Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บันทึกการเรียนรู้ 16-12-2563 รหัส 61101208127

บันทึกการเรียนรู้ 16-12-2563 รหัส 61101208127

Published by Wichida Soonjan, 2020-12-17 11:16:20

Description: บันทึกการเรียนรู้ 16-12-2563 รหัส 61101208127

Search

Read the Text Version

บันทึกการเรียนรู้ จั ดทําโดย นางสาววิ ชิดา ศูนย์จั นทร์ รหัสนั กศึกษา 61101208127 ชันปที 3 สาขาวิ ชาวิ ทยาศาสตร์ คณะครุ ศาสตร์ เสนอ รองศาสตราจารย์ ดร.สาํ ราญ กําจั ดภั ย หนังสอื เล่มนเี ปนสว่ นหนึงของรายวิชาการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ รหสั วิชา 21004009 ภาคเรยี นที 1 ปการศกึ ษา 2563 มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

คํานํา ก สมุดบนั ทึกการเรียนรเู ลมน้ี เปน สวนหนึง่ ของรายวชิ าการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู รหสั วชิ า 21004009 โดยมจี ดุ ประสงคจดั ทําขึ้นเพอ่ื บันทึกและสรปุ องคความรูท่ไี ดจากการเรียนในแตละใบความรูห รือแตล ะสัปดาห ตลอดภาคเรียนที่ 1 ปก ารศึกษา 2563 รวมระยะเวลาในการเรียนทัง้ ส้นิ 16 สปั ดาห โดยมเี น้ือหาในใบความรูเก่ยี ว กบั รายวชิ าการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรูท้งั หมด 16 ใบความรู ตลอดจนความรสู ึกโดยรวมทมี่ ตี อรายวิชาการวัด และประเมนิ ผลการเรียนรู ทง้ั นผ้ี ูจดั ทําตอ งขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย ดร.สําราญ กําจดั ภัย ผใู หความรแู ละคําปรกึ ษาในการ จดั ทาํ สมดุ บนั ทกึ การเรียนรู รวมทัง้ เพื่อน ๆ ทุกคนทไ่ี ดใ หค วามชว ยเหลอื มาโดยตลอด หากมขี อผิดพลาดประการใด ดิฉนั นางสาววชิ ดิ า ศูนยจ ันทร นักศึกษาสาขาวิชาวทิ ยาศาสตร ชั้นปท่ี 3 ขออภยั สาํ หรบั ขอ ผิดพลาดในคร้ังนด้ี ว ย วชิ ดิ า ศูนยจ นั ทร ผูจ ดั ทาํ

สารบญั ข เรอื่ ง หนา คํานาํ ก สารบัญ ข สารบญั (ตอ) ค ใบสัญญาเรียน อาจารยผ ูสอน 1 ประวัติสว นตัว 2 Week 1 ปฐมนิเทศ 6 Week 2 10 - ใบความรูท่ี 1 แนวคดิ เบอ้ื งตนเก่ยี วกบั การเรียนรู 14 - ใบความรทู ่ี 2 แนวคิดเบอื้ งตนเกย่ี วกบั การวัดและประเมินผล Week 3 18 - ใบความรทู ี่ 3 ความสาํ คัญ ประเภท หลกั การ และจดุ มงุ หมาย 21 24 ของการวัดและประเมนิ ผล 27 Week 4 30 - ใบความรูที่ 4 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรโู ดยใชแบบทดสอบ แบบทดสอบความเรียง หรือแบบทดสอบอัตนยั Week 5 - ใบความรทู ี่ 5 แบบทดสอบปรนัยชนิดถกู ผิด - ใบความรูท่ี 6 แบบดสอบปรนยั ชนดิ จับคู Week 6 - ใบความรูท ี่ 7 แบบทดสอบปรนัยชนดิ เติมคาํ และตอบสัน้ Week 7 - ใบความรูท่ี 8 แบบทดสอบปรนัยชนดิ เลอื กตอบ Week 8 - ใบความรูที่ 9 การตรวจสอบคณุ ภาพของแบบทดสอบ

สารบญั ค เร่ือง หนา Week 9 35 39 - ใบความรทู ่ี 10 การวิเคราะหตวั ชี้วัดสูก ารออกแบบหนวยการเรยี นรู 43 Week 10 47 51 - ใบความรูท่ี 11 การออกแบบหนวยการเรียนรูอ งิ มาตรฐานโดยใชกระบวนการยอ นกลบั 55 Week 11 60 65 - ใบความรทู ่ี 12 การประเมนิ จากการส่อื สารระหวา งบุคคล Week 12 - ใบความรทู ่ี 13 การประเมินการปฏบิ ตั ิ - ใบความรูที่ 14 การประเมนิ ตามสภาพจริงในช้ันเรียน Week 13 - ใบความรทู ่ี 15 การใชร ูบริกสในการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู - ใบความรูท่ี 16 การประเมนิ โดยใชแฟมสะสมผลงาน สะทอ นความรูสึกสงทา ยการเรียน





ÍÒ¨Òü ʌ٠͹ รองศาสตราจารย ดร.สําราญ กาํ จดั ภยั

ประวตั สว่ นตวั 0 ชือ : นางสาววิชิดา ศูนย์จันทร์ ชือเล่น : เอ้ วันเกิด : 23 มิถุนายน 2542 อายุ : 21 ป กรุ๊ปเลือด : O เชือชาติ : ไทย สัญชาติ : ไทย ศาสนา : พุ ทธ อาหารทีชอบ : ชาบู หมูกระทะ สีทีชอบ : สีเหลืง สีฟา นางสาววชิ ดิ า ศนู ย์จนั ทร์ สัตว์ทีชอบ : สุนัข ร หั ส 6 1 1 0 1 2 0 8 1 2 7 งานอดิเรก : อ่านนิยาย ดูซีรีย์ ร้องเพลง 238/1 บ้านไร่ ตําบลไร่ อาชีพทีใฝฝน : รับราชการครู อําเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร รหัสไปรษณีย์ 47130 คติประจําใจ : ไม่กล้าท้อ ถ้าพ่ อและแม่ยังลําบาก ระดับการศึกษา : สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ ชันปที 3 คณะครุศาสตร์ ... .................................มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 061-6056144 ประวัติการศึกษา ประถมศึกษา : โรงเรียนเมธาศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น : โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา มัธยมศึกษาตอนปลาย : โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา ระดับปริญาตรี : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร Wichida soonjan AE_wichida Wichida soonjan [email protected]

1 WEEK 1 15 กรกฏาคม 2563 วันนเ้ี ปน สัปดาหแรกของการเขา เรยี นในรายวชิ าการวดั และประเมินผล อาจารยพูดคยุ และทกั ทาย นกั ศกึ ษา ถามการใชชวี ิตในชวงหยุดยาวของการแพรระบาดเชื้อ Covid 19 สอนวธิ กี ารใชงานเบอ้ื งตนของ โปรแกรม Google classroom และชี้แจงรายละเอยี ดตา ง ๆ เกี่ยวกบั การเรียนการสอนในรายวิชาการวัดและ ประเมินผล ซึ่งผูเ ขยี นของสรปุ เปนเปน หัวขอตาง ๆ ดงั นี้ 1. อาจารยช ้แี จงขอตกลงในการเขา เรียน 2. อาจารยอ ธิบายรายละเอยี ดแผนบริหารการสอนในแตละสปั ดาห (มคอ.3) 3. อาจารยสอนวิธีการเขาเรียน Google classroom และสรางกลุม Line 4. อาจารยอธิบายเกี่ยวกับการเขยี นใบสัญญาการเขา เรียน 5. อาจารยอ ธบิ ายรายละเอียดภาระงานตา ง ๆ ท่จี ะไดทาํ ในรายวชิ าตลอดภาคเรียนที่ 1

2 WEEK 2 22 กรกฏาคม 2563 ใบความรทู ี่ 1 แนวคดิ เกย่ี วกบั การเรียนรู ขอบขายเนื้อหา 1. ความหมายของการเรยี นรู 2. พฤตกิ รรมการเรียนรดู านพทุ ธพิ ิสัย 3. พฤติกรรมการเรยี นรูด า นจติ พิสัย 4. พฤติกรรมการเรียนรูดา นทักษะพิสยั

รบั รแู้ ละเลียนแบบ (Imitation) เป็นพฤติกรรมการลอกเลยี นแบบ เป็นพฤติกรรมท่เี กี่ย และแสดงออกมาใหเ้ หน็ ในลกั ษณะแบบเดิมซ้า ๆ เคลื่อนไหวและการ กิจกรรมโดยการใช ลงมอื ปฏบิ ตั แิ ละทาตามได้ (Manipulation) เป็นการควบคุมพฤตกิ รรม ของร่างกาย การเคลือ่ นไหว เพ่ือพฒั นาทกั ษะ โดยมีคาสงั่ ในการควบคุมพฤตกิ รรน้ัน ๆ ลดความผิดพลาดจนสามารถทาไดถ้ ูกตอ้ ง (Precision) เป็นทักษะ การปฏบิ ตั ิ โดยปราศจากคาสงั่ หรอื คาแนะนา ลดความผิดพลาดจนสามารถทาไดถ้ กู ตอ้ ง (Precision) เป็นทักษะ พฤติกรรมการ การปฏบิ ตั ิ โดยปราศจากคาสงั่ หรอื คาแนะนา ดา้ นทกั ษะพ ปฏิบตั อิ ย่างเป็นธรรมชาติ (Naturalization) เป็นทักษะความสามารถ ระดบั สูงทแ่ี สดงออกมาไดโ้ ดยอตั โนมตั ิ เป็นพฤตกิ รรมทางดา้ นจิตใจ พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ แนวคดิ เก ความเช่อื เจตคติและค่านิยม ดา้ นจิตพสิ ยั เรยี ที่แสดงออกมาใหเ้ หน็ ไดใ้ นรูป ของความรสู้ กึ เป็ นพ เกี่ยว ข้นั รบั รู้ (Receiving) เป็นข้นั รบั รสู้ งิ่ ตา่ ง ๆ ที่มากระทบประสาท เขา้ ใ สมั ผัสจนเกดิ ความสนใจในส่ิงน้ัน ขน้ั ตอบสนอง (Responding) เป็นพฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกมาให้ 3 เราสามารถสงั เกตไดจ้ ากกริยา อาการ และการกระทาได้ ข้นั เห็นคณุ คา่ (Valuing) เป็นข้นั ท่ีเกิดความรสู้ ึกเหน็ คณุ คา่ ของ สง่ิ น้ัน โดยยดึ ตามหลกั ของกฎเกณฑข์ องสงั คมมาใชใ้ นการตดั สิน ขน้ั จดั ระบบค่านิยม (Organization) เป็นการจดั ระบบคา่ นิยม โดยยดึ หลกั ความสาคญั และสมั พนั ธ์เช่ือมโยงของคา่ นิยมท่ี เกี่ยวขอ้ งจนกลายเป็นแนวทางของการปฏิบตั ริ ว่ มกนั ขน้ั สรา้ งลกั ษณะนิสยั จากค่านิยม (Characterization) เป็นการ พฒั นาบุคลกิ ภาพและลกั ษณะนิสยั ใหส้ อดคลอ้ งกบั ค่านิยมและ ความคาดหวงั ทางสงั คมจนเป็นท่ียอมรบั ของผอู้ น่ื

ยวกบั การ การเรยี นรู้ การเปลี่ยนแปลพฤติกรรมท่ี รปฏบิ ตั ิ คอ่ นขา้ งถาวรอนั เน่ืองจากการ ชอ้ วยั วะต่าง ๆ พฤติกรรม ไดร้ บั ประสบการณ์ ความหมาย การ การกระทาต่าง ๆ ที่เกิดข้ นึ เม่อื เปลยี่ นแปลง มนุษยไ์ ดเ้ ผชิญกบั ส่ิงเรา้ ท่ีมา รเรยี นรู้ กระทาทัง้ ทเ่ี ป็นพฤตกิ รรม พิสยั ลง ภายนอกและพฤติกรรมภายใน การเรียนรู้ ของผเู้ รยี น การทาใหม้ ลี กั ษณะท่ตี ่างไปจาก เดมิ ก่ียวกบั การ ยนรู้ การเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมของ ผเู้ รยี นที่คงทนถาวรทัง้ ที่เป็น พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ พฤตกิ รรมที่แสดงออกใหเ้ ห็น ดา้ นพุทธพิ ิสยั อย่างชดั เจนและพฤติกรรมท่ี แฝงอยู่ในตวั เน่ืองจากการไดร้ บั พฤติกรรมดา้ นสมองที่ ประสบการณ์ วกบั สตปิ ัญญา ความจา ความ ใจและการคิดในรปู แบบตา่ ง ๆ ความรู้ (Knowledge) เป็นความสามารถในเก็บรกั ษาความจา และการระลึกถงึ เร่ืองราวต่าง ๆ ออกมาไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง 3 ความเขา้ ใจ (Comprehension) เป็นความสามารถในการจบั ใจความของสง่ิ ตา่ ง ๆ ออกมาในรปู ของการแปลความ ตีความ และขยายความ ของเร่ืองราวน้ัน ๆ การนาไปใช้ (Analysis) เป็นการแยกแยะองคป์ ระกอบและ หลกั การของเรอื่ งราวใหก้ ระจายออกเป็นส่วนย่อย ๆ ไดอ้ ย่าง ชดั เจน การสงั เคราะห์ (Synthesis) เป็นความสามารถของบุคคลในการ ดดั แปลง ผสมผสานสว่ ยยอ่ ยเขา้ เป็นเรือ่ งราวเดียวกนั แลว้ เกดิ สงิ่ ใหมข่ ้ นึ มา การประเมนิ ค่า (Evaluation) เป็นการใชด้ ุลพินิจ ตดั สินคณุ ค่า ของสง่ิ ใดสิ่งหนึ่ง โดยการพจิ ารณาอย่างรอบคอบ โดยพจิ ารณา จากมาตราฐานทก่ี าหนดไว้

สรปุ องคความรู 4 จากการศกึ ษา ใบความรูท่ี 1 แนวคดิ เก่ยี วกบั การเรียนรู ในหัวขอทัง้ หมด 4 หวั ขอ ไดแ ก ความหมาย ของการเรียนรู พฤตกิ รรมการเรยี นรูดานพุทธิพิสัย พฤติกรรมการเรยี นรูดา นจิตพสิ ัย พฤติกรรมการเรียนรู ดานทักษะพสิ ัย จากท่ีกลา วมาทงั้ หมดผเู ขยี นขอสรุปเปน หวั ขอ ตา ง ๆ ดั้งน้ี ความหมายของการเรยี นรู การเปล่ยี นแปลง + พฤติกรรม การเรยี นรู (Leaning) หมายถึง ทักษะความสามารถดา นตาง ๆ ของผูเ รียนท่จี ะเรียนรเู ร่ืองใดเรอื่ งหน่ึง ผา นเหตุการณทีเ่ ผชิญ ประสบการณตาง ๆ ท่ีไดร บั และสามารถจดจาํ สิง่ ของ เหตุการณหรอื ประสบการณ ตา ง ๆ นัน้ ได จนเกิดกระบวนการเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมจากเดมิ ไปสูพฤติกรรมใหมท ค่ี อ นขางถาวร ทัง้ ท่ีเปน พฤติกรรมที่แสดงออกใหเห็นชัดเจนหรอื พฤตกิ รรมทแ่ี ฝงอยูใ นตวั พฤติกรรมการเรยี นรูตามแนวคดิ ของ Bloom พฤตกิ รรมการเรียนรูดานพทุ ธพิ สิ ยั พฤติกรรมการเรยี นรดู านพทุ ธิพิสัย (Cognitive) หมายถึง เปนความสามารถทางสมองหรือพลงั ทาง สมองทจี่ ะเรียนรเู กยี่ วกับเนอื้ หาสาระใหม ทาํ ใหผ เู รียนเกิดความรแู ละความเขาใจส่งิ แวดลอมตา ง ๆ ไดม าก ขนึ้ จนเกดิ การเปลย่ี นแปลงท่เี กดิ ขึน้ ในสมอง โดยแบงการเรียนรอู อกเปน 6 ระดับ ดังน้ี การผสมผสานสว ยยอยตา ง ๆ ใหเ ปน Evaluation เปน การใชความสามารถดา นความคิดใน เรอื่ งราวเดียวกัน จนเกดิ สงิ่ ใหมขึ้น Synthesis การพิจราณา และตัดสินความถกู ตอง Analysis การประยุกตใ ชค วามรทู ี่มีอยู Application ความสามารถในการคิด วเิ คราะห เพ่อื แกสถานการณต า ง ๆ และแยกแยะเรื่องราวตางๆ ไดอยา งชัดเจน ความสามารถในการจดจํา Comprehension แปลความ ตคี วาม ขยายความ เรือ่ งราวตา ง ๆ เชน เดือน Knowledge จากเรือ่ งราวตา ง ๆ วัน เวลา เปน ตน

สรปุ องคค วามรู (ตอ) 5 พฤตกิ รรมการเรียนรูดานจิตพิสยั พฤตกิ รรมการเรยี นรูดา นจติ พิสยั (Affective) หมายถึง เปน พฤตกิ รรมทางดานจิตใจ ซง่ึ จะเก่ยี วกบั คานยิ ม ความรสู กึ ความซาบซ้ึง ทัศนคติ ความเชอ่ื ความสนใจ และคณุ ธรรม ซง่ึ เปน รากฐานของการเกดิ บคุ ลกิ ภาพ 5 ระดับ ดงั น้ี เปนการพัฒนาลกั ษณะนิสยั ใหอ ยูใ นระดบั ที่ Characterization เปน การจัดลาํ ดบั ความสาํ คัญของคา นยิ ม และ สอดคลองกบั คานิยมและความคาดหวงั ของ ยดึ ถือเปนแนวทางปฏิบัติ สังคม Organization Valution เปนการกระทาํ ท่แี สดงออกมาในรูป เปนการยอมรบั นับถือในคุณคานนั้ ๆ จนกลาย ของความเต็มใจหรอื ไมเตม็ ใจ โดย เปน ส่ิงทีม่ อี ทิ ธพิ ลตอการแสดงพฤติกรรม สงั เกตไดจ ากกิรยิ า อาการ เปนการรบั รเู กยี่ วกบั ปรากฏการณ Responding ตาง ๆ จนทําใหเ กิดความสนใจในสง่ิ Receiving น้ัน พฤตกิ รรมการเรยี นรูด า นทักษะพิสยั พฤตกิ รรมการเรียนรดู า นทกั ษะพิสัย (Psychomotor) หมายถึง เปน พฤติกรรมตา ง ๆ ที่เก่ยี วกับการ เคล่อื นไหว และการทาํ กิจกรรมโดยใชอ วัยวะตา ง ๆ ของรา งกาย เชน การใชม อื การรองเพลง วาดภาพ เปน ตน โดยแบงทักษะการปฏิบตั ิออกเปน 5 ระดบั ดังนี้ เปนความสามารถในการเคลือ่ นไหวเองได Naturalization เปน ความสามารถในการเคล่อื นไหวอยา ง โดยอัตโนมตั ิ คลอ งแคลว และตอ เนือ่ งกนั Articulation เปนความสามารถท่บี คุ คล Precision เปน ความสามารถในการควบคุมการ เคลือ่ นไหวไดดว ยตนเอง โดยไมม คี ํา Manipulation เคลอื่ นไหวโดยทาํ ตามคําสัง่ สั่ง Imitation เปน ความสามารถในการเลยี น แบบเดิมซํา้ ๆ

6 WEEK 2 22 กรกฏาคม 2563 ใบความรทู ่ี 2 แนวคดิ เบอื้ งตนเก่ียวกับการวดั และประเมินผลการเรยี นรู ขอบขายเนื้อหา 1. แนวคิดเกย่ี วกับการวดั ผล 2. แนวคดิ เก่ียวกับการประเมนิ ผล 3. แนวทางการนําเสนอผลการประเมินการเรียนรู ไปใชประโยชน 4. บทสรุป

1. การใชผ้ ลการประเมนิ เพ่อื วางแผนการจดั การเรียนรู้ 2. การใชผ้ ลการประเมินเพอ่ื ปรงั ปรุงพฒั นา 3. การใชผ้ ลการประเมนิ เพอื่ สรุปและตดั สินการเรยี นรู้ 4. การใชผ้ ลการประเมินเพ่ือการรายงานตอ่ แนวทางการนาผลการประ ผปู้ กครองและผเู้ ก่ยี วขอ้ ง การเรียนรไู้ ปใชป้ ระโยช แนวคิดการ แนวคดิ เบ้ ือง ประเมนิ ผล การวดั และป ต้งั แตอ่ ดตี จนถึงปัจจบุ นั นักการศกึ ษามองวา่ Evaluation เป็ น วิจยั การประยุกต์ ที่ใชใ้ นกระบวนการเกบ็ รวบรวม ตรวจสอบ ตดั สนิ ใจ และตัดสินคุณคา่ ของส่งิ ทปี่ ระเมิน เพอ่ื นามาใชเ้ ป็ น แนวทางในการประเมลิ ผลการเรยี นรขู้ องผเู้ รียนใหน้ ่าเชอื่ ถอื และสอดคลอ้ งตรงตามวตั ถุประสงคก์ ารเรียนรู้ ระดบั นามบญั ญตั ิ ใชจ้ าแนกส่งิ ท่ี ระดบั เรยี งอนั ดบั ใชส้ าหรบั จัด ระดบั อนั ตรภาค สาม ตอ้ งการวดั ออกมาเป็ นพวกกอง อนั ดบั หรือจดั ตาแหน่งคุณลกั ษณะ หรอื ประเภท เช่น เพศ อาชีพ ต่าง ๆ ของสงิ่ ที่ตอ้ งการวดั เชน่ แตกแตกในรูปของขอ้ หม่เู ลอื ด มาก – นอ้ ย , สูง - ตา่ ระดบั น้ ีจะสามารถบว คณู และหารไม่ได้ เน่ือ 7

แนวคิดการ การวดั เป็ นกระบวนการทกี่ าหนดตวั เลข วดั ผล การวดั ผล สญั ลกั ษณแ์ ทนปรมิ าณ และคุณภาพของ สิง่ ท่ีตอ้ งการวดั โดยสงิ่ ท่ีตอ้ งการวดั จะเป็ น ะเมิน อะไรกไ็ ดท้ ่ีผวู้ ดั ตอ้ งการที่จะวดั ชน์ เป็ นกระบวนการทีก่ าหนดตวั เลข งตน้ เกี่ยวกบั สญั ลกั ษณแ์ ทนปริมาณ และคุณภาพ ประเมินผล ของสิ่งที่ตอ้ งการวดั โดยวดั ผลจากการ กระทาหรอื กิจกรรมอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง มารถบอกถึงความ อมลู เชิงปรมิ าณใน การวดั ผลการ เป็ นกระบวนการที่ผสู้ อนนาเครอื่ งมืออย่าง วก ลบ กนั ไดแ้ ตจ่ ะ เรยี นรู้ ใดอยา่ งหน่ึงไปใชก้ บั ผเู้ รยี นโดยมี องจากไม่มี 0 แท้ จุดมงุ่ หมายเพือ่ ใหผ้ เู้ รียนแสดงพฤติกรรม การเรยี นรอู้ อกมาจากประสบการณท์ ค่ี รู 7 จดั ใหท้ ้งั การวดั ผลทางตรงและการวดั ผล ทางออ้ ม องคป์ ระกอบ 1. สิง่ ทตี่ อ้ งการวดั ผลซึ่งเป็ นผลการ สาคญั การวดั ผล เรียนรขู้ องผเู้ รยี นทเ่ี ป็ นไปตาม เป้าหมายทกี่ าหนดไว้ การเรียนรู้ 2. วิธกี ารและเครือ่ งมือท่ีใชใ้ นการ วดั ผล เป็ นวิธกี ารวดั ผลโดยใชเ้ ครือ่ งมือ เป็ นแบบทดสอบ 3. ขอ้ มูลซงึ่ เป็ นตวั เลขหรอื สญั ลกั ษณ์ แทนปรมิ าณหรอื คุณภาพของพฤตกิ รรม การเรยี นรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการวดั ผล ระดบั อตั ราส่วน เป็ นระดบั ท่ี สามารถกาหนดตวั เลขใหก้ บั สิ่งที่ ตอ้ งการวดั ได้ เน่ืองจากมี 0 แท้ จึง สามารถ บวก ลบ คูณ หาร ได้

สรปุ องคความรู 8 จากการศกึ ษา ใบความรทู ่ี 2 แนวคิดเบ้อื งตนเก่ยี วกับการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรูในหัวขอท้งั หมด 4 หัวขอ ไดแ ก แนวคดิ เกี่ยวกบั การวดั ผล แนวคิดเก่ยี วกับการประเมนิ ผล แนวทางการนาํ ผลการประเมิน การเรียนรไู ปใชประโยชนและผลสรปุ จากทก่ี ลา วมาทง้ั หมดผเู ขียนขอสรปุ เปน หวั ขอตา ง ๆ ดง้ั น้ี แนวคิดเกย่ี วกบั การวัดผล การวดั ผล (Measurement) ไดม าจากคาํ วา การวัด + การวดั ผล มารวมกันจงึ ไดคาํ วา การวัดผล ซง่ึ หมายถึง เปนการกาํ หนดตวั เลขใหกบั วัตถุ สงิ่ ของ เหตุการณ ปรากฏการณกระบวนการหรอื พฤตกิ รรมตา ง ๆ ท่คี รูนําเครอื่ งมืออยางใดอยา งหน่ึงมาทดสอบกับนกั เรียนในชนั้ เรียน เชน อาจารยสําราญ ใชแ บบทดสอบวัด ความรอบรใู นรายวชิ าการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรกู บั นักศึกษาซึ่งของนางสาววิชิดา ได 30 คะแนน เปน ตน ซึ่งในทางการวัดผลสามารถแบงได 2 ประเภท ดงั น้ี การวดั ผลทางตรง เปน การวัดคุณลักษณะที่ตอ งการ การวัดผลทางออ ม เปนการวดั คณุ ลกั ษณะที่ วัดไดโดยตรง เรยี กอกี อยา งวา การวัดดา น ตอ งการโดยตรงไมไ ด สิง่ ที่วดั เปน นามธรรมตอ งวัด วทิ ยาศาสตร หรือการวดั ทางกายภาพ เชน การวัด โดยผานกระบวนการทางสมองหรอื พฤติกรรมโดย สวนสงู วัดนํา้หนัก และระยะทางในการวิ่ง เปนตน อาจใชเครื่องมือเปนแบบทดสอบ เชน ความรู ความถนัด ทกั ษะ ทศั นะคติ เปนตน องคประกอบสาํ คญั การวัดผลการเรียนรู 1. ส่ิงที่ตอ งการวัดผล ซ่งึ เปน ผลการเรียนรขู องผเู รยี นทีเ่ ปนไปตามเปา หมายทีก่ าํ หนดไว 2. วธิ กี ารและเคร่ืองมือทใี่ ชในการวัดผล เปน วิธกี ารวดั ผลโดยใชเ ครือ่ งมอื เปน แบบทดสอบ เกณฑก ารใหค ะแนน จากการตรวจสอบช้ินงาน 3. ขอมูลซึง่ เปน ตัวเลขหรอื สัญลักษณแทนปรมิ าณหรอื คุณภาพของพฤตกิ รรมการเรียนรทู ีไ่ ดจากการวัดผล ซงึ่ อาจเปน มาตรการวัดผลและเปรียบเทียบเปน การบวก ลบ คูณ หาร 4 ระดบั ดงั นี้ ระดับที่ 1 ระดบั นามบญั ญตั ิ (Nominal scale) เปน การจดั ขอมลู ออกมาเปนกลุม ๆ พวกกอง หรือประเภท โดยไมมีการจดั ลําดบั เชน เพศ อาชพี หมูเลือด เลขที่บาน เปน ตน ตวั เลขท่กี าํ หนดใหด ังกลาวน้จี ะนํามา บวก ลบ คูณ หาร กันไมได เพราะไมม คี วามหมายในเชงิ ปริมาณ จะหาไดเพียง ความถ่ี รอ ยละ ฐานนยิ ม ระดับท่ี 2 มาตรการวัดผลระดับเรียงอนั ดับ (Ordinal scale) ใชสําหรบั จดั อันดบั หรอื จดั ตําแหนงคุณลกั ษณะ ตา ง ๆ ตามความสําคัญของสิ่งทตี่ องการวัดได เชน มาก – นอย, สูง - ตาํ่ เปน ตน แตย งั ไมสามารถบอกขนาด ความแตกตา งของระดับน้นั ๆ ได ซ่ึงระดับเหลา นจ้ี ะไมสามารถนาํ มา บวก ลบ คูณ หาร กันได เนือ่ งจากชวงหาง ของตัวเลขทีน่ ํามาเรยี งลําดับไมเทากนั

สรุปองคความรู (ตอ ) 9 ระดบั ท่ี 3 มาตรการวัดผลระดับอนั ตรภาค (Interval scale) เปนมาตรการวัดทสี่ ามารถบอกไดทงั้ ทศิ ทางและ ขนาดของความแตกตางของขอ มลู มาตรวดั นีไ้ มม ีศูนยท ี่แทจริง คา ทไี่ ดจากมาตรวดั น้สี ามารถนาํ มาบวก ลบ คณู หาร กนั ได จงึ บอกไดวาสิง่ น้นั ๆ มปี รมิ าณมากกวาหรอื นอยกวา กันเทาไร แตไ มส ามารถบอกไดวามากหรือนอย กวาก่ีเทา เชน การสอบได 50 คะแนน ไมไ ดห มายความวา มคี วามรเู ปน 2 เทาของผทู ี่สอบได 25 คะแนน เปนตน ระดบั ท่ี 4 มาตรการวัดผลระดับอัตราสว น (Ratio scale) ระดับนจี้ ะสามารถกําหนดตวั เลขใหก บั ส่ิงท่ีตองการวัด ได เชน นํา้หนัก ความสูง อายุ เปนตน โดยขอ มลู ทไี่ ดสามารถนาํ มา บวก ลบ คณู หาร ได เนอื่ งจากมี 0 แท แนวคิดเก่ียวกับการประเมนิ ผลการเรยี นรู คาํ วา \"Evaluation\" นักการศึกษาหลายทานไดใหความหมายท่แี ตกตางกันไปตามกาลเวลาของแตละยุค แตล ะสมยั ในทน่ี ีจ้ ากการอา นศึกษาผเู ขียนพอสรปุ ไดวา Evaluation เปน วจิ ยั การประยกุ ต ที่ใชใ นกระบวนการเกบ็ รวบรวมขอ มูล ตรวจสอบ ตัดสินใจ และตัดสินคณุ คาของส่งิ ทป่ี ระเมิน เพอ่ื นํามาใชเปน แนวทางในการประเมิลผล การเรียนรูของผูเรียนใหน าเชอ่ื ถือและสอดคลอ งตรงตามวัตถปุ ระสงคการเรยี นรู เชน ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน การประเมินตนเอง คําวา \"Assessment\" จะมีความหมายใกลเคยี งกบั Evaluation ซึง่ จากการอา นศกึ ษาผูเขียนพอสรุปไดวา Assessment เปน กระบวนการประเมนิ เชิงเปรียบเทยี บขอ มูลและปรมิ าณเชิงตัวเลข โดยใชเกณฑเ ชิงสัมพนั ธ เชน เทียบกบั ผลการประเมินคร้ังกอน เทยี บกับเพ่อื นหรอื กลมุ ใกลเคียงกัน เปนตน แนวทางการนาํ ผลการประเมินการเรียนรไู ปใชป ระโยชน จากการอา นศกึ ษาแนวทางการนําผลการประเมินการเรยี นรูไปใชป ระโยชนก จ็ ะมหี ลายทาง เชน การใชผล การประเมินเพือ่ วางแผนการจัดการเรียนรู เพอื่ ปรบั ปรุงพัฒนา เพอ่ื สรปุ และตัดสนิ ผลการเรยี นรู และเพือ่ การ รายงานตอ ผูปกครอง จากท้งั หมดผเู ขียนพอสรุปไดวา การนาํ ผลการประเมนิ การเรยี นรไู ปใชใ หเ กิดประโยชน ผูสอนจะตองตรวจสอบความรูพ ืน้ ฐานของนกั เรยี นกอ น เชน การสรางแบบทดสอบกอ นเรยี นใหนักเรยี นทําเพือ่ ท่ี จะนาํ ผลการสอนทีไ่ ดไ ปใชในการปรบั ปรงุ และพฒั นาแผนการจัดการเรยี นรูใ หส อดคลองกบั ความรูท่ีนักเรยี นมีอยู โดยการสงเสริมสนับสนนุ การเรียนรขู องผเู รยี นใหพัฒนาดีย่ิงขน้ึ จากนน้ั ก็นาํ ขอ มลู ผลการประเมินในชว งการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนมาประมวลผลเพือ่ ตดั สินผลการเรียนรโู ดยใหเ ปนเกรด และรายงานผลการเรยี นรูตอผู ปกครอง ฝายวิชาการ และผบู รหิ ารการศกึ ษา เพอ่ื นําไปสงเสรมิ และสนบั สนุนใหสถานศึกษามคี ุณภาพมากขน้ึ

10 WEEK 3 29 กรกฏาคม 2563 ใบความรทู ี่ 3 ความสาํ คญั ประเภท หลักการ และจุดมงุ หมาย ของการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู ขอบขา ยเนือ้ หา 1. ความสําคัญของการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู 2. ประเภทของการวัดและประเมินผลการเรียนรู 3. หลักการของการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู 4. จดุ มงุ หมายของการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู

1. เป็ นสว่ นหน่ึงของระบบการศึกษา มจี ดุ มุ่งหมายเพ่อื ตรวจสอบผลการปฏบิ ตั ิท้งั ในดา้ นผเู้ รยี น และผสู้ อน 2.เป็ นสว่ นหนึ่งของกระบวนการเรยี นการสอน เพื่อตรวจสอบผลการเรียนและใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั 3. เป็ นเคร่อื งมอื ประกนั คุณภาพการศกึ ษา ใชต้ ิดตาม กากบั และสนับสนุนใหผ้ เู้ รียนเกดิ การ เรียนรู้ 4. ทาหน้าทต่ี รวจสอบผลการเรียนรขู้ องผเู้ รียนกอ่ นเรยี นและหลงั เรียน ควา 5. ทาหนา้ ที่ใหข้ อ้ มลู เพ่ือการพฒั นา เกน็ รวบรวมขอ้ มลู เพื่อการแกไ้ ขและจดั กิจกรรมเสริม วดั ความรใู้ หผ้ เู้ รยี น จดุ ม่งุ หมาย บทบาท หน้าทขี่ องการวดั และ ประเมนิ ผล หลกั การการวดั และ ความสาคญั ประเมินผลการเรียนรู้ หลกั การ และ ของการวัดแล 1. สถานศึกษาเป็ นผรู้ บั ผิดชอบในการวดั และประเมนิ ผลผเู้ รยี น ประเภทการ 2. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรเู้ พอื่ พฒั นาผเู้ รยี นและตดั สนิ ผล ประเมินผลกา การเรยี น 3. ตอ้ งสอดคลอ้ งและครอบคลุมกบั มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ช้ วี ดั 1 4. ตอ้ งดาเนินการดว้ ยวธิ กี ารท่หี ลากหลายเพอื่ ใหส้ ามารถวดั ผเู้ รียน ไดอ้ ยา่ งรอบดา้ น 5. พิจารณานักเรียนจากพฒั นาการและความประพฤติ 6. เปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นไดม้ ีส่วนร่วมในการประเมิน 7. มกี ารเทยี บโอนผลการเรียน 8. สถานศกึ ษาเป็ นผอู้ อกหลกั ฐานการประเมนิ ผลการเรยี นรแู้ ละ รายงานผลการเรียน

ามสาคญั ของการ ผเู้ รียน เมือ่ ผสู้ อนมีการวดั และประเมินผล ดและประเมนิ ผล การเรียนรกู้ ่อนเรียน ระหวา่ งจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนและหลงั การเรยี นรู้ จบหน่วยการเรยี นรนู้ ้ัน ๆ ในเรื่องใด เร่ืองหน่ึงแลว้ แจง้ ใหผ้ เู้ รียนทราบ ก็ ญ ประเภท จะทาใหผ้ เู้ รียนนาจุดทคี่ วรปรบั ปรงุ ะจุดมุ่งหมาย ไปพฒั นาตอ่ ไป ละประเมินผล ผสู้ อน เม่ือผสู้ อนมีการวดั และประเมนิ ผลการ รวดั และ เรยี นรูใ้ นทุกครง้ั ท่ดี าเนินกิจกรรมการ ารเรียนรู้ เรยี น กท็ าใหผ้ สู้ อนทราบว่าในแตล่ ะ แผนการจดั การเรยี นรู้ ผเู้ รยี นมีพฒั นาการ 11 ดา้ นทกั ษะต่าง ๆ มากน้อยเพยี งใด เพอ่ื เป็ นประโยชน์ตอ่ การใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั ยอ้ นแก่ผเู้ รียน ข้นั ตอนการจดั การเรยี นการสอน มีวิธีการประเมินผล ดงั น้ ี 1. เพอื่ จดั วางตาแหน่ง เป็ นการประเมนิ ในภาพรวม 2. เพื่อวนิ ิจฉัย ประเมนิ ก่อนเรียนเพอื่ หาแนวทางแกไ้ ข 3. เพ่อื การพฒั นา บนั ทกึ ขอ้ มลู และปรบั ปรงุ เพ่อื พฒั นา 4. เพอ่ื สรุปผลการเรียนรู้ สรุปรวบยอดขอ้ มลู หลงั เรียนจบ บทเรยี น วธิ กี ารแปลความหมายผลการเรยี นรู้ ดงั น้ ี 1. การวดั และประเมินแบบองิ ตน เปรียบเทียบควา สามารถของตนเอง 2. การวดั และประเมินแบบอิงกลุ่ม เทยี บกนั เองภายใน กล่มุ 3. การวนั และประเมินแบบอิงเกณฑ์ เปรยี บเทยี บกบั เกณฑท์ ี่กาหนดข้นั

สรปุ องคความรู 12 จากการศกึ ษา ใบความรทู ี่ 3 ความสาํ คญั ประเภท หลักการ และจุดมงุ หมายของการวัดและประเมนิ ผลการ เรียนรู ในหวั ขอ ทัง้ หมด 4 หวั ขอ ไดแก ความสาํ คญั ของการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู ประเภทของการวัดและ ประเมินผลการเรยี นรู หลักการของการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู จุดมุง หมายของการวัดและประเมนิ ผลการ เรยี นรู จากที่กลาวมาทงั้ หมดผูเขียนขอสรปุ เปนหัวขอ ตา ง ๆ ดง้ั นี้ ความสาํ คญั ของการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู 1. ความสําคัญตอ ผเู รยี น กอนเรยี น ระหวา งเรียน สรปุ ผลการเรยี นรู เมอ่ื มีการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนผสู อนจะตอ งทดสอบความรพู น้ื ฐานของผเู รยี นกอนเพื่อใชเ ปนหลกั ฐาน ในการนําไปปรับปรงุ และพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูใหเ ขากบั ความรแู ละความเขาใจของผเู รยี น และเมื่อมีการจัด กจิ กรรมการเรยี นการสอนผสู อนจะตองเก็บรวบรวมขอมูลในระหวา งการเรียนการสอนทเ่ี กี่ยวของกบั พฤติกรรมการ เรียนรขู องผูเรียน และใหข อมูลยอนกลบั ก็จะทําใหผ ูเ รียนทราบถึงจดุ บกพรอ งท่มี แี ละนําไปปรับปรงุ และพฒั นาใหดี ย่งิ ข้ึน และเมอ่ื ส้ินสุดการเรียนการสอนในหนว ยนน้ั ๆ ผูสอนจะตอ งประเมนิ หลักฐานการเรยี นรูเพือ่ เปนคะแนนนาํ ไป ประกอบการตดั สนิ เกรดในชว งตลอด 1 ภาคเรยี นหรอื 1 ปก ารศกึ ษา เพือ่ ท่จี ะใหผ เู รียนนําผลการเรยี นรทู ีท่ ราบใน รายวชิ าน้นั ไปพัฒนาตอไป 2. ความสาํ คญั ตอ ผสู อน เมื่อมกี ารจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผสู อนจะตองมกี ารทดสอบความรู ความถนัดและความสามารถของผู เรยี นในภาพรวมกอ น เพ่ือนําหลกั ฐานที่ไดไปใชประกอบพจิ ารณาออกแบบแผนการจัดการเรียนรูใหส อดคลอ งกบั พนื้ ฐานของผูเรยี น และในระหวางการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนกจ็ ะทาํ ใหผูสอนทราบวา แผนการจัดการเรียนรใู น หนวยน้ัน ๆ ผูเรยี นแตล ะคนมจี ดุ บกพรอ งตรงไหน สําหรับใชเปน ขอ มูลยอ นกลับใหผ ูเรยี นนาํ ไปปรับปรงุ แกไ ขและ พัฒนาใหด ีขึน้ และเมอ่ื สิ้นสดุ การสอนในหนวยน้นั ๆ หรือในชวงตลอด 1 ภาคเรยี นหรือ 1 ปก ารศกึ ษา เมอื่ ตดั สินผล การเรียนก็จะทําใหผ สู อนนําขอมูลท่ไี ดไ ปปรบั ปรุง พัฒนาการจัดกิจกรรมเรยี นการสอนของตนใหดยี ่งิ ขึ้นเพื่อนําไปใช ในรุนตอ ๆ ไป ประเภทของการวัดและประเมินผลการเรยี นรู จากการอานศกึ ษาประเภทของการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรูก็จะมหี ลายระดบั ชง่ึ ข้ึนอยกู บั ประเภทและ เกณฑท ีใ่ ชแ บง อาจจะแบง ตามจดุ ประสงคข องการประเมนิ หรือตามการอา งองิ ดงั นี้

สรปุ องคความรู (ตอ ) 13 1. จาํ แนกตามขัน้ ตอนการจัดการเรียนการสอน 1. เพื่อจดั วางตาํ แหนง 2. เพ่ือวนิ ิจฉัย 3. เพื่อการพัฒนา 4. เพ่อื สรปุ ผลการเรียนรู จากการอา นศึกษาทั้ง 4 หัวขอ ผูเขียนสามารถสรปุ ไดวา การวดั และประเมินผลเพอ่ื จัดวางตําแหนง และเพอื่ วนิ ิจฉัยจะมีการทดสอบความรพู ้ืนฐานทีค่ ลายกนั เพียงแตก ารวัดและประเมนิ ผลเพ่ือจดั วางตําแหนง จะเปน การประเมนิ ผเู รยี นในภาพรวม ซง่ึ การวัดและประเมนิ ผลเพ่อื วินจิ ฉัยจะเปนการประเมินรายบุคคล สว นการวัดและประเมินผลเพ่ือ พัฒนาและพื่อสรปุ ผลการเรยี นรจู ะตอ งเกบ็ ขอมลู อยา งตอเนือ่ งในระหวางจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนทั้งทีเ่ ปน ทางการ และไมเ ปนทางการซึง่ ในการเกบ็ ขอ มลู กจ็ ะทาํ ใหผ ูส อนทราบพฒั นาการของผูเรยี นตลอด 1 หนว ยการเรียนรู 2. จาํ แนกตามวธิ ีการแปลความหมายผลการเรยี นรู 1. การวัดและประเมนิ ผลแบบองิ ตน เปน การประเมินเพ่อื นําผลจากการเรยี นรูมาเปรยี บเทียบกับความ สามารถของตนเอง เชน นายขาวทําแบบทดสอบหลังเรยี นได 10 คะแนนเม่อื เทียบกับกอ นเรยี นได 3 คะแนน เปน ตน 2. การวัดและประเมินผลแบบองิ กลุม เปน การประเมินเพอ่ื พจิ ารณาวา ผไู ดรับการประเมินแตละคนมคี วาม สามารถมากนอ ยเพียงใด เมือ่ เทียบกบั เพ่ือนในชัน้ เรยี น 3. การวัดและประเมินผลแบบองิ เกณฑ เปนการนาํ ผลการสอบที่ไดไปเทยี บกับเกณฑท ่กี ําหนดไวซง่ึ เกณฑท ่ี ใชใ นการประเมนิ ผลการเรยี นรูไดแ ก ผลการเรยี นรทู ค่ี าดหวังและมาตรฐานการเรยี นรู หลกั การของการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู จากการอา นทําความเขาใจหลักการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู ผเู ขยี นพอสรุปไดว า เปน กระบวนการเกบ็ รวบรวมตรวจสอบ ตีความผลการเรียนรู และพฒั นาการดา นทกั ษะ กระบวนการตาง ๆ ของนักเรยี นเพื่อใชเปน แนวทาง ในการพัฒนาผูเรยี นและตัดสนิ ผลการเรยี นโดยสถานศกึ ษาจะเปน ผรู ับผิดชอบในการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรูข องผู เรียนและเปด ใหผูปกครองและผูเรยี นมีสว นรวมดวย และสถานศกึ ษาจะตองเปน ผจู ัดทาํ เอกสารหลักฐานการศึกษา เพ่อื รองรับผลการเรยี นของผูเรียน จุดมุงหมายของการวดั และประเมินผลการเรียนรู เปน องคป ระกอบหนงึ่ ของระบบการศกึ ษาซึง่ เปนสว นหนึ่งของกระบวนการเรียนการสอนและเปนเครือ่ งมือ ประกนั คณุ ภาพการศึกษามีบทบาทหนา ที่ในการตรวจสอบผลการเรยี นรูกอนการเรียนการสอน ระหวา งการเรียนการ สอนและหลงั การเรียนการสอน เพ่อื สํารวจ ตรวจสอบ เกบ็ รวบรวมขอ มลู ของนักเรียนไวเพอ่ื ปรับปรุงและพัฒนา จุดบกพรอ งของนักเรยี นในหนว ยการเรยี นรนู นั้ ๆ ใหบรรลตุ ามเปาหมายท่ีครผู สู อนกาํ หนดไว และมีจุดมงุ หมายเพอ่ื นํา ผลท่ไี ดจากการวดั และประเมินผลและจดั กิจกรรมการเรียนการสอนไปตดั สนิ ผลการเรยี นในแตล ะรายวชิ า

14 WEEK 4 05 สงิ หาคม 2563 ใบความรูที่ 4 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรโู ดยใชแ บบทดสอบ แบบทดสอบความเรยี ง หรอื แบบทดสอบอัตนัย ขอบขายเน้ือหา 1. ประเภทของแบบทดสอบ 2. ความหมายของแบบทดสอบความเรียง 3. หลกั การหรอื แนวทางในการสรางแบบทดสอบ ความเรียง 4. แนวทางการตรวจใหคะแนนขอสอบความเรียง

ความเป็ นปรนัยในการใหค้ ะแนนคาตอบ ของผเู้ รียนซึ่งสามารถแกไ้ ขไดโ้ ดยการ สรา้ งแนวทางการใหค้ ะแนนทช่ี ดั เจน สามารถวดั พฤติกรรมการเรยี นรขู้ น้ั สงู ของ จุดอ่อน ผเู้ รยี นและสามารถวดั ในส่ิงทต่ี อ้ งการวดั ได้ จดุ แขง็ แนวทางในการตรวจให้ แบบทดสอบ คะแนน หรอื แบบทด 1. สรา้ งเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนโดยแยกยอ่ ยตามประเดน็ สาคญั ๆ พรอ้ มระบนุ ้าหนักคะแนนในแตล่ ะประเดน็ อย่างละเอียดชดั เจน 2. ควรระมดั ระวงั ในเร่ืองความลาเอยี งหรืออคติ ของตวั ผูส้ อนเอง 3. ถา้ จาเป็ นตอ้ งตรวจขอ้ สอบช่วยกนั หลาย ๆ คน ตอ้ งแบง่ ใหต้ รวจคน ละ 1 – 2 ขอ้ เนื่องจากมาตราฐานของแต่ละคนไม่เท่ากนั 4. ควรเก็บรวบรวมบนั ทกึ ขอ้ ผิดพลาดต่าง ๆ เพื่อรกั ษาความคงเสน้ คงวาในการ ตรวจใหค้ ะแนน 5. ไมค่ วรนาเอาประเดน็ ความถูกตอ้ งเก่ยี วกบั ไวยากรณ์ มาเป็ นเกณฑใ์ นการ ตรวจนอกเหนือจากผูส้ อนไดก้ าหนดไวใ้ นจดุ ประสงคก์ อ่ นแลว้ 1

ความหมาย เป็ นชดุ ของขอ้ คาถามทผี่ ูส้ อนกาหนดข้ นึ เพื่อให้ ผเู้ รยี นเขียนเรยี บเรยี งคาตอบไดอ้ ย่างอิสระโดย ใชค้ วามรแู้ ละความสามารถในการจดั ระบบ แนวคิดและทกั ษะการเขียนแลว้ เขียนคาตอบลง ในกระดาษคาถามทคี่ รผู ูส้ อนกาหนดให้ บความเรยี ง 1. เลอื กและกาหนดผลการเรยี นรทู้ ่ีเกย่ี วขอ้ งกบั ดสอบอตั นยั การใชส้ ตปิ ัญญาข้นั สูงทีไ่ ม่สามรถวดั ไดโ้ ดยใช้ 2แ.บกบาทหดนสดอจบาปนรวนนัยขอ้ คาถามในแตล่ ะผลการ แนวทางในการสรา้ ง เรียนรทู้ ีเ่ ลือกไว้ โดยบงั คบั ใหผ้ เู้ รียนตอบทุกขอ้ แบบทดสอบ 3. เขียนคาถามโดยใชถ้ อ้ ยคาชดั เจน และใหส้ อดคลอ้ ง 15 กบั ผลการเรียนรทู้ ตี่ อ้ งการวดั 4. เขียนคาถามโดยใชถ้ อ้ ยคาชดั เจน และใหส้ อดคลอ้ ง กบั ผลการเรยี นรทู้ ่ตี อ้ งการวดั 5. ระบุน้าหนักคะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ความยาว และชว่ งระยะเวลาในการทาขอ้ สอบ 6. ตรวจสอบคุณภาพของขอ้ สอบ เพื่อประเมนิ ความ สอดคลอ้ งกบั ผลการเรียนรขู้ องขอ้ สอบ กอ่ นนาไปใช้ 7. หลงั การนาขอ้ สอบไปใชค้ วรทบทวนคาตอบของ ผเู้ รยี นแต่ละขอ้ เพ่อื นาขอ้ มูลท่ไี ดไ้ ปพฒั นาตอ่ ไป

สรุปองคค วามรู 16 จากการศึกษา ใบความรูที่ 4 การวัดและประเมินผลการเรยี นรโู ดยใชแบบทดสอบ : แบบทดสอบความเรยี ง หรอื แบบทดสอบอตั นัย ในหัวขอ ทั้งหมด 4 หวั ขอ ไดแ ก ประเภทของแบบทดสอบ ความหมายของแบบทดสอบความ เรียง หลักการหรอื แนวทางในการสรา งแบบทดสอบความเรยี ง แนวทางการตรวจใหคะแนนขอสอบความเรียง จากที่ กลา วมาทง้ั หมดผเู ขียนขอสรปุ เปน หวั ขอตาง ๆ ดั้งนี้ ประเภทของแบบทดสอบ จาํ แนกตามลกั ษณะการตอบ จําแนกตามจุดมงุ หมายในการสราง จาํ แนกตามการอา งองิ ในการวดั และประเมนิ ผลในระหวา งการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน กม็ ีวิธีการและเครอื่ งมือท่หี ลากหลาย ทั้งที่เปน การปฏิบตั แิ ละการทาํ แบบทดสอบ ซึง่ แบบทดสอบก็จะข้ึนอยกู บั ประเภทและการแบง ยอยออกมา ดังน้ี 1. จาํ แนกตามลักษณะการตอบ กจ็ ะประกอบไปดา ยแบบทดสอบ ภาคปฏิบัติ เขยี นตอบ และวาจา 2. จะแนกตามจุดมงุ หมายในการสรา ง จะประกอบไปดว ย แบบทดสอบอตั นยั และปรนยั 3. จําแนกตามการอางองิ กจ็ ะประกอบไปดวย แบบทดสอบอิงเกณฑ อิงกลมุ และองิ ขอบขา ย เปนตน ความหมายของแบบทดสอบความเรียง แบบทดสอบความเรยี ง (Essay test) เปน ชุดขอสอบอตั นยั ทมี่ เี ฉพาะคําถามที่เปด โอกาสใหผสู อบได แสดงออกทางความรู ความถนดั และความสามารถ โดยใชภาษาของตนเองเขียนตอบลงในกระดาษคําถามไดอยา ง อสิ ระ ผา นการคิดวิเคราะห สงั เคราะหความรูและจัดระบบความคดิ เรียบเรยี งเปน ประโยคคาํ ตอบใหตรงกับคําถาม ขอ นั้น ๆ ซ่งึ แบบทดสอบความเรียงก็จะมที ัง้ ขอ ดีและขอเสีย ดงั นี้ - ขอดี สามารถวดั กระบวนการคิด พฤติกรรมและความสามารถในการเขยี นไดด ี - ขอ เสีย ความเปนปรนัยการใหคะแนนไมแนน อน ซง่ึ แกไดโดยการสรา งแนวทางการใหคะแนนท่ชี ดั เจน หลักการหรอื แนวทางในการสรา งแบบทดสอบความเรยี ง จากการอา นศึกษาในการที่ผูสอนจะสรา งแบบทดสอบความเรียงผูสอนจะตอ งกําหนดผลการเรยี นรทู ี่ เกีย่ วของกับการใชค วามคิดขั้นสูงของผูเรียนกอ นแลวคอยกาํ หนดวาในหนวยการเรียนรูน้ัน ๆ ผสู อนตอ งใชค ําถาม กข่ี อ และในการเขยี นขอ คาํ ถามประโยคที่เขยี นจะตองชัดเจน เฉพาะเจาะจงอา นแลวเขาใจงาย รวมถงึ ในแตล ะขอ ผู สอนจะตอ งระบุนาํ ห้ นกั คะแนนและเวลาในการทาํ ขอสอบลงไปดวยเพอ่ื ผูเรียนจะไดจัดสรรเวลาในการทําขอสอบให เหมาะสม และระบเุ กณฑการพจิ ราณาการใหคะแนนลงไปดว ยวาจะมกี ารประเมนิ ความถกู ตอ งของคาํ ตามหลกั ไวยกรณห รอื ไม จากนนั้ กอ นนําขอ สอบไปใชจริงผสู อนกจ็ ะตองใหเ พอ่ื นรวมงานตรวจชวยเพ่อื ปองกนั ความผดิ พลาด ทอ่ี าจเกดิ ขึน้ และหลงั การนาํ ขอ สอบไปใช ผสู อนจะตอ งมาพจิ ารณาทบทวน และปรับปรุงขอคาํ ถามที่ผูเรียนตอบผดิ มากทสี่ ดุ เพือ่ เกบ็ ไวใชใ นคร้ังตอ ๆ ไป

สรปุ องคค วามรู (ตอ ) 17 แนวทางการตรวจใหค ะแนนแบบทดสอบความเรยี ง ในการสรา งแบบทดสอบความเรยี งผสู อนจะตองระมดั ระวังในเรอ่ื งของความเปน ปรนัยในการใหคะแนน ของแบบทดสอบเปน อยา งมาก ซึ่งแนวทางการแกไ ขคอื ผูส อนจะตองสรา งแนวทางการตรวจใหคะแนน แบบทดสอบความเรยี งขนึ้ มา โดยในการอธิบายแตล ะประเด็นของของเกณฑก ารใหคะแนนจะตองใชถ อยคําท่ี ชัดเจนพรอ มทง้ั ระบุระดับคะแนนในแตละประเด็นยอ ย และควรระมดั ระวงั ในเรื่องความลําเอยี งหรอื อคติของตวั ผู สอนในการตรวจใหคะแนน ถา จําเปนตอ งตรวจขอสอบชว ยกันหลาย ๆ คน ตอ งแบง ใหต รวจคนละ 1 – 2 ขอ เพอื่ ปองกนั ความคลาดเคลือ่ นเน่ืองจากมาตราฐานของแตละคนไมเทากนั และไมควรนําเอาประเด็นความถกู ตอ ง เก่ยี วกับไวยากรณมาเปน เกณฑในการตรวจนอกเหนือจากผสู อนไดก าํ หนดไวใ นจดุ ประสงคก อ นแลว

18 WEEK 5 19 สงิ หาคม 2563 ใบความรทู ่ี 5 แบบทดสอบปรนยั ชนิดถูกผิด ขอบขา ยเนื้อหา 1. ความหมายและลักษณะของแบบทดสอบปรนยั ชนดิ ถูกผดิ 2. หลักการหรอื แนวทางในการสรางแบบทดสอบ ปรนยั ชนดิ ถกู ผดิ

แบบทดส ชนิด ความหมาย เป็นชุดของขอ้ ความซ่งึ อาจเขยี นอยใู่ นรูปของประโยค บอกเลา่ ธรรมดาหรอิ ประโยคคาถามกไ็ ด้ เพอ่ื ให้ ผเู้ รียนพิจารณาขอ้ ความน้ัน ๆ ว่า ถกู หรือผิดตาม หลกั วชิ าการและสามารถแยกแยะขอ้ เทจ็ จริงออกจาก ความคิดเห็นได้ 1

สอบปรนยั ดถูกผดิ แนวทางในการสรา้ งแบบทดสอบปรนัยชนิดถกู ผิด 1. เขียนคาช้ แี จงในการทาแบบทดสอบใหช้ ัดเจนว่าจะใหผ้ เู้ รยี นตอบอยา่ งไร เช่น ถกู - ผิด ใช่ - ไม่ใช่ 2. ขอ้ ความทีเ่ ป็นสถานการณ์ของขอ้ คาถามจะถกู หรอื ผิดอย่างแทจ้ ริงเท่าน้ัน โดย ไมม่ ีขอ้ ยกเวน้ 3. ควรเขียนขอ้ ความที่เป็นสถานการณ์ของขอ้ ความดว้ ยภาษาท่เี รยี บง่ายและ ชดั เจนและขอ้ คาถามแต่ละขอ้ ควรเป็นอิสระแก่กนั 4. ในแต่ละขอ้ คาถามควรถามเพียงประเดน็ เดียวเพอ่ื ลดความสบั สนทจ่ี ะเกิดกบั ผเู้ รยี นและควรใหม้ จี านวนขอ้ ถกู ผิดใกลเ้ คียงกนั 5. ในแตล่ ะขอ้ คาถามควรใหข้ อ้ มลู สารสนเทศที่เพียงพอ เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนตดั สนิ ใจได้ ว่าขอ้ น้ันถกู หรือผิด 6. หลีกเลยี่ งการคดั ลอกขอ้ คาถามหรือขอ้ ความจากหนังสือตาราเรยี น 7. ขอ้ คาถามทวั่ ไปนิยมเขยี นในรูปประโยคบอกเล่าธรรมดาแต่ถา้ อยู่ในรูปปฏเิ สธ ใหข้ ดี เสน้ ใตค้ าปฏเิ สธน้ันใหช้ ดั เจน 8. ควรหลกี เล่ยี งการใชค้ าศพั ทท์ ี่ผเู้ รียนไม่คุน้ เคยและคาบางคาที่เป็นเครอื่ งช้ ี 19 คาตอบ

สรปุ องคความรู 20 จากการศกึ ษา ใบความรทู ี่ 5 แบบทดสอบปรนยั ชนิดถกู ผดิ ในหัวขอทัง้ หมด 2 หัวขอ ไดแก ความหมายและ ลักษณะของแบบทดสอบปรนัยชนดิ ถกู ผดิ หลักการหรือแนวทางในการสรางแบบทดสอบปรนยั ชนิดถกู ผิด จาก ทัง้ หมดผเู ขยี นสามารถสรุปไดวา ในการสรา งแบบทดสอบปรนยั ชนิดถูกผิดผูสอนจะตอ งทราบถึงความหมายและ หลักการ แนวทางการสรางแบบทดสอบปรนยั ชนดิ ถูกผิดกอ น จากท่กี ลาวมาท้ังหมดผูเขยี นขอสรปุ เปนหัวขอ ตา ง ๆ ดังน้ี ความหมายของแบบทดสอบปรนัยชนดิ ถกู ผดิ แบบทดสอบปรนยั ชนดิ ถูกผิด (True or false test) หมายถึง เปน ขอ สอบแบบเลอื กตอบรูปแบบหนึ่งทอี่ ยใู น รปู ของประโยคบอกเลา ธรรมดาหรือประโยคคาํ ถามก็ได เพื่อใหผ เู รยี นวิเคราะห แยกแยะขอ เทจ็ จริงออกจากความคดิ เห็นและตดั สินใจวาขอความท่ีกาํ หนดใหถกู หรือผดิ และสามารถเลอื กไดเพียงอยา งใดอยา งหนึ่งเทานั้น เชน ถกู - ผิด, ใช - ไมใช, จริง - ไมจรงิ เปน ตน หลกั การหรือแนวทางในการสรา งแบบทดสอบปรนยั ชนิดถูกผดิ ในการทจี่ ะสรา งแบบทดสอบชนิดถกู ผดิ ไดนั้นผสู อนจะตอ งมีความรูและเขาใจหลกั การหรือแนวทางในการ สรางแบบทดสอบปรนัยชนดิ ถูกผดิ ซึง่ ผเู ขียนสามารถสรปุ ไดวา ตามหลักการสรางแบบทดสอบชนิดถูกผิดผูสอนจะ ตอ งเขียนคําช้ีแจงใหละเอยี ดและชัดเจนวาผูเ รียนจะตอ งตอบอยางไร เชน ถูก - ผิด, ใช - ไมใ ช, จรงิ - ไมจ รงิ เปน ตน และแบบทดสอบท่ตี องการใหพ ิจารณาดวู า ถูกหรือผดิ ควรเปนแนวคดิ หรอื เร่ืองราวเดียวกนั การใชภ าษา ตอ งมคี วามเหมาะสมกับผเู รยี น โดยผูสอนตอ งใชภ าษาทเ่ี ขา ใจงา ยไมทําใหเ กิดความสบั สนหรอื เขา ใจผดิ และควรใช คาํ ถามทไ่ี มช แ้ี นะคาํ ตอบในขอ นั้นหรือในขออื่น ๆ ถา ในกรณที ่ใี ชคาํ ปฏเิ สธผูส อนจะตอ งขดี เสนใตป ระโยคปฏเิ สธนั้นไว ดว ยเพือ่ ใหผเู รยี นมองเห็นชดั เจน และคําตอบของนักเรยี นจะตอ งถกู หรือผดิ ตามหลักวิชาการไมใชถ กู หรือผดิ ตาม ความคิดเหน็ ของผูสอน และถาขอสอบมหี ลายขอผูส อนควรจดั ใหขอสอบใหอยูในหนาเดยี วกันเพ่อื งา ยตอ การทาํ และ ลดความสบั สนท่จี ะเกดิ ขึ้นกบั ตวั ผเู รยี น

21 WEEK 5 19 สิงหาคม 2563 ใบความรูท่ี 6 แบบทดสอบปรนัยชนิดจับคู ขอบขา ยเน้ือหา 1. ความหมายและลักษณะของแบบทดสอบปรนยั ชนดิ จับคู 2. หลักการหรอื แนวทางในการสรางแบบทดสอบ ปรนยั ชนดิ จบั คู

แบบทดสอ ชนิดจ ความหมาย เป็ นรปู แบบหน่ึงของแบบทดสอบปรนัยซง่ึ ลกั ษณะโดยทวั่ ไปมกั จะวางกลมุ่ ของคา วลี ตวั เลข หรอื สญั ลกั ษณ์ไวเ้ ป็ น 2 คอลมั น์ ดงั น้ ี คอลมั น์ซา้ ยจะวางคา วลี ตวั เลข คอลมั น์ขวาจะวางคา วลี ตวั เลข หรอื สญั ลกั ษณเ์ ป็ นขอ้ ๆ เรยี กวา่ หรือ สญั ลกั ษณต์ ามลาดบั ตวั อกั ษร กล่มุ คา หรอื ตวั เลข เรยี กว่า กล่มุ คาตอบ 2

อบปรนัย จบั คู่ แนวทางการสรา้ งแบบทดสอบชนิดจบั คู่ 1. คา วลี ตวั เลข หรือ สญั ลกั ษณ์ ท้งั ทีอ่ ยใู่ นขอ้ ถามและคาตอบ ควรเป็ น เร่ืองราวเน้ ือหาเดยี วกนั 2. เขียนคาช้ แี จงในการจบั คูร่ ะหว่างชดุ ขอ้ คาถามกบั ขอ้ คาตอบใหช้ ดั เจน เชน่ เป็ นเน้ ือหาเกย่ี วกบั อะไรและมีโอกาสเลือกคาตอบไดค้ ร้งั เดยี วหรอื หลาย ครง้ั 3. ควรมจี านวนขอ้ คาถามทางคอลมั น์ซา้ ยมอื อยู่ในชว่ ง 5 ถึง 8 ขอ้ หรือ มากสุดไม่เกิน 10 ขอ้ และควรเพิม่ จานวนขอ้ คาตอบใหม้ ากกว่าคาถาม อยู่ 3 ขอ้ เพ่อื ลดโอกาสการเดาถกู 4. ควรเรียงลาดบั ก่อนหลงั ของรายการขอ้ คาตอบ เช่น เรียงตามจานวน ตวั เลขนอ้ ยไปมาก หรอื อน่ื ๆ 5. รายการของขอ้ คาถามและคาตอบควรจดั ใหอ้ ย่หู นา้ เดยี วกนั เพราะจะทา ใหผ้ เู้ รยี นไม่เสยี เวลาพลกิ ไปมาจนเกิดความสบั สน 22

สรุปองคความรู 23 จากการศึกษา ใบความรูท่ี 6 แบบทดสอบปรนัยชนิดจบั คู ในหัวขอทง้ั หมด 2 หัวขอ ไดแก ความหมายและ ลักษณะของแบบทดสอบปรนัยชนดิ จับคู หลักการหรอื แนวทางในการสรา งแบบทดสอบปรนัยชนดิ จบั คู จากที่กลา ว มาท้ังหมดผูเขียนขอสรุปเปนหวั ขอตาง ๆ ดั้งนี้ ความหมายของแบบทดสอบปรนยั ชนิดจบั คู แบบทดสอบปรนยั ชนดิ จับคู (Matching test) เปนรปู แบบหนง่ึ ของแบบทดสอบปรนัยโดยนกั เรียนจะตองจบั ครู ะหวา งคําถามและคาํ ตอบที่กาํ หนดใหถูกตอง ซ่ึงลกั ษณะโดยท่ัวไปมกั จะวางกลุมของคํา วลี ตัวเลข หรอื สัญลักษณไ วเ ปน 2 คอลัมน คอื คอลัมนซา ยและคอลัมนข วา โดยคอลมั นซา ยจะวางประโยคคาํ ถาม ตัวเลข หรอื สญั ลักษณเ ปน ขอ ๆ ไวทางซา ยมือ เรยี กวา กลุมคํา สวนคอลัมนขวาจะวางกลุมคําส้ัน ๆ วลี ตัวเลข หรอื สัญลักษณ ตามลาํ ดบั ตัวอักษรหรือตวั เลขเปนขอ ๆ ไวท างขวามือ เรียกวา กลุมคาํ ตอบ ซึง่ คาํ ตอบจะมีมากกวาคําถามเพื่อลด การโอกาสการเดาถกู ของนักเรยี น หลกั การหรอื แนวทางการสรา งแบบทดสอบปรนยั ชนดิ จับคู ในการทจี่ ะสรา งแบบทดสอบปรนัยชนิดจบั คูไดนั้นผสู อนจะตอ งมคี วามรแู ละเขา ใจหลกั การหรือแนวทางใน การสรา งแบบทดสอบปรนัยชนิดจบั คู ซึ่งผูเ ขยี นสามารถสรุปไดว า ตามหลักการหรือแนวทางในการสรา งแบบ ทดสอบปรนัยชนิดจับคูไดนนั้ ผสู อนจะตองออกแบบทดสอบปรนัยชนดิ จับคใู หเ ปน เน้ือหาและเรอื่ งราวเดียวกนั ใน การออกแบบทดดสอบผสู อนจะตองแนใ จวาไมมีขอใดขอหนึง่ เปนตวั ชีแ้ นะคําตอบของขอนั้นหรือขออ่ืน ๆ ดว ย ซง่ึ ใน การออกขอสอบรายการขอ คําตอบจะตองมากกวา รายการขอ คาํ ถามอยา งนอ ย 3 ขอ เพอื่ ลดโอกาสการเดาถูกของ นักเรยี น โดยในการออกแบบทดสอบปรนัยชนดิ จบั คูขอคาํ ถามควรอยใู นชว ง 5 - 8 ขอ หรือมากสุดไมค วรเกิน 10 ขอ และเพอ่ื ลดความสับสนที่จะเกดิ ข้ึนกบั ผเู รียนในการทําแบบทดสอบผสู อนควรจัดรายการขอ คาํ ถามและรายการขอ คาํ ตอบใหอ ยใู นหนา เดยี วกนั เพราะจะทาํ ใหผเู รยี นไมเสียเวลาผลกิ กลบั ไปกลบั มาจนเกดิ ความสบั สนในการทาํ แบบ ทดสอบ ในท่ีนีผ้ เู ขียนขอยกตวั อยา งแบบทดสอบปรนยั ชนิดจบั คูท อ่ี อกแบบขึ้น ดงั นี้ แถว ก แถว ข 1.__ฃ__ มีส่ิงมีชีวติ อาศยั อยู ก. ดาวฤกษ 2.__ค__ เรียกอกี ชือ่ หน่งึ วา เตาไฟแชแ ขง็ ข. ดวงอาทติ ย 3.__ฅ__ มองเห็นตอนหัวคาํ เ่ รยี กวา ดาวประจําเมือง ฃ. โลก 4.__ข__ เปนศูนยกลางของระบบสรุ ยิ ะ ค. ดาวพธุ 5.__ก__ ดาวท่มี แี สงสวางในตัวเอง ฅ. ดาวศุกร ฆ. สะเกด็ ดาว

24 WEEK 6 26 สิงหาคม 2563 ใบความรทู ี่ 7 แบบทดสอบปรนยั ชนดิ เติมคําและชนิดตอบสั้น ขอบขายเนื้อหา 1. ความหมายและลกั ษณะของแบบทดสอบปรนยั ชนิดเติมคาํ และตอบส้ัน 2. หลักการหรือแนวทางในการสรา งแบบทดสอบ ปรนัยชนิดเติมคาํ และตอบสน้ั

แบบทดสอบ เตมิ คำแล ความหมาย แบบทดสอบชนิด แบบทดสอบชนิด เตมิ คา ตอบแบบส้นั เป็ นแบบทดสอบปรนัยชนิดหน่ึงทม่ี ่งุ ให้ เป็ นแบบทดสอบปรนัยชนิดหน่ึงทม่ี งุ่ เน้นให ผเู้ รยี นคดิ หาคาตอบดว้ ยตนเอง ซง่ึ อาจเป็ น ผเู้ รยี นตอบขอ้ สอบท่ีอย่ใู นรูปของประโยค คา วลี หรอื ประโยค แลว้ เขยี นคาตอบน้ันลง คาถามหรือคาสงั่ โดยการเขียนคาตอบข้ นึ ม ในชอ่ งว่างท่เี วน้ ไว้ เพื่อใหไ้ ดข้ อ้ ความท่ีถูกตอ้ ง เองสน้ั ๆ กระชบั ใหต้ รงตามความเป็ นจริง สมเหตุสมผล หรอื อยใู่ นขอบเขตท่กี าหนด จดุ แข็ง เหมาะสาหรบั การวดั ดา้ นเน้ ือหา จุดแขง็ สามารถทาไดง้ า่ ยและดีกว่าขอ้ สอบ ความรเู้ กีย่ วกบั ขอ้ เท็จจรงิ ตา่ ง ๆ แบบเตมิ คา จุดออ่ น ความไม่ชดั เจนของโครงรา้ งประโยค ทาใหส้ บั สนในการตอบ 2

บปรนัยชนิด ละตอบสน้ั แนวทางในการสรา้ งแบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคา 1. ควรใหค้ าแนะนาในการตอบขอ้ สอบและเขียนประโยคขอ้ ความให้ ชดั เจน 2. ไม่ควรนาขอ้ คาถามมาจากหนังสอื ตาราเรียน และควรเวน้ ช่องว่าง สาหรบั เตมิ คาตอบใหม้ ีความยาวเพยี งพอในการเขยี นคาตอบ 3. ในการสรา้ งขอ้ คาถามตอ้ งใหส้ อดคลอ้ งกบั บททเี่ รยี นและ วตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ ห้ แนวทางในการสรา้ งแบบทดสอบปรนัยชนิดแบบตอบสน้ั มา ง 1. ใหข้ อ้ แนะนาในการตอบขอ้ สอบอยา่ งชดั เจน และเขยี นคาถามให้ บ ชดั เจนในรูปของประโยคคาถาม หรอื ประโยคคาสงั่ 2. ขอ้ คาถามควรใหม้ ขี อ้ ที่ถูกตอ้ งเพยี งคาตอบเดยี วเทา่ น้ันและใหต้ รง กบั คาตอบทีผ่ สู้ อนคาดหวงั ใหผ้ เู้ รยี นตอบ 3. ผสู้ อนควรประยกุ ตข์ อ้ คาถามใหส้ ามารถวดั สติปัญญาในระดบั สงู กวา่ ความรคู้ วามจา 25

สรปุ องคค วามรู 26 จากการศกึ ษา ใบความรูที่ 7 แบบทดสอบปรนยั ชนิดเตมิ คาํ และตอบส้นั ในหัวขอ ท้งั หมด 2 หวั ขอ ไดแ ก ความ หมายและลกั ษณะของแบบทดสอบปรนัยชนิดเตมิ คาํ และตอบสนั้ หลักการหรอื แนวทางในการสรางแบบทดสอบปรนัย ชนดิ เติมคําและตอบส้นั จากท่ีกลาวมาทงั้ หมดผเู ขียนขอสรุปเปนหวั ขอตาง ๆ ดงั้ นี้ ความหมายของแบบทดสอบปรนยั ชนดิ เตมิ คําและตอบสน้ั แบบทดสอบปรนัยชนดิ เตมิ คํา (Completion test) เปนแบบทดสอบปรนยั ชนดิ หน่งึ ทีป่ ระกอบดว ยประโยค หรอื ขอ ความทย่ี ังไมส มบรณู แ ลวเวน ชอ งวางใหนกั เรียนเขียนคําตอบลงไปในชองวา งที่วางไวใ หมีความถกู ตอ งและสม เหตสุ มผล ในทน่ี ผ้ี เู ขยี นขอ ยกตัวอยางแบบทดสอบปรนยั ชนิดเตมิ คาํ ทีอ่ อกแบบข้นึ ดังน้ี 1. สญั ลกั ษณโครโมโซมเพศชาย คอื ......XY...... และสัญลัษณโครโมโซมเพศหญงิ คือ ......XX...... 2. เซลลรางกายของคนปกตมิ ีโครโมโซมจาํ นวน ......23...... คู จดั ไดเปน ......46...... แทง แบบทดสอบปรนัยชนดิ ตอบแบบตอบส้ัน (Short answer test) เปนแบบทดสอบสอบปรนัยชนิดหนง่ึ ท่อี ยใู น รปู ของประโยคคําถามหรอื ประโยคคาํ ส่ัง โดยคําตอบทีต่ อ งการมักจะส้นั เปน คาํ เดยี ว วลีเดยี ว หรือประโยคสน้ั ๆ กระชับ และคาํ ตอบจะตอ งถูกตอง สมเหตสุ มผล ในที่นผี้ เู ขียนขอยกตวั อยา งแบบทดสอบปรนัยชนดิ ตอบทอี่ อกแบบข้ึน ดงั น้ี 1. ถาแมวมีโครโมโซมในเซลลร า งกายจํานวน 38 แทง แมวจะมโี ครโมโซมในเซลลส ืบพนั ธุจาํ นวนเทา ใด ตอบ ......19 แทง ...... หลกั การหรือแนวทางในการสรางแบบทดสอบปรนยั ชนดิ เตมิ คําและตอบสน้ั ในการทจ่ี ะสรา งแบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคาํ และตอบสน้ั ไดนนั้ ผสู อนจะตอ งมีความรูและเขา ใจหลกั การหรอื แนวทางในการสรา งแบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคําและตอบสน้ั ซึง่ ผูเ ขียนสามารถสรุปไดว า ตามหลักการหรอื แนวทาง ในการสรา งแบบทดสอบปรนัยชนดิ เติมคําและตอบสนั้ ไดนัน้ ผูสอนจะตองระบรุ ายละเอียดคําชีแ้ จงไวอยางชัดเจนวา แบบทดสอบปรนยั ชุดนั้นเปบ แบบทดสอบชนิดเติมคาํ หรือชนิดตอบสนั้ โดยประโยคของขอ คาํ ถามของแบบทดสอบ ปรนยั ชนดิ เติมคําและตอบสนั้ จะตองชดั เจนและมีคําตอบทีถ่ กู ตอ งเพยี งคําตอบเดียวเทาน้ัน ไมควรลอกประโยคคําถาม มาจากหนงั สอื ตําราเรยี นเพราะมันจะทําใหน กั เรยี นใชความจํามากกวาใชค วามรู และผสู อนควรเวนชว งวางสาํ หรับ การเตมิ คําตอบของแบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคําและตอบสัน้ ใหม คี วามยาวเพยี งพอกบั คําตอบที่ตองการดว ย

27 WEEK 7 02 กันยายน 2563 ใบความรูท่ี 8 แบบทดสอบปรนยั ชนดิ เลอื กตอบ ขอบขา ยเนื้อหา 1. ความหมายและลกั ษณะของแบบทดสอบปรนยั ชนดิ เลือกตอบ 2. หลกั การหรอื แนวทางในการสรา งแบบทดสอบ ปรนยั ชนดิ เลอื กตอบ

1. ควรเขยี นคาถามใหช้ ดั เจน กระชบั ใชภ้ าษาท่อี ่านแลว้ เขา้ ใจงา่ ย โดยขอ้ สอบแต่ ละขอ้ ควรมีตวั เลือก 3 – 5 ตวั เลอื ก 2. หลกี เลย่ี งการใชข้ อ้ ความต่าง ๆ ท่คี ดั ลอกจากหนังสือตาราเรียน เพราะจะทาให้ นักเรียนจามากกวา่ คดิ 3. ตอ้ งแน่ใจว่าในขอ้ สอบขอ้ หน่ึง ๆ มีตวั เลอื กท่ีถูกตอ้ งเพียงขอ้ เดียว 4. หลีกเลย่ี งการใชค้ า ขอ้ ความ หรือสญั ลกั ษณ์ใด ๆ ท่เี ป็ นการช้ แี นะคาตอบท่ีถูกตอ้ ง 5. หลีกเลย่ี งการใชค้ าขยายทีไ่ ม่เหมาะสมในตวั เลือก เช่น เสมอ ไมเ่ ลย บางที เป็นตน้ 6. ควรพิจราณาขอ้ สอบเกย่ี วกบั ความสอดคลอ้ งของเน้ ือหา จานวนขอ้ และความชดั เจน ในคาช้ แี จงของแบบทดสอบ แนวทางในการสรา้ ง ขอ้ สอบ ข้นั ตอนการงานแผน แบบทดส ในการสรา้ งขอ้ สอบ ชนิดเลอื 1. วิเคราะหห์ ลกั สตู รรายวิชาเพื่อกาหนดเน้ ือหาและตวั ช้ วี ดั ที่ตอ้ งการ วดั และประเมินผล 2. เลือกตวั ช้ วี ดั การเรียนรทู้ เี่ หมาะสมสาหรบั การวดั ดว้ ยแบบทดสอบ ชนิดเขยี นตอบ 3.1.กวาเิ หครนาดะหนห์ ้าลหักนสูตักรคระายแวนชิ นาเใพหอ่ื ก้กบัาหตนวั ดชเ้ วีน้ดัือหทาี่เแลลอื ะกตไวั วช้ วี้ ดั ที่ตอ้ งการ วดั และประเมนิ ผล 4. กาหนดจานวนขอ้ สอบในแตล่ ะตวั ช้ ีวดั 5. ดาเนินการสรา้ งขอ้ สอบตามแผนทวี่ างไว้ 2

ความหมาย เป็ นแบบทดสอบปรนัยชนิดหน่ึงทมี่ ีการ น กาหนดคาตอบไวห้ ลายตวั เลอื กในแต่ละขอ้ ให้ ผเู้ รยี นเลอื กตอบไดต้ ามความตอ้ งการ สอบปรนัย ขอ้ สอบแบง่ ออกเป็ น 2 สว่ น คอื อกตอบ 1. คาถามนาหรอื คาถามหลกั ขอ้ สอบแบบตวั เลอื ก 2.สว่ นของตวั เลอื กหรอื คาตอบท่ี ที่นิยมใช้ กาหนดให้ ซ่ึงตวั เลอื กมีอยู่ 2 ชนิด คอื คาตอบท่ถี กู และตวั ลวง 28 1. แบบคาถามเดี่ยว เป็ นแบบทดสอบทใี่ นขอ้ หน่ึง ๆ จะมีคาถามหลกั และตวั เลอื กจบ สมบรู ณใ์ นขอ้ น้ัน ๆ 2. แบบตวั เลือกคงที่ เป็ นแบบทดสอบที่ กาหนดตวั เลือกไวใ้ ห้ 1 ชดุ สาหรบั ใชค้ าถาม มากกวา่ 1 ขอ้ 3. แบบสถานการณ์ เป็ นแบบทดสอบทใ่ี ช้ วธิ กี ารกาหนดสถานการณ์ตา่ ง ๆ อาจอยใู่ น รูปของขอ้ ความ ภาพ หรือตาราง

สรุปองคความรู 29 จากการศกึ ษา ใบความรทู ี่ 8 แบบทดสอบปรนยั ชนิดเลือกตอบ ในหัวขอ ท้งั หมด 2 หัวขอ ไดแ ก ความหมายและ ลกั ษณะของแบบทดสอบปรนัยชนิดเลอื กตอบ หลักการหรือแนวทางในการสรา งแบบทดสอบปรนัยชนิดเลอื กตอบ จากที่กลา วมาท้งั หมดผูเขยี นขอสรุปเปนหวั ขอ ตาง ๆ ด้งั น้ี ความหมายของแบบทดสอบปรนยั ชนิดเลอื กตอบ แบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ (Multiple choice test) เปน เคร่อื งมอื วัดผลชนิดหนึง่ ท่ีนยิ มใชก ันอยางแพร หลาย มคี ําถามเฉพาะเจาะจงและกําหนดคําตอบไวหลายตวั เลือก โดยในขอสอบขอ นน้ั ๆ จะประกอบดวยสวนของ คาํ ถามนาํ จะนยิ มสรางประโยคคําถามในรปู แบบของคาํ ถามโดยตรงมากกวา ประโยคท่ีไมสมบรณู เ พราะจะทาํ ใหผ ู เรยี นอา นแลว เขาใจงา ย และสวนของคาํ ตอบ สาํ หรับใหผเู รยี นเลือกตอบคาํ ถามตามทตี่ นเองคดิ วา ถกู ตองทสี่ ดุ ซ่งึ ใน การสรา งแบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบขอสอบแบบเลือกตอบทน่ี ิยมสรา งมากท่สี ดุ มี 3 แบบ ดังน้ี 1. แบบคําถามเด่ยี ว เปน แบบทดสอบท่ีในขอหนง่ึ ๆ จะมคี ําถามหลักและตัวเลอื กจบสมบูรณใ นขอ นัน้ ๆ 2. แบบตวั เลอื กคงที่ เปนแบบทดสอบท่ีกําหนดตัวเลอื กไวให 1 ชุด สําหรับใชค าํ ถามมากกวา 1 ขอ 3. แบบสถานการณ เปนแบบทดสอบทใี่ ชว ิธีการกาํ หนดสถานการณต า ง ๆ อาจอยใู นรูปของขอความ ภาพ หรอื ตาราง หลกั การหรอื แนวทางการสรางแบบทดสอบปรนัยชนดิ เลอื กตอบ ในการทจ่ี ะสรางแบบทดสอบปรนยั ชนิดเลือกตอบ ไดน ัน้ ผสู อนจะตองมคี วามรแู ละเขาใจหลักการหรือแนวทาง ในการสรา งแบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ ซง่ึ ผูเขยี นสามารถสรุปไดว า ในการท่ผี สู อนจะสรา งแบบทดสอบผสู อน จะตองทาํ ความเขาในหลักสูตรรายวิชาน้ันกอนแลว กาํ หนดวตั ถปุ ระสงคการเรียนรพู รอ มทั้งเลือกชนิดของแบบ ทดสอบทีต่ องการใชว ดั ความรูความสามารถนักเรยี นและระบจุ ํานวนขอคาํ ถามพรอมกําหนดนาํ ห้ นกั คะแนนของแบบ ทดสอบนนั้ ซึ่งในการสรางขอสอบจะตองต้งั ประโยคขอ คําถามใหช ัดเจนอานแลว เขาใจงา ย ไมค ลุมเครอื สวนของ ประโยคคําตอบจะส้ันกระชบั ไมนําประโยคหรือขอ ความตาง ๆ มาจากหนังสือเรียน ซงึ่ ในการออกขอสอบผสู อบตอง คาํ นงึ ถึงความรขู องผูเ รียนเปน หลักโดยจะตองออกขอ สอบในเชงิ ทใ่ี หผเู รียนใชความรทู มี่ ีและกระบวนการคิดขัน้ สูง เปน หลักเปน หลักไมใชใชเพียงแคค วามจําอยางเดียว และในแตล ะขอจะตองมตี วั เลอื กอยใู นชวงไมน อยกวา 3 - 5 ตัว เลือก และตองแนใจวาขอสอบขอนนั้ ๆ จะตอ งมคี ําตอบทถี่ กู ตองเพยี งขอเดียวและไมม ขี อใดขอหนง่ึ เปนตวั ช้ีแนะคาํ ตอบใหข ออืน่ ๆ และประเดน็ สําคญั ในการสรางแบบทดสอบคือ แบบทดสอบจะตองตรงตามเนือ้ หาและจุดประสงค การเรยี นรูใ นหนว ยการเรยี นรูน้นั ๆ ดวย

30 WEEK 8 09 กันยายน 2563 ใบความรูที่ 9 การตรวจสอบคณุ ภาพของแบบทดสอบ ขอบขา ยเนอื้ หา 1. ความเทีย่ งตรงของแบบทดสอบ 2. ความเปน ปรนยั ของแบบทดสอบ 3. ความยากรายขอของแบบทดสอบ 4. อาํ นาจจําแนกรายขอของแบบทดสอบ 5. ความเช่อื ม่นั ของแบบทดสอบ

1. กรณีแบบทดสอบองิ กลุ่ม คะแนนของขอ้ สอบตอ้ งไมต่ า่ กวา่ 0.70 จึงเป็ นที่ยอมรบั ได้ สูตรในการหาคอื KR 20 (นิยมใช้ สตู รน้ ีเน่ืองจากใชไ้ ดใ้ นทุกกรณี) กบั KR 21 2. กรณีแบบทดสอบองิ เกณฑ์ สามารถหาไดโ้ ดยการนาแบบทดสอบ ท้งั ฉบบั ไปทดลองใชก้ บั กลุ่มตวั อย่างเพียงคร้งั เดยี ว แลว้ นามา วเิ คราะหห์ าค่าความเชอื่ มนั่ โดยวธิ ขี อง Lovett ความเชื่อมนั่ ของ แบบทดสอบ อานาจจาแนกรายขอ้ ดชั นีอานาจจาแนกรายขอ้ สญั ลกั ษณ์ทใี่ ชค้ ือ r หรอื d เป็น การตรวจฮส ระดบั คุณภาพของขอ้ สอบแต่ละขอ้ ของแบบทดสอบฉบบั หนึ่ง ๆ ของแบบ ท่ีสามารถแยกคนเป็ น 2 กลุ่ม คือ กลมุ่ ผสู้ อบที่ตอ้ งการวดั สูง และกลมุ่ ผสู้ อบทตี่ อ้ งการวดั ตา่ มีเกณฑก์ ารพิจารณา ดงั น้ ี 1. กรณีทใ่ี หค้ ะแนนเป็ น 0 กบั 1 ตอ้ งมคี า่ r ท่ียอมรบั ได้ คอื 0.20 – 1.00 ความยากรายขอ้ 2. กรณีท่ีคะแนนไมใ่ ช่ 0 กบั 1 เป็ นกลุ่มผทู้ ีไ่ ดค้ ะแนนตา่ นิยม ใชส้ ตู รตามวิธขี อง D.R Whitney การวเิ คราะห์ ดชั นีความยากรายขอ้ สญั ใชเ้ ฉพาะที่เป็ นแบบทดสอบอิงกลุ่ม จาแ 1. กรณีที่ใหค้ ะแนนเป็ น 0 กบั 1 นิยาม สดั ส่วนระหวา่ งจานวนของผูต้ อบขอ้ สอบ ค่า p ทไ่ี ดค้ อื 0.20 – 0.80 2. กรณีที่ใหค้ ะแนนไมใ่ ช่ 0 กบั 1 นิยม Whitney และ D.L Sabers 3

ความเทย่ี งตรง 1. ความเท่ียงตรงตามเน้ ือหา เป็ นคุณภาพของแบบทดสอบท่ี ของแบบทดสอบ บง่ บอกว่า เน้ ือหาท่ีถามในขอ้ สอบน้ันเกยี่ วขอ้ งกบั เน้ ือหา และ สอดคลอ้ งกบั ตวั ช้ ีวดั หรอื ไม่ ซึ่งผสู้ อนจะตอ้ งจดั ทาแบบทดสอบ สอบคณุ ภาพ ใหค้ รอบคลมุ เน้ ือหา และตวั ช้ ีวดั ทก่ี าหนดไว้ บทดสอบ 2. ความเทย่ี งตรงตามโครงสรา้ ง เป็ นคุณภาพของ แบบทดสอบที่บง่ บอกวา่ ขอ้ สอบท้งั หมดในแบบทดสอบฉบบั น้ันสามารถวดั ในสงิ่ ที่ตอ้ งการวดั ไดส้ อดคลอ้ งและครอบคลุม ตามนิยามหรอื โครงสรา้ งเชิงทฤษฎีน้ันหรือไม่ 3. ความเท่ยี งตรงเกณฑส์ มั พนั ธ์ แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ดงั น้ ี 1. ความเทยี่ งตรงตามสภาพ เป็ นคุณภาพของแบบทดสอบท่ี สามารถวดั ไดต้ รงสภาพความเป็ นจริงในปัจจบุ นั ของผเู้ รยี น 2. ความเทยี่ งตรงตามพยากรณ์ เป็ นคุณภาพของ แบบทดสอบท่สี ามารถวดั ผลใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพในอนาคต ความเป็ นปรนัย อ 1. ความชดั แจง้ ของขอ้ คาถามทไี่ ม่ว่าผสู้ อบ ผตู้ รวจ นักเรียนคน ใดอา่ นก็แปลความหมายไดต้ รงกนั ญลกั ษณท์ ใ่ี ชค้ อื p นิยม แนกเป็ น 2 กรณี 2. ความสอดคลอ้ งหรอื ตรงกนั ในการตรวจใหค้ ะแนนของ มว่าเป็ นเปอรเ์ ซน็ ตห์ รือ ขอ้ สอบแต่ละขอ้ ซง่ึ ไม่วา่ จะเป็ นผอู้ อกขอ้ สอบคนใดกต็ าม บขอ้ น้ันถกู ตอ้ งท้งั หมด สามารถตรวจใหค้ ะแนนไดต้ รงกนั มใชส้ ูตรตามวิธขี อง D.R 3. ความสอดคลอ้ งตรงกนั ในการแปลความหมายของคะแนน เช่น ผูท้ ต่ี อบคาถามจะได้ 1 คะแนน ผตู้ อบผิดจะได้ 0 คะแนน 31

สรุปองคความรู 32 จากการศกึ ษา ใบความรูท่ี 9 การตรวจสอบคณุ ภาพของแบบทดสอบ ในหวั ขอทั้งหมด 5 หัวขอ ไดแก ความ เที่ยงตรงของแบบทดสอบ ความเปน ปรนยั ของแบบทดสอบ ความยากรายขอของแบบทดสอบ อาํ นาจจําแนกรายขอ ของแบบทดสอบและความเชอื่ ม่นั ของแบบทดสอบ จากเกณฑทใ่ี ชตรวจสอบคณุ ภาพท่กี ลา วมาทงั้ หมดในแตล ะขอจะ มุงวดั ความรูของผูเ รียนใหตรงตามจุดประสงคก ารเรียนรหู รือตามเกณฑม าตรฐานท่กี ําหนดไวใหบ รรลุตามเกณฑหรือ จุดประสงคท ่วี างไว จากทีก่ ลา วมาทงั้ หมดผูเขยี นขอสรุปเปน หวั ขอ ตา ง ๆ ดงั นี้ ความเทีย่ งตรง ความเทีย่ งตรง (Validity) เปนเคร่ืองมอื วดั ผลของแบบทดสอบท่มี สี ําคญั กับผสู อนและผูเรยี นเปนอยางมากเพราะ สามารถนาํ มาวดั ระดบั ความรู ความสามารถ และกระบวนการคดิ โดยวธิ ีการนก้ี ็จะบงบอกไดว าแบบทดสอบทีใ่ ชว ดั นน้ั มี คณุ ภาพครอบคลุมครบถว นตรงตามเนอ้ื หาสาระหรอื ไม อยางไร ซ่ึงจากที่ผเู ขียนศกึ ษามาความเทย่ี งตรงของแบบทดสอบก็ จะแบงออกเปน 3 ประเภท ดงั น้ี 1. ความเทยี่ งตรงตามเนื้อหา (Content validity) เปนคุณภาพของแบบทดสอบทีบ่ ง บอกวาเนอ้ื หาที่ถามในขอสอบ น้ันเกยี่ วขอ งกับเน้อื หาและสอดคลอ งกบั ตัวชว้ี ดั ในหนวยการเรยี นรนู ้ันหรอื ไม ซึง่ ผสู อนจะตองจดั ทาํ แบบทดสอบให ครอบคลมุ เนอ้ื หา และตัวชี้วัดท่กี ําหนดไว 2. ความเที่ยงตรงตามโครงสราง (Construct validity) เปนคุณภาพของแบบทดสอบทบี่ งบอกวาขอสอบทัง้ หมดใน แบบทดสอบฉบับนั้นสามารถวัดในสง่ิ ทตี่ อ งการวัดสอดคลองและครอบคลมุ ตามนิยามหรือโครงสรา งเชิงทฤษฎีนน้ั หรือไม 3. ความเทยี่ งตรงเกณฑสัมพนั ธ (Criterion - related validity) เปน คณุ ภาพของแบบทดสอบที่เกิดจากการนาํ เอา คะแนนท่ีไดไ ปสัมพนั ธกบั เกณฑท ่ตี อ งการศกึ ษา ซง่ึ แบงออกเปน 2 ประเภท ดงั นี้ 1. ความเทย่ี งตรงตามสภาพ เปนคุณภาพของแบบทดสอบท่สี ามารถวดั ไดต รงสภาพความเปน จริงในปจ จุบันของผูเ รยี น 2. ความเทีย่ งตรงตามพยากรณ เปน คุณภาพของแบบทดสอบที่สามารถวดั ผลใหส อดคลองกับสภาพในอนาคต ความเปน ปรนัย ความเปน ปรนยั (Objectivity) เปน แบบทดสอบทีบ่ ง บอกถึงความชัดเจนในเรอื่ งของคาํ ช้แี จงและขอ คําถามแตละ ขอ ซึง่ ผสู อนจะตองออกขอ สอบแตล ะขอใหม ีความเปน ปรนัย เพราะถา ขอ สอบขาดความเปน ปรนัยแบบทดสอบน้ันกจ็ ะ ขาดความเทยี่ งตรงของแบบทดสอบนน่ั เอง ซึ่งในขอ สอบชดุ หน่งึ ๆ จะตองประกอบดวย ความชดั เจนในเร่ืองของ ขอคําถาม ทไ่ี มวาผเู ชีย่ วชาญคนไหนจะเปน คนตรวจขอ สอบจะตองเขา ใจตรงกันไมต คี วามหมายไปคนละแง และความ สอดคลองหรือตรงกนั ในการตรวจใหค ะแนนของขอสอบแตล ะขอซึง่ ไมว า จะเปน ผูอ อกขอสอบคนใดกต็ ามสามารถตรวจให คะแนนไดตรงกนั และความสอดคลอ งตรงกนั ในการแปลความหมายของคะแนนในท่นี ี้จะใชแ นวทางในการใหค ะแนน เปน เกณฑต ัดสิน เชน ผูท ีต่ อบคาํ ถามจะได 1 คะแนน ผูต อบผดิ จะได 0 คะแนน เปน ตน

สรปุ องคความรู (ตอ ) 33 ความยากรายขอ จากการอา นศกึ ษาความยากรายขอ ผเู ขียนสามารถสรปุ ไดว า การวเิ คราะหคณุ ภาพของแบบทดสอบดชั นีความ ยากรายขอ สัญลกั ษณทใี่ ชค อื p นิยมใชในกรณีเฉพาะท่ีเปนแบบทดสอบอิงกลุม ซ่งึ จําแนกไดเปน 2 กรณี ดงั น้ี 1. กรณีใหคะแนนเปน 0 กบั 1 2. กรณใี หคะแนนไมใ ช 0 กับ 1 1. กรณีใหคะแนนเปน 0 กับ 1 นิยามวา เปน เปอรเ ซน็ ตหรือสัดสว นระหวางจาํ นวนของผูตอบขอสอบขอนั้นถูกตอง ทงั้ หมด แทนดว ยสญั ลักษณ p ซ่งึ คา p ท่ีไดจะตอ งมีคา ดัชนคี วามยากต้งั แต 0.20 – 0.80 ยิ่งถา คา p เขาใกล 1 แบบ ทดสอบชุดน้ันจะงา ย ถาเขา ใกล 0 แสดงวาแบบทดสอบนั้นยาก แตถาเขา ใกล 0.50 จะถอื วาแบบทดสอบนม้ี คี ณุ ภาพดี มาก หาคา p โดยใชสตู ร p = R/N 2. กรณใี หคะแนนไมใ ช 0 กบั 1 กรณีนี้จะมีสูตรหาเฉพาะที่แตกตา งจาก กรณีทีค่ ะแนนเปน 0 กับ 1 จะนยิ มใช สตู รตามวธิ ขี อง D.R Whitney และ D.L Sabers ซงึ่ จะแบงกลุม ของผสู อบออกเปน 2 กลมุ คอื กลมุ ท่ีมคี ะแนนสูงกับ กลมุ ที่มีคะแนนตํ่า เกณฑค ะแนนคดั เลอื กความยากของขอสอบจะเหมือนกันกบั กรณใี หคะแนนเปน 0 กบั 1 อํานาจจําแนกรายขอ กรณแี บบอิงกลมุ จากการอานศึกษาอํานาจจําแนกรายขอ ในกรณที ี่เปนแบบทดสอบองิ กลมุ ผูเขียนสามารถสรุปไดวา ดัชนอี าํ นาจ จําแนกรายขอสญั ลกั ษณท ีใ่ ชค ือ r หรอื d เปน ระดบั คุณภาพของขอสอบแตล ะขอ ของแบบทดสอบฉบับหนง่ึ ๆ ที่สามารถ แยกคนเปน 2 กลุม คือ กลมุ ผูส อบท่ตี อ งการวัดสงู และกลุม ผสู อบท่ตี อ งการวัดตา่ํ ซง่ึ มเี กณฑการพจิ ารณา ดงั นี้ 1. กรณีใหคะแนนเปน 0 กับ 1 2. กรณีใหคะแนนไมใช 0 กับ 1 1. กรณีใหคะแนนเปน 0 กับ 1 กรณนี จ้ี ะใชแยกผูส อบออกเปน 2 กลมุ คือกลุมท่มี ีคะแนนสงู และกลุมทม่ี ีคะแนน ตา่ํ โดยใชเทคนคิ 25 % หรอื 27 % โดยใชส ูตร R = RH - RL/Nh หรอื R = RH - RL/NL โดยกรณีนีต้ อ งมคี า r ท่ยี อมรบั ได คือ 0.20 – 1.00 2. กรณใี หค ะแนนไมใช 0 กับ 1 กรณนี ้จี ะมสี ูตรหาเฉพาะท่แี ตกตา งจาก กรณที ีค่ ะแนนเปน 0 กบั 1 จะนยิ มใช สูตรตามวธิ ขี อง D.R Whitney และ D.L Sabers ซง่ึ จะแบงกลมุ ของผสู อบออกเปน 2 กลุม คอื กลุมท่ีมีคะแนนสูงกับ กลมุ ทม่ี ีคะแนนตาํ่ โดยใชเ ทคนคิ 25 % ของผสู อบทงั้ หมด เกณฑค ะแนนคดั เลือกความยากของขอสอบจะเหมือนกันกบั กรณีใหค ะแนนเปน 0 กบั 1


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook