Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนขุนตาลวิทยาคม

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนขุนตาลวิทยาคม

Published by Pawinee Keawsangin, 2020-09-30 09:07:31

Description: หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา และพลศึกษา 2563

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบหลักสตู ร หลักสตู รโรงเรียนขุนตาลวิทยาคม พุทธศักราช 2562 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 36 สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ก ประกาศโรงเรียนขนุ ตาลวทิ ยาคม เรื่อง ให้ใชห้ ลักสตู รโรงเรียนขุนตาลวิทยาคม พทุ ธศักราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ****************** เพื่อให้การจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานของโรงเรียนขุนตาลวิทยาคม สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มัธยมศกึ ษา เขต 36 สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมวฒั นธรรมสภาพแวดลอ้ ม และความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เป็นการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพ คนของชาติ ให้สามารถเพ่ิมขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ การยกระดับคุณภาพการศกึ ษาและการ เรียนรู้ให้มีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล สอดคล้องกับประเทศไทย 4.0 โลกในศตวรรษท่ี 21 และทัดเทียม กับนานาชาติ ผู้เรียนมีศักยภาพในการแข่งขันและดารงชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในประชาคมโลก ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ดงั นั้นโรงเรียนขุนตาลวิทยาคม จึงไดด้ าเนินการเพื่อให้เป็นไปตามคาสัง่ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่ือง ให้ ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่ม สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) เมอื่ วันท่ี 7 สิงหาคม 2560 และ คาส่ังให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระ ภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ลงวันท่ี 5 มกราคม 2561 รวมทั้งประกาศ เร่ืองการบริหาร จดั การหลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการ เรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ลงวันท่ี 8 มกราคม 2561 และคาสงั่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ท่ี 921/2561 ลงวันท่ี 3 พฤษภาคม 2561เรื่องยกเลิกมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด สาระท่ี 2 การออกแบบ และเทคโนโลยี และสาระท่ี 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และคาสั่งสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพื้นฐานท่ี 922/2561 ลงวันท่ี 3 พฤษภาคม 2561 เร่ือง การปรับปรุงโครงสร้างเวลาเรียน ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และจัดทารายวิชาการป้องกันการทุจริต เป็นที่ เรยี บร้อย ทั้งน้ีหลักสูตรโรงเรียนขุนตาลวิทยาคม ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เมอ่ื วันที่ 1 เดอื น เมษายน พ.ศ.2563 จึงประกาศให้ใช้หลกั สตู รโรงเรียนต้ังแตบ่ ดั นเ้ี ป็นต้นไป ประกาศ ณ วันท่ี 1 เดอื น เมษายน พ.ศ.2563 (ลงช่อื ) (ลงชือ่ ) (นายเลอ่ื น ผิวผอ่ ง) (นายเจรญิ โกศัย) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ผอู้ านวยการโรงเรยี นขุนตาลวทิ ยาคม

สารบัญ หน้า ประกาศโรงเรียน……………………………………………………………………………………………………………… ก ความนา……..………………………………………………………………………………………………………………….. 1 วสิ ยั ทัศน์ของหลักสตู รสถานศึกษา….............................................................................................. 2 สมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน……...................................................................................................... 2 คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์….......................................................................................................... 3 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้….................................................................................................... 4 คณุ ภาพผเู้ รียน…............................................................................................................................ 5 ตัวชวี้ ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง............................................................................................ 7 อภิธานศพั ท์……............................................................................................................................. 20 โครงสรา้ งหลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา..................................................... 28 การจดั ทาโครงสรา้ งรายวชิ าพ้ืนฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ุขศกึ ษาและพลศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ……......................................................................................................... 29 คาอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ……............................................................... 30 การจัดทาโครงสรา้ งรายวชิ าพ้ืนฐาน กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ุขศกึ ษาและพลศึกษา ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย…....................................................................................................... 54 คาอธบิ ายรายวิชาพืน้ ฐาน ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย……........................................................... 55 การจดั ทาโครงรายวชิ าสาระเพ่ิมเตมิ กลุ่มสาระสขุ ศึกษาและพลศึกษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย……..................................................................................................... 77 คาอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเติม ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย…….......................................................... 78 แนวทางการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้……................................................................................ 96

1 ความนา กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551ให้เป็น หลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและกรอบ ทิศทางในการพฒั นาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นคนดี มปี ัญญา มีคุณภาพชีวิตท่ีดีและมีขีดความสามารถ ในการ แขง่ ขนั ในเวทรี ะดบั โลก พร้อมกันน้ีได้ปรบั กระบวนการพฒั นาหลกั สตู รให้มคี วามสอดคล้องกับเจตนารมณ์ แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และ ท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ที่มุ่งเน้น การกระจายอานาจทางการศึกษาให้ท้องถ่ิน และสถานศึกษาได้มีบทบาทและมีส่วนร่วมในการพัฒนา หลกั สูตรเพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพ และ ความต้องการของทอ้ งถน่ิ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนขุนตาลวิทยาคม ได้จัดทาข้ึนให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มีความเหมาะสม ชัดเจน ท้ังเป้าหมายของหลักสูตรในการ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน และกระบวนการนาหลักสูตรไปสู่การ โดยได้มีการกาหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด ท่ีชัดเจน นอกจากน้ันได้กาหนดโครงสร้างเวลาเรียนขั้นต่าของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ทั้งรายวิชาแกนกลางและ รายวิชาเพ่ิมเติมในแต่ละช้ันปีไว้ในหลักสูตรสถานศึกษาตามความพร้อมและจุดเน้นอีกทั้งได้ปรับ กระบวนการวดั และประเมนิ ผลผเู้ รียน เกณฑ์การจบการศกึ ษาแตล่ ะระดับ และเอกสารแสดงหลกั ฐานทาง การศึกษาใหม้ ีความสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนรู้ และมีความชัดเจนตอ่ การนาไปปฏบิ ตั ิ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาพุทธศักราช 2563 น้ี จัดทาข้ึนสาหรับครูผู้สอนได้นาไปใช้ เป็นทิศทางในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพด้านความรู้และทักษะที่จาเป็น สาหรับการดารงชีวิต ในสังคมที่มีการเปล่ียนแปลง และแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง ตลอดชีวิต เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศึกษา โรงเรยี นขนุ ตาลวทิ ยาคม

2 วสิ ยั ทัศน์ โรงเรียนขุนตาลวิทยาคม จัดการศึกษา มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้คู่คุณธรรม ก้าวทันเทคโนโลยี ด้วยวิถีตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง จุดหมาย หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนขุนตาลวทิ ยาคม มุ่งพฒั นาผเู้ รยี นให้เปน็ คนดี มีปญั ญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพ่ือให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบ การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ดังนี้ 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตน ตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนบั ถือ ยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคดิ การแก้ปญั หา การใช้เทคโนโลยี และมีทกั ษะชีวติ 3. มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ทีด่ ี มสี ุขนสิ ยั และรักการออกกาลังกาย 4. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข 5. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อม มจี ติ สาธารณะทีม่ ุ่งทาประโยชนแ์ ละสร้างสิ่งท่ดี งี ามในสงั คม และอยรู่ ว่ มกันในสังคมอย่างมคี วามสขุ สมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นขนุ ตาลวทิ ยาคม มงุ่ ให้ผ้เู รียนเกดิ สมรรถนะสาคัญ 5 ประการ ดงั นี้ 1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ ภาษาถ่ายทอดความคดิ ความรู้ความเขา้ ใจ ความรู้สกึ และทศั นะของตนเองเพ่ือแลกเปล่ียนข้อมลู ข่าวสาร และประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพ่ือขจัด และลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วธิ กี ารสื่อสาร ที่มีประสทิ ธิภาพโดยคานงึ ถึงผลกระทบท่ีมีตอ่ ตนเองและสงั คม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ สารสนเทศเพอื่ การตดั สนิ ใจเกี่ยวกบั ตนเองและสงั คมได้อยา่ งเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เปน็ ความสามารถในการแกป้ ญั หาและอปุ สรรคตา่ ง ๆ ที่ เผชญิ ไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสมบนพน้ื ฐานของหลักเหตผุ ล คณุ ธรรมและขอ้ มูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสัมพันธแ์ ละการเปลีย่ นแปลงของเหตุการณต์ า่ ง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกตค์ วามรูม้ าใชใ้ น การปอ้ งกันและแก้ไขปัญหา และมีการตดั สินใจที่มีประสิทธภิ าพโดยคานึงถึงผลกระทบที่เกดิ ข้ึนต่อตนเอง สังคมและสง่ิ แวดล้อม เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนขุนตาลวทิ ยาคม

3 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน การดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการอยู่ร่วมกัน ในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสมั พันธอ์ ันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง เหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยง พฤติกรรมไมพ่ ึงประสงคท์ ่ีส่งผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อ่ืน 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การ ทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมคี ุณธรรม คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนขุนตาลวิทยาคม มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอย่รู ่วมกบั ผู้อน่ื ในสังคมได้อยา่ งมีความสขุ ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดงั น้ี 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 2. ซื่อสตั ยส์ ุจรติ 3. มีวนิ ัย 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 5. อย่อู ยา่ งพอเพยี ง 6. มงุ่ ม่ันในการทางาน 7. รกั ความเปน็ ไทย 8. มีจิตสาธารณะ เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศึกษา โรงเรยี นขนุ ตาลวิทยาคม

4 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ทาไมตอ้ งเรยี นสุขศึกษาและพลศึกษา สุขภาพ หรือ สุขภาวะ หมายถึง ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทางปัญญาหรือจิตวิญญาณ สุขภาพหรือสุขภาวะจึงเป็นเรื่องสาคัญ เพราะเกี่ยวโยงกับทุกมิติของ ชีวิต ซ่ึงทุกคนควรจะได้เรียนรู้เร่ืองสุขภาพ เพื่อจะได้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง มีเจตคติ คุณธรรม และคา่ นิยมที่เหมาะสม รวมท้ังมที ักษะปฏิบัตดิ ้านสุขภาพจนเปน็ กจิ นิสัย อันจะส่งผลให้สงั คมโดยรวมมี คณุ ภาพ เรยี นรอู้ ะไรในสุขศึกษาและพลศกึ ษา สุขศึกษาและพลศึกษาเป็นการศึกษาด้านสุขภาพท่ีมีเป้าหมาย เพื่อการดารงสุขภาพ การสร้าง เสรมิ สขุ ภาพและการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของบุคคล ครอบครัว และชุมชนให้ย่งั ยืน สุขศกึ ษา มุ่งเนน้ ให้ผเู้ รยี นพัฒนาพฤตกิ รรมด้านความรู้ เจตคติ คุณธรรม ค่านิยม และการปฏิบัติ เกยี่ วกับสขุ ภาพควบค่ไู ปดว้ ยกนั พลศึกษา มุง่ เน้นให้ผู้เรียนใช้กิจกรรมการเคล่ือนไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกมและกีฬา เป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาโดยรวมท้ังด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา รวมทั้งสมรรถภาพ เพ่อื สุขภาพและกีฬา สาระที่เป็นกรอบเนื้อหาหรือขอบข่ายองค์ความรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ประกอบดว้ ย  การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เร่ืองธรรมชาติของการ เจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ปัจจัยท่ีมีผลต่อการเจริญเติบโต ความสัมพันธ์เชื่อมโยงในการ ทางานของระบบต่างๆของร่างกาย รวมถึงวิธปี ฏิบตั ิตนเพอ่ื ให้เจรญิ เตบิ โตและมีพฒั นาการท่ีสมวยั  ชีวิตและครอบครัว ผ้เู รียนจะได้เรียนรู้เรื่องคุณค่าของตนเองและครอบครัว การปรับตัวต่อ การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ความรู้สึกทางเพศ การสร้างและรักษาสัมพันธภาพกับผู้อ่ืน สขุ ปฏบิ ตั ทิ างเพศ และทกั ษะในการดาเนนิ ชวี ติ  การเคลื่อนไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล ผู้เรียนได้เรียนรู้ เรื่องการเคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ การเข้าร่วมกิจกรรมทางกายและกีฬา ท้ังประเภทบุคคล และ ประเภททีมอย่างหลากหลายท้ังไทยและสากล การปฏิบัติตามกฎ กติกา ระเบียบ และข้อตกลงในการเข้า รว่ มกจิ กรรมทางกาย และกฬี า และความมีนา้ ใจนักกีฬา  การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เก่ียวกับหลัก และวิธีการเลือกบริโภคอาหาร ผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ การสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ และการป้องกนั โรคทัง้ โรคติดตอ่ และโรคไม่ตดิ ต่อ เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรยี นขนุ ตาลวทิ ยาคม

5  ความปลอดภัยในชีวิต ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เรื่องการป้องกันตนเองจากพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ ทั้งความเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ ความรุนแรง อันตรายจากการใช้ยาและสารเสพติด รวมถึงแนวทางใน การสร้างเสริมความปลอดภัยในชวี ิต สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 1 การเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของมนษุ ย์ มาตรฐาน พ 1.1 เขา้ ใจธรรมชาติของการเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของมนษุ ย์ สาระที่ 2 ชวี ิตและครอบครัว มาตรฐาน พ 2.1 เข้าใจและเหน็ คุณคา่ ตนเอง ครอบครวั เพศศึกษา และมที กั ษะในการดาเนนิ ชีวติ สาระที่ 3 การเคลอื่ นไหว การออกกาลงั กาย การเล่นเกม กฬี าไทย และกฬี าสากล มาตรฐาน พ 3.1 เข้าใจ มที ักษะในการเคลอื่ นไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา มาตรฐาน พ 3.2 รกั การออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเลน่ กีฬา ปฏิบัติเปน็ ประจาอย่างสม่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน และช่ืนชม ในสนุ ทรยี ภาพของการกีฬา สาระที่ 4 การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกนั โรค มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดารงสุขภาพ การป้องกันโรค และการสร้างเสรมิ สมรรถภาพเพื่อสขุ ภาพ สาระที่ 5 ความปลอดภยั ในชีวิต มาตรฐาน พ 5.1 ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเส่ียง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพตดิ และความรุนแรง คุณภาพผ้เู รียน คุณภาพผู้เรียน จบชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3  เข้าใจและเห็นความสาคัญของปัจจัยทีส่ ่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่มีต่อ สขุ ภาพและชวี ติ ในช่วงวัยต่าง ๆ  เข้าใจ ยอมรับ และสามารถปรับตัวต่อการเปล่ียนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ ความรู้สึกทางเพศ ความเสมอภาคทางเพศ สร้างและรักษาสัมพันธภาพกับผู้อ่ืน และตัดสินใจแก้ปัญหา ชวี ิตดว้ ยวิธีการท่เี หมาะสม  เลอื กกินอาหารท่เี หมาะสม ได้สัดสว่ น สง่ ผลดีต่อการเจรญิ เติบโตและพฒั นาการตามวยั  มีทักษะในการประเมินอิทธิพลของเพศ เพ่ือน ครอบครัว ชุมชนและวัฒนธรรมท่ีมีต่อเจต คติ คา่ นิยมเกย่ี วกับสุขภาพและชวี ิต และสามารถจัดการได้อย่างเหมาะสม เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรยี นขนุ ตาลวทิ ยาคม

6  ป้องกันและหลีกเล่ียงปัจจัยเส่ียง พฤติกรรมเส่ียงต่อสุขภาพและการเกิดโรค อุบัติเหตุ การ ใชย้ า สารเสพตดิ และความรุนแรง ร้จู ักสร้างเสริมความปลอดภยั ใหแ้ กต่ นเอง ครอบครวั และชุมชน  เข้าร่วมกิจกรรมทางกาย กิจกรรมกีฬา กิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมสร้างเสริม สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ โดยนาหลักการของทักษะกลไกมาใช้ได้อยา่ งปลอดภัย สนุกสนาน และ ปฏบิ ัติเป็นประจาสมา่ เสมอตามความถนัดและความสนใจ  แสดงความตระหนักในความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมสุขภาพ การป้องกันโรค การดารง สุขภาพ การจัดการกับอารมณ์และความเครียด การออกกาลังกายและการเล่นกีฬากับการมีวิถีชีวิตที่มี สขุ ภาพดี  สานึกในคณุ คา่ ศักยภาพและความเป็นตวั ของตวั เอง  ปฏิบัติตามกฎ กติกา หน้าที่ความรับผิดชอบ เคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่น ให้ความ ร่วมมือในการแข่งขันกีฬาและการทางานเป็นทีมอย่างเป็นระบบ ด้วยความมุ่งม่ันและมีน้าใจนักกีฬา จน ประสบความสาเร็จตามเปา้ หมายดว้ ยความช่ืนชม และสนุกสนาน จบชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6  สามารถดูแลสุขภาพ สร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค หลีกเล่ียงปัจจยั เสี่ยง และพฤติกรรม เส่ียงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด และความรุนแรงได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วยการ วางแผนอย่างเป็นระบบ  แสดงออกถึงความรัก ความเอ้ืออาทร ความเข้าใจในอิทธิพลของครอบครัว เพื่อน สังคม และวฒั นธรรมท่ีมีตอ่ พฤติกรรมทางเพศ การดาเนินชวี ิต และวถิ ีชีวติ ท่มี สี ขุ ภาพดี  ออกกาลังกาย เล่นกีฬา เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมสร้างเสริมสมรรถภาพ เพอื่ สุขภาพโดยนาหลกั การของทักษะกลไกมาใช้ได้อยา่ งถูกตอ้ ง สมา่ เสมอดว้ ยความช่ืนชมและสนุกสนาน  แสดงความรบั ผิดชอบ ให้ความร่วมมอื และปฏิบัติตามกฎ กตกิ า สทิ ธิ หลักความปลอดภัย ในการเขา้ รว่ มกิจกรรมทางกาย และเลน่ กฬี าจนประสบความสาเร็จตามเปา้ หมายของตนเองและทมี  แสดงออกถึงการมมี ารยาทในการดู การเล่น และการแข่งขนั ด้วยความมีน้าใจนกั กีฬาและ นาไปปฏบิ ัติในทุกโอกาสจนเป็นบุคลิกภาพที่ดี  วิเคราะห์และประเมินสุขภาพส่วนบุคคลเพื่อกาหนดกลวิธีลดความเส่ียง สร้างเสริมสุขภาพ ดารงสุขภาพ การป้องกันโรค และการจัดการกับอารมณแ์ ละความเครียดไดถ้ ูกต้องและเหมาะสม  ใช้กระบวนการทางประชาสงั คม สรา้ งเสรมิ ใหช้ ุมชนเข้มแข็งปลอดภัย และมีวิถชี วี ิตทีด่ ี เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนขุนตาลวทิ ยาคม

7 ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ตัวช้วี ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระท่ี 1 การเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของมนษุ ย์ มาตรฐาน พ 1.1 เข้าใจธรรมชาติของการเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของมนุษย์ ช้นั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ม.1 1. อธบิ ายความสาคัญของระบบประสาท  ความสาคัญของระบบประสาท และระบบ และระบบต่อมไร้ท่อที่มีผลต่อสุขภาพ ต่อมไร้ทอ่ ที่มผี ลต่อสขุ ภาพ การเจรญิ เตบิ โต การเจริญเตบิ โต และพัฒนาการของ และพัฒนาการของวยั ร่นุ วัยรุ่น 2. อธบิ ายวิธดี แู ลรักษาระบบประสาท  วิธดี ูแลรักษาระบบประสาท และระบบ และระบบต่อมไรท้ ่อให้ทางานตามปกติ ต่อมไร้ท่อ ใหท้ างานตามปกติ 3. วเิ คราะห์ภาวะการเจรญิ เตบิ โตทาง  การวเิ คราะห์ภาวะการเจรญิ เติบโต รา่ งกายของตนเองกบั เกณฑม์ าตรฐาน ตามเกณฑ์มาตรฐานและปัจจัยท่เี กย่ี วข้อง 4. แสวงหาแนวทางในการพัฒนาตนเอง  แนวทางในการพฒั นาตนเองใหเ้ จรญิ เตบิ โต ใหเ้ จริญเตบิ โตสมวยั สมวยั ม. 2 1. อธิบายการเปล่ยี นแปลงดา้ นรา่ งกาย  การเปลย่ี นแปลงดา้ นร่างกาย จิตใจ จติ ใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาใน อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญาในวัยรุ่น วยั รุ่น 2. ระบปุ จั จัยท่มี ีผลกระทบต่อการ  ปัจจยั ที่มผี ลกระทบต่อการเจรญิ เติบโตและ เจริญเตบิ โต และพัฒนาการด้านร่างกาย พัฒนาการดา้ นร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คม จิตใจ อารมณ์ สงั คม และสติปัญญา ใน และสตปิ ญั ญา วัยรนุ่ - พนั ธุกรรม - ส่งิ แวดลอ้ ม - การอบรมเล้ียงดู ม. 3 1. เปรียบเทยี บการเปลีย่ นแปลงทางดา้ น  การเปล่ยี นแปลง ดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ ร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคม และ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในแต่ละวยั สตปิ ัญญา แตล่ ะช่วง ของชีวิต - วัยทารก - วัยก่อนเรยี น - วัยเรยี น - วัยรนุ่ - วัยผูใ้ หญ่ - วยั สูงอายุ เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนขุนตาลวทิ ยาคม

8 ชัน้ ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 2. วิเคราะห์อิทธิพลและความคาดหวงั ของสงั คมต่อการเปล่ยี นแปลงของวยั ร่นุ  อิทธพิ ลและความคาดหวังของสงั คมท่ีมตี อ่ 3. วิเคราะห์ สือ่ โฆษณา ที่มอี ิทธิพลตอ่ การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของวยั รุ่น การเปลยี่ นแปลงของวยั รุ่น ม.4–ม. 1. อธิบายกระบวนการสรา้ งเสรมิ และ  ส่อื โฆษณา ทมี่ ีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโต 6 ดารงประสทิ ธิภาพการทางาน ของระบบ อวัยวะตา่ ง ๆ และพัฒนาการของวัยรนุ่ 2. วางแผนดแู ลสขุ ภาพตามภาวะการ - โทรทัศน์ - วิทยุ เจรญิ เติบโตและพัฒนาการของตนเอง และบคุ คลในครอบครัว - สือ่ สง่ิ พมิ พ์ - อินเทอรเ์ น็ต  กระบวนการสรา้ งเสริมและดารง ประสิทธภิ าพการทางานของระบบอวยั วะ ตา่ ง ๆ - การทางานของระบบอวยั วะตา่ งๆ - การสรา้ งเสรมิ และดารงประสิทธิภาพของ อวยั วะต่างๆ (อาหาร การออกกาลังกาย นันทนาการ การตรวจสุขภาพ ฯลฯ)  การวางแผนดูแลสุขภาพของตนเองและ บุคคลในครอบครวั เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนขุนตาลวทิ ยาคม

9 สาระท่ี 2 ชีวิตและครอบครวั มาตรฐาน พ 2.1 เขา้ ใจและเห็นคณุ ค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดาเนินชวี ติ ชัน้ ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม. 1 1. อธิบายวิธีการปรับตัวตอ่ การ  การเปล่ยี นแปลงทางรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ เปลย่ี นแปลงทางรา่ งกายจติ ใจ อารมณ์ และพฒั นาการทางเพศ และพัฒนาการทางเพศอยา่ งเหมาะสม - ลกั ษณะการเปล่ียนแปลงทางรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ และพฒั นาการทางเพศ - การยอมรับและการปรับตวั ตอ่ การเปลีย่ นแปลง ทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และพฒั นาการทางเพศ - การเบีย่ งเบนทางเพศ 2. แสดงทักษะการปฏเิ สธเพือ่ ปอ้ งกัน  ทกั ษะปฏเิ สธเพื่อป้องกนั การถกู ล่วงละเมิดทาง ตนเองจากการถูกลว่ งละเมิดทางเพศ เพศ ม. 2 1. วิเคราะห์ปจั จยั ทม่ี ีอทิ ธิพลตอ่ เจตคติ  ปจั จยั ท่มี ีอทิ ธิพลต่อเจตคตใิ นเรอื่ งเพศ ในเรือ่ งเพศ - ครอบครัว - วัฒนธรรม - เพอื่ น - ส่ือ 2. วิเคราะห์ปัญหาและผลกระทบท่เี กดิ  ปญั หาและผลกระทบท่เี กิดจากการมีเพศสัมพนั ธ์ จากการมีเพศสัมพนั ธใ์ นวยั เรียน ในวยั เรียน 3. อธบิ ายวิธปี ้องกันตนเองและหลกี เล่ียง  โรคตดิ ต่อทางเพศสัมพนั ธ์ จากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เอดส์ และ  โรคเอดส์ การตั้งครรภ์โดยไม่พงึ ประสงค์  การต้งั ครรภโ์ ดยไมพ่ ึงประสงค์ 4. อธบิ ายความสาคญั ของความเสมอ  ความสาคญั ของความเสมอภาคทางเพศ ภาคทางเพศ และวางตวั ได้อย่าง  การวางตวั ตอ่ เพศตรงขา้ ม เหมาะสม  ปัญหาทางเพศ  แนวทางการแก้ไขปญั หาทางเพศ ม.3 1. อธิบายอนามัยแม่และเด็ก การ  องค์ประกอบของอนามยั เจรญิ พนั ธุ์ วางแผนครอบครัว และวธิ ีการปฏิบตั ิตน - อนามัยแม่และเดก็ ทเี่ หมาะสม - การวางแผนครอบครัว 2. วิเคราะหป์ จั จยั ท่ีมผี ลกระทบตอ่ การ  ปจั จัยทีม่ ผี ลกระทบต่อการต้ังครรภ์ ต้งั ครรภ์ - แอลกอฮอล์ - สารเสพตดิ - บหุ ร่ี - สภาพแวดล้อม - การติดเชื้อ - โรคทเ่ี กิดจากภาวการณ์ต้ังครรภ์ เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนขุนตาลวทิ ยาคม

10 ชนั้ ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง 3. วเิ คราะหส์ าเหตุ และเสนอแนวทาง  สาเหตุความขัดแยง้ ในครอบครัว ปอ้ งกนั แกไ้ ขความขัดแย้งในครอบครัว  แนวทางปอ้ งกัน แก้ไขความขัดแยง้ ใน ครอบครวั ม.4– 1. วิเคราะห์อทิ ธิพลของครอบครวั  อิทธิพลของครอบครัว เพ่ือน สงั คม และ ม.6 เพื่อน สงั คม และวฒั นธรรมที่มีผลตอ่ วัฒนธรรมทม่ี ีต่อพฤติกรรมทางเพศ และการดาเนนิ พฤติกรรมทางเพศและการดาเนนิ ชวี ติ ชีวติ 2. วเิ คราะหค์ ่านิยมในเรอ่ื งเพศ ตาม  ค่านิยมในเร่อื งเพศตามวัฒนธรรมไทย และ วฒั นธรรมไทยและวัฒนธรรม อืน่ ๆ วฒั นธรรมอื่น ๆ 3. เลอื กใช้ทกั ษะทเี่ หมาะสมในการ  แนวทางในการเลือกใช้ทักษะตา่ ง ๆ ในการ ปอ้ งกัน ลดความขัดแย้งและแก้ปญั หา ป้องกนั ลดความขดั แย้ง และแก้ปญั หาเร่ืองเพศ เร่ืองเพศและครอบครัว และครอบครัว - ทักษะการส่ือสารและสร้างสัมพันธภาพ - ทกั ษะการตอ่ รอง - ทกั ษะการปฏเิ สธ - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ - ทกั ษะการตดั สนิ ใจ และแก้ไขปัญหา ฯลฯ 4. วิเคราะห์สาเหตแุ ละผลของความ  ความขัดแย้งที่อาจเกดิ ขึ้นระหว่างนักเรยี นหรอื ขดั แย้งที่อาจเกดิ ขึน้ ระหว่างนักเรียน เยาวชนในชุมชน หรือเยาวชนในชมุ ชน และเสนอแนว - สาเหตุของความขดั แย้ง ทางแก้ไขปัญหา - ผลกระทบทเี่ กิดจากความขัดแยง้ ระหวา่ งนักเรียน หรือเยาวชนในชมุ ชน - แนวทางในการแก้ปญั หาที่อาจเกิดจากความ ขดั แยง้ ของนักเรียนหรือเยาวชนในชมุ ชน เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นขุนตาลวทิ ยาคม

11 สาระที่ 3 การเคล่ือนไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล มาตรฐาน พ 3.1 เขา้ ใจ มที กั ษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลน่ เกม และกีฬา ช้ัน ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม. 1 1. เพมิ่ พูนความสามารถของตน ตาม  หลักการเพ่ิมพนู ความสามารถในการ หลกั การเคล่ือนไหวทีใ่ ชท้ ักษะกลไก เคลอื่ นไหวท่ีใช้ทักษะกลไกและทักษะพื้นฐานท่ี และทักษะพนื้ ฐานทน่ี าไปสู่การพัฒนา นาไปส่กู ารพฒั นาทกั ษะการเลน่ กฬี า ทกั ษะการเล่นกฬี า 2. เล่นกีฬาไทยและกฬี าสากลประเภท  การเลน่ กฬี าไทย และกีฬาสากลท่เี ลอื ก เช่น บุคคลและทีมโดยใชท้ ักษะพื้นฐานตาม กรฑี าประเภทลแู่ ละลาน บาสเกตบอล กระบ่ี ชนิดกฬี า อยา่ งละ 1 ชนิด เทเบลิ เทนนิส เทนนสิ ว่ายน้า 3. รว่ มกจิ กรรมนันทนาการอยา่ งนอ้ ย  การนาความร้แู ละหลกั การของกจิ กรรม 1 กิจกรรมและนาหลักความรู้ทไ่ี ด้ไป นนั ทนาการไปใชเ้ ชื่อมโยงสมั พนั ธก์ ับวิชาอนื่ เชื่อมโยงสมั พนั ธ์กบั วชิ าอ่นื ม. 2 1. นาผลการปฏิบัตติ นเก่ียวกับทกั ษะ  การนาผลการปฏิบตั ิตนเกี่ยวกับทักษะกลไก กลไกและทักษะการเคล่ือนไหวในการ และทกั ษะการเคลื่อนไหวในการเล่นกฬี าจาก เลน่ กีฬาจากแหลง่ ข้อมลู ท่หี ลากหลาย แหลง่ ขอ้ มลู ที่หลากหลายมาสรปุ เปน็ วธิ ีที่ มาสรปุ เป็นวธิ ีที่เหมาะสมในบรบิ ทของ เหมาะสมในบรบิ ทของตนเองในการเลน่ กีฬา ตนเอง 2. เลน่ กฬี าไทยและกีฬาสากล  การเลน่ กฬี าไทย กีฬาสากลตามชนดิ กีฬาท่ี ทง้ั ประเภทบุคคลและทีมได้อย่างละ เลือก เชน่ กรีฑาประเภทลู่และลาน บาสเกตบอล 1 ชนดิ กระบี่ เทนนสิ ตระกรอ้ ลอดบว่ ง ฟตุ ซอล วา่ ยน้า เทควันโด 3. เปรยี บเทยี บประสทิ ธภิ าพของ  ประสทิ ธภิ าพของรปู แบบการเคล่ือนไหวที่ รูปแบบการเคลื่อนไหวทส่ี ่งผลตอ่ การ ส่งผลต่อการเล่นกฬี าและกจิ กรรมใน เล่นกฬี าและกจิ กรรมในชีวิตประจาวนั ชีวติ ประจาวนั 4. ร่วมกจิ กรรมนนั ทนาการอยา่ งนอ้ ย  การนาประสบการณจ์ ากการร่วมกจิ กรรม 1 กจิ กรรม และนาความรู้และหลกั การ นันทนาการไปปรับใช้ในชีวติ ประจาวัน ท่ีได้ไปปรับใช้ในชวี ติ ประจาวันอยา่ ง เป็นระบบ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรยี นขนุ ตาลวิทยาคม

12 ชน้ั ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ม. 3 1. เลน่ กฬี าไทยและกีฬาสากล  เทคนิคและวธิ ีการเลน่ กีฬาไทยและกฬี า ม.4–ม.6 ได้อยา่ งละ 1 ชนดิ โดยใช้เทคนิค สากลที่เลือก เชน่ กรีฑาประเภทลู่และลาน ที่เหมาะสมกบั ตนเองและทีม วอลเลย์บอล บาสเกตบอล ดาบสองมือ เทนนสิ ตะกร้อข้ามตาขา่ ย ฟตุ บอล 2. นาหลกั การ ความรแู้ ละทักษะ ใน  การนาหลกั การ ความรู้ ทกั ษะในการ การเคลือ่ นไหว กจิ กรรมทางกาย การ เคลอ่ื นไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม การ เล่นกม และการเลน่ กีฬาไปใช้ เลน่ กฬี าไปใช้เป็นระบบสร้างเสรมิ สขุ ภาพอยา่ ง สร้างเสริมสขุ ภาพอย่างต่อเนื่อง ตอ่ เนอื่ ง เปน็ ระบบ 3. รว่ มกิจกรรมนนั ทนาการอย่างน้อย  การจัดกจิ กรรมนันทนาการแก่ผอู้ ื่น 1 กิจกรรมและนาหลักความรู้วิธีการไป ขยายผลการเรยี นรูใ้ หก้ บั ผู้อน่ื 1. วิเคราะหค์ วามคิดรวบยอดเกย่ี วกับ  ความคดิ รวบยอดเกยี่ วกับการเคล่ือนไหว การเคล่ือนไหวรปู แบบต่างๆ ในการ เล่นกีฬา รปู แบบต่าง ๆ ในการเล่นกีฬา  การวิเคราะห์ความคดิ รวบยอดเก่ยี วกับการ เคลอื่ นไหวรปู แบบตา่ งๆ ในการเลน่ กฬี า 2. ใช้ความสามารถของตน  การใช้ความสามารถของตนในการเล่นกีฬา เพอ่ื เพ่มิ ศกั ยภาพของทีมคานึงถงึ ผล เพอื่ เพมิ่ ศักยภาพของทมี โดยคานึงถงึ ผลที่เกดิ ทเ่ี กดิ ต่อผอู้ น่ื และสังคม ต่อผ้อู ื่นและสังคม 3. เลน่ กฬี าไทย กีฬาสากลประเภท  กีฬาประเภทบุคคล / คู่ ประเภททีม เช่น บุคคล / คู่ กีฬาประเภททีมได้อย่าง ฟตุ ซอล รกั บีฟ้ ตุ บอล ยมิ นาสติก ลลี าศ นอ้ ย 1 ชนิด ซอฟท์บอล เทนนิส เซปกั ตะกร้อ มวยไทย กระบ่ีกระบอง พลอง งา้ ว 4. แสดงการเคลอ่ื นไหวได้อย่าง สร้างสรรค์  การเคลือ่ นไหวท่ีสร้างสรรค์ เชน่ กิจกรรม เข้าจงั หวะ เชยี ร์ลดี เดอร์ 5. เขา้ ร่วมกจิ กรรมนันทนาการนอก  การนาหลักการและแนวคดิ ของกิจกรรม โรงเรียน และนาหลกั การแนวคิด นันทนาการไปปรับปรงุ และพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ไปปรับปรงุ และพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต ของตนและสังคม ของตนและสังคม เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรยี นขนุ ตาลวทิ ยาคม

13 สาระที่ 3 การเคลอ่ื นไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กฬี าไทย และกฬี าสากล มาตรฐาน พ 3.2 รกั การออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏบิ ัติเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ มีวินยั เคารพสทิ ธิ กฎ กตกิ า มีน้าใจนักกฬี า มจี ิตวญิ ญาณในการแขง่ ขัน และชื่นชม ในสุนทรียภาพของการกีฬา ชน้ั ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม. 1 1. อธิบายความสาคัญของการออก  ความสาคญั ของการออกกาลังกายและเล่น กาลังกายและเล่นกีฬา จนเปน็ วิถี กฬี า จนเปน็ วิถีชวี ิตท่มี ีสขุ ภาพดี ชวี ิตท่ีมสี ุขภาพดี  การออกกาลังกาย เชน่ กายบรหิ าร 2. ออกกาลังกายและเลือกเขา้ ร่วมเลน่ แบบตา่ งๆ เตน้ แอโรบกิ โยคะ รามวยจนี กีฬาตามความถนัด ความสนใจอย่าง  การเลน่ กีฬาไทย และกีฬาสากล เตม็ ความสามารถ พร้อมท้งั มีการ ทงั้ ประเภทบุคคลและทมี ประเมินการเลน่ ของตนและผู้อ่ืน  การประเมินการเล่นกีฬาของตนเองและ ผ้อู ่นื 3. ปฏิบตั ิตามกฎ กตกิ า และ  กฎ กติกา การเล่นเกมและการแข่งขัน ข้อตกลงตามชนิดกฬี าทเ่ี ลอื กเลน่ กีฬาที่เลือกเลน่ 4. วางแผนการรุกและการป้องกันใน  รูปแบบ วิธกี ารรกุ และป้องกันในการเล่น การเล่นกีฬาที่เลือกและนาไปใช้ในการ กีฬาท่ีเลือก เล่นอย่างเป็นระบบ 5. รว่ มมอื ในการเล่นกีฬา และการ  การเลน่ การแขง่ ขนั กฬี า และการทางาน ทางานเปน็ ทีมอย่างสนุกสนาน เปน็ ทมี 6. วิเคราะห์เปรยี บเทียบและยอมรับ  การยอมรับความสามารถและความ ความแตกตา่ งระหวา่ งวธิ ีการเล่นกีฬา แตกตา่ งระหว่างบคุ คลในการเลน่ กีฬา ของตนเองกับผอู้ ื่น ม. 2 1. อธบิ ายสาเหตกุ ารเปล่ยี นแปลงทาง  สาเหตกุ ารเปลยี่ นแปลงทางดา้ นร่างกาย กาย จติ ใจ อารมณ์ สังคม และ จติ ใจ อารมณ์ สังคม และสตปิ ัญญา จากการ สติปญั ญา ทเี่ กดิ จากการ ออกกาลงั กายและการเล่นกีฬาอยา่ งสมา่ เสมอ ออกกาลังกาย และเลน่ กฬี าเป็นประจา จนเปน็ วถิ ชี วี ติ จนเปน็ วิถีชวี ติ  การสร้างวถิ ีชวี ิตทมี่ ีสขุ ภาพดี โดยการ ออกกาลังกายและเล่นกฬี าเป็นประจา 2. เลอื กเข้าร่วมกิจกรรม  การออกกาลังกายและการเลน่ กีฬาไทย การออกกาลงั กาย เล่นกีฬาตาม กฬี าสากลท้ังประเภทบคุ คลและประเภททีม ความถนัดและความสนใจพร้อมท้ัง  การวเิ คราะหค์ วามแตกต่างระหวา่ งบุคคล วเิ คราะห์ความแตกต่างระหว่างบคุ คล เพือ่ เป็นแนวทางในการพัฒนาการรว่ มกิจกรรม เพ่อื เปน็ แนวทางในการพฒั นาตนเอง การออกกาลังกายและเล่นกีฬา 3. มีวินัย ปฏบิ ัติตามกฎ กตกิ า และ  วนิ ัยในการฝึก และการเล่นกฬี า ตามกฎ ขอ้ ตกลงในการเลน่ กฬี าทีเ่ ลอื ก กตกิ าและข้อตกลง เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นขนุ ตาลวิทยาคม

14 ช้นั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง 4. วางแผนการรกุ และการป้องกันใน  รปู แบบ กลวิธีการรุก การป้องกนั ในการ การเลน่ กีฬาที่เลือกและนาไปใช้ ใน เล่นกีฬาเปน็ ทีม การเลน่ อย่างเหมาะสมกับทีม  ประโยชน์ของการเลน่ และการทางาน เปน็ ทีม  หลกั การให้ความร่วมมือในการเล่น การแข่งขันกีฬาและการทางานเป็นทมี 5. นาผลการปฏบิ ัติในการเลน่ กีฬามา  การพฒั นาวธิ เี ลน่ กฬี าทเ่ี หมาะสมกับ สรุปเปน็ วิธีท่เี หมาะสมกบั ตนเองดว้ ย ตนเอง ความม่งุ ม่นั - การเลือกวิธเี ล่น - การแก้ไขข้อบกพรอ่ ง - การเพ่มิ ทักษะ  การสร้างแรงจูงใจและการสรา้ งความ มุ่งม่นั ในการเลน่ และแข่งขนั กีฬา ม. 3 1. มีมารยาทในการเล่นและดกู ีฬาด้วย  มารยาทในการเล่นและการดูกีฬาด้วย ความมนี ้าใจนักกีฬา ความมนี า้ ใจนักกีฬา 2. ออกกาลงั กายและเล่นกีฬาอย่าง  การออกาลังกายและการเลน่ กฬี าประเภท สมา่ เสมอและนาแนวคดิ หลักการจาก บคุ คล และประเภททีม การเลน่ ไปพัฒนาคุณภาพชีวติ ของตน  การนาประสบการณ์ แนวคิดจากการ ดว้ ยความภาคภูมใิ จ ออกกาลงั กายและเล่นกีฬาไปประยุกตใ์ ชใ้ นการ พฒั นาคุณภาพชวี ิต 3. ปฏิบัติตนตามกฎ กติกา และ  กฎ กติกาและข้อตกลงในการเล่นกฬี าที่ ข้อตกลงในการเล่นตามชนิดกีฬาท่ี เลือกเลน่ เลอื กและนาแนวคิดที่ได้ไปพัฒนา  การประยกุ ตป์ ระสบการณ์การปฏิบตั ิตาม คณุ ภาพชวี ติ ของตนในสงั คม กฎ กติกา ข้อตกลงในการเล่นกีฬาไปใชพ้ ฒั นา คุณภาพชวี ติ ของตนในสังคม 4. จาแนกกลวิธีการรุก การป้องกนั  วธิ กี ารประยกุ ตใ์ ช้กลวิธีการรุกและการ และใช้ในการเล่นกฬี าทเ่ี ลือกและ ปอ้ งกันในการเลน่ กฬี าไดต้ ามสถานการณ์ของ ตดั สินใจเลือกวิธที ี่เหมาะสมกับทมี ไป การเลน่ ใชไ้ ด้ตามสถานการณข์ องการเล่น 5. เสนอผลการพฒั นาสุขภาพของ  การพฒั นาสุขภาพตนเองทเี่ กดิ จากการออก ตนเองทีเ่ กิดจากการออกกาลังกาย กาลังกายและการเล่นกีฬาเป็นประจา และการเล่นกีฬาเปน็ ประจา เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรยี นขนุ ตาลวทิ ยาคม

15 ชน้ั ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง ม. 4–ม.6 1. ออกกาลังกายและเลน่ กฬี า  การออกกาลังกายด้วยวิธีทชี่ อบ เชน่ ทเ่ี หมาะสมกบั ตนเองอย่างสม่าเสมอ ฝึกกายบริหารแบบต่างๆ ขจี่ ักรยาน และใชค้ วามสามารถของตนเองเพิ่ม การออกกาลงั กายจากการทางาน ศกั ยภาพของทีม ลดความเป็นตัวตน ในชวี ิตประจาวัน การรากระบอง รามวยจีน คานงึ ถงึ ผลท่เี กิดต่อสังคม  การเล่นกฬี าประเภทบคุ คล และประเภท ทมี  การใชค้ วามสามารถของตนในการเพ่มิ ศักยภาพของทมี ในการเล่นกีฬาและการเล่นโดย คานงึ ถงึ ประโยชนต์ ่อสังคม  การวางแผนกาหนดกิจกรรมการออกกาลัง- กายและเล่นกีฬา 2. อธิบายและปฏิบัติเกยี่ วกับสทิ ธิ กฎ  สทิ ธิ กฎ กติกาการเล่นกฬี า กติกา กลวิธตี า่ งๆ ในระหว่างการเลน่  กลวธิ ี หลักการรุก การปอ้ งกันอยา่ ง การแขง่ ขันกีฬากับผอู้ ืน่ และนาไปสรุป สร้างสรรค์ในการเลน่ และแขง่ ขันกีฬา เปน็ แนวปฏิบตั ิและใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั  การนาประสบการณจ์ ากการเล่นกีฬาไปใช้ อยา่ งต่อเนอ่ื ง ในชีวติ ประจาวัน 3. แสดงออกถึงการมมี ารยาทในการดู  การปฏิบัตติ นในเร่อื งมารยาทในการดู การ การเล่นและการแข่งขนั กีฬา ด้วย เล่น การแขง่ ขัน ความมนี ้าใจนกั กฬี า ความมีน้าใจนักกีฬา และนาไปใช้  บคุ ลิกภาพทด่ี ี ปฏิบัติทุกโอกาส จนเป็นบุคลิกภาพทดี่ ี 4. รว่ มกิจกรรมทางกายและเล่นกฬี า  ความสุขท่ีไดจ้ ากการเขา้ ร่วมกิจกรรมทาง อยา่ งมีความสุข ชื่นชมในคุณค่าและ กาย และเล่นกีฬา ความงามของการกีฬา  คุณค่าและความงามของการกีฬา เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรยี นขุนตาลวิทยาคม

16 สาระท่ี 4 การสร้างเสริมสขุ ภาพ สมรรถภาพและการปอ้ งกันโรค มาตรฐาน พ 4.1 เหน็ คณุ คา่ และมที ักษะในการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ การดารงสุขภาพ การปอ้ งกนั โรค และการสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพเพื่อสุขภาพ ชั้น ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม. 1 1. เลือกกนิ อาหารที่เหมาะสมกับวยั  หลักการเลือกอาหารทีเ่ หมาะสมกบั วัย 2. วเิ คราะห์ปัญหาท่ีเกิดจากการ  ปญั หาที่เกิดจากภาวะโภชนาการ ภาวะโภชนาการทีม่ ีผลกระทบตอ่ - ภาวะ การขาดสารอาหาร สขุ ภาพ - ภาวะโภชนาการเกนิ 3. ควบคุมน้าหนกั ของตนเองให้อยู่  เกณฑ์มาตรฐานการเจริญเตบิ โตของเด็กไทย ในเกณฑ์มาตรฐาน  วิธีการควบคุมนา้ หนกั ของตนเองให้อยใู่ นเกณฑ์ มาตรฐาน 4. การสร้างเสรมิ และปรบั ปรุง  วิธที ดสอบสมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางกายตามผลการ  วธิ ีสร้างเสรมิ และปรบั ปรงุ สมรรถภาพ ทางกาย ทดสอบ ตามผลการทดสอบ ม. 2 1. เลือกใช้บรกิ ารทางสุขภาพอย่างมี  การเลอื กใชบ้ ริการทางสุขภาพ เหตผุ ล 2. วิเคราะหผ์ ลของการใช้เทคโนโลยี  ผลกระทบของเทคโนโลยี ทม่ี ตี อ่ สุขภาพ ทม่ี ตี อ่ สุขภาพ 3. วิเคราะหค์ วามเจรญิ ก้าวหนา้  ความเจรญิ กา้ วหนา้ ทางการแพทย์ทมี่ ผี ลต่อ ทางการแพทย์ที่มีผลตอ่ สุขภาพ สขุ ภาพ 4. วเิ คราะห์ความสัมพันธ์ของภาวะ  ความสมดลุ ระหว่างสุขภาพกายและสขุ ภาพจติ สมดลุ ระหวา่ งสขุ ภาพกายและ สขุ ภาพจติ 5. อธบิ ายลกั ษณะอาการเบอ้ื งต้น  ความสมดุลระหว่างสขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ของผ้มู ีปัญหาสุขภาพจติ 6. เสนอแนะวิธปี ฏบิ ตั ิตนเพื่อจดั การ  วิธีปฏิบัติตนเพือ่ จัดการกบั อารมณ์และ กับอารมณแ์ ละความเครยี ด ความเครียด 7. พัฒนาสมรรถภาพทางกายตนเอง  เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย ใหเ้ ป็นไปตามเกณฑท์ ่ีกาหนด  การพัฒนาสมรรถภาพทางกาย ม. 3 1. กาหนดรายการอาหารท่เี หมาะสม  การกาหนดรายการอาหารท่ีเหมาะสมกบั วัย กบั วัยต่าง ๆ โดยคานงึ ถึงความ ต่าง ๆ ประหยัดและคุณคา่ ทางโภชนาการ  วยั ทารก วยั เด็ก (วัยก่อนเรยี น วัยเรยี น) วัยรุน่ วยั ผู้ใหญ่ วัยสงู อายุ โดยคานึงถงึ ความประหยดั และคณุ ค่าทางโภชนาการ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนขุนตาลวิทยาคม

17 ชัน้ ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 2. เสนอแนวทางป้องกันโรคทเ่ี ป็น  โรคที่เป็นสาเหตสุ าคัญของการเจบ็ ป่วยและการ สาเหตุสาคญั ของการเจ็บป่วยและ ตายของคนไทย การตายของคนไทย โรคติดต่อ เช่น - โรคทีเ่ กดิ จากการมเี พศสมั พนั ธ์ - โรคเอดส์ - โรคไข้หวัดนก ฯลฯ โรคไมต่ ิดต่อ เชน่ - โรคหวั ใจ - โรคความดนั โลหติ สูง - เบาหวาน - มะเร็ง ฯลฯ 3. รวบรวมข้อมูลและเสนอแนวทาง  ปญั หาสขุ ภาพในชุมชน แกไ้ ขปัญหาสุขภาพในชุมชน  แนวทางแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชน 4. วางแผนและจดั เวลาในการออก  การวางแผนและจดั เวลาในการ กาลังกาย การพกั ผ่อนและการสรา้ ง ออกกาลงั กาย การพักผ่อน และการสร้างเสรมิ เสรมิ สมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางกาย 5. ทดสอบสมรรถภาพทางกาย และ  การทดสอบสมรรถภาพทางกายแบบต่าง ๆ และ พัฒนาได้ตามความแตกต่างระหวา่ งบุคคล การพฒั นาสมรรถภาพเพอื่ สุขภาพ ม.4– 1. วเิ คราะห์บทบาทและความ  บทบาทและความรับผดิ ชอบของบคุ คล ม.6 รับผดิ ชอบของบุคคลที่มตี ่อการสร้างเสริม ท่ีมีตอ่ การสร้างเสรมิ สุขภาพและการป้องกันโรคใน สขุ ภาพและการป้องกนั โรคในชุมชน ชุมชน 2. วิเคราะห์ อิทธิพลของส่อื โฆษณา  อิทธพิ ลของสอื่ โฆษณาเกี่ยวกบั สุขภาพ เกีย่ วกบั สขุ ภาพเพื่อการเลือกบรโิ ภค  แนวทางการเลือกบริโภคอย่างฉลาดและ ปลอดภัย 3. ปฏิบัตติ นตามสทิ ธขิ องผ้บู ริโภค  สิทธิพื้นฐานของผ้บู รโิ ภคและกฎหมายที่ เกีย่ วข้องกับการคมุ้ ครองผู้บริโภค 4. วเิ คราะห์สาเหตแุ ละเสนอแนว  สาเหตขุ องการเจ็บปว่ ยและการตายของคนไทย เช่น ทางการป้องกันการเจบ็ ปว่ ยและการ โรคจากการประกอบอาชีพ โรคทางพันธุกรรม ตายของคนไทย  แนวทางการป้องกนั การเจบ็ ปว่ ย 5. วางแผนและปฏบิ ัติตามแผนการ  การวางแผนการพัฒนาสุขภาพของตนเอง พฒั นาสุขภาพของตนเองและครอบครวั ครอบครวั 6. มีสว่ นร่วมในการส่งเสรมิ และ  การมีสว่ นรว่ มในการสง่ เสริมและพัฒนาสขุ ภาพ พฒั นาสุขภาพของบุคคลในชุมชน ของบุคคลในชมุ ชน 7. วางแผนและปฏิบตั ิตามแผน  การวางแผนพัฒนาสมรรถภาพทางกายและ การพฒั นาสมรรถภาพกายและ สมรรถภาพกลไก สมรรถภาพกลไก เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นขุนตาลวทิ ยาคม

18 สาระท่ี 5 ความปลอดภัยในชีวติ มาตรฐาน พ 5.1 ปอ้ งกนั และหลีกเล่ยี งปัจจัยเสยี่ ง พฤติกรรมเส่ยี งต่อสุขภาพ อบุ ัตเิ หตุ การใช้ยา สารเสพตดิ และความรุนแรง ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ม. 1 1. แสดงวิธปี ฐมพยาบาลและ  การปฐมพยาบาลและเคล่ือนย้ายผ้ปู ่วยอยา่ ง เคล่อื นย้ายผู้ป่วยอยา่ งปลอดภยั ปลอดภยั - เป็นลม - บาดแผล - ไฟไหม้ - กระดกู หัก - น้ารอ้ นลวก ฯลฯ 2. อธบิ ายลกั ษณะอาการของผตู้ ิดสาร  ลกั ษณะของผู้ตดิ สารเสพตดิ เสพตดิ และการป้องกนั การตดิ สารเสพ  อาการของผตู้ ิดสารเสพตดิ ตดิ  การปอ้ งกนั การตดิ สารเสพติด 3. อธิบายความสมั พันธข์ องการใชส้ าร  ความสมั พนั ธข์ องการใชส้ ารเสพติดกบั การ เสพตดิ กับการเกิดโรคและอบุ ัตเิ หตุ เกดิ โรค และอุบัตเิ หตุ 4. แสดงวิธกี ารชักชวนผอู้ ื่นใหล้ ด ละ  ทกั ษะที่ใชใ้ นการชกั ชวนผอู้ ่ืนให้ลด ละ เลิกสารเสพติด โดยใช้ทักษะต่าง ๆ เลิกสารเสพติด - ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ - ทักษะการสื่อสาร - ทกั ษะการตดั สินใจ - ทักษะการ แก้ปญั หา ฯลฯ ม. 2 1. ระบวุ ิธีการ ปัจจัยและแหล่งท่ี  วิธกี าร ปัจจัยและแหล่งท่ีชว่ ยเหลือ ฟื้นฟู ช่วยเหลือ ฟื้นฟูผู้ตดิ สารเสพติด ผตู้ ิดสารเสพตดิ 2. อธบิ ายวธิ ีการหลีกเลี่ยงพฤติกรรม  การหลกี เล่ยี งพฤตกิ รรมเสี่ยงและ เสยี่ งและสถานการณเ์ ส่ยี ง สถานการณ์เสีย่ ง - การมว่ั สุม - การทะเลาะวิวาท - การเข้าไปในแหลง่ อบายมุข - การแขง่ จกั รยานยนต์บนท้องถนน ฯลฯ 3. ใช้ทักษะชวี ติ ในการป้องกนั ตนเอง  ทักษะชวี ิตในการปอ้ งกนั ตนเอง (ทักษะ และหลกี เลย่ี งสถานการณ์คับขันที่อาจ ปฏเิ สธ ทักษะการต่อรอง ฯลฯ) และ นาไปสอู่ ันตราย หลกี เลยี่ งสถานการณค์ ับขนั ท่ีอาจนาไปสู่ อันตราย ม. 3 1. วเิ คราะหป์ จั จัยเส่ียง และพฤตกิ รรม  ปจั จยั เส่ียง และพฤตกิ รรมเสีย่ งตอ่ เสย่ี งทมี่ ผี ลต่อสุขภาพและแนวทาง สุขภาพ ป้องกนั  แนวทางการป้องกันความเสย่ี งตอ่ สขุ ภาพ 2. หลกี เลีย่ งการใชค้ วามรุนแรงและ  ปญั หาและผลกระทบจากการใช้ความ ชกั ชวนเพอื่ นให้หลกี เล่ียงการใช้ความ รุนแรง รนุ แรงในการแก้ปญั หา  วิธหี ลีกเล่ียงการใช้ความรุนแรง เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นขนุ ตาลวิทยาคม

19 ช้ัน ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ม.4–ม.6 3. 4. วเิ คราะห์อิทธพิ ลของส่อื ต่อ  อิทธิพลของส่ือต่อพฤตกิ รรมสขุ ภาพและ พฤติกรรมสุขภาพและความรุนแรง ความรนุ แรง (คลิปวิดโี อ การทะเลาะววิ าท อินเทอรเ์ นต็ เกม ฯลฯ) 5. วเิ คราะหค์ วามสัมพนั ธ์ของการด่มื  ความสัมพันธ์ของการดืม่ เคร่อื งด่ืมที่มี เครื่องดื่มทมี่ ีแอลกอฮอลต์ ่อสุขภาพ แอลกอฮอล์ตอ่ สุขภาพและการเกดิ อบุ ัตเิ หตุ และการเกิดอุบัติเหตุ 6. แสดงวิธีการช่วยฟ้นื คนื ชีพอย่างถกู  วิธีการช่วยฟนื้ คนื ชีพ วธิ ี 1. มสี ่วนร่วมในการปอ้ งกันความเสย่ี ง  การจัดกจิ กรรมป้องกนั ความเสี่ยงตอ่ การ ตอ่ การใชย้ า การใชส้ ารเสพติด และ ใช้ยา สารเสพติด และความรุนแรง ความรุนแรง เพ่ือสุขภาพของตนเอง ครอบครวั และสังคม 2. วเิ คราะหผ์ ลกระทบที่เกิดจากการ  การวเิ คราะห์ผลกระทบที่เกดิ จากการ ครอบครอง การใช้และการจาหนา่ ย ครอบครอง การใช้และการจาหน่ายสารเสพตดิ สารเสพตดิ (ตนเอง ครอบครวั เศรษฐกิจ สงั คม)  โทษทางกฎหมายท่ีเกิดจากการครอบครอง การใชแ้ ละการจาหนา่ ยสารเสพติด 3. วเิ คราะห์ปจั จยั ท่ีมีผลต่อสุขภาพ  ปัจจยั ทม่ี ีผลต่อสุขภาพของคนไทยและ หรือความรนุ แรงของคนไทยและเสนอ เสนอแนวทางป้องกนั แนวทางปอ้ งกนั 4. วางแผน กาหนดแนวทางลด  การวางแผน กาหนดแนวทางลดอบุ ัติเหตุ อบุ ัติเหตุ และสรา้ งเสริมความปลอดภยั และสร้างเสริมความปลอดภยั ในชุมชน ในชุมชน 5. มีส่วนรว่ มในการสร้างเสริมความ  กิจกรรมการสรา้ งเสริมความปลอดภัย ปลอดภยั ในชมุ ชน ในชมุ ชน 6. ใชท้ ักษะการตัดสนิ ใจแกป้ ัญหาใน  ทักษะการตัดสินใจแก้ปัญหาในสถานการณ์ สถานการณ์ทเ่ี ส่ียงตอ่ สุขภาพและ ท่ีเสี่ยงตอ่ สุขภาพ ความรุนแรง 7. แสดงวิธีการช่วยฟน้ื คนื ชีพอย่างถกู  วธิ ีการช่วยฟื้นคนื ชีพอย่างถูกวิธี วิธี เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนขนุ ตาลวทิ ยาคม

20 อภธิ านศัพท์ กลไกของร่างกายทใ่ี ช้ในการเคล่ือนไหว (Body Mechanism) กระบวนการตามธรรมชาติในการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายตามลักษณะโครงสร้าง หน้าที่ และการทางานร่วมกันของข้อต่อ กล้ามเน้ือ กระดูกและระบบประสาทท่ีเกี่ยวข้องภายใต้ ขอบข่าย เง่ือนไข หลักการ และปัจจัยด้านชีวกลศาสตร์ที่มีผลต่อการเคล่ือนไหว เช่น ความม่ันคง (Stability) ระบบคาน (Leverage) การเคลื่อน (Motion) และแรง (Force) การเคลื่อนไหวเฉพาะอยา่ ง (Specialized Movement) การผสมผสานกนั ระหว่างทักษะย่อยของทักษะการเคลื่อนไหวพ้ืนฐานต่าง ๆ การออกกาลังกาย การ เล่นเกม และการเล่นกีฬาต่าง ๆ ซ่ึงมีความจาเป็นสาหรับกิจกรรมทางกาย เช่น การขว้างลูกซอฟท์ บอล ต้องอาศัยการผสมผสานของทักษะการสไลด์ (การเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่) การขว้าง (การ เคลอื่ นไหวแบบประกอบอุปกรณ)์ การบดิ ตวั (การเคลือ่ นไหวแบบไมเ่ คลือ่ นท)่ี ทกั ษะท่ที าบางอยา่ งย่ิงมี ความซับซ้อนและตอ้ งใชก้ ารผสมผสานของทักษะการเคลื่อนไหวพน้ื ฐานหลาย ๆ ทกั ษะรวมกัน การเคลือ่ นไหวในชีวติ ประจาวัน (Daily Movement) รูปแบบหรือทักษะการเคลื่อนไหวร่างกายในอิริยาบถต่าง ๆ ที่บุคคลท่ัวไปใช้ในการดาเนินชีวิต ไมว่ ่าเพ่ือการประกอบกิจวตั รประจาวันการทางานการเดนิ ทางหรือกจิ กรรมอนื่ ๆ เช่น การยนื ก้ม นั่ง เดนิ วิ่ง โหนรถเมล์ ยกของหนกั ปนี ปา่ ย กระโดดลงจากท่ีสงู ฯลฯ การเคลอื่ นไหวพ้ืนฐาน (Fundamental Movements) ทักษะการเคล่ือนไหวร่างกายที่จาเป็นสาหรับชีวิตและการดาเนินชีวิตของมนุษย์ ในการปฏิบัติ กิจกรรมต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นทักษะที่มีการพัฒนาในช่วงวัยเด็ก และจะเป็นพ้ืนฐาน สาหรับการประกอบกิจกรรมต่าง ๆ เมือ่ เจริญวัยสูงข้ึน ตลอดจนเปน็ พ้ืนฐานของการ มคี วามสามารถใน การเคล่ือนไหว โดยเฉพาะอย่างย่ิงในการเล่นกีฬา การออกกาลังกาย และการประกอบกิจกรรม นนั ทนาการ การเคลือ่ นไหวพืน้ ฐาน สามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 3 ประเภท คือ 1. การเคล่ือนไหวแบบเคลื่อนท่ี (Locomotor Movement) หมายถึง ทักษะการเคล่ือนไหว ทใ่ี ช้ในการเคลื่อนร่างกายจากท่ีหนึง่ ไปยงั อีกท่ีหนึ่ง ได้แก่ การเดิน การว่ิง การกระโดด สลบั เท้า การ กระโจน การสไลด์ และการวิ่งควบม้า ฯลฯ หรือการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง เช่น การกระโดด ทักษะ การเคลื่อนไหวเหล่าน้ีเป็นพื้นฐานของการทางานประสานสัมพันธ์ทางกลไกแบบไม่ซับซ้อน และเป็นการ เคลื่อนไหวร่างกายท่ีใช้กลา้ มเน้ือมดั ใหญ่ 2. การเคล่ือนไหวแบบอยู่กับท่ี (Nonlocomotor Movement) หมายถึง ทักษะการ เคล่ือนไหวที่ปฏิบัติโดยร่างกายไม่มีการเคล่ือนที่ของร่างกาย ตัวอย่างเช่น การก้ม การเหยียด การผลัก และดนั การบิดตัว การโยกตัว การไกวตัว และการทรงตวั เป็นต้น 3. การเคล่ือนไหวแบบประกอบอุปกรณ์ (Manipulative Movement) เป็นทักษะการ เคล่ือนไหวท่ีมีการบังคับหรือควบคุมวัตถุ ซึ่งส่วนใหญ่จะเก่ียวข้องกับการใช้มือและเท้า แต่ส่วนอื่น ๆ ของรา่ งกายก็สามารถใช้ได้ เช่น การขว้าง การตี การเตะ การรบั เป็นต้น เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนขนุ ตาลวิทยาคม

21 การจดั การกับอารมณ์และความเครียด (Emotion and Stress Management) วิธีควบคุมอารมณ์ความเครียดและความคับข้องใจ ท่ีไม่เป็นอันตรายต่อตนเองและผู้อ่ืน แล้วลง มือปฏิบัติอย่างเหมาะสม เช่น ทาสมาธิ เล่นกีฬา การร่วมกิจกรรม นันทนาการ การคลายกล้ามเน้ือ (muscle relaxation) การชว่ ยฟนื้ คนื ชีพ (Cardiopulmonary Resuscitation = CPR) การช่วยชีวิตเบื้องต้นก่อนส่งต่อให้แพทย์ในกรณีผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้น โดยการนวดหัวใจและผาย ปอดไปพรอ้ ม ๆ กัน การดแู ลเบือ้ งตน้ (First Care) การให้การดูแลสขุ ภาพผู้ปว่ ยในระยะพักฟ้นื และ / หรอื การปฐมพยาบาล การพฒั นาทีย่ ั่งยนื (Sustainable Development) การพัฒนาที่เป็นองค์รวมของความเป็นมนุษย์ตามแนวทางของพระธรรมปิฏก (ประยุทธ์ ปยุตโต) เป็นการพัฒนาที่เป็นบูรณาการ คือ ทาให้เกิดเป็นองค์รวมหมายความว่า องค์ประกอบทั้งหลาย ที่เกยี่ วข้อง จะตอ้ งประสานกันครบท้ังร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คม และจิตวิญญาณ และมดี ุลยภาพ สอดคล้องกับกฎเกณฑข์ องธรรมชาติ การละเลน่ พื้นเมอื ง (Folk Plays) กิจกรรมเล่นด้ังเดิมของคนในชุมชนแตล่ ะทอ้ งถิน่ ซ่งึ เป็นส่วนหนึง่ ของการดาเนินชีวิตหรอื วิถชี ีวิต เพ่อื เป็นการผ่อนคลายอารมณ์ ความเครียด และสร้างเสริมให้มีกาลังกายแข็งแรง สติปัญญาดี จิตใจ เบิกบานสนุกสนาน อันก่อให้เกิดความสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม เช่น กิจกรรมการเล่นของชุมชนท้องถิ่น ว่ิงเป้ียว ชักเย่อ ข่ีม้าส่งเมือง ตีจับ มอญซ่อนผ้า รีๆข้าวสาร ว่ิง กระสอบ สะบ้า กระบก่ี ระบอง มวยไทย ตะกร้อวง ตะกรอ้ ลอดบว่ ง กิจกรรมเขา้ จังหวะ (Rhythmic Activities) การแสดงออกของร่างกาย โดยการเคล่ือนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายให้เข้ากับอัตราความ ช้า – เรว็ ของตัวโน้ต กจิ กรรมนันทนาการ (Recreation Activities) กิจกรรมท่ีบุคคลได้เลือกทาหรือเข้าร่วมด้วยความสมัครใจในเวลาว่าง และผลท่ีได้รับเป็นความ พงึ พอใจ ไม่เป็นภัยตอ่ สังคม กิจกรรมรับนา้ หนกั ตนเอง (Weight Bearing Activities) กจิ กรรมการออกกาลังกายที่มกี ารเคลื่อนไหวบนพื้น เชน่ การเดิน การวงิ่ การกระโดดเชือก ยิมนาสติก การเต้นราหรือการเต้นแอโรบิก โดยกล้ามเน้ือส่วนท่ีรับน้าหนักต้องออกแรงกระทากับ น้าหนักของตนเองในขณะปฏบิ ตั กิ ิจกรรม เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศึกษา โรงเรียนขุนตาลวทิ ยาคม

22 กีฬาไทย (Thai Sports) กีฬาที่มพี ื้นฐานเชื่อมโยงกับวถิ ชี วี ิตและวฒั นธรรมของท้องถิ่นและสังคมไทย เชน่ กระบ่กี ระบอง มวยไทย ตะกร้อ กฬี าสากล (International Sports) กีฬาที่เป็นที่ยอมรับจากมวลสมาชิกขององค์กรกีฬาระดับนานาชาติให้เป็นชนิดกีฬาท่ีบรรจุอยู่ใน เกมการแข่งขัน เชน่ ฟตุ บอล วอลเลย์บอล เทนนสิ แบดมนิ ตัน เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย (Physical Fitness Reference) ค่ามาตรฐานที่ได้กาหนดขึ้น (จากการศึกษาวิจัยและกระบวนการสถิติ) เพื่อเป็นดัชนีสาหรับ ประเมินเปรียบเทียบว่าบุคคลท่ีได้รับคะแนน หรือค่าตัวเลข (เวลา จานวน คร้ัง น้าหนกั ฯลฯ) จากการ ทดสอบสมรรถภาพทางกายแต่ละรายการทดสอบนั้น มีสมรรถภาพทางกายตามองค์ประกอบดังกล่าวอยู่ ในระดับคุณภาพใด โดยทั่วไปแล้วนิยมจัดทาเกณฑใ์ น 2 ลกั ษณะ คอื 1. เกณฑ์ปกติ (Norm Reference) เป็นเกณฑ์ท่ีจัดทาจากการศึกษากลุ่มประชากร ท่ีจาแนก ตามกลมุ่ เพศและวัย เปน็ หลกั สว่ นใหญแ่ ลว้ จะจดั ทาในลักษณะของเปอร์เซ็นไทล์ 2. เกณฑ์มาตรฐาน (Criterion Reference) เป็นระดับคะแนนหรือค่ามาตรฐานที่กาหนดไว้ ล่วงหน้า สาหรับแต่ละราย การทดสอบเพื่อเป็นเกณฑ์การตัดสินว่าบุคคลที่รับการทดสอบมีสมรรถภาพ หรือความสามารถผ่านตามเกณฑท์ ไ่ี ด้กาหนดไวห้ รือไม่ มไิ ดเ้ ป็นการเปรยี บเทียบกับบุคคลอื่น ๆ ความคิดรวบยอดเกี่ยวกบั การเคล่อื นไหว (Movement Concepts) ความสมั พันธร์ ะหว่างขนาด จงั หวะ เวลา พ้นื ท่ี และทิศทางในการเคลอ่ื นไหวร่างกาย ความเข้าใจถึงความเก่ียวข้องเชื่อมโยง และความพอเหมาะพอดีระหว่างขนาดของแรงที่ใช้ ใน การเคลือ่ นไหวร่างกายหรือวัตถุ ด้วยห้วงเวลา จงั หวะและทศิ ทางท่ีเหมาะสมภายใตข้ ้อจากัดของพ้ืนที่ท่ี มีอยู่ และสามารถแปรความเข้าใจดังกล่าวท้ังหมดไปสู่การปฏิบัติการเคลื่อนไหวในการเล่นหรือแข่งขัน กฬี า ความเสี่ยงตอ่ สุขภาพ (Health Risk) การประพฤติปฏิบัติท่ีอาจนาไปสู่การเกิดอันตรายต่อชีวิตและสุขภาพของตนเองและผอู้ ื่นเช่นการ ขับรถเร็ว การกนิ อาหารสุก ๆ ดบิ ๆ ความสาส่อนทางเพศ การมีนา้ หนักตวั เกิน การขาด การออกกาลัง กาย การสูบบุหรี่ การดม่ื สรุ า การใช้ยาและสารเสพตดิ คา่ นิยมทางสงั คม (Health Value) คุณสมบัติของสิ่งใดก็ตาม ซึ่งทาให้ส่ิงนั้นเป็นประโยชน์น่าสนใจ สิ่งท่ีบุคคลยึดถือในการ ตดั สนิ ใจและกาหนดการกระทาของตนเองเกี่ยวกับพฤตกิ รรมสขุ ภาพ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรยี นขุนตาลวทิ ยาคม

23 คุณภาพชวี ิต (Quality of Life) ความรับรู้หรือเข้าใจของปัจเจกบุคคลที่มีต่อสถานภาพชีวิตของตนเองภายใต้บริบทของระบบ วัฒนธรรมและค่านิยมท่ีเขาใช้ชีวิตอยู่ และมีความเชื่อมโยงกับจุดมุ่งหมาย ความคาดหวัง มาตรฐาน รวมท้ังความกังวลสนใจที่เขามีต่อส่ิงต่าง ๆ คุณภาพชีวิตเป็นมโนคติท่ีมีขอบเขตกว้างขวาง ครอบคลุม เร่ืองต่าง ๆ ที่สลับซับซ้อน ได้แก่ สุขภาพทางกาย สภาวะทางจิต ระดับความเป็นตัวของตัวเอง ความสัมพันธ์ตา่ ง ๆ ทางสงั คม ความเช่อื สว่ นบุคคล และสัมพันธภาพท่ดี ีตอ่ ส่ิงแวดล้อม จติ วญิ ญาณในการแข่งขนั (Competitive Spiritual) ความมุ่งม่ัน การทุ่มเทกาลังกาย กาลังใจ ความรู้ ความสามารถในการแข่งขัน และร่วมมือ อย่างสนั ตเิ ตม็ ความสามารถ เพ่ือให้ได้มาซึง่ ผลท่ตี นเองตอ้ งการ ทักษะชวี ิต (Life Skills) เป็นคุณลักษณะหรือความสามารถเชิงสังคมจิตวิทยา (Psychosocial Competence) และเป็น ความสามารถทางสติปัญญา ท่ีทุกคนจาเป็นต้องใช้ในการเผชิญสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนใน ชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถพัฒนาขึ้นได้ด้วยการฝึกและกระทาซ้า ๆ ให้เกิดความ คล่องแคล่ว เคยชินจนเป็นลักษณะนิสัย ประกอบด้วยทักษะต่าง ๆ ดังน้ี คือ การรู้จักตนเอง เข้าใจ ตนเองและเห็นคุณค่าของตนเอง การรู้จักคิดอย่างมีวิจารณญาณและคิดสร้างสรรค์ การรู้จักคิดตดั สินใจ และแก้ปัญหา การรู้จักแสวงหาและใช้ข้อมูลความรู้ การสื่อสารและการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อ่ืน การ จัดการกับอารมณ์และความเครียด การปรับตัวท่ามกลางการเปล่ียนแปลง การต้ังเป้าหมาย การวางแผน และดาเนนิ การตามแผน ความเห็นใจผ้อู ่นื ความรับผิดชอบตอ่ สงั คมและซาบซง้ึ ในสิ่งทีด่ งี ามรอบตัว ธงโภชนาการ (Nutrition Flag) เปน็ เครื่องมอื ทชี่ ว่ ยอธิบายและทาความเข้าใจโภชนบัญญตั ิ 9 ประการ เพอ่ื นาไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ โดย กาหนดเปน็ ภาพ “ธงปลายแหลม” แสดงกลุ่มอาหารและสัดส่วนการกินอาหารในแต่ละกลุ่ม มากน้อยตาม พื้นที่ สังเกตได้ชัดเจนว่า ฐานใหญ่ด้านบนเน้นให้กินมากและปลายธงข้างล่างบอกให้กินน้อย ๆ เท่าท่ี จาเป็นโดยมีฐานมาจากข้อปฏิบัติการบริโภคอาหารเพ่ือสุขภาพท่ีดีของคนไทย หรือโภชนบัญญัติ 9 ประการ คือ 1. กินอาหารครบ 5 หมู่ แตล่ ะหมใู่ ห้หลากหลายและหม่นั ดูแลนา้ หนักตัว 2. กินข้าวเป็นอาหารหลักสลบั กับอาหารประเภทแปง้ เปน็ บางม้อื 3. กนิ พชื ผกั ให้มากและกนิ ผลไมเ้ ป็นประจา 4. กนิ ปลา เนื้อสตั ว์ไมต่ ดิ มนั ไข่ และถั่วเมลด็ แห้งเป็นประจา 5. ดื่มนมใหเ้ หมาะสมตามวัย 6. กนิ อาหารที่มไี ขมนั แต่พอควร 7. หลกี เล่ยี งการกนิ อาหารรสหวานจัด และเคม็ จัด 8. กินอาหารท่ีสะอาด ปราศจากการปนเปอื้ น 9. งดหรอื ลดเคร่ืองดืม่ ทม่ี แี อลกอฮอล์ เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นขุนตาลวทิ ยาคม

24 น้าใจนักกีฬา (Spirit) เป็นคุณธรรมประจาใจของการเล่นร่วมกัน อยู่ร่วมกัน และมชี ีวิตอยู่ร่วมกันในสังคม ได้อย่าง ปกติสุขและมีประสิทธิภาพ พฤติกรรมทีแ่ สดงถงึ ความมีน้าใจนักกีฬา เชน่ การมีวินัย เคารพกฎกติกา รู้ แพ้ รชู้ นะ รู้อภัย บริการสขุ ภาพ (Health Service) บริการทางการแพทยแ์ ละสาธารณสุขท้ังของรัฐและเอกชน ประชาสงั คม (Civil Society) เครอื ข่าย กล่มุ ชมรม สมาคม มูลนิธิ สถาบัน องค์กร หรอื ชุมชนท่ีมกี จิ กรรมการเคลื่อนไหว ทางสงั คม เพื่อประโยชนร์ ว่ มกันของกลมุ่ ผลติ ภณั ฑส์ ุขภาพ (Health Products) ยา เครื่องสาอาง อาหารสาเรจ็ รปู เครื่องปรงุ รสอาหาร อาหารเสรมิ วิตามิน พฤตกิ รรมเบีย่ งเบนทางเพศ (Sex Abuse) การประพฤติปฏิบัติใด ๆ ที่ไม่เป็นไปตามธรรมชาติทางเพศตนเอง เช่น มีจิตใจรักชอบในเพศ เดียวกัน การแต่งตัวหรือแสดงกิรยิ าเป็นเพศตรงขา้ ม พฤตกิ รรมสขุ ภาพ (Health Behavior) การปฏบิ ัติหรอื กิจกรรมใด ๆ ในดา้ นการป้องกัน การสร้างเสรมิ การรักษาและการฟืน้ ฟสู ุขภาพ อนั มีผลต่อสภาวะทางสุขภาพของบุคคล พฤติกรรมเส่ียง (Risk Behavior) รปู แบบจาเพาะของพฤติกรรม ซงึ่ ได้รับการพสิ จู นแ์ ลว้ วา่ มีความสัมพันธก์ ับการเพมิ่ โอกาส ที่จะ ป่วยจากโรคบางชนิดหรือการเสื่อมสขุ ภาพมากขน้ึ พลงั ปญั ญา (Empowerment) กระบวนการสร้างเสริมศักยภาพแก่บุคคลและชุมชนให้เป็นผู้สนใจใฝ่รู้ และมีอานาจ ในการคิด การตัดสินใจ การแก้ปัญหาด้วยชุมชนเองได้เป็นส่วนใหญ่ นอกจากน้ันบุคคลและชุมชน ยัง สามารถควบคุมสภาพแวดล้อมท่ีมีผลกระทบต่อปัญหาสุขภาพให้อยู่ในสภาพท่ีเอื้อต่อการสร้างเสริมและ พัฒนาสขุ ภาพ ภาวะทพุ โภชนาการ (Malnutrition) การขาดสารอาหารท่ีจาเป็นต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็ก ทาให้มีผลกระทบต่อ สขุ ภาพ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนขนุ ตาลวทิ ยาคม

25 ภาวะผู้นา (Leadership) การมีคุณลักษณะในการเป็นหัวหน้า สามารถชักชวนและชี้นาสมาชิกในกลุ่มร่วมมือร่วมใจกัน ปฏิบัตงิ านให้สาเรจ็ ลุลว่ งไปดว้ ยดี ภูมิปญั ญาไทย (Thai Wisdom) สติปญั ญา องค์ความรู้และค่านิยมท่ีนามาใชใ้ นการดาเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม เป็นมรดกทาง วัฒนธรรมท่ีเกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ ความรู้แขนงต่าง ๆ ของบรรพชนไทยนั บแต่อดีต สอดคล้องกับวิถีชีวิต ภูมิปัญญาไทย จึงมีความสาคัญต่อการพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทย ทั้ง ดา้ นเศรษฐกจิ สังคม ลกั ษณะของภูมิปัญญาไทย มอี งคป์ ระกอบตอ่ ไปน้ี 1. คติ ความเชื่อ ความคิด หลักการทเ่ี ป็นพื้นฐานขององค์ความรู้ที่เกิดจากส่งั สมถ่ายทอดกันมา 2. ศิลปะ วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณี 3. การประกอบอาชีพในแตล่ ะทอ้ งถน่ิ ท่ไี ดร้ บั การพฒั นาให้เหมาะสมกับสมัย 4. แนวคิด หลักปฏิบัติ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ท่ีนามาใช้ในชุมชน ซึ่งเป็นอิทธิพลของ ความก้าวหน้าทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ตัวอยา่ งภมู ปิ ัญญาไทยทีเ่ กย่ี วข้องกบั สุขภาพ เช่นการแพทย์แผนไทย สมุนไพร อาหารไทย ยาไทย ฯลฯ แรงขบั ทางเพศ (Sex Drive) แรงขบั ทีเ่ กิดจากสญั ชาตญาณทางเพศ ลว่ งละเมดิ ทางเพศ (Sexual Abuse) การใช้คาพูด การจับ จูบ ลูบ คลา และ / หรือรว่ มเพศ โดยไมไ่ ด้รบั การยินยอมจาก ฝ่ายตรง ขา้ ม โดยเฉพาะกับผู้เยาว์ สติ (Conscious) ความรูส้ ึกตัวอยู่เสมอในการรับรู้สง่ิ ต่าง ๆ การให้หลักการและเหตุผลในการป้องกัน ยบั ยั้งชั่งใจ และควบคมุ ตนเองเพ่ือไม่ให้คิดผดิ ทาง ไม่หลงลมื ไม่เครยี ด ไม่ผิดพลาด กอ่ ให้เกิดพฤตกิ รรมทถี่ กู ตอ้ ง ดีงาม สมรรถภาพกลไก (Motor Fitness) หรือสมรรถภาพเชิงทักษะปฏิบัติ (Skill - Related Physical Fitness) ความสามารถของร่างกายที่ช่วยให้บุคคลสามารถประกอบกิจกรรมทางกาย โดยเฉพาะอย่างย่ิง การเล่นกฬี าไดด้ ี มีองคป์ ระกอบ 6 ด้าน ดงั น้ี 1. ความคล่อง (Agility) หมายถึง ความสามารถในการเปล่ียนทิศทางการเคล่ือนท่ีได้อย่าง รวดเรว็ และสามารถควบคมุ ได้ เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรยี นขนุ ตาลวิทยาคม

26 2. การทรงตัว (Balance) หมายถึง ความสามารถในการรักษาดุลของร่างกายเอาไว้ได้ทั้ง ในขณะอยกู่ ับท่แี ละเคล่ือนท่ี 3. การประสานสมั พันธ์ (Co – ordination) หมายถงึ ความสามารถในการเคล่อื นไหวได้อยา่ ง ราบร่ืน กลมกลนื และมีประสทิ ธิภาพ ซึง่ เปน็ การทางานประสานสอดคล้องกันระหวา่ งตา-มือ-เท้า 4. พลังกล้ามเนื้อ (Power) หมายถึง ความสามารถของกล้ามเน้ือส่วนหน่ึงส่วนใดหรือ หลาย ๆ ส่วนของร่างกายในการหดตัวเพื่อทางานด้วยความเร็วสูง แรงหรืองานท่ีได้เป็นผลรวมของ ความแข็งแรงและความเร็วที่ใช้ในช่วงระยะเวลานั้น ๆ เช่น การยืนอยู่กับท่ี กระโดด การทุ่มน้าหนัก เป็น ตน้ 5. เวลาปฏิกิริยาตอบสนอง (Reaction time) หมายถึง ระยะเวลาที่ร่างกายใช้ในการตอบสนอง ตอ่ ส่ิงเร้าตา่ ง ๆ เชน่ แสง เสียง สัมผัส 6. ความเรว็ (Speed) หมายถึง ความสามารถในการเคล่ือนทีจ่ ากที่หน่งึ ไปยังอกี หนึ่งไดอ้ ยา่ ง รวดเร็ว สมรรถภาพทางกาย (Physical Fitness) ความสามารถของระบบต่าง ๆ ของร่างกาย ในการทางานอย่างมีประสิทธภิ าพและประสิทธิผล บุคคลที่มีสมรรถภาพทางกายดีน้ันจะสามารถประกอบกิจกรรมในชีวิตประจาวันได้อย่างกระฉับกระเฉง โดยไม่เหน่ือยล้าจนเกินไปและยังมีพลังงานสารองมากพอ สาหรับกิจกรรมนันทนาการหรือกรณีฉุกเฉิน ในปัจจุบันนักวิชาชีพด้านสุขศึกษาและพลศึกษาได้เห็นพ้องต้องกันว่า สมรรถภาพทางกายสามารถจัด กลุ่มได้เป็นสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ (Health – Related Physical Fitness) และหรือ สมรรถภาพกลไก (Motor Fitness) สมรรถภาพเชิงทักษะปฏิบัติ (Skill – Related Physical Fitness) สมรรถภาพทางกายเพื่อสขุ ภาพ (Health – Related Physical Fitness) ความสามารถของระบบต่าง ๆ ในร่างกายประกอบด้วย ความสามารถเชิงสรรี วิทยาด้านต่าง ๆ ท่ีช่วยป้องกันบุคคลจากโรคท่ีมีสาเหตุจากภาวะ การขาดการออกกาลังกาย นับเป็นปัจจุบันหรือตัวบ่งชี้ สาคัญของการมีสุขภาพดี ความสามารถหรือสมรรถนะเหล่านี้ สามารถปรับปรุงพัฒนาและคงสภาพได้ โดย การออกกาลงั กายอย่างสม่าเสมอ สมรรถภาพทางกายเพอ่ื สขุ ภาพมีองคป์ ระกอบดงั น้ี 1. องค์ประกอบของร่างกาย (Body Composition) ตามปกติแล้วในร่างกายมนุษย์ ประกอบด้วย กล้ามเน้ือ กระดูก ไขมัน และส่วนอ่ืน ๆ แต่ในส่วนของสมรรถภาพทางกายนั้น หมายถึง สัดส่วนปริมาณไขมันในร่างกายกับมวลร่างกายที่ปราศจากไขมัน โดยการวัดออกมาเป็น เปอรเ์ ซ็นตไ์ ขมนั (% fat) ดว้ ยเครือ่ ง 2. ความทนทานของระบบไหลเวียนโลหิต (Cardiorespiratory Endurance) หมายถึง สมรรถนะเชิงปฏิบัติของระบบไหลเวียนโลหิต (หัวใจ หลอดเลือด) และระบบหายใจในการลาเลียง ออกซิเจนไปยังเซลล์กล้ามเนื้อ ทาให้ร่างกายสามารถยืนหยดั ท่ีจะทางานหรือออกกาลังกายที่ใชก้ ล้ามเน้ือ มัดใหญ่เปน็ ระยะเวลายาวนานได้ 3. ความอ่อนตัวหรือความยืดหยุ่น (Flexibility) หมายถงึ พิสัยของการเคลื่อนไหวสูงสุดเท่าที่ จะทาได้ของข้อต่อหรือกลมุ่ ข้อต่อ เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศึกษา โรงเรียนขุนตาลวิทยาคม

27 4. ความทนทานหรือความอดทนข องกล้ามเนื้อ (Muscular Endurance) หมายถึง ความสามารถของกล้ามเนื้อมัดใดมัดหนึ่งหรือกลุ่มกล้ามเน้ือ ในการหดตัวซ้า ๆ เพ่ือต้านแรงหรือ ความสามารถในการคงสภาพการหดตัวครง้ั เดยี วไดเ้ ป็นระยะเวลายาวนาน 5. ความแข็งแรงของกล้ามเน้ือ (Muscular Strength) หมายถึง ปริมาณสูงสุดของแรง ที่ กลา้ มเน้อื มัดใดมดั หนงึ่ หรือกลมุ่ กลา้ มเนื้อสามารถออกแรงต้านทานได้ ในช่วงการหดตวั 1 ครง้ั สขุ บัญญัติแหง่ ชาติ (National Health Disciplines) ขอ้ กาหนดทเี่ ด็กและเยาวชน ตลอดจนประชาชนท่ัวไป พงึ ปฏิบตั ิอยา่ งสมา่ เสมอ จนเป็นสุขนิสัย เพ่ือให้มสี ุขภาพดีท้งั ร่างกาย จติ ใจ และสังคม ซ่ึงกาหนดไว้ 10 ประการ ดงั นี้ 1. ดแู ลรกั ษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด 2. รกั ษาฟนั ให้แขง็ แรงและแปรงฟันทุกวนั อยา่ งถกู ต้อง 3. ลา้ งมือให้สะอาดกอ่ นกินอาหารและหลังการขบั ถ่าย 4. กินอาหารสกุ สะอาด ปราศจากสารอนั ตราย และหลกี เล่ยี งอาหารรสจัด สฉี ูดฉาด 5. งดบหุ ร่ี สรุ า สารเสพตดิ การพนนั และการสาสอ่ นทางเพศ 6. สรา้ งความสมั พนั ธใ์ นครอบครัวใหอ้ บอ่นุ 7. ป้องกันอุบัตภิ ยั ดว้ ยการไมป่ ระมาท 8. ออกกาลงั กายสม่าเสมอและตรวจสุขภาพประจาปี 9. ทาจิตใจให้ร่าเรงิ แจม่ ใสอยเู่ สมอ 10. มีสานกึ ต่อส่วนรวม ร่วมสร้างสรรคส์ ังคม สขุ ภาพ (Health) สุขภาวะ (Well – Being หรือ Wellness) ท่ีสมบูรณ์และเชื่อมโยงกันเป็นองค์รวมอย่างสมดุล ท้ังมิติทางจิตวิญญาณ (มโนธรรม) ทางสังคม ทางกาย และทางจิต ซ่ึงมิได้หมายถึงเฉพาะความ ไม่พิการและความไมม่ โี รคเทา่ นนั้ สุนทรียภาพของการเคลือ่ นไหว (Movement Aesthetic) ศิลปะและความงดงามของท่วงท่าในการเคล่ือนไหวร่างกายในอิริยาบถต่าง ๆ ซ่ึงเป็นผลมาจาก ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบท่าทางการเคลื่อนไหวและการฝึกฝนจนเกิดความชานาญ สามารถ แสดงออกมาเป็นความกลมกลืนและต่อเนอ่ื ง แอโรบิก (Aerobic) กระบวนการสร้างพลังงานแบบต้องใช้อากาศ ซ่ึงในที่นี้ หมายถึง ออกซิเจน (Aerobic - energe delivery) ในการสรา้ งพลังงานของกล้ามเน้ือ เพอื่ ทางานหรือเคลอื่ นไหว น้ัน กล้ามเน้ือจะมี วธิ ีการ 3 แบบทจี่ ะไดพ้ ลังงานมา แบบที่ 1 เป็นการใชพ้ ลังงานที่มสี ารองอย่ใู นกลา้ มเน้ือซ่งึ จะใช้ได้ในเวลาไม่เกนิ 3 วินาที แบบที่ 2 การสังเคราะห์พลังงานโดยไม่ใช้ออกซิเจน (Anaerobic energy delivery) ซ่งึ ใช้ได้ไมเ่ กิน 10 วนิ าที แบบที่ 3 การสงั เคราะหส์ ารพลังงาน โดยใชอ้ อกซิเจน ซง่ึ จะใช้พลงั งานได้ระยะเวลานาน เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นขนุ ตาลวทิ ยาคม

28 โครงสร้างหลักสูตรกลุม่ สาระการเรยี นรู้สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา โครงสรา้ งหลักสูตรรายวิชาพ้ืนฐาน ลาดับ รายวชิ า ชื่อวิชา ระดับชน้ั ภาคเรยี นท่ี หน่วยกติ /ชม. 1 พ21101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 1 ม.1 1 1.0 2 พ21102 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 2 ม.1 2 0.5 3 พ22101 สุขศึกษาและพลศึกษา 3 ม.2 1 0.5 4 พ22102 สุขศึกษาและพลศึกษา 4 ม.2 2 0.5 5 พ23101 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 5 ม.3 1 1.0 6 พ23102 สุขศึกษาและพลศึกษา 6 ม.3 2 1.0 13 พ31101 สุขศึกษา 1 ม.4 1 0.5 14 พ31102 สขุ ศกึ ษา 2 ม.4 2 0.5 15 พ32101 สุขศกึ ษา 3 ม.5 1 0.5 16 พ32102 สขุ ศึกษา 4 ม.5 2 0.5 17 พ33101 สุขศกึ ษา 5 ม.6 1 0.5 18 พ33102 สุขศึกษา 6 ม.6 2 0.5 โครงสร้างหลกั สูตรรายวิชาเพ่มิ เติม ลาดบั รายวิชา ชอ่ื วิชา ระดับช้ัน ภาค หนว่ ยกิต เรยี นท่ี /ชม. 1 พ31201 ฟุตบอล 1 ม.4 0.5 2 พ31202 ฟุตบอล 2 ม.4 1 0.5 3 พ32201 วอลเลยบ์ อล ม.5 2 0.5 4 พ32202 บาสเกตบอล ม.5 1 0.5 5 พ33201 เทเบลิ เทนนิส ม.6 2 0.5 6 พ33202 แบดมนิ ตนั ม.6 1 0.5 2 เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศึกษา โรงเรยี นขนุ ตาลวิทยาคม

29 การจดั ทาโครงสร้างรายวิชาพืน้ ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ุขศกึ ษาและพลศึกษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ระดบั ช้ัน ชื่อวชิ า ภาคเรียนที่ 1 ชอ่ื วิชา ภาคเรยี นที่ 2 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 รายวชิ า นก./ชม/ภาค รายวิชา นก./ชม/ภาค มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 สขุ ศกึ ษาและ พ 21101 1.0:40 สุขศึกษาและ พ 21102 0.5:20 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 พลศึกษา 1 พลศกึ ษา 2 พ 22101 0.5:20 พ 22102 1.0:40 สุขศึกษาและ สุขศึกษาและ พลศกึ ษา 3 พ 23101 0.5:20 พลศกึ ษา 4 พ 23102 1.0:40 สุขศกึ ษาและ สขุ ศกึ ษาและ พลศกึ ษา 5 พลศกึ ษา 6 เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนขุนตาลวทิ ยาคม

30 คาอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน วิชา พ21101 (สุขศึกษา และพลศกึ ษา 1) กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 40 ชวั่ โมง จานวน 1.0 หนว่ ยกติ ศึกษา วิเคราะห์ และอธิบายเกี่ยวกับความสาคัญของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อท่ี มีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุ่น วิธีการดูแลรักษาระบบประสาทและต่อมไร้ ท่อให้ทางานตามปกติ ภาวะ การเจริญเติบโตทางร่างกายของตนเองกับเกณฑ์มาตรฐาน วิธีปรับตัวต่อ การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ และพัฒนาการทางเพศอย่างเหมาะสม แสดงทักษะการ ปฏิเสธเพื่อป้องกันตนเองจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศ ความสามารถของตนเองตามหลักการ เคลื่อนไหวที่ใช้ทักษะกลไกและทักษะพื้นฐานท่ีนาไปสู่การพัฒนาทักษะการเล่นกีฬาไทยและกีฬาสากล ประเภทบุคคลและทีม โดยใช้ทักษะพน้ื ฐานตามชนิดกีฬา ร่วมกิจกรรมนนั ทนาการและนาหลักความรู้ที่ได้ ไปเช่ือมโยงสัมพันธ์กับวิชาอ่ืน ความสาคัญของการออกกาลังกาย และการเล่นกีฬา จนเป็นวิถีชีวิตท่ีมี สขุ ภาพดี ออกกาลงั กายและเลือกเขา้ ร่วมเลน่ กีฬาตามความถนดั ความสนใจอยา่ งเตม็ ความสามารถพร้อม ทงั้ มกี ารประเมนิ การเลน่ ของตนเองและผอู้ นื่ ปฏบิ ัตติ ามกฎ กติกาและข้อตกลงตามชนิดกีฬาท่ีเลอื กเลน่ โดยใช้กระบวนการการเรียนรู้แบบร่วมมือ สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ และอภิปรายเพื่อให้เกิด ความรู้ ความเข้าใจ สานึกในคุณค่าและศักยภาพของตนเอง เพ่ือให้สามารถสื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้และนา ประสบการณไ์ ปปรบั ใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์สูงสุดในการดาเนินชวี ิต มาตรฐานการเรียนรู้ พ 1.1 เข้าใจธรรมชาติของการเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของมนษุ ย์ ม.1/1 อธิบายความสาคัญของระบบประสาท และระบบต่อมไร้ท่อท่ีมีผลต่อสุขภาพ การ เจรญิ เตบิ โต และพัฒนาการของวยั รุ่น ม.1/2 อธบิ ายวธิ ดี ูแลรักษาระบบประสาท และระบบตอ่ มไรท้ ่อใหท้ างานตามปกติ ม.1/3 วิเคราะหภ์ าวะ การเจรญิ เตบิ โตทางรา่ งกายของตนเองกับเกณฑม์ าตรฐาน ม.1/4 แสวงหาแนวทางในการพฒั นาตนเองให้เจริญเตบิ โตสมวยั พ 2.1 เข้าใจและเห็นคณุ คา่ ตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทกั ษะในการดาเนิน ม.1/1 อธิบายวิธีการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายจิตใจ อารมณ์ และพัฒนาการทาง เพศอย่างเหมาะสม ม.1/2 แสดงทักษะการปฏเิ สธเพื่อป้องกนั ตนเองจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศ พ 3.1 เขา้ ใจ มที กั ษะในการเคล่ือนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา ม.1/1 เพิม่ พูนความสามารถของตน ตามหลกั การเคลอื่ นไหวทใ่ี ชท้ กั ษะกลไกและทกั ษะพน้ื ฐานท่ี นาไปส่กู ารพัฒนาทักษะการเล่นกฬี า ม.1/2 เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและทีมโดยใช้ทักษะพื้นฐานตามชนิดกีฬา อย่างละ 1 ชนดิ ม.1/3 ร่วมกิจกรรมนนั ทนาการอยา่ งน้อย 1 กิจกรรมและนาหลักความรู้ที่ได้ไปเชื่อมโยงสัมพันธ์ กับวิชาอ่นื เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนขุนตาลวิทยาคม

31 พ 3.2 รักการออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ มีวินัย เคารพ สทิ ธิ กฎ กติกา มนี า้ ใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน และช่นื ชม ในสุนทรียภาพของการกีฬา ม.1/1 อธิบายความสาคญั ของการออกกาลงั กายและเล่นกีฬา จนเปน็ วิถีชีวิตทีม่ ีสขุ ภาพดี ม.1/2 ออกกาลังกายและเลือกเข้าร่วมเล่นกีฬาตามความถนัด ความสนใจอย่างเต็มความสามารถ พรอ้ มท้ังมกี ารประเมนิ การเล่นของตนและผู้อนื่ ม.1/3 ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา และข้อตกลงตามชนิดกฬี าที่เลือกเลน่ รวมทงั้ หมด 11 ตัวช้ีวดั เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรยี นขุนตาลวิทยาคม

32 ชอื่ หนว่ ยการเรยี นรู้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน วิชา พ 21101 (สุขศึกษาและพลศกึ ษา 1) ประจาภาคเรียนท่ี 1 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ระบบประสาท และระบบต่อมไรท้ อ่ ต่อวัยรุ่น หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 วยั รุ่นกับภาวะ การเจรญิ เติบโตตามเกณฑ์มาตรฐาน หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 วยั รุ่นและพัฒนาการทางเพศ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 การป้องกันการถูกล่วงละเมิดทางเพศ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 ความรู้ทั่วไป เกยี่ วกับกีฬา หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 6 ทกั ษะตา่ งๆการเล่นกีฬา เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรยี นขุนตาลวิทยาคม

33 โครงสรา้ งรายวิชา วิชา พ21101 (สุขศึกษาและพลศกึ ษา 1 ) กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ประจาภาคเรียนท่ี 1 เวลา 40 ช่ัวโมง/ภาคเรียน จานวน 1.0 หน่วยกติ ลาดบั ชอ่ื หนว่ ย มาตรฐาน สาระสาคัญ เวลา น้าหนกั ท่ี การเรยี น การเรยี นรู้ (ช่วั โมง) คะแนน / ตัวชีว้ ัด 1 ระบบประสาท พ 1.1 การทางานของระบบประสาทและระบบต่อม ไร้ 5 13 และระบบตอ่ ม ม. 1/1 ท่อ มคี วามสาคัญและส่งผลต่อการเจรญิ เติบโต ไรท้ อ่ ต่อวัยรุน่ ม. 1/2 และพฒั นาการของวยั ร่นุ การดแู ลรกั ษาระบบ ประสาท และระบบต่อมไรท้ อ่ ใหท้ างานตามปกติ จะเป็นปัจจยั สาคญั ต่อ การเจรญิ เตบิ โตและ พฒั นาการท่ีสมวัย 2 วยั รุ่นกับภาวะ พ 1.1 วเิ คราะหภ์ าวะ การเจรญิ เตบิ โตทางร่างกาย 5 13 การเจรญิ เติบโต ม. 1/3 ของตนเองตามเกณฑม์ าตรฐาน และปจั จยั ที่ ตามเกณฑ์ ม. 1/4 เกี่ยวข้อง เพอื่ แสวงหาแนวทางที่เหมาะสมใน มาตรฐาน การพัฒนาตนเองใหเ้ จริญเตบิ โตสมวัย 3 วยั รุ่นและพฒั นา พ 2.1 วยั รุน่ มีลกั ษณะการเปลีย่ นแปลงทางรา่ งกาย 5 12 การทางเพศ ม. 1/1 จิตใจ อารมณ์ และพัฒนาการทางเพศอย่าง รวดเรว็ การมีความรแู้ ละสามารถอธบิ ายถงึ วิธกี ารปรับตัวต่อการเปล่ียนแปลงดงั กลา่ ว จะ ทาให้วยั รุน่ สามารถยอมรบั และปรบั ตัวไดอ้ ย่าง เหมาะสม ไม่กอ่ ใหเ้ กิดปญั หาการเบย่ี งเบนทาง เพศ 4 การป้องกันการ พ 2.1 ปญั หาการล่วงละเมดิ ทางเพศเป็นภยั ใกลต้ วั ที่ 5 12 ถูกลว่ งละเมดิ ทาง ม. 1/2 เกิดขึ้นได้ง่าย ดงั นัน้ เราควรรจู้ กั วธิ ีการปอ้ งกนั เพศ และมีทักษะการปฏเิ สธเพอื่ ปอ้ งกนั ตนเองให้พน้ จากการถูกลว่ งละเมดิ ทางเพศ 5 ความรทู้ ่ัวไป พ 3.1 ม. ความเปน็ มาของกฬี าการบริหารรา่ งกายในการ 4 20 เกี่ยวกบั กีฬา 1/1, ม.1/2, เลน่ กีฬา ม.1/3 6 ทกั ษะตา่ งๆการ พ 3.2 ม. ทักษะต่างๆของการเล่นกีฬา 15 30 เล่นกีฬา 1/1, ม.1/2, วอลเลย์บอล ม. รวมทัง้ สน้ิ 100 เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศึกษา โรงเรยี นขนุ ตาลวทิ ยาคม

34 คาอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน รายวิชา (สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 2) พ21102 กลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 20 ชวั่ โมง จานวน 0.5 หนว่ ยกติ ศึกษาหลักการเลือกอาหารที่เหมาะสมกับวัย ปัญหาท่ีเกิดจากภาวะโภชนาการภาวะ การขาด สารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน เกณฑ์มาตรฐานการเจริญเติบโตของเด็กไทย วธิ ีการควบคุมน้าหนักของ ตนเองให้อย่ใู นเกณฑ์มาตรฐาน วธิ ีทดสอบสมรรถภาพทางกาย วิธีสร้างเสรมิ และปรับปรุงสมรรถภาพทาง กายตามผลการทดสอบ ปฏิบัติการปฐมพยาบาลและเคลื่อนย้ายผู้ป่วยอย่างปลอดภัย เช่น เป็นลม บาดแผลไฟไหม้กระดกู หัก นา้ ร้อนลวก ฯลฯ ลักษณะของผู้ติดสารเสพติด อาการของผตู้ ิดสารเสพตดิ การปอ้ งกนั การติดสารเสพติด ความสัมพันธ์ของการใช้สารเสพติดกับการเกิดโรค และอุบัติเหตุทักษะท่ีใช้ในการชักชวนผู้อื่นให้ลด ละ เลิกสารเสพติดเช่น ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการส่ือสาร ทักษะการตัดสินใจ ทักษะการแก้ปัญหา ฯลฯ ศึกษาและฝึกทกั ษะการเลน่ กีฬาตามข้ันตอนโดยเนน้ พัฒนาตามศกั ยภาพของแตล่ ะบุคคล เพ่ือให้ มีความรู้ ความเข้าใจ แนวทางและมีการเสริมสร้างสมรรถภาพของตนเอง มีคุณธรรมและเห็นคุณค่าของ การเลน่ กฬี าและนาไปประยกุ ต์ให้เปน็ ประโยชนแ์ ก่ตนเองและส่วนรวม เห็นคุณค่าของการนาความความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิตสาธารณะ มีคุณธรรม จริยธรรมและคา่ นิยมที่เหมาะสม มาตรฐานการเรยี นรู้ พ 3.2 รักการออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้าใจนกั กีฬา มจี ติ วญิ ญาณในการแข่งขัน และช่ืนชม ในสุนทรียภาพของการกฬี า ม. 1/4 วางแผนการรุกและการป้องกันในการเล่นกีฬาที่เลือกและนาไปใชใ้ นการเล่นอย่างเป็นระบบ ม. 1/5 รว่ มมอื ในการเล่นกีฬา และการทางานเปน็ ทมี อยา่ งสนกุ สนาน ม. 1/6 วิเคราะห์เปรยี บเทียบและยอมรบั ความแตกต่างระหว่างวธิ ีการเล่นกีฬาของตนเองกับผู้อื่น พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดารงสุขภาพ การป้องกันโรค และการสร้าง เสรมิ สมรรถภาพเพือ่ สุขภาพ ม.1/1 เลือกกนิ อาหารทเ่ี หมาะสมกับวัย ม.1/2 วเิ คราะห์ปญั หาที่เกิดจากการภาวะโภชนาการทม่ี ีผลกระทบตอ่ สุขภาพ ม.1/3 ควบคมุ น้าหนกั ของตนเองใหอ้ ย่ใู นเกณฑ์มาตรฐาน ม.1/4 การสร้างเสรมิ และปรบั ปรงุ สมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบ พ 5.1 ป้องกนั และหลกี เลีย่ งปัจจัยเส่ียง พฤติกรรมเสย่ี งต่อสุขภาพ อบุ ัตเิ หตุ การใชย้ า สารเสพติด และ ความรุนแรง ม.1/1 แสดงวธิ ีปฐมพยาบาลและเคล่อื นยา้ ยผปู้ ว่ ยอยา่ งปลอดภยั ม.1/2 อธิบายลกั ษณะอาการของผูต้ ดิ สารเสพติดและการป้องกันการตดิ สารเสพตดิ ม.1/3 อธิบายความสมั พนั ธข์ องการใช้สารเสพตดิ กับการเกดิ โรคและอบุ ตั เิ หตุ ม.1/4 แสดงวิธกี ารชักชวนผ้อู ่ืนใหล้ ด ละ เลิกสารเสพติดโดยใชท้ กั ษะตา่ ง ๆ รวมทงั้ หมด 11 ตัวช้วี ัด เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นขุนตาลวิทยาคม

35 ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ วชิ า พ21102 (สุขศึกษาและพลศึกษา 2) ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ประจาภาคเรยี นที่ 2 เวลา 20 ช่ัวโมง/ภาคเรียน หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 วยั รุ่นกบั โภชนาการเพือ่ สร้างเสรมิ สขุ ภาพ หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 2 การปฐมพยาบาล และมหนั ตภัยจากสารเสพติด หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 ความรู้ท่ัวไปเก่ียวกบั กฬี า การบรหิ ารรา่ งกายทักษะการเล่นกีฬา เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนขนุ ตาลวิทยาคม

36 โครงสรา้ งรายวชิ า วิชา พ21102 (สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา2) กลุ่มสาระการเรยี นรู้สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ประจาภาคเรียนท่ี 2 เวลา 20 ชั่วโมง /ภาคเรียน จานวน 0.5 หน่วยกติ ลาดับ ช่ือหน่วย มาตรฐาน สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก ที่ การเรียน การเรยี นรู้ (ช่วั โมง) คะแนน / ตวั ชว้ี ดั 5 25 1 วัยรุน่ กับ พ 4.1 วยั รุน่ ควรสรา้ งสขุ นสิ ัยที่ดีในการเลือกรบั ประทานอาหาร 5 25 โภชนากา ม. 1/1 ท่ีมีประโยชนแ์ ละเหมาะสมตอ่ สุขภาพ เพราะการไดร้ บั 10 50 รเพื่อสรา้ ง ม. 1/2 สารอาหารมากเกนิ ไปหรอื นอ้ ยเกนิ ไป ยอ่ มทาให้เกดิ 20 100 เสรมิ ม. 1/3 ปัญหาโภชนาการ การมีความรคู้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกบั สุขภาพ ม. 1/4 อาหารและโภชนาการจะชว่ ยใหส้ ามารถเสรมิ สรา้ ง สุขภาพร่างกายใหเ้ จรญิ เตบิ โตสมวัยการวัดและการ ประเมนิ การเจรญิ เตบิ โต สามารถเทียบจากเกณฑ์การ เจริญเตบิ โตของเดก็ ไทย แล้วนาผลทไี่ ดม้ าควบคุม น้าหนกั ของตนเองให้อยใู่ นเกณฑม์ าตรฐาน และสามารถ สรา้ งเสรมิ และปรบั ปรุงสมรรถภาพทางกายตามผลการ ทดสอบ เพือ่ ให้การเจริญเติบโตเหมาะสมกับ ช่วงวัย 2 การปฐม พ 5.1 การปฐมพยาบาลและเคลื่อนยา้ ยผู้ป่วยเป็นการให้ พยาบาล ม. 1/1 ความชว่ ยเหลอื เบ้อื งตน้ จะทาใหผ้ ู้ป่วยไดร้ บั ความ และมหนั ต ม. 1/2 ปลอดภยั และง่ายตอ่ การรกั ษาเมื่อไปพบแพทย์ ภยั จาก ม. 1/3 การมีความรแู้ ละอธิบายได้ถงึ ลกั ษณะ อาการของ สารเสพ ม.1/4 ผู้ติดสารเสพตดิ ตลอดจนความสมั พนั ธ์ของการใชส้ าร ตดิ เสพติดกบั การเกดิ โรคและอบุ ตั ิเหตุ จะทาใหเ้ กดิ ความ เข้าใจและหา่ งไกลจากสารเสพตดิ และสรา้ งสงั คมที่ สงบสุขปลอดภัย 3 ความรู้ พ 3.2 ประวตั ิความเปน็ มาของกีฬา ประโยชนก์ ารเล่นกีฬา ท่วั ไป ม. 1/4 ม. มารยาทการเปน็ ผู้เล่น ผ้ดู ูท่ีดี หลกั การเพม่ิ พูน เก่ยี วกบั 1/5 ความสามารถในการเคลื่อนไหวที่ใชท้ ักษะกลไกและทกั ษะ กฬี า การ ม. 1/6 พ้นื ฐานท่ีนาไปสกู่ ารพฒั นาทักษะการเลน่ กฬี าปฏบิ ตั กิ าร บริหาร แข่งขันเลน่ ประเภทเดย่ี วและประเภททีม รา่ งกาย ทกั ษะการ เล่นกีฬา รวมทง้ั ส้นิ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรยี นขนุ ตาลวทิ ยาคม

37 คาอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน รายวิชา พ22101 (สุขศกึ ษา และพลศกึ ษา 3) กลุ่มสาระการเรยี นรู้สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 20 ชั่วโมง จานวน 0.5 หนว่ ยกติ ศึกษาการเปล่ียนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น ปัจจัยที่มี ผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา เช่น พันธุกรรม ส่ิงแวดล้อม การอบรมเลี้ยงดู ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อเจตคติในเรื่องเพศ เช่น ครอบครัว วัฒนธรรม เพื่อนและส่ือ ปัญหาและผลกระทบท่ีเกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน โรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ โรคเอดส์ การตั้งครรภ์โดยไมพ่ ึงประสงค์ ความสาคญั ของความเสมอภาคทางเพศ การวางตัว ต่อเพศตรงข้าม ปัญหาทางเพศ แนวทางการแก้ไขปัญหาทางเพศ มีทักษะและกระบวนการคิดต่อการ เปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการ เจริญเติบโตและพฒั นาการดา้ นร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญา ศึกษาและมีส่วนรว่ มในการปฏบิ ตั จิ ริงในกิจกรรมการออกกาลังกาย อยา่ งถกู ต้อง ปลอดภัยและ สนกุ เรยี นรู้การป้องกัน การแก้ไข การเสริมสรา้ งสขุ ภาพ เพ่ือใหร้ ู้หลักและวธิ กี ารออกกาลงั กายทถี่ ูกต้อง มี ทักษะการปฏบิ ัตจิ ริงในกิจกรรมกายบริหาร การออกกาลงั กายดว้ ยกจิ กรรมกรีฑา วธิ ีการออกกาลงั กายที่ ถูกต้อง มที ักษะและสมรรถภาพทางกายและทางจติ เห็นคุณค่าของการนาความความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิตสาธารณะ มีคุณธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นิยมที่เหมาะสม มาตรฐานการเรียนรู้ พ 1.1 เข้าใจธรรมชาตขิ องการเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของมนุษย์ ม.2/1 อธบิ ายการเปล่ยี นแปลงดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคม และสตปิ ญั ญาในวัยรุ่น ม.2/2 ระบุปัจจัยท่ีมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต และพัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสตปิ ญั ญา ในวัยรุน่ พ 2.1 เขา้ ใจและเหน็ คณุ ค่าตนเอง ครอบครวั เพศศึกษา และมที ักษะในการดาเนนิ ชวี ิต ม.2/1 วเิ คราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ เจตคตใิ นเร่อื งเพศ ม.2/2 วิเคราะหป์ ญั หาและผลกระทบท่เี กิดจากการมเี พศสัมพันธใ์ นวยั เรียน ม.2/3 อธิบายวิธีป้องกันตนเองและหลีกเลี่ยงจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เอดส์ และการ ต้ังครรภ์โดยไม่พึงประสงค์ ม.2/4 อธบิ ายความสาคญั ของความเสมอภาคทางเพศ และวางตวั ได้อยา่ งเหมาะสม พ 3.1 เขา้ ใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กจิ กรรมทางกาย การเล่นเกม และกฬี า ม.2/1 นาผลการปฏิบัติตนเก่ียวกับทักษะกลไกและทักษะการเคลื่อนไหวในการเล่นกีฬาจาก แหลง่ ขอ้ มลู ทห่ี ลากหลายมาสรปุ เป็นวิธที ่เี หมาะสมในบริบทของตนเอง ม.2/2 เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลทงั้ ประเภทบุคคลและทมี ไดอ้ ย่างละ 1 ชนิด เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศึกษา โรงเรยี นขนุ ตาลวิทยาคม

38 ม.2/3 เปรียบเทยี บประสิทธภิ าพของรปู แบบการเคล่ือนไหวที่ส่งผลต่อการเลน่ กีฬาและกจิ กรรม ในชีวิตประจาวัน ม.2/4 ร่วมกิจกรรมนันทนาการอยา่ งน้อย 1 กิจกรรม และนาความรู้และหลกั การที่ได้ไปปรับใช้ ในชีวติ ประจาวันอย่างเปน็ ระบบ พ 3.2 รักการออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ มีวินัย เคารพสทิ ธิ กฎ กตกิ า มีนา้ ใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแขง่ ขัน และชืน่ ชม ในสนุ ทรียภาพของการกฬี า ม.2/1 อธิบายสาเหตุการเปล่ียนแปลงทางกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ที่เกิดจาก การออกกาลังกาย และเล่นกีฬาเปน็ ประจาจนเป็นวถิ ีชีวติ ม.2/2 เลือกเข้าร่วมกิจกรรมการออกกาลังกาย เล่นกีฬาตามความถนัดและความสนใจพร้อมท้ัง วิเคราะห์ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล เพอื่ เป็นแนวทางในการพัฒนาตนเอง ม.2/3 มวี ินยั ปฏิบตั ติ ามกฎ กติกา และข้อตกลงในการเล่นกีฬาทเี่ ลือก รวมทงั้ หมด 13 ตัวช้ีวดั เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นขนุ ตาลวิทยาคม

39 ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ รายวชิ า พ22101 (สุขศกึ ษาและพลศึกษา 3) ช้ัน มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ประจาภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ช่ัวโมง/ภาคเรยี น หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 การเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของวัยรุน่ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 2 เพศกบั วยั รุ่น หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3 ความเสมอภาคทางเพศ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 ความรู้ทวั่ ไปเก่ยี วกับกรีฑา หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 กรีฑาประเภทลานและประเภทลู่ เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นขุนตาลวทิ ยาคม

40 โครงสร้างรายวชิ า รายวชิ า พ22101 (สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 3 ) กลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ประจาภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 ชั่วโมง /ภาคเรยี น จานวน 0.5 หน่วยกิต ลาดับ ชอ่ื หน่วย มาตรฐาน สาระสาคญั เวลา น้าหนัก ที่ การเรยี น ฃการเรียนรู้ / (ชว่ั โมง) คะแนน ตัวชีว้ ดั 1 การเจรญิ เตบิ โต พ 1.1 ม.2/1 ม. พันธกุ รรม ส่ิงแวดลอ้ ม และการอบรมเล้ียงดู 3 15 และพฒั นาการ 2/2 เปน็ ปจั จัยสาคญั ทสี่ ่งผลตอ่ การเจรญิ เติบโต ของวัยรุ่น และพัฒนาการทางดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคม และสตปิ ญั ญาในวยั รุ่น 2 เพศกับวยั ร่นุ พ 2.1 ม.2/1 ม. การศกึ ษาวเิ คราะหป์ จั จัยท่มี อี ิทธพิ ลตอ่ เจตคติ 4 20 2/2 ในเรื่องเพศ จะทาให้ทราบปญั หาและผล กระทบท่ีเกิดจากการมเี พศสัมพันธ์ในวัยเรียน ม.2/3 และทาใหส้ ามารถปอ้ งกนั ตนเองเรอ่ื งเพศได้ อย่างถูกตอ้ ง เหมาะสม 3 ความเสมอภาค พ 2.1 ม.2/4 ความเสมอภาคทางเพศ มคี วามสาคัญตอ่ การ 3 15 ทางเพศ ดารงชีวิตในสังคมชว่ ยใหส้ ามารถวางตัวได้ 20 อย่างเหมาะสมกับเพศตรงขา้ ม และสอดคล้อง กบั คา่ นิยมของสงั คมไทย ตลอดจนชว่ ยหา แนวทางในการแก้ไขปญั หาทางเพศ ท่เี กิดข้ึน ในสังคม 4 ความรู้ท่วั ไป พ 3.1 ม. 2/1 ม. ความหมาย ขอบข่าย ประโยชน์ การปฏบิ ตั ติ น 5 2/2ม. 2/3 ม. เกย่ี วกบั กรฑี า 2/4 ใหเ้ ปน็ ผเู้ ล่นและผดู้ ทู ่ีดี การเลน่ กรฑี าด้วยความ ปลอดภัย พรอ้ มทัง้ การเตรยี มความพรอ้ มก่อน 5 กรีฑาประเภท พ 3.2 ม.2/1 การเล่นกรีฑา 5 30 ม.2/2 ม.2/3 ลานและ ม.2/4 ม.2/5 การฝึกการจบั จักร จับแหลน ลกู ท่มุ น้าหนกั ประเภทลู่ และการว่งิ กระโดดไกล ท่ถี ูกวธิ ี การยืน เตรยี มตัวกอ่ นขวา้ ง การหมุนตวั และการวิง่ วง่ิ กระโดดไกล การยืนในท่าทีก่ ่อทกี่ ่อให้เกดิ แรงสง่ สงู สดุ การปล่อยจกั ร การทุ่มลูกน้า หนกั การพ่งุ แหลน และว่ิงกระโดดไกล การ ทรงตัวเมอื่ ขว้างจักร พุง่ แหลน ทุม่ น้าหนัก ออกไปแลว้ รวมทั้งส้ิน 20 100 เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นขุนตาลวทิ ยาคม

41 คาอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน วชิ า พ22102 (สุขศึกษาและพลศึกษา 4) กล่มุ สาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชัว่ โมง จานวน 1.0 หนว่ ยกิต ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับการเลือกใช้บริการทางสุขภาพ ผลกระทบของเทคโนโลยีท่ีมีต่อ สุขภาพ ความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ท่ีมีผลต่อสุขภาพ ความสมดุลระหว่างสุขภาพกายและ สุขภาพจิต ลักษณะอาการเบื้องต้นของผู้มีปัญหาสุขภาพจิต การจัดการกับอารมณ์และความเครียด เกณฑ์และการพัฒนาสมรรถภาพทางกาย วิธีการ ปัจจัยและแหล่งช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด การ หลกี เลีย่ งพฤติกรรมเสยี่ งและสถานการณ์เส่ียง ทกั ษะชีวติ ในการปอ้ งกนั ตนเอง และหลกี เลยี่ งสถานการณ์ คับขัน ท่ีอาจนาไปสู่อันตราย การนาประสบการณ์จากการร่วมกิจกรรมนันทนาการไปใช้ใน ชีวิตประจาวัน การเปลี่ยนแปลงทางกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญาที่เกิดจากการออกกาลัง กายและเลน่ กีฬา วิเคราะหค์ วามแตกต่างระหว่างบคุ คลเพื่อเปน็ แนวทางในการพัฒนาตนเอง วินยั ในการ ฝึก ปฏิบัติตามกฎ กติกา ข้อตกลง กลวิธีการรุก และการป้องกนั ในการเล่นกีฬาเป็นทีม การพัฒนา วธิ กี ารเลน่ กีฬาท่เี หมาะสมกับตนเอง การสรา้ งแรงจูงใจและความมุ่งมั่นในการเล่นและแข่งขันกฬี า โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ การสืบค้นข้อมูล การอภิปราย การสรุปองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะปฏิเสธ ทักษะการต่อรอง และทักษะปฏิบัติเพื่อให้มี ความรู้ ความเข้าใจ วางแผนการรุกและการป้องกันใน การเล่นกีฬาที่เลือกและนาไปใช้ใน การเล่น อย่างเป็นระบบร่วมมือในการเล่นกีฬา และ การทางานเป็นทีมอย่างสนุกสนานวิเคราะห์เปรียบเทียบและ ยอมรบั ความแตกต่างระหว่างวิธกี ารเลน่ กีฬาของตนเองกับผอู้ น่ื มาตรฐานการเรยี นรู้ พ 3.2 รักการออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้าใจนกั กฬี า มจี ิตวิญญาณในการแขง่ ขัน และช่นื ชม ในสนุ ทรยี ภาพของการกีฬา ม.2/4 วางแผนการรุกและการป้องกันในการเล่นกีฬาท่ีเลือกและนาไปใช้ ในการเล่นอย่าง เหมาะสมกับทมี ม.2/5 นาผลการปฏิบตั ิในการเล่นกีฬามาสรปุ เป็นวธิ ีที่เหมาะสมกับตนเองด้วยความมุ่งมนั่ พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดารงสุขภาพ การป้องกันโรค และการ สรา้ งเสริมสมรรถภาพเพ่อื สุขภาพ ม.2/1 เลอื กใช้บรกิ ารทางสุขภาพอย่างมีเหตผุ ล ม.2/2 วิเคราะห์ผลของการใชเ้ ทคโนโลยที ม่ี ีต่อสขุ ภาพ ม.2/3 วเิ คราะหค์ วามเจรญิ กา้ วหนา้ ทางการแพทย์ท่ีมีผลต่อสุขภาพ ม.2/4 วเิ คราะห์ความสัมพันธข์ องภาวะสมดลุ ระหว่างสุขภาพกายและสุขภาพจิต ม.2/5 อธิบายลักษณะอาการเบื้องต้นของผู้มีปัญหาสุขภาพจติ ม.2/6 เสนอแนะวิธปี ฏิบตั ิตนเพือ่ จัดการกับอารมณแ์ ละความเครียด ม.2/7 พัฒนาสมรรถภาพทางกายตนเองให้เปน็ ไปตามเกณฑ์ทกี่ าหนด เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศึกษา โรงเรยี นขนุ ตาลวิทยาคม

42 พ 5.1 ป้องกันและหลกี เล่ียงปัจจัยเส่ียง พฤติกรรมเส่ียงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใชย้ า สารเสพติด และ ความรนุ แรง ม.2/1 ระบวุ ธิ ีการ ปัจจัยและแหลง่ ที่ชว่ ยเหลอื ฟน้ื ฟผู ู้ตดิ สารเสพติด ม.2/2 อธิบายวิธกี ารหลีกเลย่ี งพฤติกรรมเส่ียงและสถานการณเ์ สี่ยง ม.2/3 ใช้ทักษะชีวิตในการปอ้ งกันตนเองและหลกี เล่ยี งสถานการณค์ บั ขันท่ีอาจนาไปสู่อนั ตราย รวมทง้ั หมด 12 ตัวช้ีวัด เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนขุนตาลวทิ ยาคม

43 ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรู้ วชิ า พ22102 (สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 4) ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 ประจาภาคเรยี นที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง/ภาคเรยี น หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 สขุ ภาพกายและสุขภาพจติ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 การเลือกใช้บริการสุขภาพในชีวิตประจาวันและความเจริญก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีทางสขุ ภาพ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 สารเสพติดและพฤตกิ รรมเสี่ยง หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 การเคล่ือนไหว และทักษะการเล่นกฬี า เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศึกษา โรงเรยี นขนุ ตาลวทิ ยาคม

44 โครงสรา้ งรายวชิ า วิชา พ22103 (สุขศึกษาและพลศกึ ษา 4) กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 2 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 40 ช่ัวโมง จานวน 1.0 หน่วยกติ ลาดบั ชื่อหน่วย มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนัก ที่ การเรยี น เรยี นรู้ / (ช่วั โมง) คะแนน ตัวช้วี ดั 1 สุขภาพกาย พ 4.1 ม.2/4 สุขภาพกายและสุขภาพจิตมคี วามสัมพันธ์กัน จึง 10 20 และสขุ ภาพจติ ม.2/5 ม.2/6 ควร ม.2/7 รู้จักวิเคราะหค์ วามสัมพันธ์ของภาวะสมดลุ ท้ัง 2 ดา้ น เพื่อใหส้ ามารถปฏบิ ตั ิตนในการสร้างเสรมิ สขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ทดี่ ีได้ การทดสอบ สมรรถภาพทางกายช่วยให้แตล่ ะบคุ คลสามารถ พฒั นาสมรรถภาพทางกายความรคู้ วามเขา้ ใจ เกย่ี วกับอารมณแ์ ละความเครียด ตลอดจนมีวธิ กี าร จดั การกับอารมณ์และความเครียด อยา่ งเหมาะสม 2 การเลอื กใช้บรกิ าร พ 4.1 ม.2/1 การสถานบรกิ ารสุขภาพทเ่ี หมาะสมและมีคณุ ภาพ 5 15 สขุ ภาพในชีวติ ม.2/2 15 ประจาวนั และ ม.2/3 เพือ่ ใหไ้ ด้รบั การบรกิ ารสขุ ภาพทีด่ แี ละเหมาะสม ความเจรญิ การรู้จกั เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างชาญฉลาดจะช่วย กา้ วหน้าทาง ให้ปลอดภยั และใชป้ ระโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งเต็ม8 เทคโนโลยีทาง ประสิทธภิ าพ สุขภาพ 3 สารเสพตดิ และ พ 5.1 ม.2/1 การเรยี นรู้เก่ยี วกับวิธีการ ปัจจยั และแหล่งท่ี 5 พฤติกรรมเส่ยี ง ม.2/2 ม.2/3 ชว่ ยเหลอื ฟืน้ ฟูผูท้ ีต่ ดิ สารเสพตดิ วิธีหลกี เลยี่ งและใช้ ทักษะในการปอ้ งกันตนเองท่ีเหมาะสมกบั สถานการณ์ที่เกดิ ขึน้ 4 การเคลอ่ื นไหว พ 3.2 การเคลื่อนไหว และทกั ษะการเลน่ กฬี ากีฬา 20 20 และทักษะการ ม. 2/4 ม. กลวธิ กี ารรุกการรบั และการเลน่ ทมี เล่นกฬี า 2/5 รวมท้งั สน้ิ 40 100 เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรยี นขนุ ตาลวิทยาคม

45 คาอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน วิชา พ23101 (สุขศกึ ษาและพลศึกษา 5 ) กล่มุ สาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 20 ชัว่ โมง จานวน 0.5 หนว่ ยกิต ศกึ ษาการเปลีย่ นแปลง ด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในแตล่ ะวัย คือ วัยทารก วัยก่อนเรียน วัยเรียน วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ วัยสูงอายุ อิทธิพลและความคาดหวังของสังคมที่มีต่อการ เปล่ียนแปลงของวัยรุ่น สื่อ โฆษณา ท่ีมีอิทธิพลต่อการเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของวัยรุ่น เช่น โทรทัศน์ วิทยุ สื่อส่ิงพิมพ์ อินเทอร์เน็ต องค์ประกอบของอนามัยเจริญพันธุ์ได้แก่ อนามัยแม่และเด็ก การวางแผน ครอบครัว ปัจจัยท่ีมีผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ เช่น แอลกอฮอล์ สารเสพติด บุหรี่ สภาพแวดล้อม การติด เชื้อ โรคทเ่ี กิดจากภาวการณ์ตั้งครรภ์ สาเหตุความขัดแยง้ ในครอบครัว แนวทางปอ้ งกัน แกไ้ ขความขัดแย้ง ในครอบครัว ศึกษาพัฒนาการเกี่ยวกับการเล่นและฝึกทักษะการบริหารร่างกาย ทักษะการเคล่ือนไหว วิธีการเล่นในตาแหน่งต่าง ๆ กติกา มารยาท วิธีเล่น การเคลื่อนไหว การออกกาลังกาย ฝึกปฏิบัติ เก่ียวกับการเคล่ือนไหวร่างกายในการออกกาลังกาย ทักษะการเล่นกีฬาประเภททีม และอ่ืน ๆ อย่าง ถกู ต้อง ปลอดภัยและสนุกสนาน พร้อมกับให้ผู้เรียนรู้การป้องกัน การแก้ไข การเสรมิ สร้างสขุ ภาพ เพอ่ื ให้รู้ หลักและวิธีการออกกาลังกายท่ี ถูกต้อง มีทักษะ มีสมรรถภาพทางกายและจิต มีระเบียบวินัย เห็นคุณค่า และปฏิบตั ิในชวี ิตประจาวันโดยเน้นพฒั นาการตามศักยภาพของแต่ละบุคคล เพ่ือให้เกดิ ความรู้ความเข้าใจ และหาแนวทางในการเสริมสร้างสมรรถภาพทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจตนเอง อีกทั้งมีคุณธรรม จริยธรรมท่ีดี การมีน้าใจเป็นนักกีฬา เห็นคุณค่าและนากระบวนการเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ ต่อตนเองและสว่ นรวม มาตรฐานการเรยี นรู้ พ 1.1 เข้าใจธรรมชาตขิ องการเจริญเติบโตและพฒั นาการของมนษุ ย์ ม.3/1 เปรียบเทียบการเปล่ียนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา แต่ ละช่วงของชีวติ ม.3/2 วเิ คราะห์อทิ ธิพลและความคาดหวงั ของสังคมต่อการเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น ม.3/3 วเิ คราะห์ สือ่ โฆษณา ท่ีมอี ิทธิพลต่อการเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของวัยร่นุ พ 2.1 เขา้ ใจและเหน็ คณุ ค่าตนเอง ครอบครวั เพศศึกษา และมีทักษะในการดาเนินชีวิต ม.3/1 เปรียบเทียบการเปล่ียนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา แต่ ละชว่ ง ของชีวิต ม.3/2 วิเคราะห์อทิ ธิพลและความคาดหวังของสงั คมต่อการเปลยี่ นแปลงของวัยรุ่น ม.3/3 วเิ คราะห์ ส่ือ โฆษณา ทม่ี ีอทิ ธิพลต่อการเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของวยั ร่นุ พ 3.1 เข้าใจมีทักษะในการเคลอื่ นไหวกิจกรรมทางกายการเลน่ เกมและกีฬา ม. 3/1 เล่นกฬี าไทยและกีฬาสากลไดอ้ ย่างละ 1 ชนดิ โดยใช้เทคนคิ ท่ีเหมาะสมกับตนเองและทีม ม. 3/2 นาหลักการ ความรู้และทักษะ ในการเคล่ือนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นกม และ การเลน่ กีฬาไปใชส้ ร้างเสริมสขุ ภาพอยา่ งตอ่ เน่อื งเปน็ ระบบ เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนขนุ ตาลวิทยาคม

46 ม. 3/3 ร่วมกิจกรรมนันทนาการอย่างน้อย 1 กิจกรรมและนาหลักความรู้วิธีการไปขยายผล การเรยี นรใู้ ห้กบั ผอู้ ่ืน พ 3.2 รักการออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กตกิ า มนี ้าใจนกั กฬี า มีจติ วิญญาณในการแข่งขัน และชื่นชม ในสุนทรียภาพของการกีฬา ม. 3/1 มมี ารยาทในการเล่นและดกู ฬี าด้วยความมนี า้ ใจนักกฬี า ม. 3/2 ออกกาลังกายและเล่นกีฬาอย่างสม่าเสมอและนาแนวคิดหลักการจากการเล่นไปพัฒนา คุณภาพชีวิตของตน ม. 3/3 ปฏิบัติตนตามกฎ กติกา และข้อตกลงในการเล่นตามชนิดกีฬาทเ่ี ลอื กและนาแนวคดิ ท่ีได้ ไปพัฒนาคุณภาพชีวิต ของตนในสังคม ม. 3/4 จาแนกกลวิธีการรุก การป้องกัน และใช้ในการเล่นกีฬาท่ีเลือกและตัดสินใจเลือกวิธีท่ี เหมาะสมกับทีมไปใชไ้ ด้ตามสถานการณ์ของการเลน่ ม. 3/5 เสนอผลการพัฒนาสุขภาพของตนเองที่เกิดจากการออกกาลังกาย และการเล่นกีฬาเป็น ประจา รวมทั้งหมด 14 ตัวชี้วัด เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนขนุ ตาลวทิ ยาคม

47 ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ วชิ า พ23101 (สุขศกึ ษา และพลศึกษา 5) ชั้น มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ประจาภาคเรยี นที่ 1 เวลา 20 ชั่วโมง/ภาคเรียน หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 การเปล่ยี นแปลงในแตล่ ะช่วงวยั อทิ ธพิ ลตอ่ การเปลย่ี นแปลงและ พัฒนาการของวยั รุน่ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 อนามัยเจริญพนั ธุ์ และปจั จัยที่มีผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 ความขัดแยง้ ในครอบครัว หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 การบริหารร่างกาย การทรงตวั และการเคล่อื นไหวเบ้ืองตน้ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 การแข่งขนั เป็นทมี เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนขุนตาลวิทยาคม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook