Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรโรงเรียนบ้านปรอผาโด้

หลักสูตรโรงเรียนบ้านปรอผาโด้

Published by ห้องสื่อครูซับเวย์, 2021-05-28 04:12:16

Description: หลักสูตรโรงเรียนบ้านปรอผาโด้

Search

Read the Text Version

หลักสตู รโรงเรียนบานปรอผาโด ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 ฉบับปรับปรุง ปการศกึ ษา 2563 กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาตาก เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

ประกาศโรงเรียนบานปรอผาโด เรอ่ื ง ใหใ ชหลกั สูตรโรงเรียนบา นปรอผาโด ปก ารศึกษา 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 ………………………………… หลักสูตรโรงเรียนบา นปรอผาโด ปการศึกษา 2563 ไดจดั ทำขนึ้ ตามแนวทางท่ีกำหนดไวใ นหลักสตู ร แกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 และเปนไปตามมาตรา 27 วรรคสองแหงพระราชบัญญัติ การศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2552 ซ่งึ กำหนดใหส ถานศึกษามีหนาทีจ่ ัดทำสาระของหลักสตู รสถานศึกษาตาม วัตถุประสงคท่คี ณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐานกำหนดไวใ นหลักสูตรแกนกลางในสว นทเ่ี กย่ี วกบั สภาพ ปญหาในชุมชนและสงั คม ภมู ิปญ ญาทองถิ่น คุณลกั ษณะอันพึงประสงค เพื่อใหผูเ รียนเปนสมาชกิ ที่ดี ของครอบครวั ชมุ ชน สังคมและประเทศชาตใิ ชในปการศึกษา 2563 โรงเรียนไดเ ร่มิ ใชหลักสูตรการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และดำเนนิ การจัดทำหลกั สูตรของสถานศกึ ษาเสรจ็ เปน ที่เรียบรอ ย ทงั้ นี้ หลักสตู รโรงเรียนไดร บั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน เมอื่ วนั ที่ 16 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2563 จงึ ประกาศใหใชหลกั สูตรโรงเรยี นต้งั แตบ ัดนี้เปน ตน ไป ประกาศ ณ วนั ท่ี 16 เดอื น มิถุนายน พ.ศ. 2563 ……………………………………. …………………………………… ( นายสิงห โสภา ) ( นายไมตรี ศริ บิ ุญรอด ) ผอู ำนวยการโรงเรยี นบา นปรอผาโด ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

คำนำ หลักสตู รสถานศึกษาสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ (ภาษาองั กฤษ) โรงเรยี นบานปรอผาโดได จัดทำขึ้นตามแนวทางทกี่ ำหนดไวในหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551และเปน ไปตาม มาตรา 27 วรรคสองแหงพระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552 ซ่งึ กำหนดใหสถานศึกษา มีหนาที่ จดั ทำสาระของหลกั สตู รสถานศกึ ษาตามวตั ถปุ ระสงค ท่ีคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐานกำหนดไวใน หลักสูตรแกนกลาง ในสว นทเี่ กี่ยวกับสภาพปญหา ในชมุ ชนและสงั คม ภมู ปิ ญญาทองถิ่น คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค เพื่อเปน สมาชิกทีด่ ีของครอบครวั ชมุ ชน สงั คมและประเทศชาติ หลักสตู รสถานศกึ ษาสาระการเรยี นรูภาษาตางประเทศ (ภาษาองั กฤษ) ฉบบั นี้ ประกอบดว ยวิสัยทศั น ของโรงเรียนบา นปรอผาโด หลักการของหลกั สตู ร สมรรถนะสำคญั ของผเู รียน คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค สาระการเรยี นรู มาตรฐานการเรียนรู ตวั ชวี้ ัด คำอธิบายรายวิชา โครงสรา งรายวิชา คณะอนุกรรมการจดั ทำหลกั สูตรหวังเปน อยา งย่ิงวา หลกั สูตรฉบับนี้จะเปนประโยชนส ำหรับครผู ูสอน และผทู ่เี กี่ยวของในการพัฒนาผูเรียน ใหม คี วามรู ความสามารถ มคี วามคิด เปน คนดี มีคุณธรรม เปน คนเกง และดำรงชวี ติ อยูในสังคมไดอยา งมคี วามสขุ คณะผจู ัดทำ

สารบญั หนา คำนำ 1 สารบญั 4 ความนำ 6 วสิ ัยทศั น หลกั การ จดุ หมาย 6 สมรรถนะสำคัญของผูเรียน 7 คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค 22 โครงสรา งหลกั สตู ร โครงสรางเวลาเรียน 39 คำอธิบายรายวิชา 40 สาระและมาตรฐานการเรียนรู ตัวช้ีวดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง 76 80 สาระที่ 1 ภาษาเพ่ือการสื่อสาร 82 สาระที่ 2 ภาษาและวฒั นธรรม สาระท่ี 3 ภาษากับความสัมพันธกบั กลุมสาระการเรียนรอู ื่น สาระที่ 4 ภาษากับความสมั พนั ธก ับชุมชนและโลก คุณภาพผเู รียน อภธิ านศพั ท คณะผจู ัดทำ

1 ความนำ หลักสตู รโรงเรียนบานปรอผาโด ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 เปน แผน หรือแนวทาง หรอื ขอกำหนดของการจดั การศึกษาของโรงเรียนบา นปรอผาโด ทจ่ี ะใชในการจดั การ เรยี นการสอนเพ่ือพัฒนาผเู รยี นใหม ีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด มุงพฒั นาผเู รียนใหเ ปนคนดี มปี ญ ญา มคี วามสขุ มศี ักยภาพในการศกึ ษาตอ และประกอบอาชีพ โดยมงุ หวงั ใหม คี วามสมบูรณท ง้ั ดานรางกาย จิตใจ และสตปิ ญญา อกี ทง้ั มีความรูและทักษะทจ่ี ำเปน สำหรบั การดำรงชวี ิต และมีคุณภาพไดมาตรฐานสากล เพ่อื การแขงขนั ในยุคปจจุบัน ดงั นนั้ หลักสตู รโรงเรียนบานปรอผาโด ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 จึงประกอบดวยสาระสำคัญของหลกั สูตรแกนกลาง สาระความรูทเ่ี ก่ียวของกบั ชุมชนทองถิน่ และสาระสำคัญทสี่ ถานศึกษาพัฒนาเพ่ิมเติมโดยจดั เปน สาระการเรียนรรู ายวิชาพน้ื ฐานตาม มาตรฐานการเรยี นรแู ละตวั ชีว้ ดั และสาระการเรยี นรรู ายวิชาเพิม่ เติม จดั กิจกรรมพฒั นาผเู รียนเปน รายป ในระดับประถมศกึ ษา เปนรายภาคในระดับมัธยมศึกษาตอนตน และกำหนดคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคของ สถานศึกษาตามคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคข องหลกั สูตรแกนการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ความสำคญั หลักสูตรโรงเรียนบานปรอผาโด ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีความสำคัญในการพฒั นาผเู รียนใหมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู ตัวช้ีวัด และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค ตามทก่ี ำหนดไวเ ปนแนวทางใหผูบรหิ ารสถานศกึ ษา ครู อาจารย ตลอดจนผูเ กี่ยวของกับการจดั การศึกษาของ สถานศึกษา ในการจดั มวลประสบการณใหแ กผูเรียนไดพ ฒั นาใหบ รรลุถึงคุณภาพตามมาตรฐานในการพัฒนา เยาวชนของชาติ นอกเหนอื จากการใชเปนแนวทาง หรอื ขอกำหนดในการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษาใหบ รรลุ ตามจุดหมายของการจัดการศึกษาแลว หลกั สูตรโรงเรียนบานปรอผาโด ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ทพ่ี ฒั นาขน้ึ ยังเปน หลกั สตู รท่ีมีจดุ มุงหมายใหค รอบครวั ชุมชน องคกร ในทองถนิ่ ท้งั ภาครฐั และเอกชนเขารวมจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา โดยมีแนวทางสำคัญทสี่ ถานศึกษากำหนด ไวในหลักสตู รโรงเรียนบา นปรอผาโด ดงั น้ี 1. หลกั สูตรโรงเรยี นบานปรอผาโด ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 มงุ พฒั นาใหผ เู รียนเกดิ ความสนกุ สนาน และความเพลดิ เพลินในการเรยี นรูเปรียบเสมือนเปน วิธสี รางกำลงั ใจ และเราใหเ กดิ ความกา วหนา แกผเู รยี นใหมากที่สุด มีความรูสงู สุด ผเู รียนทุกคนมีความเขมแขง็ ความสนใจ มีประสบการณ และความมัน่ ใจ เรยี นและทำงานอยางเปน อิสระและรวมใจกัน มีทักษะในการอานออกเขียนได คิดเลขเปน รขู อมูลสารสนเทศ และเทคโนโลยีส่ือสาร สงเสริมจิตใจท่อี ยากรูอยากเห็น และมกี ระบวนการคิด อยางมเี หตุผล

2 2. หลกั สูตรโรงเรียนบานปรอผาโด ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 สงเสริมการพัฒนาดา นจติ วญิ ญาณ จรยิ ธรรม สังคม และวัฒนธรรม พัฒนาหลักการในการจำแนกระหวา งถกู และผดิ เขา ใจและศรัทธาในความเช่อื ของตน ความเช่ือและวฒั นธรรมที่แตกตางกนั พัฒนาหลักคณุ ธรรมและ ความอิสระของผเู รยี น และชวยใหเปน พลเมืองที่มีความรบั ผิดชอบ สามารถชวยพัฒนาสงั คมใหเ ปนธรรมข้ึน มคี วามเสมอภาค พฒั นาความตระหนกั เขา ใจ และยอมรับสภาพแวดลอมท่ตี นดำรงชวี ติ อยู ยึดมนั่ ในขอ ตกลง รว มกนั ตอ การพฒั นาท่ียง่ั ยนื ทง้ั ในระดับสวนตน ระดับทองถิน่ ระดบั ชาติ และระดับโลก สรางใหผเู รียนมคี วาม พรอมในการเปนผูบ รโิ ภคที่ตัดสินใจแบบมขี อ มูล เปน อสิ ระ และมีความรับผดิ ชอบ ลกั ษณะของหลักสตู รโรงเรียนบานปรอผาโด หลักสตู รโรงเรยี นบา นปรอผาโด ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 เปน หลกั สตู รทส่ี ถานศึกษาไดพฒั นาข้ึนเพ่ือพัฒนาผเู รยี นในระดบั ประถมศึกษา และมัธยมศึกษาตอนตน โดยยดึ องคป ระกอบหลักสำคัญ 3 สวนคือ หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาระการเรยี นรทู องถิ่น และสาระสำคญั ทส่ี ถานศึกษาพัฒนาเพิ่มเติม เปน กรอบในการจัดทำรายละเอียด เพอ่ื ใหเปนไปตามมาตรฐานการศึกษาขนั้ พน้ื ฐานที่กำหนด เหมาะสมกับสภาพชมุ ชนและทองถิน่ และจุดเนน ของสถานศกึ ษา โดยหลกั สูตรโรงเรยี นบา นปรอผาโด ที่พัฒนาขึน้ มลี ักษณะของหลักสตู ร ดงั นี้ 1. เปน หลักสตู รเฉพาะของสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา นปรอผาโด สำหรับจัดการศึกษาในหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน จดั ระดบั การศึกษาเปน 2 ระดบั คือ ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปท่ี 1 – 6) และ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ช้นั มัธยมศึกษาปท ่ี 1 – 3) 2. มีความเปน เอกภาพ หลกั สูตรโรงเรียนบานปรอผาโด ปการศึกษา 2556 ตามหลกั สตู รแกนกลาง การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 เปน หลักสูตรของสถานศกึ ษาสำหรบั ใหครูผูสอนนำไปจัดการเรียนรูได อยา งหลากหลาย โดยกำหนดให 2.1 มีสาระการเรียนรูทีส่ ถานศึกษาใชเปนหลกั เพ่ือสรางพ้นื ฐานการคิด การเรยี นรู และการ แกปญ หา ประกอบดว ย ภาษาไทย คณิตศาสตร วทิ ยาศาสตร และสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 2.2 มสี าระการเรียนรูทเี่ สรมิ สรา งความเปน มนุษย ศักยภาพการคิดและการทำงาน ประกอบดวย สขุ ศึกษาและพลศึกษา ศลิ ปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษาอังกฤษ 2.3 มสี าระการเรยี นรูเพมิ่ เติม โดยจดั ทำเปนรายวิชาเพ่ิมเติมตามความเหมาะสมและ สอดคลอ งกับโครงสรางเวลาเรยี น สาระการเรยี นรูทองถิ่น ความตองการของผูเรียน และบริบทของ สถานศึกษา 2.4 มีกิจกรรมพฒั นาผูเรียน เพ่ือพฒั นาผเู รียนท้งั ดานรางกาย จติ ใจ สตปิ ญ ญา อารมณ และ สังคม เสริมสรางการเรียนรูนอกจากสาระการเรยี นรู 8 กลมุ สาระและการพัฒนาตนตามศักยภาพ

3 2.5 มกี ารกำหนดมาตรฐานของสถานศกึ ษาท่ีสอดคลองกับมาตรฐานระดบั ตา งๆ เพ่ือเปน เปาหมายของการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา จดั ทำรายละเอยี ดสาระการเรียนรู และจัด กระบวนการเรียนรูใหสอดคลองกบั สภาพในชุมชน สังคม และภูมปิ ญญาทองถ่ิน 3. มีมาตรฐานการเรยี นรเู ปนเปาหมายสำคัญของการพฒั นาคณุ ภาพผูเรียน หลักสตู รโรงเรียนบาน ปรอผาโด ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 เปนหลักสูตรที่มมี าตรฐาน เปนตัวกำหนดเกยี่ วกับคุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงคของผเู รยี น เพอื่ เปนแนวทางในการประกันคุณภาพการศึกษา โดยมีการกำหนดมาตรฐานไวดงั น้ี 3.1 มาตรฐานหลักสตู ร เปน มาตรฐานดา นผูเ รยี นหรือผลผลิตของหลักสตู รโรงเรียน บา นปรอผาโด อันเกิดจากการไดรับการอบรมสั่งสอนตามโครงสรางของหลักสูตรทั้งหมดใชเ ปน แนวทาง ในการตรวจสอบคุณภาพโดยรวมของการจดั การศกึ ษาตามหลักสูตรในทกุ ระดับ และสถานศกึ ษาตองใชสำหรบั การประเมนิ ตนเองเพ่ือจัดทำรายงานประจำปต ามบทบัญญตั ิในพระราชบัญญตั ิการศึกษา นอกจากน้ยี ังเปน แนวทางในการกำหนดแนวปฏิบตั ิในการสง เสริม กำกับ ติดตาม ดแู ล และปรับปรุงคุณภาพ เพ่ือใหไดต าม มาตรฐานที่กำหนด 3.2 มีตวั ชีว้ ดั ชั้นปเ ปน เปาหมายระบสุ ่ิงท่ีนักเรียนพงึ รูและปฏบิ ัติได รวมทงั้ คุณลักษณะของ ผูเ รยี นในแตละระดบั ช้นั ซึ่งสะทอนถึงมาตรฐานการเรียนรู มีความเฉพาะเจาะจง และมีความเปน รูปธรรม นำไปใช ในการกำหนดเนื้อหา จดั ทำหนวยการเรียนรู จัดการเรียนการสอน และเปนเกณฑส ำคญั สำหรับการวัดประเมนิ ผล เพื่อตรวจสอบคุณภาพผเู รียน ตรวจสอบพัฒนาการผูเรยี น ความรู ทกั ษะ กระบวนการ คุณธรรม จรยิ ธรรมและ คานยิ มอันพงึ ประสงค และเปนหลักในการเทียบโอนความรูและประสบการณจ ากการศกึ ษาในระบบ นอก ระบบ และตามอัธยาศยั 3.3 มคี วามเปนสากล ความเปนสากลของหลักสูตรโรงเรียนบา นปรอผา คือ มงุ ใหผูเ รียนมี ความรู ความสามารถในเรื่องเทคโนโลยสี ารสนเทศ ภาษาอังกฤษ การจดั การสงิ่ แวดลอ ม ภูมปิ ญ ญาทอ งถิ่น มคี ณุ ลกั ษณะทีจ่ ำเปนในการอยใู นสังคมไดแก ความซ่ือสตั ย ความรบั ผิดชอบ การตรงตอเวลา การเสียสละ การเอื้อเฟอ โดยอยบู นพน้ื ฐานของความพอดรี ะหวา งการเปน ผนู ำ และผูตาม การทำงานเปน ทีมและ การทำงานตามลำพังการแขงขนั การรูจักพอ และการรวมมือกันเพ่ือสังคม วทิ ยาการสมัยใหม และภมู ิปญญา ทอ งถิ่น การรับวฒั นธรรมตางประเทศ และการอนรุ กั ษวัฒนธรรมไทยการฝกฝนทักษะเฉพาะทาง และการบรู ณาการในลักษณะที่เปน องคร วม 4. มคี วามยืดหยุน หลากหลาย หลักสูตรโรงเรยี นบา นปรอผาโด เปนหลักสูตรที่สถานศกึ ษาจัดทำ รายละเอยี ดตางๆ ข้นึ เอง โดยยดึ โครงสรา งหลกั ท่กี ำหนดไวในหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 เปน ขอบขายในการจัดทำ จงึ ทำใหหลักสูตรของสถานศกึ ษามีความยืดหยุน หลากหลาย สอดคลองกับสภาพปญหา และความตองการของทองถิ่น โดยเฉพาะอยางย่งิ มีความเหมาะสมกับตัวผูเรียน 5. การวดั และประเมนิ ผลเนน หลกั การพื้นฐานสองประการคือการประเมินเพื่อพัฒนาผเู รียนและ เพอ่ื ตัดสินผลการเรียน โดยผูเรยี นตอ งไดร บั การพัฒนาและประเมนิ ตามตวั ชีว้ ัดเพื่อใหบรรลตุ ามมาตรฐาน การเรยี นรู สะทอนสมรรถนะสำคญั และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคของผูเรียนเปนเปา หมายหลกั ในการวัดและ

4 ประเมินผลการเรยี นรใู นทุกระดับไมวา จะเปน ระดับชัน้ เรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพน้ื ท่ีการศึกษา และระดบั ชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู เปน กระบวนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน และใชผ ลการ ประเมินเปนขอมลู และสารสนเทศทแี่ สดงพัฒนาการ ความกาวหนา และความสำเร็จทางการเรียนของผูเ รียน ตลอดจนขอมูลทเ่ี ปนประโยชนต อการสงเสรมิ ใหผูเรียนเกิดการพฒั นาและเรียนรูอยางเต็มตามศักยภาพ วสิ ัยทศั นหลกั สตู รสถานศกึ ษา หลักสูตรโรงเรยี นบานปรอผาโด มงุ พฒั นานักเรยี นทุกคน ซึ่งเปน กำลงั ของชาตใิ หเปนมนุษยท ่มี ีความ สมดุลท้ังดานรางกาย ความรู คุณธรรม ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง สอดแทรกภมู ปิ ญญาทองถิ่น มจี ิตสำนึกใน ความเปนพลเมืองไทยและเปน พลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ทรงเปน ประมุข มีความรแู ละทักษะตามมาตรฐานสากล โดยมุง เนน ผูเรียนเปนสำคัญบนพน้ื ฐานความเชื่อวา ทุกคน สามารถเรียนรูแ ละพฒั นาตนเองไดเตม็ ตามศักยภาพ ภารกิจ เพือ่ ใหก ารจดั การศึกษาของโรงเรียนเปนไปตามวสิ ัยทศั น ( VISI0N) ท่โี รงเรียนกำหนดไวจงึ ไดก ำหนด ภารกิจ ดงั น้ี ใหม ีการพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษาครอบคลมุ ตามมาตรฐานหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 พฒั นากระบวนการจัดการเรียนรขู องนักเรียนโดยใชสอ่ื เทคโนโลยีแหลงเรียนรแู ละ ภูมปิ ญ ญาทองถ่ิน รวมท้ังสงเสริมใหนักเรยี นสามารถเรียนรแู ละสรา งองคค วามรูด ว ยตนเองสง เสริมและพัฒนา นักเรียนใหมคี ุณลกั ษณะอันพึงประสงคต ามหลักสตู รและตามความคาดหวังของสังคม สงเสรมิ ใหบ คุ ลากรรจู ัก ทำงานเปนทีมรวมท้งั มสี วนรวมในการพฒั นาทีมใหม ีความเขมแข็งจัดบรหิ ารงานแบบมีสวนรวมโดยใชโรงเรียน เปน ฐาน (SCH00L BASE MANAGEMENT) จดั ระบบขอมลู สารสนเทศใหสามารถนำไปใชในการจดั การศกึ ษา ไดอยา งมีประสิทธิภาพครอบคลมุ ทั้ง 4 กลุมบริหารงาน ปรับปรงุ ระบบการบรหิ ารดานการเงนิ และพัสดุ สง เสรมิ กิจกรรมเสริมสรา งสุขภาพกาย สุขภาพจิต ใหแ กน ักเรียน ครูและบุคลากร ปรบั ปรงุ สภาพแวดลอมใน สถานศึกษาใหเอ้อื ตอการจัดกิจกรรมการเรยี นรู หลักการ หลักสตู รโรงเรียนบานปรอผาโด มหี ลกั การท่ีสำคญั ดงั นี้ 1. เปน หลักสตู รการศึกษาเพื่อความเปน เอกภาพ มีจดุ หมายและมาตรฐานการเรียนรูเปน เปาหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนใหม คี วามรู ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเปน ไทย ควบคูกับความเปน สากล 2. เปนหลักสตู รการศึกษาเพ่ือปวงชน ทปี่ ระชาชนทุกคนมโี อกาสไดร ับการศึกษาอยางเสมอภาค และ มีคุณภาพ

5 3. เปนหลักสตู รการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจใหสังคมมีสวนรว มในการจดั การศึกษา ใหสอดคลองกบั สภาพและความตอ งการของทองถนิ่ 4. เปนหลกั สูตรการศกึ ษาที่มีโครงสรา งยดื หยุนท้ังดา นสาระการเรียนรู เวลาและการจัดการเรยี นรู 5. เปน หลักสูตรการศกึ ษาท่เี นนผูเรียนเปนสำคญั 6. เปนหลกั สตู รการศกึ ษาสำหรบั การศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศยั ครอบคลุม ทุกกลุมเปาหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรยี นรู และประสบการณ จุดหมาย หลักสตู รโรงเรียนบานปรอผาโด มงุ พัฒนาผูเ รยี นใหเปน คนดี มปี ญญา มคี วามสขุ มศี ักยภาพ ในการศึกษาตอและประกอบอาชพี จงึ กำหนดเปนจดุ หมายเพือ่ ใหเ กิดกับผูเรยี น เมือ่ จบการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ดังน้ี 1. มีคณุ ธรรม จริยธรรมและคา นยิ มท่ีพงึ ประสงค เห็นคุณคา ของตนเอง มวี นิ ยั และปฏบิ ัติตนตาม หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาท่ีตนนับถอื ยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. มีความรู ความสามารถในการสือ่ สาร การคดิ การแกปญหา การใชเทคโนโลยแี ละมีทกั ษะชีวิต 3. มสี ุขภาพกายและสุขภาพจติ ทดี่ ี มีสุขนสิ ัยและรักการออกกำลงั กาย 4. มีความรกั ชาติ มีจิตสำนึกในความเปน พลเมืองไทยและพลโลกยดึ มนั่ ในวิถีชวี ิตและกาปกครองตาม ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยทรงเปน ประมุข 5. มีจิตสำนกึ ในการอนุรักษว ัฒนธรรมและภมู ิปญ ญาไทย การอนรุ ักษแ ละพัฒนาสิง่ แวดลอ ม มจี ิตสาธารณะท่ีมงุ ทำประโยชนและสรา งสิ่งท่ดี งี ามในสังคม และอยูร วมกันในสังคมอยางมีความสขุ สมรรถนะสำคัญของผเู รียน หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา นปรอผาโด กำหนดสมรรถนะตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษา ข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 มงุ ใหผเู รยี นเกดิ สมรรถนะสำคญั 5 ประการ ดังนี้ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร เปน ความสามารถในการรับและสง สาร มวี ัฒนธรรมในการใชภาษา ถายทอดความคิด ความรูความเขา ใจ ความรสู ึก และทัศนะของตนเองเพอ่ื แลกเปลยี่ นขอมูลขาวสารและ ประสบการณอนั จะเปน ประโยชนตอ การพัฒนาตนเองและสงั คม รวมทั้งการเจรจาตอรองเพ่ือขจัดและลด ปญ หาความขัดแยงตา ง ๆ การเลือกรับหรอื ไมร บั ขอ มลู ขาวสารดว ยหลักเหตุผลและความถกู ตอง ตลอดจนการ เลือกใชว ิธีการส่ือสาร ที่มปี ระสทิ ธิภาพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบทม่ี ีตอตนเองและสงั คม 2. ความสามารถในการคดิ เปน ความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสงั เคราะห การคิด อยา งสรางสรรค การคดิ อยางมีวิจารณญาณ และการคดิ เปนระบบ เพ่ือนำไปสูก ารสรา งองคความรูหรื สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเก่ยี วกบั ตนเองและสังคมไดอยางเหมาะสม 3. ความสามารถในการแกป ญ หา เปน ความสามารถในการแกป ญ หาและอปุ สรรคตางๆ ทีเ่ ผชิญได อยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพนั ธแ ละการ เปล่ียนแปลงของเหตุการณต า งๆ ในสงั คม แสวงหาความรู ประยกุ ตความรูมาใชใ นการปองกันและแกไขปญ หา และมีการตดั สินใจที่มปี ระสิทธภิ าพโดยคำนึงถึงผลกระทบ

6 ท่เี กิดขน้ึ ตอ ตนเอง สงั คมและสงิ่ แวดลอ ม 4. ความสามารถในการใชท ักษะชีวิต เปนความสามารถในการนำกระบวนการตา งๆ ไปใชในการ ดำเนินชีวติ ประจำวนั การเรยี นรูด ว ยตนเอง การเรียนรูอยางตอ เน่ือง การทำงานและการอยรู วมกนั ในสังคม ดว ยการสรา งเสริมความสมั พันธอ ันดีระหวา งบุคคล การจัดการปญหาและความขดั แยงตางๆ อยางเหมาะสม การปรบั ตัวใหทนั กับการเปลย่ี นแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ ม และการรูจักหลีกเล่ียงพฤติกรรมไมพ ึง ประสงคท่ีสง ผลกระทบตอตนเองและผอู น่ื 5. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือกและใช เทคโนโลยีดา นตางๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพฒั นาตนเองและสังคม ในดานการเรยี นรู การส่อื สาร การทำงาน การแกป ญ หาอยางสรางสรรค ถูกตอง เหมาะสม และมีคุณธรรม คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา นปรอผาโด มุงพฒั นาผเู รยี นใหเปน มนษุ ยทสี่ มบรู ณเปน คนดี มีความรู อยอู ยางพอเพียง และมีความเปนไทย มีศักยภาพในการเรียนรู จงึ กำหนดจุดหมายซึง่ เปนมาตรฐานการเรยี นรู ใหผูเรียนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงคสอดคลองกับคุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงคข องหลักสูตรแกนกลาง ไดแ ก 1. รกั ชาติ ศาสน กษตั รยิ  2. ซอื่ สตั ยส ุจริต 3. มีวินยั 4. ใฝเรียนรู 5. อยอู ยางพอเพยี ง 6. มงุ มน่ั ในการทำงาน 7. รกั ความเปนไทย 8. มจี ิตสาธารณะ โครงสรางหลักสูตรโรงเรยี นบา นปรอผาโด หลักสูตรโรงเรียนบานปรอผาโด ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดก ำหนดโครงสรา งของหลักสูตรโรงเรียนบา นปรอผาโด เพือ่ ใหผูสอนและผูท ี่เก่ยี วของในการจดั การเรียนรู ตามหลักสูตรของสถานศกึ ษามแี นวปฏิบัติ ดังนี้ 1.ระดบั การศึกษา กำหนดหลักสตู รเปน 2 ระดบั ตามโครงสรางของหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และตามภารกิจหลกั ของการจดั การเรียนการสอนในระดับประถมศึกษา และมธั ยมศึกษาตอนตน ของสถานศกึ ษา ดงั นี้ 1.1 ระดบั ประถมศึกษา (ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 1 – 6) การศกึ ษาระดบั นเี้ ปน ชวงแรกของ การศกึ ษาภาคบงั คบั มงุ เนนทักษะพืน้ ฐานดานการอาน การเขียน การคดิ คำนวณ ทักษะการคิดพื้นฐาน การตดิ ตอสือ่ สาร กระบวนการเรียนรทู างสงั คม และพืน้ ฐานความเปน มนุษย การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ อยา ง สมบรู ณและสมดลุ ท้ังในดานรางกาย สติปญ ญา อารมณ สงั คม และวัฒนธรรม โดยเนน จดั การเรียนรูแบบ บรู ณาการ

7 1.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ่ี 1 – 3) เปน ชวงสดุ ทา ยของการศึกษาภาค บังคับ มงุ เนน ใหผ เู รยี นไดส ำรวจความถนดั และความสนใจของตนเอง สง เสริมการพัฒนาบุคลิกภาพสวนตน มที ักษะในการคดิ วิจารณญาณ คิดสรางสรรค และคิดแกปญหา มีทักษะในการดำเนนิ ชีวิต มีทักษะการใช เทคโนโลยเี พื่อเปนเคร่อื งมือในการเรยี นรู มคี วามรบั ผดิ ชอบตอสงั คม มีความสมดลุ ทง้ั ดานความรู ความคิด ความดงี าม และมีความภูมิใจในความเปนไทย ตลอดจนใชเปน พน้ื ฐานในการประกอบอาชพี หรอื การศกึ ษาตอ 2. สาระการเรียนรู สาระการเรยี นรูในหลกั สตู รโรงเรยี นบา นปรอผาโด ตามหลักสตู รแกนกลาง การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 ไดกำหนดไวในหลักสูตร ประกอบดวยองคค วามรู ทักษะหรือ กระบวนการเรียนรู และคุณลกั ษณะหรอื คานยิ ม คุณธรรม จริยธรรมของผูเรยี น 8 กลมุ คือ 2.1 ภาษาไทย 2.2 คณติ ศาสตร 2.3 วทิ ยาศาสตร 2.4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2.5 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 2.6 ศลิ ปะ 2.7 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2.8 ภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 3. กิจกรรมพฒั นาผูเ รยี น กิจกรรมพัฒนาผูเรยี น มุงใหผเู รียนไดพ ัฒนาตนเองตามศักยภาพ พฒั นา อยา งรอบดานเพอ่ื ความเปน มนษุ ยทีส่ มบูรณ ทั้งรา งกาย สติปญ ญา อารมณ และสงั คม เสรมิ สรางใหเปน ผมู ี ศลี ธรรม จรยิ ธรรม มีระเบยี บวนิ ยั ปลกู ฝงและสรางจติ สำนึกของการทำประโยชนเพื่อสงั คม สามารถจัดการ ตนเองได และอยรู ว มกับผูอ่นื อยางมีความสุข แบง เปน 3 ลกั ษณะ ดงั นี้ 3.1 กิจกรรมแนะแนว เปนกิจกรรมทส่ี ง เสรมิ และพัฒนาผูเรยี นใหรูจ กั ตนเอง รรู ักษ สง่ิ แวดลอม สามารถคิดตดั สนิ ใจ คดิ แกปญหา กำหนดเปาหมาย วางแผนชวี ิตท้ังดานการเรียน และอาชพี สามารถปรับตนไดอ ยา งเหมาะสม นอกจากนยี้ งั ชว ยใหค รรู ูจักและเขาใจผเู รียน ทัง้ ยังเปนกจิ กรรมท่ชี วยเหลือ และใหค ำปรึกษาแกผูป กครองในการมสี ว นรว มพัฒนาผูเรียน 3.2 กจิ กรรมนกั เรียน เปน กิจกรรมที่มงุ พฒั นาความมีระเบียบวินัย ความเปนผูนำผตู ามท่ีดี ความรับผิดชอบ การทำงานรวมกัน การรูจ ักแกปญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การชว ยเหลือ แบง ปนกัน เออื้ อาทร และสมานฉนั ท โดยจดั ใหสอดคลองกับความสามารถ ความถนดั และความสนใจของ ผเู รยี น ใหไดป ฏบิ ัตดิ ว ยตนเองในทุกข้ันตอน ไดแ ก การศึกษาวเิ คราะหว างแผน ปฏบิ ัติตามแผน ประเมินและ ปรบั ปรุงการทำงาน เนน การทำงานรวมกันเปน กลมุ ตามความเหมาะสมและสอดคลอ งกับวฒุ ภิ าวะของผเู รียน บริบทของสถานศึกษาและทองถ่นิ กจิ กรรมนักเรียนในหลักสูตรโรงเรยี นบานปรอผาโด ตามหลักสตู ร แกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ประกอบดว ย 3.2.1 กิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี 3.2.2 กจิ กรรมชมุ นมุ

8 3.3 กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน เปน กจิ กรรมทส่ี งเสริมใหผเู รยี นบำเพญ็ ตน ใหเ ปนประโยชนต อสังคม ชมุ ชน และทอ งถน่ิ ตามความสนใจในลักษณะอาสาสมคั ร เพ่ือแสดงถึงความ รับผดิ ชอบ ความดงี าม ความเสยี สละตอสงั คม มีจติ สาธารณะ 4. เวลาเรียน หลกั สูตรโรงเรียนบา นปรอผาโด ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ไดกำหนดกรอบโครงสรา งเวลาเรียนข้ันต่ำสำหรับกลุมสาระการเรียนรู 8 กลมุ และกิจกรรม พัฒนาผูเรยี น ซ่ึงผูส อนสามารถเพิม่ เติมไดตามความพรอมและจดุ เนนของสถานศกึ ษา โดยสามารถปรับให เหมาะสมตามบรบิ ทของสถานศึกษาและสภาพของผูเรียน ดังนี้ 1. ระดับช้นั ประถมศึกษา (ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี 1 – 6) ใหจ ัดเวลาเรยี นเปนรายปแตล ะปการศกึ ษามี เวลาเรียนไมน อ ยกวา 40 สปั ดาห ในหน่ึงสปั ดาห ในระดับประถมศึกษาตองมีเวลาเรยี นไมน อ ยกวา 25 ชั่วโมงทง้ั น้เี ม่ือรวมกนั แลว ไมตำ่ กวา 200 วนั หรือไมเกิน 1,000 ช่ัวโมง 2. ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน (ชนั้ มัธยมศึกษาปท ่ี 1 – 3) ใหจัดเวลาเรียนเปนรายภาคมีเวลาเรียนไม เกนิ 1,200 ชั่วโมงในหนึง่ ปก ารศึกษา ซึง่ รวมทั้งกจิ กรรมพฒั นาผเู รยี นดวย คิดนำ้ หนักของรายวชิ าท่ีเรียนเปน หนว ยกิต ใชเกณฑ 40 ชั่วโมงตอภาคเรียน มีคานำ้ หนักวิชาเทากับ 1 หนว ยกิต (นก.)

9 โครงสรา งเวลาเรยี นของหลักสตู รโรงเรยี นบานปรอผาโด 1. โครงสรางเวลาเรียน ระดับประถมศกึ ษา กลุมสาระการเรียนร/ู กจิ กรรม เวลาเรียน (ชวั่ โมง/ป) • กลุม สาระการเรียนรู (พ้นื ฐาน) ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160 คณติ ศาสตร 200 200 200 160 160 160 วทิ ยาศาสตร 80 80 80 80 80 80 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 80 80 80 120 120 120 o ประวตั ศิ าสตร (40) (40) (40) (40) (40) (40) o ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม o หนาทีพ่ ลเมือง วัฒนธรรมและ การดำเนินชวี ิตในสังคม (40) (40) (40) (80) (80) (80) o เศรษฐศาสตร o ภมู ศิ าสตร สุขศึกษาและพลศึกษา 40 40 40 80 80 80 ศิลปะ 40 40 40 80 80 80 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 40 40 40 80 80 80 ภาษาตา งประเทศ 160 160 160 80 80 80 รวมเวลาเรียน (พ้นื ฐาน) 840 840 840 840 840 840 • รายวชิ าเพม่ิ เติม 40 ชั่วโมง 40 ช่ัวโมง หนาที่พลเมือง 40 40 40 40 40 40 • กจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น 120 120 120 120 120 120 1. กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 40 2. กิจกรรมชมุ นมุ 40 40 40 40 40 40 3. ลกู เสอื – เนตรนารี- ยุวกาชาด 30 30 30 30 30 30 4. กจิ กรรมเพื่อสังคม และ 10 10 10 10 10 10 สาธารณประโยชน รวมเวลาเรียน (ทั้งหมด) 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000

10 2. โครงสรา งหลักสูตรสถานศกึ ษาระดับมธั ยมศกึ ษา กลุมสาระการเรยี นรู/ กจิ กรรม เวลาเรียน ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน กลุมสาระการเรยี นรู ม. 1 ม. 2 ม. 3 ภาษาไทย คณติ ศาสตร 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) วิทยาศาสตร 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) พระพุทธศาสนา 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) สังคมศกึ ษา 40 (1 นก.) 40 (3 นก.) 40 (1 นก.) ประวัติศาสตร 80(2 นก.) 80(2 นก.) 80 (2 นก.) สุขศึกษา 40 (1 นก.) 40 (3 นก.) 40 (1 นก.) พลศกึ ษา 40 (1นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) ทศั นศิลป 40 (1นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) ดนตรี - นาฏศิลป 40 (1นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) การงานอาชีพและเทคโนโลยี 40 (1นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) ภาษาอังกฤษ 80 (2นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) รวมเวลาเรยี น (พ้ืนฐาน) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 880 (22นก.) 880 (22นก.) 880 (22นก.) รายวิชาเพิ่มเตมิ ปละ 200 ชัว่ โมง 1. หนาท่พี ลเมอื ง 40 (1นก.) 40 (1นก.) 40 (1นก.) 2. คณิตศาสตรเ พม่ิ เติม 80 (2นก.) 80 (2นก.) 80 (2นก.) 3. คอมพิวเตอร 80 (2นก.) 80 (2นก.) 80 (2นก.) กิจกรรมพฒั นาผูเรียน 120 120 120 1. กจิ กรรมแนะแนว 40 40 40 2. ลูกเสือ – เนตรนารี 40 40 40 3. กิจกรรมชุมนมุ 30 30 30 4. กิจกรรมเพ่อื สังคม ฯ 10 10 10 รวมเวลาเรยี นท้งั หมด 1,200 ชว่ั โมง/ป

11 3. โครงสรางหลกั สตู รชนั้ ป เปนโครงสรา งแสดงรายละเอียดเวลาเรียนของรายวชิ าพน้ื ฐานรายวิชาเพมิ่ เตมิ และกจิ กรรมพัฒนา ผูเรยี น ในแตละชัน้ ป 3.1 โครงสรา งหลกั สูตรชนั้ ประถมศึกษา โครงสรางหลกั สตู รโรงเรียนบา นปรอผาโด ชั้นประถมศึกษาปท ่ี 1 กลมุ สาระการเรยี นรู/ กจิ กรรม เวลาเรยี น (ช่วั โมง/ป) รายวชิ าพน้ื ฐาน ท 11101 ภาษาไทย 840 ค 11101 คณิตศาสตร 200 ว 11101 วทิ ยาศาสตร 200 ส 11101 สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 80 ส 11102 ประวตั ศิ าสตร 80 พ 11101 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 40 ศ 11101 ศลิ ปะ 40 ง 11101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 40 อ 11101 ภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 40 160 • รายวชิ า/กิจกรรมเพ่ิมเติม 40 ส 11201 หนาทพ่ี ลเมือง 1 40 กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น 120  กิจกรรมแนะแนว 40  กิจกรรมนักเรียน ลกู เสือ / เนตรนารี * กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน 30  กจิ กรรมชมรม / ชมุ นมุ 10 รวมเวลาเรียนทงั้ สนิ้ 40 1,000 หมายเหตุ * ผเู รียนปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชนใ นกิจกรรมลกู เสือ / เนตรนารี

12 โครงสรางหลกั สตู รโรงเรยี นบานปรอผาโด ช้ันประถมศกึ ษาปที่ 2 กลุมสาระการเรียนรู/กิจกรรม เวลาเรียน (ช่ัวโมง/ป) รายวิชาพื้นฐาน ท 12101 ภาษาไทย 840 ค 12101 คณิตศาสตร 200 ว 12101 วิทยาศาสตร 200 ส 12101 สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 80 ส 12102 ประวัติศาสตร 80 พ 12101 สุขศึกษาและพลศึกษา 40 ศ 12101 ศิลปะ 40 ง 12101 การงานอาชพี และเทคโนโลยี 40 อ 12101 ภาษาตา งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 40 160 • รายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติม 40 ส 12201 หนา ทีพ่ ลเมือง 2 40 กจิ กรรมพฒั นาผเู รียน 120  กจิ กรรมแนะแนว 40  กิจกรรมนักเรียน ลกู เสอื / เนตรนารี * กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน 30  กิจกรรมชมรม / ชมุ นุม 10 รวมเวลาเรยี นทง้ั สิน้ 40 1,000 หมายเหตุ * ผูเรยี นปฏิบตั กิ จิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชนในกจิ กรรมลูกเสือ / เนตรนารี

13 โครงสรางหลกั สตู รโรงเรียนบานปรอผาโด ช้ันประถมศึกษาปที่ 3 กลมุ สาระการเรียนรู/กิจกรรม เวลาเรียน (ช่ัวโมง/ป) รายวชิ าพืน้ ฐาน ท 13101 ภาษาไทย 840 ค 13101 คณติ ศาสตร 200 ว 13101 วิทยาศาสตร 200 ส 13101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 80 ส 13102 ประวัติศาสตร 80 พ 13101 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 40 ศ 13101 ศลิ ปะ 40 ง 13101 การงานอาชพี และเทคโนโลยี 40 อ 13101 ภาษาตา งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 40 160 • รายวิชา/กจิ กรรมเพิ่มเติม 40 ส 13201 หนา ทีพ่ ลเมือง 3 40 กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น 120  กจิ กรรมแนะแนว 40  กจิ กรรมนกั เรยี น ลกู เสือ / เนตรนารี * กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน 30  กจิ กรรมชมรม / ชุมนมุ 10 รวมเวลาเรยี นทง้ั สิน้ 40 1,000 หมายเหตุ * ผเู รียนปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชนในกจิ กรรมลูกเสือ / เนตรนารี

14 โครงสรางหลักสตู รโรงเรยี นบานปรอผาโด เวลาเรยี น ชั้นประถมศึกษาปท ี่ 4 (ชว่ั โมง/ป) กลมุ สาระการเรียนรู/กจิ กรรม 840 160 รายวชิ าพืน้ ฐาน 160 ท 14101 ภาษาไทย 80 ค 14101 คณติ ศาสตร 80 ว 14101 วทิ ยาศาสตร 40 ส 14101 สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 80 ส 14102 ประวัตศิ าสตร 80 พ 14101 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 80 ศ 14101 ศลิ ปะ 80 ง 14101 การงานอาชพี และเทคโนโลยี 40 อ 14101 ภาษาตา งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 40 • รายวิชา/กจิ กรรมเพิ่มเตมิ 120 ส 14201 หนา ทพ่ี ลเมือง 4 40 กจิ กรรมพฒั นาผูเรียน 30  กิจกรรมแนะแนว 10  กจิ กรรมนกั เรยี น ลกู เสือ / เนตรนารี * กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน 40  กิจกรรมชมรม / ชุมนมุ 1,000 รวมเวลาเรยี นทง้ั ส้ิน หมายเหตุ * ผเู รียนปฏบิ ัตกิ ิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชนใ นกิจกรรมลกู เสือ / เนตรนารี

15 โครงสรางหลกั สูตรโรงเรยี นบา นปรอผาโด เวลาเรียน ชัน้ ประถมศึกษาปที่ 5 (ชั่วโมง/ป) กลมุ สาระการเรียนร/ู กจิ กรรม 840 160 รายวชิ าพน้ื ฐาน 160 ท 15101 ภาษาไทย 80 ค 15101 คณิตศาสตร 80 ว 15101 วทิ ยาศาสตร 40 ส 15101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 80 ส 15102 ประวัตศิ าสตร 80 พ 15101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 80 ศ 15101 ศลิ ปะ 80 ง 15101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 40 อ 15101 ภาษาตา งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 40 • รายวชิ า/กิจกรรมเพิ่มเติม 120 ส 15201 เสริมทักษะภาษาไทย 5 40 กิจกรรมพัฒนาผูเรียน 30  กิจกรรมแนะแนว 10  กจิ กรรมนกั เรยี น ลกู เสอื / เนตรนารี * กจิ กรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน 40  กิจกรรมชมรม / ชมุ นุม 1,000 รวมเวลาเรียนทงั้ สน้ิ หมายเหตุ * ผเู รยี นปฏิบตั กิ ิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชนในกิจกรรมลูกเสือ / เนตรนารี

16 โครงสรางหลักสตู รโรงเรยี นบานปรอผาโด เวลาเรียน ชั้นประถมศกึ ษาปที่ 6 (ชั่วโมง/ป) กลมุ สาระการเรียนรู/กจิ กรรม 840 160 รายวชิ าพืน้ ฐาน 160 ท 16101 ภาษาไทย 80 ค 16101 คณติ ศาสตร 80 ว 16101 วทิ ยาศาสตร 40 ส 16101 สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 80 ส 16102 ประวัตศิ าสตร 80 พ 16101 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 80 ศ 16101 ศลิ ปะ 80 ง 16101 การงานอาชพี และเทคโนโลยี 40 อ 16101 ภาษาตา งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 40 • รายวิชา/กจิ กรรมเพ่ิมเตมิ 120 ส 16201 หนา ทพ่ี ลเมือง 6 40 กจิ กรรมพฒั นาผูเรียน 30  กจิ กรรมแนะแนว 10  กจิ กรรมนกั เรยี น ลกู เสือ / เนตรนารี * กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน 40  กจิ กรรมชมรม / ชุมนมุ 1,000 รวมเวลาเรยี นทง้ั ส้ิน หมายเหตุ * ผเู รียนปฏบิ ัตกิ ิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชนใ นกจิ กรรมลกู เสือ / เนตรนารี

17 โครงสรางหลักสตู รโรงเรยี นบา นปรอผาโด ช้นั มัธยมศกึ ษาปที่ 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ 1 (ภาคเรยี นที่ 1) ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 1 (ภาคเรยี นที่ 2) รายวิชา /กจิ กรรม นก. เวลา รายวิชา /กิจกรรม นก. เวลา เรียน เรยี น รายวชิ าพ้นื ฐาน รายวชิ าพ้ืนฐาน ภาษาไทย 1 ท 21101 1.5 60 ภาษาไทย 2 ท 21102 1.5 60 คณติ ศาสตร 1 ค 21101 1.5 60 คณิตศาสตร 2 ค 21102 1.5 60 วิทยาศาสตร 1 ว 21101 1.5 60 วทิ ยาศาสตร 2 ว 21102 1.5 60 สังคมศึกษา 1 ส 21101 1.5 60 สังคมศึกษา 2 ส 21103 1.5 60 ประวตั ิศาสตร 1 ส 21102 0.5 20 ประวตั ิศาสตร 2 ส 21104 0.5 20 สขุ ศึกษา 1 พ 21101 0.5 20 สขุ ศึกษา 2 พ 21102 0.5 20 พลศกึ ษา 1 พ 21103 0.5 20 พลศกึ ษา 2 พ 21104 0.5 20 ทศั นศลิ ป 1 ศ 21101 0.5 20 ทัศนศลิ ป 2 ศ 21102 0.5 20 ดนตรี-นาฏศลิ ป 1 ศ 21103 0.5 20 ดนตรี-นาฏศลิ ป 2 ศ 21104 0.5 20 การงานอาชพี ฯ1 ง 21101 1.0 40 การงานอาชพี ฯ2 ง 21102 1.0 40 ภาษาอังกฤษ 1 อ 21101 1.5 60 ภาษาองั กฤษ 2 อ 21102 1.5 60 รวมสาระพื้นฐาน 11 440 รวมสาระพนื้ ฐาน 11 440 รายวชิ าเพิ่มเติม รายวชิ าเพิม่ เติม หนา ทพ่ี ลเมอื ง 1 ส 21201 0.5 20 หนา ทีพ่ ลเมอื ง 2 ส 21202 0.5 20 คณิตศาสตรเพิ่มเตมิ 1 ค 21201 0.5 20 คณติ ศาสตรเพ่ิมเตมิ 2 ค 21202 0.5 20 คอมพวิ เตอร 1 ง 21201 1.0 40 คอมพิวเตอร 2 ง 21202 1.0 40 ภาษาองั กฤษอา นเขยี น 1 อ21201 0.5 20 ภาษาองั กฤษอานเขยี น 2 อ 21202 0.5 20 รวมสาระเพิ่มเติม 2.5 100 รวมสาระเพิ่มเตมิ 2.5 100 รวมเวลาเรยี น 13.5 540 รวมเวลาเรียน 13.5 540 กจิ กรรมพฒั นาผเู รียน 60 กิจกรรมพัฒนาผเู รียน 60 - กจิ กรรมแนะแนว 20 - กิจกรรมแนะแนว 20 - กิจกรรมนกั เรยี น ลกู เสอื /เนตรนารี 20 - กิจกรรมนกั เรยี น ลูกเสอื /เนตรนารี 20 - กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน 5 - กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน 5 - ชมรม ชมุ นุม 15 - ชมรม ชุมนุม 15 รวมเวลาทง้ั ส้ิน 13.5 600 รวมเวลาทัง้ สน้ิ 13.5 600 หมายเหตุ * ผเู รยี นปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชนในกิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี

18 โครงสรางหลกั สตู รโรงเรยี นบา นปรอผาโด ช้นั มัธยมศกึ ษาปที่ 2 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 2 (ภาคเรียนท่ี 1) ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ี่ 2 (ภาคเรยี นท่ี 2) รายวชิ า /กจิ กรรม นก. เวลา รายวชิ า /กิจกรรม นก. เวลา เรยี น เรียน รายวิชาพ้นื ฐาน รายวิชาพน้ื ฐาน ภาษาไทย 3 ท 22101 1.5 60 ภาษาไทย 4 ท 22102 1.5 60 คณติ ศาสตร 3 ค 22101 1.5 60 คณติ ศาสตร 4 ค 22102 1.5 60 วทิ ยาศาสตร 3 ว 22101 1.5 60 วิทยาศาสตร 4 ว 22102 1.5 60 สังคมศกึ ษา 3 ส 22101 1.5 60 สงั คมศกึ ษา 4 ส 22103 1.5 60 ประวตั ศิ าสตร 3 ส 22102 0.5 20 ประวัตศิ าสตร 4 ส 22104 0.5 20 สุขศกึ ษา 3 พ 22101 0.5 20 สุขศกึ ษา 4 พ 22102 0.5 20 พลศกึ ษา 3 พ 22103 0.5 20 พลศกึ ษา 4 พ 22104 0.5 20 ทศั นศลิ ป 3 ศ 22101 0.5 20 ทศั นศิลป 4 ศ 22102 0.5 20 ดนตรี-นาฏศลิ ป 3 ศ 22103 0.5 20 ดนตรี-นาฏศลิ ป 4 ศ 22104 0.5 20 การงานอาชพี ฯ3 ง 22101 1.0 40 การงานอาชีพฯ4 ง 22102 1.0 40 ภาษาอังกฤษ 3 อ 22101 1.5 60 ภาษาอังกฤษ 4 อ 22102 1.5 60 รวมสาระพื้นฐาน 11 440 รวมสาระพืน้ ฐาน 11 440 รายวชิ าเพมิ่ เติม รายวิชาเพ่ิมเติม หนาท่ีพลเมือง 3 ส 22201 0.5 20 หนาทพ่ี ลเมือง 4 ส 22202 0.5 20 คณติ ศาสตรเ พิม่ เตมิ 3 ค 22201 0.5 20 คณติ ศาสตรเพมิ่ เตมิ 4 ค 22202 0.5 20 คอมพิวเตอร 3 ง 22201 1.0 40 คอมพวิ เตอร 4 ง 22202 1.0 40 ภาษาอังกฤษอานเขยี น 3 อ 22201 0.5 20 ภาษาองั กฤษอานเขยี น 4 อ 22202 0.5 20 รวมสาระเพ่ิมเติม 2.5 100 รวมสาระเพ่ิมเติม 2.5 100 รวมเวลาเรียน 13.5 540 รวมเวลาเรียน 13.5 540 กจิ กรรมพัฒนาผูเรียน 60 กิจกรรมพัฒนาผูเรยี น 60 - กิจกรรมแนะแนว 20 - กิจกรรมแนะแนว 20 - กจิ กรรมนกั เรียน ลูกเสอื / เนตรนารี 20 - กจิ กรรมนกั เรยี น ลกู เสือ / เนตรนารี 20 - ชมรม ชมุ นมุ 15 - ชมรม ชุมนุม 15 - กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน 5 - กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน 5 รวมเวลาท้งั สิ้น 13.5 600 รวมเวลาท้ังสิ้น 13.5 600 หมายเหตุ * ผูเรียนปฏบิ ตั กิ ิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชนในกิจกรรมลูกเสือ / เนตรนารี

19 โครงสรา งหลักสตู รโรงเรยี นบานปรอผาโด ช้นั มัธยมศึกษาปท ี่ 3 ช้นั มัธยมศึกษาปท ่ี 3 (ภาคเรยี นท่ี 1) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3 (ภาคเรียนที่ 2) รายวชิ า /กจิ กรรม นก. เวลา รายวิชา /กิจกรรม นก. เวลา เรียน เรียน รายวิชาพน้ื ฐาน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 5 ท 23101 1.5 60 ภาษาไทย 6 ท 23102 1.5 60 คณติ ศาสตร 5 ค 23101 1.5 60 คณิตศาสตร 6 ค 23102 1.5 60 วิทยาศาสตร 5 ว 23101 1.5 60 วิทยาศาสตร 6 ว 23102 1.5 60 สังคมศกึ ษา 5 ส 23101 1.5 60 สงั คมศึกษา 6 ส 23103 1.5 60 ประวตั ศิ าสตร 5 ส 23102 0.5 20 ประวัติศาสตร 6 ส 23104 0.5 20 สขุ ศึกษา 5 พ 23101 0.5 20 สขุ ศกึ ษา 6 พ 23102 0.5 20 พลศึกษา 5 พ 23103 0.5 20 พลศึกษา 6 พ 23104 0.5 20 ทศั นศิลป 5 ศ 23101 0.5 20 ทศั นศิลป 6 ศ 23102 0.5 20 ดนตร-ี นาฏศลิ ป 5 ศ 23103 0.5 20 ดนตรี-นาฏศลิ ป 6 ศ 23104 0.5 20 การงานอาชพี ฯ5 ง 23101 1.0 40 การงานอาชพี ฯ6 ง 23102 1.0 40 ภาษาอังกฤษ 5 อ 23101 1.5 60 ภาษาองั กฤษ 6 อ 23102 1.5 60 รวมสาระพื้นฐาน 11 440 รวมสาระพ้นื ฐาน 11 440 รายวิชาเพ่มิ เติม รายวชิ าเพ่ิมเติม หนาทพ่ี ลเมือง 5 ส 23201 0.5 20 หนาทีพ่ ลเมือง 6 ส 23202 0.5 20 คณติ ศาสตรเพิม่ เติม 5 ค 23201 0.5 20 คณติ ศาสตรเพิ่มเติม 6 ค 23202 0.5 20 การเขียนโปรแกรม 1 ง 23201 1.0 40 การเขยี นโปรแกรม 2 ง 23202 1.0 40 ภาษาองั กฤษอา นเขียน 5 อ 23201 0.5 20 ภาษาอังกฤษอานเขยี น 6 อ 23202 0.5 20 รวมสาระเพ่ิมเตมิ 2.5 100 รวมสาระเพิ่มเตมิ 2.5 100 รวมเวลาเรยี น 13.5 540 รวมเวลาเรียน 13.5 540 กจิ กรรมพัฒนาผูเรยี น 60 กจิ กรรมพัฒนาผูเรียน 60 - กจิ กรรมแนะแนว 20 - กิจกรรมแนะแนว 20 - กิจกรรมนักเรียน ลูกเสอื / เนตรนารี 20 - กจิ กรรมนักเรยี น ลูกเสือ / เนตรนารี 20 - ชมรม ชุมนมุ 15 - ชมรม ชุมนุม 15 - กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน 5 - กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน 5 รวมเวลาท้งั สนิ้ 13.5 600 รวมเวลาทั้งสิน้ 13.5 600 หมายเหตุ * ผูเรยี นปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชนในกิจกรรมลกู เสือ / เนตรนารี

20 โครงสรา งกลุม สาระการเรียนรภู าษาตางประเทศ(ภาษาอังกฤษ ) ระดับประถมศกึ ษา รายวชิ าพืน้ ฐาน อ11101 ภาษาองั กฤษ จำนวน 160 ชว่ั โมง อ12101 ภาษาองั กฤษ จำนวน 160 ช่ัวโมง อ13101 ภาษาองั กฤษ จำนวน 160 ชวั่ โมง อ14101 ภาษาอังกฤษ จำนวน 80 ชวั่ โมง อ15101 ภาษาองั กฤษ จำนวน 80 ชั่วโมง อ16101 ภาษาอังกฤษ จำนวน 80 ชวั่ โมง โครงสรางกลุมสาระการเรียนรภู าษาตางประเทศ (ภาษาองั กฤษ ) ระดับมธั ยมศกึ ษา รายวชิ าพืน้ ฐาน อ21101 ภาษาอังกฤษ 1 จำนวน 60 ช่วั โมง อ21102 ภาษาอังกฤษ 2 จำนวน 60 ชวั่ โมง อ22101 ภาษาองั กฤษ 3 จำนวน 60 ชัว่ โมง อ22102 ภาษาอังกฤษ 4 จำนวน 60 ชว่ั โมง อ23101 ภาษาองั กฤษ 5 จำนวน 60 ชวั่ โมง อ23102 ภาษาองั กฤษ 6 จำนวน 60 ชั่วโมง โครงสรา งกลมุ สาระการเรียนรภู าษาตา งประเทศ (ภาษาอังกฤษ ) ระดับมธั ยมศกึ ษา รายวิชาเพม่ิ เตมิ อ21201 ภาษาองั กฤษอา นเขียน 1 จำนวน 40 ชั่วโมง อ21202 ภาษาอังกฤษอา นเขียน 2 จำนวน 40 ช่ัวโมง อ22201 ภาษาองั กฤษอา นเขยี น 3 จำนวน 40 ชัว่ โมง อ22202 ภาษาอังกฤษอานเขียน 4 จำนวน 40 ชว่ั โมง อ23201 ภาษาองั กฤษอา นเขียน 5 จำนวน 40 ช่วั โมง อ23202 ภาษาองั กฤษอานเขยี น 6 จำนวน 40 ชั่วโมง

21 คำอธิบายรายวิชา กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาตางประเทศ(ภาษาองั กฤษ)

22 คำอธิบายรายวิชา อ11101 ภาษาอังกฤษ กลุมสาระการเรียนรูภ าษาตางประเทศ ชนั้ ประถมศึกษาปที่ 1 เวลา 160 ช่วั โมง ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ระบตุ ัวอกั ษร เสยี งอักษร อานออกเสยี ง สะกดคำ ปฏิบัติตามคำสงั่ งา ยๆ สามารถเลือกภาพตรงตาม ความหมายของคำและกลมุ คำทฟ่ี ง บอกความตองการงายๆ ของตนเอง พูดขอและใหขอมลู ตอบคำถาม เก่ียวกับตนเอง และเร่ืองใกลตวั ในสถานการณงา ย ๆ ทำทาประกอบตามวัฒนธรรมของเจา ของภาษา บอกชอื่ รวมรวมคำศัพทแ ละตอบคำถามเกีย่ วกบั เรื่องใกลตัว เทศกาลสำคัญ เขารว มกิจกรรมทางภาษา และ วฒั นธรรม ประเพณีในทองถ่ิน โดยใชทักษะการฟง การพูดเพอ่ื ใหเ กิดความรู ความเขาใจ สามารถปฏบิ ตั ติ ามคำสงั่ การทกั ทาย สามารถพูดขอและใหขอมลู ได เหน็ คณุ คาของการใชภาษาอังกฤษ การอยูรวมกันในสงั คม ใฝเรียนรู รักความเปนไทย ใฝเ รียนรู รกั ความเปนไทย รหัสตวั ชี้วดั ต 1.1 ป1/1, ป1/2, ป1/3, ป1/4 ต 1.2 ป1/1, ป1/2, ป1/3, ป1/4 ต 1.3 ป1/1 ต 2.1 ป1/1 , ป1/2, ป1/3 ต 2.2 ป1/1 ต 3.1 ป1/1 ต 4.1 ป1/1 ต 4.2 ป1/1 รวมทั้งหมด 16 ตัวช้วี ัด

23 คำอธิบายรายวิชา อ12101 ภาษาอังกฤษ กลมุ สาระการเรียนรูภ าษาตา งประเทศ ชั้นประถมศึกษาปท ่ี 2 เวลา 160 ชว่ั โมง ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ระบตุ วั อกั ษร เสยี งอักษรของภาษาองั กฤษและภาษาไทย อานออกเสียง สะกดคำงายๆ สามารถเลอื ก ภาพตรงตามความหมายของคำและกลมุ คำท่ีฟงปฏบิ ตั ติ ามและใชค ำสง่ั คำขอรองงายๆ ตามแบบท่ีฟง ตอบคำถาม พดู ขอและใหข อมลู เกี่ยวกับตนเอง และเร่ืองใกลตัวในสถานการณง า ยๆ ทีเ่ กดิ ขน้ึ ในหองเรียน ตอบคำถามเก่ียวกับ นทิ าน กลุมสาระการเรยี นรูอน่ื เทศกาลสำคญั พรอมทำทาทางประกอบตามวฒั นธรรม ของเจาของภาษา เขา รว มกิจกรรมทางภาษา และวฒั นธรรม ประเพณใี นทองถ่นิ โดยใชทักษะการฟง การพดู เพอ่ื ใหเ กดิ ความรู ความเขาใจ สามารถปฏิบัติตามคำสงั่ การทักทาย สามารถพูดขอและใหขอ มูลได โดยใชทกั ษะการฟง การพูด เพื่อใหเ กิดความรู ความเขาใจ สามารถปฏิบตั ติ าม คำสงั่ การทักทาย สามารถพูดขอและใหข อมลู ได เหน็ คุณคา ของการใชภ าษาองั กฤษ การอยูร ว มกันในสงั คม ใฝเ รียนรู รกั ความเปน ไทย รหสั ตัวชี้วดั ต 1.1 ป2/1, ป2/2, ป2/3, ป.2/4 ต 1.2 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4 ต 1.3 ป.2/1 ต 2.1 ป.2/1, ป. 2/2, ป.2/3 ต 2.2 ป.2/1 ต 3.1 ป.2/1 ต 4.1 ป.2/1 ต 4.2 ป.2/1 รวมทั้งหมด 16 ตัวชี้วดั

24 คำอธิบายรายวชิ า อ13101 ภาษาอังกฤษ กลุมสาระการเรียนรูภาษาตา งประเทศ ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ 3 เวลา 160 ช่ัวโมง ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- บอกความแตกตา งของเสยี งตัวอักษร คำ กลมุ คำและประโยคงายๆ ของภาษาองั กฤษและภาษาไทย ปฏบิ ัตติ ามคำสั่งและคำขอรอง พดู สนทนา โตต อบดว ยคำส้ันๆ ฟง พดู ประโยค นิทาน ในสถานการณงายๆ ทีเ่ กดิ ขึน้ ในหองเรียน เลือก ระบุภาพหรือสัญลกั ษณ ตรงตามความหมายของกลมุ คำ ใหขอ มูล บอกความ ตอ งการ ความรสู กึ งา ยๆ เกี่ยวกับตนเองและเร่ืองใกลตัว อานออกเสียง สะกด คำ กลุมคำ ประโยค ตามหลกั การอา น ตอบคำถามรวบรวมคำศพั ท จากการฟงหรือการอา นเรอ่ื งใกลต วั เทศกาลสำคญั และชีวติ ความเปน อยูของเจา ของภาษา พดู และทำทาทางประกอบตามมารยาทสังคมและวฒั นธรรมของเจาของ เขารวมกิจกรรมทางภาษา และวัฒนธรรม ประเพณีในทองถิน่ โดยใชท ักษะการฟง การพดู การอา นออก เสียง สะกด คำ เพื่อใหเ กดิ ความรู ความเขา ใจ สามารถปฏิบัตติ ามคำส่งั การทักทาย สามารถพูดขอและให ขอ มูลได มีมารยาทสังคมและวฒั นธรรมของเจา ของภาษา รูจ กั การเขา รว มกิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรม ท่เี หมาะสมกับวยั มีความมงุ ม่ัน ใฝรูใฝเ รียน และรักความเปนไทย รหสั ตัวช้ีวดั ต 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4 ต 1.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5 ต 1.3 ป.3/1, ป.3/2 ต 2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3 ต 2.2 ป.3/1 ต 3.1 ป.3/1 ต4.1 ป.3/1 ต 4.2 ป.3/1 รวมทั้งหมด 18 ตัวชี้วัด

25 คำอธิบายรายวิชา อ14101 ภาษาอังกฤษ กลุมสาระการเรียนรภู าษาตางประเทศ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 เวลา 80 ช่ัวโมง ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ปฏบิ ตั ิตามคำส่งั คำขอรองและคำแนะนำงา ยๆ จากเร่ืองท่ีฟง อา นออกเสียง สะกดคำ กลมุ คำ ประโยค ขอความงายๆ และบทพดู เขาจงั หวะตามหลกั การอา น โดยเลอื ก ระบุภาพ สญั ลักษณ เคร่ืองหมาย ตรงตามความหมายของประโยคและขอความสั้นๆ แผนท่ีจงั หวัดตาก อำเภอตา ง ๆ และคำขวญั ประจำ จงั หวดั ตาก ตอบคำถามจากการฟง พูด อา นประโยค บทสนทนาสถานการณท่ีเกิดข้ึนในหอ งเรียนและ สถานศกึ ษา นทิ านงา ยๆ พดู เขียน โตต อบในการส่อื สารระหวางบคุ คล ใชคำสง่ั คำขอรอง คำขออนญุ าต แสดงความตองการของตนเอง ขอความชว ยเหลอื ในสถานการณงา ยๆ เพ่ือขอและใหข อมูลเกย่ี วกบั ตนเอง เพอื่ น ครอบครวั และเรื่องใกลตวั วาดภาพแสดงความสัมพันธข องสงิ่ ตา งๆ แสดงความคิดเห็นเก่ยี วกับเรื่องราว ตา งๆ ใกลต วั พรอมทำทา ประกอบอยา งสุภาพ ตามมารยาทสงั คมและวัฒนธรรมของเจา ของภาษา ตอบคำถาม เก่ยี วกับเทศกาล วันสำคัญ งานฉลองและชวี ติ ความเปน อยูงายๆ ของเจาของภาษา บอกความเหมือนความ แตกตางระหวางเทศกาลและงานฉลองตามวัฒนธรรมของเจาของภาษากับภาษาไทย บอกความแตกตางของ เสยี งตวั อักษร คำ กลมุ คำ ประโยคขอความของภาษาตา งประเทศและภาษาไทย ใชภ าษาตางประเทศในการ สบื คนและรวบรวมขอมูล โดยเขา รวมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมทเ่ี หมาะสมกบั วยั ถูกตองตามกาลเทศะ มนี สิ ยั ใฝรูใ ฝเรียน ใชทักษะการฟง การพดู การอา น และการเขยี นเพ่ือสื่อสารสอื่ ความหมาย แสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั เร่ืองราวตา งๆ ใกลตัวได เห็นคณุ คาการนำความรไู ปใชในชวี ติ ประจำวัน มีมารยาททางสังคมและรวู ฒั นธรรมของเจาของภาษา รจู ักการเขารว มกิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรมท่ีเหมาะสมกับวัย มีความมุงมน่ั ใฝรูใฝเรียน และรกั ความ เปนไทย รวมทั้งมีเจตคติทีด่ ตี อการเรยี นภาษาตา งประเทศ รหสั ตวั ชี้วดั ต 1.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4 ต 1.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5 ต 1.3 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3 ต 2.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3 ต 2.2 ป.4/1, ป.4/2 ต 3.1 ป.4/1 ต 4.1 ป.4/1 ต 4.2 ป.4/1 รวมทั้งหมด 20 ตวั ช้ีวดั

26 คำอธิบายรายวิชา รหัสวิชา อ15101 ภาษาอังกฤษ กลุมสาระการเรยี นรูภ าษาตา งประเทศ ชน้ั ประถมศึกษาปที่ 5 เวลา 80 ช่วั โมง ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ปฏบิ ัตติ ามคำส่งั คำขอรอง คำแนะนำ ตลอดจนอานออกเสียง บอกใจความสำคัญและ ตอบคำถามจากการฟงและอานขอ ความ บทสนทนา บทกลอนสน้ั ๆ นิทานงายๆ และเรื่องสัน้ ไดถ ูกตองตาม หลกั การอาน ระบปุ ระโยคหรือขอความส้นั ๆ ไดตรงตามภาพ สญั ลกั ษณ หรือเคร่ืองหมายที่อาน พูดและเขยี น โตต อบในการสื่อสารระหวางบุคคล แสดงความตองการ ความรสู กึ ขอความชว ยเหลือ ตอบรับและปฏเิ สธการ ใหความชว ยเหลือในสถานการณงายๆ พรอมทั้งใหเหตุผลประกอบ ขอและใหขอมลู เกีย่ วกบั ตนเอง เพื่อน ครอบครัว และเร่ืองใกลตวั สถานทส่ี ำคัญในอำเภอแมอมุ ผางและคำขวัญประจำอำเภออุม ผาง โดยการพูดและเขยี นทใ่ี ชถอยคำ นำ้ เสยี ง และกริ ยิ าทา ทางอยา งสภุ าพ เหมาะสมตามมารยาทสงั คมและ วฒั นธรรมของเจาของภาษา เขยี นภาพ แผนผัง แผนภมู ิ แสดงขอ มลู ตา งๆ จากการฟงและอา น ตอบคำถาม บอกความสำคัญ ของเทศกาล วนั สำคญั งานฉลอง และชวี ติ ความเปน อยูของเจา ของภาษา กบั ของไทย เปรียบเทียบความเหมอื น ความแตกตางระหวา งการออกเสยี งประโยคชนดิ ตา งๆ การใชเ คร่อื งหมายวรรคตอน การลำดบั คำตามโครงสรางประโยคของภาษาตางประเทศและภาษาไทย ใชภาษาตา งประเทศในการสืบคน และรวบรวมขอมลู ตา งๆ ตลอดจนคน ควา รวบรวมคำศัพทท่ีเก่ยี วขอ งกับกลุมสาระการเรยี นรอู น่ื จากแหลง การ เรยี นรู และนำเสนอดวยการพูดและเขยี น ใชภ าษาส่ือสารในสถานการณตางๆ ท่ีเกิดขึ้นในหองเรยี นและ สถานศึกษาไดอยา งมปี ระสิทธภิ าพ เขารว มกจิ กรรมทางภาษาและวฒั นธรรม ตามความสนใจ ใชทักษะการฟง การพดู การอา น และการเขยี นเพ่ือสอ่ื สารสือ่ ความหมาย แสดงความคิดเห็นเกีย่ วกบั เรื่องราวตา งๆ ใกลตัวได เหน็ คณุ คา การนำความรูไ ปใชในชวี ติ ประจำวัน มมี ารยาททางสังคมและรวู ฒั นธรรมของเจาของภาษา รจู ักการเขา รวมกิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรมทเ่ี หมาะสมกับวัย มีความมุงม่นั ใฝรูใ ฝเรยี น และรกั ความ เปนไทย รวมทัง้ มเี จตคติทดี่ ตี อการเรยี นภาษาตา งประเทศ รหสั ตัวชี้วัด ต 1.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4 ต 1.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5 ต 1.3 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3 ต 2.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3 ต 2.2 ป.5/1, ป.5/2 ต 3.1 ป.5/1 ต 4.1 ป.5/1 ต 4.2 ป.5/1 รวมท้ังหมด 20 ตวั ชีว้ ัด

27 คำอธิบายรายวิชา รหสั วิชา อ16101 ภาษาอังกฤษ กลุมสาระการเรียนรูภ าษาตา งประเทศ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 6 เวลา 80 ช่วั โมง ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ปฏิบัตติ ามคำส่งั คำขอรอง คำแนะนำ ตลอดจนอานออกเสียง บอกใจความสำคัญและ ตอบคำถามจากการฟง และอานขอความ บทสนทนา บทกลอนสน้ั ๆ นิทานงา ยๆ และเร่ืองเลา ไดถ ูกตองตาม หลักการอา น ระบุประโยคหรอื ขอความสั้นๆ ไดตรงตามภาพ สญั ลกั ษณ หรือเคร่ืองหมายท่ีอาน สถานที่ สำคัญของจังหวดั ตาก พดู และเขียนโตตอบในการสื่อสารระหวา งบคุ คล แสดงความตองการ ความรูส ึก ขอความชว ยเหลอื ตอบรบั และปฏเิ สธการใหค วามชว ยเหลือในสถานการณงายๆ พรอมทัง้ ใหเ หตผุ ลประกอบ ขอและใหข อมูล บรรยายเกย่ี วกับตนเอง เพอื่ น ครอบครวั และสงิ่ แวดลอมใกลตัว โดยการพูดและเขียนที่ ใชถ อยคำ นำ้ เสยี ง และกิรยิ าทา ทางอยา งสภุ าพ เหมาะสมตามมารยาทสังคมและวฒั นธรรมของเจาของภาษา เขยี นภาพ แผนผัง แผนภูมิ และตารางแสดงขอ มลู ตางๆ จากการฟงและอา น บอกความสำคญั พรอมทัง้ เปรียบเทียบความเหมอื น ความแตกตางเกีย่ วกับเทศกาล วันสำคัญ งานฉลอง และชวี ิตความเปน อยขู อง เจาของภาษา กบั ของไทย เปรียบเทียบความเหมือน ความแตกตางระหวา งการออกเสียงประโยคชนดิ ตา งๆ การใชเคร่ืองหมายวรรคตอน การลำดับคำตามโครงสรางประโยคของภาษาตา งประเทศและภาษาไทย ใชภ าษาตา งประเทศในการสืบคนและรวบรวมขอมูลตา งๆ ตลอดจนคน ควา รวบรวมคำศัพทท เี่ กี่ยวขอ งกบั กลมุ สาระการเรียนรูอนื่ จากแหลง การเรียนรู และนำเสนอดว ยการพูดและเขยี น ใชภาษาสอ่ื สารในสถานการณ ตา งๆ ท่เี กิดขึ้นในหองเรียนและสถานศึกษาไดอยา งมีประสิทธิภาพ เขา รว มกจิ กรรมทางภาษาและวัฒนธรรม ตามความสนใจ ใชท ักษะการฟง การพดู การอานและการเขียน เพ่ือส่ือสารสอ่ื ความหมาย แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ เรอื่ งราวตางๆ ใกลต วั ได เห็นคุณคาการนำความรูไปใชในชีวติ ประจำวนั มีมารยาททางสงั คมและรวู ัฒนธรรมของเจาของภาษา รจู กั การเขารว มกจิ กรรมทางภาษาและวฒั นธรรมที่เหมาะสมกับวยั มีความมุงม่นั ใฝรใู ฝเรยี น และรกั ความ เปนไทยรวมทง้ั มีเจตคตทิ ีด่ ตี อการเรียนภาษาตางประเทศ รหสั ตวั ช้วี ัด ต 1.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4 ต 1.2 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5 ต 1.3 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3 ต 2.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3 ต 2.2 ป.6/1, ป.6/2 ต 3.1 ป.6/1 ต 4.1 ป.6/1 ต 4.2 ป.6/1 รวม 20 ตัวช้วี ัด

28 คำอธิบายรายวชิ า รหสั วชิ า อ21101 ภาษาองั กฤษ 1 กลุมสาระการเรยี นรูภาษาตา งประเทศ(ภาษาองั กฤษ) ช้นั มธั ยมศึกษาปท ี่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หนว ยกิต ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศกึ ษาคำสง่ั คำขอรอง คำแนะนำ และคำช้ีแจงงายๆ ขอความ นิทาน และบทรอยกรอง (p0em) สัน้ ๆ ตามหลกั การอา น ศึกษาวลี คำ กลมุ คำ ประโยคและขอความตามหลักการอา นและการเขียนและใหสัมพนั ธก บั สอื่ ที่ไมใชความเรยี ง(n0n-text inf0rmati0n) หวั ขอ เร่ือง (t0pic) ใจความสำคญั (main idea) และตอบ คำถาม บทสนทนา นิทาน และเร่ืองสัน้ ขอมูลเกยี่ วกบั ตนเอง กจิ กรรม และสถานการณต างๆ ในชวี ติ ประจำวัน คำขอรอง คำแนะนำและคำช้แี จง ตามสถานการณ ความตอ งการ ขอความชว ยเหลือ ตอบรับ และปฏิเสธการใหความชวยเหลือในสถานการณตาง ๆ อยางเหมาะสม กิจวัตรประจำวัน ประสบการณ และส่งิ แวดลอมใกลตัว ใจความสำคัญ/แกนสาระ (theme) ที่ไดจากการวิเคราะหเรอื่ ง/ เหตุการณท ่ีอยใู นความสนใจของสังคม ความคดิ เหน็ เกีย่ วกับกจิ กรรมหรือเร่อื งตา งๆ ใกลตัว พรอมเหตผุ ลสัน้ ๆ ประกอบ เทศกาล วันสำคญั ชวี ิตความเปนอยู และประเพณีของเจาของภาษา ความเหมือนและความแตกตา ง ระหวางเทศกาล งานฉลอง วนั สำคญั และชีวติ ความเปน อยูของเจา ของภาษากบั ของไทย ขอ มูล/ขอ เท็จจริงท่ี เกย่ี วของกบั กลุมสาระการเรียนรอู ืน่ จากแหลงเรยี นรู การใชพจนานุกรม ภาษา น้ำเสียง การออกเสียงท่ีถกู ตอง และกริ ิยาทาทางสุภาพเหมาะสม ตามมารยาทสงั คมและวัฒนธรรมของเจา ของภาษา ความเหมือนและความ แตกตา งระหวางการออกเสยี งประโยคชนิดตา งๆ เครื่องหมายวรรคตอนและการลำดบั คำตามโครงสราง ประโยคของภาษาตา งประเทศและภาษาไทย ภาษาสื่อสารในสถานการณจรงิ และ หรือสถานการณจ ำลอง ทเี่ กดิ ขึน้ ในหอ งเรยี น สถานศึกษา ชมุ ชนและสงั คม โดยใชก ระบวนการทางภาษานำมาปฏิบัติ อาน อา นออกเสียง พูด เขยี น อธบิ าย ระบุ ฟง จบั ใจความ สำคัญวเิ คราะห บันทึก สรุป ตคี วาม แสดงความคดิ เห็น ใหเหตผุ ล ยกตวั อยาง สนทนา สือ่ สาร เสนอ ตอบรบั ปฏิเสธ บรรยาย อภิปราย เปรยี บเทียบ เลอื กใชภาษาใหเหมาะสม เขารวม แนะนำและจัดกิจกรรม มีวนิ ยั ใฝ เรียนรู เพอื่ เหน็ คณุ คาในการนำความรไู ปใชประโยชนในชวี ติ ประจำวัน และอยูอ ยา งพอเพยี ง มีความซอ่ื สัตย มุงมน่ั ในการทำงาน รกั ความเปนไทยและมีจติ สาธารณะ รหสั ตวั ช้วี ดั ต 1.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4 ต 3.1 ม.1/1 ต 1.2 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5 ต 4.1 ม.1/1 ต 1.3 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3 ต 4.2 ม.1/1, ม.1/2 ต 2.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3 ต 2.2 ม.1/1, ม.1/2 รวมทง้ั หมด 21 ตัวชวี้ ัด

29 คำอธิบายรายวิชา รหสั วิชา อ21101 ภาษาอังกฤษ 2 กลุมสาระการเรียนรภู าษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60 ชวั่ โมง จำนวน 1.5 หนวยกิต ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาคำส่ัง คำขอรอง คำแนะนำ และคำชี้แจงงายๆ ขอความ นทิ าน และบทรอยกรอง (p0em) สั้นๆ ตามหลกั การอา น วลี คำ กลมุ คำ ประโยคและ ขอความตามหลักการอานและการเขียนและใหสัมพนั ธก ับ ส่อื ทไ่ี มใ ชความเรยี ง(n0n-text inf0rmati0n) หัวขอเรื่อง (t0pic) ใจความสำคัญ (main idea) และตอบ คำถาม บทสนทนา นทิ าน และเร่ืองส้ัน ขอมูลเก่ยี วกบั ตนเอง กจิ กรรม และสถานการณตางๆ ในชวี ติ ประจำวนั คำขอรอง คำแนะนำ และคำชแี้ จง ตามสถานการณ ความตอ งการ การขอความชวยเหลอื ตอบรบั และปฏิเสธการใหความชวยเหลอื ในสถานการณต างๆ อยา งเหมาะสม กิจวัตรประจำวัน ประสบการณ และสิ่งแวดลอ มใกลตวั ใจความสำคัญ/แกน สาระ (theme) ทไ่ี ดจากการวเิ คราะหเ รอ่ื ง/เหตกุ ารณท ี่อยใู นความ สนใจของสังคม ความคดิ เหน็ เกยี่ วกับกจิ กรรมหรือเรื่องตา งๆ ใกลต ัว พรอ มเหตผุ ลส้ันๆ ประกอบ เทศกาล วันสำคัญ ชวี ติ ความเปนอยู และประเพณีของเจา ของภาษา ความเหมอื นและความแตกตางระหวางเทศกาล งานฉลอง วนั สำคญั และชีวิตความเปน อยขู องเจาของภาษากบั ของไทย ขอ มลู /ขอเทจ็ จริงทเ่ี กย่ี วของกับกลมุ สาระการเรียนรูอืน่ จากแหลง เรยี นรู การใชพ จนานุกรม ภาษา น้ำเสียง การออกเสียงท่ถี ูกตอ งและกริ ยิ าทา ทาง สภุ าพเหมาะสม ตามมารยาทสังคมและวฒั นธรรมของเจา ของภาษา ความเหมอื นและความแตกตางระหวาง การออกเสียงประโยคชนดิ ตางๆ เครอ่ื งหมายวรรคตอนและการลำดบั คำตามโครงสรา งประโยคของ ภาษาตางประเทศและภาษาไทย ภาษาสอ่ื สารในสถานการณจ ริงและหรือสถานการณจ ำลองที่เกิดข้นึ ใน หอ งเรยี น สถานศึกษา ชุมชนและสงั คม โดยใชก ระบวนการทางภาษานำมาปฏบิ ัติ อา น อานออกเสียง พดู เขียน อธิบาย ระบุ ฟง จับใจความสำคญั วเิ คราะห บันทกึ สรุป ตีความ แสดงความคิดเห็น ใหเ หตุผล ยกตัวอยาง สนทนา สื่อสาร เสนอ ตอบรับ ปฏิเสธ บรรยาย อภิปราย เปรยี บเทียบ เลือกใชภ าษาใหเหมาะสม เขารวม แนะนำ และจดั กจิ กรรม มวี ินัย ใฝเ รยี นรู เพือ่ เหน็ คณุ คาในการนำความรไู ปใชประโยชนในชวี ติ ประจำวนั และอยอู ยา งพอเพียง มีความซ่อื สตั ย มงุ มน่ั ในการทำงาน รกั ความเปน ไทยและมจี ิตสาธารณะ รหสั ตวั ชว้ี ดั ต 1.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4 ต 3.1 ม.1/1 ต 1.2 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5 ต 4.1 ม.1/1 ต 1.3 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3 ต 4.2 ม.1/1, ม.1/2 ต 2.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3 ต 2.2 ม.1/1, ม.1/2 รวมท้งั หมด 21 ตัวชวี้ ัด

30 คำอธิบายรายวิชา รหัสวิชา อ22101 ภาษาอังกฤษ 3 กลุมสาระการเรยี นรูภ าษาตา งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชัว่ โมง จำนวน 1.5 หนวยกติ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาคำขอรอ ง คำแนะนำ คำชี้แจง และคำอธิบายงายๆ ในการทำอาหาร เคร่ืองดื่ม การประดษิ ฐ การใชยา/ ฉลากยา การบอกทิศทาง ปา ยประกาศตางๆ หรือการใชอุปกรณ อานออกเสยี งขอ ความขา ว ประกาศและบทรอยกรองสั้นๆ ถูกตองตามหลักการอา นออกเสียง ตามพจนานกุ รม อานระดบั เสยี งสงู ต่ำใน ประโยค การแบงวรรคตอนในการอา น เขียน ประโยคหรือขอ ความและความหมายใหสัมพันธกับสื่อท่ีไมใ ช ความเรยี งเก่ยี วกับตนเองคอรบครวั โรงเรยี น สง่ิ แวดลอ ม อาหารเคร่ืองดมื่ เวลาวา ง นันทนาการ สุขภาพ และสวัสดกิ าร การซ้ือขาย ลมฟาอากาศ การศึกษาและอาชีพ การเดนิ ทางทอ งเท่ยี ว การบริการ สถานท่ี ภาษา วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี เปน วงคำศพั ทสะสม ประมาณ 1750- 1900 คำ สามารถ เลือกหัวขอ เร่อื ง จบั ใจความสำคัญ บอกรายละเอยี ด ( Supp0rting detail) โดยแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับ เรอื่ งที่ฟง และการอา น พรอมทัง้ ใหเหตุผลและยกตวั อยางประกอบ ตีความ/ถา ยโอนขอมูล สนทนาแลกเปลย่ี นขอมลู เกยี่ วกับตนเอง เรอื่ งตา งๆ ใกลตัวและสถานการณตางๆ ใน ชีวติ ประจำวนั อยางเหมาะสม สามารถพูด ขอรอง แนะนำ ชีแ้ จง และอธบิ ายตามสถานการณตา งๆได พดู และ เขียนความตองการเสนอและใหค วามชวยเหลือ ตอบรบั และปฏิเสธ การใหค วามชวยเหลอื ได แสดงความ คดิ เห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟง หรืออานอยา งเหมาะสม เพ่ือเห็นคุณคา ในการนำความรูไปใชประโยชนในชวี ิตประจำวนั และอยอู ยางพอเพียง มีความซ่ือสัตย มุงม่นั ในการทำงาน รักความเปน ไทยและมีจิตสาธารณะ รหัสตวั ชว้ี ดั ต 1.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4 ต 1.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5 ต 1.3 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3 ต 2.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3 ต 2.2 ม.2/1, ม.2/2 ต 3.1 ม.2/1 ต 4.1 ม.2/1 ต 4.2 ม.2/1, ม.2/2 รวมทั้งหมด 21 ตัวชีว้ ัด

31 คำอธิบายรายวชิ า รหัสวชิ า อ22102 ภาษาอังกฤษ 4 กลุมสาระการเรยี นรูภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 60 ช่วั โมง จำนวน 1.5 หนว ยกติ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศกึ ษาคำขอรอง คำแนะนำ คำชีแ้ จง และคำอธิบายงายๆ ในการทำอาหาร เคร่ืองดืม่ การประดษิ ฐ การใชยา/ ฉลากยา การบอกทิศทาง ปายประกาศตางๆ หรอื การใชอุปกรณ การอานออกเสียงขอความขาว ประกาศและบทรอ ยกรองสั้นๆ ถกู ตองตามหลักการอา นออกเสียง การอานระดับเสยี งสงู ตำ่ ในประโยค การแบง วรรคตอนในการอา น เขยี น ประโยคหรือขอความและความหมายใหสมั พนั ธกับสอื่ ทไี่ มใชความเรียง เก่ยี วกบั ตนเองคอรบครัว โรงเรยี น สิ่งแวดลอ ม อาหารเคร่ืองดมื่ เวลาวาง นันทนาการ สขุ ภาพ และสวัสดิการ การซอ้ื ขาย ลมฟาอากาศ การศกึ ษาและอาชพี การเดินทางทองเทีย่ ว การบริการ สถานท่ี ภาษา วทิ ยาศาสตร และเทคโนโลยี เปน วงคำศัพทสะสม ประมาณ 1750- 1900 คำ สามารถ โดยเลอื กหัวขอเร่ือง จับใจความสำคญั บอกรายละเอียด (Supp0rting detail) และแสดงความ คดิ เห็นเกยี่ วกับ เร่ืองที่ฟงและการอาน พรอมท้งั ใหเ หตุผลและยกตวั อยา งประกอบ ตีความ/ถายโอนขอมูล สนทนาแลกเปลี่ยนขอมูลเก่ยี วกบั ตนเอง เรื่องตางๆ ใกลต วั และสถานการณตา งๆ ในชวี ติ ประจำวันอยาง เหมาะสม สามารถพูด ขอรอง แนะนำ ช้ีแจง และอธบิ ายตามสถานการณต างๆได พูดและเขยี นความตองการ เสนอและใหความชวยเหลอื ตอบรับและปฏเิ สธ การใหค วามชวยเหลอื ได แสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับเรอื่ งที่ฟง หรืออา นอยา งเหมาะสม เพื่อเหน็ คณุ คาในการนำความรูไ ปใชประโยชนใ นชีวิตประจำวัน และอยอู ยางพอเพียง มีความซอ่ื สตั ย มงุ มนั่ ในการทำงาน รกั ความเปนไทยและมจี ติ สาธารณะ รหัสตวั ชี้วดั ต 1.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4 ต 1.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5 ต 1.3 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3 ต 2.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3 ต 2.2 ม.2/1, ม.2/2 ต 3.1 ม.2/1 ต 4.1 ม.2/1 ต 4.2 ม.2/1, ม.2/2 รวมท้ังหมด 21 ตวั ชี้วัด

32 คำอธิบายรายวชิ า รหัสวิชา อ23101 ภาษาอังกฤษ 5 กลุมสาระการเรยี นรภู าษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ช่วั โมง จำนวน 1.5 หนวยกติ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาคำขอรอง คำแนะนำ คำชแ้ี จง และคำอธบิ ายงายๆ ในการทำอาหาร เครื่องดื่ม การประดิษฐ การใชยา/ ฉลากยา การบอกทศิ ทาง ปา ยประกาศตา งๆ หรือการใชอปุ กรณ อา นออกเสียงขอ ความขา ว ประกาศและบทรอยกรองสนั้ ๆ ถกู ตองตามหลักการอานออกเสียง ตามพจนานกุ รม อา นระดับเสียงสงู ตำ่ ในประโยค การแบงวรรคตอนในการอาน เขียน ประโยคหรอื ขอความและความหมายใหสมั พนั ธก ับส่ือท่ีไมใช ความเรียงเก่ยี วกับตนเองคอรบครัว โรงเรียน สง่ิ แวดลอ ม อาหารเคร่ืองดื่ม เวลาวา ง นนั ทนาการ สขุ ภาพ และสวสั ดิการ การซ้ือขาย ลมฟาอากาศ การศกึ ษาและอาชพี การเดนิ ทางทอ งเที่ยว การบรกิ าร สถานที่ ภาษา วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี เปน วงคำศพั ทสะสม ประมาณ 1750- 1900 คำ สามารถ เลอื กหวั ขอ เรือ่ ง จับใจความสำคัญ บอกรายละเอียด (Supp0rting detail) โดยแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับ เร่อื งที่ฟงและการอา น พรอมทัง้ ใหเ หตผุ ลและยกตัวอยางประกอบ ตคี วาม/ถายโอนขอ มลู สนทนาแลกเปล่ยี นขอมูลเกยี่ วกับตนเอง เรอื่ งตางๆ ใกลต ัวและสถานการณตา งๆ ในชีวติ ประจำวันอยางเหมาะสม สามารถพูด ขอรอง แนะนำ ชแ้ี จง และอธิบายตามสถานการณต างๆได พูดและเขยี นความตอ งการเสนอและใหค วามชว ยเหลือ ตอบรบั และปฏเิ สธ การใหความชวยเหลอื ได แสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกับเรื่องที่ฟงหรืออานอยางเหมาะสม เพ่ือเหน็ คณุ คาในการนำความรูไปใชป ระโยชนในชีวิตประจำวนั และอยูอยางพอเพียง มีความซอ่ื สตั ย มุงมนั่ ในการทำงาน รกั ความเปน ไทยและมจี ิตสาธารณะ รหัสตวั ช้ีวดั ต 1.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4 ต 1.2 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5 ต 1.3 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3 ต 2.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3 ต 2.2 ม.3/1, ม.3/2 ต 3.1 ม.3/1 ต 4.1 ม.3/1 ต 4.2 ม.3/1, ม.3/2 รวมท้ังหมด 21 ตัวชว้ี ัด

33 คำอธิบายรายวิชา รหสั วชิ า อ23102 ภาษาอังกฤษ 6 กลุมสาระการเรยี นรูภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชั้นมธั ยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หนว ยกิต ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศกึ ษาคำขอรอ ง คำแนะนำ คำช้แี จง และคำอธิบายงายๆ ในการทำอาหาร เคร่ืองดื่ม การประดิษฐ การใชย า/ ฉลากยา การบอกทิศทาง ปายประกาศตางๆ หรอื การใชอปุ กรณ อานออกเสียงขอ ความขา ว ประกาศและบทรอยกรองสน้ั ๆ ถกู ตองตามหลักการอานออกเสียง ตามพจนานกุ รม อานระดบั เสยี งสงู ตำ่ ใน ประโยค การแบงวรรคตอนในการอาน เขียน ประโยคหรือขอ ความและความหมายใหสัมพนั ธกับสื่อท่ไี มใ ช ความเรียงเกย่ี วกับตนเองคอรบครัว โรงเรียน ส่งิ แวดลอม อาหารเคร่ืองด่ืม เวลาวาง นนั ทนาการ สุขภาพ และสวสั ดกิ าร การซื้อขาย ลมฟาอากาศ การศกึ ษาและอาชพี การเดนิ ทางทองเทยี่ ว การบริการ สถานท่ี ภาษา วทิ ยาศาสตร และเทคโนโลยี เปนวงคำศพั ทสะสม ประมาณ 1750- 1900 คำ สามารถ เลือกหวั ขอ เรื่อง จับใจความสำคญั บอกรายละเอียด (Supp0rting detail) โดยแสดงความคดิ เห็นเก่ียวกับ เรอ่ื งที่ฟง และการอาน พรอมท้ังใหเ หตผุ ลและยกตัวอยางประกอบ ตีความ/ถา ยโอนขอมูล สนทนาแลกเปลี่ยนขอมลู เกย่ี วกับตนเอง เร่ืองตางๆ ใกลต วั และสถานการณตา งๆ ในชวี ิตประจำวนั อยา งเหมาะสม สามารถพูด ขอรอง แนะนำ ชีแ้ จง และอธบิ ายตามสถานการณตางๆได พดู และเขียนความตองการเสนอและใหความชวยเหลอื ตอบรับและปฏเิ สธ การใหค วามชวยเหลือได แสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั เรื่องท่ีฟงหรอื อานอยา งเหมาะสม เพื่อเห็นคุณคาในการนำความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจำวนั และอยอู ยางพอเพียง มีความซื่อสัตย มงุ ม่ันในการทำงาน รกั ความเปนไทยและมจี ติ สาธารณะ รหัสตัวช้วี ดั ต 1.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4 ต 1.2 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5 ต 1.3 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3 ต 2.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3 ต 2.2 ม.3/1, ม.3/2 ต 3.1 ม.3/1 ต 4.1 ม.3/1 ต 4.2 ม.3/1, ม.3/2 รวมทง้ั หมด 21 ตวั ชี้วดั

34 กลมุ สาระการเรียนรภู าษาองั กฤษ ความสำคัญของภาษาอังกฤษ ในสงั คมโลกปจ จุบัน การเรยี นรูภาษาตางประเทศมคี วามสำคัญและจำเปนอยา งยง่ิ ในชีวิตประจำวนั เน่ืองจากเปนเคร่ืองมือสำคัญในการติดตอส่อื สาร การศึกษา การแสวงหาความรู การประกอบอาชีพ การสรา งความเขา ใจเกย่ี วกบั วฒั นธรรมและวิสัยทศั นของชมุ ชนโลกและตระหนักถึงความหลากหลายทาง วฒั นธรรมและมมุ มองของสังคมโลก นำมาซึ่งมิตรไมตรีและความรว มมือกับประเทศตางๆ ชวยพฒั นาผูเรยี น ใหมีความเขาใจตนเองและผูอื่นดขี ึ้น เรียนรแู ละเขาใจความแตกตา งของภาษาและวฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี การคิด สังคม เศรษฐกจิ การเมอื ง การปกครอง มีเจตคติที่ดีตอการใชภาษาตางประเทศและ ใชภาษาตางประเทศเพื่อการส่ือสารได รวมทั้งเขาถึงองคความรูตางๆ ไดงา ยและกวา งข้นึ และมวี ิสยั ทัศน ในการดำเนนิ ชวี ิต ภาษาตา งประเทศท่เี ปนสาระการเรยี นรูพ้ืนฐาน ซึ่งกำหนดใหเ รยี นตลอดหลักสตู รการศกึ ษา ข้ันพ้นื ฐาน คือ ภาษาอังกฤษ สว นภาษาตา งประเทศอ่นื เชน ภาษาฝร่งั เศส เยอรมัน จีน ญี่ปนุ อาหรบั บาลี และภาษากลุมประเทศเพื่อนบาน หรือภาษาอืน่ ๆ ใหอยูในดุลยพินิจของสถานศึกษาท่จี ะจดั ทำรายวชิ าและ จดั การเรยี นรตู ามความเหมาะสม กลุมสาระการเรยี นรูภาษาตา งประเทศ มุงหวงั ใหผ ูเรียนมเี จตคตทิ ด่ี ตี อภาษาตา งประเทศ สามารถใช ภาษาตา งประเทศ สื่อสารในสถานการณตา งๆ แสวงหาความรู ประกอบอาชีพและศึกษาตอในระดับท่ีสูงขึ้น รวมทั้งมีความรูความเขา ใจในเรอื่ งราวและวฒั นธรรมอันหลากหลายของประชาคมโลกและสามารถถายทอด ความคดิ และวัฒนธรรมไทยไปยังสังคมโลกไดอ ยางสรา งสรรค ประกอบดวยสาระสำคัญ ดังน้ี - ภาษาเพ่อื การส่ือสาร การใชภาษาตา งประเทศในการฟง-พดู -อา น-เขียนแลกเปลย่ี นขอมูล ขา วสาร แสดงความรสู ึกและความคดิ เห็น ตีความ นำเสนอขอมลู ความคดิ รวบยอดและความคิดเหน็ ในเรอ่ื งตางๆ และสรา งความสมั พันธระหวา งบุคคลอยางเหมาะสม - ภาษาและวฒั นธรรม การใชภ าษาตางประเทศตามวฒั นธรรมของเจา ของภาษาความสมั พนั ธ ความเหมอื นและความแตกตางระหวางภาษากับวัฒนธรรมของเจาของภาษา ภาษาและวัฒนธรรมของเจาของ ภาษากบั วฒั นธรรมไทย และนำไปใชอ ยา งเหมาะสม - ภาษากับความสัมพนั ธก ับกลุม สาระการเรียนรูอนื่ การใชภาษาตางประเทศในการเชื่อมโยงความรู กับกลมุ สาระการเรยี นรูอื่น เปน พนื้ ฐานในการพฒั นา แสวงหาความรู และเปดโลกทศั นของตน - ภาษากับความสัมพันธก ับชมุ ชนและโลก การใชภ าษาตา งประเทศในสถานการณต า งๆทัง้ ใน หองเรียนและนอกหองเรียน ชุมชน และสงั คมโลก เปนเคร่ืองมือพ้นื ฐานในการศึกษาตอ ประกอบอาชีพ และแลกเปลีย่ นเรยี นรูกบั สงั คมโลก

35 สาระและมาตรฐานการเรียนรู สาระที่ ๑ ภาษาเพ่ือการสื่อสาร มาตรฐาน ต ๑.๑ เขา ใจและตีความเรื่องท่ีฟง และอา นจากสื่อประเภทตา งๆ และแสดงความคิดเหน็ อยางมี เหตุผล มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทักษะการสือ่ สารทางภาษาในการแลกเปลีย่ นขอมลู ขา วสาร แสดงความรสู ึก และความ คดิ เห็นอยา งมีประสิทธภิ าพ มาตรฐาน ต ๑.๓ นำเสนอขอมูลขาวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเร่ืองตางๆ โดยการพูด และการเขยี น สาระท่ี ๒ ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต ๒.๑ เขา ใจความสมั พันธระหวา งภาษากับวัฒนธรรมของเจาของภาษา และนำไปใช ไดอ ยาง เหมาะสมกบั กาลเทศะ มาตรฐาน ต ๒.๒ เขา ใจความเหมอื นและความแตกตางระหวา งภาษาและวัฒนธรรมของเจาของภาษา กับภาษาและวฒั นธรรมไทย และนำมาใชอยางถกู ตองและเหมาะสม สาระที่ ๓ ภาษากบั ความสัมพนั ธก ับกลุมสาระการเรยี นรอู น่ื มาตรฐาน ต ๓.๑ ใชภาษาตา งประเทศในการเชือ่ มโยงความรกู ับกลุม สาระการเรียนรูอืน่ และเปนพนื้ ฐานใน การพฒั นา แสวงหาความรู และเปดโลกทัศนของตน สาระที่ ๔ ภาษากบั ความสัมพนั ธกบั ชุมชนและโลก มาตรฐาน ต ๔.๑ ใชภาษาตา งประเทศในสถานการณตางๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสงั คม มาตรฐาน ต ๔.๒ ใชภ าษาตางประเทศเปน เครือ่ งมือพน้ื ฐานในการศึกษาตอ การประกอบอาชีพ และการ แลกเปล่ยี นเรียนรกู บั สังคมโลก

36 ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการส่ือสาร มาตรฐาน ต 1.1 เขา ใจและตคี วามเร่ืองที่ฟงและอา นจากสื่อประเภทตา งๆ และแสดงความคิดเห็น อยา งมี เหตุผล ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรูแ กนกลาง ป.1 1. ปฏบิ ัตติ ามคำสัง่ งา ยๆ ท่ีฟง คำสง่ั ท่ใี ชในหองเรยี น เชน Stand up./Sit down./ Listen./ Repeat./Quiet!/ Stop! etc. 2. ระบุตัวอักษรและเสยี ง อา นออก ตัวอักษร (letter names) เสยี งตวั อักษรและสระ เสยี งและสะกดคำงายๆ ถูกตองตาม (letter sounds) และการสะกดคำ หลกั การอาน หลักการอานออกเสียง เชน - การออกเสียงพยัญชนะตนคำและพยัญชนะทา ยคำ 3. เลอื กภาพตรงตามความหมายของ - การออกเสียงเนน หนัก-เบา (stress)ในคำและ คำและกลุมคำทฟี่ ง กลมุ คำ - การออกเสยี งตามระดบั เสียงสงู -ตำ่ (intonation) ในประโยค คำ กลุมคำ และความหมาย เกย่ี วกบั ตนเอง ครอบครวั โรงเรยี น สิ่งแวดลอ มใกลตัว อาหาร เครอื่ งดื่ม และ นันทนาการ ภายในวงคำศัพทประมาณ 150-200 คำ (คำศัพททเี่ ปน รปู ธรรรม) 4. ตอบคำถามจากการฟงเรื่อง ใกล บทอา นเก่ียวกบั เร่ืองใกลตวั หรอื นทิ านท่ีมี ตวั ภาพประกอบ ประโยคคำถามและคำตอบ - Yes/No Question เชน etc. Is it a/an..? Yes, it is./No, it is not. - Wh-Question เชน What is it? It is a/an... etc. ป.2 1. ปฏบิ ตั ิตามคำสัง่ และคำขอรองงา ย คำสั่งและคำขอรองทใี่ ชใ นหองเรียน ๆ ที่ฟง - คำสัง่ เชน Show me a/an.../ Open your book. Don’t talk in class. etc. คำขอรอง เชน Please come here./ Come here, please. Don’t make a loud noise,. Please don’t make a loud noise. etc

37 ชัน้ ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรแู กนกลาง 2.ระบุตัวอกั ษรและเสยี ง อานออก ตัวอกั ษร เสียงตัวอกั ษรและสระ การสะกดคำ และ เสยี งคำ สะกดคำ และอานประโยค ประโยค หลักการอานออกเสียง เชน งา ยๆ ถูกตอ งตามหลักการอา น - การออกเสียงพยัญชนะตนคำและพยัญชนะทายคำ - การออกเสยี งเนน หนัก-เบา ในคำและกลุมคำ - การออกเสยี งตามระดบั เสียงสงู -ต่ำ ในประโยค 3. เลือกภาพตรงตามความหมายของคำ คำ กลุมคำ ประโยคเด่ยี ว (simple sentence) และ กลมุ คำ และประโยคที่ฟง ความหมาย เก่ยี วกับตนเอง ครอบครัว โรงเรยี น สิ่งแวดลอ มใกลตวั อาหาร เครื่องดืม่ และนันทนาการ เปน วงคำศัพทสะสมประมาณ 250-300 คำ (คำศพั ทที่ เปน รูปธรรรม) 4. ตอบคำถามจากการฟงประโยค ประโยค บทสนทนา หรอื นิทานที่มีภาพประกอบ บทสนทนา หรือนิทานงา ยๆ ท่ีมภี าพ ประโยคคำถามและคำตอบ ประกอบ - Yes/No Question เชน Is this/that a/an..? Yes, it is./No, it isn’t. etc. - Wh-Question เชน What is this/that/it? This/that/It is a/an… How many…? There is/are… Where is the…? It is in/on/under… etc. ป.3 1. ปฏบิ ัติตามคำส่งั และคำขอรองทีฟ่ ง คำสั่งและคำขอรอ งทีใ่ ชใ นหองเรยี น หรืออา น - คำสง่ั เชน Give me a/an.../Draw and color the picture./ Put a/an…in/on/under a/an…/ Don’t eat in class. etc. - คำขอรอ ง เชน Please take a queue./ Take a queue, please./ Don’t make a loud noise, please./ Please don’t make a loud noise./ Can you help me, please? etc. ป.3 2. อานออกเสียงคำ สะกดคำ อาน คำ กลมุ คำ ประโยคเดีย่ ว และบทพูดเขาจังหวะ กลมุ คำ ประโยค และบทพูดเขา จงั หวะ และการสะกดคำ การใชพจนานุกรม (chant) งายๆ ถูกตองตามหลักการ หลักการอา นออกเสียง เชน อา น

38 ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลาง -การออกเสยี งพยญั ชนะตนคำและพยญั ชนะทายคำ - การออกเสยี งเนนหนัก-เบา ในคำและกลุมคำ - การออกเสยี งตามระดบั เสียงสงู -ต่ำ ในประโยค 3. เลือก/ระบุภาพ หรอื สญั ลกั ษณตรง กลุมคำ ประโยคเด่ียว สัญลกั ษณ และความหมาย ตามความหมายของกลุมคำและประโยค เกีย่ วกับตนเอง ครอบครวั โรงเรียน สง่ิ แวดลอ มใกลต วั ท่ีฟง อาหาร เครื่องด่มื และนันทนาการ เปน วงคำศัพท สะสมประมาณ 350-450 คำ (คำศัพททเี่ ปนรูปธรรรม) 4. ตอบคำถามจากการฟง หรืออา น ประโยค บทสนทนา หรอื นิทานที่มภี าพประกอบ ประโยค บทสนทนา หรอื นิทานงา ยๆ ประโยคคำถามและคำตอบ - Yes/No Question เชน Is/Are/Can…? Yes,…is/are/can./ No,…isn’t/aren’t/can’t. etc. - Wh-Question เชน What is this/that/it? This/that/It is a/an… How many…? There is/are… Where is/are…? It is in/on/under… They are etc. ป.4 1. ปฏิบัติตามคำส่งั คำขอรอง และ คำสง่ั และคำขอรองที่ใชในหองเรยี น และคำแนะนำใน คำแนะนำ (instructions) งา ยๆ ที่ฟง การเลน เกม การวาดภาพ หรือการทำอาหารและ หรืออา น เคร่ืองดื่ม - คำสั่ง เชน Look at the…/here/over there./ Say it again./ Read and draw./ Put a/an…in/on/under

39 ชั้น ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง a/an…/ Don’t go over there. etc. - คำขอรอง เชน Please take a queue./ Take a queue, please./ Can you help me, please? etc. - คำแนะนำ เชน You should read every day./Think before you speak./ คำศพั ทที่ใชใน การเลนเกม Start./ My turn./ Your turn./ Roll the dice./ Count the number./ Finish./ คำบอกลำดับข้นั ตอน First,... Second,… Then,… Finally,... etc. 2. อานออกเสยี งคำ สะกดคำ อา น คำ กลมุ คำ ประโยค ขอความ บทพดู เขา จังหวะ และ กลมุ คำ ประโยค ขอ ความงา ยๆ การสะกดคำ และบทพดู เขา จงั หวะถกู ตอ งตาม การใชพ จนานุกรม หลักการอา น หลักการอา นออกเสียง เชน - การออกเสยี งพยัญชนะตนคำและพยัญชนะทายคำ 3. เลือก/ระบภุ าพ หรือสัญลักษณ หรือ - การออกเสียงเนน หนัก-เบา ในคำและกลมุ คำ เครื่องหมายตรงตามความหมายของ - การออกเสยี งตามระดับเสียงสงู -ตำ่ ในประโยค ประโยคและขอความส้นั ๆ ท่ฟี ง หรือ อาน กลมุ คำ ประโยคเดีย่ ว สญั ลกั ษณ เครอื่ งหมาย และ ความหมาย เกย่ี วกับตนเอง ครอบครวั โรงเรยี น ส่ิงแวดลอม อาหาร เครอ่ื งด่มื เวลาวา งและ นนั ทนาการ สุขภาพและสวสั ดกิ าร การซ้ือ-ขาย และ ลมฟาอากาศ และเปนวงคำศัพทส ะสมประมาณ 550- 700 คำ (คำศัพทที่เปนรปู ธรรมและนามธรรม) ป.4 4. ตอบคำถามจากการฟงและอาน ประโยค บทสนทนา นิทานที่มีภาพประกอบ ประโยค บทสนทนา และนิทานงายๆ คำถามเก่ยี วกบั ใจความสำคัญของเรื่อง เชน ใคร ทำอะไร ที่ไหน - Yes/No Question เชน Is/Are/Can…? Yes,…is/are/can./ No,…isn’t/aren’t/can’t.

40 ชั้น ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง Do/Does/Can/Is/Are...? Yes/No… etc. - Wh-Question เชน Who is/are…? He/She is…/They are… What…?/Where…? It is …/They are… What...doing? …is/am/are… etc. - Or-Question เชน Is this/it a/an...or a/an…? It is a/an… etc ป.5 1. ปฏบิ ตั ติ ามคำส่ัง คำขอรอง และ คำส่ังและคำขอรอ งทใี่ ชในหองเรยี น ภาษาทาทาง คำแนะนำงา ยๆ ท่ีฟงและอา น และคำแนะนำในการเลน เกม การวาดภาพ หรอื การ ทำอาหารและเครื่องดื่ม - คำส่งั เชน Look at the…/here/over there./ Say it again./ Read and draw./ Put a/an…in/on/under a/an…/ Don’t go over there. etc. - คำขอรอง เชน Please take a queue./ Take a queue, please./ Can/Could you help me, please? etc. - คำแนะนำ เชน You should read everyday./ Think before you speak./ คำศัพทที่ใชใ นการ เลน เกม Start./ My turn./ Your turn./ Roll the dice./ Count the number./ Finish./ คำบอก ลำดับข้ันตอน First,… Second,… Next,… Then,… Finally,… etc. 2. อานออกเสยี งประโยค ขอ ความ และ ประโยค ขอความ และบทกลอน บทกลอนสั้นๆ ถูกตองตามหลักการอาน การใชพ จนานุกรมหลกั การอา นออกเสยี ง เชน - การออกเสียงพยัญชนะตน คำและพยัญชนะทา ยคำ - การออกเสียงเนนหนกั -เบา ในคำและกลมุ คำ - การออกเสียงตามระดบั เสียงสงู -ตำ่ ในประโยค - การออกเสยี งเชือ่ มโยง (linking sound) ใน ขอความ - การออกเสียงบทกลอนตามจังหวะ

41

42 ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง ป.5 3. ระบ/ุ วาดภาพ สัญลักษณ หรือ กลุมคำ ประโยคผสม ขอความ สัญลกั ษณ เครอื่ งหมาย และความหมายเกย่ี วกบั ตนเอง ครอบครวั เครื่องหมายตรงตามความหมายของ โรงเรยี น สงิ่ แวดลอม อาหาร เครือ่ งด่ืม เวลาวา งและ ประโยคและขอความสั้นๆ ที่ฟง หรือ นันทนาการ สุขภาพและสวัสดกิ าร การซ้ือ-ขาย และ อาน ลมฟาอากาศ และเปนวงคำศัพทสะสมประมาณ 750- 950 คำ (คำศัพททเ่ี ปน รปู ธรรมและนามธรรม) 4. บอกใจความสำคญั และตอบ ประโยค บทสนทนา นิทาน หรือเรื่องสนั้ ๆ คำถามจากการฟง และอา นบทสนทนา คำถามเก่ียวกับใจความสำคญั ของเรื่อง เชน ใคร และนิทานงายๆ หรือ เรือ่ งสัน้ ๆ ทำอะไร ท่ีไหน เมื่อไร - Yes/No Question เชน Is/Are/Can…? Yes,…is/are/can./ No,…isn’t/aren’t/can’t. Do/Does/Can/Is/Are...? Yes/No… etc. - Wh-Question เชน Who is/are…? He/She is…/They are… What…?/Where…? It is …/They are… What...doing? …is/am/are… etc. - Or-Question เชน Is this/it a/an...or a/an…? It is a/an… etc.

43 ชั้น ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง ป.6 1. ปฏบิ ัตติ ามคำสง่ั คำขอรอง และ คำส่ัง คำขอรอ ง ภาษาทาทาง และคำแนะนำในการ คำแนะนำทีฟ่ งและอาน เลน เกม การวาดภาพ การทำอาหารและเครอื่ งด่ืม และ การประดิษฐ - คำสั่ง เชน Look at the…/here/over there./ Say it again./ Read and draw./ Put a/an…in/on/under a/an…/ Don’t go over there. etc. - คำขอรอ ง เชน Please look up the meaning in a dictionary./ Look up the meaning in a dictionary, please./ Can/Could you help me, please? etc. - คำแนะนำ เชน You should read everyday./ Think before you speak./ คำศพั ทท ่ีใชในการเลน เกม Start./ My turn./ Your turn./ Roll the dice./ Count the number./ Finish./คำบอกลำดับขัน้ ตอน First,… Second,… Next,… Then,… Finally,… etc. 2. อา นออกเสยี งขอความ นิทาน ขอความ นทิ าน และบทกลอน และบทกลอนสัน้ ๆ ถูกตองตาม การใชพจนานุกรม หลักการอาน หลกั การอานออกเสียง เชน - การออกเสียงพยัญชนะตน คำและพยญั ชนะทายคำ - การออกเสียงเนนหนัก-เบา ในคำและกลมุ คำ - การออกเสียงตามระดับเสียงสงู -ต่ำ ในประโยค - การออกเสียงเช่ือมโยง (linking sound) ใน ขอความ - การออกเสยี งบทกลอนตามจังหวะ

44 ชัน้ ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง ป.6 3. เลือก/ระบุประโยค หรอื ขอความ ประโยค หรอื ขอความ สัญลักษณ เคร่ืองหมาย และ ส้ันๆ ตรงตามภาพ สญั ลักษณ หรอื ความหมายเกีย่ วกบั ตนเอง ครอบครัว โรงเรียน เคร่ืองหมายทอี่ าน ส่ิงแวดลอ ม อาหาร เครอ่ื งดม่ื เวลาวา งและ นันทนาการ สุขภาพและสวสั ดิการ การซื้อ-ขาย และ ลมฟา อากาศ และเปน วงคำศัพทสะสมประมาณ 1,050-1,200 คำ (คำศพั ทที่เปน รปู ธรรมและ นามธรรม) 4. บอกใจความสำคัญและตอบคำถาม ประโยค บทสนทนา นทิ าน หรือเร่ืองเลา จากการฟง และอา นบทสนทนา นทิ าน คำถามเกีย่ วกับใจความสำคญั ของเรื่อง เชน ใคร งา ยๆ และเรื่องเลา ทำอะไร ที่ไหน เมือ่ ไร อยา งไร ทำไม - Yes/No Question เชน Is/Are/Can…? Yes,…is/are/can./ No,…isn’t/aren’t/can’t. Do/Does/Can/Is/Are...? Yes/No… etc. - Wh-Question เชน Who is/are…? He/She is…/They are… What…?/Where…? It is …/They are… What...doing? …is/am/are… etc. - Or-Question เชน Is this/it a/an...or a/an…? It is a/an… Is/Are/Was/Were/Did…or…? etc. ม. 1 1. ปฏิบตั ิตามคำสัง่ คำขอรอง คำส่งั คำขอรอง คำแนะนำ และคำช้แี จงในการ คำแนะนำ และคำชแ้ี จงงายๆ ทฟ่ี งและ ทำอาหารและเคร่ืองดื่ม การประดษิ ฐ การใชยา/ อาน สลากยา การบอกทิศทาง ปายประกาศตา งๆ หรือ การใชอปุ กรณ - คำสั่ง เชน Look at the…/here/over there./ Say it again/ Read and draw./ Put a/an…in/on/under a/an…/ Go to the window and open it./ Take out the book, open on page 17 and read it./ Don’t go over there

45 ช้นั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง ม. 1 - คำขอรอง เชน Please look up the meaning in a dictionary./ Look up the meaning in a dictionary, please./ Can/Could you help me, please?/ Excuse me, could you …? etc. - คำแนะนำ เชน You should read every day./ Think before you speak./ คำศัพทที่ใชในการ เลนเกม Start./ My turn./ Your turn./ Roll the dice./ Count the number./ Finish. etc. - คำสนั ธาน )conjunction( เชน and/but/or - ตวั เชื่อม )connective words (เชน First,… Second,…Third,… Next,… Then,… Finally,… etc. 2. อานออกเสียงขอความ นิทาน และ ขอ ความ นทิ าน และบทรอยกรอง บทรอยกรอง (poem) สั้นๆ ถูกตอง การใชพ จนานุกรม ตาม หลักการอาน หลกั การอา นออกเสยี ง เชน - การออกเสียงพยัญชนะตน คำและพยัญชนะทายคำ - การออกเสียงเนนหนกั -เบา ในคำและกลมุ คำ - การออกเสียงตามระดับเสียงสูง-ตำ่ ในประโยค - การแบงวรรคตอนในการอาน - การอา นบทรอ ยกรองตามจงั หวะ 3. เลือก/ระบุประโยคและขอความ ประโยค หรือขอความ และความหมายเกี่ยวกบั ตนเอง ใหส มั พนั ธกบั สื่อทีไ่ มใชความเรียง ครอบครัว โรงเรียน ส่ิงแวดลอม อาหาร เครื่องด่ืม เวลา (non-text information) ท่อี าน วา งและนนั ทนาการ สุขภาพและสวัสดกิ าร การซอื้ - ขาย ลมฟาอากาศ การศกึ ษาและอาชีพ การเดนิ ทาง ทอ งเทยี่ ว การบริการ สถานท่ี ภาษา และวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี เปน วงคำศพั ทสะสมประมาณ 1,400- 1,550 คำ (คำศัพททเ่ี ปน รูปธรรมและนามธรรม)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook