Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ilovepdf_merged

ilovepdf_merged

Published by ชนาพร สานุวิตร์, 2021-03-14 11:30:32

Description: ilovepdf_merged

Search

Read the Text Version

เทียนหอม SCENTED CANDLES ชนาพร สานวุ ติ ร์ โครงการนเ้ี ป็นส่วนหนง่ึ ของการศึกษาตามหลักสตู ร ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชน้ั สูง สาขาวชิ าการโรงแรม ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเท่ยี ว วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาเชยี งใหม่ ปกี ารศกึ ษา 2563

เทียนหอม SCENTED CANDLES ชนาพร สานวุ ติ ร์ โครงการนเ้ี ป็นส่วนหนง่ึ ของการศึกษาตามหลักสตู ร ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชน้ั สูง สาขาวชิ าการโรงแรม ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเท่ยี ว วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาเชยี งใหม่ ปกี ารศกึ ษา 2563

ก ใบรบั รองโครงการ วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาเชียงใหม่ เรือ่ ง เทียนหอม โดย นางสาวชนาพร สานวุ ติ ร์ ได้รับการรับรองให้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวชิ า การโรงแรม ทวิภาคี ประเภทวิชาอตุ สาหกรรมทอ่ งเทีย่ ว …………………………หัวหน้าแผนกวิชาการโรงแรม ……………….…….รองผูอ้ ำนวยการฝ่าวิชาการ (นางอัปสร คอนราด) (นายณรงคศ์ กั ด์ิ ฟองสินธุ์) วันที่……..เดือน……………พ.ศ………… วันท…่ี …..เดอื น……………พ.ศ………… คณะกรรมการสอบโครงการ ……………………………………………………. ประธานกรรมการ (นายทินกร ติ๊บอินถา) ……………………………………………………. กรรมการ (นางสาวนพรรณพ ดวงแก้วกูล) ……………………………………………………. กรรมการ (นางสาวนชั พร สาครธำรง)

ข กติ ติกรรมประกาศ โครงการเทียนหอม ของนักศกึ ษาแผนกวชิ าการโรงแรม วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาเชยี งใหม่ ฉบับนี้ สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีเนื่องจากได้รับความกรุณา ความอนุเคราะห์ การสนับสนุน และการให้ คำแนะนำแนวทางในการดำเนนิ งานจากหลายทา่ น ขอขอบพระคุณ นายทินกร ติ๊บอินถา ครูที่ปรึกษาวิชาโครงการ และคณะครูที่ให้คำปรึกษา โครงการ แนะนำและให้ข้อคิดต่างๆ ในการทำโครงการ ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่อง จนทำรายงาน โครงการฉบับนเ้ี สรจ็ สมบรู ณ์ ผู้ศึกษาจงึ ขอกราบขอบพระคุณเปน็ อยา่ งสูง ขอกราบขอบพระคุณคุณพ่อ คุณแม่ ที่ให้กำเนิดเลี้ยงดูอบรมสั่งสอนตลอดจนการให้ คำแนะนำคำปรึกษาในเรื่องต่างๆ ที่ทำให้โครงการฉบบั น้ีลลุ ่วงไปได้ดว้ ยดีรวมทง้ั เปน็ กำลังใจท่ีดีเสมอ มา และขอขอบคุณผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ ทุกท่านที่สละเวลาอันมีค่าช่วยเหลือและ อนุเคราะห์ในการตอบแบบสอบถาม จนทำให้โครงการฉบับนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี รวมถึงผู้มีส่วน เกี่ยวข้องทุกท่านที่เป็นกำลังสำคัญในการให้คำปรึกษา เป็นกำลังใจและให้ความช่วยเหลือตลอดมา จนทำรายงานเลม่ นี้สำเร็จลุล่วงไปดว้ ยดี ชนาพร สานุวิตร์

ค ชอื่ : นางสาวชนาพร สานุวิตร์ ชื่อโครงการ : เทยี นหอม สาขาวิชา : การโรงแรม ประเภทวิชา : อตุ สาหกรรมทอ่ งเทีย่ ว อาจารยท์ ป่ี ระจำวิชาโครงการ : นายทนิ กร ติ๊บอนิ ถา อาจารยท์ ่ีปรึกษาวิชาโครงการ : นายทินกร ติ๊บอินถา ปีการศึกษา : 2563 บทคัดยอ่ โครงการเรื่อง เทียนหอม มีวัตถุประสงค์เพื่อประดิษฐ์กระเป๋าใส่ขวดน้ำผ้าลายเทียน เพื่อ ศกึ ษาความพงึ พอใจของผ้ใู ช้งานเทียนหอม โดยมกี ลมุ่ ตวั อย่างแบบเจาะจง ( Purposive sampling ) เปน็ การเลือกกลมุ่ ตวั อย่างโดยพจิ ารณาจากการตดั สินใจของผวู้ ิจยั เอง ลกั ษณะของกลมุ่ ที่เลือกเป็นไป ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ กลุ่มผู้ทดลองใช้งานเทียนหอมจำนวน 50 คน ระหว่างวันที่ 7 ธันวาคม ถึงวันที่ 12 มีนาคม 2564 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ แบบบันทึกผลการทดลอง แบบสอบถามความพึงพอใจของเทียนหอม ผลการดำเนินงานผู้ศึกษาพบว่า พบว่าผลสรุปภาพรวม ของความพึงพอใจของผ้ใู ช้เทียนหอม อยใู่ นระดบั มาก (������̅=4.30) เมอื่ สรุปผลออกมาเปน็ รายข้อพบว่า กล่องบรรจุมีความสวยงาม ผลการประเมินอยู่ในระดับมาก (������̅=4.47) รองลงมาเทียนหอมมีสีสันที่ สวยงาม อยู่ในระดับมาก (������̅=4.45) กลิ่นราสเบอร์รี่วานิลาทำให้สดชื่น อยู่ในระดับมาก (������̅=4.35) ความพ่ึงพอใจในการใช้เทียนหอม อยู่ในระดบั มาก (������̅=4.35) ขนาดของผลิตภัณฑ์เทียนหอมมีความ เหมาะสม อยู่ในระดับมาก (������̅=4.31) เทียนหอมสร้างความโรแมนติกให้คู่รัก อยู่ในระดับมาก (������̅=4.31) กลิ่นดอกมะลิทำให้ผ่อนคลาย อยู่ในระดบั มาก (������̅=4.26) ความงามของรปู เเบบผลิตภณั ฑ์ อยูใ่ นระดับมาก (������̅=4.24) เทียนหอมมีกล่ินหอม อยูใ่ นระดบั มาก (������̅=4.12) เทียนหอมควรตั้งใว้ใน ห้องนํ้าเพื่อดับกลิ่น อยู่ในระดับมาก (������̅=4.10) ตามลำดบั

สารบญั ง เรอ่ื ง หน้า ใบรับรองโครงการ ก กิตติกรรมประกาศ ข บทคัดย่อ ค สารบญั ง สารบัญ (ตอ่ ) จ สารบัญรูปภาพ ฉ สารบญั ตาราง ซ บทที่ 1 บทนำ 1 1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของโครงการ 2 1.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ 2 1.3 ขอบเขตโครงการ 3 1.4 ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะไดร้ ับ 3 1.5 นิยามศัพท์ บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยท่เี กย่ี วขอ้ ง 4 2.1 ความรู้เก่ียวกบั ผ้าลายเทียน 5 2.2 ความรู้เกี่ยวกับน้ำมนั หอมระเหย 12 2.3 ความร้เู กย่ี วกบั ดอกมะลแิ ละราสเบอร์ร่วี านิลา 21 2.4 ความรู้เก่ยี วกับกระบวนการทำเทียนหอม 22 2.5 แนวคิดและทฤษฎคี วามพงึ พอใจ 26 2.6 งานวิจัยทเ่ี ก่ียวขอ้ ง บทท่ี 3 วธิ ีดำเนินการวจิ ัย 28 3.1 การคดั เลอื กกลุม่ ตัวอย่าง 28 3.2 เคร่ืองมือที่ใช้ในการดำเนินโครงการ 29 3.3 ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน 30 3.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 30 3.5 การวเิ คราะห์และสรปุ ผล

จ สารบญั (ตอ่ ) หนา้ เร่ือง 32 บทที่ 4 ผลการศึกษา 33 34 4.1 สรุปขั้นตอนการทำเทียนหอม 35 4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ส่วนบุคคล 36 4.3 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของผใู้ ช้เทียนหอม 4.4 การจัดลำดับผลการวเิ คราะหค์ วามพงึ พอใจของผใู้ ช้เทียนหอม 37 4.5 ผลสรุปข้อเสนอแนะ 38 บทท่ี 5 สรุปผล อภิปปรายและข้อเสนอแนะ 39 5.1 สรุปผลการศกึ ษา 5.2 อภิปรายผล 5.3 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบนำเสนอขออนุมัตโิ ครงการวชิ าชีพ ภาคผนวก ข แบบบนั ทกึ ผลการทดลอง ภาคผนวก ค แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ ภาคผนวก ง การคำนวณค่าแบบประเมนิ ความพึงพอใจ ภาคผนวก จ รูปภาพประกอบโครงการ ภาพผนวก ฉ แบบรายงานผลการนำไปใชป้ ระโยชน์ ประวัติผู้จัดทำ

สารบญั ตาราง ฉ ตารางท่ี หน้า 1 ตารางแสดงผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ส่วนบคุ คลด้านเพศ 33 2 ตารางแสดงผลการวิเคราะห์ข้อมลู ส่วนบุคคลดา้ นอายุ 33 3 ตารางแสดงผลการวิเคราะห์ความพงึ พอใจของผู้ใช้เทยี นหอม 34 4 ตารางการจดั ลำดับผลการวิเคราะหค์ วามพึงพอใจของผู้ใช้เทยี นหอม 35

สารบญั ภาพ ช ภาพที่ หน้า 7 2.1 การสกดั น้ำมันหอมระหย 14 2.2 ลกั ษณะของดอกมะลิ 17 2.3 ตอนเก็บเกี่ยวดอกมะลิ 18 2.4 รูปราสเบอรร์ ่ี 21 2.5 รูปวานลิ ลา

1 บทที่ 1 บทนำ 1.1 ความเปน็ มาและความสำคญั ของโครงการ ในสมยั กอ่ นประวัติศาสตร์ มนษุ ย์ยังไม่มีไฟทใี่ ชใ้ หค้ วามสวา่ งในยามคำ่ คนื คนในสมัยนั้นจึงได้ นำเทียนมาใช้สร้างแสงสว่างโดยการต้มรังผึ้งเพื่อให้ได้ขี้ผึ้งมาใช้ในการทำเทียนสำหรับให้ความ สว่างสไวเทียนนอกจากใช้ให้แสงสวา่ งแลว้ ยังมีการนำเข้ามาประกอบกับพธิ ีกรรมทางศาสนาหรือ ตามแต่ความเชื่อในแต่ละพื้นที่ และยังมีการนำเทียนใช้ประดับสถานที่ซ่ึงเป็นการแสดงถึงฐานะ ความมรี สนิยม ท้งั ยังเป็นสร้างบรรยากาศไดด้ อี ีกดว้ ยโดยปัจจุบันนยิ มใช้เทยี นที่มีความสวยงามใน รูปแบบเทยี น เทยี นคือ ผลิตภณั ฑท์ ไ่ี ดจ้ ากการนำพาราฟนิ มาผ่านความรอ้ นให้หลอมละลายเป็นของเหลว อาจเติมสี แล้วตักใสภ่ าชนะรูปทรงตามตอ้ งการ เชน่ แกว้ ใส เซรามกิ ดนิ เผา ตกแตง่ เพิม่ ให้เกิดความสวยงาม เช่นการไล่สีเป็นระดับ การตัดสีของเทียน ทำเป็นของประดับตกแต่งและของที่ระลึก นอกจากนี้ยัง สามารถช่วยคลายความเครยี ดโดยการบำบัดดว้ ยการใชก้ ล่นิ หอม การใชก้ ลน่ิ หอมโดยการนำกล่ินจาก พืชมาใช้ บำบดั ในปจั จบุ ันคนในสังคมมีความตงึ เครียดกนั เป็นอย่างมากเนอ่ื งจากหลายปัญหาไม่ว่าจะ เป็นปัญหาที่ทำงาน ปัญหาทางบ้านและยังมีปัญหาสังคมอีก จะเห็นได้จาก พิธีการแต่งงาน ซึ่งมี ความหมายของการเรมิ่ ตน้ แสงแหง่ เปลวเทียนจะนำทางไปสู่ความสว่างไสวในชีวิตคู่ ชาวอเมริกันนิยม นำเทียนมาประดับประดาบนโต๊ะอาหารแสดงถึงฐานะ ความภูมิฐาน และมีรสนิยม และเพื่อให้เกิด ความสว่างไสวอกี ทงั้ แสงสว่างของเทยี นสามารถสร้างบรรยากาศ และดูสวยงามอกี ดว้ ยเทยี นนอกจาก จะให้แสงสว่างแล้ว ยังมักจะถูกนำมาเกี่ยวข้องกับพิธีกรรมต่าง ๆ โดยเฉพาะสำหรับชาวพุทธที่ใช้ เทยี นในการบูชาพระ และประเพณีการแห่เทยี นพรรษาที่ถกู สบื ทอดมาอย่างยาวนาน ซงึ่ แสดงออกถึง วิวัฒนาการด้านศิลปะอีกด้วย ถึงแม้ว่าในปัจจบุ ันเทียนจะถูกลดความสำคัญลง เนื่องจากการมีไฟฟ้า ใช้และป้องกันปัญหาด้านอัคคีภัยจากการใช้งาน แต่ก็ยังมีการใช้เทียนในกิจกรรมด้านต่าง ๆ อยู่ เพราะเทียนเป็นสัญลักษณ์แห่งความหวังและแรงบันดาลใจแสงเทียนสามารถสะท้อนได้ถึงความ อบอุ่นและความอ่อนไหวที่แสงจากดวงไฟไมส่ ามารถทดแทนในส่วนนีไ้ ด้ เสน่ห์ของมันอยู่ที่ความวูบ ไหวยามทสี่ ายลมพดั ผ่าน แทง่ เทยี นทีถ่ ูกความร้อนหลอมละลายกลายเป็นน้ำตาเทียนที่ไหลหยดย้อย ลงมาสร้างสรรค์เปน็ งานศิลปะอย่างหน่ึง มกี ารประยุกต์ใหน้ อกจากเทยี นมีความสวยงามแล้วยังมีการ นำกล่นิ หอม

2 หรือน้ำมันหอมละเหยมาผสมเพื่อให้ได้กลิ่นตามต้องการและนอกจากนี้ กลิ่นน้ำมันหอมละเหยนี้ มี คุณสมบตั ิพเิ ศษซง่ึ แตกต่างกันออกไปเช่น บางชนดิ สามารถท่ีจะรักษาโรคได้ แก้อาการเครยี ด นับเป็น ประโยชน์ที่ย่ิงใหญ่ของเทียนแต่นอกจากน้ันแล้ว เทียนที่มีกลิ่นหอมของเราน้ันตีตลาดการเปิดสถาน บริการนวดแผนตา่ ง ๆ และสปา ทีห่ ลายๆคนคงจะเคยไดย้ นิ กนั ในขณะเดียวกันคนไทยส่วนใหญ่ชอบ เข้าวัดทำบุญฟังพระ ก็เลยมีการใช้ประโยชน์จากเทียนมาก ทำให้มีเศษเทียนที่เหลือจากพิธีกรรม มากมาย คนไทยมักชอบสวดมนต์นั่งสมาธิทุกเช้า เย็น ก็เลยต้องใช้แสงสว่างจากเทียนในการทำ กิจกรรมและในตอนนั้นมีโรคระบาดเกี่ยวกับยุง เช่น โรคไข้เลือดออก จึงได้มีการคิดค้นท่ีจะนำเศษ เทียนมาผสมกับสมุนไพรให้เกิดประโยชน์มากขึ้น ทั้งให้แสงสว่าง และกำจัดยุงในตัว จึงทำให้เกิด แนวคิดในการผลติ เทยี นหอมสมุนไพรไล่ยงุ เพราะฉะน้นั ผู้จัดทำโครงการได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับขั้นตอนการทำเทียนหอมและ คุณสมบัติของน้ำมันหอมระเหยในแต่ละกลิ่น เพื่อจัดอบรมการทำเทียนหอมโดยให้ความรู้เกี่ยวกับ น้ำมนั หอมระเหยแต่ละกลิ่นว่ามปี ระโยชน์ในดา้ นใดบา้ ง 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ 1) เพือ่ ศึกษาค้นคว้าขัน้ ตอนการทำเทียนหอม 2) เพ่ือศึกษาค้นควา้ เก่ยี วกบั ประโยชน์น้ำมนั ระเหย 3) เพือ่ ศกึ ษาคณุ สมบตั ขิ องเทยี นหอม กล่ินดอกมะลิและราสเบอร์รี่วานิลลา 1.3 ขอบเขตโครงการ 1) เชิงปริมาณ - จำนวน เทยี นหอม จำนวน 50 ชิน้ - กล่มุ ตวั อยา่ ง ผใู้ ช้เทียนหอม จำนวน 50 คน 2) เชิงคุณภาพ - ผลติ ภณั ฑเ์ ทยี นหอมมสี ีที่สวยงาม รปู ลกั ษณส์ วยงาม มีกลิน่ หอมสามารถคลายเครียด สามารถใชง้ านไดจ้ รงิ 3) ระยะเวลาและสถานที่ในการดำเนนิ งาน ระยะเวลาดำเนินงาน ระหว่างวนั ท่ี 7 ธนั วาคม ถงึ วันที่ 12 มีนาคม 2564 สถานที่ดำเนินงาน วิทยาลยั อาชีวศึกษาเชยี งใหม่ 167 ถนนพระปกเกลา้ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จงั หวัดเชยี งใหม่

3 1.4 ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ ับ 1) ทราบคุณสมบัตขิ องเทียนหอม ดอกมะลแิ ละราสเบอรร์ วี่ านิลลา 2) ทราบขนั้ ตอนการทำ เทียนหอมกล่ิมดอกมะลิและกล่ินราสเบอร์ร่ีวานลิ ลา 3) ผู้ร่วมโครงการสามารถนำเทียนหอมไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้เช่น การคลายเครียด จากการใชเ้ ทยี มหอมกล่ินส้ม ชว่ ยลดความเครียด ช่วยให้จิตใจสงบ 1.5 นิยามศัพท์ 1) เทียนหอม คือ เทยี นที่ถกู แตง่ กลนิ่ ใหม้ ีกลิน่ หอม เวลาจุดจะสง่ ผลใหก้ ล่ินลอยฝังอยูท่ วั่ บริเวณ หอ้ งนอกจากจะใหแ้ สงสวา่ งแลว้ ตวั กลิน่ ยงั มีความสามารถในกล่ินสร้างความผอ่ นคลายให้กบั ผู้สูดดม 2) ดอกมะลิ คอื เป็นตัวแทนของวนั แม่ เปน็ ดอกท่ีสวย เรียบงา่ ย กลนิ่ หอมเยน็ หากเปน็ ไม้เถาท่ี พันต้นไม้อนื่ ๆ ตามรั้วบา้ ง ใบเลก็ คล้ายใบเขย้ี วกระแต ดอกขาวเป็นกลบี เลก็ ๆ 3) ราสเบอร์รี่วานิลลา คือ ชื่อเรียกของผลไม้หลายชนิดในสกุล Rubus ซึ่งเป็นสกุลเดียวกันกับ แบลค็ เบอรร์ ่ี และเป็นหนง่ึ ในผลไมต้ ระกูลเบอร์ร่ี โดยสว่ นใหญจ่ ะจดั อยใู่ นสกุลยอ่ ย Idaeobatus

4 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ยี วขอ้ ง ในการศึกษา เรื่องเทียนหอมกลิน่ มะลิ ผู้ศึกษาได้รวบรวมแนวคิดทฤษฎีและหลกั การตา่ ง ๆ จากเอกสารและงานวจิ ัยท่เี กย่ี วขอ้ ง ดังน้ี 2.1 ความสำคญั ของเทียนหอม 2.2 ความรู้เก่ยี วกับน้ำมนั หอมระเหย 2.3 ความรูเ้ กย่ี วกับดอกมะลิและราสเบอร์รวี่ านิลา 2.4 ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการทำเทียนหอม 2.5 แนวคดิ และทฤษฎคี วามพึงพอใจ 2.6 งานวจิ ยั ทเี่ ก่ียวข้อง 2.1 ความสำคัญของเทียนหอม ในสมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ มนุษยย์ ังไมม่ ีการรู้จกั ใชไ้ ฟ รู้จกั เพียงแตค่ วามมดื ในเวลากลางคืน และความสว่างในเวลากลางวัน ต่อมาเรม่ิ ร้จู กั การใชไ้ มม้ าเสียดสีกนั ใหไ้ ด้ความร้อน แลว้ เกดิ เป็นเปลว ไฟเกิดขึ้น และเริ่มใช้ไฟมาหุงหาอาหาร ให้แสงสว่าง และป้องกันภัยจากสัตว์ร้ายต่าง ๆ และ วิวัฒนาการก็ได้เริ่มพัฒนาการอยา่ งต่อเนอ่ื ง เรมิ่ มีการใชค้ บเพลิง เพื่อเป็นการให้แสง ส่องสวา่ ง มีการ ประยุกต์นำมาใช้เป็นการติดต่อสื่อสารในระยะไกล จะเห็นได้จากไฟในประภาคาร ที่มีการ ติดต่อสื่อสารระหว่างยามฝั่งกับเรือ และให้สัญญาณต่าง ๆ ระหว่างภูเขาแต่ละลูก โดยมีรหัสที่เข้าใจ ตามแต่จะตกลงกันในสมัยนัน้ จะเห็นได้ว่ามนุษย์ไดม้ กี ารใชไ้ ฟเข้ามาเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน และ ต่อมาในสมัยศตวรรษที่ 19 ไดม้ กี ารนำเทียนเขา้ มาเกยี่ วข้องกบั พิธีกรรมเปน็ อย่างมาก เนอื่ งจากไฟ มี เป็นสัญลักษณ์ของการเผาผลาญ และความโชติช่วงชัชวาลย์ และมนุษย์บางเผ่าในสมัยนั้นนับถือให้ เป็นเทพไฟ มกี ารบวงสรวงและประกอบพิธีกรรมทาง ศาสนา หรอื ตามแต่ความเชือ่ จะเห็นไดจ้ าก พิธี การแต่งงาน ซง่ึ มีความหมายของการเร่มิ ต้น แสงแหง่ เปลวเทยี นจะนำทางไปสู่ความสวา่ งไสวในชีวิตคู่ ชาวอเมริกันนิยมนำเทยี นมาประดับประดาบนโต๊ะอาหาร แสดงถงึ ฐานะ ความภูมฐิ าน และมีรสนิยม และเพื่อให้เกิดความสว่างไสว อีกทั้งแสงสวา่ งของเทียน สามารถสร้างบรรยากาศ และดูสวยงามอกี ด้วย ในปัจจุบันได้มีการประยุกต์ให้นอกจากเทียนมีความสวยงามแล้ว ยังมีการนำกลิ่นหอม หรือ น้ำมนั หอมละเหยมาผสมเพื่อให้ไดก้ ล่นิ ตามตอ้ งการ และนอกจากนี้ กลน่ิ นำ้ มันหอมละเหยนี้ มี

5 คุณสมบตั ิพเิ ศษซงึ่ แตกตา่ งกนั ออกไป เชน่ บางชนิดสามารถท่ีจะรักษาโรคได้ แก้อาการเครียด และทำ ให้ร่างกายผ่อนคลาย กลิ่นบางชนิด สามารถไล่ยุงได้ น้ำมันหอมละเหยเหล่านี้ไดม้ าจากการสกัดจาก พชื และสมนุ ไพรทางธรรมชาติ และบางชนดิ ไดม้ าจากการสงั เคราะห์ ซึ่งในปจั จุบันได้รบั ความนิยม ด้วยคุณลักษณะที่เป็นสิ่งที่ได้จากธรรมชาติ และช่วยรักษาสุภาพ ราคาไม่แพง เหมาะที่จะ นำไปเปน็ ของขวัญ ของท่ีระลึกฝากคนท่ีคณุ รัก เพื่อแสดงความห่วงใยต่อสุขภาพของคนท่คี ณุ รัก 2.2 ความรเู้ กี่ยวกบั นำ้ มันหอมระเหย น้ำมันหอมระเหยคืออะไร นำ้ มันหอมระเหยเป็นสารอนิ ทรียท์ ี่พืชผลติ ขึน้ ตามธรรมชาติ เก็บไวต้ ามสว่ นตา่ ง ๆ เชน่ กลีบ ดอก ผิวของผล เกสร ราก เปลือกของลำต้น หรือยางที่ออกมาจากเปลือก มีองค์ประกอบทางเคมที ี่ สลับซับซ้อนและแตกต่างกันนับสิบร้อยชนิด น้ำมันมีลักษณะเป็นของเหลวไม่เหนียวเหนอะหนะ เหมอื นนำ้ มนั พชื มีกล่ินหอมระเหยง่าย เวลาที่ได้รบั ความร้อนอนภุ าคเลก็ ๆ ของนำ้ มนั หอมระเหยจะ ระเหยออกมาเป็นไอทำให้เราได้กลิ่นหอม กลิ่นของน้ำมันหอมระเหยในส่วนของดอกไม้มีบทบาท สำคัญในการช่วยดึงดูดแมลงมาผสมเกสร ปกป้องการรุกรานจากศัตรู และรักษาความชุ่มชื้นแก่พืช สำหรับประโยชน์ต่อมนุษย์ น้ำมันหอมระเหยมีคณุ สมบัติในการฆ่าเชื้อโรค บรรเทาอาการอักเสบ หรือ ลดบวม คลายเครียด หรอื กระตุ้นให้สดช่นื ทั้งขึน้ อย่กู บั องคป์ ระกอบทางเคมขี องนำ้ มนั หอมระเหยแต่ ละชนดิ น้ำมันหอมระเหยมผี ลต่อร่างกายต่าง ๆ มากมาย แตกตา่ งกันตามแต่ละชนดิ ดังน้ี 1) มีผลกระตนุ้ การไหลเวียนของระบบเลือด ช่วยให้ร่างกายสามารถขจัดของเสียไดม้ ากขน้ึ 2) ชว่ ยเสริมภมู ิต้านทานร่างกายและชะลอการเหย่ี วย่นของผิว 3) มผี ลตอ่ ระบบการทำงานของนำ้ เหลือง เม็ดเลอื ดขาว ท่ขี จัดเชอื้ โรคทเี่ ข้าส่รู ่างการ ชว่ ยรักษา อาการอกั เสบ 4) ช่วยผอ่ นคลายกล้ามเนอื้ บรรเทาอาการปวดเมือ่ ย และกระต้นุ การทำงานของกลา้ มเนือ้ 5) มีผลต่อระบบย่อยอาหาร กล้ามเนื้อในระบบย่อยอาหาร ช่วยขับลม ลดแก๊ส มีผลต่อระบบ ประสาท กระตุน้ ความจำ อารมณ์ ชว่ ยผอ่ นคลายหรอื กระต้นุ ความรสู้ กึ 6) มผี ลต่อระบบสบื พนั ธ์ ฮอรโ์ มนเพศ เชน่ รักษาสมดุลของรอบเดือน หรอื กระตุ้นความรู้สึกทาง เพศ 7) มีผลต่อโครงสร้างรา่ งกาย รักษาแผล สร้างเซลลใ์ หม่ 8) มผี ลตอ่ การรักษาผวิ ลดเลือนรอยแผลเป็นหรอื ใช้สมานแผลเพื่อป้องกนั รอยแผลเป็น

6 วิธกี ารกล่นั และสกัดนำ้ มนั หอมระเหย การสกัดกลิน่ หอมออกจากพืชหอมแตล่ ะชนดิ นน้ั ไดม้ กี ารทำมาเป็นเวลานานแล้ว โดยในสมัย โบราณจะนิยมนำดอกไม้หอมมาแช่น้ำทิ้งไว้ และนำน้ำที่มีกลิ่นหอมนั้นไปใช้ดื่มหรืออาบ ต่อมาได้มี การพัฒนาวิธีการสกัดกลิ่นหอมเพื่อให้ได้กลิ่นหอม หรือ น้ำมันหอมระเหยที่มีคุณภาพและปริมาณ สูงสดุ วธิ กี ารดังกล่าวมีหลายวธิ ี การทีจ่ ะเลอื กใชว้ ธิ ใี ดนั้น ตอ้ งพจิ ารณาลกั ษณะของพชื ทจ่ี ะนำมาสกัด ด้วย วธิ ีการสกดั น้ำมันหอมระเหยสามารถแบง่ ออกไดด้ งั น้ี 1. การกลั่นโดยใช้น้ำ (Steam Distillation) การกลั่นน้ำมันหอมระเหยด้วยวิธกี ารกลั่นด้วย ไอน้ำ หรือ Steam Distillation เป็นวิธีที่นิยมมากที่สุดและใช้ในการกลั่นน้ำมันหอมระเหยเกือบ ทั้งหมดที่มีการผลิตขึ้น วิธีการกลั่นจะเป็นการผ่านไอน้ำจากเครื่องกำเนิดไอน้ำเขา้ ไปในหม้อควบคุม ความดันที่บรรจุวัตถุดิบของพืชที่นำมากลั่นน้ำมันหอมระเหยเมื่อความร้อนจากไอน้ำกระทบกับ วัตถดุ ิบ ไอนำ้ กจ็ ะนำพาน้ำมนั หอมระเหยทีอ่ ยู่ในพืชชนิดนั้น ๆ ออกมาผ่านท่อเกลยี วท่ีหล่อเล้ียงด้วย น้ำเย็นเพื่อให้เกิดการลดอุณหภูมิและควบแน่นกลายเป็นของเหลวหลังจากนั้นของ เหลวจากการ ควบแน่นท่ไี ด้กจ็ ะไหลผ่านท่อควบแน่นเข้าสู่หลอดแก้วไดน้ ำ้ มันหอมระเหยท่แี ยกชัน้ ออกจากน้ำ แล้ว จึงนำน้ำมันหอมระเหย (Pure Essential Oil) และน้ำสกัดน้ำมันหอมระเหย (Floral Water หรือ Hydrosol) ท่ไี ด้ เก็บใสภ่ าชนะเพอ่ื ตรวจสอบคณุ ภาพต่อไป วธิ กี ารกลน่ั นำ้ มนั หอมระเหยด้วยไอน้ำนมี้ ี ข้อดีคือ วิธีการกลั่นและอุปกรณ์ไม่ยุ่งยากซับซ้อนสามารถใช้ได้กับพืชแทบทุกชนิดและน้ำมันหอม ระเหยที่ได้มีคุณภาพดีมีความบริสุทธิ์100%หรือแม้แต่ สารสำคัญบางชนิดในน้ำมันหอมระเหยบาง ชนิด จริง ๆ แล้วไม่ได้มีอยู่ตามธรรมชาติ แต่จะเกิดขึ้นภายใต้กระบวนการกลั่นด้วยไอน้ำ เช่น สาร Chamazulene ซึ่งเป็นสารมีสีน้ำเงินที่เป็นสารสำคัญในน้ำมันหอมระเหย German Chamomile โดยปกติจะไม่ได้มีอยู่ตามธรรมชาติแต่จะเกิดขึ้นในกระบวนการกลั่นน้ำมันหอมระเหยด้วยไอน้ำ เท่าน้นั อย่างไรก็ดกี ารกลน่ั ด้วยไอน้ำก็มีขอ้ เสียอยู่บ้างคือกระบวนการน้ีจะต้องใช้ไอน้ำท่ีมีความร้อน จึงไมเ่ หมาะกบั วัตถุดิบทมี่ ีสารธรรมชาติสำคญั ที่ถูกทำลายได้ง่ายเมอื่ เจอกับความรอ้ น เช่น สารสำคัญ บางชนิดในดอกมะลิ (Jasmine) จะสลายไปเมื่อเจอกับความร้อนจงึ ทำให้ไม่สามารถใช้กระบวนการ กลน่ั ดว้ ยไอน้ำในการผลติ นำ้ มันหอมระเหยจากดอกมะลิได้ในอนาคต ปัญหาน้ีอาจถูกแก้ไขไดด้ ้วยการ ใชร้ ะบบการกลัน่ ภายใต้แรงดนั สูงเพ่อื ลดอุณภูมขิ องไอนำ้ ใหน้ อ้ ยลงแตก่ ็จะทำให้ตน้ ทุนการผลิตสูงข้ึน ดว้ ย ดงั น้ันการสกัดกลิ่นหอมจากดอกมะลหิ รอื พชื ชนิดอื่นๆ ทมี่ ีปญั หาข้างตน้ จึงมีการนำกระบวนสกัด ดว้ ยวิธกี ารอ่ืนมาใชแ้ ทน เชน่ การสกดั ด้วยตวั ทำละลาย หรอื สกดั ด้วยคาร์บอนไดออกไซด์ นำ้ มันหอม ที่ได้จากการสกัดด้วยวธิ ีการกลัน่ ด้วยไอน้ำ จะถูกเรียกว่า \"น้ำมันหอมระเหย\" หรือ \"Pure Essential Oil\"ure Essential Oil\"

7 ภาพท่ี2.1 การสกัดนำ้ มันหอมระหย ที่มา: https://www.botanicessence.com/essential-oil/home/knowledge.jsp 2. การสกัดด้วยวิธีการบีบเย็น (Expression หรือ Cold Pressed หรือ Mechanically Pressed) การน้ำมันหอมระเหยหรอื นำ้ มันหอมดว้ ยวธิ ี Cold Pressed หรือ Mechanically Pressed เกือบทั้งหมดใชใ้ นการสกัดน้ำมนั หอมระเหยจากผวิ ของพืชตระกูลส้ม เชน่ สม้ มะนาว เลมอน มะกรูด เบอร์กามอท แมนดาริน และอื่น ๆ วิธีการสกัดคือการนำผิวของผลจากพืชแต่ละชนิดมาใส่ในหม้อ ขนาดใหญ่ แลว้ กดด้วยแท่นไฮดรอลกิ โดยใช้แรงกดสูง เม่ือแท่นไฮดรอลิกบีบลงบนวัตถุดิบ ทำให้เซลล์ ผิวของพืชเกดิ การแตกตัวใหน้ ้ำมันออกมาลงในภาชนะทีร่ องรบั เอาไว้ วิธกี ารใชไ้ ฮดรอลิกแบบนี้มีข้อดี คือไม่มีความร้อนเกิดข้ึนในกระบวนการบีบ ซึ่งแตกต่างกับการใช้การบีบแบบเครื่องบีบเกลียวหมุน หรือ Screw Pressed ซึ่งจะทำให้เกิดความร้อนและอาจทำลายคุณภาพของน้ำมันที่สกัดได้ จริง ๆ แล้วน้ำมันสกัดด้วยวิธีนี้จะไม่เรียกว่าน้ำมันหอมระเหย เพราะว่าน้ำมันที่ได้จากการสกัด จะมี สารประกอบอื่น ๆ ที่ไม่ละลายในน้ำมันหรือระเหยไม่ได้อยู่ด้วย หากเรียกให้ถูกต้องตามหลักสากล แล้ว น้ำมันสกัดจากพืชทุกชนิดด้วยวิธีนี้ จะต้องเรียกว่า \"Essence\" ไม่ใช่ \"Essential Oil\" แต่ว่า เพ่ือให้เขา้ ใจไม่สับสนมากไปนัก หลาย ๆ ทจี่ ึงมักใช้คำว่า \"นำ้ มันหอมระเหย\" หรอื \"Pure Essential Oil\" ก็ไม่ผิดอะไรมากนัก (เราก็ด้วย) สำหรับวัตถุดิบบางชนิด อย่างเช่นเบอร์กามอท เมื่อมีการสกัด น้ำมันหอมออกมาแล้ว น้ำมันหอมที่ได้อาจมีสารบางชนิดที่ไม่ต้องการเจือปนอยู่ด้วย เช่น สาร bergaptene ซึ่งเป็นสารที่อยู่ในกลุ่ม Furanocoumarins ที่มีอยู่ประมาณ 1-4% ในน้ำมันสกัดจาก เบอร์กามอท สารในกลุ่มนี้เป็นตัวเร่งให้เกิดอาการระคายเคืองต่อผิวเมื่อสัมผัสกับแสงแดด (Phototoxicity) จึงทำให้น้ำมันหอมระเหยหลาย ๆ ชนิดที่มีสารในกลุ่มนี้เป็นส่วนประกอบ ถูก แนะนำให้ระมดั ระวังโดยตอ้ งหลกี เล่ยี งการถูกแสงแดดเป็นเวลา 3-5 ชั่วโมงหลังจากการใช้ หรือใช้ใน เวลากลางคืนเท่าน้ัน จึงทำให้มีการนำน้ำมันหอมระเหยเบอร์กามอทไปผา่ นกระบวนการกลั่นด้วยไอ น้ำซ้ำ (Rectification หรือ re-Distillation) เพื่อดึงเอาเฉพาะน้ำมันหอมระเหยออกจากน้ำมันสกัด ทำให้ผลผลิตทไี่ ด้จากกระบวนการนี้ สามารถเรยี กไดว้ า่ เป็นน้ำมนั หอมระเหยเบอร์กามอท หรืออีกช่ือ หนง่ึ ทเ่ี รียกคือ Bergamot FCF (FuranoCoumarins Free) 3. การสกัดโดยใช้ตัวทำละลาย (Solvent Extraction) วัตถุดิบจากพืชหรือดอกไม้หลาย ๆ ชนิด ไมส่ ามารถสกัดดว้ ยวิธีการกลัน่ ดว้ ยไอน้ำได้เน่อื งจากหลากหลายเหตุผล เช่น สารสำคัญอาจถูก

8 ทำลายเพ่ือถกู ความร้อน ทำใหส้ ูญเสยี กลิน่ หอมอนั เป็นเอกลักษณข์ องวัตถุดบิ หรอื เม่ือกล่ันด้วยไอน้ำ แลว้ คุณสมบตั ขิ องนำ้ มันหอมระเหยท่ีไดม้ กี ลนิ่ หอมที่ไมต่ ิดทนนาน หรอื มีกลิ่นหอมเพี้ยนไปจากกล่ิน ที่สูดดมจากวัตถุดิบจริง ๆ จึงทำให้ต้องมีกระบวนการสกัดน้ำมันหอมอีกกระบวนการหน่ึงเข้ามา เกี่ยวข้อง นั่นคือการสกัดน้ำมันหอมด้วยวิธีการใช้ตัวทำละลาย หรือ Solvent Extraction วัตถุดิบ จากพืชและดอกไม้ที่นิยมใช้กระบวนการนี้ในการสกัดสารหอมคือ มะลิ กุหลาบ ซ่อนกลิ่น ดอกบัว เป็นต้น กระบวนการสกัดเริ่มจากการนำวัตถุดิบไว้ในหม้อความดันขนาดใหญ่ที่เป็นระบบปิด โดย วัตถุดิบจะถูกผสมด้วยสารที่ใช้เป็นตัวทำละลายที่เป็น organic solvent เช่น acetone, benzene หรอื hexane โดยที่ตวั ทำละลายจะดงึ เอาสารทุกชนิดที่สามารถเข้ากนั ไดก้ ับตัวทำละลายออกมาจาก วตั ถดุ บิ พืช ไม่วา่ จะเป็น แวกซ์ สี รวมถึงสารหอมท่ีต้องการดว้ ย สิ่งที่เกิดข้ึนในกระบวนการนี้เรียกว่า \"Extract\" และจะถกู กล่ันกรองแยกออกจากวัตถุดบิ เข้าสู่อีกหม้อกล่ันหนง่ึ โดยการเพิ่มความร้อนและ ความดันในปริมาณน้อยที่เพียงพอจะให้สารละลายที่มีทั้งตัวทำละลาย แวกซ์ สี และกลิ่นหอมน้ี ระเหยออกมาสู่อีกหม้อกลั่นหนึ่งเพื่อให้ได้สารละลายที่เรียกว่า \"Concrete\" หลังจากนั้นจะนำ Concrete ที่ได้มาผสมกับแอลกอฮอล์ เพื่อสกัดแยกแวกซ์ออกจาก concrete แล้วจึงนำไปผ่าน กระบวนการแยกแอลกอฮอลอ์ อกอกี คร้ังหนึ่งดว้ ยกระบวนการ Vacumn Extraction จึงไดผ้ ลิตภัณฑ์ สุดท้ายเปน็ สารหอมบรสิ ทุ ธิ์จากพืช หรอื ทเี่ รยี กวา่ \"Absolute\" อยา่ งท่ีอธิบายไปแลว้ ข้างต้น ข้อดขี อง กระบวนการสกัดนค้ี อื นำ้ มนั หอมท่ีไดจ้ ะมีกล่ินหอมที่ใกลเ้ คียงกับกลิน่ หอมจากวตั ถุดิบจริง ๆ มากกว่า นำ้ มันหอมระเหยทีไ่ ด้จากการกลน่ั ด้วยไอน้ำและมีกลิ่นหอมติดทนนานกว่า จงึ ไดร้ ับความนิยมในการ นำไปใช้ในอุตสาหกรรมน้ำหอมซะเป็นส่วนใหญ่ แม้แต่พืชบางชนิดที่ปกติจะสกัดน้ำมันหอมระเหย ด้วยการกลั่นด้วยไอน้ำเท่านั้น เช่น ลาเวนเดอร์ ก็ยังมีการนำมาสกัดด้วยวิธี Solvent Extraction เพ่ือให้ได้น้ำมันหอมสกัดจากดอกลาเวนเดอร์ทม่ี กี ลิ่นหอมติดทนนาน เปน็ Base Note ซึง่ แตกต่างกับ น้ำมันหอมระเหยลาเวนเดอร์ทีก่ ล่ันด้วยไอน้ำซึ่งปกติจะมีคุณสมบัตเิ ป็น Top Note แต่ว่าข้อเสียของ การสกัดด้วยวิธี ตี ัวทำละลายนี้คือ ความบริสุทธิ์ของน้ำมันหอมสกัดจะไม่ได้ดีเท่าการสกดั ด้วยวิธีการ กลนั่ ด้วยไอนำ้ ดงั น้ันนำ้ มันหอมสกัดด้วยวิธนี ี้ จงึ ไมค่ อ่ ยไดร้ ับความนยิ ม หรอื ไม่ถูกแนะนำให้นำไปใช้ ในเชงิ สคุ นธบำบัดเท่าไหรน่ ัก เชน่ Rose Oil จะใชใ้ นเร่ือง Aromatherapy แต่ Rose Absolute จะ ใชท้ ำน้ำหอม 4. การสกัดโดยใช้คาร์บอนไดออกไซค์เหลว (SFE-CO2) การสกัดด้วยคาร์บอนไดออกไซค์ เหลว เป็นเทคโนโลยีสมยั ใหม่ทีส่ กัดนำ้ มันหอมระเหยใหไ้ ด้คณุ ภาพและความบริสุทธิ์ทด่ี ีท่ีสุด เป็นการ รวมข้อดีของการกลัน่ ด้วยไอน้ำและการสกดั ด้วยตัวทำละลายเข้าไว้ด้วยกนั คือ การสกัดด้วยวิธีนี้จะ ทำให้ไดน้ ำ้ มนั หอมระเหยทมี่ คี วามบริสุทธิ์เทียบเทา่ กับการกลั่นดว้ ยไอน้ำ ในขณะท่ีรักษาคณุ ภาพของ กลิ่นหอมได้ใกล้เคียงกับกลิ่นหอมจากธรรมชาติมากที่สุดเช่นเดียวกับการกลั่นด้วยวิธีตัวทำละลาย เพียงแต่ข้อจำกัดคือปริมาณของวัตถุดิบที่ใช้ในการกลั่นในแต่ละครั้งทำได้ในปริมาณน้อย และ

9 เทคโนโลยีที่ใช้ รวมถึงวัสดุอุปกรณ์และสารที่จำเป็นในกระบวนการทำให้กระบวนการกลั่นด้วยวิธี SFE-CO2 มีราคาค่อนข้างสูง จงึ มกี ารนำมาใช้กบั วตั ถุดิบบางชนิดท่ีจำเป็นเท่าน้ัน เช่น ดอกมะลิ จำปี เมลซิ ซา ทีม่ ีราคาสูง แต่จริง ๆ แลว้ ก็สามารถนำมาใชก้ ับวัตถุดิบหลาย ๆ ชนิดไดเ้ ชน่ กัน ขึ้นอยู่กับว่า ราคาที่ออกมานั้นตลาดยังพอรองรบั ได้ กระบวนการสกัดเริ่มจากการผสมคาร์บอนไดออกไซค์เหลว เข้ากับวัตถุดิบที่ใช้สกัดในระบบปิดที่มีความดันสูง (เนื่องจากคาร์บอนไดออกไซค์จะมีสภาวะเป็น ของเหลวที่อุณหภูมิต่ำมากหรือตอ้ งมีความดันสูงมาก) เมื่อคาร์บอนไดออกไซค์เหลวสามารถละลาย สารหอมออกจากวัตถุดิบพืชที่นำมาสกัดได้แล้ว จึงแยกสารละลายออกจากตัววัตถุดิบ จะได้ สารละลายทมี่ เี ฉพาะคาร์บอนไดออกไซค์เหลวและสารหอมท่ีสกัดไดท้ ง้ั หมด หลงั จากน้ันจึงทำการลด ความดนั ลงเพือ่ ใหค้ ารบ์ อนไดออกไซค์ระเหย เหลอื แต่น้ำมนั หอมทีส่ กดั ไดท้ ่ีมีความสะอาดและมีความ บริสุทธส์ิ ูง 5. อื่น ๆ นอกจากวิธีการสกัดน้ำมันหอมระเหยที่เป็นกระบวนการที่ใช้ทั่วไปข้างต้น ยังมี กระบวนการสกัดอีกหลายแบบ เพียงแต่ยังไม่เป็นที่นิยมด้วยเหตุผลต่าง ๆ เช่น มีราคาสูง ยังไม่ดี พอที่จะแทนทีว่ ิธกี ารเดิม หรอื เปน็ กระบวนการสกัดที่ลา้ สมัยแล้ว หากสนใจสามารถหาข้อมลู ได้โดยใช้ Keywords ดังต่อไปนี้ 1) Hydro 2) Distillation 3) Enfleurage 4) Maceration 5) Phytoni การใชน้ ำ้ มนั หอมระเหยในเชงิ Aromatherapy แบ่งเป็น 3 ประเภท การนำน้ำมันหอมระเหยไปใช้ในด้านการบำบัดทางเลือกด้วยกลิ่นหอม( Aromatherapy) หรือท่ีเรยี กวา่ สุคนธบำบดั นัน้ แบ่งไดเ้ ป็น 3กลมุ่ ดังนี้ 1. การนำไปใช้ในเชิงจิตบำบัด หรือ Psychoaromatherapy เป็นการใช้น้ำมันหอมระเหย เพอื่ ความสมดุลของจิตใจ โดยแต่ละชนิดของนำ้ มนั หอมระเหยก็จะออกฤทธแิ์ ตกต่างกัน โดยหลักการ คือเมื่อสูดดมน้ำมันหอมระเหย กลิ่นหอมจะไปกระทบกับเซลล์ประสาทบริเวณโพรงจมูกซึ่งส่ง สัญญาญไปยงั สมองให้สัง่ ใหต้ ่อมต่าง ๆ หลั่งฮอร์โมนทีแ่ ตกตา่ งกันออกมา ผลที่ได้คอื ชว่ ยใหร้ ู้สึกสงบ ช่วยผ่อนคลายหรือกระตุ้นการทำงานของสมอง ช่วยบรรเทาความรู้สึกที่สับสนหรือหงุดหงิด ผ่อน คลายความเครียดจากการทำงานและความกังวล ให้ความรู้สึกมีพลังและสดชื่นกระปรี้กระเปร่า ให้ ความรู้สึกอบอุ่น มั่นคง แก้โรคซึมเศร้า และอาการป่วยทางจิตต่าง ๆ คุณสมบัติจะแตกต่างกันไป

10 ขึน้ อย่กู ับสารประกอบธรรมชาติทม่ี ีในน้ำมนั หอมระเหยแต่ละชนิด เช่น ลาเวนเดอรช์ ่วยให้ผ่อนคลาย ยูคาลปิ ตสั และโรสแมรี่ช่วยให้สดชนื่ เปน็ 2. การนำไปใช้เพื่อความสวยงาม หรือ Beauty Aromatherapy เป็นการนำน้ำมันหอม ระเหยมาใช้กบั รา่ งกายภายนอก ไมว่ า่ จะเปน็ ผวิ กาย เส้นผม และนำไปใช้เป็นส่วนผสมในเคร่ืองสำอาง เพื่อความสวยงามต่าง ๆ ไม่ว่าจะนำไปผสมกับน้ำมันพื้นฐาน เช่น น้ำมันโรสฮิป น้ำมันมะรุม น้ำมัน เมล็ดทบั ทิม หรือผสมกับ Base อนื่ ๆ เพือ่ ใช้สำหรับทาผวิ หรอื นำไปใช้หมักผม มีสรรพคุณช่วยบำรุง ผิว ชะลอริ้วรอยแหง่ วยั ช่วยให้เซลล์ผวิ เปล่งปล่ังมีน้ำมีนวล ลดเลือนริ้วรอยท่ีเกิดจากบาดแผล หรือ แผลเปน็ ตา่ ง ๆ ดแู ลสขุ ภาพเสน้ ผมและหนงั ศีรษะ แล้วยงั ช่วยกระตุ้นการเจริญเตบิ โตของเส้นผมได้อกี ด้วย เนือ่ งจากน้ำมนั หอมระเหยมีสารประกอบตามธรรมชาตินับร้อยชนิด ซง่ึ แตล่ ะชนิดก็มีคุณสมบัติ แตกต่างกันไป เชน่ ลาเวนเดอรช์ ว่ ยฟืน้ ฟผู วิ จากแผลไฟไหมห้ รือน้ำรอ้ นลวก อมิ มอคแทลและโรสแมรี่ ช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของเซลลผ์ วิ ใหม่ เป็นต้น 3. การนำไปใช้เพื่อการรักษาร่างกาย หรือ Medical Aromatherapy สิ่งที่พิเศษอีกอย่าง หนึ่งของน้ำมันหอมระเหยคือ การนำไปใช้ในการบำบัดรักษาโรคภัยต่าง ๆ น้ำมันหอมระเหยหลาย ชนิด เชน่ ลาเวนเดอร์ ทที รี มีสารต้านเช้ือโรค แกป้ วด แกอ้ ักเสบ ช่วยกระตุน้ ระบบการไหลเวียนของ เลือด รักษาโรคทางระบบทางเดินหายใจ และทางเดินอาหาร การนำน้ำมันหอมระเหยไปใช้ในเชิง รักษา ผู้ใชค้ วรเรยี นรูใ้ หช้ ัดเจนเสียกอ่ น หรือปรึกษาแพทยก์ ่อนใช้ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ เนื่องจากน้ำมัน หอมระเหยมีความเขม้ ข้นสงู มาก จงึ ไมค่ วรรับประทานหรือผสมนำ้ มันหอมระเหย ลงไปในอาหารหรือ ยาใด ๆ ควรใช้เป็นการรักษาภายนอกเทา่ นน้ั ว่าอย่างไรก็ตาม โดยปกติแล้วไม่แนะนำให้ใช้น้ำมันหอมระเหยติดต่อกันเป็นเวลานานมากกว่า 12 สัปดาห์ เนื่องจากร่างกายจะจะเคยชินต่อผลของน้ำมันหอมระเหยนั้น ไม่ควรรับประทาน หรือนำ นำ้ มนั หอมระเหยมาทาผิวโดยตรง เน่อื งจากนำ้ มนั หอมระเหยมีความเขม้ ขน้ สูงมาก อาจทำให้เกิดการ ระคายเคืองต่อผิวได้ เราจึงควรที่จะเจือจางน้ำมันหอมระเหยประมาณ 0.1-2.0% ก่อนที่จะนำมาใช้ ทุกคร้งั ผูใ้ ช้บางรายอาจมีอาการแพ้สารบางชนิดในน้ำมันหอมระเหย เราจึงแนะนำใหค้ ณุ ควรทดสอบ แต้มน้ำมันหอมระเหยบาง ๆ ลงบนผิวหนังเพื่อทดสอบดูอาการแพ้ ถ้าเกิดอาการคันหรือมีผื่นขึ้น ก็ ควรหลีกเลี่ยงที่จะให้น้ำมันหอมระเหยชนิดนั้น พึงระลึกไว้เสมอว่าAromatherapy หรือการบำบัด ด้วยกลน่ิ นัน้ เปน็ การรกั ษาทางเลอื ก มิใชก้ ารรกั ษาหลัก และมกั นยิ มใช้เพอ่ื การผอ่ นคลายรา่ งกาย และ จติ ใจเสยี มากกว่า เพราะฉะนั้นจึงควรปฏิบัติตวั ตามคำแนะนำของแพทย์ผู้ให้การรกั ษาตามปกติ การ ดื่มน้ำ พักผอ่ นมาก ๆ ทำจิตใจให้สบาย และรบั ประทานอาหารที่ถูกตอ้ งตามหลักโภชนาการเป็นส่ิงที่ ดที ี่สดุ สำหรับการรกั ษาสุขภาพใหแ้ ขง็ แรง

11 กลไกการออกฤทธ์ิของน้ำมันหอมระเหยทมี่ ีผลต่อร่างกายและระบบประสาท ในน้ำมนั หอมระเหยแต่ละชนิด เมอื่ นำมาวเิ คราะห์หาองค์ประกอบดว้ ยกระบวนการทางเคมี จะพบว่าประกอบด้วยสารประกอบธรรมชาติหลักที่มีปริมาณประมาณ 60-80% อยู่ประมาณ 3-10 ชนดิ และมีสารประกอบอน่ื ๆ อีกกวา่ สิบชนดิ ในปรมิ าณที่ลดน้อยลงไป หรอื อาจมมี ากกว่า 100 ชนิด ในน้ำมันหอมระเหยของพืชบางชนิด ซึ่งทั้งหมดนี่ เป็นส่วนประกอบเข้าด้วยกันที่ทำให้น้ำมันหอม ระเหยในพชื แตล่ ะชนดิ มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว และแตกต่างกันถงึ แม้ว่าจะเปน็ พืชชนิดเดียวกัน ความ แตกต่างนี้ เป็นผลมาจาก วิธกี ารเพาะปลูก การดูแลรกั ษา ดนิ ปุ๋ย และสภาพอากาศในแต่ละฤดูกาล เพาะปลกู ซ่ึงความหลากหลายในดา้ นองค์ประกอบนี้ ทำใหน้ ้ำมนั หอมระเหยแทท้ ี่ได้มาจากพชื 100% มีคุณสมบัติทางด้านการให้กลิ่นหอมพึงพอใจ คุณสมบัติทางการแพทย์ในการบำบดั รักษาทั้งร่างกาย และจิตใจ และคุณสมบัติอื่น ๆ ทั้งหมด แตกต่างกับน้ำมันหอมสังเคราะห์ที่จะทำขึ้นมาจากสาร สังเคราะห์ต่าง ๆ ไม่เกิน 10 ชนิดจากห้องปฏิบัติการ และมีผลต่อผู้ใช้แค่กลิ่นที่พึงพอใจ นี่จึงเป็น เหตุผลที่อธิบายความแตกต่างกันของน้ำมันหอมระเหยแท้ และน้ำมันหอมสังเคราะห์ กลไกการออก ฤทธิ์ของน้ำมันหอมระเหย กล่าวคือ ในประสาทสัมผัสทั้ง 5 ของคนเรา อันได้แก่ รูป รส กลิ่น เสียง และสัมผัส ประสาทสัมผัสทางด้านกลิ่นเป็นประสาทสัมผัสที่ได้ชื่อว่ามีผลต่อการประมวลความรู้สกึ ทางด้านอารมณข์ องสมอง เม่อื ไอโมเลกลุ ของน้ำมนั หอมระเหยท่ีมีสารประกอบกวา่ รอ้ ยชนิดในน้ำมัน หอมระเหยกระทบกับต่อมรับกลิ่นในโพรงจมกู ทม่ี เี ซลลร์ ับรู้กว่าลา้ นเซลล์น้ัน สารประกอบแต่ละชนิด ในนำ้ มนั หอมระเหยจะทำใหเ้ กดิ สัญญาณท่สี ่งไปที่สมองแตกต่างกัน ทำใหส้ มองมีการสั่งงานไปที่จิตใจ หรือหล่งั ฮอรโ์ มนส่ังงานร่างกายแตกตา่ งกัน ไม่ว่าจะเป็นเรอ่ื งของ อารมณ์ ความรู้สกึ การตอบสนอง ของอวยั วะต่าง ๆ ในรา่ งกาย เชน่ นำ้ มนั หอมระเหยเปปเปอรม์ ๊นิ ทม์ ีฤทธิ์กระตุน้ ให้ร่างกายรู้สึกตื่นตัว สดชืน่ ในทางกลับกัน นำ้ มันหอมระเหยจากวาเลเร่ียน มฤี ทธทิ์ ำให้เกดิ ความรสู้ ึกงว่ งนอน หรือน้ำมัน หอมระเหยทมี่ ีฤทธ์ิกระตนุ้ หลาย ๆ ตวั มผี ลทำให้สมองส่ังการหลั่งฮอร์โมนให้เกิดการกระตุ้นการบีบ ตัวของมดลูกในผู้หญงิ จึงได้มีการแนะนำอยา่ งเข้มงวดในการห้ามสตรีมคี รรภใ์ ช้น้ำมนั หอมระเหยขณะ ตง้ั ครรภ์ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในชว่ ง 0-4 เดอื นแรก นำ้ มันหอมระเหยสามารถรกั ษาโรครา้ ยตา่ ง ๆ ได้หรือไม่ จากที่ได้ยินมามากมายเกี่ยวกับการนำน้ำมันหอมระเหยไปรักษาโรคต่าง ๆ ไม่ว่าจะเปน็ การ รักษาอาการเจบ็ ป่วยธรรมดา จนถึงโรครา้ ยบางชนิด เชน่ โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง โรคหัวใจ เราจงึ ขอ เตือนผ้ใู ชห้ รอื คดิ จะใช้น้ำมันหอมระเหยวา่ นีอ่ าจเป็นการอวดอา้ งสรรพคณุ เกนิ จรงิ และไม่มีหลักฐาน ทางวิทยาศาสตร์หรือเอกสารทางวิชาการใด ๆ ที่รับรองได้ว่า น้ำมันหอมระเหยแต่ละชนิดสามารถ รักษาโรคร้ายได้จริง ถึงแม้ว่าจริงอยู่ที่มีการพิสูจน์และรับรองจากทางยุโรปและอเมริกามาแล้วว่า

12 น้ำมันหอมระเหยมีสารประกอบที่มีกลไกการออกฤทธิ์ที่มีผลต่อระบบต่าง ๆ ของร่างกาย หรือ สามารถบรรเทาอาการปว่ ยบางอย่าง เช่น เป็นไข้ รักษาบาดแผล ปวดท้อง ชว่ ยให้ย่อย เจริญอาหาร หรือระงับสตอิ ารมณไ์ ดน้ ัน้ แต่ไมเ่ ป็นความจริงที่ว่าน้ำมันหอมระเหยเพียงอย่างเดียวจะดีขนาดนำไป รักษาโรคร้ายต่าง ๆ ได้ เพียงแต่อาจจะช่วยในเรื่องจิตบำบัด ช่วยผ่อนคลายความกังวล หรือเป็นตัว เสรมิ เทา่ นั้น ซงึ่ บคุ คลท่เี กย่ี วขอ้ งและสถาบนั ทางการแพทย์ ไดแ้ นะนำใหใ้ ช้น้ำมันหอมระเหยเป็นเพียง การบำบัดทางเลอื ก มากกวา่ ทจ่ี ะเป็นการรักษาหลัก ซึง่ เราแนะนำว่า การปฏิบตั ิตามคำสั่งแพทย์ และ การรับประทานอาการทีถ่ ูกหลักโภชนาการ พักผ่อนให้เพยี งพอ ทำจิตใจให้แ่จ่มใส จะเป็นการรักษา และดูแลรา่ งกายท่ีมีประโยชน์มากทีส่ ดุ 2.3 ความรเู้ ก่ยี วกบั ดอกมะลแิ ละราสเบอรร์ วี่ านิลลา มะลิ เป็นพรรณไม้ยืนต้น และเป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก จนถึงขนาดกลางบางชนดิ ก็มีลำต้นแบบ เถาเลื้อย ลำต้นมีความสูงประมาณ1-3 เมตร ผิวเปลือกลำต้นสีขาวมีสะเก็ดรอยแตกเล็กน้อย ลำต้น เล็กกลมแตกกิ่งก้านสาขาไปรอบ ๆ ลำต้น ใบเป็นใบเดียวแตกใบเรียงกันเป็นคู่ ๆ ตามก้านและกิ่ง ลักษณะของใบมนป้อม โคนใบสอบเรียว ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบเป็นมันสีเขียวเข้ม ขนาด ใบ กว้างประมาณ 2-3 เซนติเมตร ยาวประมาณ 3-5 เซนติเมตร ออกดอกเป็นช่อ ออกตามสว่ นยอดหรือ ตามง่ามใบดอกเล็กสีขาวมกี ลีบดอกประมาณ 6-8 กลบี เรยี งกันเปน็ วงกลมหรือซ้อนกันเปน็ ชนั้ แลว้ แต่ ชนดิ พนั ธ์ุ ขนาดดอกบานเต็มท่ีประมาณ 2-3 เซนตเิ มตรผลเปน็ รูปกลมรีเล็กเม่อื สกุ จะมีสีดำภายในมี เมล็ดอยู่1เมลด็ นอกจากนลี้ ักษณะของลำตน้ และดอกแตกต่างกนั ไปตามชนดิ พันธุ์ คนไทยโบราณเชื่อว่า บ้านใดปลูกตน้ มะลิไว้ประจำบ้านจะทำให้เกิดความรกั ความคดิ ถงึ แก่ บุคคลท่ัวไปเพราะดอกมะลิเป็นดอกไมป้ ระจำวนั แม่แห่งชาติซง่ึ เปน็ สัญลกั ษณแ์ สดงถงึ ความรักของลูก ต่อแม่และผู้ทีม่ ีความกตญั ญูตอ่ ผู้มีพระคุณนอกจากน้ีคนไทย โบราณยงั เชื่ออกี วา่ บ้านใดปลูกต้นมะลิ ไวป้ ระจำบา้ น จะทำใหค้ นในบา้ นมีความบรสิ ุทธ์ิ เพราะดอกมะลมิ ีสขี าวบริสุทธ์ิ ขาวสะอาด ซ่ึงคนไทย นิยมใช้เปน็ เครือ่ งสักการบูชาพระ ดอกมะลิ เป็นทั้งพืชเศรษฐกิจและไม้ดอกที่นิยมปลูกกันในเมืองไทยมาช้านาน ด้วยเพราะ ปลูกง่าย และยังเป็นไม้มงคลที่ชว่ ยเสรมิ ดวงเสรมิ โชคชะตา เชอื่ กนั ว่า บ้านที่ปลูกต้นมะลจิ ะมีความสุข สงบ เป็นที่ประทับใจแก่ผู้คนรอบข้าง และยังเกื้อหนุนให้เกิดความกตัญญูของผู้เป็นลูกที่ดตี ่อแม่อีก ด้วย ชนดิ ของต้นมะลินน้ั มอี ยนู่ บั 10 ชนิด ที่มากทสี่ ดุ ในประเทศไทยคงตอ้ งยกให้ มะลลิ า เพราะเป็น พืชเศรษฐกิจท่ีเกษตรกรไทยปลกู ขายกนั แต่ถ้าพดู ถงึ ต้นมะลิทน่ี ยิ มปลกู ในบ้านเป็นไม้มงคลล่ะก็จะมี อยูด่ ้วยกนั 5 ชนิด ไดแ้ ก่ มะลซิ อ้ น, มะลิวัลย์, มะลิฉตั ร, มะลิพวง และพุทธชาติ ซึ่งลกั ษณะโดยท่ัวไป ของพมุ่ ตน้ จะคล้ายกนั แตก่ ็สามารถสังเกตความแตกต่างได้จากใบและรูปดอก และในโอกาสที่ใกล้จะ ถงึ วนั เเม่น้ี เราทง้ั หลายคนที่เป็นลูกๆ อยา่ ลลืมเอาดออกมะลิ ไปไหวค้ ณุ แม่ของเรานะค่ะ และรักคุณ

13 แม่ทกุ ๆ วนั ไม่จำเป็นเฉพาะวันแม่วันเดียวคะ่ ขอบคุณขอ้ มูลจาก และภาพประกอบจาก อินเตอร์เน็ต การทใี่ ช้ดอกมะลเิ ป็นสือ่ กลางในการแสดงความรักต่อแม่นัน้ เพราะดอกมะลิไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบใด มนั กย็ ังคงมีสขี าวซ่งึ แสดงถึงความขาวสะอาดบริสุทธ์ิ ดอกมะลิจงึ ถือว่าเป็นดอกไมม้ งคลชนิดหนึ่งที่คน ไทยนยิ มปลกู ไว้ประจำบา้ น คนไทยสมัยโบราณเชื่อวา่ การปลกู ต้นมะลเิ พื่อให้เกิดความเปน็ สริ มิ งคลแก่ บ้าน ควรปลูกในทศิ ตะวันตกเฉียงเหนือ และจากความเชือ่ ที่ว่าถ้าตอ้ งการประโยชน์ท่ัวไปจากดอกก็ ควรปลูกต้นไม้นั้นในวันพุธ ดังนั้นการ ปลูกต้นมะลิจึงนิยมปลูกในวันพุธ และอีกปัจจัยหนึ่งที่เป็น ประการสำคัญเพื่อความเป็นสิริมงคลคือ ผู้ปลูกควรเป็นสตรีสูงอายุ เช่น คุณย่า คุณยาย คุณแม่ เพราะท่านเหล่านี้เป็นผู้ที่มีแต่คุณงามความดีและเป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบสูง นอกจากนี้ยังเป็นที่ เคารพนับถือของบุคคลทั่วไป ดอกมะลิมีหลายพนั ธุ์ ทั้งชนิดที่มกี ลีบดอกชั้นเดียวและหลายชั้น ทั้งที่ เป็นดอกเดี่ยวและดอกช่อ แต่ที่คุ้นตากันเห็นจะเป็นดอกมะลิที่มีกลีบชั้นเดียว เรียกว่า มะลิลา นอกจากนี้ยังมีมะลิซ้อน มะลิวัลย์ มะลิพวง มะลิฉัตร พุทธชาติ เป็นต้น แต่พันธุ์ที่ส่งเสริมและนิยม ปลูกคือ มะลิลาพันธุ์แมก่ ลอง พันธุร์ าษฎร์บูรณะ และพันธุ์ชุมพร การปลูกมะลิไวป้ ระจำบ้านนั้นเชอ่ื กนั ว่าจะทำให้บ้านนั้ มคี วามสงบสขุ ผู้คนในบ้านจะดำรงตนเปน็ คนอยู่ในศีลในธรรม คนในบา้ นจะมีแต่ ความบรสิ ุทธ์ิ เอื้ออาทรตอ่ กนั มีแตค่ วามรกั ความคิดถงึ ใหแ้ ก่กนั และกันท้งั ต่อบุคคลในบา้ นและบุคคล อืน่ ดว้ ย และยงั เก้อื หนนุ ให้มีความกตัญญตู ่อบุพการแี ละผู้มพี ระคุณด้วย จากความเป็นมงคลของดอก มะลินเ่ี องจึงได้ถกู นำมาเปน็ ดอกไม้ประจำวนั แม่แหง่ ชาติ ซ่ึงหมายถึงความรกั และความกตัญญูของลูก ต่อแมแ่ ละผ้มู ีพระคณุ นอกจากดอกมะลจิ ะเปน็ สญั ลักษณ์ที่ใชแ้ สดงความรักต่อแม่แล้ว จะสังเกตเห็น ได้ว่า คนไทยนิยมใช้ดอกมะลิในการบูชาพระด้วย อันเนื่องมาจากความสะอาดบริสทุ ธิ์ ดอกมะลแิ ละ ต้นมะลินี้ ใช่ว่าจะเป็นเพียงไม้มงคลที่ให้เฉพาะดอกมะลิที่มีกลิ่นหอมเฉพาะตัวและความงามอัน สะอาด บรสิ ทุ ธ์ิ แลว้ นำมาร้อยมาลัย หรือสกัดทำน้ำมันหอมระเหยเทา่ น้ัน แตย่ ังเปน็ พืชสมนุ ไพรที่เรา สามารถนำส่วนตา่ ง ๆทัง้ ดอกสด ดอกแห้ง ใบ ลำตน้ ราก มาใชป้ ระโยชนไ์ ด้อย่างมากมาย เช่น ดอก สด ใชร้ กั ษาโรคตาเจบ็ แกไ้ ข้ ตัวรอ้ น เป็นหวัด ดอกแห้งใชป้ รุงเปน็ สารแตง่ กลิ่น ใบสดช่วยรักษาแผล พุพอง ลำต้น ช่วยในการขับเสมหะและโลหิต ราก นำมาฝนใช้แก้ปวด รักษาโรคร้อนใน เป็นต้น จะ เห็นได้ว่าดอกมะลิไมใ่ ช่เป็นเพยี งดอกไม้ธรรมดาที่ใชแ้ สดงถึงความบรสิ ุทธิ์ ความรัก ความกตัญญูต่อ แม่และผู้มีพระคุณเท่านั้น แต่ยังเป็นพืชสมุนไพรที่มีคุณประโยชน์มากมายที่เราไม่ควรมองข้ามและ ควรใสใ่ จในคุณค่าของพืชชนิดนด้ี ้วย ประเทศไทยเริ่มจดั งานวันแม่คร้งั แรกเมื่อวนั ที่ 10 มนี าคม พ.ศ. 2486 ณ สวนอัมพร โดยมีกระทรวงสาธารณสุขเป็นผู้จัดงาน ต่อมามีการเปลี่ยนกำหนดงานวันแม่ หลายครั้ง จนกระท่ังในปี พ.ศ.2519 คณะกรรมการอำนวยการสภาสงั คมสงเคราะหแ์ ห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์เห็นว่าควรกำหนดวันแม่ให้แน่นอนโดยให้ถือว่า วันเสด็จพระราชสมภพของ สมเด็จพระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินีนาถ วันที่ 12 สิงหาคม เป็นวันแม่แห่งชาติ และ กำหนดให้ดอก มะลิเป็นดอกไม้สัญลักษณ์ของวันแม่ตั้งแต่นั้นมาจนถึงปัจจุบันด้วยเหตุผลที่ให้ดอกมะลิ เป็นดอกไม้

14 สัญลักษณ์ของวนั แม่ ก็เนื่องจาก คนไทยถือเปน็ ดอกไม้มงคล นิยมเอาดอกมะลิมาร้อยเป็นมาลัยเพอ่ื บชู าพระ และดอกมะลเิ ป็นดอกไม้ท่ีมีสีขาวบริสุทธ์ิ สง่ กล่ินหอมไปไกลและหอมไดน้ าน อีกท้ังยังออก ดอกไดต้ ลอดทง้ั ปี เปรียบได้กับความรักอันบรสิ ุทธ์ขิ องแม่ที่มตี ่อลูกไมม่ วี นั เส่อื มคลายมะลิ นอกจากนี้ มะลิดอกแหง้ กย็ งั สามารถใช้ปรงุ เครือ่ งยาหอม ลักษณะของดอกมะลิ ภาพที่2.2 ลักษณะของดอกมะลิ ท่มี า: https://sites.google.com/site/tudxkmali/reuxng-thi-2-laksna-khxng-dxk-mali มะลิ มีลักษณะตน้ เป็นไม้พุ่ม ไม้เลื้อย และ ไม้รอเล้อื ย ใบมีทง้ั ใบเดย่ี วและใบรวม การจัดเรียง ตัวของใบมีทั้งแบบใบอยู่ตรงกันข้าม ใบแบบสลับกัน ดอกมีสีขาว กลีบดอกมีชั้นเดียวและหลายช้ัน เป็นดอกเดี่ยวและดอกช่อดอกจะออกจากยอดหรอื ข้างกิ่งส่วนมากมีกลบี เลี้ยง 4-9 กลีบ กลีบดอกมี 4-9 กลีบ โดยปกติดอกจะเริ่มบานในเวลาบ่ายแล้วร่วงในวันรุ่งขึ้น มะลิจะให้ดอกมากในฤดรู ้อนและ ฤดูฝนแล้วจะน้อยท่ีสดุ ในฤดูหนาว ไม้ พุ่มขนาดเล็กท่ีมีความสูงไมม่ ากนัก สูงอย่างเต็มท่ีส่วนใหญ่ไม่ เกนิ 2 เมตร ด้วยเหตนุ ้ีจึงทำให้ดอกมะลิได้รับความนยิ มจากคนรักตน้ ไม้ให้เป็นตัวเลือกแรกท่ีจะปลูก ไว้ในบา้ น มะลเิ ป็นไมพ้ ุ่มทแี่ ตกแขนงก่งิ ก้านสาขาออกมามากมาย กิ่งออ่ นจะมขี นสนั้ ๆ นุม่ มอื ใบเป็น แบบใบเดี่ยวออกในลักษณะตรงข้ามกัน ใบค่อนข้างกลม ปลายใบมน สีเขียวเข้ม ดอกเป็นแบบดอก เดี่ยวหรือออกเป็นช่อก็ได้ โดยแต่ละช่อมี 2-3 ดอก กลีบเลี้ยงเป็นหลอดสีขาว กลีบดอกสีขาวนวลตา กลิ่นหอมอวล ไม่ฉุนจัดจนเกินไป เลี้ยงง่าย เติบโตไว ไม่ต้องการความเอาใจใส่ หรือต้องดูและอะไร เป็นพิเศษ เป็นพรรณไม้ยืนต้น และเป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก จนถึงขนาดกลางบางชนิดก็มีลำตน้ แบบเถา เลื้อย ลำต้นมีความสูงประมาณ1-3 เมตร ผิวเปลือกลำต้นสีขาวมีสะเก็ดรอยแตกเล็กน้อย ลำต้นเล็ก กลมแตกก่ิงก้านสาขาไปรอบ ๆ ลำตน้ ใบเปน็ ใบเดยี ว แตกใบเรียงกนั เป็นคู่ ๆ ตามก้านและกิ่งลกั ษณะ ของใบมนป้อม โคนใบสอบเรียว ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบเป็นมันสีเขียวเข้ม ขนาดใบกว้าง ประมาณ 2-3 เซนติเมตร ยาวประมาณ 3-5 เซนติเมตร ออกดอกเป็นช่อ ออกตามส่วนยอดหรือตาม ง่ามใบ ดอกเล็กสีขาวมีกลีบดอกประมาณ 6-8 กลีบ เรียงกันเป็นวงกลมหรือซ้อนกันเป็นชั้นแล้วแต่

15 ชนิดพนั ธุ์ ขนาดดอกบานเต็มทปี่ ระมาณ 2-3 เซนติเมตรผลเป็นรูปกลมรีเล็กเมื่อสุกจะมีสีดำภายในมี เมลด็ อยู่1เมลด็ นอกจากน้ีลักษณะของลำต้นและดอกแตกตา่ ง กนั ไปตามชนดิ พันธุ์ ประโยชน์ของดอกมะลิ ราก ใช้เป็นยาถอนพิษต่าง ๆ ได้ จากการที่มีการนำมะลิมาใชป้ ระโยชน์ในหลาย ๆ ด้าน จึง ทำให้มะลิเป็นไมด้ อกที่มีมะลิเป็นไมด้ อกสีขาวที่มกี ลิ่นหอม สามารถนำมาใชป้ ระโยชน์ไดห้ ลายอยา่ ง เช่น เก็บดอกมาร้อยเป็นพวงมาลัย ทำเป็นดอกไม้แห้ง หรือนำมาสกัดทำน้ำมันหอมระเหย นอกจาก การใช้ประโยชน์จากดอกมะลแิ ล้ว สว่ นตา่ ง ๆ ของมะลิกย็ ังนำมาใช้เปน็ พืชสมุนไพรรักษาโรคได้ เช่น ดอกสด ดอกแหง้ ใบสด ต้น ราก ดอกมะลิ มหี ลายชนิดหลายพันธ์ุ เทา่ ที่ ค้นุ ๆ ชือ่ กัน กม็ ที งั้ ดอกมะลิ ซ้อน มะลิลา มะลิวัลย์ ฯลฯ มะลิซ้อนมะลลิ าเป็นไมพ้ ุม่ มีสงู ประมาณ1.5เมตรมอี ยู่หลายพันธุ์ด้วยกนั บางพันธุ์เป็นไม้รอเลื้อยใบเป็นแบบใบ เดี่ยวออกตรงข้ามสีเขียวอมเหลืองสัณฐานของใบเป็นรูปไข่ ปลายใบแหลมดอกมีทัง้ ดอกซ้อนและดอกลาออก เปน็ ช่อเลก็ ๆ ดอกทอี่ ย่ตู รงกลางจะบานก่อน กลีบ ดอกจะบานก่อน กลีบดอกสีขาวโคนดอกติดกันเป็นหลอดสีเขียวอมเหลือง มีกลิ่นหอมชื่นใจและ ค่อนข้างจัด เกสรตัวผู้มี 2 อัน ออกเอกมากในฤดูร้อนและฤดูฝน ขยายพันธุ์ด้วยการปักชำและการ ตอน มะลินอกจากจะเก็บดอกมาร้อยเป็นพวงมาลยั ทำเปน็ ดอกไม้แห้ง หรอื นำมาสกัดทำน้ำมันหอม ระเหยแล้ว ยงั สามารถนำมาใชป้ ระโยชนไ์ ด้หลายอยา่ งเช่นมะลิซ้อน ดอกสด - ใชร้ ักษาโรคตาเจ็บ แก้ไขต้ วั รอ้ น แก้หวดั ดอกแหง้ - ใช้ปรงุ เป็นสารแต่งกลนิ่ ใบสด - นำมาตำให้ละเอียดจะช่วยรักษาแผลพุพองและแผลฝดี าษ ต้น - ใชร้ ักษาโรคคดุ ทะราด ขับเสมหะและโลหิต ราก - นำมาฝนใชแ้ กป้ วด รกั ษาโรคร้อนในและอาการเสียดท้อง ความสำคญั ทางการคา้ มากขึ้น พน้ื ที่ปลูกทสี่ ำคญั ของไทย ไดแ้ ก่ จังหวดั นครปฐม นครสวรรค์ พิษณุโลก ลำพูน หนองคาย และสมุทรสาคร การจำหน่ายมะลิจะมีทั้งในและต่างประเทศโดยตลาด ต่างประเทศจะมีการสง่ ออกในรปู ของพวงมาลัย ดอกมะลสิ ดและตน้ มะลิ ความเก่ยี วขอ้ งของวัฒธรรมเเละชนชาติ ดอกมะลิ ถือเป็นไม้มงคลชนิดหนึ่ง โดยมีความว่า เป็นดอกไม้ท่ีได้รบั ความปราถนาดี เป็นท่ี รักคิดถึงของคนไทยแทนความกตัญญู ดังนั้นใกลจ้ ะถึงวันแม่ “ดอกมะลิ” จะยิ่งมีความหมายมากขน้ึ เพราะเป็นดอกไมท้ ี่หลายๆ คนมักจะนำไปไหว้แม่ ดอกมะลิเป็นตน้ ไม้มงคล มาตงั้ แต่โบราณ เป็นดอกไมป้ ระจำองคพ์ ระนารายณ์ นิยมใช้ดอก มะลิเป็นเครอ่ื งสักการบูชาพระ และดว้ ยกลน่ิ หอมเยน็ ของดอก และสขี าวสะอาดบริสุทธ์ิ จงึ เชื่อกันว่า บ้านใดปลกู ต้นมะลไิ ว้ทางทิศตะวันตกเฉลียงเหนือของบ้าน จะช่วยใหค้ นในบ้านไดร้ บั ความปรารถนา

16 ดี เป็นท่ีรัก ทค่ี ิดถึงของคนท่ัวไป และทำใหค้ นในบา้ นมคี วามบริสุทธิ์ รู้จกั กตัญญกู ตเวทตี อ่ ผู้มีพระคุณ นอกจากนีม้ ลิ ยิ ังถอื เปน็ ดอกไมป้ ระจนั แมแ่ หง่ ชาตอิ ีกด้วย ดอกมะลิ เป็นดอกไม้ไทย ที่มีสีขาวบริสุทธิ์ ส่งกลิ่นหอมไปไกล หอมนานและผลิดอกทั้งปี หากมองในด้านสมุนไพรนั้น ดอกมะลิสามารถนำไปปรุงเป็นเครือ่ งยาหอม บำรุงหัวใจ คนไทยมักนำ ดอกมะลมิ าร้อยเป็นมาลยั ถวายพระหรอื มอบให้แก่ผู้ทเี่ ราเคารพและรักใคร่ คณุ สมั บตั ิทก่ี ล่าวมาจึงทำ ใหด้ อกมะลิถกู เลือกเปน็ สัญลักษณแ์ หง่ วนั แม่ แมผ่ ใู้ ห้กำเนิดชีวิต ผมู้ คี วามรักท่ีบรสิ ุทธิ์ต่อลูก ไม่ว่าจะ นานเท่าใดหรือไกลแค่ไหน ความรักของแม่จะตดิ ตามลูกไป เฉกเช่นกล่ินหอมของดอกมะลทิ ีห่ อมชนื่ ใจและส่งกล่ินหอมไปไกล อกี ทงั้ ยังผลดิ อกตลอดปี เปรียบไดก้ บั ความรักทไี่ มม่ วี ันจดี จาง สมควรแล้วท่ี เราจะนำส่งิ ทีบ่ รสิ ทุ ธิ์ หอมหวล และเป็นดอกไม้มงคล มามอบให้แก่พระในบ้าน การเก็บเกี่ยว การเก็บเกี่ยวดอกมะลิต้องเก็บเฉพาะดอกตูมที่พร้อมจะบาน มีความเจริญ เต็มท่ี มลี กั ษณะสีขาวนวล ไม่ควรตัดมาทัง้ ชอ่ เพราะลกั ษณะดอกมะลิเมื่อเก็บเก่ียวมาแล้วถ้าดอกตูม เกนิ ไป (ออ่ นเกินไป ) จะไม่สามารถบานต่อไปได้ หรอื บานไดแ้ ตค่ ุณภาพไม่ดหี รือไม่มีกลนิ่ หอม วธิ กี าร เก็บให้ใช้มือเด็ดตรงก้านดอกใต้กลีบเลี้ยง เกษตรกรมักเก็บดอกตอนเช้ามดื ประมาณ 03.00-04.00 น. ทง้ั นี้ในช่วงเชา้ จะมสี ภาพอากาศที่เยน็ และเพอ่ื จะส่งตลาดตอนเช้าตรู่ หรือเก็บดอกมะลิในตอนเย็น แลว้ เกบ็ รักษาไว้สง่ ในตอนเช้า ราคาของดอกมะลิจะขนึ้ อยู่กบั ฤดูกาล ในฤดหู นาวจะแพงมาก ราคาที่ ปากคลองตลาดในบางวันของบางปีจะมีราคาลิตรละ 600-700 บาท ส่วนฤดูร้อนและฤดูฝนราคาจะ ถกู เฉลีย่ ประมาณ 30 บาท โดยปกตพิ บว่าผลผลติ เฉล่ียมีดังน้ี อายุ 1 ปี ผลผลติ เฉลี่ยประมาณ 1,000 - 2,000 ลิตร/ไร่ อายุ 2 ปี ผลผลิตเฉลี่ยประมาณ 3,000 - 4,000 ลิตร/ไร่ อายุ 3 ปี ผลผลิตเฉล่ีย ประมาณ 3,000 ลติ ร/ไร่ จากนั้นแลว้ ผลผลติ จะเริม่ ลดลงเรอื่ ย ๆ การปฏิบตั ิหลังการเก็บเกีย่ ว ในการส่งออกดอกมะลิ มักจะพบปัญหาดอกช้ำเนา่ เสียเม่อื ถงึ ปลายทาง ดังนั้น การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวจนถึงบรรจุหีบห่อเพื่อส่งออกให้ดอกมะลิได้รับความ เสียหายน้อยที่สุดนัน้ จึงเปน็ เรื่องที่สำคัญ จากการทดลองของ ชณิฏฐ์ศิริ สุยสุวรรณ และบุญลือ กล้า หาญ ภาควิชาเทคโนโลยกี ารผลิตพืช คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้า เจ้า คุณทหารลาดกระบงั โดยการเปรียบเทียบการลดอุณหภมู ิของดอกมะลิด้วยการใช้ความเย็น โดยการ ใช้ความเย็นจากน้ำแข็งในกล่องโฟมและการใช้ความเย็นจากน้ำแข็งในถังสังกะสีพบว่า วิธีการลด อุณหภูมิโดยการใช้ความเย็นจากน้ำแข็งในกล่องโฟมช่วยรักษาความสดของดอกมะลิและเกิดความ เสียหายหรอื ชอกชำ้ นอ้ ยทีส่ ดุ ซึ่งวิธีการดงั กลา่ ว มขี ้นั ตอนการปฏิบตั ิ ดังน้ี ข้นั ตอนท่ี 1 เกบ็ เกีย่ วดอกมะลิจากสวน ขั้นตอนที่ 2 ลดอุณหภูมิของดอกมะลิด้วยความเย็น จากน้ำแข็งในกล่องโฟมที่ปูพื้นกล่อง ดว้ ยนำ้ แข็งเกล็ด นำดอกมะลบิ รรจใุ นถุงพลาสติกวางลงในกล่องและปูทบั ด้วยน้ำแขง็ เกล็ด เก็บรักษา ไว้ 3 ชั่วโมง

17 ขัน้ ตอนท่ี 3 บรรจดุ อกมะลใิ นถงุ พลาสตกิ ใหญ่ และนำสง่ ผ้ซู อื้ ขั้นตอนที่ 4 ลดอุณหภูมิดอกมะลด้วยน้ำเย็น อุณหภูมิประมาณ 23 องศาเซลเซียส จนดอก สดแขง็ ขั้นตอนที่ 5 บรรจุดอกมะลใิ นถงุ พลาสตกิ เลก็ ถงุ ละ 500 กรัม มดั ปากถุงบรรจุในกล่องโฟม ซ่งึ รองพื้นและปูทบั ด้วยนำ้ แข็งเกล็ด เมื่อครบ 6 ชั่วโมง ใหเ้ ปล่ยี นเป็นบรรจุน้ำแขง็ ในถงุ พลาสตกิ และ ใช้น้ำแข็งรองพื้นและปูทับถุงมะลิ เก็บรักษาไว้ 11 ชั่วโมง ก็นำมาวางผึ่งในที่ที่มีอุณหภูมิ 25 องศา เซลเซียส ภาพท่ี2.3 ตอนเกบ็ เกี่ยวดอกมะลิ ท่ีมา: https://sites.google.com/site/tudxkmali/reuxng-thi-8-prawati-phu-cad-tha แรสเบอร์รี หรือ ราสเบอร์รี (อังกฤษ: raspberry) เป็นชื่อเรียกผลไม้หลายชนิดใน สกุล Rubus (สกุลเดียวกับแบล็กเบอร์รี) ส่วนใหญ่อยู่ในสกุลย่อย Idaeobatus มีต้นกำเนิดมาจาก แถบยุโรป ผลแรสเบอรร์ ีสามารถรับประทานได้ซ่ึงมที งั้ รสหวานและเปร้ยี ว ผลมีสีแดงขนาดเลก็ และยัง เป็นผลไม้ทางการค้าที่สำคัญ สามารถเจริญเติบโตได้อย่างกว้างขวางทุกสภาพภูมิอากาศทั่วโลกแต่ นิยมปลูกกันในพื้นที่ที่มีอากาศหนาวเช่นยุโรปและอเมริกา ลำต้นและตัวต้นก็มีความแข็งแรงมาก สามารถขยายพันธุไ์ ปได้เรื่อยๆไม่มีขีดจำกัด ซึ่งเป็นผลมาจากการที่มนั สามารถงอกลำต้นใหม่จากลำ ตน้ เดิมได้และรากของมนั จะเจาะลกึ ลงไปในดนิ สว่ นใบก็สามารถนำไปทำยาได้ การเก็บเกย่ี วนิยมเก็บ เกีย่ วในชว่ งทผ่ี ลสุกงอมโดยใหด้ ูจากผลจะมสี เี ขม้ สด (สีแดง, มว่ ง, ดำ) ในช่วงนีผ้ ลจะมีความหวานมาก จึงเหมาะสำหรับนำไปรับประทานหรือนำไปทำแยมผลไม้และเหมาะทีจ่ ะนำไปทำอาหารอย่างอื่นท้ัง ของคาวและของหวาน

18 ในภาษาท้องถิ่นของไทยเรียกว่า หนามไข่ปู ในประเทศไทยพบกระจายพันธุบ์ นพื้นที่ภูเขาสงู อาทิ ดอยภูคา จังหวัดน่าน, ดอยอินทนนท์ ดอยผ้าห่มปก ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่, ภูกระดงึ จงั หวัดเลย ภาพท่ี2.4 รปู ราสเบอร์รี่ ทีม่ า:https://medthai.com ลำตน้ เป็นพชื ลม้ ลกุ ขนาดเลก็ มอี ายยุ ืน แตกกิ่งกา้ นเลอื้ ยได้ ลำตน้ มีลกั ษณะกลมๆ มสี นี ำ้ ตาล ลำตน้ มีหนอ่ เลก็ ๆ แทงออกมาจากดิน มีหน่อแตกจากต้น มหี นามแหลมปกคลมุ ราก เป็นระบบรากต้ืน มลี ักษณะกลมๆ แทงลงในดนิ มรี ากแขนงและรากฝอยเล็กๆ ออกตาม แนวราบ มีสีนำ้ ตาล มหี นอ่ เลก็ ๆ แทงออกมาจากดนิ แตกจากตน้ ใบ มีลักษณะกลมรี ใบมีขนาดใหญ่ ขอบใบมีรอยฟันหยักเล็กๆ มีก้านใบยาวมหี นามปกคลมุ มีใบยอ่ ย 3 ใบบนกา้ นเดยี วกนั ใบสากมือมีขนปกคลมุ มีสีเขยี ว ดอก ออกดอกเป็นช่อ มีดอกย่อย มีลักษณะรูปทรงแตร กลีบดอกมีสีขาว มีเกสรสีเหลือง มี กลีบเล้ยี งสเี ขียว มีก้านชอ่ ดอกยาว ดอกออกซอกใบและปลายกง่ิ ผล เปน็ ผลเดยี่ ว อย่เู ปน็ พวง มลี ักษณะรูปกรวย ดา้ นในกลวง คลา้ ยรปู หวั ใจ ผิวเปลือกมีปุ่ม กลมเลก็ ๆอยบู่ นผล มีขนเลก็ ๆบางๆอยทู่ ่ัวผล ผลอ่อนสขี าว ผลสกุ จะมีสีแดง มเี น้ือสแี ดง เนื้อนุ่มฉ่ำน้ำ มีรสชาตหิ วานหรอื เปรย้ี ว ตามสายพนั ธ์ุ มีกลิ่นหอม เมลด็ มเี มล็ดเลก็ ๆอย่ใู นเนื้อ มลี ักษณะทรงรเี ลก็ ๆ เมล็ดแขง็ มีสนี ำ้ ตาล ประโยชนแ์ ละสรรพคุณราสเบอรร์ ี มีวิตามินเอ มีวิตามินอี มีวิตามินเค มีวิตามินซี มีธาตุแคลเซียม มีวิตามินบี1 มีวิตามินบี2 มี วิตามินบี3 มีวิตามินบี5 มีวิตามินบี6 มีวิตามินบี9 มีวิตามินบี12 มีโปรตีน มีน้ำตาล มีธาตุเหล็ก มี แมกนีเซียม มีโพแทสเซียม มีคาร์โบไฮเดรต มีเส้นใย มีพลังงาน มีไขมัน มีโซเดียม มีฟอสฟอรัส มีเบ ตาแคโรทีน มฟี ลอู อไรด์ มีสังกะสี ช่วยรักษาโรคความดันโลหิต ช่วยบำรุงผิวพรรณ ช่วยบำรุงประสาท ช่วยบำรุงสมอง ช่วยป้องกัน โรคอัลไซเมอร์ ชว่ ยปอ้ งกนั โรคมะเร็ง ช่วยระบบย่อย มีภูมคิ มุ้ กัน ชว่ ยระบบไหลเวียนโลหิต ชว่ ยระบบ แข็งตัวเลือด ช่วยขับปสั สาวะ ชว่ ยระบบปัสสาวะ ชว่ ยสมานแผล

19 การปลกู ขยายพันธุ์ราสเบอรร์ ี ราสเบอร์รีสามารถปลูกได้ในดินทุกชนิด ชอบดินร่วนปนทรายจะเติบโตได้ดี การปลูกทำได้ ด้วย วิธีใช้หน่อจากต้น แล้วนำมาปลูกลงในแปลง ระยะห่างระหว่างต้นประมาณ 50×50 ซม.ให้ทำ คา้ งให้ลำต้นเลือ้ ยเกาะ การดูแลรกั ษาราสเบอร์รี ราสเบอร์รชี อบระบายนำ้ ดี นำ้ ไมข่ งั ชอบความร้อน ชอบแสงแดด ชอบดินทชี่ ุม่ ช้นื ต้องให้น้ำ เพยี งพอ ให้ระบายน้ำดี ปลูกชว่ งแรกตอ้ งรดน้ำทกุ วนั เม่อื ต้นเตบิ โตข้ึน ก็ใหล้ ดการใหน้ ้ำได้ ปลูกในฤดู ฝนจะดี การเกบ็ เกี่ยวผลผลติ ราสเบอร์รี ราสเบอร์รจี ะให้ผลผลิต ใชเ้ วลาประมาณ 3-4 เดอื น หลงั ปลกู ลงในแปลง ผลมขี นาดโตเต็มท่ี ผลสกุ มสี ีแดง ให้ตดั ออกนำขัว้ ติดออกมา แลว้ ตอ้ งเบามือระวงั อย่าทำหลน่ อาจทำให้ผลช้ำเสียหายได้ การเกบ็ รักษาราสเบอรร์ ี เราจะนำราสเบอร์รีสุกที่เก็บไว้ แล้วนำมาใสใ่ นภาชนะใสก่ ล่อง แล้วนำไปแชต่ ู้เยน็ หรือแช่ใน ชอ่ งฟรสี จะเกบ็ รกั ษาไว้ไดน้ าน วนลิ ลา เป็นพชื ดอกในตระกูลเดียวกับกล้วยไม้ มหี ลากหลายพันธ์ุที่แตกตา่ งมากมาย พันธุ์ที่ เปน็ ทร่ี จู้ กั กันดี และทีน่ ยิ มนำมาสกดั เปน็ วานลิ ลาท่ีใช้ในการปรุงอาหาร เป็นวานิลลาสายพันธเ์ุ มก็ ซิกนั ใบแบน (Flat-leaved Vanilla) ซึ่งแทบจะเป็นกล้วยไมช้ นิดเดียว ท่มี ีผลผลติ ทสี่ ามารถนำมาประกอบ ใช้ในอตุ สาหกรรมอาหาร และเครื่องสำอางค์ ความหมายของคำว่าวานิลลาน้นั มาจากรากศัพท์ภาษา สเปนทสี่ ือ่ ถงึ ฝักเล็กๆ (Little Pod) ในช่วงแรกๆ นั้น ผลผลิตของวานิลลามีค่อนข้างจำกัดเนื่องจากการถ่ายละอองเกสรของ กล้วยไม้วานิลลา ซึ่งเป็นปัจจัยทีท่ ำให้เกดิ ฝักที่มีของความหอมทีเ่ ปน็ เอกลกั ษณ์นี้ จะต้องทำการถ่าย ละอองเกสรโดยผง้ึ เมลีโพนา (Melipona Bee) ซงึ่ เปน็ ผึง้ สายพันธข์ุ องเมก็ ซิกนั โดยท่ีดอกกล้วยไม้จะ ออกทุกๆ ฤดใู บไมผ้ ลิ ซ่ึงถ้าไมม่ ีการถ่ายละอองเกสรโดยผ้งึ สายพนั ธน์ุ ้ี ดอกก็จะบาน และร่วงในเวลา ต่อมา แถมการถา่ ยละอองเกสรเพือ่ ใหไ้ ดฝ้ กั นั้น จะตอ้ งเกิดข้ึนภายใน 12 ชั่วโมงจากเวลาท่ดี อกเริ่มผลิ บาน และอัตราความสำเรจ็ ในการถ่ายละอองเกสรเพ่ือให้เกิดฝักก็มีเพียงแค่ 1% เท่านั้น แต่ในเวลา ต่อมา ได้มีทาสเชื้อสายฝรั่งเศสได้ค้นพบวิธีการที่จะถ่ายละอองเกสรโดยการใช้มือแทนผึ้ง ซึ่งมี ประสทิ ธิภาพมากกวา่ ดว้ ย นนั่ จึงเปน็ จุดเร่ิมของการปลกู วานิลลาท่ีแพร่หลายมากขนึ้

20 แหล่งปลูกวานิลลาทุกวันนี้มีมากมายหลายแหล่ง แต่สายพันธุ์ต้นกำเนิดก็ล้วนมาจากเมโสอเมริกา (Mesoamerica) ซึ่งเป็นดินแดนที่รวมถึงประเทศเม็กซิโกในปัจจุบันด้วย แม้ว่าวานิลลาจะปลูกและ ขยายพันธุ์ได้ง่ายมากขึน้ แต่วานิลลาก็ยังเป็นเครื่องเทศที่มรี าคาสูงเป็นอันดบั สองรองจากหญ้าฝรนั่ (Saffron) เนอื่ งจากเป็นพชื เกษตรที่ต้องการการดแู ลโดยแรงงานมนษุ ย์เปน็ พิเศษ วานลิ ลาทเี่ ราใชใ้ นการปรุงอาหารคาวหวานโดยทวั่ ไปน้นั แบง่ หลักๆ ออกเปน็ 2 ชนดิ ได้แก่ วานิลลา แท้ และวานิลลาสังเคราะห์ วานิลลาแท้ ไดแ้ ก่ ส่วนประกอบทท่ี ำจากฝักวานลิ ลา อาจอยใู่ นลักษณะครมี ผง น้ำ หรือฝัก วานิลลาสังเคราะห์ ได้แก่ ส่วนประกอบที่สังเคราะห์ใหม้ ีกลิ่นเหมือนวานิลลา อาจจะมีส่วนประกอบ ของวานิลลาอยูบ่ ้าง หรืออาจจะไม่มีเลยก็ได้ส่วนของวานลิ ลาที่มาจากฝักแท้ๆ ซึ่งสามารถพบเหน็ ได้ หลากหลายลกั ษณะ ฝักวานลิ ลา (Vanilla Pod) ฝกั สนี ้ำตาลเข้มลกั ษณะยาวประมาณ 5-6 นิว้ เม่ือผ่าออก ข้างใน จะประกอบไปดว้ ยเมล็ดเล็กๆ มากมายท่เี รียกว่า Vanilla Bean วานิลลาผง (Vanilla Powder) ได้แก่วานิลลาฝักที่นำมาบดและทำให้แห้ง บ้างก็ผสมกับ นำ้ ตาล หรือแปง้ เพอ่ื ความสะดวกในการใช้ วานลิ ลานำ้ สกดั (Vanilla Extract) เป็นวานลิ ลาท่สี กัดโดยใช้แอลกอฮอล์ มคี วามเข้มข้นของ วานิลลาทแ่ี ตกต่างกันไปตามราคา วานิลลาครีม (Vanilla Paste) ฝกั วานิลลาที่นำไปบดจนมีลกั ษณะเป็นครีมสดี ำเขม้ โดยทั่วไปนั้น กลิ่นวานิลลาในอาหารคาวหวานที่เราได้นั้น เป็นผลมาจากการใส่วานิลลารูปแบบใด รูปแบบหนึ่งลงในส่วนประกอบของเหลว ในกรณีแบบฝกั กล่นิ และรสของวานิลลาจะเข้มขน้ มากข้ึนถ้า ฝักถูกผ่าครึ่ง ซึ่งจะทำให้ผิวสัมผัสของฝักที่จะสัมผัสกับของเหลวมีสัดส่วนมากขึ้นตาม นอกจากน้ี เมล็ดเล็กๆ ที่อยู่ด้านในก็จะลงไปผสมกับส่วนประกอบด้วย การใส่วานิลลาจะให้สนี ้ำตาลหรือเหลอื ง อ่อนๆ ตามธรรมชาติ ความเขม้ ขน้ ของสีก็ขนึ้ อยกู่ ับจำนวนท่ีใส่ลงไป การเลอื กชนดิ ของวานิลลามาใช้ นน้ั ข้ึนอยกู่ ับปจั จยั หลายๆ อยา่ งไมว่ ่าเร่อื งของทนุ ทรัพย์ หรือความสำคัญของกล่ินวานิลลาที่มตี ่อของ คาวหวานนั้นๆ เพราะในบางกรณี วานิลลาเองก็มีบทบาทเพียงช่วยให้รสชาติโดยรวมโดดเด่นขึ้น อยา่ งหลายๆ คร้งั การปรงุ ของหวานรสช็อกโกแลต กาแฟ ก็ยงั ใสว่ านิลลาลงไปด้วยเลก็ นอ้ ย เพื่อเพิ่ม ความหอมใหก้ ับรสของกาแฟ หรือชอ็ กโกแลตนน้ั โดยเวลาที่รบั ประทาน เรากอ็ าจจะไม่ได้รสชาติของ วานลิ ลาทีช่ ดั เจน เพยี งแตส่ ามารถรบั รถู้ ึงรสชาติโดดรวมทกี่ ลมกล่อมมากขึ้นไดค้ วามหอมและรสชาติ เฉพาะตัว เอกลักษณ์ที่คนทุกๆ วัยหลงใหล การใส่วานิลลาในการปรุงอาหารคาวหวาน เลือกให้ เหมาะสมกับการใช้งาน สามารถช่วยใหไ้ ดร้ สาติท่ีดี และประหยดั ขึ้นได้ดว้ ย

21 ภาพที่2.5 รูปวานิลลา ท่ีมา:https://www.teaoilcenter 2.4 ความรู้เกยี่ วกบั กระบวนการทำเทียนหอม วสั ดุ 1) ไขมันถ่วั เหลือง (soy wax) 2) เชือกฝา้ ย 100% สำหรบั ทำไสเ้ ทยี น 3) น้ำมนั หอมระเหย 4) สยี อ้ มเทยี น 5) ภาชนะบรรจเุ ทียน เช่น กระปกุ แกว้ สวยๆ 6) หม้อต้มทนความร้อน 7) แท่งไม้ หรือไม้หนีบผ้า 8) แหวนสก ข้ันตอนการทำ 1) ทำละลายไขถัว่ เหลือง โดยนำไขถ่วั เหลอื งมาใส่หม้อต้มทนความรอ้ น จากนนั้ ต้มไขถั่วเหลือง ให้ละลาย ด้วยอุณหภูมิประมาณ 76.6 – 82.2 ° C คนไขถั่วเหลืองให้เป็นเนื้อเดียวกัน จากนน้ั ยกลงมาต้งั พักให้อนุ่ 2) หยดน้ำมันหอมระเหยลงไป 4-5 หยด หรือตามปริมาณที่แนะนำข้างขวด จากนั้นคนให้เข้า กัน

22 3) หยดสีย้อมเทียนลงไปตามปริมาณที่แนะนำขา้ งขวด โดยค่อยๆ ใส่ทีละหยดจนกว่าจะไดส้ ีท่ี ตอ้ งการ และคนให้เขา้ กัน 4) ค่อยๆ เทไขถั่วเหลืองที่ต้มเรียบรอ้ ยแล้วลงไปในภาชนะบรรจเุ ทียนทีเ่ ตรียมไว้ แล้วทิ้งไขถั่ว เหลอื งไว้ประมาณ 5 ช่วั โมง รอจนกว่าไขถัว่ เหลืองจะแข็งตัว 5) เมื่อไขถั่วเหลืองแข็งตัวเรียบร้อยแล้ว นำกรรไกรมาตัดปลายเชือกที่ผูกไว้กับแท่งไม้ โดยให้ ความยาวเชือกอยูต่ ำ่ กว่าปากภาชนะบรรจุเทยี น เท่านี้กเ็ ป็นอันเสรจ็ เรียบร้อย 2.5 แนวคิดและทฤษฎคี วามพึงพอใจ 1) ความหมายของความพึงพอใจ กู๊ด (Good, 1973) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง สภาพ คุณภาพ หรือระดับความพึง พอใจซึ่งเปน็ ผลมาจาก ความสนใจตา่ ง ๆ และทัศนคตทิ ่บี คุ คลนน้ั มตี ่อส่ิงนั้น โอลิเวอร์ (Oliver, 1997) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจ คือการตอบสนองที่แสดงถึง ความร้ปู ะสงค์ของลกู คา้ เป็นวิจารณญาณของลูกค้าท่ีมตี ่อสินค้าและบรกิ าร ความพึงพอใจมีมุมมองที่ แตกต่างกนั แลว้ แต่มุมมองของแตล่ ะคน โวลแมน (Wolman, 1973) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกที่มีความสุขเม่ือ ไดร้ บั ผลสำเรจ็ ตามจดุ มงุ่ หมาย ความต้องการหรือแรงจงู ใจ เคลิร์ก (Quirk, 1987)ความพึงพอใจหมายถึงความรู้ที่มีความสุขหรือความพอใจเมื่อได้รับ ความสำเร็จ หรือได้รบั ส่งิ ที่ต้องการ ฮอรน์ บี้ (Hornby, 2000)ความพึงพอใจหมายถึงความรู้สึกที่ดีเมอ่ื ประสบความสำเร็จหรือไต้ รบั สิง่ ทีต่ อ้ งการให้เกิดขน้ึ เปน็ ความรสู้ ึกที่พอใจ วริ ฬุ พรรณเทวี (2542, หนา้ 111) ไดใ้ ห้ความหมายความพึงพอใจ หมายถึงความรสู้ ึกภายใน จติ ใจของมนษุ ย์ที่ไมเ่ หมอื นกันขึ้นอยู่กบั แต่ละบุคคลว่าจะคาดหวังกบั สงิ่ หน่ึงอย่างไร ถา้ คาดหวังหรอื มี ความตงั้ ใจมากและไดร้ บั การตอบสนองด้วยดจี ะมคี วามพงึ พอใจมาก แตใ่ นทางตรงกันขา้ มอาจผดิ หวัง หรอื ไมพ่ งึ พอใจเปน้ อย่างย่งิ เมื่อไม่ได้รับการตอบสนองตามที่คาดหวังไว้ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับสิ่งที่ตนต้ังใจไว้ ว่ามีมากหรือน้อย สรุ ิยะ วิริยะสวัสด์ิ (2530, หน้า 42 อา้ งถงึ ใน ปราการ กองแก้ว, 2546, หน้า 17) ไดใ้ ห้ความ หมายความพึงพอใจหลังการให้บริการของหน่วยงานของรัฐของเขาว่า ระดับผลที่ได้จากการพบปะ สอดคลอ้ งกบั ปัญหาท่มี อี ย่หู รอื ไม่ ส่งผลดีและสรา้ งความภมู ิใจเพยี งใด และสรา้ งความภูมิใจเพยี งใด สาโรช ไสยสมบัติ (2534, หน้า 18 อ้างถึงใน ปราการ กองแก้ว,2546, หน้า 17)ความพึง พอใจเป็นปัจจยั สำคญั ประการหน่ึงที่ช่วยทำให้งานประสบผลสำเร็จ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ถ้าเป็นงานที่

23 เกี่ยวกับการให้บริการ นอกจากผู้บริหารจะดำเนนิ การให้ผู้ทำงานเกิดความพงึ พอใจในการทำงานแล้ว ยังจำเป็นต้องดำเนินการที่จะทำให้ผู้ใช้บริการเกดิ ความพึงพอใจด้วยเพราะความเจริญก้าวหน้าของ การบริการเป็นปัจจัยที่สำคัญประการหน่ึงทเ่ี ปน็ ตวั บง่ ชี้ถึงจำนวนผู้มาใช้บรกิ าร ดงั น้ันผู้บริหารที่ชาญ ฉลาดจึงควรอย่างยิ่งที่จะศึกษาให้ลึกซ้ึงถึงปัจจัยและองค์ประกอบต่างๆที่จะทำให้เกิดความพึงพอใจ ทง้ั ผู้ปฏิบัตงิ านและผ้มู าใช้บรกิ าร ราณี เชาวนปรีชาศ์ (2538, หน้า18 อ้างถึงใน วฤทธิ์ สารฤทธิคาม, 2548, หน้า 31)กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกหรือทัศนคติของบุคคลที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือปัจจัยต่างๆท่ี เกี่ยวข้องความรู้สึกพึงพอใจจะเกดิ เม่ือความต้องการของบุคคลทีม่ ีตอ่ สิ่งใดสิ่งหน่ึงหรือปัจจัยต่างๆที่ เกยี่ วขอ้ งความรู้สึกพึงพอใจจะเกดิ ขนึ้ เมอ่ื ความต้องการของบคุ คลได้รับการตอบสนองหรือบรรลุตาม จุดมุง่ หมายในระดับหนง่ึ ความร้สู กึ ดังกลา่ วจะลดลงหรือไมเ่ กดิ ขึน้ หากความตอ้ งการหรอื จดุ มุ่งหมาย นั้นไม่ได้รับการตอบสนอง ความพึงพอใจต่อการใช้บรกิ ารจึงเป็นความรู้สึกของผู้ท่ีมารับบริการมีตอ่ สถานบริการตามประสบการณ์ที่ได้รบั จากการเขา้ ไปติดตอ่ ขอรบั บรกิ ารในสถานบรกิ ารนั้นๆ อรรถพร คำคม (2546, หนา้ 29) ได้สรปุ วา่ ความพึงพอใจ หมายถึง ทัศนคตหิ รือระดบั ความ พึงพอใจของบุคคลต่อกิจการรมต่าง ๆ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงประสิทธิภาพของกิจกรรมนั้น ๆโดยเกิด จากพน้ื ฐานของการรับรู้ค่านิยมและประสบการณท์ ่ีแต่ละบุคคลจะได้รับ ระดบั ของความพึงพอใจจะ เกดิ ข้ึนเมื่อกิจกรรมนนั้ ๆ สามารถตอบสนองความตอ้ งการแก่บุคคลน้นั ได้วฤทธิ์ สารฤทธิคาม (2548, หน้า 32 อ้างถึงใน รัตนศักดิ์ ยี่สารพัฒน์, 2551, หน้า 6) ได้ให้ความหมายความพึงพอใจว่า เป็น ปฏิกิริยาด้านความรู้สึกต่อสิ่งเร้าหรอื สิ่งกระตุ้นที่แสดงผลออกมาในลักษณะของผลลัพธ์สุดท้ายของ กระบวนการประเมิน โดยแบง่ ออกถงึ ทิศทางของผลการประเมินว่าเป็นไปในลักษณะทิศทางบวกหรือ ทิศทางลบหรอื ไมม่ ปี ฏิกริ ิยา เชลลี่ (Shelli, 1995, p. 9 อ้างถึงใน ปราการ กองแก้ว,2546, หน้า 17) ได้ศึกษาแนวคิด เกี่ยวกับความพึงพอใจ สรุปได้ว่าเป็นความรู้สึกสองแบบของมนุษย์ คือ ความรู้สึกในทางบวกและ ความรู้สึกในทางลบ ความรู้สึกในทางบวกเป็นความรู้สึกที่เมื่อเกิดขึ้นแล้วทำให้ความรู้สึกที่มีระบบ ย้อนกลบั และความสุขน้ีสามารถทำให้เกิดความสุขหรือความรู้สึกทางบวกเพิ่มข้ึนได้อีก ดังนั้นจะเห็น ได้ว่าความสุขเป็นความรู้สึกที่สลับซับซ้อนและความสุขนี้จะมีผลต่อบุคคลมากกว่าความรู้สึกใน ทางบวกอน่ื ๆ ความรสู้ ึกทางลบ ความรูส้ กึ ทางบวกและความสุขมีความสมั พันธก์ ันอย่างสลับซับซ้อน และระบบความสัมพันธ์ของความรู้สึกทั้งสามนี้เรียกว่าระบบความพึงพอใจ โดยความพึงพอใจจะ เกิดขึ้นเมื่อระบบความพึงพอใจมีความรู้สึกทางบวกมากกว่าความรู้สึกทางลบทฤษฎีความต้องการ ตามลำดบั ข้นั ของมาสโลว์ (Maslow, 1970 อา้ งถึงใน รงั สรรคฤ์ ทธผิ์ าด,2550, หน้า 23) มาสโลว์ (Maslow) ได้เรียงลำดับสิ่งจูงใจ หรือความต้องการของมนุษย์ไว้ 5 ระดับโดย เรยี งลำดบั ขั้นของความตอ้ งการไว้ตามความสำคญั ดังนี้

24 1) ความตอ้ งการพ้นื ฐานทางสรีระ 2) ความต้องการความปลอดภยั รอดพ้นอนั ตรายและมนั่ คง 3) ความต้องการความรัก ความเมตตา ความอบอุ่นการมีส่วนรว่ มในกจิ กรรมต่าง ๆ 4) ความต้องการเกยี รติยศชื่อเสียง การยกย่อง และความเคารพตวั เอง 5) ความตอ้ งการความสำเร็จด้วยตนเอง 6) ความพอใจในขั้นต่าง ๆ ของความต้องการของมนุษย์นี้ ความต้องการขั้นสูงกว่า บางคร้งั ไดป้ รากฏออกมาใหเ้ ห็นแล้วก่อนท่ีความต้องการ ขั้นแรกจะได้เห็นผลเป็นท่ี พอใจเสียด้วยซ้ำอย่างไรก็ตามบุคคลแต่ละคนส่วนมากแสดงให้เห็นว่า ตนมีความ พอใจอย่างสูงสุด ในลำดับขั้นความต้องการขั้นต่างๆ มากกว่าขั้นสูงจากการสำรวจ พบว่า คนธรรมดาทั่วไปจะมีความพอใจในลำดับขน้ั ตอนตา่ ง ๆ ดังนี้ 1) ความตอ้ งการทางด้านกายภาพ 85% 2)ความตอ้ งการความปลอดภัย 70% 3)ความตอ้ งการทางด้านสงั คม 50% 4)ความตอ้ งการเดน่ ในสังคม 40% 5)ความต้องการทีจ่ ะไดร้ ับความสำเรจ็ ในส่งิ ท่ีตนปรารถนา 10% แชลลี่(Shelly,1985อ้างใน กรรณิการ์ จันทร์แก้ว,2538, หน้า21) สรุปได้ว่าความพึงพอใจ เป็นความรู้สึกสองแบบของมนุษย์คือความรู้สึกในทางบวกและความรู้สึกทางลบ ความรู้สึกทางบวก เป็นความร้สู กึ ทเี่ มื่อเกิดขน้ึ แลว้ จะทำให้เกิดความสุขความสุขน้ีเปน็ ความรูส้ ึกท่ีแตกต่างจากความรู้สึก ทางบวกอื่น ๆ กล่าวคือเป็นความรู้สึกที่มีระบบย้อนกลับ ความสุขเป็นความรู้สึกที่สลับซบั ซ้อนและ ความสุขนี้จะมีผลต่อบุคคลมากกว่าความรู้สึกทางบวกอื่น ๆ ของบุคคลจะเกิดขึ้นเมื่อความต้องการ ได้รับการตอบสนองในระดับหนึ่งเมื่อเกิดความต้องการบุคคลจะตั้งเป้าหมายเพื่อให้บรรลุความ ต้องการความพึงพอใจของบุคคลจะแตกต่างกันตามสภาพแวดล้อมทางกายภาพและลักษณะส่วน บุคคล ศิริวรรณ เสรีรัตน์และคณะ(2538)ได้กล่าวว่าความพึงพอใจของลูกค้าเป็นระดับความรู้สึก ของลกู ค้าท่ีมผี ลจากการเปรยี บเทยี บระหวา่ งผลประโยชนจ์ ากคณุ สมบัติผลิตภัณฑ์หรอื การทำงานของ ผลิตภัณฑ์กับการคาดหวังของลูกค้าหรือระหว่างการรับรู้ต่อการปฏิบัติงานของผู้ให้บริการกับการ คาดหวังของลูกค้าหรือบริการที่ลูกค้าคาดหวังระดับความพึงพอใจของลูกค้าเกิดจากความแตกต่าง ระหว่างผลประโยชนจ์ ากการบรกิ ารกบั ความคาดหวงั ของบุคคล ซ่ึงความคาดหวังดงั กล่าวน้ันเกิดจาก ประสบการณ์และความรู้ในอดีตของแต่ละบุคคลอาทิจากเพื่อน จากนักการตลาด หรือจากข้อมูลคู่ แข่งขันเป็นต้น ฉะนั้นสิ่งสำคัญที่ทำให้ผู้ให้บริการประสบความสำเร็จก็คือการเสนอบริการที่มี ผลประโยชนส์ อดคล้องกับความคาดหวงั ของลูกคา้ ผู้ใช้บริการโดยยดึ หลักการสร้างความพึงพอใจรวม

25 สำหรับลูกค้า ส่วนผลประโยชน์จากการบริการเกิดจากการสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า ส่วน ผลประโยชน์จากการบริการเกดิ จากการสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าโดยการสร้างคุณค่าเพิ่มเกดิ จากการทำงานร่วมกันกับฝ่ายต่าง ๆ ของผู้ให้บริการโดยยึดหลักการสร้างคุณภาพรวม เกิดจากการ สร้างความแตกต่างทางการแข่งขันของการบริการโดยให้บริการที่แตกต่างจากคู่แข่งขันและความ แตกต่างต้องมีคุณค่าในสายตาของลูกค้าและสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าได้ซึ่งอาจเป็นความ แตกต่างด้านผลิตภัณฑ์ด้านบริการ ด้านบุคลากรและด้านภาพลกั ษณ์ซ่ึงความแตกตา่ งเหล่าน้ีจะเป็น ตัวกำหนดคณุ ค่าเพม่ิ สำหรบั ลกู คา้ ธีรกติ ิ นวรตั น ณ อยธุ ยา(2547)ได้กล่าวถึงแนวคดิ แนวคดิ ความพึงพอใจของลูกคา้ ว่าความพึง พอใจของลูกค้าจะเกิดจากประสบการณ์จากการให้บริการอย่างเต็มที่จนสุดความสามารถลูกค้าจะ ร้สู ึกวา่ คุม้ ค่าทีไ่ ดม้ าใชบ้ ริการความพึงพอใจสำหรับการบริการนัน้ สรา้ งไดย้ ากกว่าสนิ ค้า เนื่องจากคุณภาพของสินค้าที่เป็นสิ่งที่พัฒนามาแล้วอยู่นิ่งไม่เปลี่ยนแปลงแต่คุณภาพการ บริการขึ้นกับพนักงาน ซ่ึงแปรเปลี่ยนไปตามอารมณแ์ ละสถานการณ์ตา่ ง ๆ หรือลูกค้าท่ีมาใช้บริการ บางรายอาจจะมีความต้องการเฉพาะที่มากเกินความต้องการที่ต้องการที่พนักงานจะให้บริการได้ อยา่ งเตม็ ท่ีจึงทำให้เกดิ ความไมพ่ อใจ ดังนน้ั ปจั จัยหลกั ในการสร้างความพงึ พอใจมี3 ประการ ดังน้ี - ผรู้ ับบรกิ ารมคี วามตอ้ งการและความคาดหวังสำหรับการบรกิ ารทแี่ ตกต่างกันไปในแต่ละคน รวมท้ังความต้องการนั้นยงั เปลย่ี นไปสำหรับการบริการแตล่ ะครัง้ - ผู้ให้บริการความพึงพอใจของลูกค้ามีผลจากความรู้ความสามารถความพร้อมในด้านกาย และอารมณ์ในขณะใหบ้ รกิ ารรวมถึงความเตม็ ใจในการใหบ้ รกิ ารให้บรกิ ารของพนกั งาน - สภาพแวดล้อมอื่น ๆ ตัวอย่างเช่น อากาศแสงแดด เก้าอี้โต๊ะ สิ่งเหล่านี้มีผลต่อความพึง พอใจของลูกค้าที่มารับประทานอาหาร หรือเข้ามาใช้บริการในสถานที่ที่มาใช้บริการยิ่งไปกว่าน้ัน ความพึงพอใจของลูกค้ายงั มผี ลจากจำนวนลกู ค้าที่มาใช้บริการดว้ ยแถวทีย่ าวเหยียดของธนาคารในวัน ศกุ ร์ย่อมสรา้ งความไมอ่ ยากใช้บรกิ าร 2) การวดั ระดับความพึงพอใจของลกู คา้ หรือผใู้ หบ้ ริการวา่ สามารถทำได้ 2 วิธีคอื - วัดจากการสอบถามความคิดเหน็ ของลูกค้าหรือผู้ใช้บรกิ ารเป็นการวัดระดับความพงึ พอใจ ของลูกค้าหรือผู้ใช้บริการจากการสอบถามความคิดเห็นของลูกค้าหรือผู้ใช้บริการโดยตรงทำได้โดย กำหนดมาตรวัดระดับความพึงพอใจทีล่ ูกค้าหรอื ผใู้ ชบ้ รกิ ารท่ีมีตอ่ คุณภาพของสินค้าหรือบรกิ ารนั้นนั้น และกำหนดเกณฑ์ชี้วัดระดับความพึงพอใจจากผลการวัดระดับความพึงพอใจเฉลี่ยที่ลูกค้าหรือ ผใู้ ช้บรกิ ารท่ีมีตอ่ คณุ ภาพของสินค้าหรือบริการนัน้ ๆ - วดั จากตวั ช้วี ัดคุณภาพการให้บริการทกี่ ำหนดขนึ้ โดยการวดั ระดับความพึงพอใจของลูกค้า หรือผู้ใช้บริการจากเกณฑ์ชี้วัดระดับคุณภาพสินค้าหรือบริการที่กำหนดขึ้นนี้อาจใช้เกณฑ์คุณภาพ

26 ระดับต่าง ๆ ที่กำหนดขึ้นโดยผู้ให้บริการผู้ประเมินผลการให้บริการและมาตรฐานกลางหรือ มาตรฐานสากลของการให้บริการนน้ั สรุปความพึงพอใจ คือ การทำให้ความรู้สึกของบุคคลที่ได้รับบริการในสิ่งที่ดีเป็นที่พอใจ ประทบั ใจ ตามที่ผู้รับบริการตัง้ ใจ ไว้หรอื มากกว่าทคี่ ิดไว้ การจะทำใหเ้ กิดความรู้สึกพึงพอใจได้หน่วย ให้บริการต้องวางระบบโครงสร้างที่ดี สอดคล้อง สัมพันธ์กันทุกฝ่าย เช่น ด้านเครื่องมือเครื่องใช้ที่ ทันสมัย ดา้ นบคุ ลากรที่มีความรู้ความสามารถเขา้ ใจในหมีหน้าท่แี ละตอ้ งมีใจรักในการใหบ้ รกิ าร ด้าน สถานที่สะอาดพ้นื ท่ีเหมาะสมกับการใหบ้ รกิ าร มคี วามเชื่อมนั่ และม่นั ใจเมอ่ื มารับบรกิ าร ซ่งึ สงิ่ เหล่าน้ี เป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งจากองค์ประกอบอีกหลาย ๆ ด้านที่จะนำไปสู่จุดสูงสุดในเรื่องความพึง พอใจ 3) สรุปประเด็นเกย่ี วกับความพงึ พอใจดังนี้ - ความพงึ พอใจเปน็ การเปรยี บเทยี บความร้สู ึกกับความคาดหวงั - ความพงึ พอใจเป็นการเปรยี บเทยี บความรสู้ ึกกบั สงิ่ เรา้ - ความพงึ พอใจเปน็ การเปรียบเทยี บความรูส้ กึ หรือทศั นคตกิ บั สง่ิ ทไ่ี ดร้ ับ - ความพงึ พอใจเป็นการเปรียบเทยี บประสบการณ์กับการคาดหวัง 2.6 งานวิจัยทเี่ ก่ียวข้อง ทีมวิจัยจากมหาวิทยาลัยเซาท์แคโรไลน่า สหรัฐอเมริกา (2553) (South Carolina State University) ได้ทำการศึกษาเทียนที่ผลิตจาก พาราฟิน (Pataffin wax candle) มีส่วนผสมของ ปิโตรเลียม และ เทียน ที่มีส่วนผสมของ พืชและถั่วเหลือง เพื่อเปรียบเทียบการปล่อยสารพิษ โดย ผลติ มาจากต่างโรงงาน เปน็ เวลา 8 ชั่วโมง ในกลอ่ งทดลอง นกั วิจัยไดเ้ กบ็ ตวั อย่างเทยี นพรอ้ มสารเคมี ในอากาศไปวิเคราะห์ ผลปรากฏว่า เทียนมีส่วนผสมของ พาราฟิน ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ปล่อยสาร โทลูอีน (Toluene) และสาร เบนซีน (Benzene) ออกมาซง่ึ เป็นสารพษิ เปน็ สารก่อมะเร็ง สว่ นเทยี นท่ีมสี ่วนผสมของพืชหรอื ถั่วเหลอื งกลับไม่พบสารพิษดงั กล่าวเลย นกั วจิ ยั จึงได้กล่าวว่า การ จุดเทียนที่มีสว่ นผสมของพาราฟินบอ่ ยครง้ั ภายในห้องทอ่ี ากาศไมถ่ า่ ยเท อาจทำให้เกดิ อาการหอบหืด ก่อใหเ้ กิดภูมแิ พ้ตามมา และทำให้เกิดอาการระคายเคอื งต่อระบบทางเดินหายใจได้ รูฮัลเลาะห์ มาสซูดี (2550) วิจัยเทียนพาราฟินที่เราทดสอบจะปล่อยสารเคมีที่ไม่เป็นที่ ต้องการออกมาสอู่ ากาศ สำหรบั ใครกต็ ามท่ีจดุ เทียนทกุ วนั ตอ่ เนื่องกนั เปน็ ปี หรือใชเ้ ทียนเพื่อให้ความ หอมเป็นประจำนั้น การสูดอากาศที่มีสารเคมีเหล่านี้เข้าไป สามารถนำไปสู่ความเสี่ยงทางสุขภาพ หลายๆ อย่าง ตั้งแต่อาการภูมิแพ้ อาการหอบหืด หรือแม้กระทั่งมะเรง็ ” ศาสตราจารย์มาสซูดีระบุ ก่อนเสริมว่า “เทยี นทีไ่ ดจ้ ากไขพืชน้ันจะไม่ปรากฏสารเคมที ี่เปน็ พิษเหล่านเี้ ลย” งานวิจัยน้ีสอดคล้อง กับผลการศึกษาวิจัยก่อนหน้านี้เมื่อปี 2009 ที่ระบุว่า น้ำหอมที่ใช้ผสมเป็นเทียนหอมนั้นก่อให้เกิด

27 อันตรายเช่นกัน เพราะในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา 80-90 เปอร์เซ็นต์ของสารให้ความหอม เป็นสารท่ี สังเคราะห์มาจากปิโตรเลียมทั้งสิ้น ผลก็คือจะมีสารอย่างอะซีโทน, ฟีโนล, โทลูอีน, เบนซีล อะซีเทต และไลโมนนี การศกึ ษาของทมี วจิ ัยของมหาวทิ ยาลยั แมรีแลนด์ในครั้งนั้นถึงกับระบุว่า การใช้น้ำหอม หรอื เครอ่ื งหอมในที่ทำงาน ไมต่ ่างอะไรกับอันตรายจากเซคกนั ด์แฮนด์ สโมค หรือการได้สารพิษจาก คนใกล้ชดิ ทส่ี ูบบุหรีน่ ั่นเอง งานวิจัยในประเทศ (2557) ในสมัยก่อนเทียนไขส่วนใหญ่ทำมาจากวัตถุดิบตาม ธรรมชาติ เช่น ขี้ผึง ซึ่งปลอดภัยต่อสุขภาพของคนเรา แต่ในปัจจุบันนี้เราจะเหน็ เทยี นที่ขายมีรูปรา่ ง และสีต่างๆกัน เช่น เขียว เหลือง แดง ม่วง น้ำเงิน และสีอื่น ๆ อีก พร้อมกับรูปร่างของเทียนก็มี หลากหลายรูปแบบ และมีกลิ่นที่หลากหลาย บางครั้งเรียกเทียนเหล่านี้ว่า เทียนแฟนซี หรือ เทียน พิษ ที่สำคญั คอื การผลติ เทียนในปัจจุบนั นเ้ี ปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมาก เทยี นสสี วยมกี ลิน่ ตา่ งๆนน้ั ซ่ึง ปัจจุบันมีขายทั่วประเทศรวมทั้งมีขายในต่างประเทศเช่นเดียวกัน อาจกลายเป็นตัวปล่อยสารพิษสู่ อากาศทำใหอ้ ากาศเป็นพิษ นางปทุมทิพย์ ตน้ ทบั ทมิ ทองและ นางนนั ทวนั กลนิ่ จำปา (2554) ได้วิจัยนี้มีวัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือ ผลิตธูปจากสารธรรมชาติเพื่อลดปริมาณสารก่อมะเรง็ ในควนั ธูป ตัวแปรที่ศกึ ษาคือ ชนิดของกาวและ น้ำมันหอมระเหย ที่ได้จากการสงั เคราะห์และจากธรรมชาตกิ าวที่ใช้ได้แก่ กาวลาเท็กซ์ กาวน้ำ กาว แป้งสาลี และกาวจากยางบง น้ำมันหอมระเหยสังเคราะห์และน้ำมันหอมระเหยจากธรรมชาติได้แก่ กลิ่นตะไคร้ มะกรูด และจำปี วิเคราะห์ปริมาณสารเบนซีน 1,3 บิวทาไดอีน และเบนโซ(เอ)ไพรนี ใน ควันธูปด้วยเครื่องแก๊สโครมาโทกราฟ-แมสสเปกโรมิเตอร์ พบว่าควันธูปที่ทำจากกาวแป้งสาลีมี ปริมาณ 1,3-บิวทาไออีน และเบนโซ(เอ)ไพรีน 84.00 ug/m3 และ 515.11 ug/m3 และธูปที่ผสม นำ้ มนั หอมระเหยธรรมชาตกิ ลน่ิ ตะไคร้ มปี รมิ าณสารเบนโซ(เอ)ไพรีนน้อยที่สุดคือ 1,902.88 ug/m3 ดังนั้นธปู ทผี่ ลิตจากสารธรรมชาตมิ ีสารกอ่ มะเรง็ น้อยกว่าธูปทผ่ี ลติ จากสารสังเคราะห์ โรงเรียนจิตรลดาวิชาชีพ สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา (2554) วิจัย “เทียนสุขภาพจากไขถ่ัว เหลือง” 2 in 1 ตอบโจทย์ช่วยผ่อนคลายให้กลิ่นบำบัดและใช้นวดสปานการคัดเลือกวัตถุดิบที่ใช้ พัฒนาผลติ ภณั ฑ์ ไดม้ ีการเลือกใชไ้ ขถัว่ เหลือง หรือ Soy Wax เปน็ วตั ถุดิบจากพืชธรรมชาติเป็นหลัก โดยคุณสมบัติเด่นของไขถั่วเหลือง เมื่อจุดเทียนจะได้ น้ำมันใช้นวดผ่อนคลาย ในการคิดสูตรมีการ เลือกใชน้ ้ำมนั หอมระเหยแทนน้ำหอมสังเคราะหจ์ งึ เป็นเทียนสุขภาพ 2 in 1 ใช้งานได้ 2 รูปแบบ คือ ใช้เป็นเทียนจุดให้กลิ่นหอมจากน้ำมันหอมระเหย และใช้เป็นน้ำมันสำหรับนวดผ่อนคลาย สามารถ ตอบโจทย์กลุม่ ผู้รกั สขุ ภาพ ที่ให้ความสำคัญกับวตั ถดุ ิบจากธรรมชาติ และนยิ มทำ Home Spa ท่ีบ้าน ตรงกับเทรนด์ผลิตภัณฑส์ ุขภาพ ที่กำลังได้รับความนยิ มท่ัวโลกในปัจจุบันสอดคล้องกับการวิจัยทาง การตลาด พบว่า ผลการตอบรับเกี่ยวกบั ผลติ ภณั ฑใ์ นการทดลองตลาด

28 บทที่ 3 วิธีดำเนนิ การวิจัย การดำเนินโครงการเทียนหอม มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อผลิตภัณฑ์เทียนหอม 2) เพื่อศึกษา ความพงึ พอใจของผูใ้ ช้งานเทียนหอม ซง่ึ ผจู้ ดั ทำโครงการได้ดำเนินการศกึ ษาดงั น้ี 3.1 การคดั เลือกกลุม่ ตวั อยา่ ง 3.2 เครอื่ งมอื ที่ใช้ในการดำเนินโครงการ 3.3 ขน้ั ตอนการดำเนนิ โครงการ 3.4 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 3.5 การวิเคราะห์และสรปุ ผล 3.1 การคัดเลือกกลมุ่ ตัวอย่าง โครงการเรื่อง เทียนหอม ผู้จัดทำใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ( Purposive sampling ) เปน็ การเลอื กกลมุ่ ตัวอย่างโดยพจิ ารณาจากการตัดสนิ ใจของผ้วู ิจัยเอง ลักษณะของกลุ่ม ทีเ่ ลือกเปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย คือ กล่มุ ผทู้ ดลองใชง้ านเทียนหอมจำนวน 50 คน 3.2 เครอื่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการดำเนนิ โครงการ 1) แบบบันทกึ ผลการทดลอง 2) แบบสอบถามความพึงพอใจ ผู้จัดทำโครงการใช้แบบบันทึกการทดลอง แบบสอบถามความพึงพอใจ เป็นเครื่องมือเพื่อ รวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง เพื่อสอบถามความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง หลังจากนั้นผู้จัดทำ โครงการจะจัดทำแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้เทียนหอมดังนั้นผู้จัดทำโครงการได้แยก แบบสอบถาม ออกเปน็ 3 ส่วน ดังนี้ ส่วนท่ี 1 ข้อมลู ส่วนบุคคลของผตู้ อบแบบสอบถาม โดยสอบถามเก่ยี วกับเพศ อายุ ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจของผู้ใช้เทียนหอม ผู้จัดทำโครงการได้ใช้มาตราวัด แบบ Rating scale 5 ระดับตามมาตรวดั แบบลเิ คริ ท์ (Likert’Scale) ในการ วัดระดบั ความพงึ พอใจ ดังนี้

29 5 หมายถึง มากทีส่ ดุ 4 หมายถึง มาก 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถึง นอ้ ยหรอื ต่ำกว่ามาตรฐาน 1 หมายถงึ นอ้ ยทสี่ ุดหรือตอ้ งปรับปรงุ แกไ้ ข ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะซ่ึงเปน็ คำถามปลายเปิดเพื่อให้ผตู้ อบแบบสอบถามแสดงความคิดเหน็ เกณฑก์ ารประเมนิ แบบสอบถามความคิดเหน็ มี 5 ระดบั โดยผจู้ ดั ทำโครงการได้เลอื กวธิ ีการของ เร็น สสิ เอลิเคิร์ท ดงั นี้ (Likert’Scale,Rating scale A.2504) 4.50 - 5.00 หมายถึง เหน็ ดว้ ยอยู่ระดบั มากที่สุด 3.50 - 4.49 หมายถึง เห็นดว้ ยอยรู่ ะดบั มาก 2.50 - 3.49 หมายถึง เห็นด้วยอยรู่ ะดับปานกลาง 1.50 - 2.49 หมายถึง เหน็ ด้วยอยรู่ ะดับน้อย 1.00 - 1.49 หมายถึง เห็นดว้ ยอยรู่ ะดับนอ้ ยมาก การสร้างเคร่อื งมือในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ครงั้ นี้ โดยมกี ารสรา้ งเครือ่ งมือดงั นี้ - ศกึ ษาค้นควา้ เอกสารท่ีเกี่ยวข้อง เพอื่ กำหนดแนวทางในการสรา้ งเคร่ืองมอื ในการศึกษาให้ ครอบคลุมเนอื้ หาท่ีกำหนด - จัดทำแบบสอบถามเพือ่ ใชใ้ นการเกบ็ ข้อมูลเกยี่ วกบั เทียนหอม - ตรวจสอบแบบสอบถาม โดยปรึกษาอาจารย์ผู้สอนเก่ียวกับความถูกต้องของแบบสอบถาม และขอ้ ควรแกไ้ ขของแบบสอบถามเพอื่ นำไปใชใ้ นการเก็บข้อมูลท่ีถูกต้อง - ปรับปรุงแก้ไขแบบสอบถามตามที่ควรแก้แล้วเสนอต่ออาจารย์อีกครั้งเพื่อตรวจเช็คความ ถูกตอ้ งอกี ครง้ั ก่อนจะนำไปใชใ้ นการเก็บข้อมลู 3.3 ขั้นตอนการดำเนนิ งาน 1) การวางแผน (P) - กำหนดชอ่ื เรอื่ งและศึกษารวบรวมขอ้ มูลปัญหา ความสำคญั ของโครงการ - เขยี นแบบนำเสนอโครงการ - ขออนุมตั โิ ครงการ

30 2) ขัน้ ตอนการดำเนินการ (D) - ศึกษา ผลติ ภัณฑเ์ ทียนหอม ประเมนิ ผลและปรับปรงุ ครัง้ ที่ 1 - ศกึ ษา ผลิตภัณฑเ์ ทยี นหอม ประเมนิ ผลและปรบั ปรุง คร้งั ที่ 2 - ศึกษา ผลิตภัณฑ์เทียนหอม ประเมนิ ผล ครง้ั ที่ 3 3) ขัน้ ตอนการตรวจสอบ (C) - กลุม่ ประชากรใชง้ านผลติ เทียนหอม - ประเมนิ ผลความพึงพอใจของผลติ เทยี นหอม 4) ขัน้ ประเมนิ ตดิ ตามผล (A) - สรุปผลการประเมนิ ความพึงพอใจผลิตภัณฑ์ผลติ เทยี นหอม - จดั ทำเล่มโครงการ - นำเสนอโครงการ 3.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ผู้จัดทำโครงการไดด้ ำเนินการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การทำโครงการน้ี อย่างเป็นข้นั ตอนดงั น้ี 1) ผู้จัดทำโครงการทำการแจกแบบสอบถามให้กับกลุ่มตัวอย่าง โดยพิจารณาจากการ ตดั สนิ ใจของผู้วิจัยเอง โดยวธิ กี ารสแกนคิวอาโค๊ช ใหผ้ ูต้ อบแบบสอบถามตอบแบบสอบถาม ออนไลน์ด้วยตวั เอง 2) การรวบรวมแบบสอบถาม ผจู้ ัดทำโครงการไดร้ วบรวมแบบสอบถามดว้ ยตวั เอง 3) ตรวจสอบความสมบรู ณ์ของแบบสอบถาม เพ่ือนำข้อมลู ไปวเิ คราะหท์ างสถติ ิ 3.5 การวิเคราะหแ์ ละสรุปผล ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวม ผู้จัดทำโครงการได้ทำการตรวจสอบความเรียบร้อยของแบบสอบถาม และนำข้อมูลมาประมวลผลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สำหรับการคิดค่าร้อยละ การหา ค่าเฉลยี่ (������̅) และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D) ดงั น้ี 1) การวิเคราะห์ข้อมูลส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยการแจกแจง ความถ่แี ละรอ้ ยละ สูตรการหาคา่ รอ้ ยละ คา่ ร้อยละ = ความถ่ีที่ตอ้ งการเปรียบเทยี บ x 100

31 จำนวนรวมทงั้ หมด 2) การวิเคราะห์ข้อมูลส่วนที่ 2 แบบสอบถามความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างคณะครู บุคลากร นักเรียน-นกั ศึกษา ในวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ในการวิเคราะห์ไดแ้ ก่ การหาค่าเฉลีย่ (������̅) และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D) × =∑ n × แทน คา่ คะแนนเฉล่ีย ∑ แทน ผลรวมของคะแนนทัง้ หมด n แทน ขนาดของกล่มุ ตวั อย่าง สูตรการหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน S.D.√n ∑ x2 [∑ x]2 n(n-1) เม่ือ S.D. แทน คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐานของคะแนนของกลุ่มตัวอย่าง [∑ x]2 แทน ผลรวมของคะแนนทง้ั หมดยกกำลังสอง ∑ x2 แทน ผลรวมของคะแนนแตล่ ะตวั อย่างยกกำลังสอง n แทน ขนาดของกลุ่มตัวอยา่ ง

32 บทท่ี 4 ผลการศกึ ษา ในการศึกษาผลิตภัณฑ์เทยี นหอม มีวัตถุประสงค์ เพื่อผลิตภัณฑ์เทียนหอม เพื่อศึกษาความ พึงพอใจของผใู้ ชง้ านเทยี นหอม ในการศกึ ษามีผลการดำเนนิ ดังหวั ข้อตอ่ ไปน้ี ส่วนที่ 1 สรุปขัน้ ตอนการทำเทยี นหอม สว่ นที่ 2 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ส่วนบุคคล ส่วนท่ี 3 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของผ้ใู ช้เทยี นหอม สว่ นที่ 4 การจดั ลำดบั ผลการวเิ คราะหค์ วามพงึ พอใจของผู้ใช้เทียนหอม สว่ นที่ 5 ผลสรปุ ขอ้ เสนอแนะ ส่วนที่ 1 สรุปข้ันตอนการทำเทียนหอม องค์ประกอบ - นา้ํ หอมระเหยกล่นิ มะลิ/ราสเบอรร์ ่วี านิลลา - ไขมนั ถ่ังวเหลอื ง อุปกรณ์ - ไขถั่วเหลือง (soy wax) - เชือกฝ้าย 100% สำหรบั ทำไส้เทยี น - นำ้ มันหอมระเหย - สยี อ้ มเทยี น - ภาชนะบรรจเุ ทยี น เช่น กระปกุ แกว้ สวยๆ - หมอ้ ต้มทนความร้อน - แทง่ ไม้ หรอื ไมห้ นีบผ้า - แหวนสกรู

33 วธิ กี ารทำ 1. ทำละลายไขถั่วเหลือง โดยนำไขถวั่ เหลืองมาใส่หม้อต้มทนความร้อน จากน้ันต้มไขถ่ัวเหลือง ให้ละลาย ด้วยอุณหภูมิประมาณ 76.6 – 82.2 ° C คนไขถั่วเหลืองให้เป็นเนื้อเดียวกัน จากน้ันยกลงมาตัง้ พักให้อุน่ 2. หยดน้ำมันหอมระเหยลงไป 4-5 หยด หรือตามปริมาณที่แนะนำข้างขวด จากนั้นคนให้เข้า กนั 3. หยดสีย้อมเทียนลงไปตามปริมาณที่แนะนำข้างขวด โดยค่อยๆ ใส่ทีละหยดจนกว่าจะไดส้ ีท่ี ต้องการ และคนให้เขา้ กนั 4. ค่อยๆ เทไขถั่วเหลืองทีต่ ้มเรียบร้อยแล้วลงไปในภาชนะบรรจุเทียนที่เตรียมไว้ แล้วทิ้งไขถวั่ เหลืองไวป้ ระมาณ 5 ชว่ั โมง รอจนกว่าไขถว่ั เหลืองจะแข็งตัว 5. เมื่อไขถั่วเหลืองแข็งตัวเรียบร้อยแล้ว นำกรรไกรมาตัดปลายเชือกที่ผูกไว้กับแท่งไม้ โดยให้ ความยาวเชอื กอยู่ต่ำกว่าปากภาชนะบรรจเุ ทยี น เทา่ น้ีกเ็ ป็นอันเสร็จเรียบรอ้ ย ส่วนที่ 2 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู สว่ นบุคคล จากการศกึ ษาเทียนหอม ผศู้ ึกษาไดว้ ิเคราะห์ขอ้ มูลส่วนบุคคลซ่งึ ประกอบดว้ ยข้อมูลเกี่ยวกับ เพศ และช่วงอายุ ซึ่งผลการวเิ คราะหป์ รากฏดงั น้ี ตารางที่ 1 ตารางแสดงผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู สว่ นบุคคลด้านเพศ เพศ จำนวนคน รอ้ ยละ ชาย 13 26.05 หญงิ 37 74.00 รวม 50 100.00 จากตารางท่ี 1 ตารางแสดงผลการวเิ คราะห์ข้อมูลสว่ นบุคคลด้านเพศ ผศู้ ึกษาได้สรุปผลการ วิเคราะห์พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 74.00 และเพศชาย คิด เปน็ รอ้ ยละ 26.05 ตามลำดบั ตารางท่ี 2 ตารางแสดงผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูลสว่ นบคุ คลดา้ นอายุ อายุ จำนวนคน รอ้ ยละ 16-18 16 32.07 19-20 27 55.01 20ปีข้นึ ไป 6 12.02 รวม 50 100.00

34 จากตารางที่ 2 ตารางแสดงผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู ส่วนบุคคลด้านอายุ ผู้ศกึ ษาได้สรุปผลการ วิเคราะห์พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามสว่ นใหญ่อยู่ในชว่ งอายุ 16-18 ปี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 32.07 รองลงมา ชว่ งอายุ 19-20 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 55.01 และช่วงอายุ 20ปีขึ้นไป คดิ เป็นร้อยละ12.02 ตามลำดบั ส่วนท่ี 3 ผลการวิเคราะหค์ วามพงึ พอใจของผู้ใช้เทยี นหอม การศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาไดศ้ ึกษาเรื่อง เทียนหอม โดยการหาคา่ เฉลี่ย (������̅) และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D) จากแบบสอบถามความพงึ พอใจผลติ ภณั ฑ์เทยี นหอม ขอ้ มูลปรากฏดังนี้ ตารางที่ 3 ตารางแสดงผลการวิเคราะหค์ วามพึงพอใจของผูใ้ ช้เทียนหอม รายการแบบสอบถาม ผลการประเมิน เทียนหอมมีกลิ่นหอม ������̅ S.D. ผลการประเมิน 4.12 0.77 มาก เทียนหอมมีสีสันท่ีสวยงาม 4.45 0.64 มาก ความงามของรูปเเบบผลิตภัณฑ์ 4.24 0.72 มาก กล่ินดอกมะลิทำให้ผ่อนคลาย 4.26 0.60 มาก กลิ่นราสเบอร์รี่วานิลาทำให้สดช่ืน 4.35 0.71 มาก ความพึ่งพอใจในการใช้เทียนหอม 4.35 0.76 มาก เทียนหอมควรตั้งใว้ในห้องน้ําเพ่ือดับกล่ิน 4.10 0.90 มาก ขนาดของผลิตภัณฑ์เทียนหอมมีความเหมาะสม 4.31 0.76 มาก เทียนหอมสร้างความโรแมนติกให้คู่รัก 4.31 0.76 มาก กล่องบรรจุมีความสวยงาม 4.47 0.78 มาก รวม 4.30 0.08 มาก จากตารางที่ 3 ตารางแสดงผลการวิเคราะห์ความพงึ พอใจของผใู้ ช้เทียนหอม ได้สรุปผลการ วิเคราะห์ข้อมูล พบว่าผลสรุปภาพรวมของความพึงพอใจของผู้ใช้เทียนหอม อยู่ในระดับมาก (������̅=4.30) เมื่อสรุปผลออกมาเป็นรายข้อเทียนหอมมีกลิ่นหอม ผลการประเมินอยู่ในระดับมาก (������̅=4.12) รองลงมาคือ เทียนหอมมีสีสันท่ีสวยงาม อย่ใู นระดับมาก (������̅=4.45) ความงามของรูปเเบบ ผลิตภัณฑ์ อยู่ในระดับมาก (������̅=4.24) กลิ่นดอกมะลิทำให้ผ่อนคลาย อยู่ในระดับมาก (������̅=4.26) กล่ินราสเบอร์ร่ีวานิลาทำให้สดช่ืน อยู่ในระดบั มาก (������̅=4.35) เทียนหอมควรตั้งใว้ในห้องนํ้าเพื่อดับ กลิ่น อยู่ในระดับมาก (������̅=4.10) ขนาดของผลิตภัณฑ์เทียนหอมมีความเหมาะสม อยู่ในระดับมาก (������̅=4.31) เทียนหอมสร้างความโรแมนติกให้คู่รัก อยู่ในระดับมาก (������̅=4.31) กล่องบรรจุมีความ สวยงาม อย่ใู นระดบั มาก (������̅=4.47) ตามลำดบั

35 สว่ นที่ 4 การจดั ลำดับผลการวเิ คราะห์ความพงึ พอใจของผใู้ ช้เทียนหอม การศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาได้ศึกษาเรื่อง เทียนหอม โดยการหาคา่ เฉลี่ย (������̅) และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D) และจดั ลำดับความพงึ พอใจผลิตภัณฑเ์ ทยี นหอม ขอ้ มูลปรากฏดงั นี้ ตารางท่ี 4 ตารางการจัดลำดบั ผลการวิเคราะห์ความพงึ พอใจของผ้ใู ช้เทยี นหอม รายการแบบสอบถาม ผลการประเมิน ������̅ S.D. ผลการประเมิน ลำดบั ที่ กล่องบรรจุมีความสวยงาม 4.47 0.78 มาก 1 เทียนหอมมีสีสันที่สวยงาม 4.45 0.64 มาก 2 กลิ่นราสเบอร์รี่วานิลาทำให้สดช่ืน 4.35 0.71 มาก 3 ความพึ่งพอใจในการใช้เทียนหอม 4.35 0.76 มาก 4 ขนาดของผลิตภัณฑ์เทียนหอมมีความเหมาะสม 4.31 0.76 มาก 5 เทียนหอมสร้างความโรแมนติกให้คู่รัก 4.31 0.76 มาก 6 กลิ่นดอกมะลิทำให้ผ่อนคลาย 4.26 0.60 มาก 7 ความงามของรูปเเบบผลิตภัณฑ์ 4.24 0.72 มาก 8 เทียนหอมมีกลิ่นหอม 4.12 0.77 มาก 9 เทียนหอมควรตั้งใว้ในห้องน้ําเพ่ือดับกลิ่น 4.10 0.90 มาก 10 รวม 4.30 0.08 มาก จากตารางที่ 4 ตารางการจัดลำดับผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้ใช้เทียนหอมได้ สรุปผลการวิเคราะหข์ ้อมูล พบว่าผลสรุปภาพรวมของความพึงพอใจของผู้ใช้เทียนหอม อยู่ในระดบั มาก (������̅=4.30) เมื่อสรุปผลออกมาเป็นรายข้อพบวา่ กล่องบรรจุมีความสวยงาม ผลการประเมนิ อยู่ใน ระดบั มาก (������̅=4.47) รองลงมาเทียนหอมมีสีสันที่สวยงาม อยู่ในระดบั มาก (������̅=4.45) กลิ่นราสเบอร์ รี่วานิลาทำให้สดชื่น อยู่ในระดับมาก (������̅=4.35) ความพึ่งพอใจในการใช้เทียนหอม อยู่ในระดับมาก (������̅=4.35) ขนาดของผลิตภัณฑ์เทียนหอมมีความเหมาะสม อยู่ในระดับมาก (������̅=4.31) เทียนหอม สร้างความโรแมนติกให้คู่รัก อยู่ในระดับมาก (������̅=4.31) กลิ่นดอกมะลิทำให้ผ่อนคลาย อยู่ในระดับ มาก (������̅=4.26) ความงามของรูปเเบบผลิตภัณฑ์ อยู่ในระดับมาก (������̅=4.24) เทียนหอมมีกลิ่นหอม อยู่ในระดับมาก (������̅=4.12) เทียนหอมควรตั้งใว้ในห้องนํ้าเพื่อดับกลิ่น อยู่ในระดับมาก (������̅=4.10) ตามลำดับ

36 สว่ นที่ 5 ผลสรปุ ขอ้ เสนอแนะ 1) ควรมหี ลายๆ สีมากกวา่ นี้ 2) ควรเพม่ิ กลน่ิ อน่ื ๆ

37 บทที่ 5 สรุปผล อภปิ ปรายและข้อเสนอแนะ ในการศึกษาคร้ังน้ีมวี ัตถปุ ระสงค์ เพ่ือให้ 1. เพือ่ ศึกษาค้นคว้าขั้นตอนการทำเทยี นหอม 2. เพ่ือศกึ ษาค้นคว้าเกยี่ วกับประโยชนน์ ้ำมนั ระเหย 3. เพอ่ื ศึกษาคณุ สมบัตขิ องเทียนหอม กล่ินดอกมะลิและราสเบอร์รี่วานลิ ลา กลมุ่ ประชากรท่ีใช้ในการศึกษาครง้ั น้ี ประกอบดว้ ย นกั ศกึ ษาระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชีพปี ท่ี 1 หอ้ ง3 สาขาวิชาการโรงแรม และบุคคลทสี่ นใจ จำนวน 50 คน เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการศึกษา คือ แบบประเมินความพึงพอใจ ซ่ึงผศู้ กึ ษาสรา้ งขน้ึ เพ่ือสอบถามเกยี่ วความพงึ พอใจของผู้ใช้เทยี นหอม ผล ของการศึกษามดี ังนี้ 5.1 สรุปผล 5.2 อภปิ รายผล 5.3 ขอ้ เสนอแนะ 5.1 สรปุ ผลการศึกษา จากการศึกษาโครงการเรอ่ื ง “เทียนหอม” ได้สรุปผลการวเิ คราะห์ ดงั น้ี 1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ใช้ผลิตภัณฑ์เทียนหอม จากการวิเคราะห์ มีผู้ใช้ ผลิตภัณฑ์เทียนหอม ประกอบด้วย นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และ นักศึกษาระดับ ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชน้ั สงู จำนวนท้ังสิ้น 50 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญงิ 36 คน และเพศชาย 13 คน ตามลำดับ ด้านการจำแนกตามระดับชั้น พบว่า ส่วนใหญ่กำลังศึกษาอยู่ใน ระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 40 และกำลังศึกษาอยู่ในระดับช้ัน ประกาศนียบัตรวิชาชพี จำนวน 15 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 30 และระดับปรญิ ญาตรี จำนวน 14 คน คิด เป็นร้อยละ 28 ตามลำดับ

38 2. ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของเทียนหอม จากการวิเคราะห์ พบว่าเกณฑ์การประเมินใน ภาพรวมทัง้ หมดอยใู่ นระดบั ดมี าก โดยมคี ่าเฉลย่ี รวมทั้งหมดเท่ากบั 4.30 สรุปไดด้ งั น้ี 1. เทียนหอมมีกลิ่นหอม คา่ เฉล่ยี 4.12 2. เทียนหอมมีสีสันที่สวยงาม ค่าเฉล่ยี 4.45 3. ความงามของรูปเเบบผลิตภัณฑ์ คา่ เฉลยี่ 4.24 4. กล่ินดอกมะลิทำให้ผ่อนคลาย ค่าเฉลย่ี 4.26 5. กล่ินราสเบอร์รี่วานิลาทำให้สดชื่น คา่ เฉล่ยี 4.35 6. ความพ่ึงพอใจในการใช้เทียนหอม ค่าเฉลีย่ 4.35 7. เทียนหอมควรตั้งใว้ในห้องนํ้าเพื่อดับกล่ิน คา่ เฉลยี่ 4.10 8. ขนาดของผลิตภัณฑ์เทียนหอมมีความเหมาะสม ค่าเฉลีย่ 4.31 9. เทียนหอมสร้างความโรแมนติกให้คู่รัก ค่าเฉล่ยี 4.31 10. กล่องบรรจุมีความสวยงาม ค่าเฉลย่ี 4.47 5.2 อภปิ รายผล จากการศึกษาโครงการเรื่อง “เทียนหอม” ในครั้งนี้สำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ตัง้ ไว้ เพราะมี การวางแผนการศึกษาค้นคว้าหาอุปกรณ์ท่ีเหมาะกับผลิตภัณฑ์ ศึกษาคน้ คว้าลายผ้าของผ้าฝ้าย และ ปฏิบตั ติ ามข้ันตอนการดำเนนิ งาน โดยภาพรวมสามารถสรุปไดเ้ ป็นรายการดงั นี้ 1. กล่องบรรจุมีความสวยงาม อยใู่ นระดบั มาก (������̅=4.47) เนอ่ื งจากสามารถนำไปใชง้ านหรือ ทำเปน็ ของระลกึ ในโรงแรมได้ 2. เทียนหอมมีสีสันที่สวยงาม อยู่ในระดับมาก (������̅=4.45) เนื่องจากมีสีแต่อย่างเดียวควรมี หลากหลายสเี พอ่ื ความสวยงามขึ้นไปอีก 3. กล่ินราสเบอร์ร่ีวานิลาทำให้สดช่ืน อยู่ในระดับมาก (������̅=4.35) เน่ืองจากเป็นกลิ่นท่ีทำให้ ผอ่ นคลายเครยี ดมีความหอมของผลไม้และดอกไม้ 4 .ความพึ่งพอใจในการใช้เทียนหอม อยู่ในระดับมาก (������̅=4.35) เนื่องจากผู้ทดลองใช้มี ความพงึ พอใจในการใชง้ านของเทยี นหอม 5. ขนาดของผลิตภัณฑ์เทียนหอมมีความเหมาะสม อยู่ในระดับมาก (������̅=4.31) เนื่องจากมี ขนาดเลก็ ควรมีหลายๆขนาด 6. เทียนหอมสร้างความโรแมนติกให้คู่รัก อยู่ในระดับมาก (������̅=4.31) เนื่องจากกลิ่นสร้าง ความย่ัวยวนใจลุ่มหลงของกลนิ่

39 7. กลิ่นดอกมะลิทำให้ผ่อนคลาย อย่ใู นระดบั มาก (������̅=4.26)เนื่องจากเปน็ กลน่ิ ท่ีเหมือนจริง ท่ีสดุ และมีความเปน็ ธรรมชาติ 8. ความงามของรูปเเบบผลิตภัณฑ์ อยู่ในระดับมาก (������̅=4.24) เนื่องจากสามารถนำไปใช้ งานหรือทำเปน็ ของระลกึ ในโรงแรมได้ 9. เทียนหอมมีกล่ินหอม อยู่ในระดบั มาก (������̅=4.12) เน่ืองจากมีกล่นิ ทีย่ าวนานถึง4-5ช่วั โมง 10. เทียนหอมควรตั้งใว้ในห้องน้ําเพ่ือดับกลิ่น อยู่ในระดับมาก (������̅=4.10) เนอ่ื งจากห้องน้ำ มกี ลนิ่ ไมพ่ งึ่ ประสงค์ 5.3 ข้อเสนอแนะ 1. ขอ้ เสนอแนะจากการศึกษาโครงการ จากการศึกษาโครงการ เรอื่ ง “ผลิตภณั ฑเ์ ทยี นหอม” พบว่าโดยรวมแล้วผลิตภัณฑเ์ ทียนหอม มคี วามสวยงามและกลิน่ หอม มขี นาดท่เี หมาะสมกับในห้องน้ำของอาคารปฏิบตั ิการโรงแรม สามารถ นำไปใช้ในการงานตา่ งๆ ตามทีผ่ ใู้ ชผ้ ลิตภัณฑต์ อ้ งการใช้ได้ และสามารถนำไปขายให้เกิดกำไรได้ 2. ปญั หาทีพ่ บเจอจากการศกึ ษาโครงการ จากการศึกษาโครงการ เรื่อง “ผลิตภัณฑ์เทียนหอม” ปัญหาที่พบเจอคือ ผลิตภัณฑ์เทียน หอม มีสีสันและกล่ินท่ีน้อยเกินไป ควรแต่งเตมิ ให้ผลติ ภัณฑ์เทยี นหอมมหี ลายกล่ินและหลายสหี ลาย ขนาด และควรปรับปรุงใหผ้ ลิตภัณฑเ์ ทียนหอมมีความทันสมยั มากกว่านี้ 3. ข้อเสนอแนะในการศึกษาโครงการน้คี รงั้ ต่อไป จากการศกึ ษาโครงการ เรื่อง “ผลติ ภัณฑเ์ ทียนหอม” ควรพัฒนาสสี นั และกลิ่นของผลิตภัณฑ์ เทียนหอม ผลิตภัณฑ์ควรมีสีสนั มากกว่านี้ และลวดลายที่หลากหลาย และควรพฒั นาให้ผลิตภัณฑ์มี ความทันสมัยมากกวา่ น้ี เพ่ือใหผ้ ูใ้ ช้ผลิตภณั ฑ์เกิดความพงึ พอใจสงู สดุ ในผลติ ภัณฑ์ทไี่ ดใ้ ช้

บรรณานกุ รม “ความร้เู บอ้ื งต้นนำ้ มนั ระเหย\" [ออนไลน]์ . เข้าถึงได้จาก https://www.botanicessence.com (7 เมษายน 2551) สืบค้นเมื่อวันที่ 3 มนี าคม 2564 “ดอกมะลิ” [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก https://www.bangkok biznews.com (22 ธันวาคม 2563) สบื คน้ เมือ่ วันท่ี 28 พฤศจิกายน 2563 ดร.วทิ ย์ เทย่ี งบรู ณธรรม “มะล”ิ สบื คน้ จาก หนังสือพจนานุกรมสมนุ ไพรไทย ฉบบั พมิ พ์ครั้งท่ี 5.หน้า 639-641สบื ค้น เมอ่ื วันที่ 3 มีนาคม 2564 “เทียนหอมสมุนไพร” [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก https://sites.google.com (8 พฤษภาคม 2557) สบื ค้น เมอื่ วนั ท่ี 28 พฤศจิกายน 2563 “เทยี นหอมมอโรมา” [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก https://sitehttp://www.okmd.or.com (9พฤศจิกายน 2561) สบื คน้ เม่ือวันที่ 3 มีนาคม 2564 สริ ลิ กั ษณ์ มาลานยิ ม“การสกดั นำ้ มนั หอมระเหย” [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก http://wwwlbo.moph. (1 มนี าคม 2555) สบื คน้ เมอื่ วนั ท่ี 3 มนี าคม 2564

ภาคผนวก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook