Medical Record Audit Guideline ส่งิ ที่ส่งมาด้วย 2 คู่มือ การแสดงเหตุผลการใช้ ยานอกบัญชี ยาหลักแห่งชาติ (ส�ำหรับผู้ป่ วยเฉพาะราย) กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง ตุลาคม 2555 142 คคุณ่มู ือภกาาพรตกรารวบจันปทระึกเมเวนิ ชระเบยี น
Medical Record Audit Guideline บญั ชยี าหลกั แหง่ ชาติ พ.ศ.2555 มเี ปา้ ประสงคเ์ พอื่ สรา้ งเสรมิ ระบบการใชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ล* โดยมุ่งสร้าง “บัญชียาแห่งชาติ” เพ่ือใช้เป็นกลไกหนึ่งในการส่งเสริมระบบการใช้ยาของประเทศ ให้สอดคล้องกับหลักปรัชญาวิถีชีวิตพอเพียง โดยให้มีรายการยาท่ีมีความจ�ำเป็นในการป้องกันและ แก้ไขปัญหาสุขภาพของคนไทย ด้วยกระบวนการคัดเลือกยาท่ีโปร่งใส และการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย ที่เก่ยี วขอ้ ง ยาที่ได้รับการคัดเลือกต้องเป็นยาที่มีประสิทธิภาพจริง สนับสนุนด้วยหลักฐานเชิงประจักษ์ มีประโยชนเ์ หนือความเส่ยี งจากการใชย้ าอยา่ งชดั เจน มคี วามคุ้มค่าตามหลกั เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข สอดคลอ้ งกบั สภาพเศรษฐกจิ และความสามารถในการจา่ ยของสงั คม โดยจดั ใหม้ กี ลไกกลางกำ� กบั สำ� หรบั ผู้ป่วยท่มี ีความจ�ำเป็นจ�ำเพาะให้สามารถเขา้ ถึงยาได้ บญั ชยี าหลกั แหง่ ชาตฉิ บบั น้ี มคี ณุ สมบตั เิ ปน็ บญั ชยี ายงั ผล (effective list) เพอื่ ใหร้ ะบบประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ระบบประกนั สงั คม ระบบสวสั ดกิ ารรกั ษาพยาบาลขา้ ราชการ พนกั งานองคก์ รปกครอง ส่วนท้องถิ่น และระบบสวัสดิการอ่ืนๆ สามารถอ้างอิงเป็นสิทธิประโยชน์ด้านยา (pharmaceutical benefit scheme) โดยเกดิ เสถยี รภาพและเปน็ ธรรมในระบบบรกิ ารสาธารณสขุ ของประเทศ *องค์การอนามัยโลก (1985) ก�ำหนดว่า การใช้ยาอย่างสมเหตุผลหมายถึง “การใช้ยาตามความจ�ำเป็น ทางคลนิ กิ ของผู้ปว่ ย ดว้ ยขนาดยาและระยะเวลาการรักษาทีเ่ หมาะสม โดยมีคา่ ใชจ้ ่ายต่อตัวผูป้ ว่ ยและชุมชน (หรอื ประเทศ) ต่�ำที่สุด” คำ� อธิบายประกอบเหตุผลการใช้ยานอกบญั ชียาหลกั แห่งชาติ สืบเน่ืองจากกรมบัญชีกลางได้เปิดช่องทางให้แพทย์ส่ังใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาตบิ างรายการ ได้ส�ำหรับผู้ป่วยเฉพาะรายที่มีความจ�ำเป็น เพ่ือการเบิกจ่ายค่ายาแบบผู้ป่วยนอก แต่พบว่ามีการน�ำช่องทาง ดังกล่าวไปใช้เพ่ือส่ังยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติกับผู้ป่วยทั่วไปจ�ำนวนมากในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาล ข้าราชการท้ังที่มียาในบัญชียาหลักแห่งชาติให้เลือกใช้ ซ่ึงเป็นการสร้างภาระทางด้านงบประมาณให้แก่รัฐ เกินความจ�ำเปน็ ในเดือนเมษายน 2553 กรมบัญชีกลางจึงได้ขอความร่วมมือให้แพทย์ผู้ท�ำการรักษาออกหนังสือ รับรองการใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติพร้อมแสดงเหตุผลที่ชี้ให้เห็นถึงความจ�ำเป็นส�ำหรับผู้ป่วยแต่ละราย ท่ีท�ำให้ไม่สามารถใช้ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติได้ ซ่ึงหากไม่แสดงเหตุผลหรือแสดงเหตุผลท่ีไม่เหมาะสม กรมบญั ชกี ลางจะเรยี กเงนิ คนื ในทกุ กรณี ทง้ั น้ี กรมบญั ชกี ลางตอ้ งการใหม้ กี ารพจิ ารณาใชย้ าในบญั ชยี าหลกั แห่งชาตกิ อ่ นเสมอ จากการตรวจสอบพบว่าสถานพยาบาลได้จัดท�ำวิธีแสดงเหตุผลที่หลากหลาย และอาจไม่สอดคล้อง กับเป้าประสงค์ในการแสดงเหตุผล ซ่ึงต้องการเหตุผลที่ชัดเจนว่าเหตุใดจึงใช้ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ ไม่ได้ คณุ ภาพคกู่มาือรบกันารทตกึ รเววชจรปะรเบะเียมนนิ 143
Medical Record Audit Guideline กรมบัญชีกลางจึงได้จัดท�ำแนวทางการแสดงเหตุผลที่ไม่สามารถใช้ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ (สำ� หรบั ผปู้ ว่ ยเฉพาะราย) เพอ่ื ประกอบการเบกิ จา่ ยขน้ึ เพอื่ ใหส้ ถานพยาบาลและแพทยน์ ำ� ไปใชใ้ หเ้ ปน็ มาตรฐาน เดียวกนั ดงั นค้ี ือ ก. ใหแ้ พทยผ์ ู้รักษาระบุการวินจิ ฉยั โรคใหช้ ดั เจนลงในเวชระเบยี น ข. มีรายละเอียดการใช้ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ และลักษณะทางคลินิกของผู้ป่วยท่ีเป็นสาเหตุ ใหไ้ มส่ ามารถใชย้ าเหลา่ นั้นไดใ้ นเวชระเบียน ซ่งึ สามารถอธบิ ายการใชเ้ หตผุ ลข้อใดข้อหน่งึ ตามขอ้ ค. ได้อยา่ ง พอเพียงตอ่ การประเมินของผ้ตู รวจสอบจากกรมบญั ชีกลาง ค. ระบเุ หตผุ ลหลกั ขอ้ ใดขอ้ หนง่ึ ใน 6 ขอ้ หลงั ชอ่ื ยานอกบญั ชยี าหลกั แหง่ ชาตแิ ตล่ ะชอ่ื ในเวชระเบยี น (ระบุเฉพาะอกั ษร A ถงึ F) เหตุผลดังกล่าวประกอบด้วย A. เกดิ อาการไมพ่ งึ ประสงค์จากยาหรอื แพย้ าท่ีสามารถใชไ้ ด้ในบัญชียาหลักแหง่ ชาติ B. ผลการรกั ษาไม่บรรลเุ ปา้ หมายแม้วา่ ได้ใชย้ าในบัญชียาหลกั แห่งชาตคิ รบตามมาตรฐาน การรักษาแล้ว C. ไม่มีกลุ่มยาในบัญชียาหลักแห่งชาติให้ใช้ แต่ผู้ป่วยมีความจ�ำเป็นในการใช้ยานี้ตามข้อบ่งใช้ ท่ไี ด้ขึน้ ทะเบียนไวก้ บั สำ� นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา D. ผปู้ ว่ ยมภี าวะหรอื โรคทหี่ า้ มใชย้ าในบญั ชอี ยา่ งสมั บรู ณ์ (absolute contraindication) หรอื มี ข้อหา้ มการใชย้ าในบญั ชรี ่วมกบั ยาอน่ื (contraindicated/serious/major drug interaction) ท่ผี ู้ปว่ ยจ�ำเป็น ต้องใชอ้ ย่างหลกี เลย่ี งไม่ได้ E. ยาในบัญชียาหลักแห่งชาตมิ ีราคาแพงกวา่ (ในเชิงความคุม้ คา่ ) F. ผู้ปว่ ยแสดงความจำ� นงต้องการ (เบิกไม่ได้) หากมกี ารปฏบิ ตั ทิ ไี่ มส่ อดคลอ้ งกบั แนวทางทรี่ ะบไุ วใ้ นคำ� อธบิ ายประกอบการใชเ้ หตผุ ลในแตล่ ะขอ้ อาจ สง่ ผลใหส้ ถานพยาบาลถูกเรียกเงนิ คืนเมือ่ มกี ารตรวจสอบจากกรมบญั ชีกลาง 144 คคณุู่มือภกาาพรตกรารวบจันปทระึกเมเวนิ ชระเบียน
Medical Record Audit Guideline คำ� อธบิ ายประกอบการใช้เหตผุ ลในแตล่ ะขอ้ เพ่อื ใหแ้ สดงเหตผุ ลประกอบได้อย่างเหมาะสม เหตุผล ตัวอยา่ งวธิ กี ารพิจารณาความเหมาะสมของการใช้เหตผุ ล A. เกิดอาการไม่พึงประสงค์ การใชเ้ หตุผลขอ้ น้ี มีขอ้ ควรระวงั และขอ้ ควรทราบดงั นี้ จากยาหรือแพ้ยาที่สามารถ A1 การใช้เหตุผลในข้อน้ี ผู้ป่วยต้องได้รับยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ ใชไ้ ด้ในบญั ชยี าหลักแหง่ ชาติ มาก่อน แล้วเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยาหรือแพ้ยาและไม่สามารถ เกดิ อาการไมพ่ งึ ประสงคจ์ ากยา หายารายการอ่นื ในบัญชียาหลักแห่งชาติมาใชท้ ดแทน หมายถึง อาการไม่พงึ ประสงค์ A2 การสั่งใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ ในกลุ่ม ACEI เนื่องจาก ชนดิ ทท่ี ำ� ใหผ้ ปู้ ว่ ยไมส่ ามารถใช้ “เกรงว่าผู้ป่วยจะมีอาการไอจาก enalapril (ก)” เป็นการใช้เหตุผล ยาเดมิ ไดต้ ่อไป แพ้ยา หมายถึง ที่ไม่เหมาะสม เน่อื งจากอาการไมพ่ ึงประสงคด์ ังกล่าวยังไม่เกดิ ขึน้ และ มีประวัติแพ้ยาในบัญชียาหลัก หากเกิดข้ึนยังมียาลดความดันเลือดในหมวดอื่นตามบัญชียาหลักแห่งชาติ แห่งชาติหรือเกิดอาการแพ้ยา ใหเ้ ลอื กใช้อีกหลายกลุ่ม หลังการใช้ยาในบัญชียาหลัก A3 การสั่งใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ ในกลุ่ม coxibs เนื่องจาก แห่งชาติ “ผปู้ ว่ ยมอี าการแสบท้องจากการใช้ ibuprofen (ก)” เป็นการใช้เหตผุ ล ขอ้ พึงปฏบิ ัติ ทไี่ มเ่ หมาะสม เนอื่ งจากอาการดงั กลา่ วอาจปอ้ งกนั ไดด้ ว้ ยการให้ gastro ต้องมีบันทึกในเวชระเบียน protective agent ร่วมดว้ ย เช่นomeprazole (ก) ท่ีระบุช่ือยาในบัญชียาหลัก คำ� เตอื น การส่งั ใช้ยานอกบัญชยี าหลกั แหง่ ชาติ ในกลุม่ coxibs ใหก้ ับ แหง่ ชาตแิ ละลกั ษณะทางคลนิ กิ ผู้ป่วยท่ีมีความเส่ียงต่อการเกิด GI event ผู้สั่งใช้ยาควรพิจารณา ของผู้ป่วยท่ีกล่าวถึงอาการ หลักฐานเชิงประจักษ์จาก HealthTechnology Assessment ไ ม ่ พึ ง ป ร ะ ส ง ค ์ จ า ก ย า ห รื อ (Chen 2008) ซึง่ พบวา่ การใช้ coxibs ทุกชนดิ ใหค้ ุณภาพชีวติ ที่ติดลบ การแพย้ าตามทก่ี ลา่ วมาขา้ งตน้ (QALY loss) เม่ือเทยี บกบั การใช้ ibuprofen + genericomeprazole ทัง้ ในกลุม่ ผูป้ ่วยท่ัวไปและกลุม่ ผู้ป่วยทมี่ คี วามเสี่ยงต่อการเกดิ GI event ทั้งน้ีเน่ืองจาก coxibs มี excess risk ต่อ ระบบหลอดเลือดหัวใจ และสมอง และอนั ตรายดังกลา่ วไม่ขนึ้ กับ baseline risk ของโรคหัวใจ หรือระยะเวลาในการใชย้ า (BNF 63) หมายความวา่ coxibs ทกุ ชนดิ มคี ณุ สมบัติเป็น prothrombotic agent ซงึ่ อาจท�ำใหเ้ กดิ myocardial infarction หรือ stroke ได้กับผู้ท่ีใช้ยาแม้ไม่มีประวัติโรคหัวใจหรือ เป็นการใช้ยาในระยะสั้น สถานพยาบาลจึงควรตรวจสอบไม่ให้ผู้ป่วย ได้รับยาในกลมุ่ coxibs บอ่ ยเกินความจ�ำเปน็ คณุ ภาพคกูม่ าอืรบกนัารทตกึ รเววชจรปะรเบะเยีมนิน 145
Medical Record Audit Guideline เหตผุ ล ตัวอยา่ งวิธีการพิจารณาความเหมาะสมของการใชเ้ หตุผล B. ผลการรกั ษาไม่บรรลุ การใชเ้ หตผุ ลขอ้ น้ี มีข้อควรระวังและขอ้ ควรทราบดงั น้ี เป้าหมายแม้ว่าได้ใช้ยาใน B1 การใชย้ าลดไขมนั ในเลอื ดนอกบญั ชยี าหลกั แหง่ ชาติ เชน่ ezetimibe, บญั ชยี าหลกั แหง่ ชาตคิ รบตาม rosuvastatin และยาอ่ืนๆ การที่จะใช้เหตุผลข้อน้ีได้อย่างเหมาะสม มาตรฐานการรกั ษาแล้ว ต้องมีบันทึกในเวชระเบียนว่าผู้ป่วยได้รับยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ หมายถงึ ผปู้ ว่ ยไดร้ บั ยาในบญั ชี ไดแ้ ก่ simvastatin (ก) และ/หรือ atorvastatin (40 mg) (ค) ร่วมกับ ยาหลกั แหง่ ชาติดว้ ยขนาดยาที่ ได้รับค�ำแนะน�ำให้ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตอย่างเหมาะสมมาเป็นระยะเวลา เหมาะสมเป็น ระยะเวลานาน นานพอสมควรแล้ว แต่ยังไม่สามารถควบคุมระดับไขมันในเลือดได้ตาม พอที่จะสรุปได้ว่าการรักษา เป้าหมายตามหลักฐานทางการแพทย์ ผู้ป่วยท่ีอาจมีความจ�ำเป็นต้องใช้ ไม่บรรลุเป้าหมายที่ต้องการ ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ ด้วยเหตุผลนี้จะมีสัดส่วนไม่เกินร้อยละ 5 และไม่มียาอื่นในบัญชียาหลัก ของผปู้ ว่ ยท้ังหมด (Department of Defense Pharmacoeconomic แห่งชาติ ซ่ึงเป็นยาในกลุ่ม Center. MTF Formulary Management for Antilipidemic I Drugs เ ดี ย ว กั น ห รื อ ต ่ า ง ก ลุ ่ ม กั น (Statins and Adjuncts), 2008) เพื่อป้องกันการถูกเรียกเงินคืนจาก ที่สามารถน�ำมาใช้ร่วมหรือ กรมบัญชีกลาง สถานพยาบาลจึงควรตรวจสอบการใช้ยานอกบัญชี ใช้ทดแทนยาดังกล่าวได้ข้อ ยาหลักแห่งชาติในหมวดน้ีว่าถูกใช้อย่างเป็นสัดส่วนท่ีเหมาะสมหรือไม่ พึ ง ป ฏิ บั ติ ต ้ อ ง มี บั น ทึ ก ใ น หากมีสัดส่วนที่ไม่เหมาะสม สถานพยาบาลควรหามาตรการควบคุม เวชระเบยี นทรี่ ะบชุ อื่ ยาในบญั ชี การใช้ใหเ้ ป็นไปอยา่ งสมเหตผุ ลและคมุ้ ค่า ยาหลักแห่งชาติและลักษณะ B2 การใช้ยาควบคุมระดับกลูโคสในเลือดนอกบัญชียาหลักแห่งชาติ ทางคลินิกของผู้ป่วยที่ระบุผล เช่น gliptins และยาอื่นๆ การที่จะใช้เหตุผลข้อน้ีได้อย่างเหมาะสม การรกั ษาตามทกี่ ลา่ วมาขา้ งตน้ ตอ้ งมบี นั ทกึ ในเวชระเบยี นวา่ ผปู้ ว่ ยไดร้ บั ยาในบญั ชยี าหลกั แหง่ ชาติ ไดแ้ ก่ เชน่ มีผลการตรวจระดบั ไขมัน metformin (ก) และ sulfonylurea เชน่ glipizide (ก) หรอื repaglinide ในเลือดก่อนการเปลยี่ นยา (ง) ในผปู้ ว่ ยทแ่ี พ้ sulfonamides และ α-glucosidase inhibitors ไดแ้ ก่ acarbose (ค) และ pioglitazone (ง) แล้วแตย่ ังควบคมุ ระดับกลูโคส และ HbA1c ไม่ได้ตามเป้าหมายท่ตี อ้ งการ C. ไมม่ กี ลมุ่ ยาในบญั ชยี าหลกั การใช้เหตผุ ลขอ้ น้ี มีข้อควรระวงั และข้อควรทราบดังนี้ แห่งชาติให้ใช้ แต่ผู้ป่วยมี C1 การใช้เหตุผลข้อนี้ในการใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาตินั้น ความจ�ำเป็นในการใช้ยานี้ เกิดขึ้นได้น้อยมาก ท้ังนี้ เน่ืองจากรายการยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ ตามข้อบ่งใช้ท่ีได้ขึ้นทะเบียน ไดร้ บั การปรบั ปรงุ ใหด้ ขี น้ึ ตลอดเวลาและในการใชย้ ามกี ลไกอนื่ ซง่ึ อนญุ าต ไวก้ บั สำ� นกั งานคณะกรรมการ ให้มีการใช้ยาบางชนิดที่ไม่ได้อยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติอยู่แล้ว เช่น อาหารและยา บัญชีรายการยาก�ำพร้า (ตัวอย่างยา dacarbazine) และกลไกของ การใช้เหตุผลข้อนี้หมายถึง กรมบัญชีกลาง ท่ีประกาศอนุญาตให้ใช้ยาบางรายการท่ีไม่อยู่ในบัญชี ผ้ปู ว่ ยมโี รค ภาวะ หรอื อาการที่ ยาหลักแห่งชาติได้ โดยถือเป็น reimbursable indication ของยาที่ 146 คคมุณู่ อื ภกาาพรตกรารวบจันปทระกึ เมเวนิ ชระเบียน
Medical Record Audit Guideline เหตุผล ตวั อย่างวธิ กี ารพจิ ารณาความเหมาะสมของการใชเ้ หตผุ ล ไม่สามารถหาตัวยาในบัญชี กรมบัญชีกลางได้ประกาศไว้แล้ว (ตัวอย่างยา rituximab ในผู้ป่วย ยาหลักแห่งชาติมาใช้เพ่ือ diffuse large-B-cell lymphoma) รักษาได้ โดยมีหลักฐาน C2 การตีความวา่ ไม่มี coxibs, saw palmetto extract, omega-3 สนับสนุนการใช้ยานอกบัญชี capsule (และกลุ่มยาต่างๆ อีกหลายกลมุ่ ยา) ใหใ้ ช้ จงึ นำ� ยาเหล่าน้นั ยาหลักแห่งชาติ ซ่ึงหมายถึง มาใช้ภายใต้เหตุผลข้อน้ีเป็นการใช้เหตุผลที่ไม่เหมาะสม เนื่องจากยังมี ก า ร ที่ แ พ ท ย ์ ไ ด ้ พิ จ า ร ณ า ยากลุ่มอ่ืนๆ ที่เป็นยาในบัญชียาหลักแห่งชาติท่ีน�ำมารักษาโรค หรือ องค์ประกอบส�ำคัญในการ อาการภายใต้ข้อบ่งชี้ของยาเหล่าน้ันได้ เช่น NSAIDs ใช้ในข้อบ่งชี้ ใช้ยาอย่างสมเหตุผลอย่าง เดียวกนั กบั coxibs หรอื ใช้ α-1-adrenergic antagonists ในขอ้ บ่งชี้ ครบถ้วนแล้ว ได้แก่ ความ เดียวกนั กบั saw palmetto extract และใช้ statins หรือ fibrates จ�ำเป็นทางคลินิกหลักฐาน ในขอ้ บง่ ชีเ้ ดยี วกันกับ omega-3 capsule เป็นต้น เ ชิ ง ป ร ะ จั ก ษ ์ ที่ ส นั บ ส นุ น C3 ควรมีหลักฐานเชิงประจักษ์ที่เป็นปัจจุบันและมีคุณภาพท่ียืนยันว่า ประสิทธิผลของยา หลักฐาน ยาดังกล่าวมีประสิทธิผลจริงอย่างมีนัยส�ำคัญทางคลินิก ตัวอย่างเช่น ด้านความปลอดภัยของยา การสง่ั ใชย้ าในกลมุ่ antiinflammatory enzymes (เชน่ serratiopep- และหลักฐานด้านความคุ้มค่า tidase) หรือยาละลายเสมหะ (เชน่ acetylcysteine) โดยใชเ้ หตุผลวา่ ของยาในบรบิ ทของสังคมไทย ไม่มียาดังกล่าวให้ใช้ เป็นการใช้เหตุผลท่ีไม่เหมาะสม เนื่องจากไม่มี หลักฐานเชิงประจักษ์ท่ีเป็นปัจจุบันและมีคุณภาพที่ยืนยันประสิทธิผล ของยาเหล่าน้ี ซ่ึงเป็นสาเหตุที่ไม่ได้บรรจุยาเหล่านี้ไว้ในบัญชียาหลัก แห่งชาติ C4 ควรมีหลักฐานว่ายาดังกล่าวมีความปลอดภัย หมายถึงผู้ป่วย ได้รับประโยชน์เหนือความเส่ียงจากการใช้ยาอย่างชัดเจน ตัวอย่างเช่น ยาต่อไปนี้ไม่อยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติด้วยเหตุผลด้านความปลอดภัย การส่ังใชย้ าเหลา่ น้ีดว้ ยเหตผุ ลขอ้ น้ี จึงเป็นการใชเ้ หตุผลท่ไี ม่เหมาะสม • cinnarizine และ flunarizine ชักน�ำใหเ้ กิด parkinsonism • cisapride อาจชักน�ำให้เกิด QT prolongation และมี drug interaction กบั ยาหลายชนดิ ทอี่ าจทำ� ใหเ้ กดิ ภาวะหวั ใจเสยี จงั หวะ ซึ่งเป็นอนั ตรายถงึ ชีวติ • fenoverine ชกั น�ำให้เกิด rhabdomyolysis • muscle relaxants เช่น orphenadrine เป็นยาที่ไม่เหมาะสม ส�ำหรับผูส้ ูงอายตุ าม Beers Criteria 2012 • nimesulide ชกั นำ� ใหเ้ กิด fatal hepatotoxicity คณุ ภาพคกมู่ าอืรบกนัารทตกึ รเววชจรปะรเบะเยีมนิน 147
Medical Record Audit Guideline เหตุผล ตัวอย่างวิธีการพจิ ารณาความเหมาะสมของการใชเ้ หตผุ ล • short acting calcium channel blockers (เช่น nifedipine/ diltiazem ชนิด immediate release) เพ่ิมอัตราการเสียชีวิต ของผู้ป่วยความดนั เลือดสูงที่ใช้ยาดังกลา่ ว C5 ควรทราบว่ามียานอกบัญชียาหลักแห่งชาติหลายชนิดที่ไม่ได้รับ การคัดเลือกเป็นยาในบัญชียาหลักแห่งชาติด้วยเหตุผลด้านความ ไม่ปลอดภัยและต่อมายาเหล่าน้ันได้ถอนการจ�ำหน่ายทั่วโลก โดยที่ ยาเหล่านี้เคยเป็นยาท่ีถูกส่ังจ่ายบ่อยครั้งแก่ผู้รับสวัสดิการรักษา พยาบาลข้าราชการ อันเป็นการเพ่ิมความเส่ียงต่อผู้ป่วยโดยไม่จ�ำเป็น ตวั อยา่ งยาเหล่าน้นั ได้แก่ • gatifloxacin • tegaserod • valdecoxib • rofecoxib • rosiglitazone C6 ควรมีหลักฐานว่ายาดังกล่าวมีความคุ้มค่าตามหลักเศรษฐศาสตร์ สาธารณสขุ หมายถงึ ผสู้ ง่ั ยามหี ลกั ฐานจากงานวจิ ยั ทรี่ ะบวุ า่ ยาดงั กลา่ วมี ความคมุ้ คา่ ไดแ้ กม่ หี ลกั ฐานแสดง cost-benefit หรอื cost-effective หรือ cost-utility ท่ีระบุว่ายาดงั กลา่ วมี incremental cost effec- tiveness ratio (ICER) ตำ่� กว่า 1 เท่าของ GDPของประเทศไทย ได้แก่ ไมเ่ กิน 120,000 บาท ต่อ QALY gain (ประมาณ 2,400 ปอนด์ หรือ 4,000 ดอลลาร์ ต่อ QALY gain) ตวั อย่างเชน่ • การใช้ bisphosphonate ซึ่งเป็นยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ ในการป้องกันกระดูกหักจากโรค osteoporosis แบบปฐมภูมิ (primary prevention) มีหลักฐานจากการศึกษาในประเทศไทย ว่าหากเรมิ่ ให้ยากับผู้ท่ีมอี ายุ 45 ปีการใชย้ าเหลา่ นี้ จะมีค่าใชจ้ ่าย ต่อ QALY gain 1.72 ล้านบาท และหากเริ่มให้ยากับผู้ที่มีอายุ 80 ปี ก็ยังมีคา่ ใช้จา่ ยต่อ QALY gain ที่ 1.87 แสนบาท แสดงให้ เหน็ วา่ การใช้ยากลุ่มนี้ ยงั ไมม่ ีความคุม้ ค่าตามเกณฑม์ าตรฐานของ ประเทศไทย จนกระทง่ั ยามรี าคา ลดลงรอ้ ยละ 80 จงึ จะเรมิ่ มคี วาม คุ้มค่ากบั ผู้ทม่ี อี ายุตง้ั แต่ 55 ปขี ึ้นไป (ธนนรรจ์รัตนโชตพิ านชิ และ คณะส�ำนกั งานวจิ ยั เพอื่ การพัฒนาหลกั ประกนั สขุ ภาพไทย 2554) 148 คคมุณู่ ือภกาาพรตกรารวบจนัปทระกึ เมเวินชระเบียน
Medical Record Audit Guideline เหตุผล ตัวอยา่ งวธิ กี ารพิจารณาความเหมาะสมของการใช้เหตผุ ล • การใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ coxibs เทียบกับ NSAIDs (ibuprofen หรือ diclofenac ซึ่งเป็นยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ บัญชี ก.) พบว่า มีค่าใช้จ่ายต่อ QALY gain ดังนี้ celecoxib (low dose) £68,400; celecoxib (high dose) £151,000; etoricoxib £31,300; meloxicam (low dose) £10,300; meloxicam (high dose) £17,800 www.hta.ac.uk/fullmono/ mon1211. pdf จึงกล่าวได้ว่า celecoxib กับ etoricoxib ต่าง ไม่มีความคุ้มค่าในบริบทของสังคมอังกฤษ (สหราชอาณาจักร ใช้เกณฑค์ วามคุ้มคา่ ที่ £30,000 ตอ่ QALY gain) และอาจอนมุ าน ได้ว่า coxibs ทุกชนิดไม่มีความคุ้มค่าเมื่อเทียบกับยาในบัญชี ยาหลักแหง่ ชาติภายใต้บริบทของสงั คมไทย • การใช้ PPI นอกบัญชียาหลักแห่งชาติ เช่น esomeprazole (20 หรือ 40 mg) ในการรักษาโรค GERD ช่วยให้ผู้ป่วย (808 คน) มคี ณุ ภาพชวี ติ เพมิ่ ขน้ึ 0.071 QALM (quality- adjusted life month) เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม (445 คน) ที่ใช้ PPI ชนิดอ่ืน หรือ H2 receptor antagonist ดว้ ยคา่ ใชจ้ า่ ยทเ่ี พมิ่ ขนึ้ $763 ตอ่ QALM gain (Spiegel BM. 2010) หรอื คิดเปน็ 274,680 บาทต่อ QALY gain ซง่ึ เกนิ กวา่ คา่ ความคมุ้ คา่ ในบรบิ ทของสงั คมไทยไปประมาณ 2 เทา่ เศษ หมายเหตุ ค่า QALM gain 0.071 หน่วย หมายความว่า การใช้ esomeprazole นาน 4 สปั ดาห์ ชว่ ยใหผ้ ู้ปว่ ยโรค GERD มีระยะเวลา ท่ีปราศจากอาการของโรคได้นานกว่ายาอื่น 2 วนั ด้วยคา่ ยา 1,076-1,700 บาท (ขึ้นกับขนาดยาที่ใช้) D. ผู้ป่วยมีภาวะหรือโรคที่ การใช้เหตผุ ลขอ้ นี้ มขี อ้ ควรระวังและขอ้ ควรทราบดงั นี้ ห้ามใช้ยาในบัญชียาหลัก D1 ขอ้ ห้ามใช้ ควรเป็น absolute contraindication ไมใ่ ช่ relative แหง่ ชาตอิ ยา่ งสมั บรู ณ์ (abso- contraindication หรือ precaution ซ่ึงมวี ิธีการหลกี เล่ยี งหรอื บรรเทา lute contraindication) อันตรายจากยา หรือมีข้อห้ามการใช้ยาใน D2 ปญั หาอนั ตรกริ ยิ า ควรเปน็ อนั ตรกริ ยิ าทที่ ำ� ใหไ้ มส่ ามารถใชย้ าทง้ั สอง บญั ขยี าหบกั แหง่ ชาตริ ว่ มกบั รว่ มกนั ไดอ้ นง่ึ ในกรณสี ว่ นใหญป่ ญั หาจากอนั ตรกริ ยิ าอาจถกู แกไ้ ขไดด้ ว้ ย ยาอ่ืน (contraindicated/ การปรับเปลี่ยนขนาดยาหรือวิธีให้ยา หรือเป็นเพียงข้อควรระวังเพ่ือให้ serious/major drug inter- แพทย์ติดตามผลของการใช้ยารว่ มกัน อยา่ งใกลช้ ดิ action) ที่ผู้ป่วยจ�ำเป็นต้อง ใชอ้ ยา่ งหลีกเล่ียงไมไ่ ด้ คุณภาพคกูม่ าอืรบกันารทตึกรเววชจรปะรเบะเยีมนนิ 149
Medical Record Audit Guideline เหตผุ ล ตวั อยา่ งวธิ กี ารพิจารณาความเหมาะสมของการใชเ้ หตุผล ข้อห้ามอย่างสัมบูรณ์ (abso- หมายเหตุ ข้อมูลข้างต้นควรมีแหล่งอ้างอิงจากฐานข้อมูลยาฐานใด lut contraindication) ฐานหนง่ึ หรอื คมู่ อื ยาฉบบั ใดฉบบั หนงึ่ ทเี่ ปน็ มาตรฐาน เชน่ เอกสารกำ� กบั หมายถึง ไม่มีกรณีใดที่การ ยาท่ีได้รับอนุมัติจากส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา Summary ใข้ยาจะมีประโยชน์เหนือ of Product Characteristics (SPC), US FD official drug labeling, อันตรายจากการใช้ยาในผู้ป่วย Micromedex, Lexicomp, Clinical Pharmacology หรือ British ซงึ่ การใชย้ าจะนำ� อนั ตรายรา้ น National Formulary เป็นต้น แรงสู่ผู้ป่วยหรือทารกในครรภ์ หรอื ทารกที่ดูดนมมารดา ข้อหา้ มการใชย้ ารว่ มกบั ยาอน่ื (contra-indicated/serious/ major drug inter-action) หมายถึง ยาที่มีอันตรกิริยา ต่อกันท่ีท�ำให้เกิดอันตรายต่อ ผู้ป่วยในลักษณะท่ีจัดเป็นข้อ ห้ามใช้ (contraindicated) หรือถูกระบุว่าเป็นอันตรกิริยา ท่ีมีผลเสียต่อผู้ป่วยข้ันรุนแรง (serious) หรอื เปน็ อนั ตรกริ ยิ า ระดับรนุ แรง (major) ข้อพึงปฏบิ ตั ิ ต้องมีบันทึกในเวชระเบียน ท่ี ร ะ บุช่ือยา ใน บัญชีหลัก แ ห ่ ง ช า ติ แ ล ะ ลั ก ษ ณ ะ ท า ง ค ลิ นิ ก ข อ ง ผู ้ ป ่ ว ย ท่ี ท� ำ ใ ห ้ ไม่สามารถใช้ยาแตล่ ะชนดิ ได้ E. ยาในบญั ชยี าหลกั แหง่ ชาติ การใช้เหตุผลขอ้ น้ี มีข้อควรระวังและข้อควรทราบดงั นี้ ราคาแพงกว่า (ในเชิงความ E1 มีความเป็นไปได้ท่ียานอกบัญชีหลักแห่งชาติบางชนิดอาจเข้าเกณฑ์ คมุ้ ค่า) ตามความหมายในข้อนี้ เช่น voriconazole ชนิดกินมีราคาถูกกว่า การใช้เหตุผลในข้อน้ี หมายถงึ liposomal amphotericin B แต่ยานี้ยังไม่ถูกประกาศเป็นยาในบัญชี ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ ยาหลักแห่งชาติ ซ่ึงความล่าช้าดังกล่าวอาจเกิดข้ึนจากเหตุผลหลาย ท่ีให้ผลการรักษาท่ีเท่ากัน ประการ เช่น ก�ำลังอยู่ในข้ันตอนการพิจารณาของคณะท�ำงานฯ ก�ำลัง หรอื ดีกวา่ หรอื มวี ิธีบริหารยา อยใู่ นขั้นตอนการต่อรองราคา ก�ำลังอยู่ในข้ันตอนการจดั ทำ� คู่มอื การใช้ยา 150 คคุู่มณอื ภกาาพรตกรารวบจนัปทระกึ เมเวนิ ชระเบียน
Medical Record Audit Guideline เหตุผล ตัวอยา่ งวิธีการพิจารณาความเหมาะสมของการใชเ้ หตุผล ทสี่ ะดวกกวา่ โดยมรี าคาถกู กวา่ (หากดป็นยาในบัญชี จ2) หรืออยู่ในระหว่างการรอผู้มีอ�ำนาจลงนาม ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ ในประกาศ เป็นต้น อี ก ทั้ ง ยั ง มี ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย E2 การพิจารณาว่ายาในบัญชียาหลักแห่งชาติมีราคาแพงกว่าน้ัน ท่ีไม่แตกต่างกันหรือดีกว่า ให้ใชพ้ นื้ ฐานราคาของยาชอื่ สามัญเปน็ หลัก ยาในบัญชียาหลกั แห่งชาติ E3 เหตุผลข้อนี้เป็นไปตามค�ำจ�ำกัดความของการใช้ยาอย่างสมเหตุผล หมายเหตุ ขององค์การอนามัยโลกท่ีมีใจความโดยย่อว่า การใช้ยาอย่างสมเหตุผล ราคายาหมายถึงค่าใช้จ่ายต่อ หมายถงึ “การใชย้ าตามความจ�ำเป็นทางคลินกิ ของผู้ปว่ ย ด้วยค่าใชจ้ ่าย course ของการรักษาหาก ทต่ี ่ำ� ทสี่ ดุ ต่อผปู้ ว่ ยและสังคม” เป็นการรักษาระยะส้ัน หรือ (http://apps.who.int/medicinedos/pdf/h3011e/h3011e.pdf) ค�ำนวณเป็นค่าใช้จ่ายต่อวัน ดังน้ัน การใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติทุกชนิดที่มีราคาแพงกว่า หากเปน็ โรคเรอื้ รังท่ีต้องใชย้ า ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ โดยไม่มีเหตุผลอันสมควรตามข้อ A ถึง D อย่างต่อเน่อื ง จึงไม่ควรกระทำ� เนือ่ งจากเขา้ ข่ายการใช้ยาอย่างไมส่ มเหตุผล ขอ้ พงึ ปฏิบัติ ห า ก มี ก า ร ใ ช ้ เ ห ตุ ผ ล ข อ นี้ กรมบัญชีกลางจะน�ำข้อมูล แ จ ้ ง ต ่ อ ค ณ ะ อ นุ ก ร ร ม ก า ร พัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ เ พ่ื อ ด� ำ เ นิ น ก า ร ต า ม ค ว า ม เหมาะสมต่อไป ดงั น้นั แพทย์ จึงควรระบุช่ือยาและวิธีให้ยา ท่ีใช้เปรียบเทียบราคาไว้ให้ ชัดเจนในเวชระเบียนเช่น ระบุให้ทราบว่า voricona- zoleชนิดกิน มีราคาถูกกว่า liposomal amphotericin B ในข้อบ่งชี้เดียวกันมากกว่า 10 เทา่ เปน็ ตน้ F. ผ้ปู ว่ ยแสดงความจ�ำนงต้องการ (เบกิ ไม่ได)้ หมายถึง การที่แพทยม์ คี วามประสงค์ทจี่ ะส่งั ยาในบัญชียาหลกั แห่งชาติ แต่ผ้ปู ่วยมีเหตผลสว่ นตวั บางประการ ทตี่ อ้ งการใชย้ านอกบญั ชยี าหลกั แหง่ ชาติ แมว้ า่ แพทยจ์ ะไดอ้ ธบิ ายแลว้ วา่ สามารถใชย้ าในบญั ชี ยาหลกั แหง่ ชาติ เพอ่ื รกั ษาโรคหรอื อาการของผปู้ ว่ ยไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ลและปลอดภยั ผปู้ ว่ ยตอ้ งรบั ภาระ ค่าใช้จา่ ยเอง คณุ ภาพคก่มู าอืรบกันารทตกึ รเววชจรปะรเบะเยีมนนิ 151
Medical Record Audit Guideline ง.ภาคผนวก 152 คคมุณู่ อื ภกาาพรตกรารวบจันปทระกึ เมเวนิ ชระเบียน
Medical Record Audit Guideline ตัวย่อช่ื อโรคทางจิตเวช ท่ีปรากฏใน Diagnostic and Statistical Manual of Mental disorders fifth edition (DSM-5) ADHD : attention deficit/hyperactive disorder MDE : major depressive episode NCD : neurocognitive disorder NCDLB : neurocognitive disorder with Lewy bodies OCD : obsessive compulsive disorder PTSD : post-traumatic stress disorder TBI : neurocognitive disorder due to traumatic brain injury คณุ ภาพคกมู่ าอืรบกนัารทตึกรเววชจรปะรเบะเยีมนนิ 153
Medical Record Audit Guideline จ.ภาคผนวก 154 คคมุณู่ อื ภกาาพรตกรารวบจันปทระกึ เมเวนิ ชระเบียน
Medical Record Audit Guideline รายนามคณะท�ำงานจัดท�ำคู่มือ แนวทางการตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน (Medical Record Audit Guideline) ปี 2563 1. นายแพทย์ธวชั ชัย ใจค�ำวัง โรงพยาบาลสมเดจ็ พระญาณสงั วร จงั หวดั เชียงราย 2. นายแพทย์บริรักษ์ เจริญศลิ ป์ โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ จงั หวดั นครสวรรค์ 3. แพทยห์ ญงิ นภิ าพร อรณุ วรากรณ ์ โรงพยาบาลชัยนาทนเรนทร จงั หวดั ชยั นาท 4. นายแพทย์ศภุ ศิลป์ จ�ำปานาค โรงพยาบาลสระบุรี จงั หวดั สระบุรี 5. แพทยห์ ญิงปรยี านุช อนั อดเิ รกกลุ โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า จังหวดั นนทบรุ ี 6. แพทย์หญิงดวงรัตน์ ชลศฤงคาร โรงพยาบาลราชบรุ ี จงั หวัดราชบรุ ี 7. นายแพทย์ณฐั พล วงศ์วิวัฒน ์ โรงพยาบาลบางละมุง จงั หวัดชลบุรี 8. นายแพทยก์ มล บุญรอด โรงพยาบาลบางละมงุ จังหวัดชลบรุ ี 9. แพทย์หญิงเพียงใจ ลวกลุ โรงพยาบาลมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม 10. แพทยห์ ญิงสมใจ อุดมพงศล์ กั ขณา โรงพยาบาลศูนยส์ กลนคร จงั หวดั สกลนคร 11. นายแพทยศ์ ภุ พงศ์ ไชยมงคล โรงพยาบาลคอนสาร จงั หวดั ชัยภูมิ 12. นายแพทยป์ ยิ ะมติ ร บุญปก โรงพยาบาลม่วงสามสบิ จังหวดั อุบลราชธานี 13. นายแพทยเ์ ฉลยี ว ผจญภยั โรงพยาบาลพรหมคีรี จงั หวดั นครศรธี รรมราช 14. แพทยห์ ญงิ สวุ ิวรรณ นกหนู โรงพยาบาลหาดใหญ ่ จังหวัดสงขลา 15. นาวาอากาศโทหญงิ ศริ ิพร ผ่องจติ สิริ โรงพยาบาลภูมิพลอดลุ ยเดช กรงุ เทพมหานคร 16. พันเอกกฤษฎา ศรธี นภคั รางกูร โรงพยาบาลพระมงกฎุ เกลา้ กรงุ เทพมหานคร 17. นางวรรธิดา สุวรรณกระจ่าง โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จงั หวัดเชียงราย 18. นางอมั พร หาญแกว้ โรงพยาบาลสมเดจ็ พระยพุ ราชนครไทย จังหวัดพิษณโุ ลก 19. พันโทหญงิ มลฤดี โภคศริ ิ โรงพยาบาลค่ายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช จงั หวดั พิษณุโลก 20. ร้อยตรธี วชั ชยั สุดแสง โรงพยาบาลค่ายสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช จังหวัดพษิ ณุโลก 21. นางสาวตรที ิพย์ มาโต โรงพยาบาลชยั นาทนเรนทร จงั หวดั ชัยนาท 22. นางสาวปราณี พวงดี โรงพยาบาลปทุมธาน ี จังหวัดปทมุ ธานี 23. นางเกษสดุ าพร แป้นทอง โรงพยาบาลไชโย จังหวัดอ่างทอง 24. นางสาวนุชนารถ พบิ ูลรตั นากลุ โรงพยาบาลราชบุรี จงั หวดั ราชบุรี 25. เรืออากาศเอกธนทั ณัทธพงศ์ โรงพยาบาลจันทรเุ บกษา จังหวัดราชบุรี 26. นางยพุ นิ มอี นิ ทร์ โรงพยาบาลบางละมุง จังหวดั ชลบรุ ี 27. นางพิมพา ชนิ รงุ่ โรจน์ โรงพยาบาลจุฬารัตน์ 3 จังหวดั สมทุ รปราการ คณุ ภาพคกู่มาือรบกนัารทตกึ รเววชจรปะรเบะเยีมนิน 155
Medical Record Audit Guideline 28. นางสาวพัชรี ดลุ นมิ ิตร โรงพยาบาลสมเดจ็ พระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา จังหวดั ชลบรุ ี 29. นางวไิ ล ภวภูตานนท์ โรงพยาบาลมหาสารคาม จังหวดั มหาสารคาม 30. นางจริ วรรณ แกว้ ชุมภู โรงพยาบาลโคกศรีสพุ รรณ จงั หวัดสกลนคร 31. นายปิยะ คลังแสง โรงพยาบาลชำ� น ิ จงั หวดั บุรรี ัมย์ 32. นางสาวกาญจนา สายเบาะ โรงพยาบาลม่วงสามสิบ จงั หวดั อบุ ลราชธานี 33. นางสมนาม วรนิ ทรเวช โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช จงั หวดั นครศรธี รรมราช 34. นางสริยาภรณ์ ศิริธร โรงพยาบาลปา่ พะยอม จงั หวดั พทั ลุง 35. นาวาอากาศเอกหญงิ บษุ กร อินทรวชิ ัย โรงพยาบาลภมู ิพลอดลุ ยเดช กรุงเทพมหานคร 36. นาวาอากาศโทหญงิ ฐิตมิ า ขันเงิน โรงพยาบาลภมู พิ ลอดุลยเดช กรุงเทพมหานคร 37. นาวาอากาศโทหญิงปาลรี ัตน์ เกดิ ประเสรฐิ โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช กรุงเทพมหานคร 38. พันเอกหญิงประพศิ ดิษฐด้วง โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า กรงุ เทพมหานคร 39. พันโทหญงิ ชลาทิพย์ หลงี ้วน โรงพยาบาลพระมงกฎุ เกลา้ กรงุ เทพมหานคร 40. รศ.ดร.นพ.วรรษา เปาอินทร์ ศูนยม์ าตรฐานรหัสด้านสขุ ภาพ 41. ดร.มะลิวลั ย์ ยนื ยงสวุ รรณ กองยุทธศาสตรแ์ ละแผนงาน สำ� นักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ 42. นางสาวเรวดี ศริ นิ คร สถาบนั รับรองคณุ ภาพสถานพยาบาล (องคก์ ารมหาชน) 43. นางศิริมา ลลี ะวงศ ์ สภาการพยาบาล (ผู้อำ� นวยการกองการพยาบาล ส�ำนกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ ) 44. ดร.ราศรี ลีนะกลุ สภาการพยาบาล 45. นางลดาวัลย์ รวมเมฆ สภาการพยาบาล 46. ดร.กนกพร แจ่มสมบรู ณ์ สภาการพยาบาล 47. แพทย์หญงิ พรรษพร เจรญิ สกุลวงค ์ สำ� นักวจิ ัยเพอ่ื พัฒนาการตรวจสอบการบรกิ ารสาธารณสุข สถาบนั วจิ ยั ระบบสาธารณสุข 48. นางสาวนิรามัย ใชเ้ ทียมวงศ์ สำ� นกั วจิ ยั เพื่อพัฒนาการตรวจสอบการบริการสาธารณสุข สถาบนั วิจยั ระบบสาธารณสุข 49. นายแพทย์เสรี ศรสี ันต์ ส�ำนกั งานประกันสังคม 50. นายแพทยป์ ระพนั ธ์ ปลมื้ ภาณภุ ัทร สำ� นักงานประกันสังคม 51. นางชนนาถ อทุ ัยฉาย สำ� นักงานหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ เขต 2 พิษณุโลก 52. นางนาฏญา สงั ขวฒั น์ ส�ำนกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ เขต 7 ขอนแกน่ 53. นางสาวสฑุ ารตั น์ สตั ตะวุธ ส�ำนักงานหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ เขต 7 ขอนแกน่ 54. นางพรพิศ หนองขุ่นสาร สำ� นกั งานหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ เขต 9 นครราชสมี า 55. นางสาวภทั ราพร โสมาบตุ ร สำ� นกั งานหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ เขต 9 นครราชสีมา 56. นางขวัญเรือน จงประเสริฐ ส�ำนักงานหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ เขต 11 สุราษฎรธ์ านี 57. นางสายชล ผาณติ พจมาน สำ� นักงานหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ เขต 12 สงขลา 156 คคณูุ่มอื ภกาาพรตกรารวบจันปทระกึ เมเวินชระเบียน
Medical Record Audit Guideline รายนามผู้เข้าร่วมประชุมรับฟั งความคิดเห็น ต่อการปรับปรุงคู่มือเกณฑ์การตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน (Medical Record Audit Guideline) ปี 2563 1. นายแพทยไ์ ชยวฒั น์ ภูติยานันต์ โรงพยาบาลเชยี งค�ำ จงั หวดั พะเยา 2. นางลัดดาวัลย์ มหาวงศนันท์ โรงพยาบาลเชยี งค�ำ จังหวดั พะเยา 3. พนั โทหญงิ มลฤดี โภคศริ ิ โรงพยาบาลค่ายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช จังหวดั พษิ ณโุ ลก 4. นายแพทย์ปรดี ี ดิษร โรงพยาบาลสมเดจ็ พระยุพราชนครไทย จังหวดั พิษณุโลก 5. นายแพทย์บริรกั ษ์ เจริญศลิ ป ์ โรงพยาบาลสวรรคป์ ระชารักษ์ จังหวัดนครสวรรค์ 6. นางสาวตรที พิ ย์ มาโต โรงพยาบาลชยั นาทนเรนทร จังหวัดชัยนาท 7. นางสาวปราณี พวงดี โรงพยาบาลปทมุ ธาน ี จังหวัดปทมุ ธานี 8. นางเกษสดุ าพร แป้นทอง โรงพยาบาลไชโย จังหวัดอ่างทอง 9. นายแพทยเ์ ดชา มีสขุ โรงพยาบาลนภาลยั จังหวัดสมทุ รสงคราม 10. นางทพิ าพร มณใี ส โรงพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี 11. นายแพทยณ์ ฐั พล วงศว์ ิวัฒน ์ โรงพยาบาลบางละมงุ จังหวัดชลบรุ ี 12. นางพมิ พา ชนิ รุ่งโรจน ์ โรงพยาบาลจฬุ ารตั น์ 3 จังหวัดสมุทรปราการ 13. นางวไิ ล ภวภูตานนท์ โรงพยาบาลมหาสารคาม จงั หวดั มหาสารคาม 14. แพทย์หญงิ เพียงใจ ลวกุล โรงพยาบาลมหาสารคาม จงั หวดั มหาสารคาม 15. นางจิรวรรณ แกว้ ชมุ ภ ู โรงพยาบาลโคกศรีสพุ รรณ จงั หวดั สกลนคร 16. แพทยห์ ญงิ สมใจ อดุ มพงศล์ ักขณา โรงพยาบาลศูนย์สกลนคร จงั หวัดสกลนคร 17. นายแพทยศ์ ภุ พงศ์ ไชยมงคล โรงพยาบาลคอนสาร จังหวดั ชัยภูมิ 18. นางสุกญั ญา สายแสงจันทร์ โรงพยาบาลปราสาท จังหวดั สรุ นิ ทร์ 19. นายแพทย์ปิยะมติ ร บญุ ปก โรงพยาบาลม่วงสามสิบ จงั หวดั อบุ ลราชธานี 20. นางกาญจนา สายเบาะ โรงพยาบาลมว่ งสามสิบ จงั หวดั อุบลราชธานี 21. นายแพทยเ์ ฉลยี ว ผจญภยั โรงพยาบาลพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช 22. นางสมนาม วรินทรเวช โรงพยาบาลมหาราชนครศรธี รรมราช จงั หวัดนครศรธี รรมราช 23. นางสริยาภรณ์ ศริ ธิ ร โรงพยาบาลป่าพยอม จงั หวดั พทั ลุง 24. แพทย์หญิงอัมพร ทองพฒุ โรงพยาบาลหาดใหญ ่ จังหวัดสงขลา 25. พันเอกกฤษฎา ศรธี นภคั รางกูร โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา้ กรงุ เทพมหานคร 26. พันเอกหญิง ประพิศ ดิษฐดว้ ง โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา้ กรุงเทพมหานคร คณุ ภาพคกมู่ าอืรบกนัารทตกึ รเววชจรปะรเบะเียมนนิ 157
Medical Record Audit Guideline 27. นาวาโทหญิงฐิติมา ขนั เงิน โรงพยาบาลภมู พิ ลอดุลยเดช กรงุ เทพมหานคร 28. นาวาตรหี ญิงศิรพิ ร ผ่องจิตสริ ิ โรงพยาบาลภูมพิ ลอดุลยเดช กรงุ เทพมหานคร 29. นางธนวัน ลือสทุ ธวิ บิ ูลย ์ โรงพยาบาลรามาธิบดี กรงุ เทพมหานคร 30. นางสายพริ ุณ ประสาทพันธ์ ผู้แทนเครอื ข่ายโรงพยาบาล กลุม่ สถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย 31. แพทย์หญิงธัญลกั ษณ์ ศรบี ูระเดช ผู้แทนประธานชมรมโรงพยาบาลเอกชนคสู่ ัญญาในระบบประกนั สังคม 32. นางศริ ิมา ลลี ะวงศ์ ผอู้ �ำนวยการกองการพยาบาล ส�ำนกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสุข 33. ดร.ราศรี ลนี ะกุล ผู้แทนสภาการพยาบาล 34. นางสวุ ารี เจริญมุขยนนั ท ผู้แทนสภากายภาพบ�ำบดั 35. ดร.มะลิวัลย์ ยนื ยงสวุ รรณ กองยุทธศาสตรแ์ ละแผนงาน ส�ำนกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 36. แพทยห์ ญิงพรรษพ เจรญิ สกลุ วงค ์ ส�ำนกั วจิ ัยเพอ่ื พัฒนาการตรวจสอบการบริการสาธารณสุข สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 37. นางภัคนัน ดพี ริยะ สถาบนั รบั รองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 38. นางสาวสุจติ รา นภาคณาพร กรมบัญชกี ลาง 39. นายแพทยเ์ สรี ศรีสนั ต์ สำ� นักงานประกนั สงั คม 40. นายแพทยอ์ ำ� รงุ เลียวรกั ษโ์ อฬาร ส�ำนักงานประกนั สงั คม 41. นางสาวพรพรรณ เกษมสรวล ส�ำนกั งานประกันสงั คม 42. นางสาวณฐั ชญา ภเู่ งนิ ส�ำนักงานประกันสงั คม 43. นายทชิ ากร เลาหกุล สำ� นกั งานหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 1 เชียงใหม่ 44. นางชนนาถ อุทยั ฉาย สำ� นักงานหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ เขต 2 พิษณโุ ลก 45. นางสาวภทั ราวดี ทองลา ส�ำนกั งานหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ เขต 3 นครสวรรค์ 46. นางณฐา ศรีหินกอง สำ� นกั งานหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ เขต 4 สระบุรี 47. นางปรางวไล เหล่าชยั ส�ำนักงานหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ เขต 5 ราชบรุ ี 48. นายบุรินทร์ ศรคี ุณ สำ� นกั งานหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 5 ราชบุร ี 49. นางสาวอุดมลกั ษณ์ สำ� เภาพันธ ์ุ ส�ำนักงานหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ เขต 6 ระยอง 50. นางสาวรชาดา บ�ำรัมย์ ส�ำนักงานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เขต 6 ระยอง 51. นางนาฏญา สังขวฒั น์ สำ� นกั งานหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 7 ขอนแกน่ 52. นางสาวสขุ ใจ สารทรพั ย์ สำ� นกั งานหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ เขต 8 อุดรธานี 53. จ่าเอกหญงิ ภทั ราพร โสมาบตุ ร ส�ำนกั งานหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เขต 9 นครราชสมี า 54. นางพรพิศ หนองข่นุ สาร สำ� นักงานหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ เขต 9 นครราชสีมา 55. นางขวัญเรือน จงประเสรฐิ สำ� นกั งานหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ เขต 11 สรุ าษฎร์ธาน ี 56. นางสายชล ผาณติ พจมาน ส�ำนักงานหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เขต 11 สรุ าษฎร์ธานี 57. นางสาวจารวุ รรณ สวาสดก์ิ ลน่ิ สำ� นักงานหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ เขต 13 กรงุ เทพมหานคร 58. นางสาววรางคณา ประเวสไพรสนธิ ์ ส�ำนักงานหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ เขต 13 กรงุ เทพมหานคร 158 คคุู่ณมือภกาาพรตกรารวบจนัปทระึกเมเวินชระเบียน
Medical Record Audit Guideline รายนามคณะท�ำงานจัดท�ำคู่มือ แนวทางการตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน (Medical Record Audit Guideline) ปี 2563 (ผู้ป่ วยจิตเวช) 1. นพ.บรุ นิ ทร์ สุรอรณุ สมั ฤทธิ์ กองบรหิ ารระบบบรกิ ารสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต 2. นพ.ณัฐ ไกรภัสสร์พงษ์ สถาบันกลั ยาณร์ าชนครนิ ทร์ กรุงเทพมหานคร 3. นพ.นครินทร์ ชนุ งาม โรงพยาบาลเทพรตั นน์ ครราชสมี า จังหวัดนครราชสมี า 4. นางสาวภษู ณศิ า ชัยวริ ัตนน์ ุกลู กองบริหารระบบบริการสขุ ภาพจิต กรมสขุ ภาพจติ 5. นางศกุ ภนิตย์ พลไพรินทร์ โรงพยาบาลศรธี ญั ญา จงั หวัดนนทบรุ ี 6. นางสาวศิรลิ ักษณ์ สวา่ งวงศส์ นิ โรงพยาบาลศรีธญั ญา จังหวดั นนทบรุ ี คุณภาพคกู่มาอืรบกันารทตกึ รเววชจรปะรเบะเียมนิน 159
Medical Record Audit Guideline การรับฟั งความคิดเห็นต่อการจัดท�ำคู่มือ แนวทางการตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน (Medical Record Audit Guideline) ปี 2563 (ผู้ป่ วยจิตเวช) เน่ืองด้วยภายหลังการจัดท�ำ (ร่าง) เกณฑ์การตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน (Medical Record Audit Guideline) ผู้ป่วยจิตเวชเสร็จน้ัน ตรงกับเดือนเมษายน 2563 ซ่ึงเป็นช่วง สถานการณ์การระบาดของ ไวรัสโคโรนา หรือ COVID-19 ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดย ส�ำนักตรวจสอบการชดเชยและคุณภาพบริการ จึงได้ขอรับฟังความคิดเห็นจากบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องกับ การบันทึกเวชระเบียนในผู้ป่วยจิตเวช ประกอบด้วย จิตแพทย์ พยาบาลจิตเวช วิสัญญีพยาบาล นักจิตวิทยาคลินิกหรือนักจิตวิทยา นักกิจกรรมบ�ำบัด นักแก้ไขการพูด และนักสังคมสงเคราะห์จิตเวช ผ่านช่องทางออนไลน์ตามหนังสือ สปสช.2.16/ว.2618 ลงวันที่ 23 เมษายน 2563 ไปยังหน่วยบริการในสังกัด กรมสุขภาพจิต กรมการแพทย์ โรงเรียนแพทย์ และหน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุขท่ีมีการให้บริการ ผู้ป่วยจิตเวช จ�ำนวน 62 แห่ง เพื่อให้บุคลากรกลุ่มดังกล่าวได้แสดงความเห็นต่อ (ร่าง) เกณฑ์การตรวจ ประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน (Medical Record Audit Guideline) ผู้ป่วยจิตเวช จากผลรับฟังความเห็นดังกล่าว มีผู้ตอบแบบรับฟังความคิดเห็นต่อ (ร่าง) แนวทางการตรวจ ประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียนผู้ป่วยจิตเวชจ�ำนวน 241 ราย ประกอบด้วย พยาบาลจิตเวช 92 คน จิตแพทย์ 47 คน นักจิตวิทยาคลินิกหรือนักจิตวิทยา 36 คน นักสังคมสงเคราะห์ 23 คน นักกิจกรรมบ�ำบัด 20 คน วิสัญญีพยาบาล 10 คน นักแก้ไขการพูด 2 คน และ อื่นๆ 11 คน ส�ำนักตรวจสอบการชดเชยและคุณภาพบริการ ร่วมกับกองบริหารระบบบริการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต และผู้เช่ียวชาญจากหน่วยบริการในสังกัดกรมสุขภาพจิตและกระทรวงสาธารณสุข ได้น�ำความคิดเห็นท่ีได้จากการรับฟังความคิดเห็นดังกล่าว มาเป็นข้อมูลในการปรับ (ร่าง) เกณฑ์การตรวจ ประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน (Medical Record Audit Guideline) ผู้ป่วยจิตเวช ปี 2563 ให้มีความสมบูรณ์ถูกต้องตามหลักวิชาการ และสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน 160 คคุู่มณือภกาาพรตกรารวบจันปทระกึ เมเวินชระเบียน
Medical Record Audit Guideline ช.ภาคผนวก คุณภาพคก่มู าือรบกนัารทตกึ รเววชจรปะรเบะเยีมนนิ 161
Medical Record Audit Guideline กองบรรณาธิการ ส�ำนักตรวจสอบการชดเชยและคุณภาพบริการ ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 1. แพทย์หญิงกฤตยิ า ศรปี ระเสริฐ ผเู้ ช่ียวชาญพเิ ศษ กลุ่มภารกิจบรหิ ารกองทุน 2. นายแพทย์วรชัย อึ้งอภนิ นั ท์ ผอู้ ำ� นวยการส�ำนัก 3. แพทยห์ ญิงรัชนิศ พรวภิ าว ี รองผ้อู �ำนวยการสำ� นัก 4. นางสาวรุง่ จิต ลลี างามวงศา หัวหน้ากลุ่มงาน 5. นายณฐั พงศ์ อนวุ ตั รยรรยง หัวหนา้ กลุ่มงาน 6. นางภทั รา อเนกวิทยากิจ หวั หน้ากลุม่ งาน 7. นางภณิดา กล่นิ พิพัฒน ์ หวั หน้ากล่มุ งาน 8. นางสมุ ลรตั น์ ดอกเขียว หัวหนา้ กลุม่ งาน 9. นางวาสนา จนั ทรพินจิ หัวหนา้ งาน 10. นางสาวภิญญดา เอกพจน ์ หวั หน้างาน 11. นางสาวสมุ ณฑา โสภาพันธ ์ หวั หนา้ งาน 12. นางสาวณณิ ชั ชา แปงสาย หัวหนา้ งาน 13. นายปราโมทย์ วงศป์ ระสาร เจา้ หน้าที่อาวุโส 14. นางสาวปริยาภรณ ์ มณีแดง เจ้าหน้าทอ่ี าวุโส 15. นางสาวสุรรี ตั น ์ อทุ ธยิ า เจา้ หน้าทอ่ี าวุโส 16. นางสาวมาลีรัตน์ งามจิตตเ์ อ้อื เจ้าหน้าทีอ่ าวโุ ส 17. นางสาวมณทริ า รจุ ริ านนท ์ เจ้าหนา้ ที่ 18. นางสาวทตั ชญา พนั พัว พนักงานโครงการ 162 คคุม่ณู ือภกาาพรตกรารวบจนัปทระึกเมเวนิ ชระเบียน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172