Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตามรอยวิถีภูษา วิถีผ้าล้านนาเชียงใหม่

ตามรอยวิถีภูษา วิถีผ้าล้านนาเชียงใหม่

Published by cm.culture99, 2022-01-19 07:54:33

Description: ตามรอยวิถีภูษา วิถีผ้าล้านนาเชียงใหม่

Search

Read the Text Version

คา้ นา้ เชยี งใหมเ่ ปน็ เมอื งทม่ี ปี ระวตั ศิ าสตรค์ วามเปน็ มาทย่ี าวนาน มคี วามรงุ่ เรอื งทางศลิ ปวฒั นธรรม เปน็ ศนู ยก์ ลางทางวฒั นธรรมในภาคเหนอื จงึ มคี วามหลากหลายชาตพิ นั ธ ์ุ ไมว่ า่ จะเปน็ ไทยวน ไทลอื้ กะเหรย่ี ง ไทใหญ ่ อาศยั อย ู่ ประกอบกบั เชยี งใหมไ่ ดร้ บั อทิ ธพิ ลทางดา้ นวฒั นธรรมมาจากหลายแหลง่ ไมว่ า่ จะเปน็ จากลาว ญวน มอญ บวกกบั การทเ่ี คยเปน็ ศนู ยก์ ลางทางวฒั นธรรมและความเจรญิ รงุ่ เรอื ง ของอาณาจักรล้านนาในอดีต เชียงใหม่จึงมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม หลากหลาย องคป์ ระกอบ และความหลากหลายนน่ั เองทห่ี ลอมรวมวฒั นธรรมตา่ งๆ เขา้ เปน็ อนั หนง่ึ อนั เดยี วกบั วฒั นธรรมของตน จนทาำ ใหม้ คี วามโดดเดน่ ทางดา้ นวฒั นธรรมจนเกดิ เปน็ เอกลกั ษณว์ ฒั นธรรมของ เชยี งใหม ่ ซง่ึ วฒั นธรรมทมี่ คี วามโดดเดน่ อนั หนง่ึ คอื วฒั นธรรมการแตง่ กาย ซงึ่ บง่ บอกความเปน็ มา ของรากเหงา้ ของวถิ ชี ีวติ และภูมปิ ัญญาในแตล่ ะชาติพันธ ์ุ ซง่ึ มีความโดดเด่นและความงดงามเป็น เอกลักษณเ์ ฉพาะท่ีแตกตา่ งกนั ววิ ฒั นาการของการแตง่ กายของแตล่ ะชาตพิ นั ธใ์ุ นเชยี งใหม ่ เกดิ จากการสบื ทอดการทอผา้ ของคนในอดีต ที่มักจะเกิดจากแรงบันดาลใจในการทอผ้าไว้ใช้ในครัวเรือน การทอผ้าเป็นการ แสดงออกซงึ่ วฒุ ภิ าวะทเ่ี หมาะสมกบั การดแู ลตนเองและครอบครวั ของผหู้ ญงิ การทอผา้ ของแตล่ ะ ชาตพิ นั ธย์ุ งั คงดาำ เนนิ ไปอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ซง่ึ เปน็ ไปเพอ่ื ใชภ้ ายในครอบครวั ตอ่ มาพฒั นาขนึ้ เปน็ อาชพี แม้ว่าในปัจจุบันผลพวงของการทอผ้าจะพัฒนาไปเป็นอาชีพ ซึ่งเป็นการนำาทุนทางวัฒนธรรมที่มี อย่มู าสรา้ งคณุ คา่ พฒั นาใหเ้ กดิ เปน็ รายได ้ แตเ่ หนอื สง่ิ อน่ื ใดนน่ั คอื การสบื สานงานฝมี อื ทอใหด้ าำ รงคงอยู่ ไมส่ ญู สลายไปตามกาลเวลาน่นั เอง สาำ นกั งานวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งใหม ่ ไดต้ ระหนกั ถงึ ความสาำ คญั ขององคค์ วามรภู้ มู ปิ ญั ญา ด้านผ้าทอของล้านนาเชียงใหม่ จึงได้จัดทำาหนังสือ ต�มรอยวิถีภูษ� วิถีผ้�ล้�นน�เชียงใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมจัดเก็บและเผยแพร่องค์ความรู้เร่ืองผ้าล้านนาเชียงใหม่ให้เป็น ที่รู้จัก และสามารถนำาองค์ความรู้ภูมิปัญญาเร่ืองผ้าทอล้านนาเชียงใหม่ มาเพ่ิมมูลค่า สร้างเปน็ อาชีพท่ยี ่ังยืนตอ่ ไป (นายเสน่ห์ สายเย็นใจ) วฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งใหม่

สารบญั หนา้ บทนำ� : ตามรอยวถิ ภี ูษา วถิ ีผ้าลา้ นนาเชียงใหม ่ 2 วิถภี ษู าผา้ ทอเชยี งใหม่ : เสน้ ทางของผา้ ในประวัติศาสตร์ลา้ นนา 5 ววิ ฒั นาการการแต่งกายเมอื งเชยี งใหม่ ภูมิศาสตรว์ ัฒนธรรมของผ้าลา้ นนาเชียงใหม ่ 12 กลุ่มผ้าสายเหนือเวยี ง กลุ่มผา้ สายใตเ้ วียง กลมุ่ ผา้ ฝงั่ ตะวนั ออกแม่นำ�้ ปงิ วิถผี า้ ล้านนาเชียงใหม่ : เส้นสาย ลวดลาย และการถักทอ 24 ภูษาผ้าทอในวถิ ีวฒั นธรรมลา้ นนา 36 ประเภทของผา้ ในวฒั นธรรมล้านนา ผา้ ในชีวติ ประจำ�วนั : เสื้อผา้ เครื่องแต่งกาย 38 ผา้ ซน่ิ 42 เสอื้ และกางเกง 43 ผ้าตอ่ ง หรือผ้าขาวม้า 44 ผ้าทใ่ี ชใ้ นครวั เรอื น 44 ผา้ เช็ด 45 ผ้าหลบ หรอื ผ้าปูทนี่ อน 45 ผ้าแหลบ 46 ผ้าห่ม 46 หมอน ถงุ ยา่ ม

หน้า ผา้ ในพธิ กี รรม และความเชือ่ ท้องถนิ่ 47 ผา้ เช็ดหลวง 47 ผา้ เช็ดนอ้ ย 47 ตุง 48 ผ้าหอ่ คัมภีร์ 49 ผ้าในพธิ กี รรมฟ้อนผี 49 ผ้าซิ่นตนี จกแหง่ ล่มุ นำ�้ ปิง 54 ผา้ ซน่ิ ตีนจกแบบเวยี งเชียงใหม่ 55 ผ้าซนิ่ ตนี จกแบบสันปา่ ตอง 55 ผ้าซิ่นตีนจกแบบจอมทอง 57 ผ้าซน่ิ ตนี จกแบบฮอด-ดอยเตา่ 58 ผา้ ซิ่นตีนจกแบบแม่แจม่ 60 ลวดลายของตีนจกเมอื งเชียงใหม่ 67 ผ: ร้า่อไหงรมอสยันปกรำ�ะแวพัตงิศาสตร์ความรงุ่ เรืองแห่งเมืองฝั่งตะวนั ออกแม่นำ้�ปงิ 70 ภษู าแห่งชาตพิ ันธ์ุ : อัตลกั ษณ์ และตัวตนบนผืนผา้ 79 ผา้ ของกลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุ “ลวั ะ” 79 ผา้ ของกลุม่ ชาติพันธุ์ “กะเหร่ยี ง” 82 ผ้าของกลมุ่ ชาติพนั ธ์ุ “มง้ ” 86 ผา้ ของกลุ่มชาตพิ นั ธ์ุ “ปะหล่อง หรือดาราอง้ั ” 89 ผ้าของกลุ่มชาตพิ นั ธุ์ “ไทลอ้ื ไทยอง” 91 ผา้ ฝา้ ยทอมอื ยอ้ มสีธรรมชาติ : แหลง่ ผลติ ผา้ คุณภาพเมอื งฮอด-จอมทอง 94 บรรณานุกรม 96



ตามรอยวถิ ภี ษู า วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

2 ตามรอยวถิ ภี ษู า วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ ตามรอยวถิ ภี ษู า วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ “...บรรดาหญงิ สาว และพวกเด็กๆ บ้างกแ็ ต่งกายในชุดผา้ ถุงลายรว้ิ สสี ันสดใส บา้ งกเ็ ปน็ ลายตาหมากรุกเล็กๆ มผี า้ พนั คอไหมพาดอยู่ทีไ่ หลข่ า้ งซา้ ย คนเหลา่ นกี้ �ำ ลงั เดนิ ด้วยเทา้ ท่เี ปลา่ เปลือยเขา้ ไปในเมอื งพรอ้ มด้วยตะกร้าใสด่ อกไม้ และผลติ ผลจากภายในสวน...”1 “ผา้ ” เปน็ หนงึ่ ในปจั จยั สท่ี มี่ คี วามส�ำ คญั ตอ่ ชวี ติ มนษุ ย์ ผา้ และเครอื่ งนงุ่ หม่ แตง่ กาย จงึ ผนกึ แนน่ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการด�ำ เนนิ ชวี ติ เปน็ รอ่ งรอยของประวตั ศิ าสตรส์ งั คม และวฒั นธรรม ท่ีจับต้องได้ อันเป็นประจักษ์พยานหลักฐานที่บอกเล่าเร่ืองราวผ่านเส้นสายลายผ้าที่สามารถ สะท้อนถึงอัตลักษณ์ตัวตน และชาติพันธุ์ของกลุ่มชนเพ่ือให้มีตำ�แหน่งแห่งท่ีบนผืนแผ่นดิน ผ้าจึงเป็นแหล่งหลอมรวมทัง้ อรรถประโยชน์ใช้สอย สุนทรียภาพ ความหมายเชงิ สัญญะ ตลอดจน โลกทศั นข์ องผคู้ นทล่ี งบนผนื ผา้ หนง่ึ ๆ ทอ่ี าจมอี ายยุ าวนานกวา่ อายคุ น และผา้ เพยี งผนื เดยี วกอ็ าจ เล่าเรื่องราว ความเปน็ มา หรอื ประวัติศาสตรข์ องท้องทนี่ นั้ ๆ ทง้ั ยงั เชอ่ื มโยงรอ้ ยรดั ผคู้ นเขา้ ไวด้ ว้ ยกนั ผา่ นผืนผ้านอ้ ยๆ น้ี ดนิ แดนลา้ นนา อนั เปน็ ชอ่ื เรยี กเขตวฒั นธรรมของรฐั โบราณตอนเหนอื ของไทยในยคุ จารตี เป็นดินแดนท่ีอยู่อาศัยของผู้คนต่อเน่ืองยาวนานมาแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ชนหลายกลุ่ม ได้เคล่ือนย้ายเข้ามาอยู่ โยกย้ายถ่ินฐานจากไป และอพยพเข้ามาใหม่สืบเนื่องเรื่อยมาในห้วง ประวตั ศิ าสตร์ การเคลอื่ นยา้ ยไปมาของผคู้ น การตดิ ตอ่ ดา้ นการคา้ และคมนาคมไปมาหาสู่ การท�ำ สงครามกวาดตอ้ นผคู้ น และการเทครวั สง่ ผลใหด้ นิ แดนลา้ นนาแหง่ นเ้ี ปน็ ดงั สถานทปี่ ะทะสงั สรรค์ ของวฒั นธรรมและผคู้ นเร่ือยมา ตง้ั แตร่ าวพุทธศตวรรษท่ี 18-19 ท่เี ติบโตข้ึนจนกลายเป็นส่วน หนงึ่ ของศนู ย์กลางการค้าเขตภาคพืน้ ทวปี (Hinterlands trade)2 ผคู้ น สินค้า และวฒั นธรรม เคลอื่ นไหวเลือ่ นไหลไปมาอยา่ งไมข่ าดสาย ในดินแดนตอนเหนอื ของอษุ าคเนยแ์ หง่ นี้ และ “ผ้า” ก็เป็นหน่งึ ในวัตถุทางวฒั นธรรมที่เดินทางข้ามผ่านชว่ งเวลาในประวัตศิ าสตร์ ผา่ นการเรียนรู้ และ ตกผลึกมาจนกลายเป็นมรดกภูมิปัญญาอันทรงคณุ คา่ ของดินแดนแหง่ น้ี ค�ำ วา่ “ลา้ นนา” ปรากฏในจารกึ วดั เชยี งสา จงั หวดั เชยี งรายทเ่ี ขยี นขน้ึ เมอ่ื ราวปี พ.ศ.2096 แตอ่ าจมกี ารใชค้ �ำ นม้ี ากอ่ นแลว้ ตง้ั แตส่ มยั พญากอื นา (พ.ศ. 1898 – 1928) และอาจใชแ้ พรห่ ลาย 1 โฮลท์ ซามเู อล ฮลั เลต็ ต,์ “หนง่ึ พนั ไมล์บนหลังช้างในหมู่รัฐฉาน”, แปลโดย ศกุ ลรตั น์ ธาราศักดิ์, ใน ฝร่ังในล้านนา, (กรุงเทพฯ : อรณุ การพิมพ,์ 2561),16. ๒ วราภรณ์ เรอื งศรี, กาดก่อเมือง: ชาติพันธแ์ุ ละคาราวานการค้าล้านนา, (กรุงเทพฯ : มติชน, 2564), 43.

ตามรอยวถิ ภี ษู า 3 วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ ในสมัยพญาติโลกราช (พ.ศ. 1984 – 2030)1 ซ่ึงครอบคลุมพื้นท่ีเมืองทางตอนเหนือของ สยามประกอบด้วยเชียงราย เชยี งใหม่ ลำ�พูน ล�ำ ปาง พะเยา แพร่ นา่ น และแม่ฮอ่ งสอน ดังที่ ได้กล่าวตอนต้นว่าคำ�ว่า “ล้านนา” นั้น อาจหมายถึงเขตแดนทางวัฒนธรรม และหรือเขตแดน ทางการเมืองการปกครองก็ได้ เนื่องจากว่าบางช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ ดินแดนล้านนาขยาย ครอบคลุมไปจนถึงกลุ่มรัฐไททางตอนเหนือ เช่น เชียงรุ่ง เชียงตุง และบางส่วนของรัฐไทใหญ่ กลมุ่ ลาวหลวงพระบางฝัง่ ตะวนั ออกไปจนถึงตอนเหนือ ซ่งึ เมืองเหลา่ น้ีล้วนแล้วแตเ่ ปน็ เครอื ญาติ ชาตภิ าษาของดนิ แดนลา้ นนาทง้ั สนิ้ ประชากรสว่ นใหญข่ องเชยี งใหมเ่ ปน็ เครอื ญาตกิ บั ชาวเชยี งราย เชยี งแสน ทเ่ี รียกตวั เองว่า “โยน” “ยวน” หรอื ชาวโยนก อยา่ งไรกต็ าม ศูนย์กลางการปกครองของรฐั ล้านนายคุ จารตี ตั้งม่ันอยทู่ ีเ่ มอื งเชียงใหม่ หรือ เวยี งเชียงใหม่ และอาจมกี ารเปล่ยี นแปลงศนู ยอ์ �ำ นาจการปกครองในบางคร้ัง เชน่ การย้าย เมอื งแมไ่ ปอยทู่ เี่ มอื งเชยี งแสนในสมยั ตน้ ราชวงศม์ งั ราย และในชว่ งทพี่ มา่ ปกครองลา้ นนาเมอ่ื ราว พทุ ธศตวรรษที่ 23 (พ.ศ. 2244) แตก่ ม็ ไิ ดท้ �ำ ใหบ้ ทบาทความส�ำ คญั ของเมอื งเชยี งใหมล่ ดนอ้ ยลง แมว้ ่าเมืองเกอื บจะรา้ งผู้คนอยอู่ าศยั แล้วกต็ าม จนกระท่ังลา้ นนาสามารถ “ฟืน้ มา่ น” ได้ในสมัย ของพญากาวิละ (พ.ศ.2325 - 2356) ทไี่ ดร้ บั การสนบั สนุนด้านการทหารจากสยาม ประกอบ กับการด�ำ เนินนโยบายเทครวั กวาดต้อนผ้คู นให้เข้ามาเปน็ พลเมืองในเมืองเชยี งใหม่ หรอื นโยบาย “เก็บผักใส่ซ้า เกบ็ ขา้ ใส่เมือง” เพ่ือให้สามารถฟนื้ ฟเู มืองเชียงใหม่ได้อกี คราหน่ึง จากกุศโลบายดัง กลา่ วท�ำ ใหพ้ ลเมอื งของเมอื งเชยี งใหม่ นบั แตน่ น้ั มาจากการกวาดตอ้ นเทครวั และเกลยี่ กลอ่ มใหเ้ ขา้ มาเปน็ ประชากรภายใตข้ อบขณั ฑสมี าแหง่ ราชวงศท์ พิ จกั ราวงศ์ หรือเช้อื เจด็ ตน ดินแดนล้านนาได้ผันแปรไปตามกาลเวลาจนได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของประเทศไทย ในนามของจังหวัดเชียงใหม่ กระแสของผู้คน สินค้า และวัฒนธรรมก็ยังคงหลั่งไหล เคลื่อนไหว และดำ�เนินไป การอพยพโยกย้ายถ่ินที่อยู่ของกลุ่มชาติพันธ์ุต่างๆ เกิดขึ้นอยู่เสมอและ ได้กลายเป็นพลเมืองชาวเชียงใหม่ เช่น กลุ่มชาติพันธุ์ม้ง เย้า อิ้วเม่ียน ลีซู ดาราอั้ง เป็นต้น เป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของเมือง และภูษาอาภรณ์ของเหล่าชาติพันธ์ุน้ันก็เป็น สว่ นหน่งึ ในมรดกภมู ิปญั ญาอนั ทรงค่าของเมืองเชยี งใหมเ่ ชน่ กนั เร่อื งราวเกีย่ วกับผนื ผ้า และวิถแี ห่งผา้ ในดินแดนลา้ นนาเชียงใหม่ เปน็ ดงั ประวัตศิ าสตร์ ของสิ่งของท่ีผูกพันกับผู้คน สถานท่ี ความเช่ือศรัทธา และการนิยามตัวตน เส้นทางของผ้าใน ประวัตศิ าสตรล์ ้านนาจงึ เปน็ สิง่ ที่ทรงคุณค่าตอ่ การอนุรกั ษ์ สืบทอดและต่อยอดพัฒนาเพอ่ื ใหอ้ งค์ ความรู้ภูมิปัญญาของบรรพบุรุษยังคงดำ�รงอยู่มิสูญหาย และรักษาไว้ซึ่งรากเหง้าแห่งวัฒนธรรม ล้านนาสืบไปชัว่ ลกู ชั่วหลาน 1 สรัสวดี ออ๋ งสกุล, ประวตั ศิ าสตรล์ า้ นนา, (กรุงเทพฯ : อมรนิ ทร์, 2544), 23.

ภาพ 1 : วถิ ีชีวิตและการแต่งกายของชาวเมืองเชียงใหมใ่ นอดีต ทม่ี า : ถา่ ยโดย Raymond Plion ในราวปี พ.ศ. 2478

ตามรอยวถิ ภี ษู า 5 วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ วถิ ภี ษู าผา้ ทอเชยี งใหม่ เสน้ ทางของผา้ ในประวตั ศิ าสตรล์ า้ นนา “...ชกุดวแ่าตขง่ากวาสยยทขาำ�อมใงหปส้กตรระระชีกโาอปวบรลงดามว้ วตียแะกตเรขกะบ็ตโรปา่ องรจบงาซตก่งึวั ขนอแำ�งถผสบา้ ตทผร่มีา้ ีชสคี า่วววนาสมบยกนาวเมป้างค็นขอืสนมขี าลีาดวกั ตษถ่าณงดั ๆมะาเมตเาปม็ เน็ยรสูป็บแีแตดบ่องเบขแา้ ลดะว้ เยรกยี ันบงา่ ย และต่อท้ายด้วยแถบผ้าทอสีขาวกับด�ำ ...”1 วิวฒั นาการการแตง่ กายเมอื งเชยี งใหม่ ผา้ และเครอ่ื งแตง่ กายของชาวเชยี งใหมใ่ นอดตี นน้ั สามารถศกึ ษารปู แบบและวเิ คราะห์ ไดจ้ ากหลกั ฐานทางโบราณคดปี ระเภทงานศลิ ปกรรมปนู ปนั้ ประดบั เชน่ งานประตมิ ากรรมเทวดา ปนู ปนั้ ประดบั เจดยี ว์ ดั เจด็ ยอด ลวดลายปนู ปนั้ เทวดานนั้ มกี ารแตง่ กายดว้ ยแพรพรรณและประดบั อัญมณี สะท้อนแนวคิดอุดมคติเร่ืองคุณวิเศษ และความสมบูรณ์แบบของเทวดา ซึ่งสามารถ ศึกษารูปแบบการแต่งกาย และลวดลายบนอาภรณ์ที่อาจเป็นท่ีนิยมในสมัยน้ันได้ ประกอบด้วย ลายดอกจอก ลายประจ�ำ ยาม และลายกระจังปลายขมวดทค่ี ล้ายกบั ลายดอกไมข้ องจีน โดยช่าง ได้ผสมผสานรูปแบบศิลปกรรมจากแหล่งแรงบันดาลใจท้ังมอญพุกาม สุโขทัย ลังกา และจีน สมยั ราชวงศห์ มงิ เขา้ ดว้ ยกนั ตลอดจนรปู แบบการแตง่ ภษู าอาภรณน์ น้ั มลี กั ษณะของการนงุ่ ผา้ ซอ้ นชน้ั หลายช้นิ ใชเ้ ทคนคิ ทบผ้า จบั จีบ ชกั ชายผา้ หักคอม้า ฯลฯ ที่มีลกั ษณะคลา้ ยการน่งุ ผา้ สา่ หรขี อง อินเดยี บางแห่งมกี ารผูกผา้ แพรแบบจีนอีกด้วย2 จากร่องรอยของลวดลายปูนป้ันเทวดาประดับเจดีย์วัดเจ็ดยอด สะท้อนให้เห็นถึง ความนิยมในอารยธรรมจากดนิ แดนทเี่ จริญกว่า หรือเปน็ แหลง่ ทีม่ คี วามเกี่ยวขอ้ งกับพทุ ธศาสนา การเลือกใช้ลวดลายประดับเคร่ืองศิราภรณ์ และรูปแบบการแต่งกายของเทวดาท่ีปรากฏน้ัน สันนิษฐานได้ว่าชนช้ันปกครอง และชนช้ันสูงของล้านนาโบราณอาจมีการแต่งกายในลักษณะ คล้ายคลึงกันนี้ ในขณะที่ชาวบ้าน หรือไพร่เมืองทั่วไปอาจแตกต่างไป แต่ไม่อาจทราบได้ว่า ในยุคสมัยของราชวงศ์มังราย ชาวเชียงใหม่มีวัฒนธรรมการแต่งกายเช่นไร เน่ืองจากไม่มี หลกั ฐานด้านผ้าทอ 1 แมรี โลวินา คอร์ท, “ลาว : ดินแดนทางตอนเหนือของสยาม,” แปลโดย พรพรรณ ทองตนั , ใน ฝร่งั ในล้านนา, (กรุงเทพฯ : อรณุ การ พ2 ิมปพร,์ีด2า 5บ6ญุ 1ย)ร,1ตั น2์,2“. แนวทา งศกึ ษางานประตมิ ากรรมปนู ป้นั เทวดาวัดเจด็ ยอด ส�ำ หรบั น�ำ ไปประกอบสรา้ งจนิ ตนาการเคร่อื งแต่งกาย เพอื่ การแสดง”, ศลิ ปกรรมสาร, 10, ฉบบั ท่ี 1 (มกราคม – มิถุนายน 2558) : 90, สบื คน้ เมอ่ื 14 กรกฏคม 2564, https://so05.tci-thaijo.org/index.php/fineartstujournal/article/

6 ตามรอยวถิ ภี ษู า วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ ปรากฏให้ทำ�การศึกษา จึงอาจจำ�กัดขอบเขตได้เพียงในช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมา1 ซงึ่ มกี ารศกึ ษารปู แบบเสอื้ ผา้ เครอ่ื งแตง่ กาย และผา้ ซน่ิ ของชาวลา้ นนาผา่ นจติ รกรรมฝาผนงั ในชว่ ง พุทธศตวรรษที่ 25 ผา่ นจติ รกรรมฝาผนงั วิหารลายคำ� วดั พระสงิ ห์วรมหาวิหาร จังหวัดเชียงใหม2่ สามารถให้ภาพร่างของเค้าโครงการแต่งกาย และภูษาอาภรณ์ของชาวเชียงใหม่ในช่วงเวลา ดังกล่าวได้ว่า สามารถระบุชนช้ันในสังคมเชียงใหม่ในอดีตได้อย่างน้อย 3 ชนชั้นผ่านการระบุ เครื่องแต่งกาย ได้แก่ (1) กลมุ่ ชนชน้ั สงู เปน็ ภาพของกษตั รยิ ์ หรอื เจา้ นายในราชส�ำ นกั จะมกี ารแตง่ กายแบบ อดุ มคติ นยิ มแตง่ กายให้ดูหรหู ราด้วยผ้าทอยกดอก สวมมงกฎุ และเครอ่ื งประดบั ตา่ งๆ ส่วนสตรีจะห่มสไบ นุ่งผ้ายาวกรอมเท้า ชักชายผ้าออกมาทั้งด้านหน้าและด้านข้าง สวมเครอื่ งประดบั ลกั ษณะคลา้ ยละครร�ำ เชน่ กรองศอ สรอ้ ยสงั วาล กรรเจยี กจร เปน็ ตน้ (2) กลมุ่ ขา้ ราชส�ำ นกั มกี ารแตง่ กายเลยี นแบบขา้ ราชส�ำ นกั จากกรงุ เทพ เนอื่ งจากเปน็ ชว่ งทม่ี กี ารแตง่ ตงั้ ขา้ ราชการจากสยามมาประจ�ำ ทลี่ า้ นนา ขา้ ราชส�ำ นกั จะนงุ่ โจงกระเบน ลายดอกคาดผา้ ทเี่ อว สวมเสอื้ คอตง้ั แขนกระบอกยาวถงึ ขอ้ มอื สว่ นสตรจี ะแตง่ กายดว้ ย นุ่งซ่ินยาวกรอมเท้า หัวซ่ินต่อด้วยผ้าพ้ืนสีแดง ขาว หรือดำ� ตัวซ่ินเป็นลายทางขวาง ลำ�ตัวเป็นริ้วเท่าๆ กัน เช่น ริ้วเหลืองพื้นดำ� ริ้วขาวพื้นดำ� ส่วนตีนซิ่นเป็นผ้าพื้นสีแดง หรอื ด�ำ ไมป่ รากฏลวดลายตีนจก (3) กลุ่มชาวบ้าน มีการแต่งกายหลากหลายเรียบง่ายไม่ซับซ้อน ชายชาวล้านนาจะ เปลอื ยทอ่ นบน มเี พยี งผา้ พาดบา่ หรอื ผา้ เชด็ เทา่ นน้ั สว่ นทอ่ นลา่ งบางคนนยิ มนงุ่ ผา้ รง้ั สงู เพอื่ อวดลวดลายการสักขา หรือน่งุ ผา้ ตาโก้ง3 หรอื นงุ่ ผ้าต้อย4 ผา้ ต้อยนนั้ มี 2 ขนาด 1 กระทรวงวฒั นธรรม, วถิ ีถิน่ วถิ ภี ษู า ผืนผา้ ลา้ นนาตะวันตก, (ม.ป.ท. : ม.ป.พ. , ม.ป.ป.), 28. 2 ธัญญารัตน์ อดุ มเดชถาวร, “การศกึ ษาผา้ ซน่ิ ไทยวนของสตรลี า้ นนาในชว่ งพทุ ธศตวรรษท่ี 25 จากภาพจติ รกรรมฝาผนงั วหิ ารลายค�ำ วดั พระสิงหว์ รมหาวหิ าร จงั หวดั เชยี งใหม,่ ” (การศึกษาเฉพาะบคุ คลในประวตั ิศาสตร์ศลิ ปะ, ภาควชิ าประวัตศิ าสตร์ศลิ ปะ ค3ณผะา้ โพบืน้ รทา�ำณจคาดกีผม้าหฝาา้ วยิททยอาสลลยั ับศขลิ าปวาดก�ำ รล,ัก2ษ5ณ5ะ6ค)ล, า้1ย6ผ-า้ 2ข5าว. มา้ และคำ�วา่ “ตาโก้ง” ทางภาคเหนอื หมายถงึ พมา่ หรือชาวมอญ, (มาณพ มานะแซม, ภษู า อาภรณ์ ฟอ้ นผ,ี (กรงุ เทพฯ : โอ.เอส.พร้นิ ติ้งเฮา้ ส์, 2554), 51. 4 คอื การจบั รวบผา้ เหน็บไว้ที่เอวแลว้ ม้วนชายผ้าดงึ ไปเหนบ็ อีกครง้ั ดา้ นหลัง ลักษณะคลา้ ยการน่งุ โจงกระเบน

ตามรอยวถิ ภี ษู า 7 วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ คอื ขนาดสั้น และขนาดยาว ถา้ ขนาดสนั้ นิยมนงุ่ แบบ “เค็ดหม้าม หรอื “เก๊นหม้าม” เปน็ การมว้ นชายผา้ เป็นเกลียวสอดระหว่างขาให้รดั กมุ แบบเดยี วกบั นุง่ ถกเขมร ถา้ เป็น ผ้าขนาดยาวจะนุ่งแบบโจงกระเบน1 ส่วนผู้หญิงที่ยังไม่ออกเรือนนิยมนุ่งผ้าสีอ่อน พันรอบอกเพื่อบ่งบอกสถานภาพของตนเอง สว่ นหญงิ ทอ่ี อกเรอื นแลว้ มกั เปลอื ยอกไม่ สวมเส้ือเช่นเดียวกับผู้ชาย หรือห่มผ้าแบบ “ตุ้มเก่ิง พาดเก่ิง” หรือก่ึงห่มก่ึงพาด โดยการใช้ผ้าคล้องคอให้พาดลงมาปิดส่วนอก หรือห่มเฉียงแบบสไบ เรียกว่า “สะหว้ายแล่ง” หรือ “เบี่ยงบ้าย”2 นิยมนุ่งซ่ินกรอมเท้าเป็นผ้าพื้นมีลายสีเข้ม เช่น สแี ดง เหลอื งและด�ำ ลายขวางสลบั เปน็ รว้ิ แตกตา่ งกนั ไป นยิ มลายขวางเหลอื ง และเขยี ว บริเวณตีนซ่ินเป็นผ้าแถบสีพ้ืนธรรมดา เช่น สีดำ� และสีแดง ไม่มีลวดลาย เรียกว่า “ซ่ินตา” มักนุ่งในชีวิตประจำ�วันส่วนคนเฒ่าคนแก่จะนุ่ง “ซ่ินต๋า” “ซ่ินก่าน” หรอื เรยี กอกี อยา่ งวา่ “ซน่ิ ตอ่ ตนี ตอ่ เอว” นอกจากนี้ ยังพบการนิ่งซิ่นต่อเชิงด้วยตีนจก นิยมจกลายสี่เหล่ียมข้าวหลามตัดตรงกลางเชิงบนผ้าพื้นสีแดงซ่ึงหญิงล้านนาจะนุ่งใน โอกาสพเิ ศษ ต่อมาในสมัยท่ีมีการเปล่ียนแปลงการปกครองมณฑลเทศาภิบาล อันเป็นผลโดยตรง ของกระบวนการสร้างรัฐชาติท่ีเป็นผลมาจากการแผ่ขยายของลัทธิจักรวรรดินิยมในคาบสมุทร อินโดจีน สยามสถาปนารัฐรวมศูนย์แบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ในขณะที่อำ�นาจเจ้าผู้ครองนคร แบบรฐั จารตี ในฐานะประเทศราชเรม่ิ สนั่ คลอน ความนยิ มและคา่ นยิ มการแตง่ กายแบบสยาม และ ภูษาอาภรณ์จากต่างแดนเป็นที่นิยมในเชียงใหม่ ทั้งยังเป็นการปรับตัวของคนเมืองเชียงใหม่ต่อ ทา่ ทขี องผูป้ กครองชาวสยาม ในยคุ นีช้ ายชาวล้านนาเริม่ มีการสวมเส้อื เปน็ เสื้อคอกลม สาบเสื้อ ผา่ หน้า แขนยาวหรือแขนสนั้ ตดั เยบ็ จากผา้ ฝ้าย ผา้ ป่าน ผ้ามสั ลนิ หรือผ้าไหม แบบเสอ้ื ดังกลา่ ว คลา้ ยคลงึ กบั เสอ้ื ของชาวจนี ประเภทหนง่ึ ทเ่ี รยี กวา่ “เสอ้ื กยุ เฮง” และไดเ้ กดิ ความนยิ มนงุ่ กางเกงขน้ึ โดยมีรูปแบบมาจากกางเกงจีนเช่นเดียวกัน เป็นกางเกงขากระบอกมีท้ังแบบขายาวและขาสั้น ชาวเชียงใหมเ่ รยี กกางเกงขาส้ันยาวครึง่ หน้าแขง้ วา่ “เตยี่ วสะดอ”3 จะเห็นได้ว่าการเปลี่ยนแปลงการแต่งกายของชายสามัญชนล้านนาปรากฏเด่นชัด จากเดิมท่ีเปลือยอกเร่ิมมีการเย็บเสื้อมาสวมใส่ รวมท้ังมีการตัดเย็บกางเกงสวมใส่ จากเดิมท่ีนุ่ง ผ้าผนื แล้วใชว้ ธิ กี ารเหนบ็ ชายแบบต่างๆ สว่ นชนชั้นสงู และคหบดชี าย นิยมสวมเส้อื ราชประแตน ตามแบบราชสำ�นักสยามและมักสวมคู่กับโจงกระเบนผ้าม่วง หรือผ้าไหมหางกระรอกสีเดียวกัน ตลอดท้งั ผืน หรือในบางครง้ั จะสวมคกู่ บั กางเกงขากว้าง 1 กสรรุ ะพทลรวดงำ�วรฒั หิ นก์ ลุธร, รลม้า,นวนถิ าีถสน่ิ ิ่งวแิถวดีภลูษอ้ ามผสืนงัผคา้ มลา้ แนลนะาลตฒั ะนวันธรตรกม,2, 9(ก.ร งุ เทพฯ : คอมแพคทพ์ รนิ ท์, 2542), 246. 2 3 ค�ำ วา่ สะดอ แปลว่าก่งึ กลาง หมายถึงกางเกงขาสั้นกึ่งกลาง แต่ปัจจุบันเรยี กรวมทง้ั ขาสั้นและขายาว

8 ตามรอยวถิ ภี ษู า วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ สตรีสามัญชนยังคงนิยมมวยผมเหนือท้ายทอย นุ่งซิ่นตามฐานะของตน แต่เร่ิมมีความนิยม สวมเส้ือมากข้ึน โดยเป็นเส้ือคอกลมแขนกระบอกรัดรูปพอดีตัวซ่ึงได้รับอิทธิพลจากแฟชั่นของ อังกฤษ ต่อมานยิ มเสอื้ คอกลมผา่ หนา้ ชายเส้อื สั้นประมาณเอวและแขนเส้อื กวา้ งกว่าเดมิ มักเปน็ แขนยาวหรือแขนสามส่วน หากเปน็ บุคคลสำ�คัญ หรอื สตรชี น้ั สงู กจ็ ะนยิ มเส้อื แฟชัน่ ตะวนั ตกแบบ แอดวาเดียน1ของอังกฤษท่ีนิยมในสมัยปลายรัชกาลท่ี 5 (พ.ศ. 2442-2453) มีลักษณะ เป็นเสื้อคอต้ัง แขนพองหลวมยาวประมาณข้อศอกประดับตกแต่งด้วยลูกไม้ มานุ่งกับ ผ้าซิ่นท่ีประดิษฐ์ข้ึนใหม่ ด้วยการนำ�ผ้าลุนตยา อะเชะ2 อันเป็นผ้านุ่งประจำ�ชนชาวพม่า มาต่อกับผ้าซ่ินตีนจกของชาวไทยวน หรือตีนซ่ินปักลายดอกไม้ ตัวเสื้อห่มแพรสะพาย ทำ�จากผ้าฝรั่งอย่างหลวมๆ ซึ่งเป็นรูปแบบนิยมในสมัยพระราชชายาเจ้าดารารัศมี นอกจากนี้ ยังมีการประยุกต์แฟช่ันตะวันตกให้เข้ากับการแต่งกายของท้องถิ่น เช่น แฟช่ันตะวันตกยุค ทีนส์ ในสมัยรัชกาลท่ี 6 (พ.ศ. 2453-2468) และอิทธิพลแฟช่ันตะวันตกยุคแฟลปเปอร์ ชว่ งรัชกาลท่ี 7 (พ.ศ. 2468-2477)3 เปน็ ตน้ ต่อมาเมื่อนครเชียงใหม่เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศไทยซึ่งเป็นช่วงเวลา ของความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีได้หล่ังไหลเข้าสู่เชียงใหม่ ค่านิยม วฒั นธรรมบรโิ ภคนยิ มได้เปล่ียนแปลงวิถีชีวิตชาวล้านนา ซึ่งหน่ึงในนั้นคือรูปแบบของเส้ือผ้า เครื่องแต่งกาย ตลอดจนการผลิตผ้าและสิ่งทออีกด้วย ความนิยมเครื่องแต่งกายอย่างฝร่ังของ ชาวเชียงใหม่สมยั นน้ั เป็นจุดเริม่ ต้นของความลดนอ้ ยถอยลงของผลติ ส่งิ ทอในครัวเรือนที่จากเดมิ ทกุ หลงั คาเรอื นจะมกี ที่ อผา้ และสตรชี าวลา้ นนาจะทอผา้ เปน็ ในสมยั นสี้ ตรชี าวเชยี งใหมท่ เี่ ปน็ คน รนุ่ ใหมน่ ยิ มสวมกระโปรง หรอื กางเกงมากกวา่ นงุ่ ซน่ิ จงึ ท�ำ ใหว้ ฒั นธรรมการนงุ่ ซน่ิ ปรากฏอยเู่ ฉพาะ ผูเ้ ฒ่าผแู้ ก่ หรอื หญิงชาวชนบททไ่ี มไ่ ด้รับอทิ ธพิ ลของแฟช่นั ตะวนั ตกมากเทา่ กับในเมอื ง 1 โครงการเชยี งใหม่เมอื งสรา้ งสรรค์ สาขาหตั ถกรรมและศลิ ปะพ้นื บา้ นเชียงใหม่, พลวัตอาภรณแ์ ห่งนครเชียงใหม่ 100 Years Evolu- tion of Chiang Mai Costumes, (เชียงใหม่ : มสิ เตอรเ์ จมส,์ 2560), 5. 2 คอื การทอผ้าโดยใชด้ า้ ยพุ่งเป็นตวั เกย่ี วพันรอบเส้นยืนตามลวดลายทีไ่ ด้กำ�หนดไว้ เป็นหลักการทอแบบเดยี วกันกบั งานทอดว้ ยวธิ ี เกาะ หรือ ลว้ ง (Interlocking tapestry) โดยใชก้ ระสวยส�ำ หรบั พ่งุ อย่างนอ้ ย 100 ตัว และอาจเพิ่มข้ึนเปน็ 200 - 300 ตวั ตาม ความตอ้ งการข้นึ อยู่กับความสลับซบั ซ้อนของลวดลาย 3 โครงการเชยี งใหมเ่ มืองสร้างสรรค์ สาขาหตั ถกรรมและศลิ ปะพ้ืนบ้านเชียงใหม่, พลวัตอาภรณ์แหง่ นครเชียงใหม่ 100 Years Evolution of Chiang Mai Costumes, 6-7.

ตามรอยวถิ ภี ษู า 9 วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ ปัจจุบันความโหยหาอดีตของวัฒนธรรมล้านนาเกิดเป็นกระแสจนนำ�ไปสู่การอนุรักษ์ ที่นักวิชาการ มักเรียกว่าเป็นยุคฟ้ืนฟูวัฒนธรรมล้านนา เกิดการรณรงค์ให้มีการอนุรักษ์สืบทอด วัฒนธรรมด้านต่างๆ ซึ่งภูมิปัญญาด้านผ้าทอพ้ืนเมืองเชียงใหม่ นับเป็นหน่ึงในมรดกภูมิปัญญา ทต่ี อ้ งอนุรักษแ์ ละสบื สานอยา่ งต่อเน่อื งและจริงจงั เพ่ือใหอ้ งคค์ วามรู้นน้ั มีการสานต่ออย่างยัง่ ยืน จากวิวัฒนาการการแต่งกายของชาวเชียงใหม่ข้างต้น ทำ�ให้เห็นว่าการเปลี่ยนแปลง ดา้ นรปู แบบการแตง่ กายนนั้ ไดเ้ กดิ ขนึ้ อยา่ งพลกิ ผนั ในชว่ งครงึ่ ศตวรรษทผี่ า่ นมา ซง่ึ การเปลย่ี นแปลง รูปแบบการแต่งกาย และความเป็นสมัยใหม่บางประการนั้นส่งผลในระดับรากลึกต่อวิถีการผลิต และภูมิปัญญาเร่ืองผ้าทอในวัฒนธรรมล้านนา แต่กระนั้น องค์ความรู้ภูมิปัญญาเร่ืองผ้าทอก็ยัง คงมีลมหายใจต่อไปได้ด้วยพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ที่ทรงพระมหากรุณาธิคุณต่องานศิลปหัตถกรรมของท้องถิ่นผ่าน โครงการในพระราชดำ�ริต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งศูนย์ศิลปาชีพ ที่เป็นโครงการสนับสนุน และช่วยเหลือชุมชนให้มีรายได้ผ่านงานฝีมือ และงานหัตถกรรมท้องถิ่นของตนเอง ซ่ึงในจังหวัด เชยี งใหมก่ ไ็ ดร้ บั พระเมตตาจากพระองคท์ า่ นเชน่ เดยี วกนั นบั เปน็ พระมหากรณุ าธคิ ณุ อนั หาทส่ี ดุ มไิ ด้

10 ตามรอยวถิ ภี ษู า วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ ภาพ: ภาพชายและหญิงสามญั ชนเชยี งใหมใ่ น อดตี ที่แต่งกายดว้ ยผา้ นงุ่ และผ้าซนิ่ โทดี่มยาห:ลหวงนองั นสสุอื าฟรลิ ส์มุนกทรระกจจิ กเมืองเชียงใหม่ ภาพ: ภาพหญิงชาวล้านนากบั เครือ่ งแตง่ กาย ในชีวิตประจำ�วัน สันนิษฐานว่าถ่ายในช่วง พ.ศ. 2449-2453 ttทeoม่ี dgาraaz:puShria.iefmrs/, ehtttLpaso:/s/h: uamlbauzmurd.uenipvh-coo--

ตามรอยวถิ ภี ษู า 11 วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ อทิ ธพิ ลแฟชน่ั ตะวนั ตกยคุ เอด็ วาเดยี น1 อิทธิพลแฟชั่นตะวนั ตกยคุ ทีนส2์ ในเชยี งใหมป่ ลายรชั กาลท ่ี 5 ช่วงป ี พ.ศ. ๒๔๔๒-๒๔๕๓ ในเชียงใหมส่ มยั รชั กาลท่ี 6 ยุคปี พ.ศ. ๒๔๕๓-๒๔๖๘ อทิ ธพิ ลแฟช่ันตะวนั ตกยคุ แฟลปเปอร3์ อทิ ธิพลแฟช่ันตะวันตกยคุ มาลานาำ ไทย4 ในเชยี งใหม่ปลายรัชกาลท ี่ 7 ช่วงปี พ.ศ. ๒๔68-2477 ในเชยี งใหม่สมยั รัชกาลท ี่ 8 ยคุ ป ี พ.ศ. ๒๔77-๒๔89 ท่ีมาของภาพหมายเลข 1 - 4 : โครงการเชยี งใหมเ่ มอื งสร้างสรรค ์ สาขาหตั ถกรรมและศิลปะพ้นื บา้ นเชยี งใหม,่ พลวตั อาภรณ์แห่งนคร เชยี งใหม่ 100 Years Evolution of Chiang Mai Costumes, 6-7.

12 ตามรอยวถิ ภี ษู า วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ ภมู ศิ าสตรว์ ฒั นธรรม ของผา้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ “ภาพชวี ติ ประจ�ำ วนั ท่ีนา่ ดใู นเมืองเชียงใหมก่ ค็ ือตลาด... ตามสองฟากถนนใหญ่มีผหู้ ญิงที่น�ำ ของจากริมฝัง่ นำ�้ และจากต�ำ บลใกลเ้ คยี งมานง่ั ขายเรยี งกนั อยู่เต็ม ผ้หู ญงิ ทนี่ ่ีค้าขายเก่งเหมือนกับผูห้ ญงิ ในเกาะบาหล.ี ..”1 เมือง เชียงใหม่ อดีตศูนย์กลางอันรุ่งเรืองของอาณาจักรล้านนารำ่�รวยไปด้วย วัฒนธรรมและภูมิปัญญาเชิงช่างแขนงต่างๆ ซึ่งงานหัตถกรรมผ้าทอของเชียงใหม่มีเอกลักษณ์ เฉพาะตวั ทแี่ ตกตา่ งจากทอี่ น่ื ๆ ในเขตวฒั นธรรมรว่ มลา้ นนา โดยการวเิ คราะหใ์ นภาพรวมของงาน หัตถกรรมผ้าทอในเมอื งเชียงใหม่ผา่ นการวเิ คราะห์ร่วมกับบริบททางประวตั ิศาสตร์ ภมู ิรฐั ศาสตร์ และบริบททางสังคมวัฒนธรรมของเชียงใหม่ โดยอาศัย “ซ่ินตีนจก” เป็นตัวหลักในการ ท�ำ ความเขา้ ใจภมู ทิ ศั นข์ องภมู ปิ ญั ญาผา้ ทอยคุ จารตี ทถ่ี อื วา่ เปน็ มรดกภมู ปิ ญั ญาเกา่ แกท่ ห่ี ลงเหลอื และตกทอดมาจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากการทอผ้าตีนจกเป็นเทคนิคข้ันสูง ต้องอาศัยช่างฝีมือที่ สบื ทอดรนุ่ สรู่ นุ่ ทส่ี �ำ คญั คอื การทยี่ งั มชี า่ งทที่ อไดใ้ นปจั จบุ นั พบในบางพน้ื ทเี่ ทา่ นน้ั สะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ การสบื ทอดและถา่ ยทอดนนั้ เกดิ ขนึ้ เฉพาะแหง่ และจะตอ้ งเกดิ ขนึ้ ในพนื้ ทๆี่ ยงั คงมชี า่ งทอทย่ี งั คงสบื ทอดและถ่ายทอดกนั อย่างตอ่ เน่ือง หากวเิ คราะหร์ ว่ มกบั บรบิ ททางประวตั ศิ าสตรจ์ ะพบวา่ เมอื งเชยี งใหม่ เปน็ เมอื งทตี่ งั้ อยู่ ในชัยภูมิที่สำ�คัญของดินแดนตอนในภาคพื้นทวีปที่สามารถเชื่อมต่อไปยังจีนและพม่าได้ สามารถเดินทางออกสู่ทะเลได้ผ่านทางบ้านตาก หรือเมืองระแหงได้ ทำ�ให้เชียงใหม่เป็นเมือง ท่ีเป็นจุดยุทธศาสตร์สำ�คัญของการค้าที่เช่ือมต่อระหว่างภาคพื้นทวีปกับคาบสมุทร เป็นเมือง ปราการดา่ นหนา้ ส�ำ คญั ของการศกึ สงครามระหวา่ งเมอื งใหญใ่ นดนิ แดนแถบนี้ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ พมา่ และ กรงุ ศรอี ยธุ ยา ตลอดจนกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ดว้ ยเหตนุ ี้ หากเมอื งเชยี งใหมต่ อ้ งเผชญิ ศกึ สงคราม ก็มกั จะถกู กวาดตอ้ นพลเมืองไปยงั เมอื งทมี่ อี �ำ นาจเหนอื ตน ปรากฏข้อความท่กี ล่าวถึงการกวาดต้อนพลเมืองไปจากดินแดนล้านนาในเอกสารช้นั ตน้ หลายฉบับ โดยการกวาดต้อนพลเมืองมักเกิดจากการสงคราม โดยเฉพาะการกวาดต้อน โดยกรุงศรีอยุธยา และพม่า ตลอดจนการเทครัวติดตามพระเจ้าไชยเชษฐา กษัตริย์แห่งล้านช้าง เนือ่ งจากไม่ตอ้ งการตกอยภู่ ายใตอ้ �ำ นาจของพมา่ เปน็ ต้น 1 คารล์ บ็อค, ท้องถ่ินสยามยคุ พระพุทธเจ้าหลวง, แปลโดย เสฐยี ร พนั ธรังษ, อัมพร ทขี ะระ, (กรงุ เทพฯ : โสภณการพมิ พ์, 2562), 243.

ตามรอยวถิ ภี ษู า 13 วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ การกวาดต้อนเทครัวชาวล้านนาส่วนใหญ่เกิดขึ้นในสมัยอยุธยา เน่ืองจากสงคราม ระหว่างกรุงศรีอยุธยาและเชียงใหม่ จึงทำ�ให้มีการเคลื่อนย้ายและอพยพชาวล้านนาลงมายัง ภาคใต้ของสยามหลายครั้ง แต่ท่ีสำ�คัญและปรากฏเอกสารหลักฐาน ได้แก่ การเคล่ือนย้ายสมัย สมเด็จพระราเมศวร พ.ศ.19271 ในพระราชพงศาวดารฉบบั สมเด็จพระพนรัตน์ วดั พระเชตพุ น ฉบับตัวเขยี น ว่ามกี ารเทครวั ชาวเชียงใหมไ่ ปไว้ยังเมืองพัทลงุ เมืองสงขลา เมืองนคร เมอื งจันทบรู มกี ารเคลอ่ื นยา้ ยพลเมืองอกี ครั้งในชว่ งพุทธศตวรรษท่ี 20-21 ในช่วงสมัยของพระเจ้าติโลกราช แหง่ ลา้ นนา และสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถแหง่ กรงุ ศรอี ยธุ ยา และการเทครวั ครง้ั ส�ำ คญั ซง่ึ ปรากฏ ในหลักฐานฝ่ายอยุธยาและล้านนา คือ ในสมัยของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พ.ศ. 2143- 2144 ทเี่ สด็จไปเมืองเชยี งใหม่ เมอื งเถิน และเมอื งล�ำ พูน เพอ่ื ข้ึนไปไกลเ่ กลีย่ ขอ้ พิพาทระหวา่ ง เจ้าเชียงใหม่และเจ้านายล้านนาอื่นๆ รวมท้ังกวาดต้อนชาวล้านนา โดยเฉพาะชาวเมืองลำ�พูน ไปยงั เมอื งพทั ลงุ เมอื งสงขลา และเมอื งนคร เนอื่ งจากปรากฏรอ่ งรอยหลกั ฐานศลิ าจารกึ วรรณกรรม พทุ ธศาสนาและคมั ภรี ใ์ บลานซงึ่ เปน็ ขอ้ สนั นษิ ฐานเบอ้ื งตน้ วา่ มหี ลกั ฐานการเทครวั ชาวลา้ นนาไปยงั ภาคใต้2 ส่วนพม่านั้น มีความพยายามต้องการครอบครองและขยายอำ�นาจครอบคลุมล้านนา ลา้ นชา้ งและอยธุ ยา จงึ ท�ำ สงครามระหวา่ งดนิ แดน โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในรชั สมยั ของพระเจา้ บเุ รงนอง3 ในปี พ.ศ. 2101 ที่เข้ายึดครองเมืองเชียงใหม่และมีการกวาดต้อนครัวจากเชียงใหม่ไปยังพม่า4 แม้กระท่ังในสมัยของเจ้ากาวิละเองก็มีการกวาดต้อนพลเมืองในล้านนาอ่ืนๆ เช่น เชียงราย เชยี งแสน ตลอดจนหวั เมอื งรายทางไปยงั เมอื งเชียงใหม่ และเมอื งทางตอนใตข้ องสยามดว้ ย ภายหลังเม่ือต้องฟื้นฟูบ้านเมืองจากการตกเป็นเมืองขึ้นพม่ากว่า 200 ปีน้ัน ความพยายามในการกวาดตอ้ นผคู้ นเขา้ มาตง้ั ถนิ่ ฐานอาศยั อยู่ กเ็ พอ่ื ชว่ ยใหเ้ มอื งขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ และฟนื้ ฟตู วั เองทง้ั ทางกายภาพ และทางจติ ใจคอื การฟนื้ ฟวู ดั และศาสนสถานตา่ งๆ ท�ำ ใหพ้ ลเมอื ง ที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานใหม่ในยุคพระเจ้ากาวิละคงอยู่รายล้อมตัวเมือง ไม่ห่างไกลจนเกินไปนัก เพอ่ื ใหพ้ ลเมอื งสามารถผลติ และสง่ ผลผลติ เขา้ สศู่ นู ยก์ ลางไดไ้ มย่ ากจนเกนิ ไป จงึ มกั ปรากฏชอื่ บา้ น นามเมืองเดมิ ของชุมชนท่เี ทครัวมาอยูใ่ นสมัยน้นั ท่วั ไปในเขตเมอื งเชียงใหม่ และบริเวณชานเมอื ง เช่นบ้านฮ่อม บ้านเมืองสาตร เมืองเลน บ้านลวงเหนือ บ้านลวงใต้ บ้านเหมืองกุง เป็นต้น ซง่ึ กลมุ่ ชนเหลา่ นก้ี อ็ าจเปน็ ชมุ ชนชา่ งเทครวั มาอยใู่ กลก้ บั ตวั เวยี ง หรอื อาจจะเปน็ ชมุ ชนชาวบา้ นชาวนา 1 ขอ้ สงั เกตเรอ่ื งศกั ราชในการเทครวั นา่ จะเปน็ ในสมยั ของสมเดจ็ พระราเมศวร (พระนามเดมิ ของสมเดจ็ พระเอกาทศรส) ในปี พ.ศ. 2143 เ นอ่ื งจากไม่มลี ้านนาไมม่ บี ันทกึ การเทครวั ในช่วง พ.ศ. 1927 ซึ่งขณะนั้นอยธุ ยายังไมเ่ ปน็ ปึกแผ่นและยงั ยึดสุโขทยั ไมไ่ ด้ 2 ศานติ ภกั ดคี ำ�, “ล้านนา” ใน “ทักษณิ ”: ความสัมพนั ธท์ างประวตั ศิ าสตร์ จารึก และวรรณกรรม,”วารสารวิชาการคณะ มนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์, 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มถิ ุนายน 2560) น. 11-14. 3 เรอื่ งเดียวกนั , 24. 4 วราภรณ์ เรอื งศรี, กาดก่อเมอื ง : ชาติพนั ธแ์ุ ละคาราวานการค้าลา้ นนา, 147.

14 ตามรอยวถิ ภี ษู า วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ กต็ ง้ั ถนิ่ ฐานในพน้ื ทรี่ าบลมุ่ น�ำ้ อดุ มสมบรู ณห์ า่ งไกลจากตวั เวยี งออกไป แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามชมุ ชนตา่ งๆ กย็ งั คงสามารถผลติ ผา้ ใชใ้ นครวั เรอื นได้ จนกระทงั่ เกดิ การเปลยี่ นแปลงทางการเมอื งการปกครอง และสงั คมวฒั นธรรมทตี่ วั เมอื งเชยี งใหมไ่ ดร้ บั ผลจากกระแสความนยิ มตะวนั ตก การเปลย่ี นแปลง รูปแบบการผลิตเป็นระบบอตุ สาหกรรม คา่ นิยมเครื่องแตง่ กายสมัยใหมซ่ ง่ึ เกิดขน้ึ กับ “ชาวเวยี ง” และชุมชนใกล้เคียง มากกว่าชุมชนที่ห่างไกลออกไป ทำ�ให้ภูมิรู้และช่างทอผ้ายังคงหลงเหลืออยู่ ในพืน้ ทๆี่ ห่างไกลเวยี ง และเป็นพ้นื ท่ๆี พลเมืองไมถ่ ูกกวาดต้อน หรอื ถูกกวาดต้อนไมม่ าก สว่ นในพื้นท่หี า่ งไกลเวยี ง หากเป็นท่ตี ง้ั ถ่นิ ฐานของชมุ ชนทถี่ ูกกวาดตอ้ นมา กม็ ักจะเปน็ ชุมชนชาวไทอื่นๆ เช่น ลื้อ ยอง เขิน ไต ต่างๆ ที่ยืนยันถึงถิ่นฐานบ้านเกิดเมืองนอนของตนว่า มาจากดนิ แดนรฐั ไทอน่ื ทม่ี ใิ ชเ่ ชยี งใหม่ แตเ่ ขา้ มาเปน็ พลเมอื งโดยการกวาดตอ้ น หรอื ความสมคั รใจ อพยพย้ายถิ่น หรือโยกย้ายด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจการค้า ฯลฯ ซึ่งกลุ่มเหล่านี้มักจะมี องค์ความรู้การผลิตผ้าทอเป็นของตนเอง มีรูปแบบเฉพาะบางประการท่ีแตกต่างอันเป็นเหมือน เครอ่ื งหมายแห่งความเปน็ ชาติพนั ธขุ์ องตนสลักอยู่ ในเนอ้ื หาของหนงั สือตามรอยภษู าวถิ ผี ้าล้านนาเชยี งใหม่ จะนำ�เสนอภูมศิ าสตรผ์ า้ ทอ ลา้ นนาเชยี งใหม่ออกเป็น 3 พ้ืนทีส่ ำ�คญั โดยอาศยั ตวั เวียงเชยี งใหม่เปน็ ศนู ย์กลาง ดังนี้ กลมุ่ ผา้ สายเหนอื เวยี ง : พน้ื ทที่ างตอนเหนอื ของเวยี งเชยี งใหมข่ น้ึ ไปตง้ั แตเ่ ขตอ�ำ เภอแมร่ มิ ไปจนถงึ อ�ำ เภอแมอ่ าย ทม่ี ีพรมแดนติดกับเขตรฐั ฉาน ประเทศพม่า และจังหวดั เชียงราย จากการสำ�รวจแหลง่ ภูมปิ ญั ญา ผ้าทอในบริเวณพื้นที่แถบตอนเหนือของเวียงเชียงใหม่ในปัจจุบันพบว่ามีแหล่งผลิตผ้าทอ ไมม่ ากนกั และไมพ่ บวา่ มแี หลง่ ผลติ ผา้ ตนี จกซงึ่ เปน็ เทคนคิ วธิ กี ารทอผา้ เชงิ ชา่ งชน้ั สงู ปรากฏ หาก แต่พบการทอผลิตผ้าทอลายขัดพ้ืนฐาน ผ้าผืนต่างๆ และการผลิตผ้าแปรรูปจากใยกัญชงซ่ึงเป็น ผลติ ภัณฑ์สมยั ใหม่ที่เกิดข้ึนในปจั จุบัน เช่น ที่ชุมชนบา้ นหว้ ยทราย อำ�เภอแมร่ ิม เป็นตน้ นอกจากนี้แหล่งผลิตผ้าในชุมชนท่ีสะท้อนถึงอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์พบในหลาย พื้นท่ี อาทิเช่น แหล่งทอผ้าไทลื้อ อำ�เภอสะเมิง ท่ียังมีการทอผ้าที่มีลวดลายเป็นเอกลักษณ์ของ ชาวไทล้อื เช่น ตุงล้ือ ผ้าพาดบ่า ผา้ ซนิ่ เป็นตน้ แหลง่ ผลติ ผา้ ทอในเขตสายเหนอื เวยี งน้สี ่วนใหญ่ จะมีความโดดเด่นในเรื่องของผ้ากลุ่มชาติพันธ์ุส่วนน้อยท่ีอพยพโยกย้ายเข้ามาอยู่ในพื้นท่ีแถบนี้ ในสมยั หลงั เชน่ ชาวมง้ บา้ นแมส่ าใหม่ อ�ำ เภอแมร่ มิ ชาวลาหู่ ชาวลซี ู ชาวดาราอง้ั บา้ นปางแดงใน อ�ำ เภอเชยี งดาว และชาวไทใหญ่ ในเขตอ�ำ เภอเวยี งแหง เป็นตน้ ข้อสันนิษฐานหน่ึงท่ีว่าเหตุใดพ้ืนท่ีกลุ่มเมืองทางตอนเหนือจึงไม่มีแหล่งผ้าทอลวดลาย โบราณท่ีเป็นเอกลักษณ์ของเคร่ืองแต่งกายคนล้านนา หรือการทอผ้าตีนจกดังเช่นกลุ่มเมืองสาย ใต้เวียง อาจเนื่องด้วยกลุ่มเมืองทางตอนเหนือถูกทิ้งร้างมานานตั้งแต่ช่วงพม่าเข้าปกครอง และ แมว้ ่าเจ้ากาวลิ ะจะเข้ามาฟนื้ มา่ น ฟื้นฟเู มอื งเชียงใหม่ กลุ่มเมืองทางตอนเหนอื กย็ ังคงมีประชากร

ตามรอยวถิ ภี ษู า 15 วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

16 ตามรอยวถิ ภี ษู า วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ อย่เู บาบาง และทำ�การเพาะปลูกเป็นหลัก นับต้งั แต่สงครามพม่าล้านนาในสมัยพระเจ้าบุเรงนอง ท่ีได้ส่ังให้มีการเทครัวชาวเชียงใหม่กลับไปยังพม่าในปี พ.ศ. 2101 น้ัน อยุธยาก็ยกทัพข้ึนมาตี เมืองเชียงใหม่และสามารถยึดเมืองไว้ได้เป็นครั้งคราวในสมัยของพระนเรศวรมหาราช และ พระเอกาทศรส ซงึ่ ปรากฏวา่ มกี ารเทครวั ชาวเชยี งใหมไ่ ปยงั หวั เมอื งทางใต้ อกี ทงั้ ยงั เกณฑแ์ รงงาน ชาวบ้านในเขตเมืองตอนเหนือ เช่น เมืองฝาง และบ้านเมืองเล็กๆ รายรอบ ทั้งน้ีเมืองฝางเป็น รจวุดมยทุทง้ั ธเมศอื างสเชตยี รง์สแำ�สคนัญทใ�ำ นใหกเ้ามรอื เงตฝราียงมแทละัพกขลอมุ่ งเมกอืองงบทรัพวิ าอรยบุธอยบาชก�ำ้ ่อจนากทภี่จาะวเะขส้างตคีหรัวามเมทือเ่ี กงดิไทขน้ึใหบญอ่ ย่พคมร่งา้ั ทง้ั จากพมา่ กบั สยามและลา้ นนา ตง้ั แต่ พ.ศ. 2330 เปน็ ตน้ มา ท�ำ ใหพ้ ลเมอื งกลมุ่ เมอื งสายเหนอื อพยพละทง้ิ บา้ นเรอื นลงไปยงั ทางใต้ จนบา้ นเมอื งกลายเปน็ เมอื งรา้ ง พบวา่ ชาวเมอื งฝาง ไดอ้ พยพ ออกเป็น 2 สาย คอื สายพญาสุรนิ ทร์ เจ้าเมอื งฝางพาผ้คู นอพยพไปยงั เวยี งปา่ เปา้ เข้าล�ำ ปางไป ทส่วานงวอังีกเหสนายือหปนัจึ่งจอุบพันยปพระไปชพากรร้อบมากงับสเ่วจน้ายนังาคยงเตมั้งือหงลฝักางแไหปลท่งาองยอู่ใำ�นเเภขอตพเมรือ้างววแังลเ้หวขน้าือมแจมังห่นว้ำ�ัดปลิงไำ�ปปตา้ังง ถิ่นฐานอยแู่ ถบบ้านสะลวง บา้ นป่าเป้า อำ�เภอแม่รมิ ซ่งึ กลมุ่ น้ียังยอ้ นกลบั คืนเมอื งฝางเพ่อื ฟ้นื ฟู เมืองในอกี 90 ปตี อ่ มา1 จากการอพยพหนภี ยั สงคราม และการเทครวั พลเมอื งทางตอนเหนอื ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2331 และการทเี่ มืองเชยี งแสนแตกในปี พ.ศ. 2347 ทำ�ใหเ้ มอื งทางตอนเหนือเมืองเชียงใหม่ หรือฝ่าย เหนอื เชน่ เมอื งฝาง เชยี งราย เชยี งแสน ถูกทิง้ ร้าง หรือหลงเหลือประชากรอยู่อย่างเบาบางและ ไม่มีผู้นำ� จนกระทั่งได้มกี ารฟืน้ ฟกู ลุ่มเมอื งสายเหนอื เร่มิ ข้ึนเมอ่ื ราว พ.ศ. 2385-2386 ในสมยั รัชกาลสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ท่ีเล็งเห็นว่าควรกลับมา ฟ้ืนฟูหัวเมืองฝ่ายเหนือ โดยให้มีการเกณฑ์ผู้คนท่ีเป็นเชื้อสายของผู้อพยพหนีภัยสงครามให้กลับ ขนึ้ ไปตง้ั หลกั แหลง่ ใหเ้ ปน็ บา้ นเปน็ เมอื งตามเดมิ นโยบายนชี้ ดั เจนขนึ้ ในรชั สมยั ของพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยูห่ ัว รัชกาลท่ี 5 ตรงกับสมัยของพระเจ้าอินทรวิชยานนท์ เจ้าผคู้ รองนคร เชยี งใหม่ ทรงมดี ำ�รทิ ีจ่ ะฟ้นื ฟหู ัวเมืองฝา่ ยเหนือทเี่ คยเปน็ เมืองส�ำ คัญมาแต่โบราณให้คนื เปน็ บ้าน เปน็ เมืองดงั เดิม โดยเฉพาะอย่างยิง่ เมืองฝาง และเมืองเชยี งแสน โดยเมอื งเชยี งแสนนนั้ เจ้าผูค้ รอง นครเชียงใหม่ให้เกณฑ์พลเมืองชาวเชียงใหม่และลำ�พูนข้ึนไปตั้งบ้านเมือง ส่วนเมืองฝางนั้นให้ รวบรวมบา้ นเรือนที่ตัง้ กระจัดกระจายให้เขา้ มาอยู่ในอำ�นาจปกครองของเจา้ ผู้ครองนครเชยี งใหม่ โดยการส่ง “เจา้ ราชสมั พันธวงศ”์ 2 เจ้านายจากเชียงใหม่ข้ึนไปรวบรวมผูค้ น และไดร้ บั การฟื้นฟู อยา่ งเป็นทางการในปี พ.ศ. 2420 เปน็ ต้นมา 1จ2าเอรร�ำ อ่ืึกเงภเมเอดือฝิมงา,ฝง5างแ5)ล.- 5ะส7ภ. าวฒั นธรรมอ�ำ เภอฝาง, ประวัติศาสตร์เมืองฝาง, (เชยี งราย : ล้อลา้ นนา, 2559), 35. (ทร่ี ะลึกในพิธเี ปดิ หลกั ศลิ า

ตามรอยวถิ ภี ษู า 17 วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ จากหลกั ฐานปรากฏวา่ พลเมอื งทส่ี มคั รใจจะขน้ึ ไปอยเู่ มอื งฝางนนั้ ตอ้ งมใิ ชข่ า้ ทาส ขา้ วดั แทลี่ถะูกอหง้าคมรเักคษล์ซื่อ้านยยข้าวยาขแอตง่ชเจา้วาเเหงี้ยนวือทหี่มัวาจรวามกเทมั้งือนงักปโุทเมษือแงลสะากดลุบ่มชนาฝวั่งเแงีม้ยว่นเ้ำ�จส้าาฟล้าะเมวืิอนงสโากมหาลรั้นถ ตั้งถ่ินฐานท่ีเมืองฝางได้ รวมท้ังมีคำ�ส่ังให้ครัวเรือนของขุนนางเมืองเชียงใหม่ และเจ้านายข้ึนไป ปกครองเมืองฝางด้วย1 เนอ่ื งจากการอพยพโยกยา้ ยถนิ่ ฐานของพลเมอื ง การทต่ี อ้ งตงั้ บา้ นตง้ั เมอื งใหม่ และตอ้ ง ปรับตัวต่อสภาพดินฟ้าอากาศเพ่ือการเพาะปลูกท่ีค่อนข้างแร้นแค้น ทำ�ให้งานหัตถกรรมต่างๆ ท่ีเกินกว่าความจำ�เป็นในการดำ�รงชีวิตจึงไม่ถูกผลิตมากนัก อีกท้ังกลุ่มคนท่ีข้ึนไปอยู่มุ่งเน้นท่ี การใช้แรงงานเพื่อการผลิต มากกว่าการสร้างงานหัตถศิลป์ส่งให้ทางราชการ หรือเพื่อทำ�การค้า ซึ่งในช่วงเวลาดังกล่าวนั้น เส้นทางการค้าสายเหนือจากยูนนาน ผ่านเมืองฝางและหัวเมืองทาง ตอนเหนือไม่เฟ่ืองฟูเช่นในอดีต ในขณะท่ีทางสายใต้ยังคงมีการค้าทางบกจากมะละแหม่งสู่เมือง เชยี งใหมอ่ ยอู่ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง นอ่ี าจเปน็ ปจั จยั ส�ำ คญั ประการหนงึ่ ทที่ �ำ ใหง้ านหตั ถกรรมผา้ ทอทม่ี คี วาม ประณีต และต้องใช้ทักษะเชิงช่างมากจึงไม่พบในเขตกลุ่มเมืองทางตอนเหนือของเมืองเชียงใหม่ แต่กลับพบว่ามีกลุ่มชาติพันธ์ุอื่นๆ อยู่อย่างหลากหลายท้ัง ไทใหญ่ ปกาเกอะญอ ลัวะ และกลมุ่ ไทล้ือ ต้ังรกรากอยู่มาก ทำ�ใหง้ านหัตถกรรมผ้าท่ีตอ้ งใช้ทักษะสูงและเป็นรูปแบบดั้งเดมิ ของเมืองเชยี งใหม่จงึ หลงเหลืออยใู่ นเขตสายใต้ของเวยี งเชยี งใหม่ กลุ่มผา้ สายใต้เวียง : บริเวณสายใต้ของเวียงเชียงใหม่เป็นพ้ืนท่ีของแหล่งผลิตผ้าทอ โดยเฉพาะ“ผ้าตีนจก” และการผลิตผ้าทอพื้นเมืองที่หลากหลายนับแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นการจกตีนผ้าซ่ิน ที่มีรูปแบบเป็นเอกลักษณ์เฉพาะท้องถิ่น เช่น ตีนจกแบบสันป่าตอง ตีนจกแบบแม่แจ่ม ตีนจก แบบฮอด-ดอยเต่า เป็นต้น อีกท้ังยังมีชุมชนที่ทอตัวซ่ินงดงามข้ึนช่ือและเป็นที่แพร่หลายในอดีต อแพยา่รง่กเรชะ่นจซาย่ินทแั่วมไก่ ปงุ้ ใบนกเขใตนตเขอตนอใตำ�้ขเภอองสเวนั ยี ปง่าอตกีอทงั้งรยอ่ งั งเรชอื่อยมขโยองงไภปมู ยปิ งั ญัพ้ืนญทาีร่ผอ้ายทตอ่อขลอำ�งพเชนู ยี ลงมุ่ใหนม�ำ้ ป่ลรี้ หากรฏือ ผ“โา้ หลลุ่มง่นล้ำ�”้ี ป2งิ สในายเขใตตอ้แ�ำหเ่งภนอี้ เวยี งหนองลอ่ ง และอ�ำ เภอบา้ นโฮง่ ทอี่ าจมคี วามเชอ่ื มโยงสมั พนั ธก์ บั กลมุ่ เปน็ ทนี่ า่ สงั เกตวา่ กลมุ่ เมอื งทางใตเ้ วยี งเชยี งใหมน่ ยี้ งั คงมชี า่ งทอผา้ และจกผา้ โดยเฉพาะ ผา้ ซ่นิ ซึง่ ตอ้ งมคี วามเชยี่ วชาญมากกวา่ กลุม่ เมอื งทางสายเหนือของตวั เวียง อีกทั้งรอ่ งรอยของการ ผลติ ผา้ นงุ่ แบบซนิ่ ตนี จกแบบเวยี งเชยี งใหม่ หรอื แบบชาวเวยี ง กส็ นั นษิ ฐานไดจ้ ากตวั ผา้ ซนิ่ โบราณ ทค่ี ้นพบในพ้นื ที่กลุ่มเมอื งสายใต้นี้ 1 อำ�เภอฝาง และสภาวฒั นธรรมอำ�เภอฝาง, ประวตั ศิ าสตร์เมืองฝาง, 55-57. หอผ้าบญุ ยวง, 2559), 8. 2 นสุ รา เตยี งเกตุ และคณะ, ผ้าจกโหลง่ ลี้ มรดกสายเมือง จงั หวัดล�ำ พนู , (ม.ป.ท.:

18 ตามรอยวถิ ภี ษู า วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ จากการสัมภาษณ์ คุณวศิน อุ่นจะนำ� ผู้เชี่ยวชาญด้านผ้าและสิ่งถักทอไท1 กล่าวว่า เราสามารถสันนิษฐานถึงผ้าซ่ินในวัฒนธรรมล้านนาว่าเป็นรูปแบบใดได้เก่าแก่ท่ีสุดจากผ้าซิ่น เชียงแสน เนื่องจากเป็นหลักฐานของเครื่องแต่งกายชาวล้านนาที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดเท่าที่พบใน ปัจจุบนั อาจมีอายุราว 100 กว่าปเี ทา่ น้นั และคงไมเ่ กนิ ศักราชทเี่ มืองเชียงแสนแตกเมอ่ื ราวปี พ.ศ. 2347 ซิ่นเชียงแสนได้เดินทางไปพร้อมกับการเทครัวอพยพชาวเชียงแสนภายหลังเมืองแตก ท่ีปรากฏหลักฐานวา่ ชาวเชยี งแสนได้อพยพกระจายตวั ไปยังเมอื งต่างๆ ไดแ้ ก่ จงั หวดั นา่ น ลำ�ปาง เชยี งใหม่ อตุ รดติ ถ์ สระบรุ ี ราชบรุ ี และรวมไปถงึ แขวงไซยบรุ ใี นประเทศลาว จงึ ท�ำ ใหไ้ มห่ ลงเหลอื หลักฐานของผ้าซ่ินเชียงแสนก่อนเมืองแตก หากหลงเหลือเพียงซิ่นเชียงแสนโบราณภายหลังการ อพยพเทา่ นน้ั 2 จากรูปแบบเค้าโครงของผ้าซิน่ เมอื งเชยี งแสน ซง่ึ ถือวา่ เป็นเมอื งศูนยก์ ลางการปกครอง ของล้านนาในช่วงที่พม่าปกครองเมื่อราวพุทธศตวรรษท่ี 21-23 จนกระท่ังเกิดการอพยพ เน่ืองจากเมืองแตกน้ันอาจถือว่าเป็นเค้าโครงภาพร่างของวัฒนธรรมการนุ่งผ้าซิ่นของชาวล้านนา ท่ีเกา่ แก่ทส่ี ดุ ทีป่ รากฏหลักฐานหลงเหลอื อยู่ อย่างไรกต็ ามผา้ ซ่นิ เมอื งเชยี งแสนก็มีลกั ษณะเฉพาะ เป็นของตัวเองที่บ่งบอกถึงความเป็นซิ่นเชียงแสน ในขณะที่เมืองเชียงใหม่ก็มีผ้าซ่ินในรูปแบบ ของตนเองและอาจมีอายุเก่าแก่สืบค้นไปได้ราวราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน โดยเฉพาะในช่วงสมัยของ พระราชชายาเจา้ ดารารศั มี ทมี่ กี ารแตง่ กายดว้ ยผา้ ซน่ิ ตนี จกแบบชาวเวยี งเชยี งใหมท่ อ่ี าจสนั นษิ ฐาน รปู แบบไดจ้ ากตวั อยา่ งผา้ ทีต่ กทอดในทายาทตระกูล ณ เชยี งใหม่ และตระกลู คหบดีเชียงใหม3่ เนื่องจากความนิยมการนุ่งซ่ินของสตรีชาวเชียงใหม่มีอยู่ 2 ประเภท คือ นุ่งซิ่นตา และซิน่ จก โดยเฉพาะซิ่นจกจะนุ่งในโอกาสพเิ ศษ จงึ เปน็ ไปได้ว่าการนงุ่ ซนิ่ จกแบบเวียงเชยี งใหม่ ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นชนชั้นนำ� อาจแพร่ความนิยมไปยังท้องถิ่น จึงทำ�ให้เกิดการทอผ้าซ่ินตีนจกและ นงุ่ ตามความนยิ มในชว่ งสมยั นน้ั ซง่ึ ในการสรา้ งสรรคล์ วดลาย สสี นั อาจแตกตา่ งกนั ไปในแตล่ ะทอ้ งท่ี 4 โดยเฉพาะอย่างย่ิงมักปรากฏให้เห็นในปัจจุบันในแถบสายใต้ของเวียงเชียงใหม่ เช่น สันป่าตอง จอมทอง แม่แจ่ม ฮอด และดอยเต่า เป็นต้น อีกประการหน่ึง คือ เมืองทางสายใต้ยังหลง เหลือวัฒนธรรมที่มีรากเก่าแก่เป็นของตนเอง และไม่ได้อ้างอิงวัฒนธรรมเชียงแสนอย่างท่ี ชาวเชียงใหม่มักอ้างอิงถึง เช่น การขับจ๊อยสายใต้ที่มีความเฉพาะเป็นของตนเอง เป็นต้น 1 วศนิ อนุ่ จะน�ำ , สัมภาษณโ์ ดย ไพลนิ ทองธรรมชาต,ิ ม.ป.ท., 1 กรกฎาคม 2564. (ตลุ าคม 2560 – มนี าคม 2561) น.29-30. 2 กฤตพงศ์ แจม่ จนั ทร,์ “ซน่ิ เชยี งแสน ยอแสงแหง่ อารยธรรม,” รม่ พยอม, 20 ฉบบั ท่ี 1 3 วศิน อนุ่ จะน�ำ , “ผา้ ซ่ินตีนจกในจงั หวัดเชียงใหม,่ ” รม่ พยอม, 16 ฉบบั ท่ี 1 (มกราคม – มถนุ ายน 2557) น.36. 4 วศิน อุน่ จะน�ำ , สัมภาษณโ์ ดย ไพลนิ ทองธรรมชาต,ิ ม.ป.ท., 1 กรกฎาคม 2564.

ตามรอยวถิ ภี ษู า 19 วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ อกี ทง้ั ยงั ปรากฏโบราณสถาน และโบราณวตั ถเุ กา่ แกม่ ากมายทสี่ บื คน้ ไปไดจ้ นถงึ ราวพทุ ธ ศตวรรษท่ี 22 เช่น ภาพพระบฏในกรพุ ระเจดียว์ ดั ดอกเงิน อ�ำ เภอฮอด อนั อาจถือได้ว่ามีอายุเก่า แก่ทส่ี ดุ เท่าทคี่ น้ พบในปัจจบุ ัน ข้อสันนิษฐานท่ีว่าเหตุใดผ้าซิ่นตีนจกและช่างทอในเขตพ้ืนท่ีสายใต้พบมากกว่าสาย เหนือ อาจเป็นไปได้ว่ากลุ่มเมืองทางสายใต้คงเป็นชาวล้านนาที่อยู่มาแต่เดิม ไม่ได้ถูกกวาดต้อน หรืออพยพโยกยา้ ยมากกวา่ เมอื งทางตอนเหนอื และบา้ นเมอื งทอ่ี ยรู่ ายลอ้ มตวั เวยี งอกี ทง้ั ความหา่ งไกล จากตัวเวียง และลักษณะทางภูมิประเทศที่ต้ังอยู่ในหุบเขาสลับซับซ้อนเช่น เมืองแม่แจ่ม อาจเป็นปราการหน่ึงที่ทำ�ให้กระแสความนิยมแฟช่ันตะวันตก และสินค้าที่ผลิตในระบบ อตุ สาหกรรมที่เดินทางมาจากกรุงเทพฯ ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 25 เข้าถงึ ได้ไมง่ ่ายนัก ถ ือวา่ คราคในร�ำ่ทไาปงดตรว้ งยกกนั อขงา้ คมากรอ่ านวกาานรพข่อยคาย้าตทวั่ีเดขอินงทเศารงคษ้าฐขกจาิ ยจาแกลกกรเงุปเทลพ่ียนฯสเนิขา้คม้าาเนนน้ั อ่ื งเจมอาื กงแเมถอืบงสสาายยใตใตน้ ้้ี สามารถเดนิ ทางเชอื่ มตอ่ ไปยงั เมอื งมะละแหมง่ ทต่ี ดิ ตอ่ กบั การคา้ ทางทะเลไดอ้ กี ทางหนงึ่ พอ่ คา้ และ กองคาราวานทเี่ ดนิ ทางไปมาบนเสน้ ทางการคา้ สายนี้ มที ง้ั พอ่ คา้ จากจนี ยนู นาน และพอ่ คา้ ไทใหญ่ ทขี่ นสินค้าหลากหลายแหลง่ จากเมอื งตอนเหนือมาค้า ขณะเดียวกันก็เปน็ เส้นทางผ่านของสนิ ค้า จากโรงงานตะวันตกเมืองมะละแหม่งเข้าสู่เมืองเชยี งใหมด่ ้วย1 ส่วนเมืองสายเหนือ ในอดีตอาจเป็นพื้นที่ป่าไม้ และมีประชากรอยู่อาศัยเบาบาง และ กระจายอยตู่ าม “โหลง่ ” ต่างๆ และบางส่วนกเ็ ปน็ ประชากรที่อพยพโยกย้ายเข้ามาอยู่อาศยั หรอื อาจเป็นพลเมืองชาติพนั ธท์ุ ่อี ยู่อาศัยมาแตเ่ ดมิ เช่น ชาวลวั ะ ชาวปกาเกอะญอ หรอื แม้แต่ชาวมง้ ชาวดาราอั้ง และชนเผ่าอน่ื ๆ ท่ีอพยพเข้ามาอยใู่ หม่ แม้จะหลายเมอื งทางตอนเหนอื จะเปน็ เมือง สำ�คัญ เชน่ เมืองฝาง หรือเขตอำ�เภอดอยสะเกด็ ท่ีเปน็ เมืองชุมชนทางการคา้ และถอื ว่าเปน็ แหลง่ ปลูกฝ้าย และเปน็ เสน้ ทางการค้าฝ้ายที่สำ�คัญของล้านนา2 ก็ไมค่ ่อยปรากฏผา้ ซิ่นจกโบราณมาก เทา่ กบั พื้นทส่ี ายใต้ 1 วเรรอื่ างภเดรณยี ว์ เกรนั ือ,งศ1ร5,ี 8ก.า ดกอ่ เมือง : ชาตพิ ันธ์ุและคาราวานการคา้ ล้านนา, 114. 2

20 ตามรอยวถิ ภี ษู า วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ ภาพ: ขบวนกองคาราวานพ่อคา้ วัวต่าง และภาพบริบทเมืองดอยเตา่ เมืองสายใตข้ องเวียงเชียงใหม่ ท่มี า : ไม่ทราบชื่อ, “รู้จัก “ววั ตา่ ง” กับวิถีชีวติ ทางเหนอื ทำ�ไมถึงเรียก ว่า “วัวตา่ ง”,ศลิ ปวฒั นธรรม,https://www.silpa-mag.com/ และ https://doitao.info/, สืบค้นเมื่อวนั ที่ 17 กรกฎาคม 2564.

ตามรอยวถิ ภี ษู า 21 วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ ภาพ: ภูมทิ ัศน์วัฒนธรรมเมืองแม่แจ่ม เมืองใน แอ่งท่รี าบระหว่างหุบเขาในเขตภาคเหนอื ทมี่ า : www.facebook.com/piyawan noy/ ภาพ: ภูมิทศั นเ์ มอื งดอยเต่า ที่มาของภาพ : http://lifeisajourneythai- land.com/doitao/, สืบค้นเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2564.

22 ตามรอยวถิ ภี ษู า วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

ตามรอยวถิ ภี ษู า 23 วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ กแหล่มุล่ผงผ้าลฝิตงั่ ตผ้าะทวนัี่ขึ้อนอชกื่อแทมางน่ ฝ�้ำ ่ังปตงิ ะ:วันออกของแม่น้ำ�ปิงนั้น คือ เมืองสันกำ�แพง อันเป็น แแลหะลเ่งปผน็ ลแิตหผล้าง่ททออทผี่ทา้ ำ�ไจหามกทเส่ีส�ำ้นคไหญั มขอหงเรมืออื ทง่ีเเรชียยี กงวให่าม“่ เผน้าอื่ ไงหเมขตสฝันงั่กตำ�ะแวพนั งอ”อกอขันอถงือแวม่าน่เป�้ำ ็นปสงิ นินเี้คป้าน็ ขพ้ึนน้ืชท่ือ่ี ทางการเกษตรทก่ี วา้ งขวางและอดุ มสมบรู ณท์ ตี่ อ้ งการแรงงานในการเพาะปลกู มาก พน้ื ทดี่ งั กลา่ ว จึงมักเต็มไปด้วยชุมชนอพยพโยกย้ายถิ่นฐานจากการเทครัวเข้ามาอยู่อาศัยปะปนกับชาวท้องถิ่น เดิมที่มีอยู่เบาบางภายหลังจากการฟ้ืนฟูเมืองเชียงใหม่ในสมัยเจ้ากาวิละ (พ.ศ. 2325-2356) ดงั เช่น ปรากฏหลกั ฐานความเปน็ มาของชาวสนั กำ�แพงบนศิลาจารึก ณ วัดเชียงแสน ต�ำ บลออน ใต้ อำ�เภอสนั ก�ำ แพง ว่ามถี น่ิ ฐานเดิมอยูท่ ี่พนั นาภูเลา แขวงเมอื งเชียงแสน จากหลักฐานดังกลา่ ว อาจสันนิษฐานได้ว่าเมืองสันกำ�แพงเริ่มมีชุมชนแล้วตั้งแต่ พ.ศ. 20311 และยังมีชุมชนเก่าแก่ อ่นื ๆ รายรอบ เช่น บ้านป่าเหว บ้านแมผ่ าแหน บ้านสันกำ�แพง เปน็ ตน้ นอกจากนแี้ ลว้ ยงั มกี ลมุ่ ชนอพยพอนื่ ๆ เขา้ มาตง้ั ถน่ิ ฐานในบรเิ วณแถบนด้ี ว้ ย เชน่ ไทลอื้ บา้ น สแมว่ นท่ ไาทไเทขยนิ อองบยา้ทู่ นบ่ี บา้ วนกสคนั า้ กงา้บงา้ ปนลดาอเนปปน็ นิ ตบน้ า้ ทน�ำรใอ้ หยพ้พนื้อ้ ทมฝ่ีบง่ั า้ ตนะยวา่ นั ผอายอกบขา้ อนงดแงมขเ้ีน่ ห�ำ้ ลปก็ งิ บหา้ลนาปกหา่ ตลาาลยเไปปน็ดตว้ น้ย วผัฒคู้ นนทธม่ีรรามจาปกรตะา่เพงบณา้ ีนภตาา่ ษงาเมออื างหแาลระแแตลล่ ะะเคกรลือ่มุ่ งกแพ็ ตยง่ ากยาายมรดกั งั ษนานั้ อตักลลกัมุ่ ษผณา้ ทข์ าองงฝตง่ั นตเะอวงนัไวอ้ ไอมกว่ แา่ มจน่ะเ้�ำ ปปน็ งิ นอกจากจะมคี วามโดดเดน่ ในเรอื่ งของผา้ ไหม ทบ่ี า้ นกาด เมอื งสนั ก�ำ แพงแลว้ ยงั มกี ารผลติ ผา้ ของ กลุ่มชาตพิ นนั อธก์ุตจ่างาๆกกทลี่เขุ่มา้ ผม้าาใอนาสศาัยยอเหยใู่นนือบรสเิ วาณยใแตถ้ บแนล้ีดะว้ฝย่ังเตชะ่นวกันันออกแม่นำ้�ปิงแล้ว ยังมีพลเมือง ชาวเชียงใหม่ท่ีเป็นกลุ่มชาติพันธุ์อาศัยกระจัดกระจายในหลายพ้ืนที่ และยังคงรักษาอัตลักษณ์ ภูมิปัญญาด้านผ้าทอที่ทรงคุณค่าไม่ย่ิงหย่อนไปกว่ากัน ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มชนชาวปกาเกอะญอ หรอื ชาวกะเหร่ยี ง ชาวลวั ะ ชาวม้ง ชาวอาข่า ชาวดาราอ้งั ฯลฯ หรือกล่มุ ไทต่างๆ ซง่ึ ถอื วา่ เป็น ส่วนหน่ึงท่ีถักทอภูมิทัศน์วัฒนธรรมด้านผ้าของเชียงใหม่ให้สมบูรณ์งดงาม ซ่ึงจะกล่าวต่อไปใน หวั ขอ้ ผ้าของกลุ่มชาตพิ นั ธ์ุ 1 นฤมล ศรีกจิ การ, การทอผ้าไหมที่บา้ นกาด อำ�เภอสนั ก�ำ แพง จังหวัดเชยี งใหม่ : ประวัติและพฒั นาการตงั้ แต่ พ.ศ. 2453-2524 (รายงานการวิจยั ) , (กรุงเทพฯ : สำ�นักงานคณะกรรมการวฒั นธรรมแห่งชาต,ิ 2536), 1.

24 ตามรอยวถิ ภี ษู า วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ : เสน้ สาย ลวดลาย และการถกั ทอ “...ในยามท่หี ญงิ สาวเหลา่ นี้ไมไ่ ดม้ าค้าขายในตลาด พวกเธอจะท�ำ งานเยบ็ ปกั ถกั รอ้ ยเสือ้ ผ้าเครอ่ื งนุง่ ห่ม หมอนและทนี่ อน...”1 การ ทอผ้าเป็นภูมิปัญญาร่วมของมนุษยชาติที่ต้องผลิตเคร่ืองนุ่งห่มคลุมร่างกาย อันเป็นปัจจัยสำ�คัญของการดำ�รงชีวิต แต่เดิมอาจมีเพียงการทอผ้าพ้ืนท่ีมีโครงสร้างเรียบง่าย คอื การน�ำ เสน้ ใยมาประสานกนั ใหเ้ ปน็ ผนื โดยใชเ้ สน้ ยนื ทอขดั กบั เสน้ พงุ่ แลว้ จงึ น�ำ มาท�ำ เปน็ เครอื่ ง นงุ่ หม่ ตอ่ มาจงึ ไดม้ วี วิ ฒั นาการของการประสานเสน้ ใยทม่ี คี วามซบั ซอ้ นมากขนึ้ สรา้ งลวดลายตา่ งๆ เพ่อื ความงดงาม และเพอ่ื ส่อื สัญลกั ษณ์ความหมายตา่ งๆ บนผืนผา้ แสดงให้เห็นถึงภมู ปิ ญั ญาอัน ชาญฉลาดของมนุษย์ ตลอดจนแสดงออกถงึ สนุ ทรยี ภาพผ่านการสร้างสสี นั บนผืนผา้ โดยการยอ้ ม สีจากธรรมชาติ ทำ�ใหผ้ ้าผนื หน่งึ มีเรอื่ งราวมากมายทบี่ อกเลา่ ได้ถงึ วิวัฒนาการของมนษุ ยชาติ วธิ ีการทอผา้ (Weaving Techniques) มหี ลายวิธี ในท่นี ีข้ อเสนอเทคนคิ ที่พบในผา้ ทอ ของเมอื งเชียงใหม่ ได้แก่ (1) ผา้ พนื้ (Plain weave) การทอผา้ พน้ื เปน็ การทอเสน้ ใยทเ่ี ปน็ เสน้ ยนื และเสน้ พงุ่ ขดั กนั แบบงา่ ยๆ อาจเปน็ เสน้ ใย สีเดยี วกัน หรอื ตา่ งสสี ลับกนั ไป หรอื บางครงั้ ทอเปน็ ลายขัดทซี่ ับซอ้ นมลี วดลายเปน็ รว้ิ สตี า่ งๆ เชน่ ผา้ หางกระรอก แตโ่ ดยท่ัวไปผา้ พน้ื สว่ นใหญเ่ ปน็ สีเดียวกันทัง้ ผืน นยิ มใช้ในชวี ติ ประจำ�วนั ทัว่ ไป (2) ผา้ จก (Extra supplementary weave) การจกเป็นการสร้างลวดลายขณะทอด้วยการเพิ่มเส้นพิเศษเสริมโครงสร้างปกติท่ีเป็น เสน้ พุ่งหรอื มีเส้นพงุ่ พิเศษแทรกเขา้ ไปเปน็ ช่วงๆ ตลอดความกวา้ งของผ้า2 ต้องใช้อปุ กรณ์พิเศษ ที่มีปลายแหลม ในอดีตผทู้ อใชน้ ้วิ ของตนเอง ตอ่ มาเปล่ียนขนเม่นโดยการใช้ปลายขนเม่นยกดา้ ย เส้นยนื เพอ่ื จะไดส้ อดเสน้ พงุ่ พเิ ศษเขา้ ไป ลวดลายตามแนวขวางของผา้ เกดิ จากสสี นั ของดา้ ยเสน้ พเิ ศษน้ี 1 แมรี โลวนิ า คอร์ท, “ลาว : ดินแดนทางตอนเหนือของสยาม,” แปลโดย พรพรรณ ทองตัน, ใน ฝรัง่ ในลา้ นนา, (กรุงเทพฯ : อรณุ การ พ2 มิวถิพี ,์พ2าน5ชิ6พ1นั ),ธ1,์ 2ส0ง่ิ ถ.กั ทอและผา้ ไท (เอกสารประกอบการสอน), (เชยี งใหม่ : คณะวจิ ติ รศลิ ป์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม,่ 2545), 14.

ตามรอยวถิ ภี ษู า 25 วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ ลำ�กปาราจงกนทิยำ�ไมดท้ 2อคววิธ่ำ�ีแหลน้ว้าแผต้า่คลวงามทถำน�ใัดหข้ผอู้ทงผอู้ทเหอ็แนลผะ้าปจราะกเดพ้าณนีขหอลงัทง ้อดงังถน่ิน้ันชาผวู้ทเชอียตง้อใหงมม่ี ลำ�พูน ความเชยี่ วชาญเรอื่ งการใชส้ แี ละลวดลายมาก อกี ทง้ั ยงั สามารถเกบ็ ปมดา้ นหลงั ไดเ้ รยี บรอ้ ยใชง้ าน ได้ทัง้ หนา้ หลัง กับแบบทอด้านหนา้ นยิ มในกลุ่มชาวไทพวน หรอื ลาวพวน จงั หวดั สุโขทัย และ อตุ รดติ ถ์ แบบนจ้ี ะเห็นลายด้านหน้าชดั แตจ่ ะไม่สามารถเกบ็ ปมดา้ นหลงั ได้เรยี บงามได้ (เป3น็) กผา้ารขสดิ รา้ (งSลuวpดpลlาeยmบนeผn้าtคaลry้ายwกeับfจtกwแeตaใ่vชinไ้ มgค้)�ำ้ (Shed sticks) หรอื เขา (String heddles) แทนการใช้วัตถุปลายแหลม ลวดลายได้จากเส้นพุ่งท่ีย้อมก่อนนำ�มาทอ “เขา” เป็น อุปกรณ์ทำ�ชุดลาย โยงเข้ากับด้ายเส้นยืน หากผู้ทอต้องการทำ�ลายใดก็จะดึงชุดเขาลายน้ันมาใช้ และเป็นการสอดเส้นด้ายพุ่งพิเศษเฉพาะจุดหรือเป็นช่วงๆ นิยมในกลุ่มชาวไทลื้อ และชาวลาว ชาวไทล้อื เรยี กเทคนคิ การทอชนดิ น้วี า่ “เก็บดอก” หรือ “เก็บมกุ ”1 และเรียกลวดลายทเี่ กิดจาก การทอชนดิ นว้ี ่า “มุกเกบ็ ”2 (4) ผ้าลายล้วง หรือเกาะ (Tapestry weave) เป็นวิธีการทอโดยการใช้ด้ายเส้นพุ่งแทรกเข้าเส้นยืนตามแบบลายท่ีสร้างไว้ (ล้วง) แลว้ ยอ้ นเสน้ พ่งุ น้ันกลับมาท่ีเดมิ โดยให้เก่ยี วหรือคลอ้ งกบั ดา้ ยเส้นยืนเสน้ หนึง่ (เกาะ) ที่ขอบตัว ลายการทอลักษณะน้ีช่วยเพ่ิมความแข็งแรงให้กับผ้า ทำ�ให้เกิดลวดลายคล้ายคล่ืน หรือฟันปลา ขแนอวงกเฉลยี ุ่มงชจาึงวนไยิทมลเ้ือรียในกแผถา้ ชบนลดิุ่มนแ้ีวมา่ ่นผ้ำ�า้โขลงาตยนอน้ำ�ไบหนลใ3น หเทลคานยคิ พน้ืนี้อทา่ีจเกชล่น่าวแไดข้ววา่งเหปลน็ วเงทนค้ำ�นทิคาอัตบล่อักแษกณ้ว์ อดุ มไชยและไชยบรุ ี ใน สปป.ลาว และกลมุ่ ไทลอื้ ในประเทศไทยทงั้ ใน เขตนา่ น เชยี งราย และพะเยา แต่ส่วนกลุ่มไทล้ือ บ้านแม่สาบ อำ�เภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่นั้น ส่วนใหญ่ใช้เทคนิคขิดในการ สรา้ งลวดลายบนผ้า ไมพ่ บว่ามกี ารใช้เทคนคิ เกาะล้วง4 (5) ผ้ายกดอก (Brocade) เปน็ การทอผา้ ทเ่ี สน้ พงุ่ และเสน้ ยนื สานเจา้ ดว้ ยกนั อยา่ งสลบั ซบั ซอ้ น เสน้ พงุ่ จะถกู ยกขา้ ม เส้นยนื ทำ�ใหเ้ กดิ ลวดลายนูนขึ้นมาจากเนื้อผา้ แต่กย็ งั เป็นโครงสร้างหลกั ของผ้าอยู่ ลายสว่ นใหญ่ ลักษณะคล้ายลายจักสาน เชน่ ลายสาม ลายแปดตะขอ (Twill) ลายก้างปลา ลายขัดสอง เปน็ ตน้ 1 มกุ เปน็ ภาษาไทล้ือ หมายถึงลวดลายทนี่ นู ข้นึ มา (ม.ป.ท.: ภาควิชาภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่, 2 ทรงศักด์ิ ปรางคว์ ฒั นากุล, มรดกวัฒนธรรมผา้ ทอไทลอื้ , 243 5วสถิ5�ำ ีน1พกั)า,สน1ง่ ชิ เ6สพ.รนั มิ ธศ,์ ลิสปง่ิ ถวกฒัั ทนอธแรลรมะผมา้ หไทาว(ทิเอยกาสลายั รเชปยีรงะใกหอมบ,่ กไทารลสอ้ื อแนม)ส่, า(เบช,ยี (งเใชหยี มงใ่ :หคมณ่ :ะนวนั จิ ทติ กรศานลิ ตป์์ กมรหาาฟวฟทิ ชืยคิาลกยั าเชรพยี งมิ ใพห,์ม2,่ 525574)5, )8, 81.3 .

26 ตามรอยวถิ ภี ษู า วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ การทอผา้ ยกดอกเปน็ วธิ ที น่ี ยิ มในกลุ่มคนไท-ลาวทัว่ ไป เนอ่ื งจากทำ�ให้ผา้ ฟูหนาและน่มุ นอกจาก นี้การยกดอกสามารถเพม่ิ เสน้ โลหะสีเงิน สที องเข้าไปซ่งึ ท�ำ ให้ไดล้ วดลายงดงาม นอกจากนยี้ งั มเี ทคนคิ อน่ื ๆ ในการสรา้ งลวดลายบนผนื ผา้ ในกลมุ่ ชาตพิ นั ธใุ์ นเขตเชยี งใหม่ เช่น การปัก (Embroidered) เช่นการปักด้วยด้ายสีแบบ cross stitch ของชาวเมี่ยน การปักลูกเดือย ลูกปัดของชาวกะเหร่ียง การปักหน้าหมอนด้วยด้ินเงินดิ้นทองของกลุ่มชาวไทย วนเปน็ ต้น นอกจากนี้ยังมี เทคนคิ บาติก (Batik) ทีเ่ กดิ จากการนำ�เทยี นไขมาละลายแล้ววาดลง บนผนื ผา้ เป็นลวดลายตามต้องการ แล้วน�ำ ไปยอ้ มสโี ดยวิธีย้อมเย็น (Cold dye) แล้วน�ำ มาผ้ามา ตม้ เพอ่ื ละลายเอาเทยี นทต่ี ดิ ออก สว่ นทไี่ มต่ ดิ สจี ะเกดิ เปน็ ลวดลายตามทวี่ าดไว้ เปน็ เทคนคิ ทน่ี ยิ ม ในกลมุ่ ชาวมง้ รวมทง้ั เทคนคิ การอดั จบี หรอื อดั พลตี (Pleated) ของผา้ ทจ่ี บี ทบซอ้ นกนั เกดิ เปน็ สนั สลับขน้ึ ลง และยืดหดตามแนวผ้าท่ีจบี ไว้ พบในกระโปรงของชาวมง้ 1 เป็นตน้ 1 กระทรวงวฒั นธรรม, วถิ ถี ่ิน วิถภี ษู า ผนื ผา้ ล้านนาตะวนั ตก, (ม.ป.ท.: ม.ป.พ.,2560), 22-23.

ภาพ : ผ้าพนื้ ทอมือ (Plain weave) oทhmtrี่มogtาpamขsnอ:si/c/ง/-,ภwcสาowบืพtwtค:oน้.lnaเ-มvmอื่ieวaeนัsnkทr-ocี่ 1ha2ida.ncกgoรmmกฎa/iาw-คweมelll2-od5vee6smi4gn.oemd-/

ทสภืบาี่มพคาข้น:อเเมงทภื่อควานพันิคท:กh่ี า1tรt2pเกsกา:/ระ/กiหdฎรeาือnคลtมiว้ty2งn5(Ta6na4p.c.aosmte/rayrcWheivaevsin/8g)03,

ภhสhทืบttาม่ี ttพคาppขน้ss:อ::เ//เมง//ทภ่อืdwควาiwgนพันiิคtwท:iกzผ.ี่ aeา1า้ rรd2งoจlาuaกมกnnผเรndล้ากa่าoฎ(เ.nEรcาxlอ่ืoคitnงmมrเeaม/.2cอืs5ouงเpm6หp4/นlt.eอืrแamเลeปeะl-ดิnaตtrao�ำ rนuyาnwนdผe-2้าaล/v,้าeน) นา,

ภาพ : เทคนคิ การขดิ ผา้ (Supplementary weft weaving) hสทผบ้าืt่มี tขคาpดิข้นsโอ:เน/มง/นภือ่wเวาสwพันลwทา:.่ี m1จา2uกsรกeารuกกmเฎหtางhค้าaมiสla่กู2nา5dร6พ.c4ัฒo.mนา,,

ภาพ : เทคนิคการยกดอก (Brocade) hทเมt่มี ื่อtาpวขsันอ:/ทง/่ีภa1rาc4พhกi:vรheกt.sฎtapาcsคi:c/ม/t.p2ohr5.at6yh4o/ck.ednotke.cr/o,mสบื/ คแ้นละ

ภาพ : เทคนคิ การปกั ผา้ ลกู เดอื ยของชาวกะเหรย่ี ง ทม่ี าของภาพ : ประสงค์ แสงงาม (เจา้ ของภาพ), https://vatinee.tumblr.com/ และ ศนู ย์สง่ เสริมศลิ ปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน), เยบ็ ปกั ถกั ทอ เอกลกั ษณ์และ ศิลปะลวดลายผ้าชาวเขา, (กรงุ เทพฯ : สยามคัลเลอร์พริน, 2557), https://fliphtml5. com/wqdx/nszx/basic/51-100, (ออนไลน)์ , สบื ค้นเมือ่ วนั ที่ 14 กรกฎาคม 2564.

ภาพ : เทคนคิ การท�ำ ผา้ เขยี นเทยี นของชาวมง้ ทม่ี าของภาพ : ศูนย์ส่งเสรมิ ศิลปาชพี ระหว่างประเทศ (องคก์ ารมหาชน), เย็บ ปัก ถัก ทอ เอกลกั ษณ์และศิลปะลวดลายผา้ ชาวเขา, (กรงุ เทพฯ : สยามคลั เลอรพ์ รนิ , 2557), https://fliph- tml5.com/wqdx/nszx/basic/51-100, (ออนไลน)์ , สืบค้นเม่อื วนั ที่ 14 กรกฎาคม 2564.

34 ตามรอยวถิ ภี ษู า วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ เส้นใยในการถักทอเป็นผืนผ้านั้น สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ได้แก ่ เส้นใยพืช เสน้ ใยสตั ว์ และเสน้ ใยสังเคราะห ์ ดงั น้ี 1) เส้นใยพชื ได้แก ่ -เอเชฝยี ้�ตยอขน�ใวต ้ (จCดัoเtปto็นnไม/ ้พG่มุ oหsรsือypไมiu้ยmนื ต น้hiขrsนuาtดuเmลก็ 1L . )ใ หมเ้ถี สิ่น้นกในาำ เสนีขดิ าใวนนอวเลม รแกิ ลาะกสลีนางำา้ แตลาละ อ่อน หรือที่เรียกว่า “ฝา้ ยตนุ่ ” -ต อ่กมญั นชาำ้ งม นั(Hขeอmงกpญั ) ชเปงมน็ นี ไมอ้ ยล้ กม้ วลา่ กุ มจลีดั กัอษยใู่ณนะพทชื าซงง่ึ พใหฤป้ กรษะศโยาชสนตห์รค์ลลกั า้ทยากงดญั า้ ชนาส งแ่ิ ทตอกเตปา่ น็ งสกาำนั ค ญัคอื 2 ชาวม้ง เรียกใยกัญชงว่า “ม่าง” นำามาทอผ้าเป็นเครื่องนุ่งห่มและใช้ในพิธีกรรม ปัจจุบันมีการพัฒนาผ้าทอจากใยกัญชงให้มีคุณภาพมากขึ้นและออกแบบตัดเย็บ เป็นเคร่ืองแตง่ กายตามความตอ้ งการของท้องตลาด 2) เส้นใยสตั ว ์ ได้แก่ - ไหม (Silk) เปน็ เสน้ ใยจากดกั แดผ้ เี สอื้ ชนดิ หนง่ึ ทใี่ หเ้ สน้ ในละเอยี ดเลก็ มนั วาวสวยงาม การดงึ เส้นไหมออกจากดกั แด้หรือปลอกไหม เรยี กวา่ “การสาวไหม” ความเงามันวาว ของเสน้ ไหมนน้ั มาจากคณุ สมบตั ขิ องโครงสรา้ งทคี่ ลา้ ยปรซิ มึ สามเหลย่ี มของเสน้ ใย ทาำ ให้ ผา้ ไหมมคี วามมนั สะทอ้ นแสงเปน็ ประกายวบั วาว ชาวเชยี งใหมใ่ นอดตี ไมน่ ยิ มเลยี้ งไหม แต่นำาเข้าจากจนี และพมา่ โดยนาำ ไหมดบิ มาทอเปน็ เครื่องแตง่ กายใหช้ นชัน้ สูง 3) เส้นใยสงั เคร�ะห์ (Synthetic f iber) มีคุณสมบตั ขิ องเส้นใยแตกตา่ งกัน เช่น อะคริลิค (Acrylic) โพลีเอสเตอร์ (Polyester) และเรยอน (Rayon) เป็นต้น เกิดจากการค้นคว้าและพัฒนาโดยนักวิทยาศาสตร์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ, คุณสมบัติ และประโยชน์ใช้สอยของเส้นใยได้หลากหลาย มากยง่ิ ขึน้ จากเสน้ ใยปกตทิ ่ัวไปท่ีได้จากพชื และขนสตั ว์ 1 ไมท่ ราบชือ่ , “ฝ้าย สรรพคุณและประโยชนข์ องต้นฝา้ ย 5 ขอ้ ,” แกไ้ ขครั้งลา่ สดุ 2560, MedThai, สืบค้นเม่อื วนั ที ่ 16 สิงหาคม, 2564, https://medthai.com/ 2 ไม่ทราบชอ่ื , “กัญชง,”แก้ไขครงั้ ลา่ สุด 2563, วกิ ิพีเดีย, สบื คน้ เมอื่ 16 สิงหาคม, 2564, https://th.wikipedia.org/.



36 ตามรอยวถิ ภี ษู า วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ ภษู าผา้ ทอ ในวถิ วี ฒั นธรรมลา้ นนา “...เกอื บทกุ บ้านมักจะมหี ูกแบบพ้นื เมืองอย่ใู นหอ้ งหรือใตถ้ นุ บา้ น ในภาคเหนอื มฝี ้ายมาก และราคากถ็ กู ดว้ ย พวกเจา้ นายใชผ้ ้าไหมท่ีมีเส้นทองสอดสลับ... ”1 ผ้า มีความเก่ียวข้องกับวิถีชีวิตประจำ�วันของผู้คน ตั้งแต่เกิดจนตายนอกเหนือจาก การนำ�ผ้ามานุ่งห่มแต่งกายแล้ว ผู้คนต้องมีการใช้ผ้าในกิจกรรมอ่ืนๆ ในครัวเรือน ไม่ว่าจะเป็น เครื่องนอน กระเป๋าเพื่อขนส่ิงของสมั ภาระต่างๆ ตลอดจนน�ำ ไปเป็นส่วนหนง่ึ ของเครอ่ื งประกอบ พิธีกรรมตามความเชื่อ ผ้าจึงผูกพันกับวิถีวัฒนธรรมของผู้คน ชาวไทล้านนาก็เช่นกัน ผ้ามี ความสำ�คัญในเกือบทุกมิติของชีวิต ผ้าจึงกลายเป็นแหล่งหลอมรวมองค์ความรู้ และย่อส่วนโลก ทศั น์ของชาวล้านนาไว้ลงบนผืนผา้ ชิ้นเล็กๆ ชิน้ หนงึ่ ผา้ จึงผูกพันกบั บริบทของสงั คมท่รี ังสรรคข์ น้ึ มา บทบาทของผ้าในทศั นะของวิถี พานิชพันธ2 ์ ได้แก่ (1) ผา้ เป็นตัวก�ำ หนดกิจกรรมและสถานภาพของชุมชนในสังคม โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งเกยี่ วข้องโดยตรงกับผหู้ ญิงซ่ึงมีภาระตอ้ งรบั ผิดชอบในการผลติ และ หากชมุ ชนใดมกี ารผลติ ผา้ ทมี่ คี ณุ ภาพสงู และเปน็ ทร่ี จู้ กั แพรห่ ลาย แสดงใหเ้ หน็ วา่ ชมุ ชน น้ันมีศักยภาพสูง ท้ังด้านวัสดุและแรงงาน ตลอดจนรสนิยมเชิงสุนทรียภาพท่ีส่งผลต่อ ฐานะและหนา้ ตาในสงั คมของชุมชนนน้ั ๆ (2) ผา้ เปน็ ตวั ชถ้ี งึ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบุคคล และความผกู พันของเครอื ญาติ ประจักษพ์ ยานสำ�คญั คือการท่มี ักผลติ สิ่งทอทส่ี ืบทอดรูปแบบของบรรพบรุ ุษเอาไวเ้ พอื่ แสดงความสายสัมพันธ์เช่ือมโยงว่ามาจากบรรพบุรุษเดียวกัน หรือบ้านเมืองเดียวกัน แม้ว่าจะต้องอพยพโยกย้ายไปต้ังถ่นิ ฐานในถิ่นอ่นื ก็ตาม 1 คารล์ บ็อค , ท้องถ่นิ สยามยคุ พระพุทธเจา้ หลวง, แปลโดย เสฐียร พันธรงั ษี, อมั พร ทขี ะระ, (กรงุ เทพฯ : โสภณการพมิ พ์, 2562),343. 2 วิถี พานิชพันธ,์ สิ่งถักทอและผา้ ไท, 79-81.

ตามรอยวถิ ภี ษู า 37 วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ (3) ผา้ เปน็ เครื่องหมายแสดงถงึ ระดบั ชนช้นั ในสังคม ผ้าบางประเภทเป็นเครื่องหมายแสดงถึงความเคารพนบนอบ หรือเก่ียวข้องกับศาสนา และความเช่ือ เช่น การถวายผา้ หม่ พระธาตุ การมอบผา้ ของผู้น้อยให้แกผ่ ู้อาวุโส หรือ การนำ�ผ้าไปผูกกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ท่ีเคารพ เช่น ศาลพระภูมิ หอผี หลักเมืองเป็นต้น (4) ผา้ เปน็ สง่ิ แสดงฐานะ ผ้าสะทอ้ นถงึ สถานภาพทางสังคมของผู้สวมใส่ ผทู้ ม่ี ฐี านะยอ่ มสวมใสผ่ า้ ทอทม่ี คี ณุ ภาพตดั เยบ็ อยา่ งประณตี แมแ้ ตบ่ า่ วไพรท่ ร่ี บั ใชก้ ต็ อ้ ง มีผ้าดีสวมใส่เพื่อไม่ให้ผู้อื่นดูแคลน แต่ส่วนมากน้ันชาวล้านนานิยมแต่งตัวดูดีอยู่เสมอ แม้ว่าจะมีฐานะยากจนก็ตาม หากต้องไปร่วมเทศกาลงานบุญ งานฉลองก็จะต้อง แต่งกายให้ดูดีเหมาะสม ดังเช่นท่ีปรากฏในเอกสารโบราณเร่ือง คดีธัมม์สอนโลก หระมบาวุย่าถงึ “ไ…ม(ค่บว่)รดนเีงุ่อผาา้ เเสกอื้ า่ ผคา้รห�ำ่ คมรอา่ งหมมาอนงงุ่ คเลย�้ำ ีย หวทาก่าผนอู้มน่ื งุ่ จเละง็ ดหแู นั คลดนแู แคลวะนนกนิ นั ทบาอเอกากไลดา่ ้ สวะ..ท.”อ้ 1น ใหเ้ หน็ ถงึ คา่ นยิ ม และทศั นะของคนลา้ นนาในอดตี ทมี่ ตี อ่ การแตง่ กายและเครอ่ื งแตง่ กาย ท่สี วมใส่ นอกจากนี้ผ้ายังมีความหมายซับซ้อนทางสังคม มีการแข่งขันอวดโอ่อยู่ในที แมว้ า่ จะเปน็ การถวายผา้ เพือ่ บุญกศุ ลทางศาสนา เชน่ ตงุ ผา้ ทอ มักจะมีการปกั ชอ่ื ผ้ทู อ ไว้ท่ีชายตุงนอกเหนือจากคำ�อุทิศถวายให้แก่ญาติพ่ีน้องท่ีล่วงลับ ชายหนุ่มท่ีมองหา หญงิ สาวไปเปน็ คคู่ รอง กจ็ ะมาเยย่ี มชมตงุ ผา้ ทอทถ่ี วายไวใ้ นวหิ ารและจะทราบวา่ หญงิ สาว นางใดเป็นผู้ทอจากชื่อท่ีปักไว้ หากชายหนุ่มเห็นว่าตุงน้ันทอได้อย่างงดงามก็อาจเป็น ที่หมายปองของหนุ่ม ดังน้ันหญิงสาวที่ยังไม่ได้ออกเรือนมักทอตุงไว้อวดความงามของ ตนเองผ่านทางเส้นสายใยผ้าทถี่ กั ทอมาเปน็ ตัวตงุ นัน่ เอง (5) ผ้าเป็นเครอื่ งหมายถึงความพร้อมของสตรี ในอดีตผู้หญิงทุกคนต้องทอผ้าเป็นตั้งแต่เด็ก เพ่ือให้สามารถทอผ้าเพื่อใช้เองและเพ่ือ ครอบครัวในอนาคต หากหญิงใดละเลยหน้าที่นี้ก็มักจะถูกสังคมโดยเฉพาะฝ่ายชาย มองว่าขาดคุณสมบัติ ไม่มีความพร้อมในการออกเรือนและละเลยหน้าท่ี ซ่ึงผ้าและ สิ่งทอต่างๆ ที่ทอขึ้นจากสองมือของผู้หญิงน้ัน มักเก่ียวข้องกับเหตุการณ์ท่ีสำ�คัญ ในชวี ิตของผูห้ ญงิ คนหนงึ่ ต้งั แตก่ ่อนแต่งงาน แต่งงาน และหลงั แตง่ งาน เพราะผู้หญงิ ต้องทอผ้าเพ่ือแสดงถึงศักยภาพของตนเองท่ีสามารถผลิต ส่ิงท่ีเป็นปัจจัยใน การดำ�รงชวี ิตได้ อย่างดี ไมว่ า่ จะเป็นถงุ ย่าม หน้าหมอน ผา้ เช็ด เครอ่ื งนอน ผา้ ห่ม ฯลฯ 1คณสมะหสมังคามยศเาปสรตมรจ์ ิตมตห์,าปวิทริวยรารลตัย,เชคีย�ำ งสใอหนมพ่, ร2ะ5ย1าม9งั )ร, า2ย9ภ. าคปรวิ รรตล�ำ ดบั ที่ 11 (เชยี งใหม่ : ภาควิชาสงั คมวทิ ยาและมานษุ ยวิทยา

38 ตามรอยวถิ ภี ษู า วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ หรือแม้กระท่ังเตรียมสิ่งทอเพ่ือใช้ในงานศพของสมาชิกในครอบครัวและเพ่ือตนเอง ตลอดจนการทอผ้าเพื่ออุทศิ ถวายในพระศาสนาดว้ ย จากบทบาทของผ้าท่มี ตี ่อผ้คู นและสังคมแล้ว ตวั ผ้าเองก็มีหลากหลายรปู แบบ แตกต่าง กนั ไปตามการใช้งาน ซ่ึงสามารถจ�ำ แนกผ้าในวฒั นธรรมล้านนาตามการใช้งานได้ ดงั น้ี ประเภทของผา้ ในวฒั นธรรมล้านนา (1) ผา้ ในชวี ติ ประจ�ำ วนั สามารถแยกออกไดเ้ ปน็ ประเภทเครอื่ งแตง่ กาย ไดแ้ ก่ ผา้ ซน่ิ ผา้ นุ่ง เสื้อและกางเกง และผ้าทใ่ี ชใ้ นครวั เรือน (1.1) เคร่ืองแต่งกาย เครอื่ งแตง่ กายนั้นคอื การน�ำ ผ้ามาตดั เย็บเป็นเสอื้ กางเกง ผา้ ซน่ิ และโสรง่ ซงึ่ เป็นการ ประยุกต์เอาผืนผ้าที่ได้การจากถักทอมาเป็นเครื่องนุ่งห่ม ซึ่งแต่ละท้องที่ก็มีความแตกต่างกันไป จากบนั ทึกทางประวัติศาสตรข์ องจนี เชน่ หมานซู ปา่ ไปส่ ฟี ูปาไปต่ า้ เต้ยี น เป็นต้น ท�ำ ใหเ้ หน็ ว่า การแตง่ กายของชนเผา่ สว่ นนอ้ ยทางทศิ ตะวนั ตกเฉยี งใตช้ ายแดนจนี นน้ั นยิ มใชผ้ า้ หลกั ๆ2ชน้ิ คอื นงุ่ และหม่ โดยผ้าที่ใช้สำ�หรับนุ่งและห่มจะมีลักษณะเป็นส่ีเหล่ียมผืนผ้าแล้วนำ�มาพับจีน ขมวดเหน็บใน ลักษณะต่างๆ ผ้านุ่งจะใช้สำ�หรับส่วนล่างของร่างกาย ผ้าห่มใช้ส่วนบน และบางทีนำ�ไปใช้โพก ศรี ษะดว้ ย ท�ำ ใหเ้ นอ้ื ผา้ มคี วามตา่ งกนั สว่ นเสอ้ื และกางเกงนน้ั เปน็ พฒั นาการทเ่ี กดิ ขน้ึ ในยคุ หลงั 1 ผา้ ซน่ิ มลี กั ษณะเปน็ ผา้ ผนื สเ่ี หลย่ี มทเ่ี ยบ็ รมิ เขา้ ดว้ ยกนั ปลอ่ ยขอบบนและลา่ งใหส้ ามารถสวมใสไ่ ด้ วธิ นี งุ่ ซน่ิ แตกตา่ งกนั ไปในแตล่ ะทอ้ งท่ี บา้ งนยิ มนงุ่ กรอมเทา้ บา้ งนยิ มนงุ่ แบบหนา้ แคบ หนา้ กวา้ งตา่ ง กนั ไป ซน่ิ และโสรง่ นน้ั มคี วามคลา้ ยคลงึ กนั ในดา้ นโครงสรา้ งคอื เปน็ ผา้ ผนื เยบ็ รมิ แตโ่ ดยทว่ั ไปโสรง่ มกั หมายถงึ ผา้ นงุ่ ของผชู้ ายทม่ี ขี นาดกวา้ ง มลี วดลายเปน็ ดอกหรอื ตาใหญๆ่ 2 อยา่ งไรกต็ ามผา้ ซน่ิ ของผหู้ ญงิ มโี ครงสรา้ งทห่ี ลากหลายมากกวา่ โสรง่ มลี วดลายมากมาย ทแ่ี สดงถงึ ทกั ษะฝมี อื รสนยิ ม สนุ ทรยี ภาพของชา่ งทอและผสู้ วมใส่ ท�ำ ใหผ้ า้ ซน่ิ เปน็ เครอ่ื งบง่ บอก สถานภาพทางสงั คมของผสู้ วมใสไ่ ปโดยปรยิ าย ซง่ึ เรอ่ื งความพถิ พี ถิ นั วจิ ติ รบรรจง และซบั ซอ้ นนน้ั เกย่ี วกบั เครอ่ื งแตง่ กายนน้ั มกั ปรากฏในเครอ่ื งแตง่ กายผหู้ ญงิ มากกวา่ 1 วเริถื่อี งพเาดนิมิช, พ1นั8ธ. ,์ สิ่งถักทอและผ้าไท,17-18. 2

ตามรอยวถิ ภี ษู า 39 วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ โครงสร้างของผ้าซ่นิ โครงสรา้ งของผา้ ซนิ่ กลมุ่ ไทในอษุ าคเนยม์ ลี กั ษณะรว่ มหลกั ทส่ี �ำ คญั 3 สว่ น ประกอบดว้ ย หวั ซนิ่ ตวั ซนิ่ และตนี ซน่ิ โดยโครงสรา้ งคนละสว่ นจะใชผ้ า้ คนละชนิ้ มาเยบ็ ตอ่ กนั ความกวา้ งของ ผนื ผ้าขึน้ อยู่กับความกว้างของฟมื 1 ทีใ่ ชท้ อ ส่วนความยาวของซน่ิ ข้ึนอยูก่ ับสรีสะของผสู้ วมใส่ ผา้ ซ่นิ ไทยวนสว่ นมากมีโครงสรา้ งคลา้ ยกนั คือ ม(1กั )ใชหเ้ ปัวน็ ซผิ่นา้ สหแี ดรงือนเอ�ำ้ วตซาลิ่นห(รขอื อดบ�ำ เบยนบ็ เ)ปน็: หเปวั ซ็นน่ิส่วอนตั บรานสสว่ ุดนขขอองงซห่ินวั ซไน่ิ มท่นม่ี ิยกี มาทรตออ่ ลเวอดวลแลายว้ อยู่ทีป่ ระมาณ 7 หลบ2 โดยจะ นุ่งแบบเหนบ็ พกไว้ท�ำ หนา้ ทผ่ี กู มดั ไวไ้ มใ่ หห้ ลดุ จึงมอง ไมเ่ หน็ จากภายนอก ส�ำ หรบั ผสู้ วมทเี่ ปน็ คนตวั สงู มกั ตอ่ เอวซนิ่ เพมิ่ หลายชน้ั โดยใชผ้ า้ อกี ชนิ้ มาตอ่ อาจเป็นผ้าทขี่ าวหรือแดงกไ็ ด้ แตน่ ยิ มใชส้ ตี ่างกนั ส่วนทต่ี ิดกับตวั ซิ่นนิยมใช้ สีแดง ส่วนบนสุดจะเป็นสีขาวเสมอ3 ชาวไทลื้อก็นิยมใช้ผ้าฝ้ายมาเย็บเป็นหัวซิ่น เช่นกัน แต่จะนิยมสีแดง ดำ� สีคราม และสีขาว แต่ชาวไทล้อื ในเขตรัฐฉาน เมืองยอง ชาวไทเขนิ ในเมอื งเชียงตุงนยิ มใชผ้ า้ ฝ้ายสีดำ�มาต่อเปน็ หวั ซ่ิน อาจเนือ่ งจากรับอทิ ธพิ ล การแตง่ กายของชาวไทใหญแ่ ละพมา่ ทน่ี ยิ มใชแ้ ตผ่ า้ สดี �ำ ท�ำ หวั ซนิ่ 4 ในลา้ นนาซนิ่ ทม่ี กี าร ต่อตีนต่อเอวด้วยผ้าสีดำ�คนละช่ินนั้น นิยมนุ่งในหมู่ผู้สูงอายุเรียกว่า “ซิ่นก่าน” สนั นษิ ฐานว่าอาจไดร้ ับอิทธพิ ลของซนิ่ ชาวลัวะ5 (2) ตัวซ่นิ เปน็ สว่ นหลักของซ่นิ ท่ชี า่ งทอใหค้ วามส�ำ คญั ในการออกแบบจงึ มักทอใหม้ ี สีสันมากกว่าเอวซ่ิน ตัวซิ่นมีความยาวโดยประมาณ 14-20 หลบ ขึ้นอยู่กับประเภท ของฟืม และลวดลาย ส่วนใหญ่มักทอลวดลายริ้วสลับแนวขวางขนานกับลำ�ตัว ใเกหิดม้ นีล�ำ้วหดนลากั ยขทอีก่งสลทีมี่มกมีลืนติ ิโดเรยียรกววมา่ “แตต๋าส่ ”อหดแรอืทร“กตรา๋าซยน่ิล”ะเออียาจดเโรดียยกกแาตรกใสตเ่ า่ สง้นอสอีทกี่ตไปัดหกานั กใหมี้ การใสล่ วดลายเฉพาะ เช่น “ต๋าหมู่” “ตา๋ เหลือง” หรอื “ตา๋ มะนาว” เปน็ ตน้ 6 21ก3รวค1กถิือฎหี พเาลคคาบรนมือ่ ชิเงท2พสา่5ัน�ำก6หธับ์,ร4ับส4.)งิ่ท 0ถอักรผทฟู า้ อืมมแหฟี ลรนัะอืผเปป้า็นไรทะซ,มี่ ๆ1าณ9ค.ล 3า้ ยนหวิ้ วเบี สียำ�ดหร(วับัชสรอพดงเษส์้นตดอ้ ้างยรหกั รชือาไตห,ิ มสใัมชภ้การษะทณบ์โดใหย้ปไรพะลสินานทกอันง ธรรมชาติ, ม.ป.ท., 3 4 ทรงศักด์ิ ปรางค์วฒั นากุล, มรดกวฒั นธรรมผา้ ทอไทลอ้ื , (เชยี งใหม่ : ภาควิชาภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่, 25วัด5ธพญั5รญ1ะ)าส,รงิ 4ัตห1น์ว.์ร อมุดหมาเวดหิ ชาถราวจรงั ,หกวาดั รเชศยีึกงษใาหผมา้ ่,ซ2่ิน3ไท. ยวนของสตรลี า้ นนาในช่วงพทุ ธศตวรรษที่ 25 จากภาพจิตรกรรมฝาผนังวหิ ารลายคำ� 6 เธยี รชาย อักษรดษิ ฐ์, “ผา้ ซิ่นลุ่มนำ้�ปงิ และวงั ,” ใน วิถีถ่ิน วิถภี ษู า ผนื ผา้ ล้านนาตะวนั ตก. (ม.ป.ท.: ม.ป.พ.,ม.ป.ป.), 25-26.

40 ตามรอยวถิ ภี ษู า วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ การสร้างเส้นร้ิวบนตัวซิ่นเกิดจากด้ายเส้นพุ่ง (Weft) หลากสีสลับกันขัดสานกับ ด้ายเส้นยืน (Wrap) ทำ�ให้เกิดริ้วลายขวาง1 ในเชียงใหม่มีชุมชนท่ีผลิตตัวซ่ินท่ีขึ้นช่ือ และเปน็ ทแ่ี พรห่ ลายมากในชว่ งทศวรรษท่ี 2480 หรอื ราว 80 ปกี อ่ น เชน่ “ซน่ิ แมก่ งุ้ บก” ที่มีแหล่งผลิตในหมู่บ้านแม่กุ้งบก อำ�เภอสันป่าตอง ซิ่นแม่กุ้งบกนี้นิยมแพร่หลายมาก และพอ่ คา้ กม็ กั ซอ้ื ไปเพอ่ื ขายตอ่ ยงั ชมุ ชนทอ่ี ยหู่ า่ งไกล เชน่ เมอื งพรา้ ว ไชยปราการ เปน็ ตน้ นอกจากนย้ี งั มี “ซน่ิ แอม้ ”2 “ซน่ิ แอม้ ไก”่ และ “ซน่ิ ตา๋ หม”ู่ กเ็ ปน็ ทน่ี ยิ มมากในสมยั นน้ั 3 (3) ตนี ซน่ิ เป็นส่วนล่างสุดของซ่ิน มีอัตราส่วนความยาวของตีนซ่ินเท่ากับ 6 หลบ โดยประมาณบางครั้งนิยมทอลวดลายสวยงามเป็นพิเศษ สำ�หรับเอาไว้ต่อกับตัวซิ่น โดยสว่ นใหญผ่ หู้ ญงิ ลา้ นนาใหค้ วามสนใจกบั การทอตนี ซนิ่ มากกวา่ อยา่ งอน่ื จงึ ท�ำ ใหต้ นี ซน่ิ เปน็ พนื้ ทแ่ี สดงออกถงึ ทกั ษะฝมี อื ของผทู้ อในเวลาปกติ หญงิ ชาวลา้ นนามกั นงุ่ ซน่ิ ตา หรอื ซนิ่ ตา๋ ทไี่ มม่ ตี นี จกสวยงาม อกี ทง้ั ตวั ซนิ่ เปน็ สว่ นทส่ี มั ผสั พน้ื ผวิ มากกวา่ จงึ มกั จะเปอ่ื ยยยุ่ กอ่ นส่วนอน่ื ๆ ส่วนตีนซิน่ สามารถเลาะเก็บเอาไว้ใชก้ ับตวั ซิ่นใหม่ หรือน�ำ มาเยบ็ ตอ่ กบั ตัวซิ่นเฉพาะเมื่อต้องการให้ผ้าซิ่นดูหรูหรางดงามมากกว่าปกติ ส่วนของตีนซิ่นนี้เอง ท่ีเป็นลักษณะโดดเด่นของผ้าซิ่นกลุ่มไทโยน หรือล้านนา เน่ืองจากตีนซิ่นที่ใช้วิธีการ จกและลวดลายเฉพาะท่ีเกิดขึ้นมักพบในผ้าซ่ินเขตวัฒนธรรมล้านนา เช่น แม่แจ่ม สนั ปา่ ตอง จอมทอง ฮอด ดอยเตา่ ในจงั หวดั เชยี งใหม่ ในเขตเมอื งล�ำ พนู บา้ นโฮง่ ปา่ ซาง ล้ี จังหวดั ล�ำ พูน ตลอดจนผ้าซิน่ ลุ่มน�ำ้ วงั ในเขตอำ�เมือง แมท่ ะ เกาะคา และเถนิ จงั หวัด ลำ�ปาง4 ซึ่งในแต่ละทกี่ ม็ เี อกลกั ษณเ์ ฉพาะตัว และรายละเอยี ดปลกี ย่อยแตกต่างกนั ไป 1 ทรงศกั ดิ์ ปรางคว์ ัฒนากลุ , มรดกวฒั นธรรมผา้ ทอไทลือ้ , 41. 2 แอ้ม หมายถึง การปั่นไก่ คือวิธีการน�ำ ดา้ ยหรอื เส้นฝ้าย 2 เส้น 2 สี มาปน้ั หรอื พันเกลียวเขา้ ด้วยกัน 3 ณัฐนภธชั ปญั ญาฟอง, สมั ภาษณ์โดย ไพลิน ท2อ6ง.ธ รรมชาติ, ม.ป.ท., 3 กรกฎาคม 2564. 4 เธียรชาย อกั ษรดิษฐ,์ ผ้าซิ่นลมุ่ นำ�้ ปิงและวัง,

ตามรอยวถิ ภี ษู า 41 วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่

42 ตามรอยวถิ ภี ษู า วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ เส้อื และกางเกง จากทกี่ ลา่ วขา้ งตน้ วา่ ในอดตี ชายและหญงิ ในลา้ นนาใชว้ ธิ กี ารนงุ่ และหม่ ผา้ ผนื เปน็ หลกั อาจมกี ารเยบ็ รมิ ใหเ้ ปน็ ชน้ิ เพอ่ื สวมใส่ ซง่ึ โครงสรา้ งของการตดั เยบ็ เรยี บงา่ ย และมกั ใชก้ ารขมวดเหนบ็ ใหแ้ นน่ เพอ่ื ใหร้ ดั กมุ ไมห่ ลดุ รว่ ง แตต่ อ่ จงึ เรม่ิ มกี ารสวมเสอ้ื และกางเกงขน้ึ ในชว่ งพทุ ธศตวรรษท่ี 25 เปน็ ต้นมา แบบเสอ้ื ของผู้หญงิ ล้านนารุน่ เก่า สนั นิษฐานวา่ เปน็ เสือ้ คอกลม แบบรดั รูปแนน่ ทัง้ ตัว แขนกระบอกยาวถึงข้อมือ ผ่าหน้า มีกระดุมเรียงเป็นแถว หากเป็นหญิงมีอายุก็จะสวมเสื้อแบบ 5 ตะเขบ็ ไม่มแี ขนทเ่ี รียกว่า “เสื้ออก” แลว้ ห่มผา้ เฉียงทับอกี ช้นั หน่งึ สว่ นผชู้ ายกจ็ ะใสเ่ สอื้ คอต้งั ภส(ทฐืบาม่ี าพคาน::้นขเเเ้ออคมมกรอื่ ูลอ่ืสวจงาันแดรทแตห่ีฟ่งม1กม้า2ายภยเกาหขพรอตกขงมุ ฎอชาางานคยไษุ มชมยาเ2คววทิ5ลิลย้า6มนา4อ,น.รh)า์แttมแpลนsะ:พ/ก/.าwศร.wใ2ชw5้ผ0้า.sม3aัดcเ.oอวr.tหhร/dือaผtา้ aตb่อaงsชeว่ sง/ปaีทntศhวrรoรaษrcทh่ี 2iv5e0, 0

ตามรอยวถิ ภี ษู า 43 วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ แขนยาว ผา่ หนา้ ยอ้ มสเี ขม้ และมกั สวมใสเ่ ฉพาะชนชน้ั สงู เมอื่ มงี านพธิ กี รรมตา่ งๆ ซงึ่ ลา้ นนาไดร้ บั อทิ ธิพลจากสยามเน่ืองจากเรม่ิ มีการตดิ ต่อทางการคา้ และการปกครองบา้ งแลว้ ส่วนกางเกงก็ใส่ เปน็ กางเกงทรงหลวงทไ่ี ดต้ ้นแบบจากกางเกงชาวจนี ผ้าต่อง หรอื ผา้ ขาวม้า ผ้าต่อง เป็นผ้าผืนส่ีเหล่ียมผืนผ้าที่ใช้นุ่งอย่างลำ�ลองอยู่กับบ้าน และใช้ในการต่างๆ ได้หลายรูปแบบ ผู้ชายทุกช่วงอายุใช้ผ้าชนิดนี้ได้ เคยมีคำ�พูดของหนุ่มท่ีไปเยือนสาวคนรักว่า “พ่ีเมารักน้องผ้าต่องพอหาย เปนดีเสียดายผ้าลายตาโก้ง” คือบอกว่าเขาหลงรักผู้หญิงคนนั้น จนลมื ไปวา่ ทง้ิ ผา้ ขาวมา้ ไวท้ ไ่ี หน ผา้ ขาวมา้ นน้ั เปน็ ลายตาโถงเสยี ดว้ ย1 ซง่ึ ผา้ ตอ่ งนเ้ี ปน็ การใชผ้ า้ คาดเอว ท่ีผู้ชายในอุษาคเนย์นิยมใช้จนกลายเป็นวัฒนธรรมร่วม ส่วนผ้าคาดเอวเป็นผ้าเอนกประสงค์ ทพี่ ฒั นามาจากผา้ ขาวมา้ เพอ่ื ใหส้ ามารถตอบสนองการใชง้ านไดอ้ ยา่ งเหมาะสม เชน่ เชด็ เหงอ่ื เชด็ ตวั ไล่แมลง กนั เหงื่อ กันลม เปน็ ตน้ และหากเปน็ ชนช้ันสูงก็จะมีการใช้ผา้ คาดเอวที่ประณีตงดงาม เป็นเครื่องบ่งบอกฐานะไดอ้ กี อยา่ งหนง่ึ ท,ภสา่ีมืบพาค::h้นผtเt้ามpตอ่ื sอ่ ว:/งัน/ขทwอ่ี wง1พw2่อ.คsกiา้lรpใกนaฎก-าmาคดaมเgช.2ียco5งใm6ห4/มh.่ istory/ ภผา้าตพอ่ บงนแลแะลผะา้ซลา้ ายยต: าโกง้ hกcอททo�ำ tี่มลรเtm่ภาุามp:ยอ/:ทt/จตh/ออำ �/pมpผบrท้rsาลoอtบdบhง้ uา้aาcนiนlta/หแn้ ปวdยะ. 125ไม6ท่ 4ร,าhบtชtื่อp,:/“/เwคwร่อื wง.แoตp่งeกnาbยaลsา้ eน.iนnา.thผ/้า ขาวและผา้ อ่นื ๆ,” Open base คลังเอกสารสาธารณะ, สืบคน้ เมอื่ วันท่ี 15 สงิ หาคม,

44 ตามรอยวถิ ภี ษู า วถิ ผี า้ ลา้ นนาเชยี งใหม่ (1.2) ผ้าท่ีใชใ้ นครวั เรือน นอกจากเคร่ืองแตง่ กายแลว้ เครื่องใชอ้ ่ืนๆ ในชีวิตประจ�ำ วนั ที่ประกอบขึ้นจากผ้า และ สงิ่ ถกั ทอนน้ั กม็ คี ณุ คา่ เชงิ ชา่ งและความงดงามไมย่ ง่ิ หยอ่ นไปกวา่ ผา้ ซนิ่ อกี ทงั้ ยงั มเี ทคนคิ การทอท่ี หลากหลายเพ่อื ใหส้ อดคลอ้ งกับลักษณะการใชง้ าน และยังสามารถแสดงความงาม ตลอดจนฝีมือ ของช่างทอไดอ้ ีกด้วย ได้แก่ ผ้าเชด็ เปน็ ผา้ ทอชนดิ หนง่ึ ทน่ี ยิ มในกลมุ่ ไท-ลาว ชาวไทลอื้ และพบในเขตวฒั นธรรมลา้ นนาดว้ ย ส่วนใหญ่ผู้ชายชาวล้านนาในอดีตจะใช้ผ้าเช็ดกันอย่างแพร่หลาย ผ้าเช็ดเป็นผ้าทอขิดผืนแคบแต่ ยาว มี 3 ขนาด ได้แก่ ผา้ เช็ดหลวง ผ้าเช็ด และผา้ เช็ดนอ้ ย แต่ท่ใี ช้ในครัวเรอื นนัน้ จะเปน็ ผ้าเชด็ อย่างไรกต็ ามพบวา่ ชาวเชยี งใหมแ่ ต่เดมิ ไม่ค่อยนิยมทอผ้าเช็ดมากนัก แต่มกั พบในกลุ่มชาวไทล้ือ ไทเขนิ ที่มกี ารทออยู่ เชน่ แมค่ รฟู องนวล เทวารี บ้านตน้ แหนหลวง อำ�เภอสันปา่ ตอง ผู้สบื ทอด การทอผ้าเช็ดแบบไทเขนิ สันปา่ ตอง และพบการใช้ผ้าที่มีลักษณะคล้ายผ้าเชด็ ของไทลือ้ ทีอ่ ำ�เภอ แม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่อยู่ด้วย1 ผ้าเช็ดเป็นผ้าท่ีใช้พาดบ่าเฉพาะผู้ชายเม่ือมีงานพิธีเป็นทางการ หรอื ไปวดั มีขนาดยาวประมาณ 1 - 1.50 เมตร กวา้ งประมาณ 14-40 ซม. การพาดจะพบั เป็น ทบให้ผ้าหนา้ แคบลงพอดกี บั ไหลใ่ ชพ้ าดบนไหลข่ วาหรือซา้ ยกไ็ ด้ ผา้ เชด็ นแ้ี ม่เรือน หรอื ภรรยาจะ เป็นผู้ทอให้สามีเป็นคนใช้ บ้านไหนทอได้สวยงามก็จะอวดลวดลายบนผืนผ้าท่ีพาดอยู่บนบ่าของ สามีอย่างภาคภูมิใจ ผ้าหลบ หรอื ผา้ ปูทน่ี อน ใช้ปูทับลงบนที่นอนหรือฟูกนอนอีกทีหน่ึง เพราะสามารถทำ�ความสะอาดได้ง่ายและ บอ่ ยกวา่ ฟกู นอนหรอื สะลี ขนาดจะกวา้ งยาวกวา่ ทนี่ อนเลก็ นอ้ ย ทอดว้ ยผา้ ยสขี าวลายขดั ธรรมดา แต่บริเวณชายผ้าจะมีเชิงด้านหน่ึงทำ�เป็นพู่เรียกว่า “ป้าน” เพ่ือใช้หมายตำ�แหน่งว่าเป็นหัวนอน หรือปลายเท้า ตำ�แหน่งของป้านจะเป็นปลายเท้า ส่วนหัวนอนจะเป็นผ้าพ้ืนสีขาวล้วน ลวดลาย ที่ใชข้ ดิ มักจะเปน็ แถวเรียงกนั สลบั กบั ช่วงสพี นื้ เลก็ ๆ ไปเร่อื ยๆ หรืออาจผสมผสานกับลายพ้นื ฐาน ขนาดใหญ่ เชน่ ลายขอใหญ่ ลายขอเลก็ ลายขะแจ๋ ลายกาบ ลายหนว่ ย ลายเครอื ลายดอกจัน ลายนาค ลายนกหรอื หงส์ ลายช้าง ลายม้า ลายคน ฯลฯ 1 สุรพล ด�ำ รหิ ์กลุ , ลา้ นนา สง่ิ แวดลอ้ ม สงั คม และวัฒนธรรม, 241.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook