างมีความสุข และยั่งยืน นอกจากนี้ยัง สอดแทรกทักษะชีวิต ทักษะการคิด ทักษะการแก้ปัญหา รวมถึงจริยธรรมทางบัญชี ได้แก่ ความ ซ่อื สัตย์ ความเป็นกลาง การรกั ษาความลบั และความรับผิดชอบ ซง่ึ เปน็ หัวใจสาคญั นอกจากน้ัน ยังฝึกทักษะในเร่ืองความสามัคคี ความเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี การยอมรับฟังความคิดเห็นของ ผู้อ่ืน การตรงต่อเวลา และความซื่อสัตย์ กล้าคิด กล้าทา กล้าแสดงออกและกล้าตัดสินใจในเร่ือง ตา่ ง ๆ 3) ดา้ นการจดั การองคก์ ร ไดแ้ ก่ สามารถนาความรู้ที่ไดไ้ ปประกอบอาชีพ การบริหารจดั การท่ีเปน็ ระบบได้ทั่วท้งั องค์กร การทางานเป็นทีม เปน็ ต้น 3. การประเมนิ โครงการ (Check) 3.1 การประเมินผลเชิงคุณภาพ การประเมินหลักสูตร จากการสังเกต พบว่า นกั ศึกษามีกระตือรือร้น มีความคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์ มีความสุขในการเรียนรู้ มกี ารแสวงหาความรู้ โดยการค้นหาความรู้เพิ่มเติม มกี ารต้ังคาถามในส่ิงท่ีอยากรู้ และฝึกทักษะในการนาเสนอ การทา กิจกรรมต่าง ๆ ในสหกรณ์จาลองสามารถบูรณาการข้ามศาสตร์ โดยผลการประเมินการเรยี นรูใ้ น รายวชิ าต่าง ๆ ดงั นี้ 3.2 การประเมินความยั่งยืนของศูนย์บัณฑิตนักปฏิบัติ “สหกรณ์จาลอง” ดาเนินการมา ตั้งแต่ปี 2554 จนถึงปัจจุบัน มีจานวนสมาชิกประกอบด้วยอาจารย์ และนักศึกษาจานวน 393 ราย มีหุ้นจานวน 3,259 หุ้น มูลค่าหุ้นท้ังส้ิน 65,180 บาท มียอดเงินฝากธนาคารทั้งส้ิน โดยประมาณ 308,000 บาท 3.3 การประเมินของการจดั การศูนยบ์ ณั ฑติ นักปฏิบตั ิ

8 1) หลักสตู ร มีจานวน 3 หลักสูตร 9 รายวชิ ามีสว่ นร่วม ในการจัดการเรียนการสอนโดย ผ่านศูนย์บัณฑิตนักปฏิบัติสหกรณ์จาลองและสามารถบูรณาการสอนได้ทุกรายวิชาเป็นการ บรหิ ารงานข้ามศาสตร์ท่ัวท้ังองค์กร 2) สถานประกอบการ จานวนสถานประกอบการที่มีส่วนร่วม ได้แก่ กรมตรวจบัญชี สหกรณ์ พาณิชย์จังหวัดสกลนคร สรรพากรพื้นท่ีสกลนคร ร้านค้าธงฟ้าประชารัฐ และสหกรณ์ ร้านคา้ ชมุ ชน สถาบันพลงั งานเพ่อื อตุ สาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เป็นต้น 3) อาจารย์ ได้รบั การพัฒนาความรู้อย่างต่อเน่ือง ทาโครงการร่วมกับสถานประกอบการ และได้รับใบประกอบวิชาชีพเพิ่มข้ึนเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการตรวจสอบภายใน และด้านการ จัดการสหกรณ์ ผู้เช่ยี วชาญด้านการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลงั งานไฟฟ้า เปน็ ตน้ 4) นักศึกษา การมีงานทาของนักศึกษา พบว่า นักศึกษามีงานทาเพิ่มข้ึนในวิชาชีพบัญชี เชน่ สานักงานตรวจเงินแผน่ ดิน และกรมตรวจบญั ชีสหกรณ์ เปน็ ต้น 5) ห้องปฏิบัติการ ท่ีมีความพร้อมสามารถเพ่ิมทักษะการเรียนรู้ และทักษะการปฏิบัติ ทางวชิ าชพี ได้ท่ัวทัง้ องคก์ ร เชน่ โปรแกรมสาเร็จรูปทางบัญชี 6) การบริหารจัดการ รางวัลการจดั การความรู้ท่ีดี ในการประกวด“การจัดการความรู้สู่ การขับเคล่ือน Thailand 4.0” ระหว่างมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 9 แห่ง สถาบันพละ ศึกษา และสถาบันพัฒนศิลป์ระหว่างวันที่ 20-23 กุมภาพันธ์ 2561 และได้รับรางวัล “บทความ ดีเด่น เหรียญทอง พร้อมถ้วยประทานรางวัลชนะเลิศ จากพระเจ้าหลานเธอ พระองค์ เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ เกียรติบัตรและเงินรางวัล จานวน 3,000 บาท” จากผลงานชื่อบทความ “การพัฒนากิจกรรมนักศึกษาสู่บัณฑิตนักปฏิบัติยุคดิจิทัล Thailand 4.0 \" ศูนย์การเรียนรู้ สหกรณ์จาลอง 3.4 การประเมินโดยข้อมลู เชิงปริมาณ การประเมินผลความพงึ พอใจของนักศึกษาการ จดั การสอนในรายวชิ าตา่ ง ๆ สามารถแปลผลตามเกณฑค์ วามพึงพอใจในทุกรายวิชาในระดับ ระดับมาก คา่ เฉลีย่ ระหวา่ ง 3.50-4.49 ตารางที่ 1 ผลการประเมินความพงึ พอใจทีม่ ตี ่อรายวชิ า รายการประเมนิ X S.D. ระดับ วชิ าการบริหารความเสีย่ งองคก์ ารและการตรวจสอบภายใน 4.67 0.55 มากทสี่ ุด วชิ าการบัญชตี น้ ทุน วชิ าโปรแกรมสาเร็จรปู ทางบญั ชี 4.36 0.65 มาก วิชาการวิเคราะหร์ ายงานทางการเงนิ วชิ าการวางแผนและควบคมุ ทางการบญั ชี 4.13 0.64 มาก วชิ าการวิจัยทางบัญชี วชิ าภาษอี ากร 4.16 0.62 มาก วชิ าโครงงานวิจยั ระดับปรญิ ญาตรี วชิ าโครงงานทางวศิ วกรรมไฟฟา้ 4.34 0.73 มาก ภาพรวมของโครงการ 4.45 0.58 มาก 4.14 0.81 มาก 4.48 0.73 มาก 4.36 0.68 มาก 4.34 0.67 มาก 4. การปรับปรุงการดาเนนิ โครงการ (Act)

9 ในปี 2556 จากการประชุมของโปรแกรมไดม้ ีการทบทวนผลการจัดการเรียนการสอน ในศูนย์บัณฑิตนักปฏิบัติ เดิมได้แก่ วิชาการบริหารความเสี่ยงองค์กรและการตรวจสอบภายใน การวิเคราะห์รายงานทางการเงิน การวางแผนและควบคุมทางบัญชี การบัญชีต้นทุน และได้เพ่ิม รายวิชาต่าง ๆ เข้ามาบูรณาการ ในปี 2558 ได้แก่ รายวิชาการวิจัยทางบัญชี โปรแกรมสาเร็จรูป ทางบัญชี การภาษอี ากร และบูรณาการข้ามศาสตรใ์ นรายวชิ าโครงงานทางด้านระบบสารสนเทศ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาระบบสารสนเทศ และในปี 2561 รายวิชาโครงงานทางด้าน วิศวกรรมไฟฟ้า หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์ไฟฟ้า ความต้องการในการบริหารจัดการของศูนย์ บัณฑิตนักปฏิบัตินาไปสู่การเพิ่มรายวิชาต่าง ๆ ในปีต่อมา นอกจากนี้ยังมุ่งเป้าหมายในการ ให้บริการแก่ชุมชนในปีการศึกษา 2561 นักศึกษาให้ออกไปให้บริการความรู้ทางด้านบัญชี และ ภาษีอากร รวมท้ังการจัดทาระบบบัญชีของร้านค้าชุมชน และร้านค้าธงฟ้าประชารัฐ ณ บ้านบึง โนใน อาเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร จากรายงานประจาปี ผลการดาเนินงานตั้งแต่ปี 2554 - 2561 พบว่า กิจกรรมในศูนย์การเรียนรู้สหกรณ์จาลองดังกล่าวช่วยเสริมสร้างทักษะทาง บัญชี รวมถึงการขยายบทบาทของนักบัญชียุคดิจิทัล ท่ีมุ่งเน้นการวิเคราะห์และการให้ข้อมูลท่ี เป็นประโยชน์ในการตัดสินใจของผู้บริหารขององค์กรอยู่ตลอดเวลา โดยใช้นวตกรรมและ เครื่องมือทางบัญชที ช่ี ่วยใหก้ ารประเมินผลได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว ทันเวลา จะเห็นได้จากผลการ ประเมินผลการดาเนินงานของสหกรณ์จาลองที่เพิ่มสูงข้ึนทุกปี และความพึงพอใจต่อการจัดการ เรียนการสอนและการประเมินผลในรายวิชาดังกลา่ วอยใู่ นระดบั มาก และมากที่สุด ดงั น้นั ผลการ เรียนรู้ของนักศึกษา รวมถึงชุดความรู้หรือชุดกิจกรรม สามารถดาเนินงานในปีต่อๆ ไป เพื่อ ตอบสนองความต้องการใหม่ๆ ที่เปล่ียนแปลงไปเพ่ือให้เกิดความยั่งยืน เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต และพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยนวตกรรม ดังท่ี ไพรฑูรย์ สินลารัตน์ (2560) ได้กล่าวถึง การศึกษาใน ยุค Thailand 4.0 คือการพัฒนาการเรียนรู้เพ่ือตอบสนองความต้องการใหม่ ๆ อยู่ตลอดเวลา โดยการผสมผสานความก้าวหน้าใหม่ ๆ เพ่ือการพัฒนานวตกรรม ดังน้ันการบูรณาการข้าม ศาสตร์ในศูนย์บัณฑิตนักปฏิบัติสหกรณ์จาลองจึงเปรียบเสมือนการเรียนรู้ทั่วทั้งองค์กร ทาให้ มหาวิทยาลัยเกิดนวตกรรมการเรียนรู้ตลอดเวลาตามสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปในศูนย์ บัณฑติ นักปฏิบตั ิและพัฒนาให้เป็นมหาวทิ ยาลัยนวัตกรรมไดอ้ ย่างย่ังยนื ในอนาคต ปจั จัยสคู่ วามสาเร็จในการบรหิ ารศูนยบ์ ัณฑติ นกั ปฏิบัติ ปัจจัยสู่ความสาเร็จในการพัฒนาศูนย์บัณฑิตนักปฏิบัติประกอบด้วย การมีหลักสูตร รบั ผิดชอบและหลกั สูตรร่วมเข้ามาดาเนนิ การมีความเข้มแข็งทางวชิ าการ มีการวางแผนอย่างเป็น ระบบและเชื่อมโยงกับสถานประกอบการที่เก่ียวข้องกับวิชาชีพ และมีสถานประกอบการเข้า มาร่วมดาเนินงาน มีอาจารย์เป็นที่ปรึกษา มีความรู้และทักษะทางวิชาชีพ มีความมุ่งมั่นเอาในใจ สามารถแก้ไขปัญหาร่วมกับนักศึกษาได้ตลอดเวลา มีครุภัณฑ์ เครื่องมือพร้อมในการปฏิบัติงาน จริง และมีการบริหารจัดการที่ดีโดยให้นักศึกษาเป็นผู้ดาเนินงานเองและมีระบบอาจารย์เป็นท่ี ปรึกษา ระบบการสอนแบบพ่ีสอนน้อง ปัจจัยเหล่าน้ีส่งผลต่อความสาเร็จของการบริหารศูนย์ บณั ฑติ นักปฏบิ ตั ิ สรปุ

10 การสอนแบบบูรณาการโดยใช้ศูนย์บัณฑิตนักปฏิบัติ “สหกรณ์จาลอง” เป็นแหล่งเรยี นรู้ และสง่ เสรมิ การเป็นมหาวิทยาลยั นวัตกรรม สามารถสรปุ เป็นแนวปฏิบัตทิ ี่ดีในการจัดทาโครงการ สรุปไดด้ งั ภาพ ข้ันตอน กระบวนการ ผลลัพธ์ P วเิ คราะห์รปู แบบการสอนและ D การสอนแบบบรู ณาการ ความตอ้ งการของผเู้ รียน Activity-Based Learning Experiential Learning พฒั นาโครงการและออกแบบ Problem-Based Learning กจิ กรรม Project-Based Learning ดาเนินโครงการ ประเมนิ โครงการ ผลการประเมนิ C เชงิ คณุ ภาพ เชิงปรมิ าณ ประชมุ แลกเปลยี่ นเรียนรู้ A สรุปเลม่ รายงานสมบรู ณ์ ชดุ ความรู้ ภาพท่ี 1 รูปแบบการจดั การความรู้ การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านศนู ยบ์ ณั ฑิตนักปฏิบตั ิ บรรณานุกรม กนกวรรณ ง้าวสุวรรณ และไชยยนั ต์ ไชยยะ. 2559 “เทคนคิ การสอนโดยใช้สือ่ ออนไลน์” การประชมุ สัมมนาเครอื ข่ายการจดั การความรู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล สถาบนั การพลศึกษาและสถาบนั บณั ฑติ พัฒนศลิ ป์ บทสรปุ บทความแนวปฏบิ ัติที่ดี “ชุมชนนกั ปฏิบัติสูก่ ารจัดการความรู้ ในศตวรรษท่ี 21”ครงั้ ที่ 9 ระหว่างวนั ที่ 2-5 กุมภาพันธ์ 2559 กฤษณ์ สงวนพวก. 2559 “การถา่ ยทอดประสบการณ์การเรยี นการสอนทางด้านคหกรรม ศาสตร์” การประชุมสมั มนาเครอื ขา่ ยการจัดการความรู้ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราช มงคล สถาบนั การพลศึกษาและสถาบนั บณั ฑติ พฒั นศลิ ป์ บทสรุปบทความแนวปฏบิ ตั ิ ท่ดี ี “ชมุ ชนนักปฏบิ ตั สิ กู่ ารจดั การความรู้ ในศตวรรษท่ี 21”ครั้งท่ี 9 ระหวา่ งวันท่ี 2-5

11 กมุ ภาพันธ์ 2559 จฬุ าลักษณ์ สุทนิ . 2559 “การบรู ณาการปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งกบั การจดั การเรยี นการ สอน” การประชมุ สัมมนาเครือขา่ ยการจดั การความรู้ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล สถาบันการพลศึกษาและสถาบนั บัณฑิตพฒั นศลิ ป์ บทสรุปบทความแนวปฏบิ ัตทิ ดี่ ี “ชุมชนนกั ปฏิบตั สิ ู่การจดั การความรู้ ในศตวรรษที่ 21”ครง้ั ที่ 9 ระหว่างวนั ที่ 2-5 กมุ ภาพนั ธ์ 2559 ณรงค์ฤทธิ์ คงปิ่น. 2559 “เทคนคิ การสอนแบบบรู ณาการ” การประชมุ สัมมนาเครอื ข่ายการ จัดการความรู้ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล สถาบนั การพลศกึ ษาและสถาบัน บัณฑิตพัฒนศลิ ป์ บทสรปุ บทความแนวปฏบิ ตั ิทด่ี ี “ชุมชนนักปฏบิ ตั ิส่กู ารจดั การ ความรู้ ในศตวรรษท่ี 21”คร้งั ท่ี 9 ระหว่างวนั ท่ี 2-5 กมุ ภาพนั ธ์ 2559 ปราโมทย์ เหลาลาภะ วรี ยุทธ สหี านู อโนทยั วงิ สระนอ้ ย. 2560. “Field Trip เที่ยว เลน่ เหน็ เรยี น”. การประชุมสมั มนาเครอื ขา่ ยการจัดการความรู้ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราช มงคล สถาบันการพลศกึ ษาและสถาบนั บณั ฑิตพฒั นศลิ ป์ ครัง้ ที่ 10 ระหว่างวันท่ี 31 มกราคม - 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2560 เพชรไพรริน อปุ ปงิ และคณะ. 2561 “การสง่ เสรมิ การเรียนรู้ของนักบัญชียคุ ดิจิทลั Thailand 4.0: ด้าน การกากบั ดูแลกจิ การทีด่ ี การบริหารความเสย่ี งองคก์ ร การควบคุมภายในและการตรวจสอบ ภายใน”.การประชุมสมั มนาเครอื ข่ายการจดั การความรู้ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าช มงคล สถาบันการพลศกึ ษาและสถาบันบณั ฑติ พฒั นศลิ ป์ บทสรุปบทความแนวปฏบิ ัติ ท่ีดี “การจัดการความรสู้ ู่การขบั เคลือ่ น Thailand 4.0”ครัง้ ที่ 11 ระหวา่ งวนั ท่ี 20-23 กมุ ภาพันธ์ 2561 ไพรฑูรย์ สนิ ลารัตน์. 2560. “การศกึ ษาไทย 4.0 เป็นยิง่ กวา่ การศึกษา” การปฏริ ูปการศึกษา ไทยสผู่ ลลพั ธ์ Thailand 4.0 วิจารณ์ พานิช. 2556. การสร้างการเรยี นรสู้ ูศ่ ตวรรษท่ี 21. กรงุ เทพฯ : มลู นธิ ิสยามกัมมาจล. นชุ ลี ทพิ ย์มณฑา. 2559 “สร้างบุญกศุ ล สรา้ งรายได้ สาหรบั นกั เรยี นดอ้ ยโอกาสโรงเรยี น ชัยมงคลวิทย์” การประชมุ สมั มนาเครอื ขา่ ยการจดั การความรู้ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี ราชมงคล สถาบนั การพลศกึ ษาและสถาบนั บัณฑติ พฒั นศลิ ป์ บทสรุปบทความแนว ปฏิบตั ิที่ดี “ชมุ ชนนักปฏิบตั สิ กู่ ารจัดการความรู้ ในศตวรรษท่ี 21”ครัง้ ที่ 9 ระหวา่ ง วนั ที่ 2-5 กมุ ภาพนั ธ์ 2559 โสภณ ผลประพฤต.ิ 2559 “การจดั การเรยี นการสอนเพือ่ พฒั นาบณั ฑิตนกั ปฏิบัตใิ นศตวรรษ ที่ 21: สาขาวชิ าเทคโนโลยมี ัลตมิ เี ดยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน”. การ ประชมุ สมั มนาเครอื ขา่ ยการจัดการความรู้ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สถาบนั การพลศึกษาและสถาบันบัณฑติ พฒั นศิลป์ บทสรุปบทความแนวปฏิบตั ิท่ีดี “ชมุ ชนนกั ปฏิบตั ิสู่การจดั การความรู้ ในศตวรรษท่ี 21”ครั้งท่ี 9 ระหวา่ งวันที่ 2-5 กุมภาพันธ์ 2559 อลิสา เลี้ยงร่ืนรมย.์ 2561. การสื่อสารขยายผลการผลิตข้าวอินทรียใ์ นพืน้ ท่ลี ่มุ นา้ ปากพนัง.การ ประชุมสมั มนาเครือข่ายการจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สถาบันการพลศึกษา และสถาบนั บัณฑติ พัฒนศิลป์ บทสรุปบทความแนวปฏบิ ตั ทิ ดี่ ี “การจัดการความรสู้ ู่การขับเคล่ือน Thailand 4.0”คร้ังท่ี 11 ระหว่างวันท่ี 20-23 กมุ ภาพนั ธ์ 2561

รูปแบบการนาเสนอแนวปฏบิ ตั ิทด่ี ี โครงการประชมุ สมั มนาเครือข่ายการจัดการความรู้ฯ คร้ังที่ 12 “การจัดการความรสู้ ู่มหาวทิ ยาลยั นวตั กรรม” (Knowledge Management: Innovative University) สาหรับอาจารย/์ บุคลากรสายสนับสนนุ / นกั ศกึ ษา ชือ่ เรื่อง/แนวปฏิบัตทิ ี่ดี แนวทางเพ่ือพฒั นาการขอตาแหน่งทางวชิ าการสูอ่ งคก์ รแห่งการเรียนรู้ อยา่ งย่งั ยืน ชือ่ -นามสกุล ผู้นาเสนอ อาจารยว์ รรณุดาว์ เพ็ชรไพโรจน์ ชอ่ื สถาบนั การศึกษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน หน่วยงาน คณะบรหิ ารธุรกจิ สาขาวิชาการเงิน เบอรโ์ ทรศพั ท์มือถือ 09-0949-1544 เบอรโ์ ทรสาร E-Mail address [email protected]

องค์ประกอบประเด็นการเขยี นบทความแนวปฏบิ ตั ทิ ่ดี ี โครงการประชุมสัมมนาเครอื ข่ายการจัดการความรู้ฯ ครง้ั ที่ 12 “การจัดการความรสู้ มู่ หาวทิ ยาลัยนวตั กรรม” (Knowledge Management: Innovative University) สาหรบั อาจารย/์ บคุ ลากรสายสนับสนุน/ นักศกึ ษา แนวทางเพื่อพฒั นาการขอตาแหน่งทางวชิ าการสู่องค์กรแห่งการเรยี นรู้อยา่ งยงั่ ยืน The Development Guideline for the Academic Position Request to Learning Organization for Sustainable วรรณดุ าว์ เพ็ชรไพโรจน์ (Wannuda Petpairote)1 อาจารย์ประจาสาขาวชิ าการเงนิ คณะบรหิ ารธรุ กิจ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน [email protected] .............................................................................................. ............................................. บทสรุป คณะบรหิ ารธุรกจิ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอีสานมีปณิธานท่ีจะผลิตบัณฑิตให้มี คุณภาพ และมอี ตั ตลักษณท์ ่ีพงึ ประสงค์ตามทีม่ หาวทิ ยาลยั กาหนด โดยเน้นผลิตบัณฑติ ทม่ี คี วามรู้ จริยธรรมและคุณธรรม เพ่ือให้บัณฑิตมีวิสัยทัศน์ มีจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ ดาเนินการสอนโดย คณาจารย์ประจาคณะบริหารธุรกิจท่ีมีความรู้และความสามารถ เพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ของมหาวทิ ยาลัยตามเป้าประสงคท์ ่ี 2 บณั ฑิตนักปฏบิ ัตดิ ้านสังคมศาสตร์ ทสี่ ามารถปฏบิ ตั ิงานได้ อย่างมืออาชีพและสามารถแข่งขันได้ในประชาคมอาเซียน และเป้าประสงค์ที่ 3 ผลงานวิจัยหรอื งานสร้างสรรค์ทม่ี ีคุณภาพและมาตรฐานเป็นทีย่ อมรบั ผ้จู ดั ทาจึงตระหนักถงึ ความสาคัญของการจัดการความรู้ของบคุ คลากรเพ่ือเปน็ ประโยชน์ ในการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ จึงได้มีการพัฒนาการขอตาแหน่งทางวิชาการของบุคคลากร เนื่องจากเป็นเครื่องมือในการจัดระบบองค์ความรู้ท่ีมีอยู่ในตัวบุคคลท่ีเกิดจากประสบการณ์หรือ ความเชยี่ วชาญเฉพาะบคุ คลและความรู้ท่ีจาเป็นในการปฏบิ ตั ิงานมาบนั ทึกในรูปแบบของเอกสาร เพ่ือให้ทุกคนสามารถเข้าถึงองค์ความรู้ได้ และพัฒนาไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ เพ่ือมุ่งเน้นให้มี การดาเนินงานการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ที่ถูกต้อง สามารถนาไปปฏิบัติได้จริงและบรรลุ วตั ถปุ ระสงคท์ ีต่ ้ังไว้ ทั้งนี้คณาจารย์ผู้ที่มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ในการถ่ายทอดองค์ความรู้ เพื่อให้เป็นแนวทางในการพัฒนาการเข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาการ จะได้รับประโยชน์จาก ประสบการณ์ของแตล่ ะบุคคล สง่ ผลถึงการเปน็ องค์กรแหง่ การเรียนรไู้ ด้อยา่ งยั่งยนื ต่อไป คาสาคัญ : การขอตาแหน่งทางวชิ าการ, องค์กรแหง่ การเรยี นร้อู ยา่ งยัง่ ยืน

Summary Faculty of Business Administration (Rajamangala University of Technology Isan) has a commitment to produce graduates who possess ability, quality and desirable identity as determined by the university. The faculty focuses on producing graduates with knowledge, ethics and morality to give them a vision and professional ethics that taught by staffs of the business administration faculty who have knowledge and ability as according to the university’s strategy. According to the second goal, the hands-on graduates of social sciences can work professionally and have ability to comparable with the Asean community. For the third goal, the research or creative works are produced with good quality and acceptable standard level. The organizer thus realized to the importance of staff knowledge management that is benefit to produce the recognized graduates with qualities. From this reason, the requirement for academic position of the faculty staffs has been determined due to the academic position is a tool for organizing the existing personal knowledge system from their experience or expertise, and the necessary knowledge for working performance to be recorded in the form of documents. So everyone can access the knowledge and improve into the learning organization to focus on the correct learning exchange, actual practice and objective achievement. The faculty staffs, who have participated in the learning exchange for knowledge transferring to be the development guideline for academic position request, will receive the benefits from other individual experiences that affect to the sustainable learning organization further. Keywords: Academic position request, Sustainable learning organization

บทนา การพฒั นาการจดั การศึกษาตามพนั ธกิจอุดมศึกษาให้มคี ุณภาพระดับสงู นนั้ จาเป็นต้องมี การสง่ เสรมิ และพัฒนาอาจารย์ในดา้ นต่างๆ อาทิ ด้านคุณวุฒิ ตาแหนง่ ทางวิชาการ การสอน การ วิจัย และประสบการณ์วิชาชีพ ซึ่งการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพการผลิตผลงานวิชาการเพอื่ เข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาการ เป็นกระบวนการที่สาคัญอีกกระบวนหน่ึง ท่ีทาให้บุคลากรมีขีด ความสามารถเชิงสมรถนะตรงตามตาแหน่งงานและสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธผิ ล ดังน้ันการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้แนวทางการขอตาแหน่งทางวิชาการ ทาให้คณาจารย์ คณะบริหารธุรกิจได้มีการเตรียมตัววางแผน อันจะเป็นการเพ่ิมขีดความสามารถในการพัฒนา อาจารย์และมีการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ อันจะทาให้การเรียนการสอนเกิดประสิทธิภาพสูงสุด รวมท้ังยังเป็นการส่งเสริมให้คณาจารย์พัฒนาก้าวหน้าต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง โดยมุ่งแสวงหา ความรู้และความคิดใหม่ๆ ทางการศึกษา และเป็นการเพ่ิมโอกาสให้คณาจารย์สาขาวิชาการเงิน สามารถผลติ ผลงานทางวชิ าการ และเข้าสตู่ าแหน่งทางวิชาการได้ ด้วยเหตุน้ีคณะบริหารธุรกิจ ได้ร่วมกันประชุมเพ่ือเลือกองค์ความรู้จากอาจารย์ท่ีมี ความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ในการขอตาแหน่งทางวิชาการ เพื่อให้คณาจารย์ท่านอ่ืน สามารถนาไปปฏิบัติและปรับใช้ในการเขียนบทความวิชาการต่อไป รวมท้ังทาให้เกิดการ พัฒนาการขอตาแหน่งทางวิชาการอย่างต่อเนื่อง เป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิตอาศัยครู (Life Long Learning) และพร้อมส่กู ารเปน็ องคก์ รแหง่ การเรยี นรู้ได้อย่างยั่งยืนต่อไป วธิ กี ารดาเนินงาน การดาเนินงานเพ่ือเป็นแนวทางพัฒนาการขอตาแหน่งทางวิชาการ เน้นในเรื่องการ เตรยี มตวั และการวางแผนสาหรบั การเขา้ สตู่ าแหนง่ ทางวิชาการ โดยมีวิธีการดงั นี้ 1. การจัดทาเอกสารประกอบการสอน/ เอกสารคาสอน 2. คาแนะนาในการประเมนิ ผลการสอน 3. การสรรหาแหล่งทุนทาวิจัย และเทคนิคการทาผลงานวจิ ยั 4. การวางแผนทาบทความทางวิชาการ แนะนาการเลอื กหัวขอ้ ทีจ่ ะเขียนบทความ ทางวิชาการ และแหลง่ ตพี ิมพ์ 5. วธิ กี ารเขียนการเขียนหนังสือ หรอื ตารา 6. การเสนอผลงานทางวิชาการเพอ่ื ขอกาหนดตาแหนง่ ทางวิชาการ สาหรบั รายละเอยี ดแตล่ ะขัน้ ตอน ไดร้ วบรวมข้อมูลจากหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการพิจารณาแต่งตั้ง บคุ คลใหด้ ารงตาแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ (คณะกรรมการ ข้าราชการพลเรือนในสถาบนั อดุ มศึกษา, 2561) ผู้จัดทาได้ลาดับประเดน็ ขัน้ ตอนตา่ งๆ ดังต่อไปนี้ ประเด็น : การเตรยี มตวั / วางแผน สาหรบั การเขา้ สตู่ าแหนง่ ทางวิชาการ ต้องมีการสร้างแรงจูงใจ ให้คานึงถึงเงินเดือนและค่าตอบแทนที่จะได้รับมาเป็น ค่าใช้จ่าย ในครอบครัว และเงินเดือนท่ีจะได้รับเพิ่มในอนาคต เพ่ือความสุขของคนในครอบครัว เปรียบเทียบตนเองกับเพื่อนร่วมรุ่นท่ีมีตาแหน่งทางวิชาการ จะได้เกิดความมุ่งมั่น และมีกาลังใจ ในการทางาน โดยต้องมีการวางแผน วางกรอบเวลา วางแผนการขอทุน และลงมือทางานอย่าง

จริงจัง ขยันตั้งใจทางานอย่างต่อเน่ืองทาทุกวันจะได้ไม่ลืม ทางานกับคนทุกกลุ่มให้ได้เพ่ือสร้าง เครือขา่ ย อย่าเกบ็ ตัว การปดิ ตวั เองเป็นจุดจบของชีวิตของการทาผลงานทางวิชาการ ตอ้ งทางาน รว่ มกับชุมชนเพือ่ จะไดน้ าข้อมูลมาทาผลงานทางวชิ าการ อาจารย์ในมหาวิทยาลัยต้องขยันทางานวิจัย เพื่อนาความรู้ใหม่มาสอนนักศึกษา เขียนบทความทางวิชาการ หนังสือ และตารา นาไปสู่การได้ตาแหน่งทางวิชาการ ซึ่งต้องมีการ จัดสรรเวลา เช่น ตื่นเช้าทุกวันมาทาผลงาน ช่วงปิดภาคเรียนให้เวลาทางานวิจัยอย่างเต็มที่ เต็ม เวลา ท่ีสาคัญต้องมีการวางแผนชัดเจนว่าภายในกี่ปีต้องได้ตาแหน่งทางวิชาการท่ีสูงข้ึน และต้อง กาหนดเป้าหมายท่ีชัดเจน กาหนดเป้าหมายให้กับตนเองว่าถ้าไม่สาเร็จการศึกษาระดับปริญญา เอกตอ้ งมตี าแหน่งทางวิชาการใหไ้ ด้ จากการแลกเปล่ียนเรียนรู้ สามารถสรุปความรู้ทไ่ี ด้ คอื ต้องมกี ารวางแผนว่าจะเริ่ม เข้าสู่กระบวนการขอตาแหน่งทางวิชาการเมื่อใด และต้องทราบส่ิงท่ีต้องทา โดยมีการกาหนด ระยะเวลาใหช้ ดั เจนและทีส่ าคญั อย่างยงิ่ คือมีวินยั ในการทางานให้มาก ประเดน็ : การจดั ทาเอกสารประกอบการสอน/ เอกสารคาสอน มีการเตรยี มตวั หรอื วางแผนการเขยี นเอกสารอย่างไรบ้าง ใหแ้ ล้วเสร็จตามกาหนดท่ี วางไว้ ขั้นแรกต้องเลือกรายวิชาท่ีจะทาเอกสารประกอบการสอน/เอกสารคาสอน ในรายวิชาท่ี เป็นข้อเท็จจริง ไม่ต้องอาศัยการวิเคราะห์ ตีความ ซ่ึงอาจทาให้เกิดความผิดพลาดได้ และเร่ิมลง มือทางานอย่างจริงจัง ขยัน ตั้งใจทางานอย่างต่อเนื่องทาทุกวัน จะได้ไม่ลืม และนาเอกสาร เน้ือหาวิชาท่ีใช้สอนนักศึกษา มารวบรวมเป็นรูปเล่มส่งให้อาจารย์ต่างสาขาวิชา หรือนักศึกษา ช่วยอา่ น ถ้าอา่ นแลว้ เข้าใจ ใหส้ ่งผเู้ ช่ียวชาญทเ่ี ปน็ เพอ่ื นท่ีเรียนมาด้วยกนั หรอื อาจารยท์ ส่ี อนสมัย เรียนชว่ ยประเมินในเบอ้ื งตน้ จากการแลกเปล่ียนเรยี นรู้ สามารถสรุปความรู้ที่ได้ คอื ตอ้ งมกี ารพูดคุยกบั คณาจารย์ใน สาขาว่าแต่ละท่านจะทาเอกสารประกอบการสอนวิชาอะไร เพอื่ ไม่ให้เกิดการซ้าซ้อน และทางาน อยา่ งมีวินยั เม่ือทาเสรจ็ ควรให้บคุ คลอืน่ ชว่ ยอา่ นเพอ่ื ตรวจสอบความถกู ต้อง ประเดน็ : คาแนะนาในการประเมินผลการสอน ควรมีการทบทวนการสอนก่อนเข้าบทเรียน เพื่อให้กรรมการเห็นความเช่ือมโยง ระหว่างเน้ือหาที่จะสอนกับเนื้อหาท่ีสอนมาแล้ว และช้ีแจงเนื้อหาการสอนในวนั ท่ีมีการสอน โดย เนื้อหาท่ีสอนนักศึกษาควรเป็นความรู้ใหม่ทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน และถ้าได้จากการศึกษา คน้ ควา้ จากการวจิ ัยของตนเองจะดีมาก สาหรับการเตรียมตัวก่อนเข้าประเมินการสอน ควรตรวจสอบอุปกรณ์ช่วยสอนว่า อยู่ในสภาพท่ีพร้อมใช้งาน การบันทึกภาพการสอนต้องบันทึกโดยเจ้าหน้าที่ท่ีมีความรู้และ ประสบการณ์ การเลือกกลุ่มนักศึกษา นักศึกษาบางกลุ่ม ไม่พร้อมเข้าเรียน ไม่ต้ังใจเรียน ไม่ควร เลือกเป็นกลุ่มนักศึกษาที่ใช้ประเมินการสอน ควรมีการเตรียมคาถามเชิงวเิ คราะห์ สังเคราะห์ ให้ นักศกึ ษาตอบคาถาม และเปิดโอกาสให้นกั ศึกษาได้ซกั ถามในหอ้ งเรยี น ทั้งน้ีต้องมีการนาการปฏิสัมพันธ์ของนักศึกษาในชั้นเรียน รวมท้ังผลการประเมิน จากนกั ศึกษา มาพัฒนาการสอนและเอกสารประกอบการสอนของตนเองอยูเ่ สมอ

สาหรับอาจารย์ที่รับผิดชอบสอนรายวชิ าเดิมอย่างต่อเน่ือง เพือ่ ให้เกิดความชานาญ เช่ียวชาญในรายวิชานั้น และสามารถพัฒนาเนื้อหาของเอกสารประกอบการสอนและเอกสารคา สอนได้ จากการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ สามารถสรปุ ความรู้ทไ่ี ด้ คอื ตอ้ งมคี วามกระตือรือร้นอยู่ เสมอในการพัฒนาการเรียนการสอนเพื่อให้ทันสมัย และตรงตามลักษณะของผู้เรียน (ผู้รับสาร) ให้มากท่ีสุด เพื่อความรู้ท่ีถ่ายทอดไปจะได้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนเป็นไปตามอัตตลักษณ์ที่ มหาวทิ ยาลยั ตอ้ งการ คอื เป็นบณั ฑิตนักปฏบิ ตั ิท่ดี ี ประเด็น : การสรรหาแหลง่ ทุนทาวิจัย และเทคนคิ การทาผลงานวจิ ยั การสรรหาแหล่งทุนวิจัยสามารถหาได้จาก การขอรับการสนับสนุนเงินทุนวิจัยจาก กองทุนวิจัย การสนับสนุนจากแหล่งทุนภายนอก แหล่งทุนจากคณะ (ถ้ามี) และเสนอแนะว่าทุก คณะควรสนบั สนุนเงินทนุ ทาวิจยั ควรมีการผลิตผลงานวิจัยหลายเรื่องและเลือกเรื่องที่มีคุณค่าที่สุด ดีท่ีสุด ไปขอ ตาแหน่งทางวิชาการ จากการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ สามารถสรปุ ความรู้ทไี่ ด้ คอื เม่ือคณาจารยผ์ เู้ ขา้ สู่การขอ ตาแหน่งทางวิชาการได้กาหนดเร่ืองที่จะทาจัยแล้ว สามารถนาหัวข้อท่ีสนใจไปค้นหาแหล่งทุน จากหน่วยงานทเ่ี กีย่ วข้องได้ เพื่อจะได้มกี ารตอ่ ยอดองค์ความรู้อย่างต่อเนอ่ื ง ประเด็น : การวางแผนทาบทความทางวิชาการ แนะนาการเลือกหัวข้อที่จะเขียน บทความทางวิชาการ และแหล่งตีพมิ พ์ ควรเลือกทาเรื่องที่เกีย่ วข้องกบั สาขาวิชาทจ่ี ะขอตาแหน่ง และต้องกลา้ ในการส่งผล งานให้ผู้อ่ืนอ่าน ช่วยติง ช่วยแก้ไข สาหรับการเลือกลงตีพิมพ์ในวารสารควรเป็นวารสารท่ีเป็นที่ รู้จกั อยา่ งแพร่หลายในฐานข้อมลู ตา่ ง ๆ ผู้ทาผลงานต้องมีความขยันอ่าน ฝึกวิเคราะห์ และสังเคราะห์ เพอื่ นามาใชใ้ นการทา ผลงานอย่างต่อเนื่อง จากการแลกเปล่ียนเรยี นรู้ สามารถสรุปความรู้ที่ได้ คือ ควรเป็นหัวข้อที่สนใจ และ เกยี่ วขอ้ งกบั สาขาทสี่ อนเน่อื งจากเป็นผลตอ่ เน่ืองในระยะยาว และตอ้ งมีวนิ ัยในการทางานให้มาก ประเดน็ : วธิ ีการเขียนหนังสือ หรือตารา ก่อนสง่ ผลงานต้องมีการตรวจทานหลาย ๆ ครั้ง ตรวจสอบคาผิดคาถูก ความคงเส้น คงวา ลาดับหัวข้อควรเป็นรูปแบบเดียวกันตลอดเล่ม รูปภาพมีการอ้างอิงที่มา และต้องมีการ อ้างองิ ใหค้ รบถว้ น จากการแลกเปล่ียนเรียนรู้ สามารถสรุปความรู้ท่ีได้ คือ ควรใส่ใจในเรื่อง จรรยาบรรณในการทาตาราให้มาก และเขียนในรูปแบบของตนเองให้เป็นอันหน่ึงอันเดียวกันท้ัง เล่ม ประเด็น : การเสนอผลงานทางวชิ าการเพ่ือขอกาหนดตาแหนง่ ทางวิชาการ ผ้ทู าผลงานควรเลอื กเสนอผลงานท่ีมีความทันสมัย ให้ส่งผลงานท่ีตนเองประเมินผล งานของตนเองแล้ว และม่ันใจในคุณภาพของผลงาน ย่ืนขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ เมื่อมี ผลงานพรอ้ มและสมบูรณท์ ่ีสุด

จากการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ สามารถสรุปความรู้ทไี่ ด้ คอื ผลงานต้องมีความทันสมัย และยื่นผลงานเมอ่ื พรอ้ มท่สี ดุ ประเด็น : ประสบการณ์การขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการท่ีผ่านมา แนะนาเทคนคิ และวธิ กี ารอ่ืนๆ อาจารย์ทุกคนต้องคิดว่าการเข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาการเป็นหน้าท่ีทุกคน เม่ือส่งผล งานลงตพี ิมพ์ในวารสาร หากผ้ทู รงคุณวุฒิเสนอให้ปรับปรุงแก้ไข ขอให้รบี แก้ไขตามคาแนะนา ไม่ จาเปน็ ไม่ควรโต้แย้งหากไมม่ เี หตุผลในเชงิ วชิ าการเพยี งพอ มหาวิทยาลัยควรสนับสนุนห้องทางาน เอกสารการค้นคว้า จัดภาระงานสอนท่ี พอเหมาะ และควรส่งเสริมให้เจ้าหน้าท่ีของหน่วยงานมีความรู้ ความเข้าใจ ในระเบียบ หลักเกณฑ์การขอตาแหน่งทางวิชาการ เพ่ือช่วยแนะนาผู้ขอกาหนดตาแหน่งทางวชิ าการได้อย่าง ถกู ตอ้ ง และควรมรี ะบบพเี่ ล้ยี งในการทาผลงานทางวชิ าการเพือ่ ทาให้งานสาเร็จลุลว่ งได้เร็วย่ิงขึน้ ผู้ทาผลงานต้องศึกษาระเบียบให้เข้าใจด้วยตนเอง อาจสอบถามเจ้าหน้าที่ได้เพ่ือ ความม่นั ใจ งานวิจัยต้องได้รับการเผยแพร่ในวารสารทางวิชาการท่ีมี peer review สาหรับ งานวิจัยที่เผยแพร่โดยการนาเสนอภาคโปสเตอร์ ไม่อาจนามาเป็นผลงานทางวิชาการท่ีจะขอ กาหนดตาแหน่งทางวิชาการได้ กรณีตีพิมพ์ในวารสารออนไลน์อนุโลมให้ถือเป็นวารสารทาง วชิ าการได้ กรณีมีหนังสอื รบั รองจากบรรณาธกิ ารวารสารวา่ วารสารนั้นมี peer review คณะกรรมการพิจารณาตาแหน่งทางวิชาการจะรับพิจารณาเฉพาะผลงานทาง วิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กาหนดแล้ว กรณีผู้ขอกาหนด ตาแหน่งทางวิชาการมีหนังสือรับรองจากบรรณาธิการวารสารว่าจะตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานทาง วชิ าการในวารสารนนั้ ไมถ่ ือวา่ ผลงานทางวิชาการมีความสมบรู ณ์ตามหลักเกณฑ์ท่ี ก.พ.อ.กาหนด กรณีการขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ ในสาขาวิชาทางศึกษาศาสตร์หรือทาง สังคมศาสตร์จาเปน็ ที่จะต้องส่งรายงานวิจัยฉบบั สมบูรณ์ควบคู่กับบทความวิจัย เพื่อประกอบการ พจิ ารณาของผทู้ รงคุณวุฒิควบคูก่ นั โดยไมม่ ขี อ้ ยกเว้น ผลและอภิปรายผลการดาเนนิ งาน 1. คณาจารย์ทุกท่านควรมีการวางแผนในการขอตาแหน่งทางวิชาการ เพื่อสาเร็จตาม เปา้ หมายโดยเร็ว ทีส่ าคญั ต้องมีวนิ ัยการทางานอย่างสูง 2. การเขียนตาราแต่ละบทควรจะมีวัตถุประสงค์ บทสรุป และแบบฝึกหัด ควรจะมีการ เกร่ินนา ทาให้เราเห็นภาพรวมว่าจะนาเสนอเน้ือหาอะไรต่อไป ควรจะมีการอธิบายรูปและตาราง ท่ใี ส่ลงไป ควรจะแสดงการวเิ คราะห์ว่าทาไมจึงต้องเป็นแบบน้ี ไมค่ วรจะแค่เขียนเฉพาะวา่ มันเป็น แบบนี้ ควรจะมีการเช่ือมโยงข้อมูลแต่ละส่วนว่าเก่ียวข้องกันอย่างไร นามาประยุกต์ใช้ร่วมกันได้ อย่างไร และในตาราเล่มเดียวกัน ควรจะใช้ฟอนต์เดยี วกัน สะกดคาให้ถูกต้อง จัดกั้นหน้าและก้ัน หลงั ใหต้ รงกัน มีหมายเลขกากับในแต่ละรูป และในแตล่ ะตาราง 3. ผลงานทน่ี ามาขอตาแหน่งวิชาการจะต้องเปน็ ผลงานหลงั จากได้รบั การแตง่ ตัง้ ให้ดารง ตาแหนง่ ทางวิชาการเดิม และตอ้ งได้รบั การเผยแพรต่ ามหลกั เกณฑ์ท่ี ก.พ.อ. กาหนด พรอ้ มแสดง หลักฐานว่าการเผยแพร่นั้นได้ผ่านการประเมินคุณภาพ โดยคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิใน

สาขาวิชาน้ันๆ หรือสาขาวิชาท่ีเก่ียวข้อง (peer reviewer) ที่มาจากหลากหลายสถาบัน และ ผลงานวิชาการท่ีนามาขอควรจะมีส่วนร่วม 50% ขึ้นไป หากมีผลงานวิชาการท่ีมีส่วนร่วมน้อย กว่า 50% ควรจะจัดกลมุ่ ของบทความทเี่ กี่ยวข้องกันเขา้ ด้วยกนั และใหผ้ ลรวมของเปอร์เซนต์การ มสี ว่ นร่วมงานวชิ าการของบทความในกลุ่มนีม้ ีต้งั แต่ 50% ขนึ้ ไป 4. การขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ ในสาขาวิชาทางศึกษาศาสตร์หรือทาง สังคมศาสตร์จาเปน็ ที่จะตอ้ งสง่ รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ควบคกู่ ับบทความวิจัย เพือ่ ประกอบการ พจิ ารณาของผู้ทรงคณุ วุฒิควบคูก่ ัน 5. ความเข้าใจเร่ืองเอกสารประกอบการสอนคือ เอกสารประกอบการสอนวิชาใดวิชา หนงึ่ ตามหลักสตู ร เอกสารคาสอนคือ เอกสารคาบรรยายที่ใช้สอนวิชาใดวิชาหนึ่งตามหลักสูตรและ สมบูรณ์กว่าเอกสารประกอบการสอน ตาราคือ เอกสารทางวิชาการที่เขียนเพื่อตอบสนองเนื้อหาทั้งหมดหรือส่วนหน่ึงของ รายวิชา ที่มกี ารวเิ คราะห์และสังเคราะหค์ วามรู้ท่เี กย่ี วข้อง หนังสือคือ เอกสารทางวิชาการที่เขียนข้ึนเพ่ือเผยแพร่ความรู้ไปสู่วงวิชาการและ/ หรือผู้อา่ นทว่ั ไป ไม่จาเปน็ ต้องเป็นไปตามหลักสูตร สรุป แนวทางเพ่ือพัฒนาการขอตาแหน่งทางวิชาการสู่องค์กรแหง่ การเรยี นรู้ในครั้งน้ี ทาให้เกิด แนวปฏิบัตทิ ี่ดี ดังน้ี 1. แนวปฏิบตั ทิ ดี่ ี 1.1 แนวปฏิบตั ิทดี่ ีสาหรบั สถาบนั การศกึ ษา เพ่ือสรา้ งแนวปฏิบตั ิท่ดี ขี องการปฏบิ ัติงานดา้ นการพัฒนาบุคลากรทางการสอนให้ เป็นแบบอย่างความสาเร็จสาหรับการขอตาแหน่งทางวิชาการ โดยการพัฒนาแนวทางการขอ ตาแหนง่ ทางวิชาการใหเ้ ป็นองค์กรแห่งการเรยี นรู้ได้อย่างย่ังยนื ต่อไป รวมทั้งเปน็ การมุ่งส่กู ารเป็น มหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู้ พัฒนาผลงานวิจัย และตาราอย่างเต็มรูปแบบของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยรี าชมงคลอีสานอกี ด้วย 1.2 แนวปฏบิ ตั ิทดี่ ีสาหรบั ผู้สอนและผู้เรียน ผลจากการดาเนินกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้ (Knowledge Sharing) ระหว่าง ผู้สอนกับผู้สอน และการเรียนรู้โดยการปฏิบัติ (Action Learning) จนเกิดเป็นแนวปฏิบัติท่ีดี สง่ ผลต่อการพัฒนาการขอตาแหน่งทางวิชาการใหเ้ ป็นไปอย่างราบรื่น ซ่งึ ทั้งผถู้ า่ ยทอดองคค์ วามรู้ ประสบการณ์ และผู้เรียนรู้ สามารถนาข้อมูล ประสบการณ์ต่างๆ ไปต่อยอดจนกลายเป็นองค์ ความรใู้ หมท่ างการขอตาแหน่งทางวชิ าการตอ่ ไปในอนาคต 2. ความทา้ ทายในอนาคตสาหรับการพัฒนาการขอตาแหน่งทางวชิ าการ มุ่งเน้นการถ่ายทอดความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันของผู้มีประสบการณ์ใน การขอตาแหน่งทางวิชาการ โดยมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลและแนวทางที่ทาให้การขอตาแหน่งทาง วิชาการประสบความสาเร็จในระยะเวลาอันสั้น ทั้งน้ีเพ่ือเป็นการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้เพ่ือ

พัฒนาการขอตาแหน่งทางวิชาการในข้ันท่ีสูงขึ้น ซ่ึงเป็นทักษะท่ีต้องพัฒนาตลอดอายุการทางาน สง่ ผลดตี อ่ การเปน็ องคก์ รแห่งการเรียนรู้ตอ่ ไปในอนาคต บรรณานุกรม คณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา. 2561. หลักเกณฑแ์ ละวิธีการ พจิ ารณาแตง่ ตั้งบุคคลใหด้ ารงตาแหนง่ ทางวิชาการ. ค้นวันที่ 5 ตุลาคม 2561, http://www2.tsu.ac.th/org/capr/UserFiles/601215-3.pdf

การพฒั นาระบบฐานขอ้ มูลสหกิจศึกษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน Development of the Cooperative Education Database System for Rajamangala University of Technology Isan ผศ.ดร.สมพนิ จิ เหมอื งทอง1 และศตวรรษ ศรีชาติ2 1สำนกั ส่งเสรมิ วิชำกำรและงำนทะเบยี น มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลอสี ำน [email protected] 2ศูนยส์ หกจิ ศกึ ษำ สำนักสง่ เสริมวิชำกำรและงำนทะเบยี น มหำวิทยำลยั เทคโนโลยีรำชมงคลอสี ำน [email protected] ....................................................................................................................................................... บทสรปุ กำรจัดกำรควำมรู้เพ่ือพัฒนำระบบฐำนข้อมูลสหกิจศึกษำ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคล อีสำน มีวัตถุประสงค์เพื่อเพ่ิมประสิทธิภำพกำรทำงำนและอำนวยควำมสะดวกเจ้ำหน้ำที่ นักศึกษำ สหกิจ อำจำรย์นิเทศ และสถำนประกอบกำร ซึ่งเนื้อหำหลักประกอบด้วยกำรจัดกำรข้อมูลและกำร รำยงำนข้อมูลผลกำรดำเนินงำนสหกิจศึกษำ โดยกำรจัดกำรควำมรู้ในคร้ังนี้ได้ทำกำรวิเครำะห์และ ออกแบบระบบฐำนข้อมูลสหกิจตำมขั้นตอนและวิธีกำรพัฒนำระบบสำรสนเทศ ซ่ึงแบบจำลองระบบ แบ่งออกเป็น 8 ส่วน ได้แก่ ข้อมูลสหกิจศึกษำทั้งหลักสูตรภำษำไทยและนำนำชำติ ข้อมูลกำรจัด กำรศึกษำ ขอ้ มลู รำยช่ือคณำจำรย์นเิ ทศสหกจิ ข้อมลู องคก์ รผู้ใช้บัณฑิตท่ีเข้ำร่วมโครงกำรสหกิจศึกษำ ทั้งในประเทศและต่ำงประเทศ ข้อมูลกำรพัฒนำคณำจำรย์นิเทศ ข้อมูลนักศึกษำที่ลงทะเบียนและ ปฏิบัติงำนในรำยวิชำสหกิจศึกษำ ข้อมูลกำรพัฒนำบุคลำกรด้ำนสหกิจศึกษำ และข้อมูลภำวะกำรมี งำนทำ รวมถึงข้อมลู กำรทำงำนสหกิจดำ้ นอน่ื ๆ ผลกำรดำเนินงำนพบว่ำ ระบบฐำนข้อมูลกำรบริหำรงำนสหกิจศึกษำท่ีพัฒนำขึ้นน้ี สำมำรถ เป็นเคร่ืองมือช่วยแกป้ ญั หำกำรบรหิ ำรจัดกำรข้อมูลและกำรรำยงำนขอ้ มูลกำรดำเนินงำนสหกิจศกึ ษำ แบบเดิม อีกท้ังระบบมีขีดควำมสำมำรถตอบสนองต่อควำมต้องกำรของผู้ใช้งำนได้อย่ำงมี ประสิทธิภำพ ซ่ึงไดร้ ับควำมพงึ พอใจจำกกำรประเมินโดยผู้บริหำร อำจำรย์ เจ้ำหน้ำท่ี นักศึกษำ และ ประชำชนท่ัวไป ในระดับดีมำกร้อยละ 83.84 ท้ังน้ีผลสัมฤทธ์ิของกำรจัดกำรควำมรู้น้ี สำนักงำน คณะกรรมกำรอุดมศึกษำยังได้ร่วมกำหนดให้เป็นแนวปฏิบัติ เร่ืองกำรนำข้อมูลและสำรสนเทศเพ่ือ กำรรำยงำนขอ้ มูลกำรดำเนนิ งำนและกำรบรหิ ำรงำนสหกจิ ศกึ ษำระดับประเทศตอ่ ไป คาํ สําคัญ กำรจดั กำรควำมรู้ ระบบฐำนขอ้ มูล สหกิจศึกษำ มหำวทิ ยำลัยเทคโนโลยรี ำชมงคลอสี ำน

Summary This Knowledge Management (KM) aims to develop database systems of the Co-operative Education for Rajamangala University of Technology Isan. The objective of this KM are support and increase personnel performance for students, teachers, and establishments. The co-operative studies and co-operative education reports are the main objectives of the KM. The analytical and designation of system are based on the algorithm development of intelligence system model. The model is divided into 8 sections as information of co-operative education in Thai and International languages, an education information, list of co-operative supervision, information of the organization participating graduate co-operative education users in Thailand and International, information of the co-operative faculty register and practice, and marketplace information, including employment data and others co-operative. Results of the KM found that the co-operative education database system can be developed as a KM’s tool, which is solve the problems and respond to users need effectively. The system is very well by satisfied as 83.84% . Managers as faculty, staff of the students, the general public, and all users has been evaluated the system. Moreover, the Office of the Higher Education Commission defined as information of the operational data should report and management as co-operative future. Keywords: Knowledge Management, database systems, cooperative education, Rajamangala University of Technology Isan

บทนาํ มหำวทิ ยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลอสี ำนจดั ต้ังศนู ยส์ หกิจศกึ ษำและฝกึ งำน เพื่อเปน็ ศนู ย์ขอ้ มูล สหกิจและกำรฝึกงำน ซึ่งเก็บรวบรวมข้อมูลอำจำรย์นิเทศสหกิจ นักศึกษำสหกิจ สถำนประกอบกำร และข้อมูลภำวะกำรมีงำนทำ เพื่อกำรเช่ือมโยงฐำนข้อมูล ทรัพยำกร และองค์ควำมรู้ที่เป็นมำตรฐำน เดียวกันท้ังมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลอีสำนศูนย์กลำงนครรำชสีมำ วิทยำเขตขอนแก่น วิทยำ เขตสกลนคร และวิทยำเขตสุรินทร์ โดยศูนย์สหกิจศึกษำทำหน้ำที่รับรำยงำนผลกำรดำเนินงำน ส่งเสริมและสนับสนุนกำรจัดกำรศึกษำระบบสหกิจศึกษำตลอดมำอย่ำงต่อเนื่อง แต่เนื่องจำกกำร ทำงำนท่ีผ่ำนมำ กำรรับส่งข้อมูลสหกิจของศูนย์สหกิจศึกษำยังขำดระบบและมำตรฐำนกำรจัดกำร ข้อมูลในรูปแบบเดียวกัน ทั้งข้อมูลจำนวนนักศึกษำ สหกิจศึกษำ จำนวนอำจำรย์นิเทศ และจำนวน สถำนประกอบกำร โดยแสดงออกเป็นตำรำง รูปภำพ และข้อควำม ซึ่งเป็นปัญหำท่ียุ่งยำกมำกเมื่อ ต้องใช้ข้อมูลสหกิจเพื่อประโยชน์หรือรำยงำนในเชิงนโยบำย รวมถึงเพ่ือกำรพัฒนำอุดมศึกษำของ ประเทศให้มีประสทิ ธภิ ำพและประสทิ ธิผลอย่ำงยัง่ ยนื (กลุ่มพัฒนำเครอื ขำ่ ยอุดมศกึ ษำ, 2559) ดังนั้นเพื่อให้ข้อมูลสหกิจมีมำตรฐำนและเป็นระบบ สำมำรถค้นหำ นำไปใช้ประโยชน์ และ จัดทำรำยงำนได้โดยง่ำย จึงเกิดกำรพัฒนำระบบฐำนข้อมูลสหกิจด้วย Software Development Life Cycle ซึ่งสำมำรถออกแบบ พัฒนำ วิเครำะห์ และทดสอบระบบได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ทั้งนี้ ในส่วนของผู้ใช้งำนที่มีสิทธิ์ (Admin) สำมำรถเพ่ิมข้อมูล ลบข้อมูล และปรับปรุงแก้ไขข้อมูลได้ด้วย ตนเอง ทั้งข้อมูลสหกิจศึกษำหลักสูตรภำษำไทยและนำนำชำติ ข้อมูลกำรจัดกำรศึกษำ ข้อมูลรำยชื่อ คณำจำรย์นิเทศสหกิจ ข้อมูลองค์กรผู้ใช้บัณฑิตท่ีเข้ำร่วมโครงกำรสหกิจศึกษำทั้งในประเทศและ ตำ่ งประเทศ ข้อมูลกำรพัฒนำคณำจำรย์นิเทศ ข้อมูลนักศึกษำที่ลงทะเบยี นและปฏบิ ัติงำนในรำยวิชำ สหกิจศึกษำ ข้อมูลกำรพัฒนำบุคลำกรด้ำนสหกิจศึกษำ และข้อมูลภำวะกำรมีงำนทำ รวมถึงข้อมูล กำรทำงำนด้ำนสหกิจอ่ืนๆ เป็นต้น โดยข้อมูลดังกล่ำวผู้ใช้งำนสำมำรถจัดพิมพ์เป็นรำยงำนสรุปได้ใน รูปแบบตำรำงข้อมูลและกรำฟ ในระดับมหำวิทยำลัยฯ และระดับวิทยำเขต ส่วนผู้ใช้งำนทั่วไป ได้แก่ นักศึกษำ อำจำรย์ ผู้ประกอบกำร และประชำชนท่ัวไป สำมำรถเรียกค้นหำข้อมูลกำรดำเนินงำน ด้ำนสหกจิ ศึกษำตำมที่กำหนดได้ วตั ถุประสงค์ 1. เพอ่ื จัดรูปแบบฐำนข้อมูลสหกิจศึกษำ ของมหำวิทยำลัยเทคโนโลยรี ำชมงคลอสี ำน 2. เพื่อพัฒนำระบบฐำนขอ้ มูลสหกจิ ศกึ ษำ 3. เพื่อจัดรปู แบบรำยงำนผลกำรดำเนนิ งำนสหกิจศึกษำ มหำวิทยำลยั เทคโนโลยรี ำชมงคลอสี ำน วิธีการดาํ เนนิ โครงงาน กำรดำเนินกำรพัฒนำระบบฐำนข้อมูลสหกิจศึกษำใช้กรอบกำรทำงำนตำ มข้ันตอน กระบวนกำรพัฒนำซอฟต์แวร์ที่เรียกว่ำ Software Development Life Cycle โดยมีกำรทำงำน 4 ข้ันตอน ดังนี้ 1) สำรวจควำมต้องของผู้ใช้งำน (Preliminary Investigation Phase) (เครือข่ำยเพ่ือ กำรพัฒนำอุดมศึกษำภำคเหนือตอนบน, 2559) 2) วิเครำะห์ควำมต้องของผู้ใช้งำน (System

Analysis Phase) 3) ออกแบบและพฒั นำระบบ (System Design Phase) (สำนักงำนคณะกรรมกำร อุดมศึกษำและสมำคมสหกิจศึกษำไทย, 2552) และ 4) ทดสอบและประเมินผลระบบ (System testing and evaluation) ดังแสดงขั้นตอนกำรพัฒนำระบบฐำนข้อมูลเพ่ือกำรบริหำรงำนสหกิจ ศึกษำ มหำวิทยำลยั เทคโนโลยีรำชมงคลอสี ำน ในรูปที่ 1 1. การสาํ รวจความต้องของผูใ้ ช้งาน - กำรสมั ภำษณ์/แบบสอบถำม - ศึกษำจำกเอกสำร - กำรเก็บรวบรวมจำกดำเนินงำนและรำยงำนผลกำรดำเนินงำน - ขอ้ มลู ควำมตอ้ งกำรของผใู้ ช้งำน 2.การวิเคราะห์ความต้องการของผใู้ ชง้ าน - วเิ ครำะห์ระบบ - วิเครำะหค์ วำมต้องกำรผใู้ ช้งำน 3. การออกแบบและพฒั นาระบบ - ออกแบบกระบวนกำรปฏิบตั งิ ำน - ออกแบบรำยละเอียดรปู แบบผลลพั ธ์ - ออกแบบหน้ำจอระบบ 4.การทดสอบและประเมินผลระบบ - Unit Testing - Integration Testing - System Testing - Acceptance testing รปู ที่ 1 ข้ันตอนกำรพฒั นำระบบฐำนขอ้ มลู งำนสหกิจศึกษำ มหำวิทยำลยั เทคโนโลยรี ำชมงคลอีสำน กำรจัดกำรองค์ควำมรู้เพื่อกำรพัฒนำระบบฐำนข้อมูลงำนสหกิจศึกษำได้จัดทำคู่มือกำรใช้งำน ระบบและวดี โี อชว่ ยสอน โดยมีรำยละเอียดดงั ตอ่ ไปนี้ • ควำมหมำยของสหกจิ ศึกษำ • ควำมต้องกำรของระบบ Browser: Firefox, Internet Explorer, Google Chrome • องคป์ ระกอบของระบบ เชน่ กำรเพ่ิม ลบ แก้ไข ค้นหำข้อมูลภำยในระบบ • กำรใช้งำนระบบผ่ำนเมนูดังต่อไปน้ี รำยช่ืออำจำรย์นิเทศ จำนวนอำจำรย์นิเทศ จำนวน นกั ศกึ ษำสหกจิ ศึกษำ จำนวนองคก์ รผูใ้ ชบ้ ัณฑิต ขอ้ มูลรำยละเอยี ดนกั ศึกษำสหกิจศกึ ษำโดย แยกตำมเขตพื้นที่ และฐำนข้อมลู องคก์ รผูใ้ ช้บณั ฑิต • กำรแสดงผลขอ้ มูลสหกจิ ในรปู แบบตำรำงและกรำฟ ดงั แสดงตัวอย่ำงในรูปท่ี 2

รปู ที่ 2 กรำฟและตำรำงแสดงข้อมูลสหกิจศกึ ษำ กระบวนการพัฒนาระบบฐานขอ้ มูลเพอ่ื การบรหิ ารสหกิจศกึ ษา โดยใชเ้ คร่ืองมือการจดั การความรู้ ดงั รายละเอียดต่อไปน้ี 1. การเรียนรู้โดยการปฏิบัติ (Action Learning) เป็นกำรเรียนรู้จำกกำรลงมือปฏิบัติจริง เพ่ือให้เข้ำใจถึงสำเหตแุ ละนำไปสู่กำรแก้ไขปัญหำ โดยสำมำรถพฒั นำวิธกี ำรทำงำนให้มีประสิทธิภำพ ยิ่งข้ึนได้ ทำให้ได้มำซึ่งแนวปฏิบัติท่ีดี ซึ่งเป็นกำรนำเทคโนโลยีสำรสนเทศมำประยุกต์ใช้ในกำร ดำเนินงำนสหกิจศึกษำ โดยกำรอัพโหลดไฟล์ Excel .CSV เข้ำระบบฐำนข้อมูลงำนสหกิจศึกษำ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลอีสำน (กำรจัดกำรควำมรู้ข้อน้ี แสดงไว้ในขั้นตอนกำรสำรวจควำม ตอ้ งของผู้ใช้งำน) 2. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) สำหรับกระบวนกำรศึกษำ วิเครำะห์ออกแบบระบบและกำรพัฒนำซอฟแวร์ ผู้พัฒนำได้ประยุกต์ใช้วิธีกำรพัฒนำซอฟต์แวร์ โดย กำรจัดทำต้นแบบ (Prototyping Methodology) เพื่อให้ผู้พัฒนำระบบสำมำรถรวบรวมประเด็น ปัญหำและควำมต้องกำรของผู้ใช้งำนได้ สำมำรถพัฒนำงำนได้ถูกต้องและรวดเร็วข้ึน ทั้งน้ีกำรพัฒนำ ระบบได้ให้ผู้ใช้งำนมีส่วนร่วมกำรพัฒนำระบบ ซึ่งทำให้ผู้ใช้งำนมีควำมเข้ำใจระบบ เกิดควำมร่วมมือ และกำรยอมรับระบบก่อนนำไปใช้งำนจริงต่อไป ทั้งน้ีผู้พัฒนำระบบได้จัดทำช่องทำงกำรทำงำน ร่วมกันกับวิทยำเขต ดังแสดงผังกำรทำงำนในรูปท่ี 3 (กำรจัดกำรควำมรู้ข้อนี้ แสดงไว้ในข้ันตอนกำร วเิ ครำะหร์ ะบบ)

รูปท่ี 3 ผงั กำรทำงำนของระบบฐำนขอ้ มลู งำนสหกจิ ศกึ ษำรว่ มกบั วิทยำเขต 3. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge access) เผยแพร่เพื่อให้บุคลำกรทรำบวิธีกำรเข้ำใช้ งำนระบบฐำนข้อมูลสหกิจศึกษำ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลอีสำน ซ่ึงเผยแพร่ผ่ำนเว็บไซต์ http://www.coop.rmuti.ac.th/coop และได้นำเสนอต่อกลุ่มใช้งำนข้อมูล คือ ผู้ปฏิบัติงำนสหกิจ ศึกษำ นักศึกษำสหกิจศึกษำ อำจำรย์นิเทศ สถำนประกอบกำร ผู้บริหำรของมหำวิทยำลัย และสำนัก คณะกรรมกำรอดุ มศึกษำ ดงั แสดงผังกำรเชือ่ มต่อระหวำ่ งผู้ใชร้ ะบบฐำนข้อมูลเพื่อกำรบริหำรงำนสห กจิ ศกึ ษำในรูปที่ 4 (กำรจัดกำรควำมรู้ขอ้ น้ี แสดงไวใ้ นขั้นตอนกำรทดสอบและประเมินผลระบบ) รปู ท่ี 4 ผงั กำรเชื่อมต่อระหว่ำงผู้ใชร้ ะบบฐำนข้อมูลเพ่อื กำรบรหิ ำรงำนสหกิจศกึ ษำ 4. การแบง่ ปนั แลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) กำรจัดกำรควำมรนู้ ้ี จดั ทำคูม่ ือ และวีดีโอขั้นตอนกำรพัฒนำ พร้อมกำรใช้งำนระบบฐำนข้อมูลเพ่ือกำรบริหำรงำนสหกิจศึกษำ ผ่ำน เวบ็ ไซต์ http://www.coop.rmuti.ac.th/coop/home/ ดงั รูปท่ี 5

รปู ท่ี 5 ค่มู ือและวดี โี อขน้ั ตอนกำรใชง้ ำนระบบฐำนขอ้ มูลงำนสหกจิ ศึกษำ ผลและอภิปรายผลการดําเนินงาน ผลที่ได้จำกกำรแลกเปล่ียนเรียนรู้ พบว่ำกำรนำระบบฐำนข้อมูลเพ่ือกำรบริหำรงำนสหกิจ ศึกษำมำเป็นเครื่องมือในกำรดำเนินงำนรำยงำนผลกำรดำเนินงำนสหกิจศึกษำ มหำวิทยำลัย เทคโนโลยีรำชมงคลอีสำน โดยใช้เคร่ืองมือ KM Tool เกิดกำรแลกเปล่ียนเรียนรู้ ทบทวนปัญหำ อุปสรรคจำกกำรปฏิบัติงำน และกำรแก้ไขปญั หำตลอดจนกำรพัฒนำระบบงำนให้มีประสิทธิภำพมำก ยิ่งขึ้น ดงั แสดงในตำรำงท่ี 1 กำรประยุกต์บูรณำกำรได้นำไฟล์ Excel .CSV มำปรับใช้กับงำนเพ่ือกำร ส่งข้อมูล เกิดควำมสะดวกรวดเร็ว ลดขั้นตอนกำรทำงำนซ้ำซ้อน เพิ่มประสิทธิภำพกำรบริหำรจัดกำร ทำให้ขอ้ มลู เปน็ ระบบระเบียบ งำ่ ยต่อกำรสบื คน้ ตดิ ตำม และรำยงำนผลตอ่ ผู้บรหิ ำร ตำรำงท่ี 1 กำรเปรยี บเทียบระบบกำรบริหำรงำนสหกิจศกึ ษำแบบเดิมและแบบใหม่ แบบเดิม แบบใหม่ แบบระบบเอกสาร (ใช้เวลามากกว่า 1 เดือน) แบบระบบฐานขอ้ มูลออนไลน์ (ใชเ้ วลา 3 วนั ) 1. ทำหนังสอื ขอควำมอนเุ ครำะห์ข้อมูลกำร 1. ทำหนงั สือขอควำมอนุเครำะหข์ อ้ มลู กำรดำเนินงำนสหกิจ ดำเนนิ งำนสหกจิ ศกึ ษำไปยังคณะ/วทิ ยำเขต ศึกษำไปยังคณะ/วทิ ยำเขต (ใช้เวลา 1 วนั ) (ใชเ้ วลา 1 วัน) 2. คณะรวบรวมขอ้ มลู กำรดำเนินงำนสหกจิ ศกึ ษำ 2. คณะกรอกขอ้ มูลกำรดำเนินงำนสหกจิ ในระบบฐำนข้อมลู (ใชเ้ วลา 2 สปั ดาห์) เพื่อกำรบรหิ ำรงำนสหกิจศกึ ษำ (ระบบสำมำรถอัพไฟล์ Excel CSV เขำ้ ระบบ) (ใช้เวลา 1 วนั ) 3. คณะทำหนังสือสง่ ผลกำรดำเนินงำนสหกิจ ศึกษำ มำยงั ศูนย์สหกจิ ศกึ ษำ (ใช้เวลา 1 วนั ) 4. ศนู ย์สหกิจศึกษำรวบรวมและประมวลผลกำร ดำเนินงำนสหกิจศึกษำ (ใช้เวลา 2 สัปดาห)์ 5. รำยงำนผลกำรดำเนินงำนสหกิจศกึ ษำ ต่อ 3. ศูนย์สหกจิ ศกึ ษำรำยงำนผลกำรดำเนนิ สหกิจศึกษำ ตอ่ คณะกรรมกำรอำนวยงำนสหกจิ ศึกษำ คณะกรรมกำรอำนวยกำรสหกิจศกึ ษำ (ใช้เวลา 1 วัน) (ใช้เวลา 1 วัน)

กำรทำระบบฐำนข้อมูลดงั กล่ำวข้ำงตน้ ผู้พฒั นำไดจ้ ัดกำรประเมินควำมพึงพอใจของผู้ใช้งำน ระบบฐำนข้อมูลเพื่อกำรบริหำรงำนสหกิจศึกษำ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลอีสำน ดังแสดงผล กำรประเมินควำมพึงพอใจในตำรำงท่ี 2 โดยภำพรวมผลกำรประเมินอยู่ในระดับดีมำก ที่ค่ำระดับ คะแนน 4.19 ร้อยละ 83.84 และเมื่อพิจำรณำเป็นรำยข้อพบว่ำ หัวข้อท่ีได้ผลกำรประเมินต่ำสุดคือ รูปแบบและวิธีกำรนำเสนอข้อมูลท่ีค่ำระดับคะแนน 4.04 ร้อยละ 80.8 ดังน้ันผู้พัฒนำระบบจึงจะ ดำเนนิ กำรปรบั ปรุงรูปแบบและวธิ กี ำรนำเสนอข้อมูลเพ่ือสนองตอบควำมต้องกำรของผูใ้ ช้ถดั ไป ตำรำงท่ี 2 ผลกำรประเมินควำมพึงพอใจของผู้ใช้งำนระบบฐำนข้อมูลงำนสหกิจศึกษำ มหำวิทยำลัย เทคโนโลยีรำชมงคลอีสำน ผลการประเมนิ หัวข้อการประเมนิ ดมี าก ดี ปานกลาง พอใช้ ควร คา่ เฉลยี่ SD คา่ เฉล่ีย แปลผล ปรับปรุง x̄ (รอ้ ยละ) 1.ขอ้ มลู สำรสนเทศ 12 88 0 0 0 4.12 0.327 82.4 ดี มีควำมทนั สมัย (12.0%) (88.0%) (0.0%) (0.0%) (0.0%) 2.ข้อมลู สำรสนเทศ 37 51 12 0 0 4.25 0.657 85 ดมี ำก มคี วำมถูกต้อง (37.0%) (51.0%) (37.0%) (0.0%) (0.0%) เช่ือถือได้ 3.ระบบสำรสนเทศ 26 68 6 0 0 4.20 0.532 84 ดี เกิดประโยชนต์ อ่ (26.0%) (68.0%) (6.0%) (0.0%) (0.0%) กำรปฏิบตั งิ ำน 4.ข้อมลู ตอบสนอง 22 78 0 0 0 4.22 0.416 84.4 ดี ตรงตำมควำม (22.0%) (78.0%) (0.0%) (0.0%) (0.0%) ตอ้ งกำรของผู้ใช้ 5.กำรจดั ระบบ 15 79 6 0 0 4.09 0.452 81.8 ดี ข้อมลู เป็นหมวดหมู่ (15.0%) (79.0%) (6.0%) (0.0%) (0.0%) 6.รูปแบบและ 10 84 6 0 0 4.04 0.400 80.8 ดี วิธีกำรนำเสนอ (10.0%) (84.0%) (6.0%) (0.0%) (0.0%) ข้อมูล 7.ควำมรวดเรว็ ใน 37 57 6 0 0 4.31 0.581 86.2 ดมี ำก กำรคน้ หำข้อมูล (37.0%) (57.0%) (6.0%) (0.0%) (0.0%) 8.ควำมสำมำรถใน 31 69 0 0 0 4.31 0.465 86.2 ดมี ำก กำรเข้ำถึงขอ้ มลู (31.0%) (69.0%) (0.0%) (0.0%) (0.0%) 9.ควำมพึงพอใจใน 29 61 10 0 0 4.19 0.598 83.8 ดี ภำพรวมต่อกำรใช้ (29.0%) (61.0%) (10.0%) (0.0%) (0.0%) งำนระบบ รวม 4.19 0.492 83.84 ดี

ผลสําเรจ็ ของงาน/แนวปฏิบตั ทิ ่ดี ี ผลสำเร็จของงำน คือระบบฐำนข้อมูลเพื่อกำรบริหำรงำนสหกิจศึกษำ มหำวิทยำลัย เทคโนโลยีรำชมงคลอีสำน โดยกำรประยุกต์และบรู ณำกำรนำเอำไฟล์ Excel .CSV มำปรับใช้กับกำร ส่งข้อมูล เพ่ือให้เกิดควำมสะดวกรวดเร็ว ลดขั้นตอนกำรทำงำน ส่งผลให้ลดเวลำกำรดำเนินงำน และ เพิ่มควำมสะดวกรวดเร็วในกำรค้นหำข้อมูลสหกิจศึกษำ รวมถึงกำรแสดงรำยงำนผลกำรดำเนินงำน สหกิจศึกษำในรูปแบบตำรำงข้อมูลและกรำฟข้อมูลที่ได้จำกกำรพัฒนำระบบ สำมำรถนำข้อมูลไป วิเครำะห์และนำเสนอข้อมูลต่อผู้บริหำรในเชิงนโยบำยของมหำวิทยำลัยได้ทันที ซึ่งในกำรดำเนินงำน จัดทำระบบฐำนข้อมูลเพื่อกำรบริหำรงำนสหกิจศึกษำ มีผลกำรดำเนินงำนเป็นที่น่ำพอใจอย่ำงย่ิง นอกจำกนี้ศูนย์สหกิจศึกษำ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลอีสำน มีแผนพัฒนำศึกษำวิจัยขยำย ควำมสำมำรถของระบบเพ่ือรองรับกำรจัดเก็บข้อมูลในระดับหลักสูตรท่ีมีกำรจัดกำรศึกษำเชิงบูรณำ กำรกบั กำรทำงำน (Work-integrated Learning :WiL) ตอ่ ไป เอกสารอ้างอิง กลมุ่ พัฒนำเครือขำ่ ยอุดมศกึ ษำ สำนักประสำนและสง่ เสรมิ กิจกำรอดุ มศึกษำ สำนกั งำนคณะกรรมกำร กำรอุดมศึกษำ (2559). เอกสารโครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษาใน สถาบันอุดมศึกษา. [Online]. Available: http://www.mua.go.th/users/bphe/ cooperative/ [2559, กนั ยำยน 24]. เครือข่ำยเพื่อกำรพัฒนำอุดมศึกษำภำคเหนือตอนบน (2559). ฐานข้อมูลสหกิจศึกษาออนไลน์. [Online]. Available: http://coop-ed-uncen.com [2559, สิงหำคม 10]. สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำและสมำคมสหกิจศึกษำไทย (2552) มาตรฐานและการ ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ส ห กิ จ ศึ ก ษ า . [ O n l i n e ] . A v a i l a b l e : http://www.mua.go.th/users/bphe/cooperative/data/kumu_coop54.pdf [2559, เมษำยน 8].



การแก้ปญั หาการสาเร็จการศึกษาล่าช้าของนกั ศึกษา สาขาวิชาพชื ศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร Problems Solving to the Early Educate of Students in Department of Plant Science Faculty of Natural Resources Rajamangala University of Technology Isan Sakon Nakhon Campus ปราโมทย์ เหลาลาภะ (Pramote Laolapha)1* ชยตุ ศรฮี าก์ณู (Chayut Srihanoo)2* ศรสี ุภา ลที อง (Srisupha Leethong)3* วาสนา แผลตติ ะ (Wasana Phlaetita)4* อนิ ทรธ์ ัชว์ ศรบี ตุ ต์ (Indhus Sributta)5* สจุ ิตรา เจาะจง (Sujitar Jorjong)6* 1ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ [email protected] 2อาจารย์ [email protected] 3นกั วชิ าการศกึ ษา [email protected] 4อาจารย์ [email protected] 5อาจารย์ [email protected] 6อาจารย์ [email protected] *สาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตสกลนคร ............................................................................................................................. ............................ บทสรุป ปัญหาการสาเร็จการศึกษาล่าช้าของนักศึกษา เกิดจากการศึกษาค้นคว้าในวิชาสัมมนา พืชศาสตร์ และการทดลองในวิชาปัญหาพิเศษทางพืชศาสตร์ สาขาวิชาพืชศาสตร์จึงได้ระดม สมองเพื่อหาแนวทางการแก้ไขปญั หาซึง่ ประกอบด้วย 1) แนะนานักศึกษาที่มีความพร้อมสามารถ ศึกษาค้นคว้าและนาเสนอสัมมนา สอบโครงร่างปัญหาพิเศษ และสอบป้องกันปัญหาพิเศษ ก่อน ไปฝึกสหกจิ ศกึ ษา โดยเกบ็ ผลการเรยี นไว้ 2) นักศึกษาท่ีสอบนาเสนอสัมมนา สอบโครงร่างปัญหา พิเศษ และสอบป้องกันปัญหาพิเศษแล้ว สามารถร้องขอให้เปิดลงทะเบียนก่อนช้ันปีท่ี 4 ได้ 3) แนะนานักศกึ ษาทาสมั มนาและปัญหาพิเศษในช่ือเรื่องที่สัมพันธ์กัน และ 4) วิชาปัญหาพิเศษทาง พืชศาสตร์ ให้มีการนาเสนอเพ่ือรายงานความก้าวหน้า ภาคการศึกษาละ 1 คร้ัง ผลการนาแนว ทางการแก้ปัญหาไปใช้ พบว่า นักศึกษาได้ศึกษาค้นคว้าและดาเนินการสอบสัมมนาและโครงร่าง ปัญหาพิเศษ ก่อนไปฝึกสหกิจศึกษา มีจานวนเพิ่มสูงขึ้น เม่ือเทียบกับก่อนการดาเนินงาน ส่งผล ใหจ้ านวนนักศึกษาสาเรจ็ การศึกษาภายในระยะเวลาทห่ี ลกั สตู รกาหนด 4 ปี เพ่มิ สงู ขนึ้ ด้วย คาสาคญั : การแก้ปญั หา การสาเร็จการศกึ ษาลา่ ชา้ นกั ศึกษา

2 Summary Problems of the early educate of students have caused from studying in plant science seminar and experiments in special problems in plant science. Department of plant science brainstormed to problem solving which consist of 1) introducing students who are ready to study and present the plant science seminars, proposal examination, defense examination of special problems in plant science before practicing co-operative education and keeping the results. 2) Students who presented the plant science seminars, proposal examination, and defensed examination of special problems in plant science can request to register before the 4th year. 3) Suggest to students conduct seminars and special problems in title are related. 4) Special problems in plant science have a progress 1 time per semester. The guidelines implementation found that students can take plant science seminars and special problems before practicing co-operative education has increased when compared to before the problem solving. Resulting in the number of students graduating within the curriculum scheduled for 4 years were increase. Keyword: Problem Solving, Early Educate, Students บทนา หลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ. พืชศาสตร์) สาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร มีความมุ่งหมาย เพื่อให้ผู้สาเร็จการศึกษามีความรู้ความสามารถในการนาเทคโนโลยีทางพืชศาสตร์ ไปปฏิบัติทาง วิชาการเกี่ยวกับการผลิตงานเชิงธุรกิจ และปฏิบัติงานในหน้าที่ของนักวิชาการทางด้านเกษตรได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยหลักวิชาท่ีได้มีการวางแผนและมีระบบ ด้วยความรอบคอบ ประหยัด รวดเร็ว ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ มีคุณธรรม จริยธรรม ระเบียบวินัย และ ความคดิ รเิ ร่ิมสร้างสรรค์ ปรับปรุงตนเองให้ก้าวหน้าอยู่เสมอ ขยันหมั่นเพียร ซ่ือสัตย์สุจริตและมี ความรับผิดชอบต่อการพัฒนาสังคม (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน, 2558) แต่การ จัดการเรียนการสอนของสาขาวิชาพืชศาสตร์ พบวา่ นกั ศึกษาไมส่ าเร็จการศึกษาภายในระยะเวลา 4 ปี ตามที่หลักสูตรกาหนด และสาเหตุสาคัญท่ีนักศึกษาไม่สาเร็จการศึกษา มาจากการศึกษา ค้นคว้าประกอบวิชาสัมมนาพืชศาสตร์ และการทดลองในวิชาปัญหาพิเศษทางพืชศาสตร์ ซ่ึงจะ ดาเนนิ การหลงั การฝกึ สหกิจศกึ ษา ซ่ึงเปน็ ช่วงเวลาที่สั้น ดังนั้น สาขาวิชาพืชศาสตร์ จึงได้ร่วมกัน หาแนวทางในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว เพ่ือไม่ให้กระทบท้ังต่อหลักสูตร นักศึกษาและครอบครัว รวมถงึ การประกันคณุ ภาพการศึกษาดว้ ย

3 วธิ ดี าเนินงาน 1. การระบุปัญหา โดยการประชุมสาขาเพื่อระบุปัญหาของสาขาที่กาลังประสบอยู่ ซึ่ง ปญั หากค็ ือ “นกั ศกึ ษาไมส่ าเรจ็ การศึกษาภายในระยะเวลา 4 ปี ตามท่ีหลักสตู รกาหนด” 2. การค้นหาสาเหตุของปัญหา โดยการรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา และการจัด ประชุมสาขาเพื่อระดมสมอง แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และอภิปรายความคิดเห็นในการค้นหา สาเหตุของปัญหาที่นักศึกษาไม่สาเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาท่ีหลักสูตรกาหนดน้ัน เกิดจาก สาเหตคุ อื “นักศกึ ษาทาการศึกษาคน้ คว้าสมั มนา และการทดลองปัญหาพเิ ศษไม่แล้วเสรจ็ ” 3. การพัฒนาแนวทางแก้ปัญหา โดยการจัดประชุมสาขาเพ่ือระดมสมอง แลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และอภิปรายความคิดเห็นร่วมกัน ในการวิเคราะห์สภาพปัญหาและแนวทางการ แก้ไขปญั หา ดงั ตารางท่ี 1 ตารางท่ี 1 ปัญหาและแนวทางการแกไ้ ขปัญหา สภาพปัญหา แนวทางการแก้ไขปญั หา วิชาสัมมนาพืชศาสตร์ และวิชาปัญหา 1. วิชาสัมมนาพืชศาสตร์ แนะนานักศึกษาที่มีความ พิเศษ จะเปิดให้นักศึกษาลงทะเบียนได้ พร้อมสามารถศึกษาค้นคว้าสัมมนาได้ต้ังแต่ชั้นปีที่ 2 ในชั้นปีท่ี 4 เทอม 2 เมื่อนักศึกษากลับ แล้วสอบนาเสนอก่อนไปฝึกสหกิจศึกษาได้ โดยเก็บ จากฝึกสหกจิ ศึกษา จะต้องนาเสนอและ ผลการเรียนไว้ ซึ่งยังไม่ต้องลงทะเบียน แต่ใ ห้ แก้ไขรูปเล่มการฝึกสหกิจศึกษา ทาให้ ลงทะเบียนเมื่อสอบเสร็จแลว้ การสอบนาเสนอสัมมนา การสอบโครง 2. วชิ าปัญหาพิเศษทางพชื ศาสตร์ ร่างปัญหาพิเศษ และการสอบป้องกัน 2.1 สามารถดาเนินการทาปัญหาพิเศษได้ต้ังแต่ชั้น ปัญหาพเิ ศษ ลา่ ชา้ ออกไป ปที ี่ 3 2.2 แนะนาให้นักศึกษาดาเนินการอย่างน้อยคือ สอบโครงร่างปัญหาพิเศษ หรือสอบทั้งโครงร่างและ สอบป้องกนั ปัญหาพเิ ศษ กอ่ นไปฝกึ สหกิจศกึ ษา 2.3 วิชาปัญหาพิเศษทางพืชศาสตร์ ให้มีการ นาเสนอเพ่ือรายงานความก้าวหนา้ ภาคการศึกษาละ 1 ครั้ง 3. แนะนานักศึกษาทาสัมมนาและปัญหาพิเศษในชื่อ เร่ืองที่มีความเก่ียวเนื่องหรือสัมพันธ์กัน โดยอธิบาย ดงั น้ี 3.1 บทนาในสัมมนา สามารถนาไปเขียน “ที่มา และความสาคญั ของปญั หา” ในปัญหาพิเศษได้ 3.2 เน้อื หาในสมั มนา สามารถนาไปใช้เขยี น “บทที่ 2 ทฤษฎแี ละงานวิจัยทเี่ กี่ยวข้อง” ในปัญหา พิเศษได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook