Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความรู้พื้นฐานสำหรับช่างทันตกรรม

ความรู้พื้นฐานสำหรับช่างทันตกรรม

Published by Hexa Ceram Library, 2022-08-26 04:13:03

Description: ความรู้พื้นฐานสำหรับช่างทันตกรรม

Search

Read the Text Version

ความรู้พื้ นฐานสำหรับ ช่างทันตกรรม Basic Knowledge for Dental technician

Hexa Ceram Co., Ltd. High Precision Dental Laboratory ฉบับปรับปรุงแก้ไขครั้งที่ 8 สิงหาคม 2565 วันที่พิมพ์ 8 สิงหาคม 2565

คำนำ อาชีพช่างทันตกรรม เป็นอาชีพเฉพาะที่มีการสอนในบางสถาบันการศึกษา และ ไม่เป็นที่รู้จักมากนัก จึงทำให้มีบุคลากรที่ผ่านการศึกษาไม่เพียงพอต่อความต้องการ อาชีพช่างทันตกรรม คือบุคลากรทางทันตกรรมที่ปฏิบัติงานในห้องแล็บทันตกรรม มีหน้าที่ประดิษฐ์ฟันเทียมเพื่อให้ทันตแพทย์นำไปบำบัดแก่ผู้ป่วย เป็นงานฝีมือ โดยอาศัยความประณีต ประสบการณ์ เทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย และนวัตกรรม ที่พัฒนาขึ้นตลอดเวลา บริษัท เอ็กซา ซีแลม จำกัด ได้ตระหนักถึงความสาคัญของอาชีพช่างทันตกรรม เสมอมา และหวังเป็นอย่างยิ่งที่จะผลิตช่างทันตกรรมที่มีความสามารถสู่สายงาน ทันตกรรม จึงได้มีการรวบรวมความรู้พื้นฐานสาหรับช่างทันตกรรมเล่มนี้ขึ้นจาก ตำรา เอกสาร และข้อมูลจากช่างทันตกรรมผู้เชี่ยวชาญของบริษัทฯ มีการปรับปรุง เนื้อหาให้ละเอียดและเป็นประโยชน์ต่อการทำงาน ผลิตภัณฑ์ใหม่ และขั้นตอนการผลิต ให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา เมื่อถึงกำหนดจะจัดฝึกอบรมและทดสอบความรู้ ความสามารถของช่างทันตกรรม ก่อนพิจารณารับบรรจุเข้าทำงาน เพื่อเป็นแรงจูงใจ ในการพัฒนาตนเอง ตระหนักในบทบาทและหน้าที่ และได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสม ตามนโยบายส่งเสริมอาชีพช่างทันตกรรม คณะผู้จัดทำขอขอบพระคุณ ผู้สนับสนุนทุกท่าน ที่ได้เอื้อเฟื้ อตำรา เอกสารประกอบ และข้อมูลเพิ่มเติมอันเป็นประโยชน์ต่อช่างทันตกรรมทั้งบรรจุแล้ว และอยู่ในระหว่าง ฝึกงาน รวมถึงบุคลากร ผู้สนใจทั่วไป คณะผู้จัดทำยินดีน้อมรับข้อติชม คำแนะนำจาก ทุกท่าน เพื่อนามาแก้ไขปรับปรุงเนื้อหาให้เหมาะสม และสมบูรณ์ยิ่งขึ้นต่อไป เจ้าหน้าที่พัฒนาบุคลากร ฝ่ายบริหารทรัพยากรมนุษย์ บริษัท เอ็กซา ซีแลม จำกัด พิมพ์วันที่ 24 สิงหาคม 2565

Hexa Ceram Co., Ltd สารบัญ 01 ชุดฟันธรรมชาติ 02 การจัดการประเภทกลุ่มฟัน ประกอบด้วย 2 ชุด คือ มีการจัดประเภทกลุ่มตาม ฟันน้ำนม และฟันแท้ ลักษณะส่วนโค้งแนวฟัน และ รูปร่างหน้าที่ของฟัน หน้าที่ 2 หน้าที่ 4 03 โครงสร้างภายนอก และภายในของฟัน 04 การใช้สัญลักษณ์แทนฟัน เป็นวิธีเรียกชื่อตามแบบ หน้าที่ 8 วิทยาศาสตร์ 05 รูปทรงของฟัน หน้าที่ 10 ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง รูปหน้ากับรูปทรงของฟัน 06 การเรียกด้านของฟัน ฟันจะมีการระบุด้าน ตาม หน้าที่ 15 ตำแหน่งที่ฟันอยู่ หน้าที่ 17

สารบัญ 07 ลักษณะทางกายวิภาคตำแหน่ง 08 การสบฟัน ต่างๆของซี่ฟัน การสบฟันมี 2 ประเภท และ ม่ีอยู่ 4 ลักษณะ สามารถแบ่งออกได้หลากหลาย ลักษณะตามชื่อเรียก หน้าที่ 19 หน้าที่ 21 09 การทำงานของขากรรไกร และ 10 โค้งสปี โค้งวิลสัน Hexa Ceram Co., Ltd อุปกรณ์ขากรรไกรจำลอง สเฟียร์ออฟมอนสัน เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เพื่อจำลองการ เคี้ยวอาหาร เลียนแบบลักษณะ หน้าที่ 27 การเคลื่อนไหวของขากรรไกรล่าง 12 ผลิตภัณฑ์และกระบวนการ หน้าที่ 24 ผลิต 11 ความสัมพันธ์ทางกายวิภาคของ หน้าที่ 33 จุดต่างๆ ในช่องปาก มีชื่อเรียกตามตำแหน่งในช่องปาก หน้าที่ 29

Hexa Ceram Co., Ltd รูปร่างพื้ นฐาน ท า ง ก า ย วิ ภ า ค ข อ ง ฟั น ฟัน เป็นอวัยวะภายในช่องปากที่ทำหน้าที่สำคัญมาก อย่างหนึ่งของร่างกาย คือ การเคี้ยวย่อยอาหาร ฟันช่วยฉีก กัด และบดอาหารให้เป็นชิ้นเล็กลง ทำให้ระบบการย่อยอาหารช่วงต่อไปทำงานได้สะดวก มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ฟันยังทำหน้าที่ปกป้องอวัยวะใน ช่องปากมิให้ได้รับภยันตราย ช่วยในการพูด การออกเสียงให้ถูกต้องชัดเจน และเสริมเสน่ห์ให้กับ เจ้าของฟันอีกด้วย ชุดฟันประกอบด้วยฟันหลายแบบไม่เหมือนกัน ฟันแต่ละซี่แตกต่างกันในเรื่องรูปร่าง ขนาด และสี รวมทั้งตำแหน่งที่อยู่ การที่ฟันแต่ละซี่อยู่ในตำแหน่ง ต่างกัน ทำให้ฟันมีลักษณะที่ปรากฏต่างกันด้วยรูปร่าง ของฟันแต่ละซี่สัมพันธ์กันและกัน และทำงานร่วมกัน การศึกษารูปร่างพื้นฐานทางกายวิภาคของฟัน มีส่วน สำคัญอย่างยิ่งสำหรับช่างทันตกรรมในการสร้างงาน ให้ได้ตรงกับความต้องการของทันตแพทย์

01 Hexa Ceram Co., Ltd ชุดฟันธรรมชาติ ฟัน ธ ร ร ม ช า ติ ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ฟัน 2 ชุ ด คื อ ฟันชุดแรกเรียกว่า ฟันน้ำนม Deciduous teeth (ดีซีดวซ ทีธ) Temporary teeth (เทมโพเรรี ทีธ) ประกอบด้วยฟันน้านม จำนวน 20 ซี่ ฟัน น้ำ น ม ซี่ แ ร ก จ ะ ขึ้ น เ มื่ อ อ า ยุ ป ร ะ ม า ณ 6 เดือน และจะขึ้นครบ 20 ซี่ เมื่ออายุประมาณ 2 ปีครึ่ง ฟันชุดที่สองเรียกว่า ฟันถาวรหรือฟันแท้ Permanent teeth (เพอมาเนนท์ ทีธ) ประกอบด้วยฟันแท้ จำนวน 32 ซี่ ฟันแท้ซี่แรกจะขึ้นเมื่ออายุประมาณ 6 ปี และจะขึ้นครบ 28 ซี่เมื่อเด็กอายุประมาณ 12 ปี ส่วนฟันกรามซี่ที่ 3 ซึ่งจะเป็นซี่ในสุด จำนวนทั้งหมด 4 ซี่นั้น มีช่วงระยะเวลา การขึ้นตั้งแต่อายุประมาณ 18 - 25 ปี ฟันซี่นี้ อาจประสบปัญหางอกขึ้นมาใน ช่ อ ง ป า ก ไ ม่ ไ ด้ ห รื อ ขึ้ น ไ ด้ ไ ม่ เ ต็ ม ซี่ เ รี ย ก ว่ า ฟัน คุ ด

ชุดฟันน้ำนม Deciduous teeth (ดีซีดวซ ทีธ) หรือ Temporary teeth (เทมโพเรรี ทีธ) ชุดฟันถาวรหรือฟันแท้ Permanent teeth (เพอมาเนนท์ ทีธ) หน้าที่ 3/59

02 Mandibular Maxillary แมนดิบูลาร์ Teeth ก า ร จั ด ป ร ะ เ ภ ท ฟันล่าง แมคซิลารี่ ก ลุ่ ม ฟัน ฟันบน เ นื่ อ ง จ า ก ฟัน มี ก า ร เ รี ย ง ตั ว ต า ม แ น ว โ ค้ ง ขวา ซ้ า ย ของกระดูกขากรรไกรล่าง และบนแนว ของคนไข้ ของคนไข้ โค้งนี้เรียกว่า ส่วนโค้งแนวฟัน (Dental arch เดนทัล อาช) เมื่อแบ่ง ฟันบน ฟัน ต า ม เ ส้ น แ น ว น อ น ทำ ใ ห้ ฟัน ถู ก แ บ่ ง ด้ า น ซ้ า ย เป็นด้านบนและด้านล่าง และจากเส้นแบ่ง ใ น แ น ว ดิ่ ง ผ่ า น กึ่ ง ก ล า ง ข อ ง ข า ก ร ร ไ ก ร ฟัน ล่ า ง บนล่าง จะทำให้ฟันถูกแบ่งออกเป็นด้าน ด้ า น ซ้ า ย ซ้ายและขวา วิธีการนี้ฟันจะถูกแบ่งเป็น 4 ส่วน (Quadrant ควอดแร็นท์) ถ้าแบ่งปากออกเป้นสี่ส่วน ตัวเลข 1-4 ฟันบน Hexa Ceram Co., Ltd ใช้กันฟันแท้ ตัวเลข 5-8 ใช้กับฟันน้ำนม ด้ า น ข ว า *** เป็นการใช้สัญลักษณ์แทนตัวเลขตัวแรก ฟัน ล่ า ง ของฟันในระบบตัวเลขสองหลัก ด้ า น ข ว า (Two-digit System) หน้าที่ 4/59

Hexa Ceram Co., Ltd Quadrant ที่ 1 Quadrant ที่ 2 12 43 Quadrant ที่ 4 Quadrant ที่ 3 ฟันแท้ Quadrant ควอดแร็นท์ ที่ 1 ฟันบนด้านขวา Quadrant ควอดแร็นท์ ที่ 2 ฟันบนด้านซ้าย Quadrant ควอดแร็นท์ ที่ 3 ฟันล่างด้านซ้าย Quadrant ควอดแร็นท์ ที่ 4 ฟันล่างด้านขวา Quadrant ที่ 5 Quadrant ที่ 6 ฟันบนด้านขวา ฟันบนด้านซ้าย 56 87 Quadrant ที่ 8 Quadrant ที่ 7 ฟันล่างด้านขวา ฟันล่างด้านซ้าย ฟันน้ำนม Quadrant ควอดแร็นท์ ที่ 5 ฟันบนด้านขวา Quadrant ควอดแร็นท์ ที่ 6 ฟันบนด้านซ้าย Quadrant ควอดแร็นท์ ที่ 7 ฟันล่างด้านซ้าย Quadrant ควอดแร็นท์ ที่ 8 ฟันล่างด้านขวา หมายเหตุ การเรียกด้านของฟันให้ถือเสมือนว่าคนไข้หันหน้าหาเรา ข้างที่อยู่ซ้ายมือเราจึงเป็นขวาของคนไข้ หน้าที่ 5/59

จัดประเภทกลุ่มตามรูปร่างลักษณะและหน้าที่ของฟัน แบ่งฟันเป็น 4 ประเภท คือ ฟันตัด ฟันเขี้ยว ฟันกรามน้อย (ในฟันน้ำนมไม่มีฟันกรามน้อย) และฟันกราม ประเภทของฟัน ลักษณะ หน้าที่ 1. ฟันตัด (incisors อินไซเซอร์) เหมือนจอบหรือสิ่ว ตัดและฉีกอาหาร ปลายฟันตัดแบนเรียบ พู ดออกเสียงความสวยงาม 2.ฟันเขี้ยว (Canine เคนาย) มีปุ่มฟันแหลมคม มีปุ่มเดียว กัดฉีกอาหาร บดเคี้ยวอาหาร 3.ฟันกรามน้อย (Premolars มีปุ่มฟันเตี้ยกว่าฟันเขี้ยว พรีโมลาร์) มี 2 – 3 ปุ่ม บดเคี้ยวอาหาร 4.ฟันกราม (Molars โมลาร์) มีปุ่มเตี้ยๆ 3 – 6 ปุ่ม Hexa Ceram Co., Ltd หน้าที่ 6/59

Hexa Ceram Co., Ltd บางครั้งอาจพบการเรียกกลุ่มฟันที่ต่างออกไป อาจเรียกรวมเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้ ฟันตัด และฟันเขี้ยว เรียกรวมกันว่า “ฟันหน้า” (Anterior Teeth แอนเทียเรีย ทีธ) ฟันกรามน้อย และฟันกราม เรียกรวมกันว่า “ฟันหลัง” (Posterior Teeth โพสเทียเรีย ทีธ) หน้าที่ 7/59

03 โครงสร้าง ภ า ย น อ ก แ ล ะ ภ า ย ใ น ข อ ง ฟั น โครงสร้างภายนอกของฟัน ประกอบด้วยส่วนที่เป็นตัวฟัน (Crown คราวน์) และส่วนรากฟัน (Root รูท) บริเวณที่สองส่วนนี้มาต่อกันเรียกว่าแนวคอฟัน (Cervical line เซอร์วิคอล ไลน์) ส่วนตัวฟันคือส่วนที่โผล่พ้ นเหงือกปรากฏให้เห็นในช่องปากส่วนรากฟันจะจมอยู่ ใต้เหงือกและกระดูกไม่สามารถมองเห็นได้จากในช่องปาก โครงสร้างภายในของฟัน สามส่วนแรกจะเป็นเนื้อเยื่อแข็ง Hexa Ceram Co., Ltd (HARD TISSUE ฮาร์ด ทิชชู) ฟันประกอบไปด้วยเนื้อเยื่อ 4 ชนิดคือ เคลือบฟัน (Enamel อีนาเมล) ส่วนสุดท้ายเป็นเนื้อเยื่ออ่อน เนื้อฟัน (Dentine เด็นทีน) (SOFT TISSUE ซอฟท์ ทิชชู) เคลือบรากฟัน (Cementum ซีเมนทัม) เนื้อเยื่อในของฟัน (Dental pulp เดนทัล พั ลพ์ ) หน้าที่ 8/59

Hexa Ceram Co., Ltd เคลือบฟัน (Enamel อีนาเมล) เป็นส่วนที่คลุม ที่อยู่ในช่องวางกลางฟันซึ่งประกอบ บนตัวฟันโดยตลอด มีความหนามากที่สุด ด้วยหลอดเลือด หลอดน้ำเหลือง และ บริเวณปุ่มและขอบปลายฟัน ค่อยๆ บางลง เส้นประสาท ทำหน้าที่นำอาหารสู่ฟัน ตอนใกล้คอฟัน เคลือบฟันเป็นส่วนที่แข็งที่สุด ส่งทอดความรู้สึกจากฟันหล่อเลี้ยงฟัน ของฟัน แต่เปราะ โดยทั่วไปจะมีสีขาว โดยผ่านเข้าทางรูเปิดปลายราก ไปยัง แต่อาจมองเห็นเป็นสีเหลืองอันเนื่องจากแสง ช่องว่างใจกลางฟันซึ่งเรียกว่า โพรง สะท้อนสีเหลืองออกมาจากเนื้อฟันภายใน ประสาทฟัน เนื้อฟัน (Dentine เด็นทีน) เป็นส่วนประกอบ ส่วนใหญ่ของฟัน อยู่ถัดเคลือบฟันและเคลือบ รากฟันเข้าไป มีส่วนประกอบคล้ายกระดูกแต่ แข็งกว่ากระดูก และอ่อนกว่าเคลือบฟัน เคลือบรากฟัน (Cementum ซีเมนทัม) เป็นส่วนที่คลุมรากฟันโดยตลอด มีส่วนประกอบคล้ายกระดูกแต่แข็งกว่ากระดูก อ่อนกว่าเคลือบฟันและเนื้อฟัน ทำหน้าที่เป็น ตัวกลางในการยึดระหว่างฟันกับกระดูกเบ้าฟัน เนื้อเยื่อในของฟัน หรือเนื้อเยื่อโพรงประสาทฟัน (Dental pulp เดนทัล พั ลพ์ ) เป็นเนื้อเยื่ออ่อน (Soft tissue ซอฟท์ ทิชชู) หน้าที่ 9/59

04 การใช้สัญลักษณ์แทนฟัน การใช้สัญลักษณ์แทนฟัน เป็นวิธีเรียกชื่อฟันตามแบบวิทยาศาสตร์ เพื่ อสะดวกในการเขียนและอ่านชื่อฟันในรายงานประวัติและการรักษาคนไข้ ในให้มีความหมายเป็นสากล และเข้าใจกันระหว่างทันตแพทย์ทุกชาติทุกภาษา นิยมใช้ในปัจจุบัน 3 ระบบ คือ ระบบของปาล์มเมอร์ ระบบเรียงตัวเลข และระบบเลขสองตัว 1. ระบบของปาล์มเมอร์ (Palmer notation system) ระบบนี้ ใช้เครื่องหมายแทน Quadrant (¼) ใช้เลขอารบิกแทนซี่ฟันแท้ ใช้ตัวอักษรโรมันแทนซี่ฟันน้ำนม หลักการ แบ่งออกเป็น 4 Quadrant โดยใช้ฟันตัดกลางเป็นตัวแบ่ง Hexa Ceram Co., Ltd

Hexa Ceram Co., Ltd 2. ระบบเรียงตัวเลข (Universal numbering system) ระบบนี้ใช้เลขอารบิกแทนฟันแต่ละซี่เรียงติดต่อกันไปตามลำดับจากเลข 1 ถึง 32 แทนซี่ฟันแท้ โดยเริ่มจากฟันกรามบนขวาซี่ที่สามเป็นเลข 1 นับเวียนไปตาม เข็มนาฬิ กาหรือทางซ้ายของเจ้าของฟันจนถึงฟันกรามบนซ้ายซี่ที่สามเป็นเลข 16 ต่อมาคือฟันกรามล่างซ้ายซี่ที่สาม เป็นเลข 17 เวียนถึงฟันกรามซี่ที่สามเป็น เลข 32 ฟันแต่ละซี่จึงมีเลขประจาซี่ที่ไม่ซ้ากัน ดังนี้ 3. ระบบเลขสองตัว (Two-digit system หรือ FDI system) สหพันธ์ทันตแพทย์นานาชาติ (Federation Dentaire Internationale: FDI) ได้กำหนดสัญลักษณ์ระบบเลขสองตัวขึ้นมา โดยให้ฟันแต่ละซี่มีสัญลักษณ์แทน ด้วยเลข 2 ตัว ดังนี้ ก. เลขตัวแรกบอกตำแหน่งกลุ่มฟันที่ฟันซี่นั้นอยู่ มี 4 กลุ่ม ถ้าแบ่งปากออกเป็นสี่ส่วน (Quadrants) ตัวเลข 1-4 ใช้กับฟันแท้ ตัวเลข 5-8 ใช้กับฟันน้ำนม ดังหน้าถัดไป หน้าที่ 11/59

รหัสตัวแรกของฟันแท้ รหัสตัวแรกของฟันน้ำนม 1. ฟันแท้บนขวา 5. ฟันน้ำนมบนขวา 2. ฟันแท้บนซ้าย 6. ฟันน้ำนมบนซ้าย 3. ฟันแท้ล่างขวา 7. ฟันน้ำนมล่างซ้าย 4. ฟันแท้ล่างซ้าย 8. ฟันน้ำนมล่างขวา ข. เลขตัวที่สองแทนฟันแต่ละซี่โดยเริ่มนับตั้งแต่ฟันตัดซี่กลางของแต่ละกลุ่ม ใช้เลข 1 และจากฟันตัดซี่กลางถัดไปตามลำดับจนถึงฟันกรามซี่ที่สามของกลุ่ม ใช้เลข 8 (1 – 8 ในฟันแท้ และ 1 – 5 แทนฟันน้ำนม) ในประเทศไทยส่วนใหญ่จะใช้ระบบเลขสองตัว เนื่องจากเรียนรู้ จดจำได้ง่าย Hexa Ceram Co., Ltd เหมาะสมในการบันทึกประวัติการรักษาผู้ป่วย และสะดวกในการติดต่อสื่อความ หมายในการป้อนข้อมูลเข้าคอมพิวเตอร์ ยังมีผู้ใช้สัญลักษณ์แทนฟันระบบของ ปาล์มเมอร์อยู่บ้างแต่ไม่ค่อยมีผู้นิยมใช้ระบบเรียงตัวเลขอาจเป็นเพราะจำยาก กว่าระบบอื่นขณะที่ในต่างประเทศมีการใช้ระบบเรียงตัวเลขมากกว่า หน้าที่ 12/59

Hexa Ceram Co., Ltd ตารางเทียบสัญลักษณ์แทนชื่อฟัน ระบบปาล์มเมอร์ และ ระบบเลขสองตัว หน้าที่ 13/59

Mandibular แมนดิบูลาร์ ฟันล่าง Maxillary Teeth แมคซิลารี่ ฟันบน ภาพประกอบการเทียบสัญลักษณ์แทนชื่อฟัน ระบบปาล์มเมอร์และระบบเลขสองตัว และการเรียกชื่อฟัน Hexa Ceram Co., Ltd Central incisor เซ็นทรัล อินไซเซอร์ ฟันตัดซี่กลาง Lateral incisor แลทเทอรัล อินไซเซอร์ ฟันตัดซี่ข้าง Cuspid, Canine คัสพิด, เคนาย ฟันเขี้ยว First bicuspid (premolar) เฟิร์ส ไบคัสปิด (พรีโมลาร์) ฟันกรามน้อยซี่ที่หนึ่ง Second bicuspid (premolar) เซ็คคันด์ ไบคัสพิ ด (พรีโมลาร์) ฟันกรามน้อยซี่ที่สอง First molar เฟิร์ส โมลาร์ ฟันกรามซี่ที่หนึ่ง Second molar เซ็คคันด์ โมลาร์ ฟันกรามซี่ที่สอง Third molar เธิร์ด โมลาร์ ฟันกรามซี่ที่สาม การใช้สัญลักษณ์แทนฟัน ด้านนอกตัวฟัน = ระบบปาล์มเมอร์ ด้านในตัวฟัน = ระบบเลขสองตัว - การเรียกข้าง ให้ถือเสมือนว่าคนไข้หันหน้าหาเรา ข้างที่อยู่ซ้ายมือเรา จึงเป็นขวาของคนไข้ - หน้าที่ 14/59

Hexa Ceram Co., Ltd 05 รูปทรงของฟัน Tooth shapes in relation to body anatomy รูปร่างฟันที่มีความสัมพั นธ์กับสรีระร่างกาย Tooth shapes in relation to face anatomy รูปร่างฟันที่มีความสัมพั นธ์กับรูปร่างของใบหน้า หน้าที่ 15/59

A Convexe (คอนเวคซ์) รูปหน้าโค้งนูน B Straight (สเทรท) รูปหน้าตรง C Concave (คอนเคฟ) รูปหน้าโค้งเว้า A โครงสร้างรูปหน้า Square ความสัมพันธ์ของส่วนต่างๆ ข้างต้น (สแควร์) ทรงสี่เหลี่ยม ทันตแพทย์ใช้เป็นข้อมูลมาประมวลและ วิเคราะห์เพื่อสรุปหาการวิจัย การวางแผน B โครงสร้างรูปหน้า Square tapering การตรวจรักษาทางทันตกรรม และ (สแควร์เทเพอริง) สี่เหลี่ยมทรงสอบ เป็นแนวทางในการผลิตงานทันตกรรม สำหรับช่างทันตกรรมอีกด้วย เพื่อให้ C โครงสร้างรูปหน้า Triangular การรักษาด้วยวิธีการใส่ฟันปลอมมี (ไทรแองกูลาร์) สามเหลี่ยม คุณภาพมากที่สุด การเลือกรูปร่างซี่ฟัน ปลอมควรเลือกซี่ฟันปลอมให้มีรูปร่างใกล้ D โครงสร้างรูปหน้า Ovoid เคียงกับฟันธรรมชาติข้างเคียงที่มีอยู่ (โอวอยด์) ทรงไข่ หรือจากรูปถ่าย หากไม่เหลือฟันหน้าอยู่ เลยก็ต้องนำความรู้เกี่ยวกับรูปร่างของ ใบหน้า, อายุ, เพศ และบุคลิกลักษณะของ Hexa Ceram Co., Ltd ผู้ป่วยมาช่วยในการเลือกรูปร่าง ที่เหมาะสมของฟัน โดยทั่วไป รูปร่างของ ใบหน้ามักมีความสัมพั นธ์กับรูปร่างของ ฟันหน้า Prominence of zygomatic arches พรอมมิเนนซ์ ออฟ ไซโกแมทิค รอยนูนกระดูกแนวโค้ง หน้าที่ 16/59

Hexa Ceram Co., Ltd 06 การเรียก ด้านของฟัน ด้ า น ข อ ง ฟั น ฟั น มี ก า ร ร ะ บุ ด้ า น ต า ม ตำ แ ห น่ ง ที่ ฟั น อ ยู่ ดั ง นี้ ภาพประกอบเพิ่ มเติม 1 ฟันตัดซี่ข้าง ด้านประชิด (Proximal Surface พลอกซิมอล (ฟันบนขวาของคนไข้) เซอร์เฟส) เป็นด้านของฟันที่อยู่ชิด กับฟันข้างเคียง ในส่วนโค้งของขากรรไกรเดียวกัน เป็นมุมมองด้านปลายฟันหน้า Mesial (มีเซียล) ด้านใกล้กลาง เป็นด้านของ ฟันที่หันไปด้านหน้าหรือใกล้ เส้นแนวระนาบดิ่ง หรือเส้นกลางของปาก (Midline มิดไลน์) Distal (ดิสทอล) ด้านไกลกลาง เป็นด้านของ ฟันที่หันไปด้านหลังหรือไกล เส้นกลางของปาก ภาพประกอบเพิ่ มเติม 2 ฟันกรามซี่ที่ 1 ด้านใบหน้า (Facial surface เฟเชียล เซอร์เฟส) (ฟันบนขวาของคนไข้) แบ่งเป็น เป็นมุมมองฟันหลังด้านบดเคี้ยว Buccal (บัคคอล) ด้านแก้ม เป็นด้านของฟัน หลังที่อยู่ชิดแก้ม Labial (เลเบียล) ด้านริมฝีปาก เป็นด้านของ ฟันหน้าที่อยู่ชิดริมฝีปาก หน้าที่ 17/59

Lingual (ลิงกวล) ด้านลิ้น เป็นด้านของฟัน Hexa Ceram Co., Ltd ล่างที่หันไปทางลิ้น Palatal (พาลาทอล) ด้านเพดานปาก เป็นด้าน ของฟันบนที่ชิดเพดานปาก Occlusal (อ๊อคคลูซอล) เป็นด้านของฟันหลัง ที่ใช้บดเคี้ยวอาหาร Incisor Edge (อินไซเซอร์ เอดจ์) ในฟันหน้าที่ ใช้กัดและฉีกอาหาร ภาพประกอบเป็นรูปขากรรไกรบน (Maxillary teeth แมคซิลารี่ ทีธ) เส้นแนวระนาบดิ่ง หรือเส้นกลางของปาก หมายเหตุ ด้านเพดานปาก Palatal พาราทอล ในขากรรไกรล่าง เรียกว่า ด้านลิ้น Lingual ลิงกวล (ฟันล่าง) หน้าที่ 18/59

Hexa Ceram Co., Ltd 07 ลักษณะทางกายวิภาค ตำแหน่งต่างๆ ของซี่ฟัน 1. Cusps (คัสพ์ ) คือเนื้อฟันที่นูนเป็นปุ่มบน นั่นคือ Mesial marginal ridge (มีเซียล ด้านบดเคี้ยว (Occlusal อ๊อคคลูซอล) มาร์จินัล ริดจ์) และ Distal marginal ของฟันกรามน้อยและฟันกราม ridge (ดิสทอล มาร์จินัล ริดจ์) Marginal ridges สันริมฟัน เป็นสันที่ยกนูน ขึ้นเป็นขอบทางด้านใกล้กลางหรือไกลกลาง อยู่บนด้านลิ้นของฟันหน้า และอยู่บนด้าน บดเคี้ยวของฟันหลัง 2. Ridges (ริดจ์) คือเนื้อฟันที่เป็นสันนูน Transverse Ridges (ทรานส์เวิร์ส ขึ้นมา ตัวอย่าง ริดจ์) พบได้บนฟันกรามน้อยบางซี่ เท่านั้น จะอยู่ตรงข้ามกันและตั้งฉาก Marginal ridges (มาร์จินัล กับร่องแบ่งกลางฟัน (central ริดจ์) คือ สันที่ทอดอยู่ด้านข้าง groove เซ็นทรัล กรู๊ฟ) อาจกล่าวได้ ของฟัน ดังนั้นฟันจึงมี 2 อีกอย่างหนึ่ง คือ เป็นสันที่ทอดจาก marginal ridges (มาร์จินัล cusp tips (คัสพ์ ทิพส์) ทั้งสองบน ริดจ์) ฟันกรามน้อย หน้าที่ 19/59

Oblique Ridges สันสามเหลี่ยมของปุ่มฟันที่ อยู่เยื้องกันมาต่อกันเป็นลักษณะเฉพาะที่พบใน ฟันกรามแท้ คือ เกิดจากสันด้านแก้มของปุ่ม ฟันด้านลิ้นใกล้กลาง (Buccal Ridge Of Mesiolingual Cusp) มาเชื่อมกับสันด้านลิ้น ของปุ่มฟันด้านแก้มไกลกลาง (Lingual Ridge Of Distobuccal Cusp) Transverse Ridges สันขวาง เป็นการเชื่อม 3. Fossae (ฟอสซา) เป็นส่วนที่เว้าลึก กันของสันสามเหลี่ยมด้านแก้มและด้านลิ้น ลงไปของด้านบดเคี้ยว (Occlusal (Buccal Triangular Ridge และ Lingual อ๊อคคลูซอล) และล้อมรอบโดย Triangular Ridge) บนด้านบดเคี้ยว เช่น Occlusal Table (อ๊อคคลูซอล เทเบิ้ล) ในฟันกรามแท้ล่างซี่ที่ 1 ฟันกรามน้อยบนซี่ที่ 1 และ Ridges (ริดจ์) ต่างๆ Fossae (ฟอสซา) หรือ ส่วนเว้านี้จะรองรับส่วน Oblique Ridges (อ๊อปริค ริดจ์) นูน (Cusps คัสพ์ ) ของฟันที่ที่ประกบกัน พบได้บนฟันกรามจะมีอยู่บนฟัน กรามทั้งหมดและจะอยู่เฉียง ประมาณ 45 องศากับร่องแบ่ง กลางฟัน (central primary groove เซ็นทรัล ไพมารี กรู๊ฟ) 4. Groove (กรู๊ฟ) เป็นร่องที่แบ่งฟัน เพื่ อแสดงขอบเขตของ Cusps Hexa Ceram Co., Ltd หน้าที่ 20/59

Hexa Ceram Co., Ltd 08 การสบฟัน ก า ร ส บ ฟั น มี 3 ป ร ะ เ ภ ท ดั ง นี้ 1. Class I (คลาส วัน) ฟันกรามซี่แรก Class II subdivision บนและล่างสบกันอย่างปกติ (ประเภทที่ 2 กลุ่มย่อย) : Mesio buccal cusp ของฟันกราม Class II (ประเภทที่ 2 กลุ่มที่ 1) บนซี่ที่ 6 สบอยู่ตรง mesiobuccal (ปลายฟันตัดบนเอียงไปทางด้าน groove ของฟันกรามล่างซี่ที่ 6 ริมฝีปาก (labial) การสบฟันที่ผิดปกติ Class II division 2 (ประเภทที่ 2 กลุ่มที่ 2) (ปลายฟันตัดบนเอียงไป 2. Class II (คลาส ทู) การสบฟันที่ผิด ทางด้านลิ้น (lingual) ปกติโดยมีฟันกรามซี่แรกบนอยู่หน้าต่อ ฟันกรามซี่แรกล่าง Disio buccal cusp ของฟันกราม ซี่ที่ 6 สบอยู่ตรง mesio buccal groove ของ ฟันกรามล่างซี่ที่ 6 หน้าที่ 21/59

3. Class III (คลาส ธรี) การสบฟันที่ Overbite (โอเวอร์ไบท์) ผิดปกติโดยมีฟันกรามซี่แรกบนอยู่ คือ ระยะความเหลื่อมกันตามแนวดิ่งของ หลังต่อฟันกรามซี่แรกล่าง ฟันหน้าบนกับฟันหน้าล่าง Buccal groove ของฟัน Overjet (โอเวอร์เจ็ท) กรามแท้ซี่แรกล่างอยู่ไปทาง คือ ระยะการเหลื่อมกันตามแนวราบของ mesial ต่อ mesio-buccal ฟันหน้าบนกับฟันหน้าล่าง cusp ของฟันบน Edge to Edge (เอดจ์ ทู เอดจ์) คือ ฟันหน้าสบกันแบบปลายฟัน สัมผัสกัน Hexa Ceram Co., Ltd หน้าที่ 22/59

Hexa Ceram Co., Ltd หน้าที่ 23/59

09 การทำงาน เลื่อนแบบจำลองให้กลับไปอยู่ใน Centric Hexa Ceram Co., Ltd (เซ็นทริค) อีกครั้งแล้วเลื่อนกรามล่างไป ของขากรรไกร ทางขวา จะสังเกตได้ว่าฟันหลังด้านขวายัง คงสัมผัสกันและกำลังทำงานอยู่ในขณะที่ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ์ ข า ก ร ร ไ ก ร จำ ล อ ง ด้านซ้ายแยกออกจากกันและไม่ได้ทำงาน จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องไม่มีการรบกวนกัน วิธีหนึ่งที่จะช่วยให้เข้าใจการทำงาน ระหว่าง Cusp (คัสพ์ ) ในด้านที่ไม่ได้ทำงาน ของขากรรไกร คือ การใช้ แม้ Cusp (คัสพ์ ) หนึ่ง Cusp (คัสพ์ ) ใด Articulator (อาร์ทิคคูเลเทอร์) ก็ตามมีการกระทบหรือไม่เข้าอยู่ใน Fossa เพื่ อจำลองการเคี้ยวอาหาร (ฟอสซา) ที่พอดีจะส่งผลถึงการสบฟันที่ ยกตัวอย่างเช่น หากใช้ เสียสมดุลไปและทำให้ฟันที่ถูกรบกวนนั้นเสีย Articulator (อาร์ทิคคูเลเทอร์) หายไป และเลื่อนแบบจำลองของฟันล่างใน ทิศทางที่เลื่อนมาข้างหน้าปลายฟัน อุปกรณ์ขากรรไกรจำลอง Articulator Incisal Edges (อินไซซอล เอดจ์) (อาร์ทิคคูเลเทอร์) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้จำลอง ของฟันหน้าล่างจะเลื่อนไปบนด้าน ลักษณะการสบของฟัน ความสัมพั นธ์ Lingual (ลิงกวล) ของฟันหน้าบน ระหว่างขากรรไกรล่างต่อขากรรไกรบน โดยสัมผัสกันเป็นกลุ่มและฟันหลัง ในสมัยต้นๆ ของวงการทันตกรรม เราใช้ จะเลื่อนออกจากกันทันที Articulator (อาร์ทิคคูเลเทอร์) ต่อไปเลื่อนแบบจำลองให้กลับไปอยู่ ใน Centric (เซ็นทริค) และเลื่อน กรามล่างไปทางซ้าย ฟันเขี้ยวล่าง ซ้ายเลื่อนไปบนด้าน Lingual (ลิงกวล) ของฟันเขี้ยวบนซ้าย ฟันหลังด้านขวาแยกจากกันแต่ฟัน หลังด้านซ้ายยังคงสัมผัสกัน ฟันหลังด้านซ้ายทางานเป็นกลุ่ม และกล่าวได้ว่ากำลังทางานอยู่ ส่วนชุดด้านขวานั้นไม่ได้ทำงาน หน้าที่ 24/59

Hexa Ceram Co., Ltd เพี ยงเพื่ อที่จะบันทึกตำแหน่งของขากรรไกร Hinge axis type (ฮินจ์ แอคซิส ล่างที่มีต่อขากรรไกรบนเท่านั้น ต่อมามีกา ไทพ์ ) หรืออาจเรียกได้ว่าเป็น Single วิวัฒนาการมากขึ้น มีการพยายามแก้ไข hinge (ซิงเกิ้ล ฮินจ์) หรือ Plain ปรับปรุงให้ Articulator (อาร์ทิคคูเลเทอร์) line articulator (แพลน ไลน์ สามารถให้ลอกเลียนลักษณะการเคลื่อนไหว อาร์ทิคคูเลเทอร์) ชนิดนี้ใช้ในลักษณะ ของขากรรไกรล่างในทิศทางต่างๆ จน ที่คล้ายบานพั บ คือ อ้าและหุบปาก กระทั่งในปัจจุบัน มีการทำ Articulator เท่านั้น (อาร์ทิคคูเลเทอร์) ขึ้นมาใช้กันหลายชนิด ใช้กับงานฟันปลอมชนิดถอดได้ การแบ่งชนิดของ Articulator (อาร์ทิคคู ใช้กับงานฟันปลอมชนิดติดแน่น เลเทอร์) มีหลายวิธี ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ ของรูปแบบ ส่วนใหญ่มักจะแบ่งตาม Mean value type (มีน แวลู ไทพ์ ) Mechanical reproduction (มิแคนนิค หรือ Rational type (แรชั่นแนล คัล รีโปรดัคชั่น) ที่สามารถลอกเลียนจาก ไทพ์ ) ชนิดนี้มีการเคลื่อนไหวได้บ้าง คนไข้และถ่ายทอดสู่ Articulator (อาร์ทิคคู ตามที่อุปกรณ์จัดได้ เช่น ย้ายไปมา เลเทอร์) นั้น ได้แก่ ข้าง ๆ ตามที่กำหนดมาในเครื่อง หน้าที่ 25/59

Semi adjustable type (เซมิแอ็ดจัส Hexa Ceram Co., Ltd เทเบิ้ล ไทพ์ ) ชนิดนี้สามารถจัดตั้งให้มี ทิศทางการเคลื่อนไหวได้บ้างตาม Condylar movement (คอนดายล์ ลาร์ มูฟเมนท์) แต่ไม่ครบทั้ง 3 มิติ (ตัวอย่างในรูปใช้ได้ทั้งงานติดแน่นและถอดได้) Fully adjustable type (ฟู ลลี่ แอ๊ด จัสเทเบิ้ล ไทพ์ ) ชนิดนี้สามารถปรับได้ ทุกทิศทาง ดังนั้น จึงสามารถลอก เลียนแบบการเคลื่อนไหวของขากรรไกร ได้ดีที่สุด ใกล้เคียงที่สุด การจะเลือกใช้ Articulator (อาร์ทิคคู เลเทอร์) ชนิดไหนขึ้นอยู่กับความ ต้องการของทันตแพทย์ว่าต้องการที่จะ ให้ผลงานที่ออกมาเป็นอย่างไร โดยทั่วๆ ไปแล้ว Articulator (อาร์ทิคคูเลเทอร์) ที่ดี ต้องสามารถลอกเลียนลักษณะการ สบฟัน และการเคลื่อนไหวของขา กรรไกรได้ทั้งหมด หน้าที่ 26/59

Hexa Ceram Co., Ltd 10 โค้งสปี โค้งวิลสัน สเฟียร์ออฟมอนสัน โค้งสปี (Curve of Spee) การเอียงตัว โค้งวิลสัน (Curve of Wilson) ถ้าสังเกต ของฟันนี้เป็นผลที่ก่อให้เกิดการจัดตัวที่มี ปุ่มฟันด้านแก้มและด้านลิ้นของฟันหลัง สภาพต่อเนื่องกัน ซึ่งจะสังเกตได้ คือ ของทั้งขวาและข้างซ้ายจะพบแนวคล้อยตาม ปุ่มฟันด้านแก้มของฟันหลังจะอยู่ในแนวที่ กันเป็นแนวโค้งเช่นกัน แนวโค้งนี้เรียกว่า คล้อยตามกันเป็นแนวโค้งจากด้านหน้าไป โค้งวิลสัน หรือโค้งแนวขวาง (Transverse ด้านหลัง แนวโค้งนี้ เรียกว่า โค้งสปี ซึ่งให้ curve) โค้งนี้วิลสันเป็นผู้สังเกตพบคนแรก ชื่อตามผู้ที่สังเกตพบโค้งนี้ คือ Von Spee แนวโค้งนี้ถ้าในฟันล่างจะมีลักษณะเว้า (ฟอน สปี) ปุ่มด้านแก้มของฟันหลังและ ส่วนฟันบนจะมีลักษณะนูน ปลายฟันหน้าจะต่อเนื่องกันเป็นแนวโค้ง ส่วนต่ำที่สุดของแนวโค้งจะอยู่ที่ฟันกรามซี่ที่ หนึ่งและฟันกรามน้อยซี่ที่สอง ซึ่งแนวโค้งนี้ คือ แนวการสบฟัน (Occlusal plane) หน้าที่ 27/59

สเฟียร์ออฟมอนสัน (Sphere of Monson) Hexa Ceram Co., Ltd ประกอบด้วย Two Curves of Spee และ Curve of Wilson แล้วมองในภาพ 3 มิติ เป็นรูปคล้ายพี รามิดที่มีรัศมี 4 นิ้ว มีฐานโค้ง คล้ายเป็นส่วนหนึ่งของทรงกลม ซึ่งวาง อยู่บน Occlusal Surface ของฟัน หน้าที่ 28/59

Hexa Ceram Co., Ltd 11 ความสัมพั นธ์ทาง กายวิภาคของจุด ต่างๆ ในช่องปาก ตำแหน่ง A คือ Labial frenum (เลเบียล ฟรีนุม) - เนื้อยึดด้านริมฝีปาก ตำแหน่ง AA คือ Buccal frenum (บัคคอล ฟรีนุม) – เนื้อยึดด้านแก้ม ตำแหน่ง B คือ Labial vestibule (เลเบียล เวสทิบูล) - โพรงหน้า หรือ ช่องด้านริมฝีปาก ตำแหน่ง C คือ Incisive papilla (อินไซซีฟ พาพิ วลา) - ปุ่มเนื้อเพดาน ปากหลังฟันตัด ตำแหน่ง D คือ Buccal vestibule (บัคคอล เว็สทิบุล) - โพรง หรือ ช่อง ปากส่วนแก้ม ตำแหน่ง E คือ Foveae palatinae (ฟอวีเอ พาลาทีเน) – จุด 2 จุดที่อยู่ ทางท้ายเพดานแข็ง ตำแหน่ง F คือ Maxillary tuberosity (แมคซิลารี่ ทูเบอร์โรซิที่) – ปุ่ม, กระดูก ขากรรไกรบนด้านท้ายของสันเหงือก ตำแหน่ง G คือ Posterior palatal seal region (โพสท์เทอร์เรีย พาลา ทอล ซีล รีเจี้ยน) - ขอบเขตผนึกท้าย เพดานปาก ตำแหน่ง H คือ Rugae (รูจ์กี) - รอย หยัก, รอยย่นเยื่อเมือก หน้าที่ 29/59

ตำแหน่งที่ 1 Labial notch (เลเบียล Hexa Ceram Co., Ltd นอทช์) - รอยบากด้านริมฝีปาก ตำแหน่งที่ 2 Labial flange (เลเบียล แฟลนจ์) - ปีกฟันปลอมด้านริมฝีปาก ตำแหน่งที่ 3 Buccal notch (บัคคอล นอทช์) - รอยบากด้านแก้ม ตำแหน่งที่ 4 Buccal flange (บัคคอล แฟลนจ์) - ปีกฟันปลอมด้านแก้ม ตำแหน่งที่ 5 Coronoid contour (โค โรนอยด์ คอนทัวร์) ตำแหน่งที่ 6 Alveolar groove (แอล วีโอลาร์ กรู๊ฟ) - ร่องแอลวีโอลาร์ ตำแหน่งที่ 7 Area of tuberosity (แอเรีย ออฟ ทูเบอโรซิที) - พื้ นที่ปุ่ม กระดูก ตำแหน่งที่ 8 Pterygomaxillary seal in area of hamular notch (เทอรีโก แมคซิลลารี่ ซีล อิน แอเรีย ออฟ ฮามูลา ร์ นอทช์) ตำแหน่งที่ 9 Area of posterior palatal seal (แอเรีย ออฟ โพสเทอเรีย พาลาทอล ซีล) ตำแหน่งที่ 10 Foveae palatinae (ฟอวีเอ พาลาทีเน) ตำแหน่งที่ 11 Median palatine groove (มีเดียน พาลาไทน์ กรู๊ฟ) ตำแหน่งที่ 12 Incisive fossa (อินไซ ซีฟ ฟอสซา) - แอ่งเพดานปากหลังฟัน ตัด ตำแหน่งที่ 13 Rugae (รูจ์กี) - รอย หยัก, รอยย่นเยื่อเมือก หน้าที่ 30/59

Hexa Ceram Co., Ltd ตำแหน่งที่ 1 Labial frenum (เลเบียล ฟรีนุม) - เนื้อยึดด้านริมฝีปาก ตำแหน่งที่ 2 Labial vestibule (เลเบี ยล เวสทิบูล) - โพรงหน้า หรือ ช่อง ด้านริมฝีปาก ตำแหน่งที่ 3 Buccal frenum (บัคคอล ฟรีนุม) - เนื้อยึดด้านแก้ม ตำแหน่งที่ 4 Buccal vestibule (บัค คอล เวสทิบูล) - โพรงหน้า หรือ ช่อง ด้านแก้ม ตำแหน่งที่ 5 Residual alveolar ridge (รีซิจดวล แอลวีโอลาร์ ริดจ์) ตำแหน่งที่ 6 Buccal shelf (บัคคอล เชลฟ) - ไหล่สันเหงือกด้านแก้ม ตำแหน่งที่ 7 Retromolar pad (รีโทร โมลาร์ แพด) –แผ่นเหงือกรูป ต่อจาก ฟันกรามซี่สุดท้าย ตำแหน่งที่ 8 Pterygomandibular raphe (เทอรีโกแมนดิบูลาร์ แรฟ) ตำแหน่งที่ 9 Retromylohyoid fossa (รีโทรมายโลไฮออยด์ ฟอสซา) - แอ่งรี โทรมายโลไฮออยด์ ตำแหน่งที่ 10 Tongue (ทัง) - ลิ้น ตำแหน่งที่ 11 Alveololingual sulcus (แอลวีโอโลลิงกวล ซัลคัส) - ร่อง เหงือกเบ้าฟันด้านลิ้น ตำแหน่งที่ 12 Lingual frenum (ลิงกวล ฟรีนุม) - เนื้อยึดลิ้น ตำแหน่ง 13 Region and premylohyoid eminence (รีเจียน แอนด์ พรีมายโลไฮออยด์ เอมมิเน็นซ์) หน้าที่ 31/59

ตำแหน่งที่ 1 Labial notch (เลเบียล Hexa Ceram Co., Ltd นอทช์) - รอยบากด้านริมฝีปาก ตำแหน่งที่ 2 Labial flange (เลเบียล แฟลนจ์) - ปีกฟันปลอมด้านริมฝีปาก ตำแหน่งที่ 3 Buccal notch (บัคคอล นอทช์) - รอยบากด้านแก้ม ตำแหน่งที่ 4 Buccal flange (บัคคอล แฟลนจ์) - ปีกฟันปลอมด้านแก้ม ตำแหน่งที่ 5 Alveolar groove (แอล วีโอลาร์ กรู๊ฟ) - ร่องแอลวีโอลาร์, ร่อง เบ้าฟัน ตำแหน่งที่ 6 Buccal flange (บัคคอล แฟลนจ์) - ปีกฟันปลอมด้านแก้ม ตำแหน่งที่ 7 Retromolar pad (รีโทร โมลาร์ แพด) - แผ่นก้อนเหงือกท้ายต่อ ฟันกรามซี่สุดท้าย ตำแหน่งที่ 8 Pterygomandibular notch (เทอรีโกแมนดิบูลาร์ นอท) ตำแหน่งที่ 9 Lingual flange (ลิงกวล แฟลนจ์) - ปีกฟันปลอมด้านลิ้น ตำแหน่งที่ 10 Inclined plane for the tongue (อินไคลน์ เพลน ฟอร์ เธอะ ทัง) ตำแหน่งที่ 11 Lingual flange (ลิ งกวล แฟลนจ์) - ปีกฟันปลอมด้านลิ้น ตำแหน่งที่ 12 Lingual notch (ลิงกวล นอทช์) - รอยบากด้านลิ้น ตำแหน่งที่ 13 Premylohyoid eminence (พรีมายโลไฮออยด์ เอมมิ เน็นซ์) หน้าที่ 32/59

Hexa Ceram Co., Ltd 12 ประโยชน์ของการใส่ฟันปลอม ผลิตภัณฑ์และ กระบวนการผลิต ช่วยเสริมสร้างบุคลิกภาพ รูปร่างใบหน้า ให้เหมือนปกติ เพิ่ มความมั่นใจให้แก่ คนไข้ โดยเฉพาะคนไข้ที่สูญเสียฟันหน้า ช่วยเพิ่ มประสิทธิภาพของการบดเคี้ยว อาหารได้ละเอียดขึ้น ทำให้กระเพาะอาหาร ฟันปลอม (Denture เด็นเชอร์, False ไม่ต้องทำงานหนักจนเกินไป Teeth ฟอลซ์ ทีธ) คือ ฟันที่ถูกทำขึ้น ช่วยป้องกันการเกิดฟันที่อยู่ข้างเคียง เพื่ อใช้ทดแทนฟันธรรมชาติ ทั้งฟันน้ำนม ล้มเอียงหรือฟันคู่สบยื่นยาวเข้ามาหา และฟันแท้ ที่สูญเสียไป ซึ่งอาจเกิดจาก ช่องว่างที่สูญเสียฟัน ซึ่งจะก่อให้เกิด อุบัติเหตุ ฟันผุ หรือถูกถอนฟันไปก่อน ปัญหาในเรื่องของโรคปริทันต์และการสบ กำหนด ฟันปลอมอาจทาจากพลาสติก ฟันที่ผิดปกติได้ เซรามิก โลหะชนิดต่างๆ หรือวัสดุอื่น ประโยชน์ของการใส่ฟันปลอมสำหรับเด็ก ก็ได้ เช่น Ingots (อินก็อทส์) ซึ่งเป็น วัสดุในการทำครอบฟัน สะพานฟัน และ ป้องกันและแก้ไข ปัญหาทางการพู ด มี ชิ้นงานที่ใช้อุดฟัน การศึกษาพบว่า ถ้าเด็กอายุต่ากว่า 3 ปี มีการสูญเสียฟันหน้าน้านมไปก่อน ฟันปลอมในเด็ก ฟันน้ำนมมีหน้าที่สำคัญ กำหนด และไม่ได้ใส่ฟันปลอม อาจมีผล หลายประการ ได้แก่ การออกเสียง การ ทำให้เด็กพู ดไม่ชัด และอาจติดเป็นนิสัย บดเคี้ยว การป้องกันนิสัยกัดสบที่ผิด ไปจนโต ปกติ และเก็บรักษาพื้ นที่ให้กับฟันแท้ที่ ป้องกันนิสัยที่ผิดปกติ เช่น ดูดริมฝีปาก กำลังขึ้น เป็นต้น ดังนั้น ถ้าเด็กต้องสูญ ตำแหน่งลิ้นผิดปกติขณะกลืน เสียฟันน้ำนมไปก่อนกาหนดจากสาเหตุ รักษาช่องว่างให้กับฟันแท้ที่กำลังขึ้น ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นโรคฟันผุ ภยันตรายที่ เมื่อมีการสูญเสียฟันน้ำนมไปก่อน เกิดกับฟัน การที่เด็กไม่มีฟันมาแต่ บูรณะปิดช่องที่ เกิดจากความผิดปกติ กำเนิด ความผิดปกติในการสร้างฟันที่ แต่กำเนิดหรือภายหลัง เช่น เด็กปาก เกิดร่วมกับโรคทางระบบต่างๆ หรือโรค แหว่งเพดานโหว่ และความผิดปกติที่เกิด ทางพั นธุกรรมบางโรค หรือผู้ป่วย จากอุบัติเหตุ หรือจากผลของการผ่าตัด เพดานโหว่ เป็นต้น การใส่ฟันปลอมให้ ซึ่งต้องมีการใส่เครื่องมือหรือฟันปลอม เด็กที่มีปัญหาลักษณะนี้ จะช่วยป้องกัน ปิดช่องว่าง เพื่ อให้สามารถรับประทาน และแก้ไขผลเสียที่จะตามมาในอนาคตได้ อาหาร หรือพู ดได้ปกติ และสวยงาม หน้าที่ 33/59

ฟันปลอมแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ผู้ที่เหมาะสมกับฟันปลอมชนิดนี้ ได้แก่ ผู้ที่ Hexa Ceram Co., Ltd สูญเสียฟันธรรมชาติไปเป็นจำนวนน้อย 1. ฟันปลอมชนิดติดแน่น (Crown & เพี ยง 1-2 ซี่ ต่อ 1 ช่องว่างเท่านั้น และฟัน Bridge คราวน์ แอนด์ บริดจ์) ธรรมชาติที่อยู่ด้านหน้าและด้านหลังช่อง ว่างจะต้องอยู่ในสภาพดี ไม่มีปัญหาโรค ฟันปลอมชนิดติดแน่น เป็นฟันปลอมถาวร เหงือกอักเสบหรือฟันผุอย่างรุนแรง และจะ ชนิดติดแน่นที่จะยึดในช่องปาก โดยผู้ที่ใส่ ต้องเป็นผู้ที่สามารถดูแลทำความสะอาด ไม่สามารถถอดออกมาเพื่ อทาความสะอาด ภายในช่องปากได้เป็นอย่างดีอีกด้วย ภายนอกช่องปากได้ ฟันปลอมชนิดนี้จะยึด อยู่โดย การใช้ฟันธรรมชาติซี่ที่อยู่ข้าง 2.ฟันปลอมชนิดถอดได้ (Removable เคียงกับช่องว่างเป็นหลักในการยึด Denture รีมูฟเอเบิล เด็นเชอร์) ฟันปลอม ข้อดีของฟันปลอมชนิดนี้ ได้แก่ ฟันปลอมชนิดนี้จะไม่ขยับหรือหลวมหลุดใน ฟันปลอมชนิดถอดได้ เป็นฟันปลอมชนิดที่ ขณะพู ดหรือเคี้ยวอาหาร ทำให้ผู้ที่ใส่มี สามารถถอดออกมาเพื่ อทำความสะอาด ความมั่นใจ ฟันปลอมจะมีขนาดชิ้นงานที่ ข้างนอกช่องปากได้ มีทั้งชนิดชั่วคราวที่ทำ ค่อนข้างเล็ก ไม่ก่อให้เกิดความรำคาญ มี ด้วยพลาสติกและชนิดถาวรที่ทำด้วยโลหะ ประสิทธิภาพในการบดเคี้ยวค่อนข้างสูง เนื่องจากแรงจากการบดเคี้ยว จะถูก ข้อดีของฟันปลอมชนิดนี้ ได้แก่ ช่วยให้ผู้ที่ ถ่ายทอดไปสู่ฟันธรรมชาติซี่ข้างเคียงที่ใช้ สวมใส่สามารถดูแลรักษาความสะอาดได้ เป็นหลักยึดฟันปลอมโดยตรง ง่าย ขั้นตอนในการทำไม่ยุ่งยาก ไม่เสีย เวลามาก และมีค่าใช้จ่ายในการทาที่ค่อน อย่างไรก็ตามฟันปลอมชนิดนี้จะมีข้อเสียที่ ข้างต่ำกว่าฟันปลอมชนิดอื่นๆ แต่ฟัน สำคัญมาก ได้แก่ การที่จะฟันธรรมชาติที่ ปลอมชนิดนี้จะมีข้อเสียที่สำคัญ ได้แก่ ชิ้น อยู่ข้างเคียงจะต้องถูกกรอแต่งเพื่ อให้มี งานฟันปลอมจะมีขนาดค่อนข้างใหญ่กว่า ขนาดเล็กลงเพื่ อใช้เป็นฟันหลักสาหรับยึด ฟันปลอมชนิดอื่น อาจก่อให้เกิดความ ฟันปลอมติดแน่น ซึ่งอาจส่งผลเสียต่อฟัน รำคาญในขณะพู ดหรือการเคี้ยวอาหาร ธรรมชาติต่อไปได้ นอกจากนี้แล้วผู้ที่ใส่ฟัน ประสิทธิภาพในการบดเคี้ยวจะต่ำกว่าฟัน ปลอมชนิดนี้จะต้องสนใจดูแลความสะอาด ปลอมชนิดอื่น เนื่องจากแรงจากการบด ของฟันปลอมมากเป็นพิ เศษ เนื่องจากฟัน เคี้ยวส่วนใหญ่จะไปสู่สันเหงือกที่รองรับฟัน ปลอมไม่สามารถถูกถอดออกมาเพื่ อ ปลอมซึ่งสามารถรับแรงบดเคี้ยวได้น้อย ทำความสะอาดภายนอกช่องปากได้ และ กว่าฟันธรรมชาติ นอกจากนี้ในบางครั้งยัง ฟันปลอมชนิดนี้มีราคาสูงกว่าฟันปลอม อาจมีปัญหาเรื่องการขาดความสวยงามได้ ชนิดถอดได้ หน้าที่ 34/59

Hexa Ceram Co., Ltd เนื่องจากจะต้องมีส่วนตะขอของฟัน ฟันปลอมชนิดนี้สามารถทำได้สำหรับ ปลอมไปโอบเกี่ยวกับฟันธรรมชาติที่ คนไข้ที่สูญเสียฟันตั้งแต่ 1 ซี่ขึ้นไป และ เหลืออยู่บางซี่ และเมื่อใช้งานฟันปลอม ไม่มีฟันธรรมชาติหลงเหลืออยู่เลย ไปนานอาจมีปัญหาเรื่องการหลวมขยับ หรือหลุดในขณะใช้งานได้ 2. ฟันปลอมถอดได้โครงโลหะ (RPD - Removable Partial Denture รีมูฟ ผู้ที่เหมาะสมกับฟันปลอมชนิดนี้ ได้แก่ ผู้ เอเบิล พาร์เชียว เดนเชอร์) ที่มีการสูญเสียฟันธรรมชาติไปเป็นจาน วนมาก จนไม่สามารถเหลือเพี ยงพอสาห ข้อดี คือ ชิ้นเล็กกว่าแบบพลาสติก รับทาฟันปลอมชนิดติดแน่นได้ ผู้ที่เคยมี คลุมฟันน้อยกว่า น้ำหนักเบา ทำให้คนไข้ ปัญหาโรคเหงือกอักเสบหรือฟันผุอย่าง ยอมรับฟันปลอมได้ง่ายกว่าแบบพลาสติก รุนแรงหลายซี่ ตลอดจนผู้ที่ไม่สามารถ และแข็งแรงมากกว่า ข้อเสีย คือ แพงกว่า ทาความสะอาดช่องปากได้อย่างมี แบบพลาสติก และถ้ามีการสูญเสียฟัน ประสิทธิภาพ เนื่องจากฟันปลอมชนิดนี้ ธรรมชาติที่เป็นหลักยึดฟันปลอม จะต้อง จะดูแลง่ายและไม่ส่งผลเสียหายอย่าง ทำฟันปลอมชิ้นใหม่ รุนแรงต่อฟันธรรมชาติที่เหลืออยู่ 3. ฟันปลอมถอดได้ฐำนยืดหยุ่นพิ เศษ ฟันปลอมแบบถอดได้แบ่งตามวัสดุที่ใช้ (Flexible Denture เฟล็กซิเบิล เด็น ทำได้ 3 ชนิด ดังนี้ เชอร์) 1. ฟันปลอมถอดได้ฐานพลาสติก (Acrylic ฟันปลอมถอดได้ฐำนยืดหยุ่นพิ เศษ Denture อคริลิก เด็นเชอร์) (Flexible Denture เฟล็กซิเบิล เด็นเชอร์) มีข้อดี คือ มีความยืดหยุ่น เมื่อคนไข้ใช้งาน มักใส่ชั่วคราวระหว่างรอให้แผลถอนฟัน จะเจ็บน้อยกว่า 2 แบบแรก มีความ หายสนิท มีข้อดีคือ กรณีที่มีการสูญเสีย สวยงาม เนื่องจากตะขอมีสีเหมือนเหงือก ฟันเพิ่ มสามารถเสริมฟันที่หายไปได้ ทำให้มองไม่เห็นตะขอเวลายิ้มหรือพู ด ข้อ สามารถเสริมฐานฟันปลอมให้แนบสนิทกับ เสีย คือ ดูแลรักษายุ่งยากกว่า 2 แบบแรก สันเหงือกที่ยุบตัวลงไปได้ กรณีที่ฟัน เนื่องจากวัสดุมีความพรุน จะเกิดการ ปลอมหลวม ราคาถูก แต่มีข้อเสีย คือ เปลี่ยนสีง่าย ต้องใช้น้ำยาทาความสะอาด ฟันปลอมจะชิ้นใหญ่ และคลุมฟันธรรมชาติ เฉพาะ และอุณหภูมิที่สูงมากๆ จะทำให้วัสดุ มากถ้าทาความสะอาดไม่ดี ฟันธรรมชาติจะ ฐานฟันปลอมเสียความยืดหยุ่นไป ผุได้ และฟันปลอมจะแตกหักได้ง่ายเพราะ วัสดุมีความแข็งแรงน้อย ต้องระวัง ไม่ทำตก หน้าที่ 35/59

ทันตกรรมจัดฟัน ทันตกรรมจัดฟัน คือ สาขาหนึ่งของ คนไข้อาจต้องรับการจัดฟันถ้ามีปัญหา Hexa Ceram Co., Ltd ทันตกรรมซึ่งจะเกี่ยวข้องกับกับการแก้ไขฟัน ต่อไปนี้: และขากรรไกรที่อยู่ ในตำแหน่งที่ไม่ถูกต้อง ฟันยื่นและฟันที่ขบกันไม่พอดีจะทาให้ยากต่อ ฟันบนยื่น ฟันบนยื่นออกมาข้างหน้ามาก การทำความสะอาด และมีความเสี่ยงต่อการ (Upper protrusion) สูญเสียฟันก่อนวัยอันควรเนื่องมาจากฟันผุ ฟันล่างยื่น ฟันล่างยื่นออกมาข้างหน้า และโรคเหงือก นอกจากนี้ยังทำให้เกิดการ มาก (Under bite, Class III) กดทับต่อกล้ามเนื้อที่ใช้ในการบดเคี้ยวซึ่ง ฟันกัดคร่อม ฟันบนไม่สามารถขบได้ สามารถ ทำให้เกิดอาการปวดศีรษะ อาการ พอดีกับฟันล่าง มีลักษณะขบแบบไขว้ ปวดที่ข้อต่อขากรรไกร คอ ไหล่ และหลังได้ (Cross bite) ฟันที่ยื่นหรือไม่อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสมก็ยัง ฟันสบเปิด เมื่อขบฟันและแล้วมีช่องว่าง ทำลายบุคลิกภาพอีกด้วย ประโยชน์ของ เปิดระหว่างฟันบนกับฟันล่าง (Open ทันตกรรมจัดฟันนั้นรวมถึงสุขภาพปากที่ bite) แข็งแรงขึ้น ลักษณะบุคลิกภาพที่น่าพึ งใจ ฟันกัดเบี้ยว จุดศูนย์กลางของฟันบนไม่ กว่าเดิม และฟันที่สามารถจะคงทนไปตลอด ตรงกับฟันล่าง (Midlines) ชีวิต ผู้เชี่ยวชาญในสาขานี้เรียกว่า ฟันห่าง มีช่องว่างระหว่างฟันอันเกิด ทันตแพทย์จัดฟัน ซึ่งจะใช้เวลา 2 ปี หรือ จากฟันหลุดหรือฟันที่ขึ้นไม่เต็ม มากกว่านั้นในการศึกษาในโปรแกรมที่ได้รับ (Spacing) การรับรองจาก ADA (American Dental ฟันซ้อน ฟันที่ขึ้นมามากเกินไปจนเกทับ Association หรือ สมาคมทันตแพทย์ กัน (Crowding) อเมริกัน) นอกเหนือจากเวลา 4 ปีใน โรงเรียนทันตแพทย์ ปัญหาใดที่คนไข้ต้องการทันตกรรมจัดฟัน ปัญหาใดที่คนไข้ต้องการทันตกรรมจัดฟัน การรักษาด้วยทันตกรรมจัดฟันมีหลายวิธีที่ จะช่วยในการจัดฟัน จัดระเบียบกล้ามเนื้อ ทันตแพทย์หรือทันตแพทย์จัดฟันจะสามารถ และขากรรไกร โดยมีทั้งที่เป็นแบบติดถาวร ตัดสินได้ว่าคนไข้ ควรจะจัดฟันหรือไม่ จาก และแบบถอดออกได้ ซึ่งเครื่องมือเหล่านี้จะ การวินิจฉัยด้วยประวัติการรักษาทางการ ทำการดัดฟันและขากรรไกรแบบนุ่มนวล แพทย์และทันตกรรม การตรวจในคลินิค ความรุนแรงของปัญหาของคุณจะเป็นตัว แบบพิ มพ์ ฟันของคนไข้ และภาพเอ็กซเรย์ ตัดสินว่าวิธีการจัดฟันแบบใดที่จะมี ประสิทธิภาพมากที่สุด หน้าที่ 36/59

Hexa Ceram Co., Ltd เครื่องมือจัดฟันแบบติดแน่น: เครื่องมือจัดฟันแบบถอดได้: เหล็กจัดฟัน — เป็นวิธีการที่พบมาก เครื่องมือรักษาช่องว่างของฟันแบบ ที่สุด ประกอบด้วยยาง ลวด หรือเหล็ก ถอดได้ — อุปกรณ์นี้ทำงานเช่นเดียวกับ โดยยางจะติดรอบฟันโดยใช้เป็นตัวยึด อุปกรณ์รักษาช่องว่างของฟันแบบถาวร ของอุปกรณ์ ส่วนเหล็กจะถูกเชื่อมติด โดยทำจากอะคริลิคที่ขนาดพอดีกับขา กับด้านหน้าของฟัน เส้นลวดจะถูกร้อย กรรไกร และมีพลาสติกหรือลวดระหว่าง ผ่านแต่ละเหล็กและยึดติดกับยาง การดึง ฟันที่ต้องการรักษาช่องว่างไว้ ลวดให้ตึงขึ้นจะเป็นการเพิ่ มแรงดึงที่ตัว เครื่องมือจัดตำแหน่งของขากรรไกร — ฟัน และค่อย ๆ เคลื่อนฟันไปยังตำแหน่ง อุปกรณ์นี้สามารถใส่จากขากรรไกรบน ที่เหมาะสม เหล็กดัดฟันจะมีการปรับทุก หรือล่างก็ได้ เพื่ อที่จะจัดตำแหน่งของขา ๆ เดือนเพื่ อให้เกิดผลที่ต้องการ ซึ่งเวลา กรรไกรให้อยู่ในจุดที่เหมาะสม เพื่ อใช้ ที่ใช้ในการจัดฟันอาจเริ่มตั้งแต่ 2-3 แก้ไขอาการข้อต่อขากรรไกรผิดปกติ เดือน จนถึง 2-3 ปี ปัจจุบันนี้ เหล็กจัด เครื่องมือป้องกันริมฝีปากและแก้ม — ฟันมีขนาดเล็กลง เบาลง และดูไม่เป็น อุปกรณ์นี้ไว้ใช้สำหรับกันริมฝีปากและ โลหะเหมือนในอดีต นอกจากนี้ยังมีสีสัน แก้มออกจากฟัน เนื่องจากริมฝีปากและ สดใสสาหรับเด็ก และแบบใสที่ผู้ใหญ่นิยม แก้มสามารถสร้างแรงกดทับที่ฟัน ซึ่ง ใช้อีกด้วย อุปกรณ์นี้จะช่วยลดแรงกดทับ เครื่องมือติดแน่นแบบพิ เศษ — สำหรับ เครื่องมือขยำยขำกรรไกร — อุปกรณ์นี้ ใช้ควบคุมการดูดนิ้ว หรือการใช้ลิ้นดัน จะช่วยขยายขากรรไกรบน โดยมีลักษณะ โดยอุปกรณ์ชนิดนี้จะถูกติดกับฟันด้วย เป็นแผ่นพลาสติกที่ติดพอดีกับเพดาน ยาง เนื่องจากเป็นวิธีที่ไม่สะดวกสบาย ปาก และใช้แรงดันจากภายนอกด้วยการ จึงมักจะใช้เป็นทางเลือกสุดท้าย ขันสกรูจะบังคับให้ข้อต่อขากรรไกรเปิด เครื่องมือรักษาช่องว่างของฟันแบบติด กว้าง ขึ้น แน่น — กรณีที่ฟันน้ำนมหลุดเป็นการ รีเทนเนอร์ (Removable retainers) ถาวร อุปกรณ์รักษาช่องว่างจะถูกใช้ — เครื่องมือนี้จะถูกใส่ที่เพดานปากเพื่ อ จนกว่าฟันแท้จะขึ้น โดยจะใส่ยางติดกับ ป้องกันการเคลื่อนที่ของฟันกลับไปยัง ฟันซี่ถัดจากช่องว่างด้านหนึ่ง และลวด จุดเดิม โดยอาจถูกดัดแปลงเพื่ อป้องกัน จะต่อเข้ากับฟันซี่ถัดจากช่องว่างอีกด้าน การดูดนิ้วได้ด้วย หนึ่ง เครื่องมือจัดฟันภายนอก — เครื่องมือ นี้จะมีสายรัดรอบศรีษะ และต่อเข้ากับ ลวดด้านหน้า โดยเครื่องมือนี้จะช่วย ชะลอการเติบโตของขากรรไกรบน และ รักษาฟันด้านในในอยู่ในตำแหน่งเดิมใน ขณะที่ฟันด้านหน้าจะถูกดึงเข้ามา

เครื่องมือคงสภาพฟัน Retainer เครื่องมือคงสภาพฟันชนิดติดแน่น (Fixed (รีเทนเนอร์) Appliance) ฟิกซ์ รีเทนเนอร์ ในการรักษาทางทันตกรรมจัดฟัน นอกจาก 1. Anti – rotation band (แอนตี้ โรเทชั่น Hexa Ceram Co., Ltd ทันตแพทย์จะต้องเคลื่อนฟันของคนไข้ให้ แบนด์) ใช้ในการคงสภาพฟันที่เคยหมุน อยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้อง สวยงาม มี โดยการทำแบนด์ (band) ที่ฟันซึ่งแก้ไข ประสิทธิภาพในการบดเคี้ยว แล้วสิ่งสาคัญ เรียบร้อยแล้วและเชื่อมเดือยลวด (spurs และจำเป็นอย่างยิ่งคือ ตำแหน่งของฟัน สเพอร์ส) ทางด้านริมฝีปาก (labial หลังการจัดฟันจะต้องคงที่ ถ้าตำแหน่ง เลเบียล) และด้านลิ้น (lingual ลิงกวล) ของฟันคืนกลับไปสู่ตำแหน่งเดิมแล้ว ของแบนด์ โดยให้เดือยลวดแตะกับฟัน ความสวยงามและประสิทธิภาพในการบด ข้างเคียงเพื่ อต้านการคืนกลับ เคี้ยวจะลดลงได้ตามธรรมชาติฟันที่ถูก เคลื่อนไปสู่ตำแหน่งใหม่จะพยายามคืนกลับ 2.Soldered or Bonded lingual เข้าสู่ตำแหน่งหรือสภาพเดิมก่อนการจัด retainer (โซเดอร์ ออร์ บอนดิ้ง ลิงกวล ฟัน ดังนั้นจึงจำเป็นที่ต้องใช้เครื่องมือยึด รีเทนเนอร์) ปกติใช้ในฟันล่าง เพื่ อคง ฟันให้อยู่คงที่ภายหลังการถอดเครื่องมือ สภาพความโค้งของแนวฟันบนสันเหงือก จัดฟัน เรียกว่า เครื่องมือคงสภาพฟัน (arch form อาร์ค ฟอร์ม) ที่ถูกขยายใน Retainer (รีเทนเนอร์) หรือ Retainer ระหว่างการรักษาป้องกันการคืนกลับมา appliance (รีเทนเนอร์ แอพไพลอานซ์) ทางด้านลิ้นของฟันหน้าล่าง ต้านการหมุน ซึ่งเป็นเครื่องมือชิ้นสุดท้ายที่จะช่วย คืนกลับและป้องกันการกัดสบลึกที่นิยมใช้ ควบคุมให้ฟันอยู่ในตำแหน่งที่ต้องการ กันมาก ได้แก่ canine to canine จนกว่าเนื้อเยื่อรอบฟันจะมีการปรับตัวเข้า retainer 3-3 lingual retainer (เคนาย กับตำแหน่งใหม่ของฟันได้ ทู เคนาย รีเทนเนอร์ 3-3 ลิงกวล รีเทน เนอร์) ประกอบด้วย แบนด์ที่ฟันเขี้ยวล่าง เครื่องมือคงสภาพฟัน แบ่งได้เป็น 2 ทั้งสองข้างและ lingual arch (ลิงกวล ประเภท คือ อาชร์) ซึ่งเชื่อมติดกับแบนด์ตำแหน่งของ lingual arch (ลิงกวล อาชร์) ควรวางที่ 1. เครื่องมือคงสภาพฟันชนิดติดแน่น ขอบบนของ 2 ใน 3 ความสูงของฟัน (fixed retainer ฟิกซ์ รีเทนเนอร์) หน้าล่างหรืออยู่ใต้จุดสัมผัสระหว่างฟันซึ่ง จะเป็นตำแหน่งที่ป้องกันการหมุนกลับของ 2. เครื่องมือคงสภาพฟันชนิดถอดได้ ฟันถ้าวางต่ำจะทำให้เป็นที่เกาะของหินปูน (removable retainer รีมูฟวเฟเบิล ได้ง่ายและยากต่อการทำความสะอาด รีเทนเนอร์) เครื่องมือนี้ หน้าที่ 38/59

Hexa Ceram Co., Ltd ในคนไข้บางรายอาจขยายต่อไปยังฟันกราม น้อยซี่แรก ซึ่งเรียกว่า 4 – 4 lingual retainer (4 – 4 ลิงกวล รีเทนเนอร์) หรือ ขยายไปยังฟันกรามน้อยซี่ที่สองและ ฟันกรามได้ ส่วน bonded lingual retainer เป็นการ 2.Soldered or Bonded lingual ดัดแปลงมาจาก soldered lingual retainer (โซเดอร์ ออร์ บอนดิ้ง retainer เพื่ อให้สามารถใส่ทันทีภายหลัง ลิงกวล รีเทนเนอร์) การถอดเครื่องมือจัดฟัน มีข้อดีทั้งทางด้าน ความสวยงาม ลดอัตราเสี่ยงต่อการละลาย ของผิวเคลือบฟัน (decalcification) และ ฟันผุใต้แบนด์ได้ เครื่องมือคงสภาพฟันชนิดถอดได้ (Removable Retainer รีมูฟวเฟเบิ้ล รีเทนเนอร์) 1. Anti – rotation band 1.Hawley retainer เป็นเครื่องมือคงสภาพ (แอนตี้ โรเทชั่น แบนด์) ฟันที่นิยมใช้มากที่สุด ใช้ได้ทั้งในฟันบนและ ฟันล่าง เพื่ อคงสภาพฟันบนและฟันล่าง เพื่ อคงสภาพการเรียงตัวของฟันบนสัน เหงือก เครื่องมืออันบนอาจดัดแปลงโดย การทำแนวกัดสบทางด้านหน้าชนิดระนาบ (flat anterior bite plane) เพื่ อที่ให้ปลาย ฟันล่างแตะอยู่ ป้องกันการคืนกลับของการ กัดสบลึก หรือเมื่อต้องการป้องกันการคืน กลับของฟันหน้าล่างซึ่งถูกดันไปทางด้าน หน้าในระหว่างการรักษา อาจดัดแปลงทำเป็น แนวกัดสบทางด้านหน้าชนิดเอียง (inclined anterior bite plane) (ดังรูปหน้าถัดไป) ส่วนประกอบของ Hawley retainer มี ดังนี้ หน้าที่ 39/59

1.1 Molar cribs ใช้เป็นตัวยึดและป้องกัน 2.Andresen appliance หรือ activator การเคลื่อนที่ของฟันกราม หรือ monobloc เป็นเครื่องมือคงสภาพฟัน และคงสภาพความสัมพั นธ์ของฟันและขา 1.2 Acrylic base plate ใช้ป้องกันการ กรรไกรบนและล่าง มักเลือกใช้คนไข้ที่มีความ เคลื่อนของฟันทางด้านเพดานหรือลิ้น ผิดปกติของขากรรไกร และยังมีการเจริญ เติบโต อยู่ภายหลังการจัดฟัน 1.3 Labial bow ใช้เป็นหลักยึด และช่วยใน การจัดเรียงฟันหน้า 3.Oral screen เป็นเครื่องมือคงสภาพของ Hexa Ceram Co., Ltd ฟันหน้าบนที่ถูกกดเข้า เครื่องมือนี้วางอยู่ ระหว่างฟัน กระพุ้ งแก้มและริมฝีปาก มี ลักษณะเป็นแผ่นอะคริลิก โค้งตามความยาว ตั้งแต่ฟันกรามใหญ่ข้างหนึ่งไปยังอีกข้าง หนึ่งขอบความกว้างของแผ่น อะคริลิกโค้ง ตามความยาวตั้งแต่ฟันกรามใหญ่ข้างหนึ่งไป ยังอีกข้างหนึ่ง ขอบความกว้างของแผ่น อะคริลิกจะอยู่บริเวณ mucobuccal fold ของฐานฟันบนและล่าง ปัจจุบันไม่ค่อยนิยม ใช้ เพราะมีขนาดใหญ่ใส่ไม่สบายและห้ามใช้ใน กรณีคนไข้มีปัญหาของทางเดินหายใจ หน้าที่ 40/59

Hexa Ceram Co., Ltd 4. Positioned เป็นเครื่องมือที่มีความยึด 5. Wraparound retainer เป็นเครื่องมือ หยุ่น ทำด้วยยางหรือพลาสติกชนิดนิ่มเป็น ที่ประกอบด้วย ส่วนของลวดที่ดัดแตะกับ เครื่องมือชิ้นเดี่ยวที่คลุมรอบตัวฟันทุกซี่ใน ด้านหน้าของฟันทุกซี่ในปาก หรือ จากฟัน ขากรรไกรบนและล่างใช้คงสภาพฟันและ กรามข้างหนึ่งไปยังฟันกรามอีกข้างหนึ่ง ความสัมพั นธ์ของฟันบนและล่างแก้นิสัยผิด โดยมี loops บริเวณฟันเขี้ยว ทางด้าน ปกติ เช่น การกลืนผิดปกติ การหายใจทาง เพดานหรือด้านลิ้น เป็นส่วนของแผ่น ปาก เครื่องมือนี้อาจดัดแปลงใช้แก้ไข อะคริลิก เครื่องมือนี้ใช้ควบคุมฟันได้ดี ตำแหน่งของฟันเล็กน้อยได้ โดยการทำ และสามารถใช้ปิดช่องว่างเล็กๆได้ เครื่องมือในแบบจาลองฟันที่จัดเรียงฟัน (set up) ในตำแหน่งที่ต้องการ ขณะใช้ เครื่องมือนี้จะมีแรงเคลื่อนฟันไปยังตำแหน่ง ที่จัดเรียงไว้ประสิทธิภาพของเครื่องมือ ขึ้นกับความร่วมมือของคนไข้แต่มีข้อเสีย คือขนาดใหญ่ 6. Spring retainer เป็นเครื่องมือคง สภาพฟันที่นิยมใช้กับฟันหน้าล่างเท่านั้นใช้ ในรายที่ต้องการคงสภาพตำแหน่งของฟัน หน้าล่างที่เคยช้อนเก และอาจดัดแปลงให้ เป็นเครื่องมือชนิดมีแรงกระทำต่อตัวฟันใน กรณีที่พบว่าฟันซี่นั้นมีการซ้อนเกเกิดขึ้น เล็กน้อยภายหลังการจัดฟัน ทำโดยการจัด ฟัน (set up) หน้าที่ 41/59

ในแบบจำลองฟันให้เป็นระเบียบก่อนทำเครื่อง ผลิตภัณฑ์หลักของ มือประกอบด้วยลวดเส้นเดียวขนาด 0.7 มม. บริษัท เอ็กซา ซีแลม จำกัด ดัดเป็น Loops ที่บริเวณฟันเขี้ยวทั้งสอง ข้างและมีส่วนของอะคริลิกเป็นแถบเล็กๆ งานฟันปลอมชนิดติดแน่น Crown & คลุมบนลวดทั้งด้านริมฝีปากและด้านลิ้น Bridge คราวน์ แอนด์ บริดจ์ ลักษณะของเครื่องมือคงสภาพฟันที่ดี ครอบฟัน Crown (คราวน์) มีทั้งงาน Hexa Ceram Co., Ltd ครอบฟันเซรามิก (*หรือเรียกพอร์ซเลน) 1. ต้องควบคุมตำแหน่งของฟันได้ทุกซี่ ครอบฟันโลหะล้วน (Full Metal Crown 2. ไม่เป็นอุปสรรคขัดขวางต่อการบดเคี้ยว ฟู ล เมทัล คราวน์) และครอบฟันที่ไม่มี 3. ทำความสะอาดได้ง่ายและง่ายต่อการ โลหะ เป็นวิธีการบรูณะฟันธรรมชาติ ที่ รักษาสุขภาพของช่องปาก สูญเสียเนื้อฟันที่ดีออกไปมากเกินกว่าจะ 4. ส่วนประกอบเครื่องมือน้อยแต่มีความ สามารถรักษาด้วยวิธีอื่นๆ เช่น การอุดฟัน แข็งแรงเพี ยงพอที่จะใช้ตลอดระยะเวลาของ ทำ Inlays (อินเลย์) หรือ Onlays (ออน การคงสภาพฟัน เลย์) ได้ ควรทำครอบฟัน เพื่ อคงสภาพ เนื้อฟันที่เหลืออยู่ไว้และทดแทนส่วนที่สูญ เสียไป ในการทำครอบฟัน จำเป็นต้องกรอ เนื้อฟันออกเพื่ อการยึดติดของครอบฟัน ฟันที่รักษารากฟันมาแล้วส่วนใหญ่เนื้อฟัน ที่ดีจะเหลือน้อยและฟันจะเปราะบางกว่า ปกติ ทำให้เกิดการแตกหักได้ง่าย จึงควร เสริมความแข็งแรงของฟันด้วยการทำ ครอบฟันร่วมกับการทำเดือยฟัน (Pin tooth พิ นทูธ หรือ Post and Core โพสท์ แอนด์ คอร์) ฟันที่มีขนาดเล็ก เช่น ฟันหน้าและฟันกรามน้อย หลังจากรักษา รากฟันมาแล้ว ควรที่จะทำเดือยฟันร่วม กับการทำครอบฟัน ส่วนฟันกรามใหญ่ที่มี เนื้อฟันดีเหลืออยู่มากแค่อุดโพรงฟันแล้ว จึงทำครอบฟันก็เพี ยงพอ หน้าที่ 42/59

Hexa Ceram Co., Ltd Crowns Full Metal Crown Porcelain Fused Post&Core Pintooth (FMC) to Metal (PFM) สะพานฟัน Bridge (บริดจ์) เป็นฟันปลอม ที่มีลักษณะใกล้เคียงกับฟันธรรมชาติโดย การกรอฟันซี่ข้างเคียง เพื่ อทำครอบฟันเป็น หลักยึดของสะพานฟันเพื่ อทาฟันปลอม การทำครอบที่ฟันหลักจะช่วยป้องกันฟันผุ และให้ความสวยงาม Porcelain Full Gold Crown Facing Crown (FGC) Bridge Crowns Onlay Inlay หน้าที่ 43/59

งานครอบฟันพอร์ซเลนหรือเซรามิก งานครอบฟันโลหะล้วน (Full Metal (Porcelain or Ceramic) Crown ฟู ล เมทัล คราวน์) ขั้นตอนการผลิต ขั้นตอนการผลิต 1. อ่านและทำความเข้าใจกับใบสั่งงานก่อน 1. อ่านและทำความเข้าใจกับใบสั่งงานก่อน ลงมือทำงาน หากไม่ชัดเจนให้ติดต่อ ลงมือทำงาน หากไม่ชัดเจนให้ติดต่อ ทันตแพทย์ ทันตแพทย์ 2. เทพิ มพ์ แบบฟัน ที่ได้รับทันตแพทย์ 2. เทพิ มพ์ แบบฟัน ที่ได้รับทันตแพทย์ 3. จัดเตรียมโมเดลเพื่ อทางาน จำลองการ 3. จัดเตรียมโมเดลเพื่ อทำงาน จำลองการ สบฟันโดยใช้อุปกรณ์ขากรรไกรจำลอง สบฟันโดยใช้อุปกรณ์ขากรรไกรจำลอง (เข้า Articulator อาร์ติ๊กคูเลเตอร์) (เข้า Articulator อาร์ติ๊กคูเลเตอร์) 4. ขึ้นรูปขี้ผึ้ง (Wax แว๊กซ์), ปักสปรู, นำชิ้น 4. ขึ้นรูปขี้ผึ้ง ปักสปรู หล่อปูนบนแบบขี้ผึ้ง งานขี้ผึ้งลงในเบ้า เทปูนทนไฟ 5. เหวี่ยงและหลอมโลหะ นำชิ้นงานที่ได้มา (Investment อินเวสเมนท์) ลงในเบ้า กรอแต่งและขัดเงา เป่าทรายทำความ เตรียมหลอม สะอาดชิ้นงาน 5. เหวี่ยงและหลอมโลหะ นำชิ้นงานที่ได้มา 6. ตรวจสอบคุณภาพขั้นสุดท้าย (QC – กรอแต่งและขัดเงา เป่าทราย Quality Control คิวซี – ควอลิตี้ 6. เคลือบโอเพคปิดสีโลหะ และขึ้นรูปเซรามิก คอนโทรล) นำเข้าเตาเผาอุณหภูมิ 935 – 950 องศา 7. ออกบิล/ใบกำกับภาษี บรรจุและจัดส่ง เซลเซียล 7. ขัดเงาขอบโลหะ, เป่าทรายทาความสะอาด Hexa Ceram Co., Ltd ชิ้นงาน 8. ตรวจสอบคุณภาพขั้นสุดท้าย (QC – Quality Control คิวซี – ควอลิตี้ คอนโทรล) 9. ออกบิล/ใบกากับภาษี บรรจุและจัดส่ง หน้าที่ 44/59

Hexa Ceram Co., Ltd การปลูกรากฟันเทียมแบบทั่วไป ซึ่งตัวรากเทียมนี้จะช่วยรองรับการใส่ฟัน แบบติดแน่น หรือแบบถอดได้ ทำให้ สามารถใช้งานบดเคี้ยวอาหารได้อย่างมี ประสิทธิภาพเสมือนฟันธรรมชาติ ปัจจุบัน การใส่รากฟันเทียมถือว่าเป็นวิธีที่ดีที่สุดวิธี หนึ่ง ขั้นตอนการปลูกรากฟันเทียมแบบทั่วไป ด้วยวิวัฒนาการด้านเทคโนโลยีและพั ฒนาการ ครั้งที่ 1 การปรึกษาและการตรวจวินิจฉัย ทางเทคนิคและวิธีการทางทันตกรรม ทำให้การ ปลูกรากฟันเทียมไททาเนียมและ การปลูก ทันตแพทย์รากเทียมจะตรวจวินิจฉัย รากฟันเทียมแบบทันทีการปลูกถ่ายกระดูก และถ่ายเอ๊กซเรย์ / CT Scan เพื่ อ สามารถทำได้โดยง่าย และยังช่วยให้มีระดับ วางแผนการรักษาที่ถูกต้องรวมถึงการ ความสำเร็จที่สูงขึ้นอีกด้วย กำหนดวิธีการรักษาที่เหมาะสมที่สุด หากคนไข้สูญเสียฟันมานานแล้วและมี การพั ฒนาด้าน เทคโนโลยีที่ใช้ในการปลูก ปริมาณกระดูกเพี ยงพอ สามารถ รากฟันเทียมและเทคนิคใหม่ๆ ช่วยให้การปลูก ผ่าตัดฝังรากเทียมได้ภายในครั้งแรก รากฟันเทียมแบบทันที และการปลูกรากฟัน เลย แต่หากมีปริมาณกระดูกบริเวณที่ เทียมแบบทันทีพร้อมครอบฟันสามารถทำได้ จะทำรากเทียมไม่เพี ยงพอ ทันตแพทย์ ด้วยระยะเวลาในการรักษาที่สั้นลง จะแนะนำให้ทำการปลูกกระดูกก่อนที่จะ ปลูกรากฟันเทียมต่อไป การทำรากฟันเทียม (Dental Implant) เพื่ อ ทันตแพทย์รากเทียมจะทาการฝัง ทดแทนฟันที่สูญเสียไป แบบธรรมชาติให้ความ รากฟันเทียมลงบนกระดูกรองรับฟัน รู้สึกใกล้เคียงกับฟันธรรมชาติมากที่สุด ซึ่งจะ และทำการเย็บปิดแผล ไม่มีผลข้างเคียงที่จะทำให้เกิดอันตรายในการ ทันตแพทย์จะนัดมาตรวจเช็คแผล และ ปลูกรากฟันเทียม จำเป็นต้องเป็นทันตแพทย์ที่ ตัดไหมประมาณ 7 – 14 วันหลังการ มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านทันตกรรมรากฟัน ผ่าตัด เทียม หลังการผ่าตัดปลูกรากฟันเทียม คนไข้ต้อง ในการรักษาทันตแพทย์จะทาการฝังรากเทียม ใช้เวลารอประมาณ 2 –3 เดือน เพื่ อรอให้ ลงไปในกระดูกขากรรไกร เพื่ อให้กระดูกยึดติด รากฟันเทียมยึดติดกับกระดูกโดยรอบได้ กับตัวรากเทียม สมบูรณ์ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดและคุณสมบัติ ของรากเทียมที่ใช้ หน้าที่ 45/59


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook