Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore pennapa-2561

pennapa-2561

Published by i_rung_t-tom, 2021-12-16 14:50:26

Description: pennapa-2561

Search

Read the Text Version

ชุดกิจกรรมการเรยี นร้แู บบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ข้นั รายวิชาวิทยาศาสตรพ์ น้ื ฐาน 5 ว23101 เรือ่ งพลังงานไฟฟา้ (Electrical energy) ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ชุดท่ี 1 วงจรไฟฟ้าเบือ้ งต้น นางเพญ็ นภา ทองดี กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนเบญจมราชรงั สฤษฎ์ิอาเภอเมอื ง จงั หวดั ฉะเชิงเทรา สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 6

คำนำ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ เรื่องพลงั งานไฟฟา้ (Electrical energy) ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ชดุ กิจกรรมที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น จดั ทาขึน้ เพือ่ ให้นักเรยี นไดศ้ กึ ษา ชุดกิจกรรม ฝกึ ปฏิบัตกิ จิ กรรมด้วยตนเอง มีทักษะในการทางานกลุม่ เกิดกระบวนการเรยี นรู้ สอดคล้องกบั จุดประสงค์ตามหลกั สตู ร มีเจตคตทิ ด่ี ีทางวิทยาศาสตร์ และสามารถใช้กระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตร์ในการแสวงหาความรู้และแกป้ ัญหาต่าง ๆ ในชวี ติ ประจาวนั ได้ ประกอบดว้ ย 5 ชุดกิจกรรม ดงั นี้ ชดุ กิจกรรมที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบ้ืองตน้ ชดุ กิจกรรมที่ 2 ความตา่ งศักยไ์ ฟฟ้า กระแสไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟา้ ชดุ กจิ กรรมท่ี 3 วงจรไฟฟ้าในบ้าน ชุดกจิ กรรมที่ 4 พลังงานไฟฟ้าและกาลงั ไฟฟา้ ชุดกจิ กรรมท่ี 5 วงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์เบื้องตน้ ในการจัดทาชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ได้รบั ความอนเุ คราะหใ์ ห้คาแนะนา ข้อเสนอแนะเป็นอย่างดยี ง่ิ จากศึกษานิเทศก์ นักวชิ าการการไฟฟา้ สว่ นภูมภิ าคอาเภอพานทอง จังหวดั ชลบุรี และครผู สู้ อนจากหน่วยงานต่าง ๆ จึงขอขอบคณุ ไว้ ณ ท่ีน้ี และหวงั เป็นอย่างยง่ิ ว่า ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์น้ี จะเป็นประโยชนแ์ ก่นักเรียนที่ได้ศึกษา และทากจิ กรรม จะชว่ ยใหเ้ กิดการเรียนร้เู ป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลต่อไป เพ็ญนภา ทองดี กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นเบญจมราชรังสฤษฎิ์

สำรบัญ คานา หน้า สารบัญ ก สารบญั ภาพ ข คาชแ้ี จงเกยี่ วกบั ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้แบบวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ข้ัน (7E) ค แผนผงั แสดงข้นั ตอนการใช้ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) 1 คาแนะนาการใช้ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้แบบวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ข้นั (7E) สาหรบั ครู 2 คาแนะนาการใช้ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขนั้ (7E) สาหรับนกั เรียน 3 สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวช้ีวัด และจุดประสงค์การเรยี นรู้ 4 ใบคาสัง่ 5 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ชดุ กิจกรรมที่ 1 วงจรไฟฟา้ เบ้อื งต้น 6 ใบความรู้ที่ 1 เรื่องวงจรไฟฟ้าเบ้อื งต้น 9 ใบกิจกรรมท่ี 1 เรอื่ งการตอ่ เครือ่ งใชไ้ ฟฟ้าเขา้ ในวงจรไฟฟา้ 13 แบบบนั ทกึ กิจกรรมที่ 1 เรื่องการต่อเคร่ืองใช้ไฟฟ้าเข้าในวงจรไฟฟา้ 16 ใบคาถามที่ 1 เรื่องการตอ่ เคร่ืองใช้ไฟฟา้ เขา้ ในวงจรไฟฟา้ 18 ใบความรทู้ ี่ 2 เร่อื งพลงั งานไฟฟา้ 20 ใบกิจกรรมท่ี 2 เร่อื งพลงั งานไฟฟา้ ในวงจรไฟฟ้า 21 แบบบนั ทึกกิจกรรมท่ี 2 เรอ่ื งพลังงานไฟฟา้ ในวงจรไฟฟ้า 24 ใบคาถามที่ 2 เร่ืองพลังงานไฟฟา้ ในวงจรไฟฟ้า 26 ใบความรู้ท่ี 3 เรือ่ งการวัดกระแสไฟฟ้า 28 ใบกจิ กรรมที่ 3 เรื่องการวดั กระแสไฟฟ้า 29 แบบบนั ทกึ กจิ กรรมท่ี 3 เร่อื งการวัดกระแสไฟฟ้า 31 ใบคาถามท่ี 3 เรื่องการวัดกระแสไฟฟ้า 33 ใบกจิ กรรมเสริมทกั ษะการเรียนรู้ 35 แบบทดสอบหลังเรยี น ชดุ กจิ กรรมที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบ้ืองต้น 36 บรรณานกุ รม 37 ภาคผนวก 41 42

สำรบัญภำพ หน้า 14 ภาพที่ 17 1 วงจรไฟฟ้าอยา่ ง่าย 23 2 การตอ่ เคร่อื งใช้ไฟฟา้ เข้าในวงจรไฟฟ้า 25 3 การตอ่ วงจรไฟฟ้าเขา้ กบั โวลต์มิเตอร์ 29 4 การตอ่ วงจรไฟฟ้า 30 5 แอมมเิ ตอร์ 31 6 การต่อวงจรไฟฟา้ เข้ากับแอมมเิ ตอร์ 7 การตอ่ วงจรไฟฟ้า อ่านคาชี้แจงก่อนนะเพ่อื น ๆ

1 คาช้ีแจงเกีย่ วกบั ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ขั้น (7E) 1. ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขัน้ (7E) รายวชิ าวิทยาศาสตร์5 ว23101เรือ่ งพลงั งานไฟฟ้า (Electrical energy)ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3ประกอบดว้ ยชดุ กจิ กรรม การเรยี นรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ข้นั (7E) จานวน 5 ชุดกิจกรรมดังนี้ ชดุ กจิ กรรมที่ 1 วงจรไฟฟา้ เบอ้ื งต้น ชุดกจิ กรรมที่ 2 ความตา่ งศักยไ์ ฟฟา้ กระแสไฟฟ้าและความตา้ นทานไฟฟ้า ชุดกิจกรรมท่ี 3 วงจรไฟฟ้าในบา้ น ชดุ กิจกรรมท่ี 4พลังงานไฟฟา้ และกาลงั ไฟฟา้ ชุดกิจกรรมท่ี 5 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบ้อื งต้น 2. ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ข้ัน(7E) นี้เป็นชุดกิจกรรมท่ี 1 วงจรไฟฟา้ เบื้องตน้ ใช้ประกอบแผนการจดั การเรยี นรูร้ ายวชิ าวิทยาศาสตร์5 ว23101เรอ่ื งพลังงาน ไฟฟา้ (Electrical energy) ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3จานวน 1 แผน ใชเ้ วลา 5ช่วั โมง 3. ส่วนประกอบของชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขนั้ (7E) ประกอบดว้ ย 3.1 คาชแี้ จงเก่ียวกับชดุ กิจกรรมการเรียนรู้แบบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7E) 3.2 แผนผงั แสดงข้ันตอนการใช้ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ขน้ั (7E) 3.3 คาแนะนาการใชช้ ดุ กิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ข้นั (7E) สาหรับครู 3.4 คาแนะนาการใช้ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขนั้ (7E) สาหรบั นกั เรียน 3.5 สาระการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ช้ีวดั และจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 3.6 ใบคาส่ัง 3.7 แบบทดสอบก่อนเรียน 3.8ใบความรู้ 3.9ใบกจิ กรรม 3.10ใบคาถาม 3.11ใบกิจกรรมเสรมิ ทกั ษะการเรียนรู้ 3.12แบบทดสอบหลงั เรยี น 3.13เฉลยใบกิจกรรม 3.14 เฉลยใบคาถาม 3.15 เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน 3.16 เฉลยใบกจิ กรรมเสริมทกั ษะการเรยี นรู้ 3.17 บรรณานกุ รม 4. ผูใ้ ช้ควรศึกษาคาชแี้ จงก่อนใช้ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ข้นั (7E)

2 แผนผงั การใช้ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ข้ัน(7E) รายวิชาวทิ ยาศาสตร์5 ว23101เรือ่ งพลังงานไฟฟา้ (Electrical energy) ชุดกจิ กรรมที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบือ้ งต้น 1. อา่ นคาแนะนาในการใช้ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ข้ัน(7E) 2. ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ข้ัน(7E) อยา่ งละเอยี ด และปฏิบัตดิ ังนี้ - ทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน - ศกึ ษาและปฏบิ ัติกจิ กรรมแตล่ ะกจิ กรรมดงั น้ี ศกึ ษาใบความรู้ ศึกษาใบกจิ กรรม ปฏิบัติกิจกรรมการทดลองและบันทกึ ผล ลงในแบบบนั ทกึ กิจกรรม  ทาใบคาถาม ทาใบกิจกรรมเสรมิ ทักษะการเรยี นรู้  ตรวจแบบฝึกท้ายกิจกรรมจากเฉลย - ทาแบบทดสอบหลังเรียน 3. ประเมินผลโดยการตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น ใบกิจกรรม ใบคาถาม และแบบทดสอบหลงั เรียนจากใบเฉลย ผา่ นเกณฑ์ ไม่ผา่ นเกณฑ์ 4. ศกึ ษาและปฏบิ ตั ิกจิ กรรมชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้แบบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขั้น(7E) ชดุ กจิ กรรมท่ี 2ต่อไป

3 คาแนะนาการใช้ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้แบบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ข้นั (7E) สาหรบั ครู การจดั กจิ กรรมการ เรยี นการสอนโดยใชช้ ุดกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์5 ว23101 เร่ืองพลงั งานไฟฟ้า(Electrical energy)ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ชดุ กจิ กรรมท่ี 1 วงจรไฟฟา้ เบอ้ื งตน้ ใช้เวลาท้ังหมด 5ชวั่ โมง เปน็ ชดุ กิจกรรมการเรยี นร้ทู ่ีเน้นให้ นกั เรยี นทากจิ กรรมกล่มุ ฝกึ การคดิ วิเคราะห์คิดสังเคราะห์ คิดอย่างมวี จิ ารณญาณ และฝกึ ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพ่ือชว่ ยใหก้ ารดาเนนิ กิจกรรมการเรยี นรู้บรรลุวัตถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ และมีประสิทธิภาพครคู วรดาเนินการดังน้ี 1. ขน้ั เตรียมการสอน 1.1 ศึกษาคาช้แี จงในการใช้ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ แบบวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ข้นั (7E) รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์5 ว23101 เร่อื งพลงั งานไฟฟา้ (Electrical energy)ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ชุดกจิ กรรมท่ี 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องตน้ ใหเ้ ขา้ ใจอยา่ งละเอียดรอบคอบ 1.2 ศึกษา สาระการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชีว้ ดั จุดประสงค์การเรียนรู้ ทจี่ ะสอนและขน้ั ตอนต่าง ๆ ในแผนการจดั การเรียนรูใ้ ห้เข้าใจชดั เจน 1.3 ตรวจดสู อ่ื วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นร้ใู ห้พร้อมและครบ ตามจานวนนกั เรยี นแต่ละกลุ่ม 1.4 จัดเตรยี มสือ่ วสั ดุอปุ กรณต์ า่ ง ๆ ที่จะใชใ้ ห้เปน็ ไปตามลาดบั กอ่ น และหลัง 2. ขนั้ สอน 2.1 ช้ีแจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้แบบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ขนั้ (7E) รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์5 ว23101 เรื่องพลังงานไฟฟ้า(Electrical energy)ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ชุดกจิ กรรมท่ี 1 วงจรไฟฟา้ เบ้อื งต้นใหน้ ักเรียนเขา้ ใจบทบาทหน้าท่ีของตนเอง 2.2 ดาเนนิ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรยี นรู้ที่กาหนดไว้ 2.3 ชแี้ จงข้ันตอนการเรยี นดว้ ยชดุ กิจกรรมการ แบบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ข้นั (7E) รายวิชาวทิ ยาศาสตร์5 ว23101 เร่ืองพลงั งานไฟฟ้า(Electrical energy)ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ชดุ กจิ กรรมที่ 1 วงจรไฟฟา้ เบอ้ื งต้นใหน้ กั เรยี นทุกคนเข้าใจก่อนทากิจกรรมต่าง ๆ 2.4 ครกู ากับตดิ ตามการทากจิ กรรมและให้คาปรกึ ษาแนะนานกั เรยี น ถา้ นกั เรียนศึกษา ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขน้ั (7E) ไมเ่ ขา้ ใจ ครูคอยแนะนาเพม่ิ เตมิ เพ่อื ให้ นกั เรยี นมที กั ษะมคี วามรู้และความเข้าใจมากย่ิงขึ้น 2.5 ทดสอบนกั เรยี นด้วยแบบทดสอบหลงั เรียน หลงั จากการปฏิบตั ิกิจกรรมการเรียนรู้ ตามขนั้ ตอนในแผนการจัดการเรียนรู้เสรจ็ เรยี บร้อยแล้ว เพือ่ วัดความรูแ้ ละความเข้าใจของนักเรียน 3. ข้ันหลังสอน เม่ือสนิ้ สดุ การปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ ครใู ห้นกั เรยี นรว่ มตรวจสอบและเก็บส่อื วสั ดอุ ุปกรณ์ต่าง ๆ ของชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ข้ัน(7E) ใหเ้ รียบร้อย เพื่อสะดวกในการใช้ครง้ั ตอ่ ไป

4 คาแนะนาการใช้ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้แบบวัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7E) สาหรับนักเรยี น ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขัน้ (7E) รายวชิ าวิทยาศาสตร์5 ว23101 เร่ืองพลังงานไฟฟา้ (Electrical energy)ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 3มีทงั้ หมด5 ชดุ กิจกรรม เป็นชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้แบบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ข้ัน(7E) ที่ส่งเสริมใหน้ ักเรยี นศกึ ษาและปฏิบตั ิ กจิ กรรมดว้ ยตนเอง เพือ่ เสรมิ สร้างองค์ความรู้ ฝกึ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละสง่ เสรมิ เจต คตทิ างวทิ ยาศาสตรใ์ ห้แกน่ กั เรยี นก่อนการศกึ ษาชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ข้ัน (7E) ให้นักเรยี นปฏิบัติดังน้ี 1. อา่ นคาแนะนาในการใช้ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้แบบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขน้ั (7E) ให้เขา้ ใจอย่างชดั เจน 2. ศกึ ษาจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 3. ทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี นเพอ่ื วัดความรพู้ ืน้ ฐานของตนเอง 4. ตรวจคาตอบแบบทดสอบกอ่ นเรยี น 5. ใน ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขัน้ (7E) นี้จะมี 3 กิจกรรมยอ่ ย ใหน้ ักเรยี นเร่ิมทาทีละกิจกรรม โดยเริม่ จากกจิ กรรมที่ 1 กิจกรรมท่ี 2 และกจิ กรรมที่ 3ตามลาดับ 6. ใหน้ กั เรยี นปฏบิ ตั กิ ิจกรรมการทดลองตามใบกิจกรรมและบนั ทึกผลลงในแบบบันทึก กิจกรรม (ครูเป็นผูป้ ระเมินแบบบนั ทกึ กจิ กรรม) 7. ศึกษาใบความรูเ้ พอื่ เสรมิ สรา้ งองคค์ วามร้ทู ี่ได้จากการปฏิบัติกจิ กรรมใหช้ ดั เจนขน้ึ 8. ทาแบบฝึกท้ายกจิ กรรมแต่ละแบบฝึกด้วยตนเอง 9. ตรวจคาตอบแบบฝึกท้ายกจิ กรรม 10. ทาแบบทดสอบหลงั เรยี นเพ่ือวดั ความกา้ วหน้าของตนเอง 11. ตรวจคาตอบแบบทดสอบหลังเรยี นและบนั ทึกคะแนน 12. เม่ือปฏบิ ตั กิ ิจกรรมเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ ใหน้ กั เรียนเกบ็ ลา้ งทาความสะอาด วัสดุอุปกรณ์ ทกุ ครงั้ 13. ในกรณีที่มปี ญั หาจากการเรยี นเรื่องนนั้ ๆ ให้นักเรยี นกลบั ไปศกึ ษาจากใบกิจกรรม ใบความรแู้ ละทาแบบฝึกทา้ ยกจิ กรรมใหม่อีกคร้งั หรือขอคาชีแ้ นะจากครผู ู้สอนทันที 14. นักเรยี นควรมีความซอ่ื สตั ย์ตอ่ ตนเองในการทาแบบทดสอบก่อนเรียนแบบทดสอบหลงั เรยี นและการทาแบบฝกึ ท้ายกิจกรรมโดยไมค่ วรเปิดดูเฉลยกอ่ น 15. นักเรยี นควรฝกึ ปฏบิ ัติกิจกรรมทุกขนั้ ตอนอย่างเต็มความสามารถ ซง่ึ จะทาให้นกั เรยี น ได้รบั ความรู้ ได้ฝกึ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และมเี จตคตทิ ่ดี ีทางวิทยาศาสตร์

5 สาระการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ช้วี ัดและจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ สาระที่ 5 พลงั งาน มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 5.1เขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหว่างพลังงานกบั การดารงชวี ิต การเปล่ยี น รปู พลงั งาน ปฏิสมั พันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใชพ้ ลังงานตอ่ ชวี ติ และสิ่งแวดล้อม มกี ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ สอื่ สารสิ่งทเ่ี รยี นรู้และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ตัวชี้วัด ทดลองและอธบิ ายความสัมพันธ์ระหวา่ งความต่างศกั ย์ กระแสไฟฟา้ ความตา้ นทาน และนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. ดา้ นความรู้ ความเข้าใจ (Knowledge : K) 1.1อธิบายการต่อวงจรไฟฟา้ อยา่ งง่ายได้ 1.2อธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหว่างพลงั งานไฟฟา้ ของแหล่งกาเนดิ ไฟฟา้ กับความตา่ งศักย์ และความสมั พันธ์ระหวา่ งความตา่ งศักยข์ องแหลง่ กาเนิดและกระแสไฟฟา้ ในวงจร 2. ด้านทกั ษะกระบวนการ (Process : P) 2.1ทดลองการต่อวงจรไฟฟา้ อย่างง่ายได้ 2.2ทดลองความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งพลังงานไฟฟา้ ของแหลง่ กาเนดิ ไฟฟ้ากับความต่างศกั ย์ และความสัมพันธ์ระหวา่ งความต่างศักยข์ องแหลง่ กาเนดิ และกระแสไฟฟ้าในวงจร 3. ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (Attitude : A) 3.1 ซอ่ื สัตย์สุจริต ไปทาแบบทดสอบ 3.2 มวี นิ ัย กอ่ นเรยี นกันคะ่ 3.3 ใฝ่เรียนรู้ 3.4มุ่งมัน่ ในการทางาน 3.5มีจิตสาธารณะ

6 ใบคาสัง่ เร่ืองพลงั งานไฟฟา้ คาช้ีแจง นักเรียนศึกษาและปฏิบัตติ ามข้ันตอนตอ่ ไปน้ี 1. นกั เรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียนชุดกจิ กรรมการเรียนรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขัน้ (7E) ชุดกิจกรรมท่ี 1 วงจรไฟฟา้ เบอื้ งตน้ จานวน 10 ขอ้ 2. เลือกหวั หน้ากลุ่มเพื่อเป็นผู้นาในการทากิจกรรมการเรยี นรแู้ ละเลขานุการเพอื่ บันทึก ขอ้ มูลในการปฏิบตั ิกิจกรรมตา่ ง ๆ 3. ศกึ ษาชุดกจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7E) ชดุ กิจกรรมท่ี 1 วงจรไฟฟ้าเบอื้ งต้น ซงึ่ ประกอบดว้ ย 3.1 ใบความรู้ที่ 1, 2 และ 3 3.2 ใบกิจกรรมท่ี 1, 2และ3 3.3 แบบบนั ทกึ กิจกรรมท่ี 1, 2และ3 3.4 ใบเฉลยกจิ กรรมท่ี 1, 2และ3 3.5 ใบคาถามท่ี 1, 2และ3 3.6 เฉลยใบคาถามที่ 1, 2และ3 3.7 ใบกิจกรรมเสริมทักษะการเรยี นรู้

7 เวลาท่ใี ชใ้ นชดุ กจิ กรรมการเรียนรแู้ บบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ขั้น (7E) ชุดกจิ กรรมท่ี 1 วงจรไฟฟ้าเบือ้ งตน้ ซง่ึ ประกอบดว้ ยกิจกรรมดังน้ี เวลา กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชวั่ โมงท่ี 1-2 1. นักเรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น ชุดกิจกรรมที่ 1 วงจรไฟฟา้ เบื้องต้น จานวน ชั่วโมงที่ 3 10 ขอ้ 2. นกั เรยี นศกึ ษาใบความรทู้ ่ี 1 เร่อื งวงจรไฟฟ้าเบ้อื งต้น 3. นกั เรยี นศึกษาใบกจิ กรรมท่ี 1 เร่อื งการตอ่ เครื่องใชไ้ ฟฟ้าเขา้ ในวงจรไฟฟ้า 4. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มสง่ ตวั แทนมารบั อปุ กรณ์ วางแผนร่วมกันแล้ว ทากจิ กรรมท่ี 1 เรอ่ื งการต่อเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าเข้าในวงจรไฟฟา้ 5. บนั ทกึ ผลลงในแบบบันทกึ กจิ กรรมท่ี 1 เรอ่ื งการตอ่ เครอื่ งใช้ไฟฟา้ เขา้ ใน วงจรไฟฟ้า 6. แต่ละกล่มุ แลกเปลี่ยนกนั ตรวจแบบบนั ทึกกจิ กรรมท่ี 1 เรื่องการต่อ เคร่ืองใช้ไฟฟา้ เขา้ ในวงจรไฟฟา้ อภิปรายและสรุปร่วมกัน 7. นกั เรยี นแต่ละคนทาใบคาถามท่ี1 เรอ่ื งการตอ่ เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าเข้าใน วงจรไฟฟ้า 8. นกั เรียนร่วมกนั ตรวจคาตอบจากเฉลยใบคาถามท่ี 1 เรื่องการตอ่ เคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ เข้าในวงจรไฟฟ้า 1. นักเรยี นศึกษาใบความรู้ที่ 2 เร่อื งพลังงานไฟฟา้ 2. นกั เรยี นศกึ ษาใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องพลงั งานไฟฟา้ ในวงจรไฟฟา้ 3. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ ส่งตวั แทนมารบั อปุ กรณ์ วางแผนร่วมกันแลว้ ทากิจกรรมท่ี 2 เรื่องพลังงานไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า 4. บนั ทกึ ผลลงในแบบบันทกึ กจิ กรรมที่ 2 เร่อื งพลงั งานไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า 5. แตล่ ะกลมุ่ เปล่ียนกนั ตรวจแบบบนั ทึกกิจกรรมที่ 2 เรอ่ื งพลังงานไฟฟ้า ในวงจรไฟฟา้ อภิปรายและสรุปรว่ มกนั 6. นกั เรียนแตล่ ะคนทาใบคาถามที่2 เร่อื งพลงั งานไฟฟา้ ในวงจรไฟฟ้า 7. นกั เรยี นรว่ มกนั ตรวจคาตอบจากเฉลยใบคาถามท่ี 2 เรื่องพลังงานไฟฟา้ ในวงจรไฟฟา้

8 เวลา กิจกรรมการเรยี นรู้ ช่ัวโมงที่ 4-5 1. นกั เรยี นศึกษาใบความรูท้ ่ี 3 เรือ่ งการวดั กระแสไฟฟา้ 2. นักเรียนศกึ ษาใบกจิ กรรมที่ 3 เรือ่ งการวดั กระแสไฟฟ้า 3. นกั เรยี นแต่ละกลุม่ สง่ ตวั แทนมารบั อปุ กรณ์ วางแผนรว่ มกันแลว้ ทากจิ กรรมที่ 3 เรอ่ื งการวดั กระแสไฟฟ้า 4. บนั ทกึ ผลลงในแบบบันทกึ กิจกรรมที่ 3 เรื่องการวัดกระแสไฟฟา้ 5. แต่ละกลุ่มเปลี่ยนกันตรวจแบบบันทึกกจิ กรรมท่ี 3 เรอ่ื งการวัดกระแสไฟฟา้ อภปิ รายและสรุปรว่ มกนั 6. นกั เรียนแตล่ ะคนทาใบคาถามที่3 เรือ่ งการวดั กระแสไฟฟา้ 7. นักเรียนร่วมกนั ตรวจคาตอบ จากเฉลยใบคาถามที่ 3 เร่ืองการวัด กระแสไฟฟา้ 8. นกั เรยี นมารบั ใบกจิ กรรมเสรมิ ทักษะการเรยี นรู้นอกเวลาไปทาเป็นการบ้าน 9. นักเรียนทาแบบทดสอบหลงั เรยี น ชุดกจิ กรรมที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบอื้ งตน้ จานวน 10 ข้อ

9 แบบทดสอบกอ่ นเรียน เร่อื ง พลังงานไฟฟา้ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ชดุ กิจกรรมท่ี 1 วงจรไฟฟา้ เบอื้ งต้น จานวน 10 ขอ้ ........................................................................................................................................... คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนเลือกคาตอบทถ่ี ูกท่ีสดุ เพยี งคาตอบเดียวและทาเครอื่ งหมาย กากบาท () ลงในกระดาษคาตอบ 1. อุปกรณ์ไฟฟ้าจะทางานไดเ้ ม่อื วงจรไฟฟ้ามลี กั ษณะเปน็ อย่างไร ก. วงจรลัด ข. วงจรสนั้ ค. วงจรปดิ ง. วงจรเปิด 2. คุณสมบตั ิของมอเตอร์ไฟฟา้ ตรงกับข้อใด ก. เปล่ยี นพลงั งานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานกล ข. เปลีย่ นพลังงานไฟฟ้าให้เปน็ พลงั งานจลน์ ค. เปล่ียนพลังงานไฟฟา้ ให้เปน็ พลังงานความรอ้ น ง. เปลย่ี นพลงั งานไฟฟา้ ใหเ้ ปน็ พลังงานแสงอาทิตย์ 3. ไฟฟา้ กระแสตรงและไฟฟา้ กระแสสลับนนั้ มีความแตกตา่ งกันในเรอ่ื งใด ก. ทศิ ทางการไหล ข. ความเขม้ ของแสง ค. แหลง่ กาเนิดไฟฟ้า ง. ปรมิ าณกระแสไฟฟ้า 4. ทศิ ทางการไหลของระแสไฟฟ้าเปน็ ไปตามขอ้ ใด ก. ไหลไปทศิ ทางเดียวกบั การเคลอ่ื นทขี่ องประจไุ ฟฟา้ บวก ข. ไหลสวนทางกับการเคล่ือนท่ีของประจุไฟฟ้าลบ ค. ไหลจากขว้ั ไฟฟ้าบวกไปข้ัวไฟฟา้ ลบ ง. ถูกทกุ ขอ้

10 5. ถ้าตอ้ งการวัดความตา่ งศักย์ของกระแสไฟฟา้ ต้องใชเ้ ครื่องมือชนดิ ใดและตอ่ อยา่ งไร ก. โวลต์มเิ ตอร์ ตอ่ แบบอนุกรม ข. แอมมเิ ตอร์ ตอ่ แบบอนุกรม ค. โวลต์มิเตอร์ ต่อแบบขนาน ง. แอมมิเตอร์ ตอ่ แบบขนาน 6. ถ้าต้องการวดั กระแสไฟฟา้ ในวงจร ตอ้ งใชเ้ คร่อื งมือชนิดใดและต่ออยา่ งไร ก.โวลตม์ ิเตอร์ ตอ่ แบบอนุกรม ข. แอมมิเตอร์ ตอ่ แบบอนกุ รม ค. โวลต์มิเตอร์ ตอ่ แบบขนาน ง. แอมมเิ ตอร์ ต่อแบบขนาน 7. ขอ้ ใดถือวา่ เปน็ การเปล่ียนพลังงานกลให้เป็นพลังงานไฟฟ้า ก. กดสวติ ซ์แลว้ หลอดไฟสว่าง ข. ปั่นจักรยานแล้วเครือ่ งปัน่ ไฟทางาน ไฟหนา้ รถสว่าง ค. ใช้ไฟฉายตอนกลางคนื เพือ่ จบั ปลู มบริเวณหาดพทั ยา ง. เมือ่ เดินเขา้ ใกลป้ ระตหู ้างสรรพสินคา้ ประตเู ปิดเองโดยใชก้ ลไกทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 8. ไฟฟา้ เกิดขน้ึ ได้อย่างไร ก. ไฟฟา้ เกิดจากวตั ถุ 2 ชนดิ มาประทะกัน ข. ไฟฟ้าเกิดจากการทางานของเครอ่ื งยนต์ ค. ไฟฟ้าเกดิ จากการเคลื่อนที่ของอเิ ลก็ ตรอน ง. ไฟฟา้ เกิดจากการเคลอ่ื นท่ีของกระแสไฟฟ้า 9. ขอ้ ใดเปน็ การกดสวิตซเ์ ปิดไฟ ก. การทาให้วงจรปดิ มกี ระแสไฟฟ้าไหล ข. การทาให้วงจรเปิดมกี ระแสไฟฟา้ ไหล ค. การทาให้วงจรปิดไมม่ กี ระแสไฟฟ้าไหล ง. การทาใหว้ งจรเปดิ ไมม่ ีกระแสไฟฟา้ ไหล

11 10. ภาพใดคอื การต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนาน ก. ข. ค. ง. โชคดีในการสอบนะคะ

12 กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดกิจกรรมท่ี 1 วงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ย ช่อื …….………………………..………………………………ชัน้ ………………………… เลขที่ ……………….. คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนอา่ นคาถามจากแบบทดสอบให้เข้าใจแลว้ เลอื กคาตอบท่ถี ูกท่สี ดุ เพียงคาตอบเดยี ว โดยทาเครอื่ งหมายกากบาท () ลงในกระดาษคาตอบ ขอ้ ก ข ค ง คะแนนเตม็ คะแนนทีไ่ ด้ 1 10 2 3 4 5 6 7 8 9 10 เกณฑ์การประเมนิ ทาถูกต้อง 8-10 ขอ้ มีระดบั คุณภาพดี ทาถูกตอ้ ง 5-7 ข้อ มีระดบั คุณภาพพอใช้ ทาถกู ตอ้ ง 0-4 ข้อ มรี ะดับคณุ ภาพปรับปรงุ

13 ใบความรูท้ ี่ 1 เร่ืองวงจรไฟฟา้ เบอ้ื งต้น คาช้แี จง ให้นกั เรยี นศึกษาใบความรู้น้ีแล้วรว่ มกนั อภิปรายภายในกลุม่ ไฟฟ้า เปน็ วชิ าทีศ่ ึกษาเกย่ี วกบั ปรากฏการณ์และกฎเกณฑ์ต่าง ๆ เกย่ี วกบั ประจไุ ฟฟา้ เมอ่ื อยนู่ ง่ิ หรือเคล่ือนที่ พลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานรูปหน่ึงที่เปลีย่ นแปลงมาจากพลังงานรปู อ่ืน หรอื เปลย่ี นเป็นพลังงานรปู อน่ื ๆ ได้ กระแสไฟฟา้ หมายถงึ ปริมาณประจุไฟฟา้ ที่เคล่ือนทีผ่ า่ นพนื้ ที่ตัดขวางของตัวนา จากจุดหนง่ึ ไปยังอกี จุดหน่ึงใน 1 หนว่ ยเวลา กระแสไฟฟา้ เกดิ จากการไหลของประจไุ ฟฟ้า เนอ่ื งจากประจุไฟฟา้ มี 2 ชนิด จงึ เกดิ กระแสไฟฟา้ 2 แบบคอื 1. กระแสอเิ ลก็ ตรอน เปน็ กระแสไฟฟา้ ทีเ่ กดิ จากการเคลอื่ นทีข่ องอเิ ล็กตรอน หรือประจลุ บโดยไหลจากข้ัวลบไปยงั ขว้ั บวกของเซลล์ไฟฟา้ 2. กระแสสมมติ เปน็ กระแสทไี่ มไ่ ด้เกดิ ขึ้นจริงโดยกาหนดให้ไหลสวนทางกบั การไหล ของอเิ ล็กตรอน โดยไหลจากจดุ ทีม่ ศี กั ย์ไฟฟ้าสงู ไปยังจุดท่มี ีศกั ยไ์ ฟฟ้าต่ากว่า หรือไหลจากขว้ั บวก ไปยังขวั้ ลบ ชนดิ ของกระแสไฟฟา้ กระแสไฟฟา้ มี 2 ชนดิ ได้แก่ 1. ไฟฟ้ากระแสตรง ( Direct Current =D.C) หมายถึงกระแสไฟฟา้ ทไ่ี หลในทศิ ทางเดียว ไมม่ กี ารสลับขัว้ เช่น กระแสไฟฟา้ ทไ่ี ด้จากถ่านไฟฉาย แบตเตอรรี่ ถยนต์ 2. ไฟฟา้ กระแสสลบั ( Alternating Cureent=A.C)หมายถึงกระแสไฟฟ้าทไ่ี หลวนสลับ ทิศทางไปมาอยตู่ ลอดเวลา เชน่ กระแสไฟฟา้ ทีส่ ง่ มาจากโรงไฟฟา้ วงจรไฟฟา้ หมายถงึ เส้นทางทีก่ ระแสไฟฟ้าไฟไหลผา่ นไดค้ รบรอบวง สาหรบั วงจรไฟฟ้า ในบา้ น กระแสไฟฟา้ ที่ไหลส่งมาตามสายไฟจะผ่านมาตรไฟฟา้ ทางสายไฟเส้นหนึ่ง ซึง่ มศี กั ย์ไฟฟ้า 220 โวลต์ เรยี กว่า สายมีไฟ เข้าสูส่ ะพานไฟ ผา่ นฟวิ ส์และสวิตซ์ แล้วไหลผา่ นเครอ่ื งใช้ไฟฟา้ ชนิดต่างๆ จากนน้ั กระแสไฟฟา้ จะไหลผา่ นสายไฟอกี เส้นหน่งึ ซึ่งมีศักยไ์ ฟฟ้าเปน็ ศูนยเ์ รียกวา่ สายกลาง กลับออกไปเป็นการไหลของกระแสไฟฟา้ ทคี่ รบรอบพอดี

14 วงจรไฟฟา้ วงจรไฟฟ้าแบ่งออกเปน็ 2 ประเภท ได้แก่ วงจรเปดิ และวงจรปิด 1. วงจรเปิด คอื วงจรท่ีกระแสไฟฟา้ ไม่สามารถไหลไดค้ รบวงจร ซงึ่ เปน็ ผลทาให้ เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ท่ตี ่ออยูใ่ นวงจรไม่สามารถจา่ ยพลังงานออกมาได้ สาเหตุของวงจรเปิดอาจเกดิ จาก สายหลดุ สายขาด สายหลวม สวิตซไ์ ม่ต่อวงจร หรอื เครื่องใชไ้ ฟฟา้ ชารุด เปน็ ตน้ 2. วงจรปิด คือวงจรทกี่ ระแสไฟฟา้ ไหลไดค้ รบวงจร ทาให้โหลดหรอื เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ที่ตอ่ อยู่ ในวงจรนั้นๆ ทางาน ภาพที่ 1วงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ย ที่มา: กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2558, หน้า 55. วงจรไฟฟา้ ประกอบด้วยส่วนท่สี าคัญ 3 สว่ น คอื 1. แหล่งกาเนดิ ไฟฟ้า หมายถงึ แหล่งจ่ายแรงดนั ไฟฟ้าไปยงั วงจรไฟฟ้า เช่นแบตเตอรี่ 2. ตัวนาไฟฟ้า หมายถงึ สายไฟฟา้ หรือสือ่ ท่จี ะเป็นตวั นาใหก้ ระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นไปยงั เคร่ืองใช้ไฟฟ้า ซ่งึ ตอ่ ระหว่างแหลง่ กาเนิดกบั เครื่องใช้ไฟฟา้ 3. เคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ หมายถึง เครอื่ งใชท้ ีส่ ามารถเปลย่ี นพลงั งานไฟฟ้าใหเ้ ป็นพลังงานรูปอ่นื ซึ่งจะเรยี กอกี อยา่ งหนึ่งว่า โหลด สวิตซ์ไฟฟ้านัน้ เป็นสว่ นหนง่ึ ของวงจรไฟฟา้ มีหน้าทีใ่ นการควบคุม การทางานใหม้ คี วามสะดวกและปลอดภยั มากยิ่งขึน้ ถา้ ไม่มีสวิตซ์ไฟฟ้ากจ็ ะไมม่ ผี ลต่อการทางาน วงจรไฟฟ้าใดๆ เลย การตอ่ วงจรไฟฟา้ สามารถแบง่ วธิ กี ารตอ่ ได้ 3 แบบ คอื 1. วงจรอนกุ รม เป็นการนาเอาเครอ่ื งใช้ไฟฟา้ หรอื โหลดหลายๆ อันมาต่อเรยี งกนั ไปเหมอื น ลูกโซ่ กล่าวคอื ปลายของเคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ ตวั ท่ี 1 นาไปต่อกบั ต้นของเคร่อื งใชไ้ ฟฟ้าตวั ท่ี 2 และต่อเรยี งกันไปเรื่อยๆ จนหมด แล้วนาไปตอ่ เข้ากับแหลง่ กาเนิด การต่อวงจรแบบอนกุ รม จะมีทางเดินของกระแสไฟฟา้ ไดท้ างเดยี วเท่าน้ัน ถา้ เกิดเครอ่ื งใช้ไฟฟา้ ตัวใดตวั หนึง่ เปดิ วงจรหรือขาด จะทาใหว้ งจรทงั้ หมดไม่ทางาน

15 คณุ สมบตั ทิ ่ีสาคญั ของวงจรอนุกรม 1)กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านเท่ากันตลอดวงจร 2)แรงดันไฟฟา้ ตกคร่อมสว่ นต่างๆ ของวงจร เมอ่ื นามารวมกันแลว้ จะเทา่ กับ แรงดนั ไฟฟ้าทีแ่ หล่งกาเนดิ 3)ความตา้ นทานรวมของวงจร จะมีค่าเท่ากบั ผลรวมของความต้านทานแตล่ ะตวั ในวงจรรวมกนั 2. วงจรขนาน เปน็ การนาเอาต้นของเคร่ืองใช้ไฟฟา้ ทุกๆ ตวั มาต่อรวมกัน และต่อเขา้ กบั แหลง่ กาเนดิ ทีจ่ ุดหนึง่ นาปลายสายของทุกๆ ตัวมาตอ่ รวมกนั และนาไปตอ่ กับแหลง่ กาเนดิ อีกจุดหนึง่ ทีเ่ หลอื ซึง่ เมือ่ เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าแต่ละอันต่อเรยี บรอ้ ยแล้วจะกลายเปน็ วงจรย่อย กระแสไฟฟ้าท่ีไหล จะสามารถไหลได้หลายทางขึน้ อยู่กบั ตัวของเคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ ท่ีนามาตอ่ ขนานกนั ถา้ เกิดในวงจร มเี ครื่องใช้ไฟฟา้ ตัวหน่งึ ขาดหรอื เปดิ วงจร เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ ทีเ่ หลอื กย็ งั สามารถทางานได้ ในบ้านเรือน ท่อี ยู่อาศัยปจั จบุ นั จะเป็นการต่อวงจรแบบนี้ท้งั ส้ิน คณุ สมบัติท่สี าคญั ของวงจรขนาน 1)กระแสไฟฟา้ รวมของวงจรขนาน จะมคี ่าเทา่ กบั กระแสไฟฟา้ ยอ่ ยท่ไี หลในแต่ละสาขา ของวงจรรวมกัน 2)แรงดนั ไฟฟา้ ตกครอ่ มสว่ นตา่ งๆ ของวงจร จะเท่ากบั แรงดันไฟฟ้าท่ีแหลง่ กาเนิด 3)ความต้านทานรวมของวงจร จะมคี า่ นอ้ ยกว่าความต้านทานตวั ทน่ี ้อยท่ีสดุ ที่ตอ่ อยู่ ในวงจร 3. วงจรผสม เป็นวงจรทน่ี าเอาวธิ ีการตอ่ แบบอนกุ รม และวธิ ีการต่อแบบขนานมารวมให้ เป็นวงจรเดยี วกนั ซ่ึงสามารถแบง่ ตามลักษณะของการต่อได้ 2 ลกั ษณะดังน้ี 3.1 วงจรผสมแบบอนกุ รม-ขนาน เป็นการนาเครอื่ งใชไ้ ฟฟ้าหรือโหลดไปต่อกัน อย่างอนกุ รมก่อน แล้วจึงนาไปตอ่ กนั แบบขนานอีกครั้งหนง่ึ 3.2 วงจรผสมแบบขนาน-อนุกรม เปน็ การนาเครือ่ งใช้ไฟฟ้าหรือโหลดไปตอ่ กัน อยา่ งขนานกอ่ น แลว้ จงึ นาไปต่อกันแบบอนกุ รมอกี คร้งั หนง่ึ คณุ สมบตั ิที่สาคัญของวงจรผสม เปน็ การนาเอาคุณสมบัตขิ องวงจรอนกุ รม และคุณสมบัติของวงจรขนานมารวมกนั ซง่ึ หมายความว่าถา้ ตาแหน่งทมี่ ีการต่อแบบอนกุ รม กเ็ อาคณุ สมบัติของวงจรการต่ออนกุ รมมา พิจารณา ตาแหน่งใดท่ีมกี ารต่อแบบขนาน ก็เอาคณุ สมบตั ิของวงจรการตอ่ ขนานมาพิจารณา ไปทีละขั้นตอน

16 คาชี้แจง ใบกิจกรรมท่ี 1 เรอื่ งการตอ่ เคร่ืองใช้ไฟฟ้าเข้าในวงจรไฟฟา้ ใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลุ่มร่วมกนั ปฏบิ ตั ิกิจกรรมจากการทดลองต่อไปน้ี การทดลองการตอ่ เคร่อื งใชไ้ ฟฟ้าเขา้ ในวงจรไฟฟ้า จดุ ประสงค์ นักเรียนสามารถอธิบายวธิ ีการตอ่ หลอดไฟ 2 หลอด เขา้ ในวงจรไฟฟา้ เบื้องต้นแบบต่าง ๆ และเปรียบเทียบความสว่างของหลอดไฟในการตอ่ แต่ละแบบได้ วัสดุ/อุปกรณ์ 1. หมอ้ แปลงไฟฟ้าโวลต์ตา่ จานวน 1 เครือ่ ง/กลมุ่ 2. หลอดไฟฟา้ ขนาด 6 V จานวน 2 หลอด/กลุม่ 3. ฐานหลอดไฟ จานวน 2 อนั /กลุ่ม 4. สวิตซ์ จานวน 1 อัน/กลุม่ 5. สายไฟฟา้ จานวน 6 -8 เส้น/กลมุ่ วิธีการทดลอง ใหน้ กั เรียนแต่ละกลุม่ รว่ มกันทากิจกรรมดังน้ี 1. ให้นกั เรียนต่อวงจรไฟฟา้ ซึ่งประกอบด้วยหมอ้ แปลงไฟฟา้ โวลตต์ า่ หลอดไฟฟ้า ขนาด 6 โวลต์ จานวน 1 หลอด และสวติ ซ์ ดงั ภาพท่ี 2 กดสวิตซ์ (วงจรปดิ ) สงั เกตความสว่าง ของหลอดไฟฟา้ 2. ให้นักเรียนตอ่ หลอดไฟฟ้าขนาด 6 โวลต์ อีก 1 หลอด ด้วยวธิ ีต่าง ๆ เช่น การตอ่ แบบอนุกรมและการต่อแบบขนาน เข้ากบั วงจรไฟฟ้าในข้อ 1 กดสวติ ซ์ (วงจรปดิ ) สงั เกตความสวา่ ง ของหลอดไฟฟ้า พรอ้ มท้งั วาดวงจรไฟฟา้ ประกอบ

17 ภาพที่ 2การต่อเคร่อื งใชไ้ ฟฟ้าเขา้ ในวงจรไฟฟ้า ทมี่ า:กระทรวงศึกษาธกิ าร,2558, หน้า 55. 3. บนั ทึกผลการสงั เกตความสว่างของหลอดไฟฟา้ พร้อมท้งั วาดภาพวงจรไฟฟ้า ลงในแบบบนั ทึกกจิ กรรม

18 แบบบันทึกกจิ กรรมที่ 1 เรื่องการตอ่ เคร่อื งใช้ไฟฟา้ เข้าในวงจรไฟฟา้ (ครูเปน็ ผู้ประเมนิ แบบบันทกึ กิจกรรม) สมาชิกกล่มุ ท.่ี ........ไดแ้ ก่ 1........................................................................... เลขที่............หัวหน้า 2........................................................................... เลขท.่ี ........... 3........................................................................... เลขท.ี่ ........... 4........................................................................... เลขท.ี่ ........... 5........................................................................... เลขท.่ี ........... 6........................................................................... เลขท.่ี ...........เลขานุการ กจิ กรรมที่............................................................................................................................................. เร่ือง..................................................................................................................................................... จุดประสงค์ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................. บนั ทกึ ผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………….............................................................. ……………………………………………………………………………………….............................................................. ……………………………………………………………………………………….............................................................. ……………………………………………………………………………………….............................................................. ……………………………………………………………………………………….............................................................. ……………………………………………………………………………………….............................................................. ……………………………………………………………………………………….............................................................. ……………………………………………………………………………………….............................................................. ……………………………………………………………………………………….............................................................. ……………………………………………………………………………………….............................................................. ……………………………………………………………………………………….............................................................. ………………………………………………………………………………………..............................................................

19 ภาพวงจรไฟฟา้ คาถามทา้ ยกิจกรรมการทดลอง 1. จากการทากิจกรรมท่ี 1 นักเรียนนาหลอดไฟฟา้ 2 หลอด มาต่อกนั แบบใดบา้ ง .............................................................................................................................................. ............... 2. เมือ่ กดสวิตซ์ ใหก้ ระแสไฟฟ้าเคล่ือนท่ีเข้าไปในวงจรไฟฟ้าแต่ละแบบทมี่ หี ลอดไฟฟ้า 2 หลอด ความสวา่ งของหลอดไฟฟา้ ในแตล่ ะวงจรเป็นอย่างไร ............................................................................................................................................ ................. 3. การตอ่ เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ แบบขนานเข้าในวงจรไฟฟ้ามีข้อดอี ย่างไร ........................................................................................................................................... .................. สรุปผลการทดลอง ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................

20 ใบคาถามท่ี 1 เรอ่ื งการต่อเคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ เขา้ ในวงจรไฟฟ้า คาชแ้ี จง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปน้ี 1.เสน้ ทางท่กี ระแสไฟฟา้ ไหลผ่านได้ครบรอบหมายถงึ อะไร ................................................................................................................................................................ 2.วงจรท่ีมกี ระแสไฟฟา้ ไหลไดค้ รบวงจรหมายถงึ อะไร ................................................................................................................................................................ 3.วงจรเปดิ หมายถงึ อะไร ................................................................................................................................................................ 4.ตอ่ วงจรแบบ………………………..ทาใหค้ วามต้านทานรวมในวงจรเพ่มิ ข้ึน ................................................................................................................................................................ 5.การต่อหลอดไฟในบ้าน ควรตอ่ แบบ………………………..เพราะทาให้หลอดไฟแต่ละหลอดไดร้ บั ความต่างศักยไ์ ฟฟ้าเท่ากนั และหลอดใดหลอดหนึ่งขาด หลอดอนื่ ๆจะสวา่ งอยู่ ................................................................................................................................................................

21 ใบความรทู้ ่ี 2 เรอ่ื งพลงั งานไฟฟ้า คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรียนศึกษาใบความรตู้ ่อไปนี้ แลว้ รว่ มกันอภปิ รายภายในกลมุ่ พลังงานคอื ความสามารถในการทางานมอี ยูห่ ลายรปู แบบสามารถแบ่งได้เปน็ 2 กลมุ่ ใหญๆ่ ไดแ้ ก่พลงั งานท่ที างานไดแ้ ละพลังงานที่เก็บสะสมไวพ้ ลังงานทท่ี างานได้ที่สาคญั ไดแ้ ก่พลงั งานไฟฟ้า พลงั งานแสงและพลังงานเสยี งสว่ นพลังงานทีเ่ กบ็ สะสมไว้ประกอบด้วยพลังงานเคมหี มายถึงพลงั งานท่ี เก็บสะสมไว้ในสสารตา่ งๆพลงั งานนวิ เคลยี ร์หมายถงึ พลงั งานท่เี ก็บสะสม ไวใ้ นธาตุและพลังงานศักย์หมายถงึ พลังงานทีม่ อี ยูใ่ นวตั ถซุ ึง่ ข้นึ อยูก่ บั ตาแหนง่ ของวตั ถนุ น้ั ๆ แบ่งออกเป็นพลงั งานศักย์โน้มถว่ งและพลังงานศกั ยย์ ดื หย่นุ พลังงานไฟฟ้า (ElectricalEnergy) หมายถงึ พลงั งานรปู แบบหน่งึ ซ่ึงสามารถเปลี่ยนไปเปน็ พลงั งานอีกรูปแบบหนง่ึ ได้เกดิ จากแหลง่ กาเนิดหลายประเภทซ่งึ การนาพลงั งานไฟฟ้ามาใช้จะตอ้ งมี การเชอื่ มต่อแหลง่ กาเนิดไฟฟา้ เข้ากบั สงิ่ ทจ่ี ะนาพลังงานไฟฟา้ ไปใช้เรียกว่าวงจรไฟฟ้า โดยพลงั งานไฟฟ้าที่ไดก้ ็จะถกู เปลี่ยนรปู ไปเปน็ พลังงานรูปแบบต่างๆเชน่ พลงั งานกลพลงั งาน ความรอ้ นพลังงานเสยี งพลังงานแสงเป็นต้นพลังงานไฟฟา้ มีหนว่ ยเปน็ จลู (J) พลงั งานไฟฟา้ ใชส้ ญั ลกั ษณต์ ัว \"W\" แหลง่ กาเนดิ พลงั งานไฟฟา้ เปน็ ส่วนทท่ี าใหก้ ระแสไฟฟ้าไหลเข้าส่เู ครือ่ งใชไ้ ฟฟ้าในวงจร เพ่ือให้เครือ่ งใชไ้ ฟฟา้ เหลา่ นัน้ ทางานไดโ้ ดยแหลง่ กาเนิดไฟฟา้ มอี ยหู่ ลายแหลง่ ซึ่งแต่ละแหล่ง มหี ลักการทาให้เกดิ และนามาใชป้ ระโยชนไ์ ด้แตกต่างกนั ดังน้ี 1. ไฟฟา้ จากการขัดสีเกดิ จากการนาวัสดุต่างชนิดกนั มาขัดถแู ลว้ ทาให้เกดิ อานาจ อยา่ งหนึง่ ขนึ้ มาและสามารถดูดวัตถุอนื่ ๆที่เบาบางไดเ้ ราเรยี กอานาจนนั้ วา่ ไฟฟ้าสถิตซ่งึ เมอื่ เกิดขึ้น แลว้ จะอยู่ในวัตถไุ ด้ชวั่ ขณะหนึง่ แล้วหลงั จากนั้นก็จะคอ่ ยๆเสือ่ มลงไปจนสุดทา้ ยกห็ มดไป ในท่ีสุด 2. ไฟฟา้ จากปฏิกิรยิ าเคมกี ารเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมีจะทาใหป้ ระจไุ ฟฟ้าในสารเคมนี ้ันเคลื่อนท่ี ผา่ นตวั นาทาให้เกดิ เปน็ ไฟฟ้ากระแสขน้ึ ไดเ้ รานาหลักการนี้ไปประดิษฐ์ถา่ นไฟฉายและแบตเตอร่ี รถยนต์ 3. ไฟฟา้ จากสนามแม่เหลก็ เกดิ ข้นึ ไดเ้ ม่อื มีการหมุนหรือเคลอื่ นทผี่ า่ นขดลวดตัดกบั สนามแม่เหล็กทาใหเ้ กดิ กระแสไฟฟ้าในขดลวดซง่ึ เรานาหลักการนไ้ี ปสร้างเครอ่ื งกาเนดิ ไฟฟ้า ที่เรยี กวา่ ไดนาโมซ่ึงสามารถผลติ กระแสไฟฟา้ ได้ทัง้ ไฟฟา้ กระแสตรงและกระแสสลบั 4. ไฟฟา้ จากแรงกดดันแร่ธาตุบางชนิดเมอ่ื ได้รับแรงกดดนั มากๆจะปลอ่ ยกระแสไฟฟา้ ออกมาไดซ้ ึ่งเรานาแรธ่ าตุเหล่านม้ี าใช้ประโยชนใ์ นการทาไมโครโฟนหวั เขม็ ของเคร่ืองเล่นแผน่ เสยี ง เปน็ ต้น

22 5. กระแสไฟฟ้าจากสตั วบ์ างชนดิ สตั ว์นา้ บางชนิดมกี ระแสไฟฟ้าอย่ใู นตวั เมือ่ เราถกู ตอ้ งตัว สตั วเ์ หล่านัน้ จะถกู ไฟฟ้าจากสตั วเ์ หลา่ น้นั ดดู ไดเ้ ชน่ ปลาไหลไฟฟ้าเป็นตน้ 6. กระแสไฟฟา้ จากความรอ้ นเป็นกระแสไฟฟ้าท่ีได้จากการนาโลหะไปเผาให้ร้อน การเปลี่ยนรปู พลังงานโดยปกติพลงั งานสามารถเปล่ยี นรูปเปน็ พลังงานอกี รปู แบบหนงึ่ ได้ ซ่ึงเคร่อื งใช้ไฟฟา้ ในบา้ นเปน็ อุปกรณท์ เี่ ปล่ียนพลงั งานไฟฟ้าใหเ้ ปน็ พลังงานรูปอน่ื เชน่ พลังงาน แสงสวา่ งพลังงานความรอ้ นพลังงานกลพลงั งานเสียงเป็นตน้ บางครงั้ เครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ บางชนดิ ยงั สามารถเปลี่ยนพลังงานไฟฟา้ เป็นพลังงานรูปอ่นื ไดห้ ลายรูปในเวลาเดียวกัน 1. การเปลี่ยนรปู เป็นพลังงานแสงสวา่ งเครื่องใชไ้ ฟฟา้ ที่เปลยี่ นพลังงานไฟฟา้ ให้เป็น พลังงานแสงสว่างคือหลอดไฟซงึ่ แบ่งออกเปน็ 2 ชนดิ คือหลอดธรรมดาหรอื หลอดแบบมไี ส้ ซ่งึ มลี กั ษณะเปน็ รปู กระเปาะแกว้ ใสภายในมีไสห้ ลอดขดเป็นสปริงบรรจอุ ยปู่ จั จบุ ันทาดว้ ยโลหะ ทงั สเตนกบั ออสเมยี มภายในหลอดบรรจกุ า๊ ซไนโตรเจนและอารก์ อนเมอื่ กระแสไฟฟา้ ผา่ นไสห้ ลอด ท่ีมีความตา้ นทานสงู ไสห้ ลอดจะรอ้ นจนเปล่งแสงออกมาได้และหลอดฟลอู อเรสเซนตเ์ ป็นหลอดเรอื ง แสงที่บุคคลท่ัวไปเรียกวา่ หลอดนีออนมีหลายรปู แบบภายในเป็นสูญญากาศบรรจไุ อปรอทไวเ้ ลก็ นอ้ ย ผวิ ดา้ นในฉาบไวด้ ว้ ยสารเรืองแสงเมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านไอปรอทอะตอมของปรอทจะคายรังสี อัลตราไวโอเลตออกมาและเมื่อรงั สีน้กี ระทบกบั สารเรืองแสงจะเปล่งแสงสวา่ งปัจจุบนั มกี ารผลติ ออกมาหลายรปู แบบเช่นหลอดซปุ เปอรห์ รอื หลอดผอมหลอดตะเกยี บซึ่งชว่ ยประหยดั ไฟฟา้ ไดด้ ี 2. การเปล่ยี นรปู เปน็ พลังงานความร้อนเครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าท่ใี หพ้ ลังงานความรอ้ นภายใน จะมอี ุปกรณส์ าคัญคอื ขดลวดต้านทานหรอื ขดลวดความร้อนติดตงั้ อยู่เมอื่ ไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดน้ี จะทาให้เกิดความรอ้ นขนึ้ ขดลวดที่นยิ มใช้มากทส่ี ดุ คือขดลวดนิโครมเครอ่ื งใช้ไฟฟา้ ที่ใหพ้ ลังงานความ รอ้ นไดแ้ กเ่ ตารดี ไฟฟา้ หมอ้ หงุ ขา้ วไฟฟ้ากาต้มน้ารอ้ นไฟฟา้ เครอื่ งปิง้ ขนมปงั ไดรเ์ ปา่ ผม เป็นต้น 3. การเปลย่ี นเปน็ พลังงานกลเครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าที่ให้พลังงานกลเรยี กว่ามอเตอร์ ซง่ึ มีสว่ นประกอบที่สาคัญคือไดนาโมแตจ่ ะทางานตรงข้ามกับไดนาโมนนั่ คือมอเตอรจ์ ะเปลีย่ นพลงั งาน ไฟฟ้าใหเ้ ป็นพลงั งานกลเช่นพดั ลมเคร่ืองป่นั เครอ่ื งดดู ฝุ่นเครื่องเลน่ VCD ต้เู ย็นเครอื่ งปรบั อากาศ เคร่อื งซกั ผา้ เปน็ ต้น 4. การเปลีย่ นเป็นพลงั งานเสยี งเครอื่ งใช้ไฟฟา้ ทีใ่ หพ้ ลังงานเสยี งมอี ย่มู ากมายเชน่ เคร่อื งรับ วทิ ยเุ คร่ืองบันทกึ เสียงเครื่องขยายเสยี งเปน็ ต้น การวัดความตา่ งศักยไ์ ฟฟ้าหรือความต่างกนั ของพลงั งานไฟฟา้ ระหว่างจุด 2 จุด ในวงจรไฟฟา้ ใชเ้ ครอื่ งมือทีเ่ รียกว่า โวลตม์ เิ ตอร์ หน่วยท่ใี ชว้ ัดผ่านโวลตม์ ิเตอร์เรียกวา่ โวลต์ เวลาใชว้ ัดต้องต่อแบบขนานเขา้ กบั วงจรโดยนาโวลตม์ เิ ตอรม์ าต่อคร่อมจุด 2 จุด ทีต่ ้องการวดั ความตา่ งศักยใ์ นโวลตม์ เิ ตอรม์ คี วามตา้ นทานสงู มาก การใช้โวลตม์ ิเตอร์ต้องคานึงถงึ การตอ่ ข้ัวไฟฟ้า ทง้ั 2 ขั้ว ตอ้ งตอ่ ใหถ้ ูกต้อง คือ ตอ่ ขั้วลบของวงจรไฟฟา้ กบั ข้วั ลบของโวลตม์ เิ ตอร์ ขั้วบวกของ วงจรไฟฟา้ ต่อกับขว้ั บวกของโวลตม์ เิ ตอร์ และการใชโ้ วลต์มิเตอรต์ อ้ งใหม้ ีค่าความต่างศักย์ไม่เกินกว่า ค่าความต่างศักยส์ ูงสดุ ของโวลตม์ ิเตอร์ การวดั ความตา่ งศกั ย์ของถ่านไฟฉายมีคา่ ความตา่ งศักย์ ประมาณ 1.5 โวลต์ สว่ นแบตเตอรีใ่ นรถยนต์มีความตา่ งศักยป์ ระมาณ 12 โวลต์และความตา่ งศกั ย์ ของพลงั งานไฟฟ้าทีใ่ ชต้ ามบ้านเรือนมคี า่ มากถึง 220 โวลต์ คา่ ความต่างศกั ยท์ มี่ มี ากขนึ้ แสดงวา่ มี พลงั งานไฟฟา้ มากข้ึนและจะเป็นอนั ตรายต่อชีวติ มากขึน้

23 นอกจากคา่ ความต่างศักยไ์ ฟฟา้ แลว้ ยังมีปริมาณไฟฟ้าอนื่ อกี คือ กระแสไฟฟา้ เพราะเม่ือมวี งจรไฟฟ้า กระแสไฟฟา้ จะไหลหรือเคลอื่ นทีจ่ ากขั้วบวกผา่ นวงจรไฟฟ้าไปยงั ขวั้ ลบ ปริมาณกระแสไฟฟ้าท่ีไหลในวงจรสามารถวดั ไดโ้ ดยใช้เครือ่ งวัดกระแสไฟฟา้ หรอื แอมมิเตอร์ ภาพที่ 3การตอ่ วงจรไฟฟา้ เข้ากับโวลตม์ เิ ตอร์ ทม่ี า : คอกเกิล้ โนเลด เบส, ม.ป.ป.

24 ใบกิจกรรมท่ี 2 เร่อื งพลังงานไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า คาชแ้ี จง ให้นักเรียนแต่ละกลุม่ ร่วมกันปฏิบตั ิกจิ กรรมจากการทดลองตอ่ ไปน้ี การทดลองพลงั งานไฟฟา้ ในวงจรไฟฟ้า จุดประสงค์ นักเรียนสามารถอธิบายไดว้ ่า พลังงานไฟฟา้ ของแหลง่ กาเนดิ ไฟฟ้ามีความสมั พันธ์ กบั ความต่างศกั ย์ของแหลง่ กาเนิดไฟฟ้า วสั ดุ/อุปกรณ์ 1. หมอ้ แปลงไฟฟา้ โวลตต์ า่ จานวน 1 เครื่อง/กลมุ่ 2. โวลตม์ ิเตอร์ จานวน 1เคร่อื ง/กลมุ่ 3. หลอดไฟฟ้า ขนาด 6 โวลต์ จานวน 1 หลอด/กลุ่ม 4. สวิตซ์ จานวน 1 อัน/กลมุ่ 5. สายไฟฟา้ จานวน 4เส้น/กลมุ่ วธิ กี ารทดลอง 1. ใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ตอ่ วงจรไฟฟ้า ซ่ึงประกอบด้วยโวลต์มเิ ตอร์ หลอดไฟฟา้ ขนาด 6 โวลต์ และหม้อแปลงไฟฟ้าโวลตต์ า่ ดังภาพที่ 4

25 ภาพท่ี 4การตอ่ วงจรไฟฟา้ ท่มี า:กระทรวงศกึ ษาธกิ าร,2558, หน้า 56. 2. ตอ่ วงจรไฟฟา้ โดยใชค้ วามตา่ งศกั ยข์ องหมอ้ แปลงไฟฟ้าโวลตต์ า่ 2 โวลต์ กดสวติ ซ์ (วงจรปดิ ) สงั เกตความสว่างของหลอดไฟฟา้ และอ่านค่าจากโวลต์มเิ ตอร์ บนั ทกึ ผลและยกสวิตซ์ข้นึ (วงจรเปิด) 3. ทาซา้ ข้อ 2 โดยใช้ความต่างศกั ยข์ องหม้อแปลงไฟฟา้ โวลตต์ า่ 4 โวลต์ และ 6 โวลต์ ตามลาดับ สังเกตความสว่างของหลอดไฟฟ้าและอา่ นค่าโวลตม์ เิ ตอร์แต่ละค่า บนั ทกึ ผลลงในแบบ บันทึกกิจกรรม

26 แบบบันทึกกิจกรรมที่ 2 เรอ่ื งพลงั งานไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า (ครเู ปน็ ผูป้ ระเมนิ แบบบนั ทกึ กิจกรรม) สมาชกิ กลมุ่ ท.่ี ........ไดแ้ ก่ 1........................................................................... เลขท่ี............หวั หน้า 2........................................................................... เลขท.่ี ........... 3........................................................................... เลขท.่ี ........... 4........................................................................... เลขท.่ี ........... 5........................................................................... เลขท.ี่ ........... 6........................................................................... เลขท.ี่ ...........เลขานกุ าร กิจกรรมท่ี............................................................................................................................................. เร่อื ง..................................................................................................................................................... จุดประสงค์ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................. บนั ทึกผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………….............................................................. ……………………………………………………………………………………….............................................................. ……………………………………………………………………………………….............................................................. ……………………………………………………………………………………….............................................................. ……………………………………………………………………………………….............................................................. ……………………………………………………………………………………….............................................................. ……………………………………………………………………………………….............................................................. ……………………………………………………………………………………….............................................................. ……………………………………………………………………………………….............................................................. ……………………………………………………………………………………….............................................................. ……………………………………………………………………………………….............................................................. ………………………………………………………………………………………..............................................................

27 คาถามท้ายกิจกรรมการทดลอง 1. เมือ่ ใชค้ วามต่างศักย์ของหมอ้ แปลงไฟฟ้าโวลต์ตา่ เพ่ิมขึ้น ค่าที่อา่ นได้จากโวลตม์ ิเตอร์เปล่ียนแปลง หรอื ไม่อย่างไร .............................................................................................................................................. ............... 2. เมอื่ ใช้ความต่างศกั ยข์ องหมอ้ แปลงไฟฟ้าโวลต์ตา่ เพมิ่ ขนึ้ ความสวา่ งของหลอดไฟฟา้ มกี ารเปลยี่ นแปลงหรือไมอ่ ย่างไร ............................................................................................................................................. ................ 3. คา่ ทอ่ี า่ นได้จากโวลตม์ ิเตอร์ มีความสมั พนั ธ์กับความสวา่ งของหลอดไฟฟ้าอยา่ งไร .............................................................................................................................................. ............... สรุปผลการทดลอง ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. ............... ........................................................................................................................................... .................

28 ใบคาถามที่ 2 เรื่องพลังงานไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า คาช้แี จง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 1. พลงั งานไฟฟ้าสามารถเปล่ียนรูปเป็นพลังงานใดได้บา้ ง ................................................................................................................................................................ 2. ความสว่างของหลอดไฟฟา้ มีความสมั พันธอ์ ยา่ งไรกบั คา่ กระแสไฟฟา้ ทไ่ี หลผา่ นหลอดไฟ ................................................................................................................................................................ 3. แหลง่ กาเนดิ พลงั งานไฟฟา้ มาจากทใี่ ดบา้ ง ................................................................................................................................................................ 4. ถา่ นไฟฉายและแบตเตอรใี่ หพ้ ลงั งานไฟฟ้าได้เพราะเหตใุ ด ................................................................................................................................................................ 5. เคร่ืองมือทีใ่ ชว้ ดั ความต่างศักยไ์ ฟฟา้ คืออะไร ถ้าตอ้ งการใช้วดั ความตา่ งศักย์ไฟฟา้ ควรตอ่ วงจรไฟฟ้าแบบใด ................................................................................................................................................................

29 ใบความรู้ที่ 3 เรือ่ งการวัดกระแสไฟฟ้า คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนศึกษาใบความรู้น้ีแล้วรว่ มกันอภปิ รายภายในกลมุ่ กระแสไฟฟ้า (I) เกดิ ขึ้นจากการไหลของอเิ ล็กตรอนผา่ นวัสดชุ นดิ หนง่ึ นน่ั คือการถ่ายโอน ประจไุ ฟฟ้า อิเล็กตรอนจะเคลอ่ื นทถ่ี า้ อยใู่ นสนามไฟฟ้าซ่งึ สรา้ งความต่างศักยไ์ ฟฟา้ ระหว่าง สองบรเิ วณ เพราะฉะนน้ั ความต่างศักยไ์ ฟฟ้าจงึ จาเปน็ ในการทาใหเ้ กดิ กระแสไฟฟ้า วงจรไฟฟ้า เป็นวงจรปิดประกอบดว้ ยแหลง่ กาเนดิ กระแสไฟฟา้ และอุปกรณ์อ่ืนๆที่ยอมใหก้ ระแสไฟฟ้าไหลผา่ น ซง่ึ สามารถวัดค่ากระแสไฟฟ้าไดโ้ ดยอุปกรณท์ ่ีเรยี กวา่ แอมมเิ ตอร์ (ammeter) และกระแสไฟฟา้ มีหน่วยเป็น แอมแปร์ (ampere:A) แอมมิเตอร์ เปน็ เครื่องมอื วัดปรมิ าณกระแสไฟฟา้ มหี นว่ ยเปน็ แอมแปร์ การใชแ้ อมมิเตอร์ ตอ้ งตอ่ แบบอนกุ รมกบั วงจร เพ่อื ให้กระแสไฟฟา้ ท้งั หมดไหลผ่านแอมมิเตอร์ โดยใหก้ ระแสไฟฟ้า เข้าทางขว้ั บวกแล้วออกทางข้วั ลบของแอมมเิ ตอร์ แอมมเิ ตอรต์ ้องมีความตา้ นทานนอ้ ยมาก ส่งิ สาคญั ในการตอ่ แอมมเิ ตอรก์ บั วงจร คือปรมิ าณกระแสไฟฟา้ จากแหล่งกาเนิดไฟฟ้าจะต้องไมเ่ กินขดี สงู สดุ ทแ่ี อมมิเตอร์จะรับได้ โดยเฉพาะอย่างย่งิ ไม่ตอ่ แอมมิเตอร์เข้ากบั แหล่งกาเนิดไฟฟา้ โดยตรงเพราะ เป็นเหตทุ าใหแ้ อมมเิ ตอร์ชารดุ ได้ ภาพที่ 5แอมมิเตอร์ ที่มา: Gammaco, 2010.

30 หลักการของแอมมิเตอร์ 1. แอมมเิ ตอร์ท่ีดีตอ้ งมีความตา้ นทานน้อยๆ 2. การใช้แอมมิเตอรใ์ หต้ อ่ อนกุ รมกับวงจรและตอ้ งดขู ัว้ ไฟฟ้าให้ถูกต้อง 3. แอมมิเตอร์เมอื่ ตอ่ อนุกรมกบั วงจรจะทาใหก้ ระแสเปลย่ี นแปลงน้อยมาก ภาพท่ี 6 การต่อวงจรไฟฟ้าเขา้ กบั แอมมิเตอร์ ท่มี า : คอกเกล้ิ โนเลด เบส, ม.ป.ป.

31 ใบกจิ กรรมที่ 3 เรอื่ งการวัดกระแสไฟฟา้ คาช้แี จง ให้นกั เรยี นแต่ละกลุม่ รว่ มกนั ปฏบิ ตั ิกิจกรรมจากการทดลองตอ่ ไปน้ี การทดลองการวัดกระแสไฟฟา้ จุดประสงค์ นักเรยี นสามารถสรปุ วิธกี ารวัดกระแสไฟฟ้าและสรปุ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งความสว่าง ของหลอดไฟและกระแสไฟฟา้ ท่ีผ่านหลอดไฟฟ้า วัสดุ/อปุ กรณ์ 1. หม้อแปลงไฟฟา้ โวลตต์ า่ จานวน 1เครอื่ ง/กลมุ่ 2. แอมมิเตอร์ จานวน 1เคร่อื ง/กลมุ่ 3. หลอดไฟฟา้ ขนาด 6 โวลต์ จานวน 1หลอด/กลุม่ 4. สวิตซ์ จานวน 1อัน/กลมุ่ 5. สายไฟฟ้า จานวน 4เสน้ /กลมุ่ วธิ กี ารทดลอง 1. ต่อวงจรไฟฟ้า ซง่ึ ประกอบด้วยแอมมิเตอร์ หลอดไฟฟ้าขนาด 6 โวลต์ หม้อแปลงไฟฟา้ โวลตต์ า่ และสวิตซ์ ดังภาพที่ 4 ภาพที่ 4การต่อวงจรไฟฟา้ ทีม่ า :กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2558, หน้า 57.

32 2. ต่อวงจรไฟฟา้ โดยใช้ความต่างศกั ยข์ องหมอ้ แปลงไฟฟา้ โวลต์ต่า 2 โวลต์ กดสวติ ซ์ สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงของหลอดไฟฟ้าและแอมมิเตอร์ บันทกึ ผลและยกสวิตซ์ขน้ึ 3. ทาซา้ ข้อ 2 โดยเพม่ิ ความต่างศักย์ของหมอ้ แปลงไฟฟ้าโวลต์ต่าเป็น 4 และ 6 โวลต์ ตามลาดับ

33 แบบบนั ทึกกจิ กรรมที่ 3 เรอื่ งการวัดกระแสไฟฟ้า (ครเู ป็นผ้ปู ระเมนิ แบบบันทึกกิจกรรม) สมาชกิ กลมุ่ ท.ี่ ........ไดแ้ ก่ 1........................................................................... เลขที่............หวั หน้า 2........................................................................... เลขท.่ี ........... 3........................................................................... เลขท.่ี ........... 4........................................................................... เลขท.่ี ........... 5........................................................................... เลขท.ี่ ........... 6........................................................................... เลขท.่ี ...........เลขานุการ กิจกรรมที่............................................................................................................................................. เรอ่ื ง..................................................................................................................................................... จุดประสงค์ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................. บนั ทกึ ผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………….............................................................. ……………………………………………………………………………………….............................................................. ……………………………………………………………………………………….............................................................. ……………………………………………………………………………………….............................................................. ……………………………………………………………………………………….............................................................. ……………………………………………………………………………………….............................................................. ……………………………………………………………………………………….............................................................. ……………………………………………………………………………………….............................................................. ……………………………………………………………………………………….............................................................. ……………………………………………………………………………………….............................................................. ……………………………………………………………………………………….............................................................. ……………………………………………………………………………………….............................................................. ………………………………………………………………………………………..............................................................

34 คาถามท้ายกิจกรรมการทดลอง - เมอื่ เพ่มิ ความต่างศักย์ของหม้อแปลงไฟฟา้ คา่ ท่ีอา่ นได้จากแอมมเิ ตอร์เปล่ยี นแปลงอยา่ งไร ........................................................................................................................................... .................. สรปุ ผลการทดลอง ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ...............................................................................................................................................................

35 ใบคาถามที่ 3 เรอ่ื งการวัดกระแสไฟฟ้า คาชแี้ จง ให้นกั เรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 1. เคร่ืองมอื ท่ีใช้วดั ปริมาณกระแสไฟฟา้ ในวงจรเรยี กว่าอะไร ................................................................................................................................................................ 2. การใช้แอมมิเตอร์ต้องต่อแอมมิเตอร์แบบใดเขา้ กบั วงจร ................................................................................................................................................................ 3. แอมแปร์ เป็นหนว่ ยของค่าอะไร ................................................................................................................................................................ 4. กระแสไฟฟ้าจากบ้านเรือนทั่วไป ให้กระแสไฟฟา้ ชนิดใด ................................................................................................................................................................ 5. การตอ่ โวลต์มิเตอร์และแอมมิเตอรใ์ นวงจรอยา่ งง่าย สามารถคานวณคา่ ใดไดโ้ ดยใชต้ วั เลขท่ีอ่านได้ จากโวลต์มิเตอรแ์ ละแอมมเิ ตอร์ ................................................................................................................................................................

36 ใบกิจกรรมเสริมทักษะการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรยี นรู้ นักเรียนนาความรูเ้ กยี่ วกบั การตอ่ วงจรไฟฟา้ เบ้ืองต้นไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ คาช้ีแจง ใหน้ กั เรียนทากิจกรรม “ปา้ ยไฟสรา้ งสรรค์” โดยการคดิ ออกแบบปา้ ยไฟและประดษิ ฐ์ ปา้ ยไฟสร้างสรรค์ตามจนิ ตนาการของนักเรียน พร้อมท้ังเขียนรายงานประกอบการทากิจกรรม “ป้ายไฟสรา้ งสรรค”์ ของกลมุ่ ตนเอง เพอื่ แลว้ นาเสนอในห้องเรียนตอ่ ไป กจิ กรรม “ป้ายไฟสรา้ งสรรค์” วิธกี ารทากิจกรรม 1. นกั เรียนคดิ และออกแบบปา้ ยไฟตามจนิ ตนาการของนักเรียนแต่ละกลมุ่ 2. โดยใหน้ กั เรยี นแต่ละกล่มุ เขยี นกจิ กรรมตามหวั ขอ้ ต่อไปนีล้ งในกระดาษรายงาน 2.1 กลุ่มท.่ี ....................... 2.2 รายชือ่ สมาชกิ ........................ (ประกอบด้วยชื่อ-สกลุ และเลขที่) 2.3 กิจกรรม........................ 2.4 จดุ ประสงค์กิจกรรม 2.5 ออกแบบป้ายไฟตามจินตนาการ 2.6 วสั ดุ-อุปกรณ์ 2.7 วธิ ปี ระดิษฐ์ปา้ ยไฟตามจนิ ตนาการของแตล่ ะกลุ่ม 2.8 วธิ ใี ช้งาน 2.9 หลกั การทางาน 2.10 ภาพประกอบการทากิจกรรม หมายเหตุ: นกั เรยี นทากิจกรรมนอกเวลาเรียน

37 แบบทดสอบหลังเรียน เรือ่ ง พลังงานไฟฟา้ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ชดุ กิจกรรมท่ี 1 วงจรไฟฟ้าเบอ้ื งตน้ จานวน 10 ขอ้ .......................................................................................................................................... คาชีแ้ จง ให้นักเรียนเลือกคาตอบทถ่ี ูกต้องทีส่ ดุ เพียงคาตอบเดยี วและทาเคร่อื งหมาย กากบาท () ลงในกระดาษคาตอบ 1. ทิศทางการไหลของระแสไฟฟ้าเป็นไปตามขอ้ ใด ก. ไหลไปทิศทางเดียวกบั การเคล่ือนทข่ี องประจไุ ฟฟา้ บวก ข. ไหลสวนทางกับการเคล่อื นทข่ี องประจไุ ฟฟ้าลบ ค. ไหลจากขว้ั ไฟฟ้าบวกไปข้ัวไฟฟา้ ลบ ง. ถกู ทุกขอ้ 2. ไฟฟา้ เกดิ ขนึ้ ได้อยา่ งไร ก. ไฟฟ้าเกิดจากวัตถุ 2 ชนิดมาประทะกนั ข. ไฟฟ้าเกิดจากการทางานของเครื่องยนต์ ค. ไฟฟา้ เกดิ จากการเคลือ่ นทขี่ องอเิ ลก็ ตรอน ง. ไฟฟา้ เกิดจากการเคล่ือนที่ของกระแสไฟฟา้ 3. อปุ กรณไ์ ฟฟ้าจะทางานไดเ้ ม่ือวงจรไฟฟ้ามลี กั ษณะเป็นอยา่ งไร ก. วงจรลดั ข. วงจรสัน้ ค. วงจรปิด ง. วงจรเปิด 4. ขอ้ ใดถอื ว่าเปน็ การเปล่ยี นพลงั งานกลให้เปน็ พลังงานไฟฟา้ ก. กดสวติ ซ์ แลว้ หลอดไฟสว่าง ข. ปนั่ จักรยาน แลว้ เครอื่ งปน่ั ไฟทางาน ไฟหน้ารถสวา่ ง ค. ใช้ไฟฉายตอนกลางคืน เพ่อื จบั ปลู มบริเวณหาดพัทยา ง. เม่อื เดินเข้าใกลป้ ระตหู ้างสรรพสินคา้ ประตเู ปดิ เองโดยใช้กลไกทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์

38 5. ภาพใดคือการต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนาน ก. ข. ค. ง. 6. ข้อใดเปน็ การกดสวิตซ์เปิดไฟ ก. การทาให้วงจรปิด มีกระแสไฟฟา้ ไหล ข. การทาให้วงจรเปิด มีกระแสไฟฟ้าไหล ค. การทาใหว้ งจรปดิ ไมม่ ีกระแสไฟฟา้ ไหล ง. การทาใหว้ งจรเปดิ ไม่มีกระแสไฟฟา้ ไหล 7. คณุ สมบตั ิของมอเตอรไ์ ฟฟา้ ตรงกับข้อใด ก. เปลยี่ นพลังงานไฟฟา้ ใหเ้ ป็นพลงั งานกล ข. เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เปน็ พลังงานจลน์ ค. เปลี่ยนพลงั งานไฟฟ้าใหเ้ ป็นพลังงานความรอ้ น ง. เปล่ียนพลังงานไฟฟ้าให้เปน็ พลงั งานแสงอาทิตย์ 8. ถ้าต้องการวดั กระแสไฟฟา้ ในวงจร ต้องใช้เคร่ืองมือชนิดใดและต่ออยา่ งไร ก.โวลต์มเิ ตอร์ ตอ่ แบบอนกุ รม ข. แอมมเิ ตอร์ ตอ่ แบบอนุกรม ค. โวลตม์ ิเตอร์ ตอ่ แบบขนาน ง. แอมมเิ ตอร์ ต่อแบบขนาน

39 9. ถ้าตอ้ งการวัดความต่างศักย์ของกระแสไฟฟ้า ตอ้ งใชเ้ คร่ืองมอื ชนิดใดและต่ออยา่ งไร ก. โวลตม์ ิเตอร์ ต่อแบบอนกุ รม ข. แอมมิเตอร์ ตอ่ แบบอนุกรม ค. โวลต์มิเตอร์ ต่อแบบขนาน ง. แอมมเิ ตอร์ ต่อแบบขนาน 10. ไฟฟ้ากระแสตรงและไฟฟ้ากระแสสลับนน้ั มีความแตกตา่ งกันในเรื่องใด ก. ทิศทางการไหล ข. ความเข้มของแสง ค. แหลง่ กาเนิดไฟฟ้า ง. ปริมาณกระแสไฟฟ้า

40 กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลงั เรียน ชดุ กจิ กรรมที่ 1 วงจรไฟฟา้ เบือ้ งต้น ช่ือนักเรียน......................................................................ช้ัน..............เลขท่ี............... คาชแี้ จง ใหน้ ักเรียนอ่านคาถามจากแบบทดสอบให้เขา้ ใจ แลว้ เลือกคาตอบทถ่ี กู ท่ีสดุ เพียงคาตอบเดยี วโดยทาเครอื่ งหมายกากบาท () ลงในกระดาษคาตอบ ข้อ ก ข ค ง คะแนนเตม็ คะแนนที่ได้ 10 2 3 4 5 6 7 8 9 10 เกณฑ์การประเมิน ทาถกู ตอ้ ง 8-10 ขอ้ มรี ะดับคุณภาพดี ทาถกู ตอ้ ง 5-7 ขอ้ มีระดบั คุณภาพพอใช้ ทาถกู ต้อง 0-4 ขอ้ มรี ะดับคุณภาพปรับปรุง

41 บรรณานุกรม กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2551). ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์. กรุงเทพฯ:โรงพมิ พ์ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. คอกเก้ลิ โนเลด เบส. (ม.ป.ป.). ไฟฟา้ ม.3. เข้าถึงได้จาก https://coggle.it/diagram/WKQYsvHuhQABT_P8/t/ไฟฟา้ -ม-3 นงลักษณ์ สวุ รรณพินิจ, ปรีชา สุวรรรณพนิ ิจ และ ปยิ ดา สวุ รรณพินิจ.(2556). คู่มอื เตรียมสอบ วิทยาศาสตร์ ม. 3 เลม่ 1. กรุงเทพฯ:เจ้าพระยาระบบการพิมพ์. นิรันดร์ สวุ รตั น์. (2554). คัมภีรว์ ิทยาศาสตร์ ฟสิ กิ ส์ ม.ตน้ . กรุงเทพฯ: เจา้ พระยาระบบการพิมพ์. ปีเตอร,์ คาธาน.(2546).การเคลอื่ นที่ แรงและพลังงาน.กรงุ เทพฯ: เพียรส์ ัน เอ็ดดูเคชนั่ อนิ โดไชนา่ . สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554).คู่มือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ 5. กรุงเทพฯ: สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธิการ. สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.(2558). หนงั สอื เรียนรายวิชาพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์ 5 .กรุงเทพฯ: สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. Gammaco. (2010).DC Milliammeter. Retrieved from http://www.gammaco.com/ gammaco/th/6019515

42 ภาคผนวก

43 เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน ชดุ กจิ กรรมที่ 1 วงจรไฟฟา้ เบื้องต้น คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนตรวจคาตอบของแบบทดสอบก่อนเรยี นจากเฉลยดงั นี้ ข้อ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 

44 แนวทางการตอบแบบบนั ทึกกิจกรรมท่ี 1 เร่อื งการตอ่ เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ เข้าในวงจรไฟฟา้ (ครเู ป็นผปู้ ระเมินแบบบนั ทึกกจิ กรรม) ผลการทดลอง เมือ่ สังเกตความสวา่ งของแสงจากหลอดไฟฟ้า พบว่า การตอ่ แบบขนาน หลอดไฟฟา้ ทงั้ สองจะสวา่ งกว่าการต่อแบบอนกุ รม ภาพวงจรไฟฟ้า ภาพที่ 5 การตอ่ วงจรไฟฟ้าแบบขนานและแบบอนกุ รม ทม่ี า : สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี, (2554), หน้า 78. คาถามทา้ ยกจิ กรรมการทดลอง 1. จากการทากจิ กรรมที่ 1 นักเรียนนาหลอดไฟฟ้า 2 หลอด มาตอ่ กนั แบบใดบ้าง การตอ่ หลอดไฟฟา้ แบบอนุกรมและการตอ่ หลอดไฟฟ้าแบบขนาน 2. เม่ือกดสวติ ซ์ ใหก้ ระแสไฟฟ้าเคลอ่ื นทเ่ี ขา้ ไปในวงจรไฟฟา้ แต่ละแบบท่ีมหี ลอดไฟฟ้า 2 หลอด ความสวา่ งของหลอดไฟฟ้าในแตล่ ะวงจรเป็นอยา่ งไร การต่อหลอดไฟฟา้ แบบขนาน หลอดไฟฟา้ ทัง้ สองจะสวา่ งมากกวา่ การต่อหลอดไฟฟา้ แบบ อนกุ รม

45 3. การต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าแบบขนานเข้าในวงจรไฟฟา้ มขี อ้ ดีอยา่ งไร การต่อเคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ แบบขนาน มีกระแสไฟฟา้ เขา้ ไปในวงจรมากกว่า จึงทาใหห้ ลอด ไฟฟา้ จะสว่างมากกว่า และถ้าหลอดไฟฟา้ ใดหลอดหนงึ่ เสีย หลอดไฟฟ้าทีเ่ หลอื ยงั คงสวา่ งได้ ส่วนการ ตอ่ หลอดไฟฟ้าแบบอนกุ รม นอกจากให้แสงสวา่ งนอ้ ยกวา่ แล้ว ถา้ หลอดไฟฟา้ หลอดใดหลอดหนง่ึ เสยี วงจรไฟฟา้ ไมส่ ามารถทางานได้ สรปุ ผลการทดลอง การต่อหลอดไฟฟ้าเขา้ กับแหลง่ กาเนิดไฟฟ้า พบวา่ มีวิธีการตอ่ 2 แบบทส่ี ามารถทาให้ หลอดไฟฟา้ สว่างได้ คอื การต่อหลอดไฟฟา้ แบบอนุกรมและการต่อหลอดไฟฟา้ แบบขนาน

46 เฉลยใบคาถามที่ 1 เร่ืองการต่อเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าเขา้ ในวงจรไฟฟา้ คาชีแ้ จง ให้นกั เรียนตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1. เส้นทางทกี่ ระแสไฟฟา้ ไหลผ่านไดค้ รบรอบหมายถงึ อะไร วงจรไฟฟา้ 2.วงจรทม่ี กี ระแสไฟฟ้าไหลได้ครบวงจรหมายถงึ อะไร วงจรปิด 3. วงจรเปดิ หมายถึงอะไร วงจรขาดทาใหไ้ มม่ ีกระแสไฟฟา้ ไหลในวงจรนนั้ 4. ตอ่ วงจรแบบ………………..ทาให้ความต้านทานรวมในวงจรเพ่ิมขนึ้ อนุกรม 5. การต่อหลอดไฟในบ้าน ควรตอ่ แบบ………………..เพราะทาใหห้ ลอดไฟแตล่ ะหลอดได้รับ ความตา่ งศักยไ์ ฟฟา้ เท่ากนั และหลอดใดหลอดหน่งึ ขาด หลอดอืน่ ๆจะสวา่ งอยู่ ขนาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook