คำนำ ตามท่ีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 หมวด 3 มาตรา 9 (1) , (2) ได้กำหนดให้ส่วนราชการต้องจัดทำแผนปฏิบัติราชการไว้เป็นการล่วงหน้า และ แผนปฏิบัติราชการดังกล่าวต้องมีรายละเอียดของข้ันตอน ระยะเวลา และงบประมาณที่ จะต้องใช้ ในการดำเนินการของแต่ละข้ันตอน เป้าหมายของภารกิจ ผลสัมฤทธ์ิและตัวช้ีวัดความสำเร็จของภารกิจ หน่วยงาน และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2562 มาตรา 7 กำหนดให้ส่วนราชการจัดให้มีการทบทวนภารกิจของตน หรือสมควรที่จะยกเลิก ปรับปรุง หรือเปลี่ยนแปลงการดำเนินการต่อไปหรือไม่ โดยคำนึงยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580 (แผนระดับ 1) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศดา้ นต่าง ๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ (แผนระดับ 2) นโยบายของคณะรัฐมนตรีท่ีแถลง ต่อรัฐสภา และแผนอ่ืนที่เกี่ยวข้อง รวมถึงกำลังเงินงบประมาณของประเทศความคุ้มค่าของภารกิจและ สถานการณ์อ่ืนประกอบกัน กอรปกับมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี 12 มีนาคม 2562 เห็นชอบให้หน่วยงาน ของรัฐปรบั ปรุงแผนระดับ 3 ใหส้ อดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและแผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ นั้น ดังนั้น เพ่ือให้เป็นไปตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 และฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2562 และสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายในแผนระดับ 1 และแผนระดับ 2 รวมทั้งสอดรับกับมติคณะรัฐมนตรี นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 นโยบาย การจัดการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564-2565 แผนปฏิบัติราชการประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 ของกระทรวงศึกษาธิการ และเชื่อมโยงข้อมูลสู่ระบบติดตาม และประเมินผลแห่งชาติ (Electronic Monitoring and Evaluation System of National Strategy and country Reform : eMENSCR) ตามระเบียบว่าด้วยการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ และแผนการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. 2562 สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จึงได้จัดทำแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร) ขึ้น เพ่ือใช้เป็นเคร่ืองมือ ในการบริหารงานของผู้บริหารและหน่วยงานในสังกัดใช้เป็นกรอบแนวทางในการปฏิบัติงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ขอขอบคุณทุกท่านที่ให้ความร่วมมือในการจัดทำ แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับปรับปรุง ตามงบประมาณทไี่ ด้รับจดั สรร) ฉบบั น้สี ำเร็จลุล่วงตามวัตถปุ ระสงค์ สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร สำนักนโยบายและยทุ ธศาสตร์
บทสรุปสำหรับผู้บริหำร ตามท่ีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 หมวด 3 มาตรา 9 (1) , (2) ได้กาหนดให้ส่วนราชการต้องจัดทาแผนปฏิบัติราชการไว้เป็นการล่วงหน้า และ แผนปฏิบัติราชการดังกล่าวต้องมีรายละเอียดของข้ันตอน ระยะเวลา และงบประมาณที่จะต้องใช้ในการ ดาเนินการของแต่ละข้ันตอน เป้าหมายของภารกิจ ผลสัมฤทธิ์และตัวช้ีวัดความสาเร็จของภารกิจหน่วยงาน และพระราชกฤษฎกี าวา่ ด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบา้ นเมืองทด่ี ี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 มาตรา 7 กาหนดให้ส่วนราชการจัดให้มีการทบทวนภารกิจของตน หรือสมควรที่จะยกเลิก ปรับปรุง หรือเปล่ียนแปลง การดาเนินการต่อไปหรือไม่ โดยคานึงยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580 (แผนระดับ 1) แผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรปู ประเทศด้านต่าง ๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายและแผน ระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ (แผนระดับ 2) นโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา และแผน อ่ืนท่เี ก่ียวขอ้ ง รวมถึงกาลังเงินงบประมาณของประเทศ ความคมุ้ คา่ ของภารกิจและสถานการณอ์ ื่นประกอบกัน กอรปกับมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี 12 มีนาคม 2562 เห็นชอบให้หน่วยงานของรัฐปรับปรุงแผนระดับ 3 ใหส้ อดคล้องกบั ยุทธศาสตรช์ าติและแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ นนั้ ดังน้ัน เพื่อให้เป็นไปตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2562 และสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายในแผนระดับ 1 และ แผนระดับ 2 รวมทั้งสอดรับกับมติคณะรัฐมนตรี นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 นโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 นโยบายการจัดการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564-2565 แผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของกระทรวงศึกษาธิการ และเช่ือมโยงข้อมูลสู่ระบบติดตาม และประเมินผลแห่งชาติ (Electronic Monitoring and Evaluation System of National Strategy and country Reform : eMENSCR) ตามระเบียบว่าด้วยการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติและแผน การปฏิรูปประเทศ พ.ศ. 2562 สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จึงได้จัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 (ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร) ข้ึน เพ่ือใช้เป็นเครื่องมือในการ บริหารงานของผู้บริหารและหน่วยงานในสังกัดใช้เป็นกรอบแนวทางในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีสาระสาคัญ ดังน้ี วิสยั ทัศน์ การบริหารและจัดการศึกษาแบบบูรณาการมีประสิทธิภาพ ผู้เรียนได้รับการเรียนรู้ ตลอดชีวติ อยา่ งมีคุณภาพและมที ักษะทจี่ าเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 พนั ธกิจ 1. ส่งเสริม สนับสนุนการบริหารและจัดการศึกษาแบบบูรณาการ ทุกระดับ ทุกพ้ืนท่ี อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ สง่ ผลต่อการพฒั นาคณุ ภาพของผ้เู รยี น 2. ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั ให้สอดคล้องกบั ทักษะทจี่ าเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 3. ส่งเสริม สนับสนุนการสร้างโอกาส และความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาอย่างท่ัวถึง ตามศักยภาพของผเู้ รยี น เพ่ือลดความเหลอื่ มล้าทางการศกึ ษา 4. ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาระบบการบริหารงานบุคคลและพัฒนาสมรรถนะ ของขา้ ราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษาที่ส่งผลต่อการพัฒนาทักษะทีจ่ าเปน็ ของผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21 (ก)
เป้ำประสงค์รวม 1. สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการมีการบริหารและการจัดการศึกษาแบบบูรณาการ ตามหลกั ธรรมาภิบาล 2. ผู้เรยี นมีการศึกษาและเรียนรูต้ ลอดชีวิตท่มี ีคุณภาพ และมีทกั ษะทีจ่ าเป็นในศตวรรษที่ 21 3. ผู้เรยี นไดร้ ับโอกาสเขา้ ถงึ การศกึ ษาที่มคี ณุ ภาพอยา่ งท่วั ถงึ และเสมอภาค 4. ขา้ ราชการ ครู และบคุ ลากรทางการศึกษามีสมรรถนะการปฏบิ ตั ิงานในศตวรรษท่ี 21 ประเด็นยทุ ธศำสตร์ 1. พัฒนาการจัดการศกึ ษาเพือ่ ความมน่ั คง 2. พฒั นากาลงั คน การวจิ ยั เพอื่ สรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ 3. พฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ยใ์ หม้ ีคุณภาพ 4. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา 5. พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการให้มปี ระสิทธิภาพ เป้ำประสงค์ตำมประเด็นยทุ ธศำสตร์ 1. ผู้เรียนมีคุณภาพ ทักษะ และสมรรถนะการเรียนรู้ที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 สอดคล้อง เหมาะสมกบั การเสริมสรา้ งความมน่ั คงในแต่ละบรบิ ท 2. ผู้เรียน ข้าราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษา มีสมรรถนะที่ตอบสนองความต้องการ ของตลาดแรงงานและการแขง่ ขนั ของประเทศ 3. ผ้เู รยี นมีคณุ ภาพ ทกั ษะและสมรรถนะการเรียนรู้ท่ีจาเป็นในศตวรรษที่ 21 4. ครู และบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะการปฏิบัติงานที่ส่งผลต่อการพัฒนาทักษะ ที่จาเปน็ ของผเู้ รยี นในศตวรรษที่ 21 5. หน่วยงาน/สถานศึกษามีกิจกรรมส่งเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค์และปรับเปลี่ยน พฤตกิ รรมให้เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม 6. ผู้เรียนได้รับโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพ อย่างทั่วถึง และเสมอภาคด้วยรูปแบบ ท่ีหลากหลาย 7. หน่วยงานมีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ตอบสนองความต้องการ ของผ้รู บั บรกิ ารได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และโปรง่ ใสตามหลกั ธรรมาภบิ าล กลยุทธ์ภำยใต้ประเด็นยุทธศำสตร์ ประเด็นยทุ ธศำสตรท์ ่ี 1 พัฒนำกำรจัดกำรศกึ ษำเพอ่ื ควำมมน่ั คง กลยทุ ธ์ 1.1 ปลูกฝังค่านิยมและหลักคิดที่ถูกต้องเพ่ือเสริมสร้างเสถียรภาพสถาบันหลักของชาติ ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข น้อมนา เผยแพร่ศาสตร์พระราชา หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง และแนวทางพระราชดาริ 1.2 ยกระดับและสร้างโอกาสการเข้าถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพ และพัฒนาสมรรถนะ การเรียนรู้/วิชาชีพ ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และเขตพื้นที่พิเศษ (พื้นท่ีสูง พ้ืนท่ี ตามตะเข็บชายแดน และพ้ืนทเ่ี กาะแก่ง ชายฝง่ั ทะเล ท้ังกล่มุ ชนต่างเชื้อชาติ ศาสนา และวฒั นธรรม กลุ่มชนชายขอบ และแรงงานต่างดา้ ว) 1.3 พัฒนากลไกบูรณาการระบบบริหารจัดการการป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคุกคาม รปู แบบใหม่ (ยาเสพตดิ , ภัยไซเบอร์, ภัยพิบัตธิ รรมชาติ, โรคอบุ ตั ใิ หม่ ฯลฯ) 1.4 พัฒนาความร่วมมือด้านการศึกษากับต่างประเทศเพื่อยกระดับคุณภาพและโอกาส ทางการศึกษา (ข)
ประเด็นยุทธศำสตร์ท่ี 2 พัฒนำกำลังคน กำรวิจัย เพื่อสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน ของประเทศ กลยุทธ์ 2.1 พัฒนาทักษะแรงงงานฝีมือตรงกับความต้องการของตลาดแรงงานในพ้ืนท่ีและภูมิภาค (อาทิ พืน้ ทแี่ ละเมอื งนา่ อยู่อจั ฉรยิ ะ, ดจิ ิทลั ชุมชน) 2.2 ส่งเสริมการวิจัยและนวัตกรรมการบริหารและจัดการศึกษา และพัฒนาบุคลากรวิจัย ทางการศกึ ษา ประเดน็ ยทุ ธศำสตร์ที่ 3 พัฒนำและเสรมิ สรำ้ งศกั ยภำพทรัพยำกรมนษุ ยใ์ หม้ ีคณุ ภำพ กลยทุ ธ์ 3.1 พฒั นาการจัดการศึกษาโดยบรู ณาการองค์ความรู้แบบสะเตม็ ศึกษา 3.2 ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนพัฒนากระบวนการคิดอย่างเป็นระบบผ่าน ประสบการณต์ รงจากการลงมอื ปฏิบัติ 3.3 สร้างเสริมและพัฒนาทักษะการเรียนรู้ท่ีสมวัย ทักษะอาชีพ และทักษะชีวิตท่ีเท่าทัน และสามารถอย่รู ว่ มในสงั คมศตวรรษที่ 21 3.4 สร้างแพลตฟอรม์ ดิจทิ ัลรองรับการเรยี นร้รู ปู แบบใหม่ 3.5 พัฒนาทักษะการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศและสมรรถนะท่ีจาเป็นของผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาในศตวรรษที่ 21 3.6 บูรณาการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เสริมสร้างหลักคิดและทัศนคติที่ถูกต้องด้านระเบียบ วินยั คณุ ธรรม จริยธรรม จติ สาธารณะ ความเปน็ พลเมอื ง 3.7 พัฒนาทักษะการส่ือสารและการใช้ภาษาไทย ภาษาถิ่น (ภาษาแม่) ต่อยอดการเรียนรู้และ การประกอบอาชพี 3.8 พฒั นาระบบบรหิ ารงานบคุ คลของขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา 3.9 ส่งเสริมกิจกรรมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักในการจัดการคุณภาพ สงิ่ แวดลอ้ มด้วยกระบวนการมีสว่ นร่วม ประเดน็ ยุทธศำสตร์ที่ 4 สรำ้ งโอกำสและควำมเสมอภำคทำงกำรศกึ ษำ กลยุทธ์ 4.1 เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงโอกาสทางการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพได้อย่างหลากหลาย ครอบคลุมทุกพ้ืนที่ และ กลมุ่ เป้าหมาย 4.2 ส่งเสริมพัฒนาโปรแกรมประยุกต์และส่ือการเรียนรู้ผ่านระบบดิจิทัลออนไลน์แบบเปิด ทเ่ี หมาะสมต่อการเขา้ ถงึ และพฒั นาการเรยี นร้ตู ลอดชวี ิต ประเด็นยทุ ธศำสตร์ท่ี 5 พฒั นำระบบบริหำรจัดกำรให้มีประสิทธภิ ำพ กลยุทธ์ 5.1 ส่งเสริมและพัฒนาการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ในการบริหารราชการ/ บรกิ ารประชาชน 5.2 พัฒนาระบบฐานข้อมูลของจังหวัด ภาค และฐานข้อมูลกลางด้านการศึกษาให้เป็นเอกภาพ เชอื่ มโยงกัน เปน็ ปจั จบุ นั และทันตอ่ การใช้งาน 5.3 สร้างและพัฒนากลไกการบริหารจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพในการบูรณาการ เชื่อมโยงทุกระดบั รวมทง้ั การมสี ่วนรว่ มกับทุกภาคสว่ นในพน้ื ทน่ี วตั กรรมการศกึ ษา (ค)
5.4 เร่งรัด ปรับปรงุ แก้ไขกฎหมาย กฎ ระเบียบ และข้อบังคับให้สอดคล้อง และเหมาะสม กับบริบทท่ีเปล่ยี นแปลง 5.5 ปรับปรุงโครงสร้างและอานาจหน้าท่ีของหน่วยงานให้มีความยืดหยุ่น คล่องตัว ไม่ซา้ ซ้อน และทนั สมัย เอือ้ ตอ่ การพฒั นาประสิทธิภาพและขีดสมรรถนะองคก์ ร 5.6 พัฒนาเครือข่ายต่อต้านการทุจริตประพฤติมิชอบให้มีส่วนร่วมจัดกิจกรรมรณรงค์ เฝ้าระวงั และติดตามพฤตกิ รรมเส่ยี งการทุจริต 5.7 พฒั นาระบบงานการบรหิ ารงานบุคคลของข้าราชการพลเรอื น เพ่ือยกระดับสมรรถนะ การปฏบิ ตั ิงาน ตำรำงสรปุ ภำพรวมงบประมำณตำมแผนปฏบิ ตั ิรำชกำรประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งำนปลดั กระทรวงศึกษำธิกำร (ฉบบั ปรับปรุงตำมงบประมำณทีไ่ ด้รบั จดั สรร) งบ/งำน/ประเด็นยทุ ธศำสตร/์ จำนวน งบประมำณประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2565 (หนว่ ย : ล้ำนบำท) กลุม่ โครงกำร โครงกำร ไตรมำส 1 ไตรมำส 2 ไตรมำส 3 ไตรมำส 4 รวม รวมงบประมำณรวมทัง้ สิ้น 12,930.9816 10,101.8610 13,512.9737 12,009.6077 48,555.4241 1. งบบุคลำกรภำครัฐ 2,155.8160 2,155.8159 2,155.8159 2,155.8159 8,623.2637 2. งบลงทนุ 362.9136 145.1654 48.3885 48.3885 604.8560 3. งำนบรหิ ำรจดั กำรสำนกั งำน 343.6758 343.6758 343.6758 343.6757 1,374.7031 4. ประเดน็ ยุทธศำสตร์ ของสำนกั งำนปลดั กระทรวง 272 10,068.5762 7,457.2039 10,965.0935 9,461.7276 37,952.6013 ศึกษำธกิ ำร ประเดน็ ยทุ ธศำสตร์ สป.ท่ี 1 พฒั นำกำรจดั กำรศึกษำ 64 457.3068 167.7448 426.5465 148.6400 1,200.2380 เพ่ือควำมมั่นคง 1.1 กลมุ่ โครงกำรเสริมสร้ำง ควำมม่นั คงของสถำบนั หลกั ของชำติตำมระบอบ ประชำธปิ ไตยอันมี พระมหำกษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข 10 16.4097 10.5715 14.2903 7.8110 49.0825 1.2 กลมุ่ โครงกำรป้องกนั และ ปรำบปรำมยำเสพติด 2 6.3755 5.6035 2.5122 0.9916 15.4828 1.3 กลมุ่ โครงกำรพัฒนำ กำรศกึ ษำในเขตพฒั นำพเิ ศษ เฉพำะกจิ จังหวัดชำยแดนภำคใต้ 33 381.2731 107.9736 393.8497 139.6454 1,022.7417 1.4 กลมุ่ โครงกำรจัดกำรศกึ ษำ เพื่อควำมม่ันคงในเขตพ้นื ทพี่ เิ ศษ 2 0.6537 0.4357 0.0020 1.0914 (ง)
งบ/งำน/ประเด็นยทุ ธศำสตร/์ จำนวน งบประมำณประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 (หนว่ ย : ลำ้ นบำท) กล่มุ โครงกำร โครงกำร ไตรมำส 1 ไตรมำส 2 ไตรมำส 3 ไตรมำส 4 รวม 1.5 กลุ่มโครงกำรสง่ เสรมิ 17 ควำมรว่ มมือด้ำนกำรศกึ ษำ 52.5948 43.1605 15.8943 0.1900 111.8396 กับตำ่ งประเทศ 6 5 13.5663 13.588 13.5829 12.5918 53.3290 ประเด็นยุทธศำสตร์ สป.ท่ี 2 1 2.0953 2.1170 2.1119 1.1208 7.4450 พฒั นำกำลงั คน กำรวิจัย 65 11.4710 11.4710 11.4710 11.4710 45.8840 เพอ่ื สร้ำงควำมสำมำรถ ในกำรแข่งขนั ของประเทศ 11 135.1902 274.8715 186.1189 154.2467 750.4273 2.1 กลมุ่ โครงกำรวจิ ยั และพฒั นำ 13 นวัตกรรม 8 15.2006 30.1528 25.8776 15.2021 86.4331 2.2 กลมุ่ โครงกำรดจิ ิทลั 10 ชมุ ชน 12 79.3127 84.9612 77.8561 88.8989 331.0289 ประเดน็ ยทุ ธศำสตร์ สป. ที่ 3 10 24.7397 13.5275 20.7258 1.9509 60.9439 พัฒนำและเสรมิ สร้ำงศักยภำพ 1 ทรัพยำกรมนุษย์ใหม้ ีคุณภำพ 35 8.6865 132.8591 49.8669 40.3391 231.7516 3.1 กลมุ่ โครงกำรปลูกฝัง 24 2.1382 6.6779 5.4855 2.6884 16.9900 คุณธรรม จริยธรรม ค่ำนิยม 11 4.7051 6.3576 6.0340 5.0331 22.1298 จติ สำธำรณะและ ควำมเป็นพลเมอื ง 0.4074 0.3354 0.2730 0.1342 1.1500 3.2 กลมุ่ โครงกำรพัฒนำ ศกั ยภำพคนตลอดชว่ งชวี ิต 9,441.6605 6,979.1571 10,320.6133 9,129.4492 35,870.8801 ต้ังแตป่ ฐมวัยจนถึงวัยผสู้ ูงอำยุ 3.3 กลมุ่ โครงกำรปฏิรูป 9,400.7568 6,939.1022 10,280.3383 9,090.5091 35,710.7064 กำรเรยี นรู้ 3.4 กลมุ่ โครงกำรพฒั นำระบบ 40.9037 40.0549 40.2750 38.9401 160.1737 บรหิ ำรงำนบคุ คลของข้ำรำชกำรครู และบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ (จ) 3.5 กลมุ่ โครงกำรพฒั นำครูและ บุคลำกรทำงกำรศึกษำ 3.6 กลมุ่ โครงกำรพฒั นำทกั ษะ ภำษำต่ำงประเทศ 3.7 กลมุ่ โครงกำรจดั กจิ กรรม เสรมิ สร้ำงคณุ ภำพชีวิตทเ่ี ปน็ มิตร กับสิ่งแวดลอ้ ม ประเด็นยทุ ธศำสตร์ สป. ที่ 4 สร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำค ทำงกำรศกึ ษำ 4.1 กลมุ่ โครงกำรสรำ้ งโอกำส และควำมเสมอภำค ทำงกำรศึกษำ 4.2 กลมุ่ โครงกำรพัฒนำคุณภำพ ส่ือกำรเรียนรู้ผ่ำนระบบดจิ ทิ ัล และแหลง่ เรียนรู้ที่เข้ำถึงกำร
งบ/งำน/ประเด็นยุทธศำสตร์/ จำนวน งบประมำณประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 (หนว่ ย : ล้ำนบำท) กลมุ่ โครงกำร โครงกำร ไตรมำส 1 ไตรมำส 2 ไตรมำส 3 ไตรมำส 4 รวม เรยี นรตู้ ลอดชีวติ 102 20.8524 21.8425 18.2320 16.7999 77.7269 ประเดน็ ยุทธศำสตร์ สป. ท่ี 5 5 พัฒนำระบบบรหิ ำรจัดกำร 4 0.4337 0.3146 0.2676 0.4670 1.0159 ให้มีประสิทธภิ ำพ 5 0.0724 3.0814 0.6422 4.2630 5.1 กลมุ่ โครงกำรบริกำร 2 ประชำชนและประสิทธภิ ำพ 0.3558 0.9416 0.1235 0.8000 2.2209 ภำครัฐ 54 1.5000 1.4074 0.0767 0.1659 3.1500 5.2 กลุม่ โครงกำรตอ่ ตำ้ น 2 กำรทุจริตและประพฤติมชิ อบ 14.9826 11.8646 12.0507 9.1672 48.0651 5.3 กลมุ่ โครงกำรพฒั นำ 2 กฎหมำย กฎ ระเบยี บ และ 25 0.0040 0.0792 0.0792 0.1624 ขอ้ บงั คับดำ้ นกำรศึกษำ 3 5.4 กลุม่ โครงกำรพัฒนำระบบ 1.3940 0.7280 0.5880 2.7100 ฐำนข้อมูลของจงั หวัด ภำค และ ฐำนข้อมลู กลำงดำ้ นกำรศกึ ษำ 1.5323 2.8629 3.8225 5.6953 13.9130 5.5 กลุ่มโครงกำรสรำ้ งและ 0.5816 0.6380 0.5816 พฒั นำกลไกกำรบรหิ ำรจัด 0.4253 2.2266 กำรศึกษำ และกำรมีส่วนรว่ ม กับทุกภำคส่วน 5.6 กลุ่มโครงกำรปรบั ปรงุ โครงสร้ำงอำนำจหน้ำท่ี ของหน่วยงำน 5.7 กล่มุ โครงกำรพฒั นำ ระบบกำรบรหิ ำรงำนบุคคล ของขำ้ รำชกำรพลเรอื นและ บุคลำกรทำงกำรศกึ ษำอน่ื 5.8 กลุ่มโครงกำรพัฒนำ บคุ ลำกรของสำนักงำน ปลดั กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร 5.9 กลมุ่ โครงกำรประชำสมั พันธ์ ดำ้ นกำรศกึ ษำ หมำยเหตุ : 1. งบประมำณตำมพระรำชบญั ญตั ิงบประมำณรำยจ่ำยประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2565 ของ สป.ศธ. 48,349.5660 2. งบกองทุน/เงนิ ทนุ หมุนเวยี น 199.1881 2.1 กองทนุ พฒั นาเทคโนโลยีเพอ่ื การศึกษา 13.6056 2.2 เงินทุนหมนุ เวยี นเพื่อแกไ้ ขปญั หาหนส้ี ินข้าราชการครู 185.5825 3. งบโครงกำรวิจัยท่ีได้รบั เงนิ จำกสำนกั งำนคณะกรรมกำรส่งเสรมิ วิทยำศำสตร์ วิจัยและนวตั กรรม (สกสว.) 6.6700 4. งบประมำณตำมแผนปฏิบตั ิรำชกำรประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 48,555.4241 ของสำนกั งำนปลดั กระทรวงศึกษำธกิ ำร (ฉบับปรับปรุงตำมงบประมำณท่ไี ดร้ ับจัดสรร) รวมงบจำกกองทนุ /เงนิ ทุนหมนุ เวียน และงบจำก สกสว. (ฉ)
สารบญั หนา้ คำนำ บทสรุปสำหรับผบู้ ริหาร (ก) สารบัญ (1) ส่วนท่ี 1 บทนำ 1 1. ความเป็นมา 1 2. วัตถุประสงค์ 1 3. วิธีการดำเนินงาน 1 4. ผลทคี่ าดวา่ จะได้รบั 2 สว่ นท่ี 2 กรอบแนวคดิ และความสอดคลอ้ งกับแผน 3 ระดบั 3 1. รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2560 3 2. ยุทธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. 2561-2580) 5 3. แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ แผนแมบ่ ทเฉพาะกิจภายใต้ประเด็น 6 ยทุ ธศาสตร์ชาติ อันเป็นผลมาจากสถานการณ์โควดิ -19 (พ.ศ. 2564-2565) และโครงการสำคัญเพ่ือบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตรช์ าตแิ ละแผนแมบ่ ท ภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 4. แผนการปฏริ ูปประเทศ 9 5. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับทสี่ ิบสอง พ.ศ. 2560-2564 13 6. นโยบายและแผนระดับชาติว่าดว้ ยความมนั่ คงแหง่ ชาติ (พ.ศ. 2562-2565) 13 7. นโยบายรัฐบาล (พลเอก ประยุทธ์ จนั ทร์โอชา นายกรฐั มนตร)ี 14 8. เปา้ หมายการพฒั นาทีย่ ั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) 14 9. แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 17 10. นโยบายการจดั การศึกษากระทรวงศึกษาธกิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564-2565 20 11. แผนปฏิบัตริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของกระทรวงศึกษาธิการ 25 12. ผลการประเมนิ แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 26 ของสำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 13. อำนาจหนา้ ที่ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 39 14. ผลการวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอกของสำนกั งาน 47 ปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร 15. ความสอดคล้องกบั แผน 3 ระดบั ตามนยั ยะมตคิ ณะรฐั มนตรี 48 เมอ่ื วนั ที่ 4 ธันวาคม 2560 สว่ นท่ี 3 สาระสำคัญของแผนปฏิบตั ริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงาน 74 ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบบั ปรับปรุงตามงบประมาณท่ีไดร้ บั จัดสรร) 1. วิสัยทัศน์ 74 2. พนั ธกจิ 74 3. ค่านยิ ม 74 4. เป้าประสงคร์ วม 75 5. ตวั ชี้วดั เป้าประสงค์รวมและคา่ เปา้ หมาย 75 (1)
สารบญั (ตอ่ ) หนา้ 6. ประเด็นยุทธศาสตร์ และเป้าประสงคร์ ายประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ 76 7. ประเด็นยทุ ธศาสตร์ เป้าประสงคแ์ ละกลยุทธ์รายประเด็นยทุ ธศาสตร์ 77 8. ประเดน็ ยุทธศาสตร์ ตัวช้วี ดั และค่าเป้าหมายของเป้าประสงค์ 79 รายประเด็นยทุ ธศาสตร์ 9. ความเชื่อมโยงแผน 3 ระดบั ของประเทศ สู่แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำปี 83 งบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร (ฉบบั ปรบั ปรุง ตามงบประมาณท่ไี ดร้ ับจัดสรร) 10. แผนผังความเช่ือมโยงสาระสำคญั ของแผนปฏิบัตริ าชการประจำปงี บประมาณ 84 พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ฉบบั ปรบั ปรงุ ตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร) สว่ นท่ี 4 ตารางสรุปภาพรวมงบประมาณตามแผนปฏบิ ัติราชการประจำปีงบประมาณ 85 พ.ศ. 2565 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบบั ปรบั ปรุงตามงบประมาณที่ได้รับจดั สรร) สว่ นท่ี 5 งาน/โครงการและงบประมาณตามประเด็นยุทธศาสตร์ สป. 87 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 5.1 ตารางสรุปโครงการและงบประมาณตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 88 พฒั นาการจดั การศึกษาเพือ่ ความมนั่ คง 1) กลมุ่ โครงการเสรมิ สร้างความมัน่ คงของสถาบันหลักของชาตติ ามระบอบ 89 ประชาธิปไตย อนั มพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข 2) กลุ่มโครงการป้องกนั และปราบปรามยาเสพติด 92 3) กลุ่มโครงการพัฒนาการศึกษาในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกิจ 93 จังหวดั ชายแดนภาคใต้ 4) กลมุ่ โครงการจดั การศึกษาเพื่อความมน่ั คงในเขตพ้ืนทพ่ี ิเศษ 105 5) กลมุ่ โครงการพัฒนาความร่วมมอื ดา้ นการศึกษากับต่างประเทศ 106 5.2 ตารางสรุปโครงการและงบประมาณตามประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 112 พฒั นากำลังคน การวิจยั เพ่ือสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 1) กลมุ่ โครงการวจิ ัยและพัฒนานวัตกรรม 113 2) กลุ่มโครงการดิจิทลั ชุมชน 117 5.3 ตารางสรุปโครงการและงบประมาณตามประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 118 พฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ให้มีคณุ ภาพ 1) กลมุ่ โครงการปลกู ฝังคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม จิตสาธารณะ 119 และความเปน็ พลเมือง 2) กลุ่มโครงการพฒั นาศักยภาพคนตลอดชว่ งชวี ติ ต้งั แตป่ ฐมวัยจนถงึ วัยผู้สงู อายุ 122 3) กลุ่มโครงการปฏิรปู การเรียนรู้ 127 4) กลุ่มโครงการพฒั นาระบบบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู 129 และบคุ ลากรทางการศึกษา 5) กลุ่มโครงการพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 137 6) กล่มุ โครงการพฒั นาทักษะภาษาตา่ งประเทศ 143 (2)
สารบญั (ต่อ) หน้า 7) กลมุ่ โครงการจดั กิจกรรมเสริมสรา้ งคณุ ภาพชวี ิตทเี่ ป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อม 146 5.4 ตารางสรุปโครงการและงบประมาณตามประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 148 สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา 1) กลมุ่ โครงการสรา้ งโอกาสการเข้าถึงการศึกษา 149 2) กลุ่มโครงการพัฒนาคณุ ภาพสือ่ การเรียนรผู้ า่ นระบบดจิ ิทัลและแหลง่ เรียนรู้ 154 ท่เี ข้าถึงการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต 5.5 ตารางสรปุ โครงการและงบประมาณตามประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ สป. ท่ี 5 157 พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการใหม้ ปี ระสิทธิภาพ 1) กลุ่มโครงการบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ 158 2) กลมุ่ โครงการตอ่ ต้านการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ 160 3) กลุ่มโครงการพฒั นากฎหมาย กฎ ระเบยี บ และขอ้ บังคับดา้ นการศึกษา 163 4) กลุ่มโครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของจังหวดั ภาค และฐานข้อมูลกลาง 164 ด้านการศึกษา 5) กลมุ่ โครงการสร้างและพัฒนากลไกการบรหิ ารจดั การศึกษา และการมี 165 สว่ นร่วมกับทกุ ภาคสว่ น 6) กลุ่มโครงการปรับปรุงโครงสรา้ งอำนาจหน้าท่ีของหนว่ ยงาน 186 7) กลุม่ โครงการพัฒนาระบบการบริหารงานบคุ คลของข้าราชการพลเรือน 187 และบุคลากรทางการศึกษาอื่น 8) กลมุ่ โครงการพัฒนาบคุ ลากรของสำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 188 9) กลมุ่ โครงการประชาสัมพันธ์ด้านการศึกษา 193 ส่วนที่ 6 งาน/โครงการที่ยงั ไมม่ ีงบประมาณดำเนนิ การ 195 สว่ นท่ี 7 ระบบการติดตาม ประเมนิ ผลและรายงานผลแผนปฏบิ ัติราชการ 204 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ฉบบั ปรบั ปรุงตามงบประมาณทีไ่ ดร้ ับจดั สรร) ภาคผนวก 206 ภาคผนวก 1 207 - รายละเอยี ดตัวช้วี ัดเปา้ ประสงคร์ วม/ตัวชวี้ ัดรายประเด็นยทุ ธศาสตร์ 207 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร ภาคผนวก 2 216 - สรุปความสอดคล้องระหวา่ งโครงการที่ไดร้ ับงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ 217 พ.ศ. 2565 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ ารกับแผน 3 ระดับของประเทศ และนโยบายการจดั การศึกษากระทรวงศกึ ษาธิการ ภาคผนวก 3 226 - อักษรย่อหนว่ ยงาน 227 - หนังสืออนุมัตแิ ผนปฏิบตั ิราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 231 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบบั ปรับปรุงตามงบประมาณที่ได้รบั จดั สรร) …………………………………….. (3)
สว่ นที่ 1 บทนำ 1. ความเปน็ มา ตามที่พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 หมวด 3 มาตรา 9 (1),(2) ได้กำหนดให้สว่ นราชการต้องจัดทำแผนปฏบิ ัติราชการไว้เป็นการล่วงหน้า และแผนปฏิบัติราชการดังกล่าวต้องมีรายละเอียดของข้ันตอน ระยะเวลา และงบประมาณที่จะต้องใช้ในการ ดำเนินการของแต่ละขั้นตอน เป้าหมายของภารกิจ ผลสัมฤทธิ์และตัวช้ีวัดความสำเร็จของภารกิจหน่วยงาน และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2562 มาตรา 7 กำหนดให้ส่วนราชการจัดให้มีการทบทวนภารกิจของตน หรือสมควรท่ีจะยกเลิก ปรับปรุง หรือเปลี่ยนแปลง การดำเนินการต่อไปหรือไม่ โดยคำนึงยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580) (แผนระดับ 1) แผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศด้านต่าง ๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายและแผน ระดับชาติวา่ ดว้ ยความมั่นคงแหง่ ชาติ (แผนระดบั 2) นโยบายของคณะรัฐมนตรที ี่แถลงต่อรัฐสภา และแผน อื่นที่เกี่ยวข้อง รวมถึงกำลังเงินงบประมาณของประเทศ ความคุ้มค่าของภารกิจและสถานการณ์อื่น ประกอบกัน กอรปกับมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 12 มีนาคม 2562 เห็นชอบให้หน่วยงานของรัฐปรับปรุง แผนระดบั 3 ให้สอดคลอ้ งกับยุทธศาสตรช์ าติและแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ นัน้ ดังน้ัน เพื่อให้เป็นไปตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2562 และสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายในแผนระดับ 1 และ แผนระดับ 2 รวมท้ังสอดรับกับมติคณะรัฐมนตรี นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 นโยบายการจัดการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564-2565 แผนปฏิบัติราชการประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 ของกระทรวงศึกษาธิการ และเชื่อมโยงข้อมูลสู่ระบบติดตาม และประเมินผลแห่งชาติ (Electronic Monitoring and Evaluation System of National Strategy and country Reform : eMENSCR) ตามระเบียบว่าดว้ ยการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนนิ การตามยุทธศาสตร์ชาติ และแผนการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. 2562 สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร จงึ ได้จัดทำแผนปฏิบัตริ าชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณ ทีไ่ ด้รับจัดสรร) ขึ้น 2. วัตถุประสงค์ เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร) สำหรับใช้เป็นเครื่องมือในการ ผู้บริหารงานของผู้บริหารและหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการใช้เป็นกรอบแนวทาง ในการปฏิบตั งิ านไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 3. วิธีดำเนนิ งาน 1. ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์แผนระดับ 1 แผนระดับ 2 ของประเทศ และบริบทต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580) แผนการปฏิรูปประเทศด้านต่าง ๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายและแผนระดับชาติ วา่ ด้วยความม่ันคงแห่งชาติ (พ.ศ. 2562-2565) นโยบายรฐั บาล (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา) แถลงต่อรัฐสภา เม่ือวันที่ 25 กรกฎาคม 2562 เป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs)
เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายด้านการศึกษา แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 ยุทธศาสตร์การจัดสรร งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 นโยบายการจัดการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564-2565 แผนปฏบิ ัติราชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของกระทรวงศึกษาธกิ าร 2. ทบทวนกรอบเค้าโครง แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ (ฉบับปรบั ปรุงตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร) 3. ทบทวนสาระสำคัญของแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.256 5 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับปรบั ปรงุ ตามงบประมาณทไ่ี ดร้ บั จัดสรร) 4. จัดทำหนังสือขอข้อมูลหน่วยงานในสังกัดจัดทำรายละเอียดงาน/โครงการที่จะดำเนินการ ในปีงบประมาณ 2565 ให้สอดคล้องกับสาระสำคัญของแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ และงบประมาณท่ีได้รบั จดั สรร 5. จัดทำร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงาน ปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ (ฉบบั ปรบั ปรุงตามงบประมาณทีไ่ ด้รับจดั สรร) 6. เสนอขออนุมัติแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงาน ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ฉบับปรับปรงุ ตามงบประมาณท่ีได้รบั จดั สรร) ตอ่ ผู้บริหารระดับสูง 7. เผยแพร่แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงาน ปลดั กระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับปรบั ปรงุ ตามงบประมาณทไ่ี ด้รบั จดั สรร) ทั้งในรปู แบบเอกสารและเว็บไซต์ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ และสำนกั นโยบายและยุทธศาสตร์ สป. 4. ผลท่คี าดว่าจะได้รับ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณท่ีได้รับจัดสรร) ที่ผู้บริหาร สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารงาน และหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการใช้เป็น แนวทางในการปฏบิ ัติงานไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ 2
ส่วนท่ี 2 กรอบแนวคดิ และความสอดคล้องกับแผน 3 ระดับ กรอบแนวคดิ แผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสานักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ (ฉบับจัดทาคาของบประมาณรายจ่ายประจาปี) ได้จัดทาภายใต้กรอบแนวคิดแผนระดับ 1 ระดับ 2 และแนวนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา แผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบาย ยุทธศาสตร์ จุดเน้น แผน รายงานผลการปฏิบัติราชการ และผลการวิเคราะห์ SWOT ที่เก่ียวข้อง กับภารกิจของสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ รวมทั้งเชื่อมโยงข้อมูลสู่ระบบติดตาม และป ระเมินผลแห่งชาติ (Electronic Monitoring and Evaluation System of National Strategy and country Reform : eMENSCR) ดงั น้ี 1. รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 2. ยุทธศาสตรช์ าติ พ.ศ.2561 - 2580 3. แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ อันเป็นผลมาจากสถานการณ์โควิด - 19 (พ.ศ. 2564 – 2565) และโครงการสาคัญเพื่อบรรลุเป้าหมาย ยทุ ธศาสตรช์ าตแิ ละแผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 4. แผนการปฏิรปู ประเทศ (ฉบับปรับปรุง 5. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับทส่ี ิบสอง (พ.ศ.2560 - 2564) 6. นโยบายและแผนระดบั ชาติว่าด้วยความมน่ั คงแห่งชาติ (พ.ศ.2562 - 2565) 7. นโยบายรฐั บาล (พลเอก ประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา นายกรัฐมนตรี) 8. เป้าหมายการพัฒนาท่ยี ง่ั ยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) 9. แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ (พ.ศ.2560-2579) 10. นโยบายการจดั การศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564-2565 11. แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 12. ผลการประเมินแผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสานักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 13. อานาจหน้าท่ีของสานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 14. ผลการวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอกของสานักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ 15. ความสอดคล้องกับแผน 3 ระดับ ตามนัยยะของมติ ครม. เมื่อวันท่ี 4 ธันวาคม พ.ศ.2560 1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กฎหมายหลักในการ ปกครองประเทศได้กาหนดหมวดสาคัญๆ ท่ีเกี่ยวกับการจัดการศึกษา การส่งเสริมและสนับสนุน การจดั การศกึ ษาและการเขา้ รบั บริการการศกึ ษาของประชาชน
หมวดหน้าที่ของปวงชนชาวไทย มาตรา 50 (4) บุคคลมีหน้าท่ีเข้ารับการศึกษาอบรม ในการศกึ ษาภาคบังคบั หมวดหน้าที่ของรัฐ มาตรา 54 รัฐต้องดาเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลา สิบสองปีต้ังแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย รัฐต้อง ดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาภาคบังคับ เพ่ือพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินการด้วย รัฐต้องดาเนินการให้ประชาชนได้รับ การศึกษาตามความต้องการในระบบต่าง ๆ รวมท้ังส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิตและจัดให้มี การร่วมมือระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าท่ีดาเนินการกากับ ส่งเสริมและสนับสนุนให้การจัดการศึกษาดังกล่าวมีคุณภาพ และได้มาตรฐานสากล ท้ังน้ี ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ ซึ่งอย่างน้อยต้องมีบทบัญญัติ เก่ียวกับการจัดทาแผนการศึกษาแห่งชาติ และการดาเนินการและตรวจสอบการดาเนินการ ให้เป็นไปตามแผนการศึกษาแห่งชาติด้วย การศึกษาทั้งปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดีมีวินัย ภมู ใิ จในชาติ มีความสามารถเชีย่ วชาญไดต้ ามความถนัดของตนและมีความรบั ผิดชอบตอ่ ครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ ในการดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับ การศึกษาภาคบังคับ หรือให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการ ในระบบต่าง ๆ และได้รับ การส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต รัฐต้องดาเนินการให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการสนับสนุน ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตามความถนัดของตน ให้จัดตั้งกองทุนเพื่อใช้ในการช่วยเหลือ ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์เพื่อลดความเหล่ือมล้าในการศึกษาและเพื่อเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพ และประสิทธิภาพครู โดยให้รัฐจัดสรรงบประมาณให้แก่กองทุนหรือใช้มาตรการหรือกลไกทางภาษี รวมทั้งการให้ผู้บริจาคทรัพย์สินเข้ากองทุนได้รับประโยชน์ในการลดหย่อนภาษีด้วย ท้ังน้ี ตามที่กฎหมายบัญญัติซ่ึงกฎหมายดังกล่าวอย่างน้อยต้องกาหนดให้การบริหารจัดการกองทุน เป็นอสิ ระและกาหนดให้มีการใชจ้ า่ ยเงนิ กองทุนเพ่ือบรรลุวัตถปุ ระสงค์ดังกลา่ ว หมวดการปฏิรูปประเทศ มาตรา 258 (จ) ให้ดาเนินการปฏิรูปประเทศในด้าน การศกึ ษา ให้เกดิ ผลดงั ต่อไปนี้ 1) เริ่มดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาภาคบงั คับ เพ่ือให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ให้สมกับวัย โดยไม่เก็บค่าใช้จา่ ย 2) ดาเนินการตรากฎหมายเพ่ือจัดตั้งกองทุนเพื่อใช้ในการช่วยเหลือผู้ขาดแคลน ทุนทรพั ย์ เพ่ือลดความเหล่ือมล้าในการศึกษาและเพื่อเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู ใหแ้ ล้วเสรจ็ ภายในหนง่ึ ปนี ับต้ังแต่วันประกาศใช้รฐั ธรรมนูญนี้ 3) ให้มีกลไกและระบบการผลิต คัดกรอง และพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครู และอาจารย์ ให้ได้ผู้มีจิตวิญญาณแห่งความเป็นครูมีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง ได้รับ ค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับความสามารถและประสิทธิภาพในการสอน รวมทั้งมีกลไกสร้างระบบ คุณธรรมในการบริหารงานบคุ คลของผู้ประกอบวิชาชพี ครู 4
4) ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตาม ความถนัด และปรบั ปรุงโครงสร้างหน่วยงานท่ีเกีย่ วข้องเพื่อบรรลุเป้าหมายดงั กล่าว โดยสอดคล้อง กนั ทัง้ ในระดบั ชาติและระดับพืน้ ที่ หมวดการปฏิรูปประเทศ มาตรา 261 ในการปฏิรูปตามมาตรา 258 จ. ดา้ นการศึกษา ให้มีคณะกรรมการท่ีมีความเป็นอิสระคณะหน่ึงท่ีคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งดาเนินการศึกษาและจัดทา ข้อเสนอแนะและร่างกฎหมายที่เกี่ยวข้องในการดาเนินการให้บรรลุเป้าหมาย เพื่อเสนอ คณะรฐั มนตรดี าเนินการ 2. ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 65 บัญญัติให้รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติ เป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาล เพ่ือใช้เป็นกรอบในการจัดทา แผนตา่ ง ๆ ให้สอดคลอ้ งและบูรณาการกันเพ่ือให้เกดิ เป็นพลังผลักดันรว่ มกันไปสู่เปา้ หมาย วิสัยทัศน์ “ประเทศไทย มีความม่ันคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการ พัฒนาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” เป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติม่ันคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอยา่ งต่อเนอ่ื ง สงั คมเป็นธรรม ฐานทรพั ยากรธรรมชาตยิ ง่ั ยนื ” ยุทธศาสตร์การพฒั นาประเทศ 6 ด้าน และภารกจิ สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ สนบั สนุนให้บรรลเุ ปา้ หมายการพฒั นาท่สี าคญั ทง้ั 6 ด้าน ดังนี้ 1) ยุทธศาสตรด์ ้านความมน่ั คง 2) ยุทธศาสตรช์ าตดิ า้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน 3) ยทุ ธศาสตร์ชาติดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ 4) ยุทธศาสตรช์ าตดิ า้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 5) ยุทธศาสตรช์ าติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 6) ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ ้านการปรบั สมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การภาครัฐ การประเมนิ ผลการพัฒนาตามยุทธศาสตรช์ าติ 1) ความอยดู่ มี สี ขุ ของคนไทยและสงั คมไทย 2) ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั การพฒั นาเศรษฐกิจ และการกระจายรายได้ 3) การพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ 4) ความเท่าเทียมและความเสมอภาคของสังคม 5) ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพส่ิงแวดล้อม และความยั่งยืนของทรัพยากร ธรรมชาติ 6) ประสิทธภิ าพการบริหารจัดการและการเข้าถึงการให้บริการของภาครัฐ 5
3. แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ อันเป็นผลมาจากสถานการณ์โควิด-19 (พ.ศ. 2564-2565) และโครงการสาคัญเพ่ือบรรลุ เป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประจาปีงบประมา ณ พ.ศ. 2565 3.1 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ เป็นแผนแม่บทเพ่ือบรรลุเป้าหมายตามที่กาหนด ไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ มีผลผูกพันต่อหน่วยงานของรัฐท่ีเก่ียวข้องจะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามน้ัน รวมทั้งการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีต้องสอดคล้องกับแผนแม่บทด้วย โดยแผนแม่บท ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประกอบด้วย 23 ประเด็น 62 แผนย่อย (ประกาศสานักนายกรัฐมนตรี เร่ือง การประกาศแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561-2580) ณ วนั ที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2562 ซ่งึ เก่ียวข้องกับภารกิจสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 11 ประเด็น 18 แผนย่อย 1) ประเด็นความม่ันคง ใน 2 แผนย่อย ได้แก่ 3.1 การรักษาความสงบภายใน ประเทศ 3.2 การป้องกันและแก้ไขปญั หาทีม่ ีผลกระทบต่อความมัน่ คง 2) ประเด็นการต่างประเทศ ใน 1 แผนย่อย คือ 2.2 ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ และความรว่ มมอื เพ่อื การพัฒนาระหว่างประเทศ 10) ประเด็นการปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม ใน 1 แผนย่อย คือ 3.1 การปลูกฝัง คณุ ธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และการเสริมสร้างจติ สาธารณะและการเป็นพลเมืองทีด่ ี 11) ประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ใน 4 แผนย่อย ได้แก่ 3.2 การพัฒนาเด็กตั้งแต่ช่วงการตั้งครรภ์จนถึงปฐมวัย 3.3 การพัฒนาช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น 3.4 การพัฒนาและยกระดับศกั ยภาพวัยแรงงาน 3.5 การส่งเสรมิ ศกั ยภาพผู้สูงอายุ 12) ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้ ใน 1 แผนย่อย ได้แก่ 3.1 การปฏิรูป กระบวนการเรยี นรู้ทต่ี อบสนองตอ่ การเปลย่ี นแปลงในศตวรรษที่ 21 17) ประเด็นความเสมอภาคและหลักประกนั ทางสังคม ใน 1 แผนย่อย คือ 3.1 การคุม้ ครองทางสังคมขัน้ พื้นฐานและหลักประกันทางเศรษฐกิจ สังคม และสุขภาพ 18) ประเด็นการเติบโตอย่างยั่งยืน ใน 1 แผนย่อย ได้แก่ 3.5 การยกระดับ กระบวนทัศน์เพอ่ื กาหนดอนาคตประเทศ 20) ประเด็นการบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ ใน 4 แผนย่อย ได้แก่ 3.1 การพัฒนาบริการประชาชน 3.2 การบริหารจัดการการเงินการคลัง 3.4 การพัฒนาระบบ บริหารงานภาครัฐ 3.5 การสร้างและพัฒนาบุคลากรภาครัฐ 21) ประเด็นการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ ใน 1 แผนย่อย คือ 3.1 การป้องกนั การทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบ 22) ประเด็นกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ใน 1 แผนย่อย คือ 3.1 การพัฒนากฎหมาย 23) ประเด็นการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ใน 1 แผนย่อย ได้แก่ 3.4 การวิจัย และพัฒนานวตั กรรมด้านองคค์ วามร้พู ืน้ ฐาน 3.2 แผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ อันเป็นผลมาจาก สถานการณ์โควิด-19 (พ.ศ. 2564-2565) และโครงการสาคัญเพื่อบรรลุเป้าหมาย ยุทธศาสตรช์ าตแิ ละแผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 6
แผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติฯ มีเป้าหมายสาคัญ คือ “คนสามารถยังชีพอยู่ได้มีงานทา กลุ่มเปราะบางได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง สร้างอาชีพและกระจาย รายได้สู่ท้องถ่ิน เศรษฐกจิ ประเทศฟื้นตัวเข้าสู่ภาวะปกติ และมีการวางรากฐาน เพ่ือรองรับการปรับ โครงสร้างเศรษฐกจิ ใหม่” โดยการพฒั นาประเทศภายใต้แนวคิด Resilience มมี ิติทต่ี อ้ งให้ ความสาคญั 3 ประการ ไดแ้ ก่ การพร้อมรับ (Cope) หมายถึง ความสามารถในการบริหารจัดการภายใต้ สภาวะวิกฤต ใหป้ ระเทศยงั คงยนื หยัดและต้านทานความยากลาบาก การปรบั ตัว (Adapt) หมายถึง การปรบั ทิศทางการพัฒนา รูปแบบ และแนวทาง ท่ีดาเนินการอยู่ ให้สอดรับกับกระแสการเปลี่ยนแปลง ความไม่แน่นอน และบริบทการพัฒนา ประเทศทเ่ี ปลยี่ นแปลงไป การเปลี่ยนแปลงเพ่ือพร้อมเติบโตอย่างย่ังยืน (Transform) หมายถึง การ เปล่ยี นแปลงเชิงโครงสรา้ งและปัจจัยพืน้ ฐาน เช่น กฎหมาย ระเบียบ นโยบาย และ สถาบัน ทั้งทาง เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองการปกครอง ให้สอดรับกับกระแสการเปล่ียนแปลงท่ีจะส่งผลกระทบ ตอ่ ศักยภาพโดยรวมของประเทศ โดยได้ระบุแนวทางการพัฒนาที่ควรให้ความสาคัญเป็นพิเศษ เพ่ือเสริมสร้างศักยภาพในการฟื้นฟู และขับเคลื่อนประเทศให้สามารถ “ล้มแล้ว ลุกไว หรือ Resilience” 4 แนวทางการพัฒนา ประกอบด้วย 1) การเสริมสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานรากภายในประเทศ 2) การ ยกระดับขีดความสามารถของประเทศเพื่อรองรับการเติบโตอย่างย่ังยืน ในระยะยาว 3) การพัฒนา ศักยภาพและคุณภาพชีวิตของคนให้เป็นกาลังหลักในการขับเคลื่อนและ 4) การพัฒนาประเทศการ ปรบั ปรุงและพฒั นาปัจจยั พืน้ ฐานเพ่อื สง่ เสริมการฟื้นฟแู ละพัฒนาประเทศ ภารกิจสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีส่วนเก่ียวข้องกับแนวทางการ พฒั นาท่ี 1 และ 3 ดงั น้ี 1. การเสริมสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานรากภายในประเทศ (Local Economy) เพื่อลดความเส่ียงในการพึ่งพาต่างประเทศ โดยมุ่งเน้นการกระจายความเจริญและ โอกาสทางเศรษฐกิจไปยังระดับท้องถิ่น ผ่านการส่งเสริมการจ้างงาน โดยเฉพาะในระดับพื้นที่และ ชุมชน ร่วมกับการให้ความช่วยเหลือและพัฒนาศักยภาพของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ให้สามารถปรับตัวสู่ธุรกิจใหม่ที่มีแนวโน้มความต้องการมากข้ึนในอนาคต เพื่อให้เศรษฐกิจ ฐานรากเป็นกาลงั หลกั ในการขบั เคลอ่ื นเศรษฐกิจของประเทศ 3. การพัฒนาศักยภาพและคุณภาพชีวิตของคนให้เป็นกาลังหลักในการขับเคลื่อน การพัฒนาประเทศ (Human Capital) โดยการยกระดับและปรับทักษะแรงงานให้สนับสนุน อุตสาหกรรมและบริการเป้าหมายท่ีประเทศไทยมีโอกาสและมีศักยภาพ ตลอดจนสอดคล้องกับ ความต้องการของตลาดแรงงานและโครงสร้างเศรษฐกิจท่ีปรับเปล่ียนไป พร้อมท้ังเยียวยาผู้ท่ีได้รับ ผลกระทบจากภาวะวิกฤต และจัดสวัสดิการทางสังคมให้เหมาะสม เพียงพอกับความจาเป็นในการ ดารงชีวติ โดยเฉพาะในด้านรายไดแ้ ละสขุ ภาพ 3.3 โครงการสาคัญเพ่ือบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตรช์ าติ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 7
คณะรัฐมนตรมี มี ติเห็นชอบแนวทางการขบั เคล่ือนการดาเนินงานเพื่อบรรลเุ ปา้ หมาย ตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประจาปีงบประมาณ 2565 เมื่อวันท่ี 5 พฤษภาคม 2563 ตามที่ สศช. เสนอ โดยมอบส่วนราชการดาเนินการ ดงั นี้ สศช. และทุกส่วนราชการดาเนินการตามแนวทางการขบั เคลื่อนทั้ง 4 แนวทาง 1) การมองเป้าหมายร่วมกันในการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติและแผน แม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ 2) การจัดทาโครงการสาคญั ตามการวเิ คราะห์ห่วงโซ่ความสัมพนั ธแ์ ละช่องวา่ ง การพัฒนาต่อการบรรลุเปา้ หมาย (xyz) 3) การจดั ลาดับความเร่งด่วนของโครงการสาคัญ 4) การจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปี ตามกระบวนการท่ีกาหนดไว้ใน พระราชกฤษฎีกาวา่ ด้วยหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการบริหารจัดการบา้ นเมืองที่ดี (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2562 ภารกิจของสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ท่ีสนับสนุนการบรรลุเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ได้รับการ คัดเลือกเป็นโครงการสาคัญ (รายการห่วงโซ่คุณค่าของประเทศไทย : Value Chain Thailand) จานวน 6 โครงการสาคัญ ประกอบดว้ ย 1) แผนแมบ่ ทท่ี 1 ประเด็นความมน่ั คง เป้าหมายแผนแม่บทยอ่ ย/โครงการสาคญั ฯ ปี 2565 010102 คนไทยมีความจงรักภักดี ซ่ือสัตย์ พร้อมธารงรักษาไว้ซึ่งสถาบันหลัก ของชาติ สถาบันศาสนา เปน็ ที่เคารพยึดเหนยี่ วจิตใจของคนไทยสงู ขนึ้ 1. โครงการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และปลกู ฝังแนวทางการจัดการความขัดแย้ง โดยแนวทางสันติวิธี 2. โครงการส่งเสริมการพัฒนาโรงเรียนเอกชนในโครงการตามพระราชดาริ สมเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯสยามบรมราชกุมารี ให้มีคณุ ภาพ 2) แผนแม่บทที่ 11 ประเด็นการพัฒนาศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชีวิต เปา้ หมายแผนแม่บทย่อย/โครงการสาคัญฯ ปี 2565 110301 วัยเรียน/วัยรุ่น มีความรู้และทักษะในศตวรรษที่ 21 ครบถ้วน รู้จักคิด วิเคราะห์ รักการเรียนรู้ มีสานึกพลเมือง มีความกล้าหาญทางจริยธรรม มีความสามารถ ในการแกป้ ัญหา ปรับตัว ส่อื สาร และทางานร่วมกบั ผู้อ่ืนไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ลตลอดชีวิตดีขน้ึ 1. โครงการพฒั นาหลักสูตรท่มี ีทักษะอาชีพสูงตามความต้องการตลาดแรงงาน 3) แผนแมบ่ ทท่ี 12 ประเด็นการพฒั นาการเรยี นรู้ เปา้ หมายแผนแมบ่ ทย่อย/โครงการสาคัญฯ ปี 2565 120101 คนไทยได้รับการศึกษาท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการเรียนรู้ และทกั ษะทจี่ าเปน็ ของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถเขา้ ถึงการเรยี นร้อู ย่างต่อเนือ่ งตลอดชีวติ ดีข้ึน 1. โครงการพฒั นาหลักสูตรกระบวนการจัดการเรยี นรู้ การวดั และประเมินผล 2. โครงการส่งเสริมเวทีเพื่อการจัดทารูปแบบและการพัฒนาหลักสูตรต่อเน่ือง เชื่อมโยงการศกึ ษาขน้ั พ้ืนทีฐ่ านกบั อาชวี ศกึ ษาและอดุ มศกึ ษา 3. โครงการพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนการสอนสาหรับศตวรรษที่ 21 8
3.4 แผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ อันเป็นผลมาจาก สถานการณ์โควิด-19 (พ.ศ. 2564-2565) แนวทางการพัฒนาที่ 1 การเสริมสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก ภายในประเทศ 1. โครงการส่งเสรมิ เวทีเพื่อการจัดทารปู แบบและการพัฒนาหลักสูตรต่อเน่ือง เชื่อมโยงการศึกษาขนั้ พ้นื ทฐ่ี านกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แนวทางการพฒั นาที่ 3 การพัฒนาศกั ยภาพและคณุ ภาพชีวติ ของคนใหเ้ ป็น กาลงั หลักในการขับเคล่ือนการพฒั นาประเทศ 1. โครงการพฒั นาหลักสูตรที่มีทักษะอาชีพสงู ตามความต้องการตลาดแรงงาน 2. โครงการพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนการสอนสาหรับศตวรรษท่ี 21 4. แผนการปฏริ ปู ประเทศ (ฉบบั ปรับปรงุ ) คณะรัฐมนตรีได้ให้ความเห็นชอบแผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) และได้ ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาแล้ว ณ วนั ที่ 23 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2564 จานวน 13 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1) ด้าน การเมือง 2) ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน 3) ด้านกฎหมาย 4) ด้านกระบวนการยุตธิ รรม 5) ด้าน เศรษฐกิจ 6) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม 7) ด้านสาธารณสุข 8) ด้านสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ 9) ด้านสังคม 10) ด้านพลังงาน 11) ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต และประพฤติ มิชอบ 12) ด้านการศึกษา และ 13) ด้านวัฒนธรรม กีฬา แรงงาน และการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ ภารกิจสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการเก่ียวข้องและสนับสนุนเป้าประสงค์ แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) รวม 5 ด้าน ประกอบด้วย (2) ด้านการบริหารราชการ แผ่นดิน (3) ด้านกฎหมาย (6) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (11) ด้านการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ (12) ด้านการศึกษา 2) แผนการปฏริ ูปประเทศ (ฉบับปรบั ปรุง) ด้านการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ เป้าประสงค์ เพื่อให้ความสาคัญในการเตรียมความพร้อมเผชิญกับการเปล่ียนแปลง ในทุกมิตแิ ละรองรับผลกระทบของสถานการณช์ วี ติ วิถีใหม่ และทศิ ทางทก่ี าหนดไว้ตามยุทธศาสตร์ชาติ กิจกรรม Big Rock ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ประกอบด้วย 5 กิจกรรม ปฏริ ปู สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการเก่ยี วข้องทงั้ 4 กจิ กรรมปฏิรูป (1) ปรบั เปลย่ี นรูปแบบการบรหิ ารงานและการบรกิ ารภาครัฐไปสรู่ ะบบดจิ ิทลั (2) จัดโครงสร้างองค์กร และระบบงานภาครัฐให้มีความยืดหยุ่น คล่องตัว และเปลี่ยนแปลงได้ตามสถานการณ์ (3) ปรับเปลี่ยนการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐสู่ระบบเปิด เพ่ือให้ได้มา และรกั ษาไว้ซึง่ คนเกง่ ดี และมีความสามารถอย่างคลอ่ งตัว ตามหลกั คุณธรรม 9
(4) สร้างความเข้มแข็งในการบริหารราชการในระดับพื้นท่ี โดยการมีส่วนร่วม ของประชาชน 3) แผนการปฏริ ูปประเทศ (ฉบบั ปรับปรงุ ) ด้านกฎหมาย เป้าประสงค์ เพื่อให้เกิดผลอันพึงประสงค์ในการมีกฎหมายท่ีดีและมีเพียงเท่าท่ี จาเป็นตามหลกั การของมาตรา 258 ค. ของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย กจิ กรรม Big Rock ดา้ นกฎหมาย ประกอบด้วย 5 กิจกรรมปฏิรูป สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ ารเกย่ี วข้องกจิ กรรมปฏริ ปู ที่ 1 (1) มีกลไกยกเลิกหรือแก้ไขปรับปรุงกฎหมายที่สร้างภาระหรือเป็นอุปสรรคต่อการ ดารงชีวิตหรือการประกอบอาชีพของประชาชน เพื่อขับเคล่ือนให้เกิดผลอย่างมีประสิทธิภาพและเป็น รปู ธรรม 6) แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรบั ปรุง) ด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม เป้าประสงค์ เพ่ือให้ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม ได้รับการดูแล รักษา และฟ้ืนฟูอย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพและมีความสมบูรณ์ยั่งยืน เป็นฐานการพัฒนาประเทศ ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งเกิดความสมดุลระหว่างการอนุรักษ์ และการใช้ ประโยชน์ลดความขัดแย้งของการพัฒนาที่ใช้ฐานทรัพยากรธรรมชาติ บรรเทาผลกระทบ ต่อ สิ่งแวดล้อมและลดภัยพิบัติทางธรรมชาติ และมีระบบบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ มที่มีประสทิ ธิภาพบนพน้ื ฐานการมสี ว่ นรว่ มของทุกภาคสว่ นตามแนวทางประชารัฐ กิจกรรม Big Rock ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย 4 กจิ กรรมปฏิรปู สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการเกย่ี วขอ้ งกิจกรรมปฏิรปู ท่ี 2 (2) การบริหารจัดการเขตทางทะเลและชายฝั่งรายจังหวัด (บรรจุในหลักสูตร การศึกษาฯ) 11) แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ด้านการป้องกันและปราบปราม การทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบ เป้าประสงค์ เพื่อแก้ปัญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบ ให้มีการส่งเสรมิ สนับสนุน และให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับการทุจริตประพฤติมิชอบ และให้มีมาตรการควบคุม กากับ ติดตามการบริหารจัดการของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะการปฏิบัติหน้าที่ ด้วยความซ่ือสัตย์สุจริตของบุคลากรใช้ดุลยพินิจโดยสุจริต ภายใต้กรอบธรรมาภิบาลและการกากับ กิจการที่ดีอย่างแท้จริง รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารภาครัฐให้ประชาชนสามารถเข้าถึง และตรวจสอบได้และสนับสนุนแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนในการต่อต้านการทุจริตเพ่ือขจัด ปัญหาการทุจริตท่ีเกี่ยวข้องกบั การติดตอ่ กับหน่วยงานภาครฐั กิจกรรม Big Rock ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประกอบดว้ ย 5 กจิ กรรมปฏริ ปู สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการเกี่ยวข้องกจิ กรรมปฏริ ูปที่ 4 (4) พฒั นาระบบราชการไทยให้โปรง่ ใส ไรผ้ ลประโยชน์ 10
12) แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรบั ปรุง) ด้านการศกึ ษา เป้าประสงค์ เพื่อยกระดับคุณภาพของการจัดการศึกษา ลดความเหล่ือมล้าทางการ ศึกษา มุ่งความเป็นเลิศและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ปรับปรุงระบบการศึกษา ให้มีประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร เพ่ิมความคล่องตัวในการรองรับความหลากหลายของการจัดการ ศึกษาและสรา้ งเสรมิ ธรรมภบิ าล ซง่ึ ครอบคลมุ การปฏริ ปู การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต ความสอดคล้องของการปฏริ ูปประเทศดา้ นการศกึ ษากับยทุ ธศาสตร์ชาติ 1. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ขอ้ 4.2 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชวี ิต ข้อ 4.3 ปฏริ ูปกระบวนการเรียนรทู้ ีต่ อบสนองต่อการ เปลี่ยนแปลง ในศตวรรษที่ 21 ข้อ 4.4 การตระหนกั ถงึ พหปุ ัญญาของมนุษย์ท่หี ลากหลาย 2. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ข้อ 4.1 การลดความเหลื่อมล้า สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ ข้อ 4.2 การกระจายศูนย์กลางความเจริญ ทางเศรษฐกจิ สังคม และเทคโนโลยี ขอ้ 4.3 การเสรมิ สร้างพลังทางสงั คม ความสอดคล้องของการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษากับแผนแม่บทภายใต้ ยทุ ธศาสตร์ชาติ 1. แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอด ช่วงชีวิต 1.1 เด็กเกิดอย่างมีคุณภาพ มีพัฒนาการสมวัย สามารถเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพมากขึ้น 1.2 วัยเรียน/วัยรุ่น มีความรู้ และทกั ษะในศตวรรษที่ 21 ครบถ้วน รู้จักคิด วิเคราะห์ รักการเรียนรู้ มีสานึกพลเมือง มีความกล้าหาญทางจริยธรรม มีความสามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผลตลอดชีวิตดีขึ้น 1.3 แรงงานมีศักยภาพในการ เพิ่มผลผลิต มีทักษะอาชีพสูง ตระหนักในความสาคัญที่จะพัฒนาตนเองให้เต็มศักยภาพ สามารถ ปรับตัวและเรยี นร้สู ่ิงใหม่ตามพลวัตของโครงสรา้ งอาชีพและความต้องการของตลาดแรงงานเพิ่มข้ึน 1.4 มีคนไทยที่มีความสามารถและผู้เช่ียวชาญต่างประเทศเข้ามาทาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมในอุตสาหกรรมเป้าหมายเพ่ิมข้ึน 1.5 ผู้สงู อายุมีคุณภาพชีวิตท่ีดี มีความม่ันคงในชีวิต มีทักษะการดารงชีวิต เรียนรู้พัฒนาตลอดชีวิต มีส่วนร่วมในกิจกรรมสังคม สร้างมูลค่าเพ่ิมให้แก่ สังคมเพม่ิ ข้ึน 2. แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเดน็ การพฒั นาการเรียนรู้ 2.1 คนไทย ได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการเรียนรู้และทักษะที่จ้าเป็นของโลกศตวรรษ ท่ี 21 สามารถเข้าถงึ การเรียนรู้อย่างต่อเนอื่ งตลอดชีวติ ดีขึ้น 3. แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นพลังทางสังคม 3.1 ประชากรไทย มีการเตรยี มการก่อนยามสูงอายุเพือ่ ให้สงู วัยอยา่ งมีคุณภาพเพิ่มขน้ึ กิจกรรม Big Rock ดา้ นการศึกษา ประกอบดว้ ย 5 กิจกรรมปฏิรปู สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ ารเกี่ยวข้องกจิ กรรมปฏิรูปที่ 1 - 3 กิจกรรมปฏิรูปที่ 1 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาตั้งแต่ ระดบั ปฐมวยั (หน่วยรบั ผิดชอบหลัก : กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศกึ ษา) กิจกรรมปฏิรูปท่ี 2 การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เพ่อื ตอบสนองการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษที่ 21 (หนว่ ยรับผิดชอบหลัก : กระทรวงศึกษาธิการ) 11
กิจกรรมปฏิรูปท่ี 3 การปฏิรูปกลไกและระบบการผลิตและพัฒนาครูและบุคลากร ทางการศึกษาใหม้ คี ุณภาพมาตรฐาน (หนว่ ยรบั ผิดชอบหลกั : กระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม) ภารกิจของสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการมีส่วนเก่ียวข้องและสนับสนุน ในขั้นตอนของกิจกรรมปฏริ ปู ที่ 1, 2 และ 3 ดงั นี้ กิจกรรมปฏิรูปที่ 1 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาตั้งแต่ระดับ ปฐมวยั (กองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศกึ ษา) ข้นั ตอนการดาเนนิ การปฏริ ูป 1. การพัฒนาเคร่ืองมือและระบบบูรณาการทางานเพื่อสนับสนุนการดาเนินการ ปฏริ ปู 2. การสนับสนุนนวัตกรรมการป้องกัน (Prevention) และการแก้ไข (Correction) ปัญหาเด็กและเยาวชนออกจากระบบการศึกษาตั้งแต่ระดับปฐมวัย เพื่อลดความเหลื่อมล้าทางการ ศึกษา 3. การสนับสนนุ กลไกการดาเนนิ งานในระดับพน้ื ท่ีและตน้ สังกดั 4. การติดตามความคืบหนา้ และการระดมการมีส่วนรว่ มของสังคม กิจกรรมปฏิรูปที่ 2 การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เพอื่ ตอบสนองการเปลยี่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21 (กระทรวงศึกษาธิการ) ข้นั ตอนการดาเนนิ การปฏิรูป 1. ปรบั แนวทางการจัดการเรยี นรู้ทุกระดบั 2. พัฒนาครูให้มีศักยภาพในการออกแบบการเรยี นรู้ 3. ปรับปรุงระบบการวัดผลและประเมินผล 4. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาและการเรียนรู้กับภาคีเครือข่ายต่าง ๆ ท้งั ภายในและภายนอกโรงเรยี น 5. คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ประชุมหน่วยงานผู้รับผิดชอบ ติดตามความคบื หน้าในการดาเนินการ กิจกรรมปฏิรูปที่ 3 การปฏิรูปกลไกและระบบการผลิตและพัฒนาครูและบุคลากร ทางการศกึ ษาใหม้ คี ณุ ภาพมาตรฐาน (กระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม) ขั้นตอนการดาเนินการปฏิรปู 2) ด้านกลไกและระบบการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาสายสามัญศึกษา และสายอาชีวศึกษาให้มคี ุณภาพ ประสิทธภิ าพและมีความก้าวหน้าในการประกอบอาชีพ ขั้นตอนท่ี 1 การศึกษาวิเคราะห์และกาหนดสมรรถนะและการพัฒนามาตรฐาน และตัวช้ีวดั สมรรถนะครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาวิเคราะห์และกาหนดสมรรถนะและการพัฒนามาตรฐาน และตัวชี้วัดสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษา และการพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากร ทางการศกึ ษาตามความต้องการจาเป็น ขน้ั ตอนที่ 3 การศกึ ษาและพฒั นาระบบ/รูปแบบการนเิ ทศ การติดตามชว่ ยเหลือ ครู และการพฒั นาสมรรถนะศึกษานเิ ทศกต์ ามความต้องการจาเป็น 12
ขั้นตอนที่ 4 การส่งเสริม สนับสนุนระบบกลไกให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะการติดตามช่วยเหลือครูใหม่ ครูที่ไม่มีวุฒิทางการศึกษา ครทู ่ีมีความรู้ ความสามารถและมีคุณลักษณะไม่เพียงพอกับการปฏิบัติงานในหน้าที่ ครูและสถานศึกษา ในท้องถิ่นยากจน ห่างไกลและทุรกันดาร อาทิ การร่วมมือกับชุมชน (PLC&CPD: (Professional Learning Community & Continuous Professional Development) การศึกษาอบรม และแพลตฟอรม์ กระบวนการจดั การเรยี นรกู้ ารบริหารการศึกษาและการนิเทศการศึกษา ขั้นตอนที่ 5 การปรับปรุงระบบการประเมินการปฏิบัติงานและสมรรถนะ วชิ าชพี ครู ขั้นตอนที่ 6 การพัฒนาระบบกลไกในการเล่ือนวิทยฐานะท่ีได้รับการ ปรับปรุงใหม่และการคงวิทยฐานะของครู โดยนาผลการประเมินวิทยฐานะไปเป็นส่วนสาคัญในการ ประเมนิ และการปรับปรงุ ค่าตอบแทนทเี่ หมาะสม 5. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่สี บิ สอง (พ.ศ.2560-2564) สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติได้จัดทาแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ีสิบสอง (พ.ศ.2560-2564) สาหรับใช้เป็นแผนพัฒนาประเทศ ไทยในระยะ 5 ปี ซ่ึงเป็นการแปลงยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อเตรียมความพร้อมและวางรากฐานในการยกระดับประเทศไทยให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว มคี วามมน่ั คง ม่ังค่งั ยง่ั ยนื ดว้ ยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยุทธศาสตร์การพัฒนา 9 ยุทธศาสตร์ โดยมี 5 ยุทธศาสตร์ตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561-2580 และอีก 4 ยุทธศาสตร์ที่เป็นปัจจัยสนับสนุน ซึ่งภารกิจสานักงานปลัด กระทรวงศึกษาธิการสนับสนุนให้บรรลุเป้าหมายรวม 10 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1) การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ยุทธศาสตร์ที่ 2) การสร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้าในสังคม ยุทธศาสตร์ท่ี 4) การเติบโตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมเพื่อการพัฒนา อย่างย่ังยนื ยุทธศาสตรท์ ี่ 5) การเสริมสรา้ งความม่ันคงแหง่ ชาตเิ พอ่ื การพฒั นาประเทศสคู่ วามมัน่ ค่ัง และยั่งยืน ยุทธศาสตร์ท่ี 6) การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและ ธรรมาภิบาลในสังคมไทย ยุทธศาสตร์ท่ี 7) การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและระบบโลจิสติกส์ ยุทธศาสตร์ที่ 8) การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 9) การพฒั นาภาค เมอื ง และพ้ืนทีเ่ ศรษฐกจิ 10) ความร่วมมือระหว่างประเทศเพ่อื การพัฒนา 6. นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมัน่ คงแห่งชาติ (พ.ศ.2562-2565) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ณ วันที่ 19 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2562 เพ่ือเป็น แผนหลักของชาติท่ีเป็นกรอบทิศทางการดาเนินการป้องกัน แจ้งเตือน แก้ไข หรือระงับยับยั้ง ภัยคุกคาม เพื่อธารงไว้ซึ่งความม่ันคงแห่งชาติ รวม 7 กรอบแนวคิด 16 นโยบาย 19 แผน ซึ่ง ภารกิจ สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการมีส่วนเกี่ยวข้อง รวม 7 นโยบาย 6 แผน ได้แก่นโยบายที่ 1) เสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สอดรับด้วย แผนที่ 3) แผนการเสริมสร้างความม่ันคงของสถาบัน หลักของชาติภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 13
นโยบายท่ี 2) สร้างความเป็นธรรม ความปรองดอง และความสมานฉันท์ในชาติ สอดรับด้วยแผนท่ี 6) แผนการสรา้ งความสามัคคีปรองดอง นโยบายที่ 3) ปอ้ งกันและแก้ไขการก่อเหตุรุนแรงในจงั หวัด ชายแดนภาคใต้ สอดรับด้วย แผนที่ 7) แผนการป้องกันและแก้ไขปัญหาการก่อเหตุรุนแรงในพ้ืนที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ นโยบายท่ี 5) สร้างเสริมศักยภาพการป้องกันและแก้ไขปัญหา ภัยคุกคามข้ามชาติ และนโยบายที่ 8) เสริมสร้างความเข้มแข็งและภูมิคุ้มกันความมั่นคงภายใน สอดรับด้วยแผนที่ 10) แผนการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด นโยบายท่ี 9) เสริมสร้างความมั่นคง ของชาติจากภัยการทุจริต สอดรับด้วยแผนท่ี 11) แผนการเสริมสร้างความมั่นคงของชาติ จากภัยทุจริต และนโยบายที่ 10) เสริมสร้างความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ สอดรับด้วยแผนที่ 15) แผน การป้องกันและแกไ้ ขปญั หาความมน่ั คงทางไซเบอร์ 7. นโยบายรัฐบาล (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี) นายกรัฐมนตรีได้แถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เมอื่ วันที่ 25 กรกฎาคม 2562 รวม 12 นโยบายหลกั และ 12 นโยบายเร่งดว่ น ซ่ึงภารกิจสานักงาน ปลดั กระทรวงศึกษาธกิ ารมสี ่วนเกยี่ วขอ้ ง รวม 11 นโยบายหลกั 5 นโยบายเรง่ ดว่ น ดังนี้ นโยบายหลักท่ี 1 การปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ นโยบายหลักที่ 2 การสร้างความม่ันคงและความปลอดภัยของประเทศ และความสงบสุขของประเทศ นโยบายหลัก ที่ 3 การทานุบารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม (3.2 ปลูกฝังค่านิยมและวัฒนธรรมท่ีดี ทั้งด้าน คุณธรรม จริยธรรม กตัญญู ความซ่ือสัตย์ การมีวินัย เคารพกฎหมาย มีจิตสาธารณะและการมี ส่วนร่วมทาประโยชนใ์ หป้ ระเทศและการเปน็ พลเมืองดี) นโยบายหลักที่ 4 การสร้างบทบาทของไทย ในเวทีโลก (4.2 สร้างความเป็นปึกแผ่นของอาเซียน) นโยบายหลักที่ 5 การพัฒนาเศรษฐกิจ และความสามารถในการแข่งขันของไทย (5.3 พัฒนาภาคเกษตร 5.4 พัฒนาภาคการท่องเท่ียว) นโยบายหลักที่ 6 การพัฒนาพ้ืนท่ีเศรษฐกิจและการกระจายความเจริญสู่ภมู ิภาค (6.1 ส่งเสริมพ้ืนท่ี เศรษฐกิจพิเศษเพ่ือเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของเอเชีย 6.2 ส่งเสริมและเร่งรัดการพัฒนาเมือง อจั ฉริยะน่าอยู่ทั่วประเทศ) นโยบายหลักที่ 8 การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาศกั ยภาพ ของคนไทยทุกช่วงวัย (8.1 ส่งเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัย 8.2 พัฒนาบัณฑิตพันธ์ุใหม่ 8.5 วิจัย และพัฒนานวัตกรรมท่ีตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ 8.6 ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาทักษะ ทุกช่วงวัย 8.7 จัดทาระบบปริญญาชุมชนและการจัดอบรมหลักสูตรระยะส้ัน) นโยบายหลักท่ี 9 การพัฒนาระบบสาธารณสุขและหลักประกันทางสังคม (9.4 สร้างหลักประกันทางสังคม) นโยบาย หลักที่ 10 การฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและการรักษาส่ิงแวดล้อมเพื่อสร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน นโยบายหลักที่ 11 การปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐ นโยบายหลักท่ี 12 การป้องกันและปราบปราม การทุจรติ และประพฤติมิชอบ และกระบวนการยุตธิ รรม นโยบายเร่งด่วนท่ี 6 การวางรากฐานระบบเศรษฐกิจของประเทศสู่อนาคต นโยบาย เร่งด่วนที่ 7 การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 นโยบายเร่งด่วนท่ี 8 การแก้ไขปัญหาทุจริต และประพฤตมิ ิชอบในวงราชการ นโยบายเร่งดว่ นท่ี 9 การแกไ้ ขปัญหายาเสพติดและสร้างความสงบสุข ในพ้ืนทช่ี ายแดนภาคใต้ นโยบายเร่งด่วนท่ี 10 การพฒั นาระบบการให้บรกิ ารประชาชน 14
8. เป้าหมายการพัฒนาทยี่ ั่งยนื (Sustainable Development Goals: SDGs) การประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ (United Nations General Assembly - UNGA) เมื่อวันท่ี 25 กันยายน 2558 ผู้นาประเทศสมาชิกสหประชาชาติและประเทศไทย รวม 193 ประเทศ ได้ลงนามรับรองเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (Sustainable Development Goals; SDGs) ทดแทนเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (Millennium Development Goals ; MDGs) ซ่ึงหมดอายุลงในปี 2558 เป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนจะถูกใช้เป็นเครื่องกาหนดทิศทาง การพัฒนาท้ังของประเทศไทยและของโลกจนถึงปี ค.ศ.2030 (พ.ศ.2573) ครอบคลุมระยะเวลา 15 ปี ที่ประกอบด้วย 17 เป้าหมาย (Goal) 169 เป้าประสงค์ (Target) ครอบคลุมประเด็นการ พัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุล อันเป็นสามเสาหลักของการพัฒนาที่ย่ังยืน โดยมีเป้าหมายสูงสุดเพ่ือขจัดความยากจน ลดความเหล่ือมล้า โดยไม่ท้ิงใครไว้เบื้องหลัง ไม่ทาลาย แหล่งทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม รวมท้ังให้ความสาคัญมากยิ่งข้ึนต่อการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ซงึ่ จะตอ้ งรว่ มขับเคล่ือนการพฒั นาทย่ี ่ังยนื ประเทศไทยได้กาหนดกลไกการขับเคล่ือนเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนในรูปแบบ คณะกรรมการ โดยมีการปรับเปล่ียนแนวทางการดาเนินงาน ดังน้ี (มติท่ีประชุมคณะกรรมการ เพื่อการพฒั นาทีย่ งั่ ยนื : กพย. เมื่อวนั ท่ี 19 ธันวาคม 2562) 1. เห็นชอบหลกั การร่างแผนการขบั เคลือ่ น SDGs สาหรับประเทศไทยตามที่ สศช. เสนอ 2. มอบหมายให้ สศช. ดาเนินงานตามแผนขับเคล่ือนเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน สาหรบั ประเทศไทยร่วมกับหนว่ ยงานต่าง ๆ 3. เห็นชอบให้ยกเลิกการดาเนินงานต่าง ๆ ตามที่คณะอนุกรรมการต่าง ๆ ภายใต้ คณะกรรมการเพอ่ื การพฒั นาท่ียั่งยนื ทีไ่ ดเ้ คยมีขอ้ สั่งการหรือเคยมมี ติ 4. ปรบั การดาเนนิ งานให้สอดคล้องกับร่างแผนการขบั เคลื่อนฯ รา่ ง แผนการขับเคลอ่ื นการพัฒนาทย่ี งั่ ยืนของประเทศไทย ประกอบดว้ ย 1. การสรา้ งการตระหนักรู้ 2. การเชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืนกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนระดับท่ี 2 และแผนระดบั ท่ี 3 ของประเทศ 3. กลไกการขับเคลื่อนเปา้ หมายการพฒั นาที่ยงั่ ยืน 3.1 คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาท่ีย่ังยืน (กพย.) เป็นกลไกหลักในการขับเคล่ือน ระดับชาติเชิงนโยบาย (นายกรัฐมนตรี : ประธาน ปลัดกระทรวง ผู้แทนส่วนราชการ และหน่วยงานต่าง ๆ : กรรมการ สานักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ (สศช.) : เลขานุการ) 3.2 คณะอนุกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ย่ังยืน เป็นกลไกในการแปลงนโยบาย และยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาที่ย่ังยืนของประเทศไทยสู่การปฏิบัติอย่างบูรณาการ รวม 4 คณะ ประกอบด้วย 3.2.1 คณะอนกุ รรมการขับเคล่อื นเป้าหมายการพฒั นาที่ยัง่ ยืน 3.2.2 คณะอนุกรรมการส่งเสริมการพัฒนาที่ย่ังยืนตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 3.2.3 คณะอนกุ รรมการตดิ ตามและประเมนิ ผลการพัฒนาที่ยงั่ ยืน 15
3.2.4 คณะอนกุ รรมการการประเมนิ ส่ิงแวดล้อมระดบั ยุทธศาสตร์ 4. การจัดทาโครงการ/การดาเนนิ งานเพื่อบรรลเุ ปา้ หมายการพฒั นาทีย่ ่ังยืน ผา่ นการ ดาเนนิ การตามยทุ ธศาสตรช์ าตแิ ละแผนแม่บทฯ ดว้ ยหลกั การความสัมพนั ธเ์ ชิงเหตุและผล (Causal Relationship: XYZ) 5. ภาคีการพัฒนา (ภาคธรุ กิจเอกชน ภาควชิ าการ ภาคประชาสังคม ภาคภาคเี พ่ือการ พฒั นาระหว่างประเทศ) กพย. ได้มอบหมายให้กระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานรับผิดชอบและประสานงาน หลกั การขับเคล่ือนเป้าหมายการพฒั นาทยี่ ง่ั ยืน 1. รายเป้าหมายหลัก (Goal) เป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน เป้าหมายท่ี 4 สร้างหลัก ประกันว่าทุกคนมีการศึกษาท่ีมีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับสนุนโอกาส ในการเรยี นรู้ตลอดชีวติ 2. รายเป้าหมายยอ่ ย (Target) ท่ี 4.1/4.2/4.4/4.5/4.6/4.7/4.A/4.C เป้าหมายย่อย 4.1 : สร้างหลักประกันว่าเด็กชายและเด็กหญิงทุกคนสาเร็จ การศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาท่ีมีคุณภาพ เท่าเทียม และไม่มีค่าใช้จ่าย นาไปสู่ ผลลพั ธท์ างการเรยี นท่ีมปี ระสิทธผิ ล ภายในปี พ.ศ. 2573 เป้าหมายย่อย 4.2 : สร้างหลกั ประกันว่าเด็กชายและเด็กหญงิ ทุกคนเข้าถงึ การพฒั นา การดูแล และการจัดการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา สาหรับเด็กปฐมวัยที่มีคุณภาพ เพื่อให้เด็ก เหล่านนั้ มคี วามพร้อมสาหรับการศกึ ษาระดับประถมศึกษา ภายในปี 2573 เป้าหมายย่อย 4.4 เพิ่มจานวนเยาวชนและผู้ใหญ่ที่มีทักษะท่ีเก่ียวข้อง รวมถึง ทกั ษะทางด้านเทคนิคและอาชีพสาหรับการจา้ งงาน การมีงานทมี่ ีคุณคา่ และการเปน็ ผู้ประกอบการ ภายในปี 2573 เป้าหมายย่อย 4.5 ขจัดความเหล่ีอมล้าทางเพศด้านการศึกษาและสร้างหลักประกัน ว่ากลุ่มท่ีเปราะบางซ่ึงรวมถึงผู้พิการ ชนพื้นเมือง และเด็ก เข้าถึงการศึกษาและการฝึกอาชีพทุกระดับ อยา่ งเท่าเทยี ม ภายในปี พ.ศ. 2573 เป้าประสงค์ท่ี 4.6 สร้างหลักประกันว่าเยาวชนทุกคนและผู้ใหญ่ในสัดส่วนสูง ทัง้ ชายและหญงิ สามารถอ่านออกเขยี นไดแ้ ละคานวณได้ ภายในปี 2573 เป้าประสงค์ที่ 4.7 สร้างหลักประกันว่าผู้เรียนทุกคนได้รับความรู้และทักษะ ที่จาเป็นสาหรับส่งเสริมการพัฒนาอย่างย่ังยืน รวมไปถึงการศึกษาสาหรับการพัฒนาอย่างย่ังยืน และการมีวิถีชีวิตท่ียั่งยืน สิทธิมนุษยชน ความเสมอภาคระหว่างเพศ การส่งเสริมวัฒนธรรม แห่งความสงบสุข และไม่ใช้ความรุนแรง การเป็นพลเมืองของโลก และความนิยมในความหลากหลาย ทางวฒั นธรรมและการมสี ว่ นรว่ มของวัฒนธรรมต่อการพัฒนาที่ย่ังยนื ภายในปี 2573 เป้าประสงค์ท่ี 4.A สร้างและยกระดับอุปกรณ์และเคร่ืองมือทางการศึกษาที่อ่อนไหว ต่อเด็ก ผู้พิการ และเพศภาวะ และให้มีสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ท่ีปลอดภัย ปราศจากความรุนแรง ครอบคลุมและมีประสิทธผิ ลสาหรับทุกคน เป้าประสงค์ท่ี 4.C เพิ่มจานวนครูท่ีมีคุณวุฒิ รวมถึงการดาเนินการผ่านทาง ความร่วมมือระหว่างประเทศในการฝึกอบรมครูในประเทศกาลังพัฒนา โดยเฉพาะอย่างย่ิงในประเทศ พฒั นาน้อยท่ีสุดและรัฐกาลงั พัฒนาทเี่ ปน็ เกาะขนาดเลก็ ภายในปี 2573 16
ภารกิจของสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีส่วนเก่ียวข้องกับเป้าหมาย การพัฒนาท่ีย่ังยืน รายเป้าหมายหลัก (Goal) ท่ี 4 สร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษาที่มี คุณภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับสนุนโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทุกราย เป้าหมายย่อย (Target) ที่กระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานรับผิดชอบและประสานงานหลัก การขบั เคลอื่ นเป้าหมายการพัฒนาทย่ี ่ังยืน 9. แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ.2560-2579) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 เป็นแผนท่ีวางกรอบเป้าหมายและทิศทาง การจดั การศึกษาของประเทศ โดยมุ่งจดั การศึกษาใหค้ นไทยทุกคนสามารถเข้าถงึ โอกาสและความเสมอภาค ในการศึกษาที่มีคุณภาพ พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ พัฒนาคน ให้มีสมรรถนะ ในการทางานที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ แนวคิดการจัดการ ศกึ ษาตามแผนการศึกษาแห่งชาติ ยึดหลักสาคัญในการจัดการศึกษา ประกอบด้วย หลักการจัดการศึกษา เพื่อปวงชน (Education for All) หลักการจัดการศึกษาเพื่อความเท่าเทียมและท่ัวถึง (Inclusive Education) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) และหลักการมีส่วนร่วม ของสงั คม (All For Education) อกี ทั้งยดึ ตามเป้าหมายการพฒั นาทย่ี ั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs 2030) ประเด็นภายในประเทศ (Local Issues) อาทิ คุณภาพของคนช่วงวัย การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศ ความเหล่ือมล้าของการกระจายรายได้และวิกฤติ ด้านส่ิงแวดล้อม โดยนายุทธศาสตร์ชาติมาเป็นกรอบความคิดสาคัญในการจัดทาแผนการศึกษา แห่งชาติ โดยมีสาระสาคญั ดังนี้ วิสัยทัศน์ : คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลก ศตวรรษท่ี 21 วตั ถุประสงค์ 1. เพ่อื พฒั นาระบบและกระบวนการจดั การศึกษาที่มีคุณภาพและมปี ระสทิ ธิภาพ 2. เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะ ทักษะและสมรรถนะ ท่ีสอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ และยทุ ธศาสตร์ชาติ 3. เพ่ือพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รัก สามัคคี และร่วมมือผนึกกาลังมุง่ สู่การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4. เพื่อนาประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลางและความเหลื่อมล้า ภายในประเทศลดลง ยุทธศาสตร์แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ซงึ่ เกี่ยวขอ้ งกับภารกิจของสานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ ารทั้ง 6 ยุทธศาสตร์ ดงั น้ี ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจดั การศึกษาเพือ่ ความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ เป้าหมาย 1) คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดม่ันการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2) คนทุกช่วงวัยในเขตพัฒนาพิเศษ 17
เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นที่พิเศษได้รับการศึกษาและเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 3) คนทกุ ช่วงวัยได้รบั การศกึ ษา การดแู ลและป้องกันจากภัยคุกคามในชีวติ รูปแบบใหม่ แนวทางการพัฒนา 1) พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลัก ของชาติและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2) ยกระดับ คุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ 3) ยกระดับคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในพื้นที่พิเศษ (พื้นท่ีสูง พื้นที่ ตามแนวตะเข็บชายแดนและพื้นที่เกาะแก่ง ชายฝั่งทะเล ท้ังกลุ่มชนต่างเช้ือชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มชนชายขอบและแรงงานต่างด้าว) 4) พัฒนาการจัดการศึกษาเพ่ือการจัดระบบการดูแล และป้องกันภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ อาทิ อาชญากรรมและความรุนแรงในรูปแบบต่าง ๆ ยาเสพติด ภัยพิบัตจิ ากธรรมชาตภิ ัยจากโรคอบุ ตั ิใหม่ ภยั จากไซเบอร์ เปน็ ต้น ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้าง ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ เป้าหมาย 1) กาลังคนมีทักษะท่ีสาคัญจาเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการ ของตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 2) สถาบันการศึกษาและหน่วยงาน ที่จัดการศึกษาผลิตบัณฑิตที่มีความเช่ียวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน 3) การวิจัยและพัฒนา เพื่อสรา้ งองค์ความรู้และนวัตกรรมทส่ี ร้างผลผลติ และมูลค่าเพม่ิ ทางเศรษฐกิจ แนวทางการพัฒนา 1) ผลิตและพัฒนากาลังคนให้มีสมรรถนะในสาขาที่ตรง ตามความต้องการของตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 2) ส่งเสริมการผลิต และพัฒนา กาลังคนที่มีความเชี่ยวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน 3) ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา เพ่ือสร้างองคค์ วามรู้และนวัตกรรมท่สี รา้ งผลผลิตและมูลคา่ เพม่ิ ทางเศรษฐกจิ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การพัฒนาศักยภาพคนทกุ ช่วงวัยและการสรา้ งสังคมแห่งการเรยี นรู้ เป้าหมาย 1) ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพื้นฐานของพลเมืองไทยและทักษะ และคุณลักษณะท่ีจาเป็นในศตวรรษท่ี 21 2) คนทุกช่วงวัยมีทักษะความรู้ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษาและมาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ตามศักยภาพ 3) สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรได้อย่างมี คุณภาพและมาตรฐาน 4) แหล่งเรียนรู้ ส่ือตาราเรียน นวัตกรรมและสื่อการเรียนรู้มีคุณภาพ และมาตรฐาน และประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยไม่จากัดเวลาและสถานที่ 5) ระบบและกลไก การวัด การติดตามและประเมินผลมีประสิทธิภาพ 6) ระบบการผลิตครู อาจารย์ และบุคลากร ทางการศึกษาได้มาตรฐานระดับสากล 7) ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนา สมรรถนะตามมาตรฐาน แนวทางการพัฒนา 1) สง่ เสรมิ สนับสนุนใหค้ นทุกช่วงวัยมที ักษะ ความรู้ ความสามารถ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างเหมาะสม เต็มตามศักยภาพในแต่ละช่วงวัย 2) ส่งเสริมและพัฒนา แหล่งเรียนรู้ ส่ือตาราเรียน และสื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ ให้มีคุณภาพมาตรฐาน และประชาชนสามารถ เข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้โดยไม่จากัดเวลาและสถานท่ี 3) สร้างเสรมิ และปรบั เปล่ียนค่านิยมของคนไทย ให้มีวินัย จิตสาธารณะ และพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ 4) พัฒนาระบบและกลไกการติดตาม การวัด และประเมินผลผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพ 5) พัฒนาคลังข้อมูล สื่อ และนวัตกรรมการเรียนรู้ท่ีมี 18
คุณภาพและมาตรฐาน 6) พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการผลิตครู อาจารย์และบุคลากรทางการ ศกึ ษา 7) พฒั นาคณุ ภาพครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการ ศกึ ษา เป้าหมาย 1) ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษา ที่มคี ุณภาพ 2) การเพม่ิ โอกาสทางการศกึ ษาผา่ นเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพอ่ื การศึกษาสาหรับคนทุกช่วงวัย 3) ระบบข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาที่ครอบคลุม ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน เพ่ือการ วางแผนการบรหิ ารจัดการศึกษา การตดิ ตามประเมินและรายงานผล แนวทางการพัฒนา 1) เพิ่มโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาที่มี คุณภาพ 2) พัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศึกษาสาหรับคนทุกช่วงวัย 3) พัฒนาฐานข้อมูล ด้านการศกึ ษาที่มมี าตรฐาน เช่อื มโยงและเข้าถึงได้ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร กบั สง่ิ แวดล้อม เป้าหมาย 1) คนทกุ ช่วงวัย มจี ิตสานึกรักษ์ส่ิงแวดล้อม มคี ุณธรรม จริยธรรมและนา แนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ 2) หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และส่ือการเรียนรู้ ท่ีส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม และการนาแนวคิดตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏิบตั ิ 3) การวิจยั เพ่ือพัฒนาองคค์ วามรู้และนวตั กรรมด้านการ สร้างเสริมคณุ ภาพชีวติ ที่เป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อม แนวทางการพัฒนา 1) ส่งเสริม สนับสนุนการสร้างจิตสานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในการ ดาเนินชีวิต 2) ส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ และส่ือการเรียนรู้ ต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม 3) พัฒนาองค์ความรู้ งานวจิ ยั และนวัตกรรม ด้านการสร้างเสรมิ คุณภาพชีวติ ทีเ่ ป็นมติ รกับสงิ่ แวดล้อม ยทุ ธศาสตร์ท่ี 6 การพัฒนาประสิทธภิ าพของระบบบรหิ ารจัดการศึกษา เป้าหมาย 1) โครงสร้าง บทบาทและระบบการบริหารจัดการการศึกษามีความ คล่องตัว ชัดเจนและสามารถตรวจสอบได้ 2) ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลส่งผลต่อคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 3) ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษาท่ีตอบสนองความต้องการของประชาชนและพื้นท่ี 4) กฎหมายและรูปแบบ การบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษารองรับลักษณะที่แตกต่างกันของผู้เรียน สถานศึกษา และความต้องการกาลังแรงงานของประเทศ 5) ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษามีความเป็นธรรม สร้างขวัญกาลังใจ และส่งเสริมให้ปฏิบัติงานได้ อย่างเต็มตามศกั ยภาพ แนวทางการพัฒนา 1) ปรับปรุงโครงสรา้ งการบริหารจัดการศกึ ษา 2) เพ่ิมประสิทธภิ าพ การบริหารจัดการสถานศึกษา 3) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา 4) ปรับปรุงกฎหมายเก่ียวกับระบบการเงินเพ่ือการศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพและประสิทธิภาพการ จดั การศกึ ษา 5) พฒั นาระบบบรหิ ารงานบคุ คลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา 19
10. นโยบายการจดั การศกึ ษากระทรวงศกึ ษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564-2565 หลักการตามนโยบาย ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ - 2565 1. สร้าง “TRUST” หรือ “ความเชื่อม่ัน ไว้วางใจ” ให้กับสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เด็กและผู้ปกครอง โดยทกุ หน่วยงานสามารถทจ่ี ะเป็นหลกั หรือเป็นทีพ่ ง่ึ ได้ T (Transparency) หมายถึง ความโปร่งใส R (Responsibility) หมายถงึ ความรับผิดชอบ U (Unity) หมายถงึ ความเป็นอนั หน่ึงอนั เดยี ว S (Student-Centricity) หมายถึง ผเู้ รียนเปน็ เปา้ หมายแห่งการพฒั นา T (Technology) หมายถงึ เทคโนโลยี 2. ให้ทุกหน่วยงานนารูปแบบการทางาน “MOE ONE TEAM” หรือ “การทางาน ร่วมกันเป็นหนึ่งเดียวของกระทรวงศึกษาธิการ” และนา “TRUST” ซ่ึงเป็นรูปแบบในการทางาน ท่ีจะทาให้ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง ผู้เรียน และประชาชน กลับมาให้ความไว้วางใจ ในการทางานของกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อเป็นส่วนเสริมในเร่ืองความโปร่งใส ทั้งใน เชิงกระบวนการทางานและกระบวนการตรวจสอบจากภาคส่วนตา่ ง ๆ 3. สนับสนุนให้ผู้ปฏิบัติงานทุกคนดาเนินการตามภารกิจด้วยความรับผิดชอบต่อ ตนเององค์กร ประชาชน และประเทศชาติ ให้ความสาคัญกบั การประสานความร่วมมือจากทุกภาค ส่วน โดยผ่านกลไกการรับฟังความคิดเห็นมาประกอบการดาเนินงานท่ีเป็นประโยชน์ต่อการ ยกระดับคณุ ภาพการศึกษา ดงั น้ัน จึงกาหนดนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 ดงั นี้ นโยบายการจัดการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 1. การปรับปรุงหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ให้ทันสมัย และทันการ เปล่ียนแปลงของโลกในศตวรรษท่ี 21 โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกระดับการศึกษาให้มีความรู้ ทักษะ และคณุ ลักษณะทเ่ี หมาะสมกับบริบทสังคมไทย 2. การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครูและอาจารย์ในระดับการศึกษาข้ัน พน้ื ฐานและอาชวี ศกึ ษาใหม้ ีสมรรถนะทางภาษาและดิจทิ ัล เพื่อให้ครแู ละอาจารย์ได้รับการพฒั นา ให้มีสมรรถนะทั้งด้านการจัดการเรยี นรู้ด้วยภาษาและดิจิทัล สามารถปรับวิธีการเรียนการสอนและ การใช้สือ่ ทนั สมยั และมีความรบั ผิดชอบตอ่ ผลลพั ธ์ทางการศกึ ษาที่เกดิ กับผเู้ รยี น 3. การปฏิรูปการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลผ่านแพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วยดิจิทัล แห่งชาติ (NDLP) และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจาวัน เพ่ือให้มีหน่วยงาน รับผิดชอบพัฒนาแพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลแห่งชาติ ที่สามารถนาไปใช้ในกระบวนการ จัดการเรียนรู้ท่ีทันสมัยและเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้อย่างกว้างขวางผ่านระบบออนไลน์ และการนา ฐานข้อมูลกลางทางการศึกษามาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารและการจัด การศกึ ษา 4. การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการศึกษา โดยการส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษาให้มีความเป็นอิสระและคล่องตัว การกระจายอานาจการบริหารและการ 20
จัดการศึกษาโดยใช้จังหวัดเป็นฐาน โดยอาศัยอานาจตามกฎหมายการศึกษาแห่งชาติที่ได้รับการ ปรับปรุงเพื่อกาหนดให้มีระบบบริหารและการจัดการ รวมถึงการจัดโครงสร้างหน่วยงานให้เอ้ือต่อ การจัดการเรยี นการสอนให้มีคุณภาพ สถานศึกษาให้มีความเป็นอิสระและคล่องตัว การบริหารและ การจัดการศึกษาโดยใช้จังหวัดเป็นฐาน มรี ะบบการบริหารงานบุคคลโดยยดึ หลักธรรมาภบิ าล 5. การปรับระบบการประเมินผลการศึกษาและการประกันคุณภาพ พร้อมจัด ทดสอบวัดความรู้ และทักษะท่ีจาเป็นในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาท้ังสายวิชาการและสาย วิชาชีพ เพ่ือให้ระบบการประเมินผลการศึกษาทุกระดับและระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ไดร้ ับการปรบั ปรุงใหท้ นั สมัย ตอบสนองผลลพั ธ์ทางการศึกษาได้อย่างเหมาะสม 6. การจัดสรรและการกระจายทรัพยากรให้ท่ัวถึงทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงการ ระดมทรัพยากรทางการศึกษาจากความร่วมมือทุกภาคส่วน เพ่ือให้การจัดสรรทรัพยากรทางการ ศึกษามีความเป็นธรรมและสร้างโอกาสให้กลุ่มเป้าหมายไดเ้ ข้าถึงการศึกษาทม่ี ีคณุ ภาพทดั เทยี มกลุ่ม อื่น ๆ กระจายทรัพยากรท้ังบุคลากรทางการศกึ ษา งบประมาณและสื่อเทคโนโลยไี ดอ้ ยา่ งท่ัวถงึ 7. การนากรอบคุณวุฒิแห่งชาติ National Qualifications Framework (NQF) และกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน ASEAN Qualifications Reference Framework (AQRF) สู่การปฏิบัติ เป็นการผลิตและการพัฒนากาลังคนเพ่ือการพัฒนาประเทศ โดยใช้กรอบ คุณวุฒิแห่งชาติ เชื่อมโยงระบบการศึกษาและการอาชีพ โดยใช้กลไกการเทียบโอนประสบการณ์ ด้วยธนาคารหน่วยกิต และการจัดทามาตรฐานอาชีพในสาขาที่สามารถอา้ งอิงอาเซยี นได้ 8. การพัฒนาเด็กปฐมวัยให้ได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาเพ่ือ พัฒนารา่ งกาย จิตใจ วินยั อารมณ์ สังคม และสติปัญญาใหส้ มกบั วยั เพ่ือเปน็ การขับเคล่ือนแผน บรู ณาการการพัฒนาเด็กปฐมวยั ตามพระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2562 สู่การปฏิบัติ เป็นรูปธรรม โดยหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องนาไปเป็นกรอบในการจัดทาแผนปฏิบัติการเพ่ือพัฒนาเด็ก ปฐมวยั และมีการติดตามความก้าวหน้าเปน็ ระยะ 9. การศึกษาเพื่ออาชีพและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เพ่ือให้ผู้จบการศึกษาระดับปริญญาและอาชีวศึกษามีอาชีพและรายได้ท่ีเหมาะสมกับการดารงชีพและ คุณภาพชีวิตทีด่ ี มสี ่วนช่วยเพม่ิ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขันในเวทโี ลกได้ 10. การพลิกโฉมระบบการศึกษาไทยด้วยการนานวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ ทนั สมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศกึ ษา เพื่อให้สถาบันการศกึ ษาทุกแห่งนานวัตกรรม และเทคโนโลยที ่ีทันสมัยมาใช้ในการจดั การศกึ ษาผ่านระบบดจิ ิทัล 11. การเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพของกลุ่มผู้ด้อยโอกาส ทางการศึกษา และผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ เพ่ือเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษา ท่มี ีคุณภาพของกลุ่มผูด้ อ้ ยโอกาสทางการศึกษา และผเู้ รยี นทีม่ ีความตอ้ งการจาเป็นพิเศษ 12. การจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย โดยยึดหลักการ เรยี นรู้ตลอดชีวติ และการมีส่วนรว่ มของผู้มีส่วนเกีย่ วข้อง เพอื่ เพิ่มโอกาสและการเขา้ ถึงการศกึ ษา ที่มีคณุ ภาพของกลมุ่ ผดู้ ้อยโอกาสทางการศึกษาและผู้เรียนที่มีความต้องการจาเปน็ พเิ ศษ นโยบายระยะเร่งดว่ น (Quick Win) 1. ความปลอดภัยของผูเ้ รยี น โดยจัดให้มีรปู แบบ วิธีการ หรอื กระบวนการในการ ดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี น เพอื่ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมคี ุณภาพ มีความสุข และได้รบั การปกปอ้ ง 21
ค้มุ ครองความปลอดภัยทั้งดา้ นร่างกายและจิตใจ รวมถึงการสร้างทกั ษะให้ผเู้ รยี นมีความสามารถใน การดแู ลตนเองจากภัยอนั ตรายต่าง ๆ ทา่ มกลางสภาพแวดลอ้ มทางสงั คม 2. หลักสูตรฐานสมรรถนะ มุ่งเน้นการจัดการเรียนรู้ท่ีหลากหลายโดยยึด ความสามารถของผ้เู รยี นเป็นหลัก และพัฒนาผ้เู รียนใหเ้ กิดสมรรถนะที่ต้องการ 3. ฐานข้อมลู Big Data มุง่ พัฒนาการจัดเก็บข้อมลู อย่างเป็นระบบและไม่ซา้ ซอ้ น เพื่อให้ได้ข้อมูลภาพรวมการศึกษาของประเทศที่มีความครบถ้วน สมบูรณ์ ถูกต้องเป็นปัจจุบัน และ สามารถนามาใชป้ ระโยชน์ได้อย่างแทจ้ รงิ 4. ขับเคล่ือนศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) สนับสนนุ การดาเนนิ งานของศูนยค์ วามเปน็ เลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) ตามความ เป็นเลิศของแต่ละสถานศึกษาและตามบริบทของพ้ืนท่ี สอดคล้องกับความต้องการของประเทศท้ัง ในปัจจุบันและอนาคต ตลอดจนมีการจัดการเรียนการสอนด้วยเคร่ืองมือที่ทันสมัย สอดคล้องกับ เทคโนโลยปี จั จุบัน 5. พฒั นาทักษะทางอาชีพ ส่งเสริมการจัดการศึกษาทีเ่ น้นพัฒนาทักษะอาชีพของ ผู้เรียน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างอาชีพและรายได้ท่ีเหมาะสม และเพ่ิมขีดความสามารถในการ แข่งขันของประเทศ 6. การศึกษาตลอดชีวิต การจัดการเรยี นรู้ตลอดชีวิตสาหรับประชาชนทุกช่วงวัย ให้มีคุณภาพและมาตรฐาน ประชาชนในแต่ละช่วงวัยได้รับการศึกษาตามความต้องการอย่างมี มาตรฐาน เหมาะสมและเต็มตามศักยภาพต้ังแต่วัยเด็กจนถึงวัยชรา และพฒั นาหลักสูตรท่ีเหมาะสม เพื่อเตรยี มความพรอ้ มในการเขา้ สู่สงั คมผสู้ ูงวยั 7. การจัดการศึกษาสาหรับผู้ท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ ส่งเสริมการจัด การศึกษาให้ผู้ท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษได้รบั การพัฒนาอยา่ งเต็มศักยภาพ สามารถดารงชีวิตใน สังคมอย่างมีเกียรติ ศักดิ์ศรีเท่าเทียมกับผู้อื่นในสังคม สามารถช่วยเหลือตนเอง และมีส่วนร่วมใน การพัฒนาประเทศ นโยบายและจุดเน้นประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. การจดั การศกึ ษาเพือ่ ความปลอดภัย 1.1 เร่งสรา้ งสถานศึกษาปลอดภัยเพื่อเพ่ิมความเช่ือมั่นของสงั คม และป้องกันจาก ภัยคุกคามในชีวิตรูปแบบใหม่ และภัยอ่ืน ๆ โดยมีการวางมาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่ นักเรียน ครูและบุคลากรในสถานศึกษาในรูปแบบต่าง ๆ เช่น จัดโครงการโรงเรียน Sandbox : Safety zone in school (SSS) หรือ การจัดกิจกรรม Safety School Success จัดให้มีการฉีดวัคซีนเพ่ือ ป้องกนั โรคติดต่อ การจัดการความรนุ แรงเก่ียวกบั รา่ งกาย จติ ใจ และเพศ เปน็ ตน้ 1.2 เร่งพัฒนาบรรจุตัวช้ีวัดเรื่องความปลอดภัยให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานของ สถานศกึ ษาและหนว่ ยงานทกุ ระดบั 1.3 เรง่ พัฒนาใหม้ หี นว่ ยงานดา้ นความปลอดภัยทีม่ ีโครงสร้างและกรอบอัตรากาลัง อย่างชัดเจนในทุกสว่ นราชการของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 2. การยกระดับคณุ ภาพการศึกษา 22
2.1 เร่งจัดทาและพัฒนากรอบหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (หลักสูตรฐาน สมรรถนะ) โดยรับฟังความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ศึกษาวิเคราะห์ วิจัยความเหมาะสมความ เปน็ ไปได้และทดลองใช้ก่อนการประกาศใช้หลกั สตู รฯ ในเดอื นเมษายน พ.ศ. 2565 2.2 จัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะแบบผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง มุ่งเน้น กระบวนการเรียนรู้แบบถักทอความรู้ ทักษะคุณลักษณะผู้เรียนเข้าด้วยกันด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจและเรียนรู้อย่างมีความสุข และพัฒนาความเป็น มนุษยท์ ี่สมบรู ณ์ รวมทงั้ การพัฒนาระบบการวัดและประเมนิ ผลเชงิ สมรรถนะ 2.3 พัฒนาช่องทางการเรียนรู้ผ่านดิจิทัลแพลตฟอร์มที่หลากหลายและมี แพลตฟอร์มการเรียนรู้อัจฉริยะที่รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนรู้ ส่ือการสอน คุณ ภาพสูง และการประเมินและพัฒ นาผู้เรียน เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้เป็นรายบุคคล (Personalized Learning) สาหรับผู้เรียนทุกชว่ งวยั 2.4 มงุ่ พัฒนาการจัดการเรียนการสอนประวตั ิศาสตร์ หน้าท่ีพลเมืองและศีลธรรม ให้มีความทันสมัยสอดรับกับวิถีใหม่ เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ ประวตั ิศาสตร์ของท้องถิ่นและการเสรมิ สรา้ งวิถีชวี ิตของความเปน็ พลเมืองท่ีเข้มแข็ง 2.5 ส่งเสริมให้ความรู้ด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน โดยบรู ณาการการทางานรว่ มกับหน่วยงานทเี่ กี่ยวขอ้ ง เช่น กองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) ธนาคาร กรงุ ศรีอยุธยา ธนาคารออมสิน ผ่านโครงการต่าง ๆ เช่น โครงการสถานศึกษาส่งเสรมิ วนิ ัยการออม กบั กอช. โครงการธนาคารโรงเรยี น และการเผยแพรส่ ่ือแอนเิ มชนั รอบรู้เร่อื งเงนิ 2.6 พัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษา และหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น แบบโมดูล (Modular System) ท่ีมีการบูรณาการวิชาสามัญและวิชาชีพในชุดวิชาอาชีพเดียวกัน เชื่อมโยงการจัดการ อาชีวศึกษาท้ังในระบบ นอกระบบ และระบบทวิภาคี รวมท้ังการจัดการเรียนรู้แบบต่อเนื่อง (Block Course) เพื่อสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) ร่วมมือกับสถานประกอบการในการจัดการ อาชีวศึกษาอยา่ งเข้มข้นเพ่ือการมงี านทา 2.7 ศึกษาวจิ ัย ถอดบทเรียนความสาเร็จในการจัดและพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาใน สถานศึกษาของสถานศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ของพ้ืนที่นวัตกรรมการศึกษา เพื่อเป็น แนวทางใหห้ นว่ ยงาน สถานศกึ ษา และผเู้ กยี่ วข้องนาไปประยกุ ต์ใช้ใหเ้ หมาะสม 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทียมทางการศกึ ษาทกุ ช่วงวัย 3.1 ดาเนินการสารวจและติดตามเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคัน เพ่ือนาเข้าสู่ ระบบการศกึ ษาโดยเฉพาะการศึกษาภาคบงั คบั 3.2 ส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยที่มีอายุต้ังแต่ 3 ปีข้ึนไปทุกคน เข้าสู่ระบบ การศึกษาเพื่อรับการพัฒนาอย่างรอบด้าน มีคุณภาพ ตามศักยภาพ ตามวัยและต่อเนื่องอย่างเป็น ระบบ โดยบูรณาการร่วมงานกบั ทุกหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง 3.3 มุ่งแก้ปัญหาคนพิการในวัยเรียนท่ีไม่ได้รับการศึกษาเข้าสู่ระบบการศึกษา โดย กาหนดตาแหน่ง (ปกั หมุด) บ้านเด็กพกิ ารทว่ั ประเทศ 3.4 ให้ความช่วยเหลือโรงเรียนห่างไกลกันดารได้มีโอกาสเรียนรู้ในยุคโควิด โดยการสร้าง ความพรอ้ ม ในด้านดิจิทัลและด้านอืน่ ๆ 23
3.5 ส่งเสริม และสนับสนุนความร่วมมือการจัดการศึกษาร่วมกับหน่วยงาน องค์กรทัง้ ภาครัฐ เอกชน ชุมชน องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นและสถาบนั สังคมอื่น 4. การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะอาชพี และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน 4.1 ขบั เคลอ่ื นศูนยค์ วามเปน็ เลิศทางการอาชวี ศกึ ษา (Excellent Center) และส่งเสรมิ การ ผลติ กาลังคนท่ีตอบโจทย์การพฒั นาประเทศ 4.2 ส่งเสริม สนับสนุนให้มีการฝึกอบรมอาชีพท่ีสอดคล้องกับความถนัด ความสนใจ โดยการ Re-skill, Up-skill ,New skill เพื่อให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีการศึกษาในระดับท่ีสูงข้ึน พร้อม ท้ังสร้างช่องทางอาชีพในรูปแบบท่ีหลากหลายให้ครอบคลุมผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งผู้สูงอายุ ท่มี คี วามสนใจ โดยมกี ารบูรณาการความรว่ มมือระหว่างหน่วยงานท่เี ก่ียวข้อง 4.3 จัดต้ังศูนย์ให้คาปรึกษาการจัดต้ังธุรกิจ (ศูนย์ Start up) ภายใต้ศูนย์พัฒนา อาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ และพัฒนาศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษา เพื่อการ ส่งเสริม และพัฒนาผู้ประกอบการด้านอาชีพทั้งผู้เรียนอาชีวศึกษาและประชาชนทั่วไป โดยเช่ือมโยงกับ กศน. และสถานประกอบการท้ังภาครัฐและเอกชนทีส่ อดคล้องกับการประกอบอาชีพในวิถีชวี ิตรูปแบบ ใหม่ 4.4 พัฒนาแอปพลิเคชัน เพ่ือสนับสนุนช่างพันธุ์ R อาชีวะซ่อมทั่วไทย โดยการ นาร่องผ่านการให้บริการของศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน (Fix it Center) จานวน 100 ศูนย์ ให้ครอบคลุม การใหบ้ รกิ ารแก่ประชาชน 5. การส่งเสรมิ สนบั สนนุ วชิ าชพี ครูและบุคลากรทางการศึกษา 5.1 พัฒนาหลักเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ Performance Appraisal (PA) โดยใช้ระบบการประเมินตาแหน่งและวิทยฐานะของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ระบบ Digital Performance Appraisal (DPA) 5.2 พัฒนาสมรรถนะทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล โดยการจัดทากรอบระดับ สมรรถนะดิจิทัล (Digital Competency) สาหรับครูและบุคลากรทางการศึกษาระดับการศึกษาขั้น พน้ื ฐาน และระดับอาชีวศกึ ษา 5.3 ดาเนินการแก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษาท้ังระบบ ควบคู่กับ การใหค้ วามรู้ด้านการวางแผนและการสร้างวินัยดา้ นการเงินและการออม 6. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครฐั ยคุ ดิจิทลั 6.1 พัฒนาระบบสารสนเทศโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย ในการจัดระบบ ทะเบยี นประวัติของขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 6.2 ปรับปรุงแนวทางการจัดสรรเงินค่าเครื่องแบบนักเรียนและอุปกรณ์การเรียน ผ่านแอปพลเิ คชัน “เป๋าตัง” ของกรมบญั ชกี ลางไปยังผ้ปู กครองโดยตรง 7. การขบั เคลอ่ื นกฎหมายการศกึ ษาและแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ จัดทากฎหมายลาดับรองและแผนการศึกษาแห่งชาติเพ่ือรองรับพระราชบัญญัติ การศึกษาแหง่ ชาตคิ วบค่กู ับการสรา้ งการรับรใู้ หก้ บั ประชาชนไดร้ บั ทราบอย่างทั่วถึง 24
11. แผนปฏิบตั ริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ได้กาหนดสาระสาคัญของแผนปฏิบัติราชการประจาปี งบประมาณ พ.ศ.2565 ดงั นี้ วิสัยทัศน์ “พัฒนาผู้เรียนทุกช่วงวัยให้มีคุณธรรม มีทักษะท่ีจาเป็นในศตวรรษท่ี 21 มีทักษะอาชีพ และมีทักษะการเรยี นร้อู ยา่ งตอ่ เนื่องตลอดชีวติ ตามความสามารถของพหุปญั ญา” พนั ธกจิ 1. ยกระดบั คุณภาพของการจัดการศึกษาให้มมี าตรฐาน 2. ลดความเหลื่อมล้าทางการศกึ ษา 3. มุ่งความเปน็ เลิศและสรา้ งขดี ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 4. ปรับปรุงระบบบริหารจัดการการศึกษาให้มีประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร เพิม่ ความคล่องตวั ในการรองรบั ความหลากหลายของการจดั การศึกษา และสร้างเสริมธรรมาภบิ าล เปา้ ประสงคร์ วม 1. ผู้เรียนมที กั ษะที่จาเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 สอดคล้องกบั มาตรฐานการศึกษาของชาติ 2. ผู้เรียนได้รับการปลูกจิตสานึกท่ีถูกต้องเกี่ยวกับความม่ันคง และรู้เท่าทันต่อ ภัยคกุ คามรปู แบบใหม่ 3. ผู้เรียนปฐมวัยมีพฒั นาการที่สมวัย 4. ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษามคี ุณภาพตามมาตรฐานวิชาชพี 5. ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาสเข้าถึงบริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง และเหมาะสมกบั ชว่ งวยั 6. มกี ารพัฒนาระบบฐานข้อมูลพหปุ ญั ญาของผ้เู รยี น 7. กาลังคนมที ักษะอาชพี สมรรถนะ สอดคลอ้ งกับความต้องการของตลาด แรงงาน 8. องค์ความรู้ สิ่งประดิษฐ์ งานวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรม สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจและสงั คม 9. ระบบบริหารจัดการการศึกษามีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล สามารถ สนบั สนุนการจดั การศึกษาท่หี ลากหลายในระดบั พน้ื ท่ี ตอบสนองความต้องการของผู้เรยี น ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. พัฒนาหลกั สูตร กระบวนการจดั การเรยี นรู้ การวดั และประเมินผล (7 แผนงาน) 2. พัฒนาครู บุคลากรทางการศึกษา และบคุ ลากรผู้ปฏบิ ัติงานทุกระดบั (5 แผนงาน) 3. เพิ่มโอกาสใหผ้ ู้เรียนทุกช่วงวัยเข้าถึงบริการทางการศึกษาอย่างตอ่ เนอื่ งตลอดชวี ิต (5 แผนงาน) 4. ส่งเสรมิ ระบบเทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพื่อการศกึ ษา (5 แผนงาน) 5. ผลติ กาลงั คน รวมทงั้ งานวิจยั ท่ีสอดคล้องกับความต้องการของประเทศ (7 แผนงาน) 6. ปรับปรงุ ระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีสว่ นรว่ มในการจัดการ ศึกษา (6 แผนงาน) 25
12. ผลการประเมินแผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานักงานปลัด กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ข้อมลู ณ วนั ท่ี 31 ตลุ าคม 2564) แผนปฏบิ ัติราชการ หน่วยวดั เป้าหมาย ผลการดาเนนิ งาน ผลการ บรรลุ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ สป./ เป้าหมาย ตัวชวี้ ัด บรรลุ เปา้ หมาย ยุทธศาสตร์ชาติ 1 ด้านความมน่ั คง แผนปฏิบตั ิราชการ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ สป. 1 พัฒนาการจัดการศกึ ษาเพอื่ ความม่ันคง ตวั ชว้ี ัดที่ 1 รอ้ ยละของ รอ้ ยละ 100 100.00 สถานศกึ ษาสังกดั สานักงาน ปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร จัดกิจกรรมส่งเสรมิ ความรกั และการธารงรกั ษาสถาบันหลัก ของชาติ ยึดมน่ั ในการปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตยอันมี พระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ ตัวชว้ี ดั ที่ 2 ร้อยละของ รอ้ ยละ 50 ร้อยละของนักเรียนสังกัดโรงเรียนเอกชนในเขต ไม่บรรลุ นกั เรยี นสังกดั โรงเรยี นเอกชน พัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป้าหมาย ในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกจิ (ยะลา ปัตตานี นราธิวาส และ 4 อาเภอในสงขลา) จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ (ยะลา ที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ปตั ตานี นราธิวาส และ 4 ขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) แต่ละวิชาผ่านเกณฑ์คะแนน อาเภอในสงขลา) ท่ีมคี ะแนน ร้ อ ย ล ะ 50 ขึ้ นไป เท่ ากั บ ร้ อยละ 13.55 โด ย ผลการทดสอบทางการศึกษา เปรียบเทียบปีการศึกษา 2562 กับปีการศึกษา 2563 ระดับชาติขน้ั พ้ืนฐาน (O-NET) จาแนกตามระดบั ช้ันและรายวิชา ดงั น้ี แต่ละวชิ าผา่ นเกณฑ์คะแนน รอ้ ยละ 50 ขน้ึ ไป เพมิ่ ข้ึน 26
แผนปฏบิ ัตริ าชการ หน่วยวัด เปา้ หมาย ผลการดาเนนิ งาน ผลการ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ สป./ บรรลุ เป้าหมาย ตวั ชีว้ ัด ภาพรวมทกุ ระดบั ชั้น (ป.6 /ม.3 /ม.6) จาแนกตามรายวชิ า ปกี ารศึกษา 2562 ปีการศกึ ษา 2563 ผลตา่ ง วิชา จานวน จานวน รอ้ ยละ จานวน จานวน รอ้ ยละ รอ้ ยละ ภาษาไทย ผเู้ ขา้ สอบ ผ้ผู ่าน 50% ผ้เู ขา้ สอบ ผู้ผา่ น 50% + เพิ่มขน้ึ (ป.6 /ม.3 /ม.6) (ป.6 /ม.3 /ม.6) / – ลดลง 45,451 9,360 20.59 45,223 14,654 32.40 +11.81 สังคม ศาสนา 14,115 77 0.55 16,339 331 2.03 +1.48 และวฒั นธรรม 45,473 1,209 2.66 45,016 5,958 13.24 +10.58 ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ 45,478 808 1.78 45,313 2,601 5.74 +3.96 วทิ ยาศาสตร์ 45,496 712 1.56 45,125 3,154 6.99 +5.42 รวม 196,013 12,166 6.21 197,016 26,698 13.55 +7.34 หมายเหตุ : นโยบายการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2563 ให้ผู้เรยี นในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และระดับช้ันช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของสถานศึกษาในกากับของ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารเข้ารับการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้ันพ้นื ฐาน (O-NET) ตามความสมัครใจ โดยให้ถือ เปน็ สิทธสิ ่วนตวั โดยเฉพาะของนกั เรยี น ต้งั แตป่ กี ารศกึ ษา 2563 เปน็ ต้นไป จาแนกตามระดบั ชน้ั - ระดับช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6 ปีการศกึ ษา 2562 ปกี ารศกึ ษา 2563 ผลตา่ ง วชิ า จานวน จานวน รอ้ ยละ จานวน จานวน รอ้ ยละ รอ้ ยละ ผู้เขา้ สอบ ผู้ผา่ น 50% ผเู้ ข้าสอบ ผผู้ า่ น 50% + เพิม่ ข้ึน ภาษาไทย 21.13 / – ลดลง ภาษาอังกฤษ 5.57 คณิตศาสตร์ 11,198 2,366 4.62 12,927 6,539 50.58 +29.46 วทิ ยาศาสตร์ 11,199 624 5.04 11,194 517 9.09 12,927 4,140 32.03 +26.45 รวม 11,199 564 12,925 1,446 11.19 +6.57 44,790 4,071 12,927 2,288 17.70 +12.66 51,706 14,413 27.87 +18.79 หมายเหตุ : นโยบายการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) เม่ือวันที่ 25 ธันวาคม 2563ให้ผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของสถานศึกษาในกากับของกระทรวงศึกษาธิการเข้ารับการ ทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพื้นฐาน (O-NET) ตามความสมัครใจ โดยใหถ้ ือเป็นสิทธิส่วนตวั โดยเฉพาะของ 27
แผนปฏิบตั ริ าชการ หน่วยวัด เป้าหมาย ผลการดาเนนิ งาน ผลการ ประเด็นยุทธศาสตร์ สป./ บรรลุ เป้าหมาย ตวั ชวี้ ัด นักเรียน ตั้งแตป่ กี ารศึกษา 2563 เป็นตน้ ไป - ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2562 ปีการศกึ ษา 2563 ผลตา่ ง วชิ า จานวน จานวน ร้อยละ จานวน จานวน ร้อยละ รอ้ ยละ ผ้เู ขา้ สอบ ผผู้ า่ น 50% ผูเ้ ข้าสอบ ผ้ผู า่ น 50% + เพ่มิ ขนึ้ ภาษาไทย 31.30 / – ลดลง ภาษาองั กฤษ 2.29 คณิตศาสตร์ 20,152 6,307 0.81 15,975 5,778 36.17 +4.87 วิทยาศาสตร์ 20,164 461 0.28 20,153 163 8.66 15,731 1,303 8.28 +6.00 รวม 20,183 57 80,652 6,988 16,003 554 3.46 +2.65 15,864 266 1.68 +1.39 63,573 7,901 12.43 +3.76 หมายเหตุ : นโยบายการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพืน้ ฐาน (O-NET) เมื่อวันที่ 25 ธนั วาคม 2563 ใหผ้ ู้เรียนในระดับช้ันชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ของสถานศกึ ษาในกากับของกระทรวงศกึ ษาธิการเขา้ รบั การ ทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขนั้ พ้นื ฐาน (O-NET) ตามความสมคั รใจ โดยใหถ้ อื เปน็ สิทธสิ ว่ นตัวโดยเฉพาะของ นกั เรยี น ตงั้ แตป่ ีการศกึ ษา 2563 เป็นตน้ ไป - ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ปกี ารศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2563 ผลต่าง วชิ า จานวน จานวน รอ้ ยละ จานวน จานวน รอ้ ยละ ร้อยละ ภาษาไทย ผเู้ ข้าสอบ ผู้ผา่ น 50% ผเู้ ขา้ สอบ ผูผ้ ่าน 50% + เพิ่มขน้ึ / – ลดลง 14,101 687 4.87 16,321 2,337 14.32 +9.45 สงั คม ศาสนา 14,115 77 0.55 16,339 331 2.03 +1.48 และวฒั นธรรม ภาษาองั กฤษ 14,110 124 0.88 16,358 515 3.15 +2.27 คณิตศาสตร์ 14,131 128 0.91 16,385 601 3.67 +2.76 วิทยาศาสตร์ 14,114 91 0.64 16,334 600 3.67 +3.03 รวม 70,571 1,107 1.57 81,737 4,384 5.36 +3.79 28
แผนปฏบิ ัติราชการ หน่วยวัด เปา้ หมาย ผลการดาเนนิ งาน ผลการ รอ้ ยละ 85 109.04 บรรลุ ประเด็นยุทธศาสตร์ สป./ เป้าหมาย ตัวชีว้ ดั บรรลุ เปา้ หมาย ตวั ชี้วดั ท่ี 3 รอ้ ยละของ นกั เรียนสงั กัดโรงเรยี นเอกชน ในพนื้ ท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 อา่ น – เขยี น ภาษาไทยได้ ตัวช้ีวัดท่ี 4 รอ้ ยละของ รอ้ ยละ 85 81.97 ไม่บรรลุ ผูเ้ รยี นในเขตพนื้ ทีจ่ งั หวดั เป้าหมาย ชายแดนภาคใตท้ ไี่ ด้รบั การพัฒนาศักยภาพ หรือสมรรถนะด้านอาชีพ สามารถนาผลการพัฒนา ไปประกอบอาชพี ได้ ตวั ชว้ี ดั ท่ี 5 ร้อยละของ รอ้ ยละ 80 67.22 ไม่บรรลุ ผู้เรยี นทีไ่ ดร้ บั การสร้าง เป้าหมาย ภูมคิ มุ้ กันภยั คุกคามรปู แบบใหม่ มีความรู้ ทศั นคติทถี่ กู ต้อง เพ่มิ ขึน้ ยทุ ธศาสตร์ชาติ 2 ด้านการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั แผนปฏบิ ัติราชการ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ สป. 2 พัฒนากาลังคน การวิจยั เพ่อื สรา้ งความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ ตัวชี้วดั ที่ 6 ร้อยละของ ร้อยละ 80 64.29 ไม่บรรลุ ผลงานวิจัยเพ่อื สรา้ งความรู้ ขอขยายระยะเวลาดาเนินงาน เป้าหมาย ส่กู ารพัฒนาการศึกษา ทีเ่ ผยแพรต่ ่อสาธารณชน ซง่ึ จะสน้ิ สดุ ระยะเวลา ณ วนั ท่ี 31 มี.ค.65 ตวั ชี้วดั ท่ี 7 ร้อยละของผผู้ ่าน ร้อยละ 95 N/A ไม่บรรลุ การอบรมเครือขา่ ยเศรษฐกิจ เปา้ หมาย ดจิ ิทัลชมุ ชนระดบั ตาบล 29
แผนปฏิบตั ิราชการ หน่วยวัด เปา้ หมาย ผลการดาเนนิ งาน ผลการ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ สป./ บรรลุ เปา้ หมาย ตวั ชว้ี ดั ยทุ ธศาสตร์ชาติ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ แผนปฏิบัติราชการ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ สป. 3 พัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ยใ์ หม้ คี ณุ ภาพ ตัวชว้ี ัดท่ี 8 ร้อยละของ ร้อยละ 50 ร้อยละของนกั เรียนสังกัดโรงเรยี นเอกชนที่มคี ะแนน ไม่บรรลุ เป้าหมาย นกั เรยี นสงั กัดโรงเรยี นเอกชน ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ท่ีมีคะแนนผลการทดสอบทาง (O-NET) แต่ละวิชาผา่ นเกณฑ์คะแนนรอ้ ยละ 50 ข้ึนไป การศกึ ษาระดับชาติข้นั เท่ากับ ร้อยละ 30.50 โดยเปรียบเทียบปีการศึกษา พืน้ ฐาน (O-NET) แต่ละวิชา 2562 กบั ปีการศึกษา 2563 จาแนกตามระดบั ชั้นและ ผ่านเกณฑค์ ะแนนร้อยละ 50 รายวิชา ดังน้ี ขนึ้ ไป เพิ่มข้นึ ภาพรวมทกุ ระดบั ชน้ั (ป.6 /ม.3 /ม.6) จาแนกตามรายวชิ า ปกี ารศกึ ษา 2562 ปีการศกึ ษา 2563 ผลต่าง วชิ า จานวน จานวน รอ้ ยละ จานวน จานวน รอ้ ยละ รอ้ ยละ ภาษาไทย ผเู้ ข้าสอบ ผู้ผ่าน 50% ผูเ้ ขา้ สอบ ผผู้ ่าน 50% + เพิม่ ข้นึ (ป.6 /ม.3 /ม.6) (ป.6 /ม.3 /ม.6) / – ลดลง 321,758 170,686 53.05 229,064 138,177 60.32 +7.27 สงั คม ศาสนา 48,858 2,696 5.52 49,493 2,993 6.05 +0.53 และวฒั นธรรม 321,885 75,271 23.38 228,761 83,535 36.52 +13.13 ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ 321,873 56,629 17.59 229,536 29,987 13.06 -4.53 วิทยาศาสตร์ 321,881 47,936 14.89 228,439 39,687 17.37 +2.48 รวม 1,336,255 353,218 26.43 965,293 294,379 30.50 +4.06 หมายเหตุ : นโยบายการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) เม่ือวันท่ี 25 ธันวาคม 2563ให้ผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และระดับช้ันช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ของสถานศึกษาในกากับ ของกระทรวงศกึ ษาธิการเข้ารบั การทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ตามความสมคั รใจ โดย ให้ถือเป็นสิทธิสว่ นตวั โดยเฉพาะของนกั เรียน ตั้งแตป่ ีการศึกษา 2563 เป็นตน้ ไป 30
แผนปฏิบัติราชการ หนว่ ยวดั เปา้ หมาย ผลการดาเนินงาน ผลการ ประเด็นยุทธศาสตร์ สป./ บรรลุ เปา้ หมาย ตัวชีว้ ัด จาแนกตามระดบั ชน้ั - ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศกึ ษา 2562 ปีการศึกษา 2563 ผลต่าง วิชา จานวน จานวน ร้อยละ จานวน จานวน ร้อยละ ร้อยละ ผู้เข้าสอบ ผ้ผู า่ น 50% ผเู้ ขา้ สอบ ผู้ผ่าน 50% + เพม่ิ ขึ้น ภาษาไทย 56.59 / – ลดลง ภาษาอังกฤษ (ป.6) 32.30 (ป.6) คณิตศาสตร์ 23.72 วิทยาศาสตร์ 170,833 96,682 23.58 120,126 86,755 72.22 +15.63 34.05 รวม 170,835 55,176 120,122 64,778 53.93 +21.63 170,807 40,522 120,107 20,766 17.29 -6.43 170,830 40,284 120,125 32,751 27.26 +3.68 683,305 232,664 480,480 205,050 42.68 +8.63 หมายเหตุ : นโยบายการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) เมื่อวันท่ี 25 ธันวาคม 2563 ให้ผู้เรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ของสถานศึกษาในกากับของกระทรวงศึกษาธิการเข้ารับการ ทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-NET) ตามความสมัครใจ โดยให้ถอื เป็นสทิ ธสิ ่วนตัวโดยเฉพาะของ นกั เรียน ตัง้ แต่ปีการศกึ ษา 2563 เป็นตน้ ไป - ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2562 ปกี ารศกึ ษา 2563 ผลตา่ ง วิชา จานวน จานวน ร้อยละ จานวน จานวน รอ้ ยละ รอ้ ยละ ผเู้ ขา้ สอบ ผู้ผ่าน 50% ผูเ้ ข้าสอบ ผู้ผา่ น 50% + เพม่ิ ข้นึ ภาษาไทย 60.31 / – ลดลง ภาษาอังกฤษ (ม.3) 16.86 (ม.3) คณติ ศาสตร์ 9.06 วทิ ยาศาสตร์ 102,053 61,551 2.50 60,039 35,143 58.53 -1.78 22.18 รวม 102,007 17,200 59,395 11,689 19.68 +2.82 102,042 9,242 60,058 4,266 7.10 -1.95 102,019 2,547 59,533 2,197 3.69 +1.19 408,121 90,540 239,025 53,295 22.30 +0.11 หมายเหตุ : นโยบายการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) เมื่อวันท่ี 25 ธันวาคม 2563ให้ผู้เรียนในระดับช้ันชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ของสถานศึกษาในกากับของกระทรวงศึกษาธิการเข้ารับการ ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพน้ื ฐาน (O-NET) ตามความสมัครใจ โดยใหถ้ ือเป็นสิทธิส่วนตวั โดยเฉพาะของ นักเรียน ตง้ั แต่ปีการศึกษา 2563 เปน็ ต้นไป 31
แผนปฏบิ ัติราชการ หนว่ ยวดั เป้าหมาย ผลการดาเนนิ งาน ผลการ ประเด็นยุทธศาสตร์ สป./ บรรลุ เปา้ หมาย ตวั ชีว้ ดั - ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศกึ ษา 2562 ปีการศึกษา 2563 ผลตา่ ง วิชา จานวน จานวน รอ้ ยละ จานวน จานวน รอ้ ยละ ร้อยละ ภาษาไทย ผ้เู ข้าสอบ ผ้ผู ่าน 50% 25.48 ผเู้ ขา้ สอบ ผผู้ า่ น 50% + เพิ่มขน้ึ / – ลดลง (ม.6) (ม.6) 48,872 12,453 48,899 16,279 33.29 +7.81 สงั คม ศาสนา 48,858 2,696 5.52 49,493 2,993 6.05 +0.53 และวัฒนธรรม ภาษาอังกฤษ 49,043 2,895 5.90 49,244 7,068 14.35 +8.45 คณติ ศาสตร์ 49,024 6,865 14.00 49,371 4,955 10.04 -3.97 วทิ ยาศาสตร์ 49,032 5,105 10.41 48,781 4,739 9.71 -0.70 รวม 244,829 30,014 12.26 245,788 36,034 14.66 +2.40 ตวั ชี้วดั ท่ี 9 ร้อยละคะแนน รอ้ ยละ 39 ข้นึ ไป ร้อยละคะแนนเฉลี่ยรวมทุกระดับการศึกษาของ ไม่บรรลุ เฉลี่ยรวมทุกระดบั การศึกษา ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษา เป้าหมาย ของผลการทดสอบทาง นอกระบบโรงเรียน (N-NET) แต่ ละภ าคเรียน การศกึ ษาระดบั ชาติการศึกษา ปีการศึกษา 2563 เท่ากับ ร้อยละ 36.48 จาแนก นอกระบบโรงเรียน (N-NET) ระดับการศึกษาแต่ละภาคเรียน ดังน้ี แต่ละภาคเรียน เพม่ิ ข้ึน ภาพรวมทุกระดบั การศกึ ษา (ระดบั ประถมศึกษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ และระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จาแนกตามกลมุ่ สาระวชิ า วชิ า รอ้ ยละคะแนนเฉล่ียรวม (ทกุ ระดบั การศกึ ษา) ผลตา่ งร้อยละ + เพ่ิมขน้ึ / – ลดลง สาระความรู้พ้ืนฐาน ภาคเรียนท่ี 1/2563 ภาคเรียนที่ 2/2563 สาระการพฒั นาสงั คม +1.80 สาระทกั ษะการเรยี นรู้ 33.26 35.06 -6.75 สาระการประกอบอาชพี -2.75 สาระการทกั ษะและการดาเนิน 42.87 36.12 -2.82 ชวี ติ 37.49 34.74 -7.06 รวม 41.28 38.46 -3.51 45.05 37.99 39.99 36.48 32
แผนปฏบิ ัตริ าชการ หนว่ ยวดั เปา้ หมาย ผลการดาเนินงาน ผลการ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ สป./ บรรลุ เปา้ หมาย ตวั ช้ีวดั จาแนกตามระดบั การศกึ ษา - ระดบั ประถมศกึ ษา วชิ า รอ้ ยละคะแนนเฉลยี่ รวม (ระดับประถมศึกษา) ผลตา่ งรอ้ ยละ + เพิม่ ขึ้น / – ลดลง สาระความรพู้ น้ื ฐาน ภาคเรยี นท่ี 1/2563 ภาคเรยี นท่ี 2/2563 สาระการพัฒนาสังคม -0.52 สาระทักษะการเรียนรู้ 40.88 40.36 -4.52 สาระการประกอบอาชีพ -5.02 สาระการทักษะและการดาเนนิ 47.99 43.47 -7.67 ชวี ิต 41.92 36.90 -7.80 รวม 46.86 39.19 -5.11 - ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น 49.53 41.73 45.44 40.33 วิชา รอ้ ยละคะแนนเฉลี่ยรวม (ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ) ผลต่างร้อยละ + เพิ่มขึน้ / – ลดลง สาระความรู้พนื้ ฐาน ภาคเรียนท่ี 1/2563 ภาคเรยี นที่ 2/2563 สาระการพัฒนาสงั คม +1.00 สาระทกั ษะการเรยี นรู้ 32.30 33.30 -4.70 สาระการประกอบอาชีพ +3.42 สาระการทักษะและการดาเนนิ 40.44 35.74 +0.05 ชวี ติ 34.88 38.30 -2.62 รวม 38.02 38.07 -0.57 - ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 45.92 43.30 38.31 37.74 วิชา รอ้ ยละคะแนนเฉลย่ี รวม (ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย) ผลตา่ งร้อยละ + เพิม่ ข้ึน / – ลดลง สาระความรพู้ ืน้ ฐาน ภาคเรยี นที่ 1/2563 ภาคเรียนท่ี 2/2563 สาระการพัฒนาสงั คม +4.92 สาระทักษะการเรยี นรู้ 26.61 31.53 -11.03 สาระการประกอบอาชพี -6.64 สาระการทกั ษะและการดาเนินชีวิต 40.19 29.16 -0.83 -10.75 รวม 35.66 29.02 -4.86 38.95 38.12 39.70 28.95 36.22 31.36 33
แผนปฏบิ ตั ิราชการ หน่วยวัด เป้าหมาย ผลการดาเนนิ งาน ผลการ ร้อยละ 80 บรรลุ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ สป./ ร้อยละของโรงเรียนเอกชนประเภทสามัญศึกษา เป้าหมาย ที่ได้ผ่านการประเมินคุณ ภาพภายนอกอยู่ใน ตัวช้วี ดั ระดับคุณภาพดีมาก จาแนกเป็น ระดับปฐมวัย ไม่บรรลุ ร้อยละ 30.68 กับระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เป้าหมาย ตวั ชวี้ ดั ที่ 10 รอ้ ยละของ รอ้ ยละ 31.39 โรงเรียนเอกชนประเภทสามญั ศึกษาท่ไี ดผ้ า่ นการประเมนิ คุณภาพภายนอกอยใู่ นระดับ คุณภาพดมี ากขนึ้ ไป จาแนกตามระดบั การศกึ ษา - ระดับปฐมวัย ดา้ น ระดับคณุ ภาพ (ปฐมวัย) ดา้ นคณุ ภาพของเดก็ ดเี ย่ยี ม ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง จานวน ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 54 73 273 13 1 414 (13.04) (100) ด้านการจดั ประสบการณท์ เี่ น้นเด็ก (17.64) (65.94) (3.14) (0.24) 414 เป็นสาคญั 58 67 275 13 1 (100) (14.01) 414 - ระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน (16.18) (66.43) (3.14) (0.24) (100) 54 73 269 16 2 (13.04) (17.64) (64.98) (3.86) (0.48) ดา้ น ระดับคุณภาพ (ขน้ั พ้ืนฐาน) ดา้ นคุณภาพของเด็ก ดีเยยี่ ม ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง จานวน ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ 61 63 257 12 2 395 ดา้ นกระบวนการจดั การเรียนการสอน (15.44) (100) ท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ (15.95) (65.06) (3.04) (0.51) 395 68 56 257 11 3 (100) (17.22) 395 (14.18) (65.06) (2.78) (0.76) (100) 61 63 255 12 4 (15.44) (15.95) (64.56) (3.04) (1.01) ตัวชี้วัดที่ 11 ร้อยละคะแนน รอ้ ยละ ระดบั ร้อยละคะแนนเฉล่ียคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ของผเู้ รยี น ไม่บรรลุ เฉลี่ยคุณธรรม จริยธรรม ของ ประถม จาแนกเป็น ระดับประถมศกึ ษา รอ้ ยละ 89.41 เป้าหมาย ผู้เรียน (ค่าเป้าหมาย : X + ศกึ ษา และระดบั มัธยมศกึ ษา รอ้ ยละ 76.41 รอ้ ยละ 3 ของปี 2562) 90.82 ระดับ มัธยม 34
แผนปฏบิ ตั ริ าชการ หน่วยวัด เป้าหมาย ผลการดาเนนิ งาน ผลการ ประเด็นยุทธศาสตร์ สป./ ร้อยละ บรรลุ รอ้ ยละ ศกึ ษา ร้อยละคะแนนเฉล่ยี ความเปน็ พลเมอื งของผูเ้ รียน เปา้ หมาย ตัวชี้วดั 80.74 จาแนกเปน็ ระดับประถมศึกษา รอ้ ยละ 89.50 ระดบั และระดบั มธั ยมศกึ ษา รอ้ ยละ 75.25 ไม่บรรลุ ตวั ช้ีวดั ท่ี 12 ร้อยละคะแนนเฉลี่ย ประถม เปา้ หมาย ความเปน็ พลเมืองของผู้เรยี น ศึกษา 864.94 (ค่าเป้าหมาย : X +รอ้ ยละ 3 82.47 บรรลุ ของปี 2562) ระดับ เปา้ หมาย มัธยม ตัวชี้วดั ท่ี 13 ร้อยละของผู้ ศึกษา ไม่บรรลุ ได้รบั การสง่ เสรมิ และพัฒนา 84.26 เป้าหมาย คณุ ธรรม จรยิ ธรรมเทียบกับ 80 เปา้ หมาย บรรลุ เป้าหมาย ตวั ชว้ี ัดที่ 14 ร้อยละของ รอ้ ยละ 80 N/A ผู้เรยี นทผ่ี า่ นเกณฑ์การพฒั นา ไม่บรรลุ ภาษาตา่ งประเทศ เพอ่ื การ เปา้ หมาย สอ่ื สารดา้ นอาชพี /ดา้ นการ เรียนรู้ สามารถส่ือสารได้ ถกู ตอ้ งมากขึน้ ตวั ช้วี ดั ที่ 15 ร้อยละของ ร้อยละ 80 85.69 ขา้ ราชการครู บคุ ลากร ทางการศึกษา ท่ผี า่ นเกณฑ์ การพฒั นาภาษาตา่ งประเทศ เพอื่ การสอื่ สารดา้ นอาชพี สามารถสือ่ สารไดถ้ กู ตอ้ ง มากขนึ้ ตัวชี้วดั ท่ี 16 รอ้ ยละของ ร้อยละ 80 N/A ข้าราชการครูและบคุ ลากร ทางการศกึ ษาทไี่ ดร้ ับการ พฒั นาสมรรถนะวชิ าชพี สามารถนาผลการพัฒนาไปใช้ 35
แผนปฏิบตั ริ าชการ หน่วยวัด เปา้ หมาย ผลการดาเนินงาน ผลการ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ สป./ 93.00 บรรลุ 5 เปา้ หมาย ตัวชว้ี ดั 650,031 ในการปฏิบัตงิ าน N/A บรรลุ เปา้ หมาย ตัวชว้ี ดั ที่ 17 ร้อยละของเด็ก รอ้ ยละ 85 83.47 ปฐมวัยสังกัดโรงเรยี นเอกชน N/A บรรลุ มพี ัฒนาการสมวัย เปา้ หมาย ตัวชว้ี ัดที่ 18 จานวนระบบ ระบบ 2 บรรลุ ดิจิทัลแพลตฟอร์มเพ่ือการ เป้าหมาย เรยี นรู้แหง่ ชาติ (National Digital Learning Platform : ไม่บรรลุ NDLP) เพิ่มข้นึ เป้าหมาย ตัวชว้ี ัดที่ 19 จานวนผ้ใู ชง้ าน คน 10,000 ไม่บรรลุ ระบบดจิ ิทลั แพลตฟอรม์ เปา้ หมาย เพอ่ื การเรยี นรูแ้ ห่งชาติ (National Digital Learning ไม่บรรลุ Platform : NDLP) เป้าหมาย ตวั ชว้ี ัดท่ี 20 จานวนระบบ ระบบ 3 คลงั ความรทู้ มี่ กี ารเช่อื มโยง เข้าสรู่ ะบบดจิ ิทลั แพลตฟอร์ม เพื่อการเรยี นรแู้ ห่งชาติ (National Digital Learning Platform : NDLP) ตัวชีว้ ัดท่ี 21 รอ้ ยละความ ร้อยละ 85 พงึ พอใจของข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาท่มี ตี อ่ การบริหารงานบคุ คลของครู และบคุ ลากรทางการศึกษา ตัวชี้วดั ที่ 22 ร้อยละของ รอ้ ยละ 90 หนว่ ยงานและสถานศกึ ษา จัดกิจกรรมสร้างความตระหนกั รู้ จติ สานกึ และวนิ ยั การบริหาร 36
แผนปฏิบตั ริ าชการ หนว่ ยวัด เปา้ หมาย ผลการดาเนินงาน ผลการ บรรลุ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ สป./ เป้าหมาย ตัวช้ีวดั บรรลุ เป้าหมาย จัดการขยะและอนรุ ักษ์ฟน้ื ฟู ทรัพยากรธรรมชาติ บรรลุ เพิ่มคณุ ภาพสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น เป้าหมาย ยทุ ธศาสตร์ชาติ 4 ด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม บรรลุ แผนปฏบิ ัตริ าชการ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ สป. 4. สรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา เป้าหมาย ตัวช้ีวดั ท่ี 23 จานวนครั้งที่ คน 10,000,0 13,368,593 บรรลุ เป้าหมาย ประชาชนเขา้ ถงึ หลักสตู ร/ส่ือ/ 00 แหล่งเรียนรู้ทีจ่ ดั การศกึ ษา ในรูปแบบการเรยี นรตู้ ลอดชีวิต (Lifelong Learning) ตัวชีว้ ัดท่ี 24 รอ้ ยละของ รอ้ ยละ 85 87.54 ผู้ผา่ นการฝกึ อบรม/พฒั นา ทกั ษะอาชพี ระยะส้นั สามารถ นาความรไู้ ปประกอบอาชีพ/ พัฒนางานได้ ตวั ช้ีวดั ที่ 25 รอ้ ยละของ รอ้ ยละ 100 100 ผเู้ รยี นทไ่ี ดร้ บั การสนับสนุน คา่ ใช้จา่ ยในการจัดการศกึ ษา ข้นั พื้นฐานเทยี บกับเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ชาติ 6 ดา้ นการปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั แผนปฏิบัตริ าชการ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ สป. 5. พัฒนาระบบบริหารจดั การใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ ตวั ชว้ี ดั ที่ 26 ผลคะแนน คะแนน ไม่น้อย 88.95 ประเมนิ คุณธรรมและความ กว่า 85 โปรง่ ใสในการดาเนนิ งาน ของสานักงานปลดั กระทรวง ศกึ ษาธกิ ารอยู่ในระดับผ่าน ตามเกณฑ์ ITA (Integrity & Transparency Assessment) 37
แผนปฏบิ ตั ิราชการ หนว่ ยวดั เปา้ หมาย ผลการดาเนินงาน ผลการ 12 บรรลุ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ สป./ ฉบบั ไมน่ อ้ ย เป้าหมาย กวา่ 45.31 บรรลุ ตวั ชีว้ ดั 2 เป้าหมาย 6 ตวั ช้วี ัดที่ 27 จานวน รา่ ง ไม่บรรลุ กฎหมายลาดบั รอง (กฎ เปา้ หมาย ระเบียบ ประกาศ ขอ้ บังคับ) ทไ่ี ด้รับการปรบั ปรุง แก้ไข บรรลุ หรือพัฒนาให้สอดคล้องกบั เป้าหมาย สถานการณ์ ตัวชวี้ ดั ท่ี 28 รอ้ ยละของ รอ้ ยละ 80 ข้าราชการพลเรือนสามญั และบุคลากรทางการศกึ ษาอ่ืน ทีไ่ ดร้ บั การพัฒนาสมรรถนะ สามารถนาผลการพฒั นาไปใช้ ในการปฏบิ ตั งิ าน ตัวช้ีวดั ท่ี 29 จานวนระบบ ระบบ 1 ฐานข้อมูลกลาง (Big Data) ฐานข้อมูล ของกระทรวงศกึ ษาธิการ ทเี่ ชือ่ มโยงฐานขอ้ มลู รายบุคคล อา้ งอิงจากเลขประจาตวั ประชาชน 13 หลัก ระหวา่ ง กระทรวงศึกษาธกิ าร และ หนว่ ยงานอื่นด้านสาธารณสขุ สงั คม ภูมสิ ารสนเทศ แรงงาน และการศึกษา สรปุ ผลการดาเนินงานตามตวั ชีว้ ัดใน บรรลุเปา้ หมาย 13 ตัวช้ีวัด ภาพรวม จานวน 29 ตวั ชีว้ ดั ไม่บรรลุเป้าหมาย 11 ตวั ชว้ี ดั ไมส่ ามารถประเมินผลได้ (N/A) 5 ตวั ชีว้ ดั หมายเหตุ : บรรลุเป้าหมาย หมายถึง มีผลการดาเนินงานเป็นไปตามเป้าหมาย/สูงกว่าเป้าหมาย ของตัวชี้วัดของแผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสานักงานปลัดกระทรวง ศกึ ษาธกิ าร 38
ไม่บรรลุเป้าหมาย หมายถึง มีผลการดาเนินงานต่ากว่าเป้าหมายของตัวช้ีวัด ของแผนปฏิบตั ริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ไม่สามารถประเมินผลได้ (N/A) หมายถึง ไม่ปรากฏผลการดาเนินงาน/การดาเนินงาน ยังไมแ่ ล้วเสรจ็ /มีการปรบั เปลย่ี นการดาเนนิ งานโครงการ ผลการดาเนินงานตามตัวชี้วัดของแผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จานวน 29 ตัวชี้วัด บรรลุเป้าหมาย จานวน 13 ตัวชี้วัด คิดเป็น ร้อยละ 44.83 ไม่บรรลุเป้าหมาย จานวน 11 ตัวช้ีวัด คิดเป็นร้อยละ 37.93 และไม่สามารถ ประเมินผลได้ จานวน 5 ตัวชี้วัด คิดเป็นร้อยละ 17.24 โดยมีผลการดาเนินงานจาแนกตามตัวช้ีวัด ดังน้ี 13. อานาจหน้าท่ขี องสานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ อานาจหน้าท่ีของสานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร มีดงั น้ี 1. กฎกระทรวงแบง่ ส่วนราชการสานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548 (ราชกิจจานุเบกษาเล่ม 122 ตอนท่ี 100 ก หน้า 9 วันที่ 28 ตุลาคม 2548) ไว้ดังน้ี “ข้อ 2 ให้สานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ มีภารกิจเกี่ยวกับการ พัฒนายุทธศาสตร์ การแปลงนโยบายของกระทรวงเป็นแผนปฏิบัติ ดาเนินการเกี่ยวกับกฎหมายว่า ด้วยการศึกษาแห่งชาติ จัดทางบประมาณและบริหารราชการประจาทั่วไปของกระทรวง เพื่อการ บรรลเุ ป้าหมายและเกดิ ผลสัมฤทธติ์ ามภารกิจของกระทรวง โดยใหม้ ีอานาจหนา้ ท่ดี งั ตอ่ ไปน้ี 1) ศึกษา วิเคราะห์ จั ดทาข้อมูลเพื่อใช้ในการกาหนดนโยบาย เป้าหมาย และผลสัมฤทธ์ิของกระทรวง 2) พฒั นายุทธศาสตร์การบรหิ ารของกระทรวง 3) แปลงนโยบายเปน็ แนวทางและแผนการปฏบิ ัตริ าชการ 4) จัดทางบประมาณและแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง 5) ดาเนินการเกยี่ วกบั การตรวจราชการและการตรวจสอบภายในราชการทวั่ ไป ของกระทรวง 6) ดาเนินการเกีย่ วกบั งานลูกเสือ ยวุ กาชาดและกิจการนักเรียน 7) ส่งเสริมสนับสนุนงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย คณะกรรมการการศึกษาเอกชน คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และสถาบนั พัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา 8) ส่งเสริม ประสานการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และการกีฬาเพ่ือการศึกษา ตลอดจนงานอ่ืน ๆ ทม่ี ไิ ดก้ าหนดใหเ้ ปน็ อานาจหนา้ ทข่ี องสว่ นราชการใดในสงั กดั กระทรวง 9) ประสานงานกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกระทรวง รวมท้ังดาเนินการ เกี่ยวกับงานความช่วยเหลือและความร่วมมือกับต่างประเทศในส่วนท่ีมิได้อยู่ในอานาจหน้าท่ี ของส่วนราชการใดในสงั กัดกระทรวง 10) พัฒนาระบบและเครือขา่ ยข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารงานของกระทรวง 39
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376