Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อการเรียนรู้การส่งเสริมการดูแลสุขภาว

สื่อการเรียนรู้การส่งเสริมการดูแลสุขภาว

Published by library.huaikrajao, 2020-05-26 02:44:03

Description: สื่อการเรียนรู้การส่งเสริมการดูแลสุขภาว

Keywords: สื่อการเรียนรู้

Search

Read the Text Version

196 สูบบหุ รีใ่ น 30 วนั ที่ผานมาเทากบั รอยละ 72.6 โดยในกลมุ อายุ 15 - 29 ป มคี วามชุกสูงที่สุด (รอยละ 84.3) และพบวา สถานท่ีไดร บั ควันบหุ รขี่ องผูไดร บั ควันบุหรี่บอยท่สี ุด คือ ท่ีบาน (รอยละ 56.3) รองลงมาคือ ที่ทํางาน (รอ ยละ 46.1) และท่ีรานอาหาร (รอยละ 35.6) 2.2 พฤตกิ รรมการด่มื เครือ่ งด่ืมทม่ี แี อลกอฮอล จากรายงานการสํารวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจรา งกายครง้ั ที่ 5 พ.ศ. 2557 พบความชุกของการด่ืมเคร่ืองด่ืมท่ีมีแอลกอฮอลในประชากรไทย อายุ 15 ปข น้ึ ไป ในชวง 12 เดอื นท่ีผานมาเทา กับรอ ยละ 38.9 โดยเปน ความชุกของการดื่มในเพศชายมากกวา เพศหญงิ ความชกุ ท่มี ีการดื่มเครื่องดม่ื แอลกอฮอลส งู ทีส่ ดุ คือกลมุ อายุ 30 - 44 ป เทากับรอ ยละ 46 รองลงมา คือกลมุ อายุ 15 - 29 ป และกลมุ อายุ 45 - 59 ป เทากบั รอยละ 44.4 และ 39.2 ตามลาํ ดบั เมอื่ พิจารณาตาม ภาคในประเทศไทย พบวา ภาคเหนือเปน ภาคท่มี คี วามชุกของการดมื่ เครอื่ งดม่ื ท่ีมแี อลกอฮอลสูงท่ีสุด สําหรับ ความชุกของการด่ืมอยางหนักใน 30 วันท่ีผานมา เพศชาย มีความชุกเทากับ รอยละ 19.4 พบสูงสุดในกลุม อายุ 30 - 44 ป (รอยละ 28) และเพศหญิงพบความชุกเทากับ รอยละ 2.9 กลุมอายุที่พบสูงสุด ไดแก กลุมอายุ 15 - 29 ป (รอ ยละ 4.9) 2.3 การมีกิจกรรมทางกายไมเ พยี งพอ วิถกี ารดําเนินชีวิตประจําวันของมนุษยมีสวนเกี่ยวของ กบั การเกิดโรค NCDs โดยเฉพาะอยา งยง่ิ การมีกิจกรรมทางกายไมเพียงพอท่ีถือเปนปจจัยเส่ียงหลักท่ีสําคัญ การขาดความตระหนัก ประกอบกับความเจริญทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีท่ีพัฒนาอยางรวดเร็ว ทําให มนษุ ยน าํ เครือ่ งทุน แรงมาใชแทนแรงกายเพิ่มมากขึ้นและใชเวลานานไปกับกิจกรรมที่เคลื่อนไหวนอย ทําให การเคลือ่ นไหวรางกายในกจิ กรรมหลายอยางลดนอยลง สําหรับกิจกรรมทางกายท่ีเพียงพอ หมายถึง การมี กิจกรรมทางกายตง้ั แตระดบั ปานกลางขนึ้ ไป วนั ละ 30 นาทีขน้ึ ไป สัปดาหละอยางนอย 5 วัน ในประเทศไทย พบวา ความชุกของการมีกิจกรรมทางกายเพียงพอในประชากรไทยอายุ 15 ปข้ึนไปเทากับรอยละ 80 ซ่ึง สดั สว นการมีกิจกรรมทางกายเพียงพอในเพศชายและเพศหญิงไมแตกตางกัน และการมีกิจกรรมทางกายท่ี เพียงพอจะลดลงเมื่ออายุเพิ่มขึ้น กลุมอายุท่ีพบการมีกิจกรรมทางกายสูงท่ีสุด ไดแก กลุมอายุ 30 - 44 ป เม่อื พจิ ารณาจาํ แนกตามภาค จะพบวา ทุกภาคมีสัดสวนท่ีมีกิจกรรมทางกายเพียงพอคอนขางสูง โดยจะพบ การมกี ิจกรรมทางกายระดบั มากสงู สุดในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 2.4 พฤติกรรมการบริโภคอาหาร จากรายงานจาก The UN Food and Agriculture Organization and The World Health Organization (FAO/WHO) ไดท ําการรวบรวมรายงานการวิจัยโดย ทําการวิเคราะหแบบ Meta-analysis กําหนดขอแนะนาํ ในการบริโภคผักผลไมใหไดวันละ 400 - 600 กรัม หรือ 400 กรัม เปน อยางตาํ่ การบริโภคผกั และผลไมในปริมาณทเี่ พียงพอในแตล ะวนั จะชวยลดความเส่ียง ตอ โรคมะเร็ง หวั ใจ และโรคไมต ิดตอ เรือ้ รงั (NCDs) ซึ่งปจจุบันประชากรไทยอายุ 15 ปข้ึนไป รับประทาน อาหารครบ 3 มือ้ รอ ยละ 76 และม้ืออาหารทีม่ ีการงดมากท่สี ุด ไดแ ก อาหารม้ือเชา (รอยละ 53.5) รองลงมา คือ ม้ือกลางวัน (รอยละ 29.6) และม้ือเย็น (รอยละ 17.4) พบวา รับประทานผักเฉล่ียวันละ 2.2 สวน เชน เดียวกบั การรบั ประทานผลไมเฉลีย่ วันละ 1.5 สวน ซึ่งต่ํากวาขอแนะนํามาตรฐานท่ีตองรับประทาน และ พบปรมิ าณการรับประทานผักและผลไมเฉลี่ยวนั ละ 3.7 สว น ซ่ึงตา่ํ กวาขอแนะนาํ มาตรฐานที่ตองรับประทาน

197 เชน เดียวกนั ซึ่งความเพียงพอตามปริมาณทแ่ี นะนาํ ใหบริโภคตอวนั หมายถงึ การรบั ประทานผกั และผลไมตาม ปรมิ าณท่ีแนะนําใหบ ริโภคตอวันโดยควรบริโภคทั้งผักและผลไม ≥ 5 สวนตอวัน หรือบริโภคผัก ≥ 3 สวนตอวัน และบรโิ ภคผลไม ≥ 2 สว นตอ วัน ดังน้ี ทีม่ า : https://dekthaikamsai.com/paper/273 2.5 ภาวะนา้ํ หนักเกนิ และอว น ประชากรไทยอายุ 15 ปขึ้นไป มีคาดัชนีมวลกายเฉล่ียเทากับ 23.6 กิโลกรัมตอ ตารางเมตร โดยคา เฉลย่ี ดชั นมี วลกายจะเพม่ิ ข้นึ ตามอายุ จนมีคาสงู สดุ ในกลมุ อายุ 30 - 59 ป เมือ่ พิจารณาภาวะโภชนาการตามระดับ BMI พบวาผูชายรอยละ 10 และผูหญิงรอยละ 8.6 มีคา BMI นอยกวา 18.5 กิโลกรัมตอตารางเมตร ซึ่งจัดอยูในกลุมท่ีมีนํ้าหนักนอยกวาเกณฑ ในขณะท่ีผูชายรอยละ 57.2 และ ผหู ญิงรอยละ 49.6 มีคา BMI 18.5 - 25 กิโลกรัมตอตารางเมตร สําหรับสถานการณภาวะอวน พบความชุก ของภาวะอว น (BMI ≥ 25 กิโลกรมั ตอ ตารางเมตร) ในประชากรไทยอายุ 15 ป ขึ้นไป ความชุกสูงสุดในกลุม อายุ 45 - 59 ป เพศชาย รอยละ 32.9 และเพศหญิง รอ ยละ 41.8 โดยเมื่อพิจารณาความยาวเสน รอบเอวเพ่ือ ดูภาวะอวนลงพุง พบวาความยาวเสนรอบเอวของประชากรชายและหญิง มีคาเฉล่ียเสนรอบเอวเทากับ 82.4 เซนติเมตร และ 81.1 เซนติเมตร ตามลําดับ พบวาผูหญิงจะมีความชุกภาวะอวนลงพุงสูงกวาผูชาย

198 ทุกกลมุ อายุ โดยจะพบความชกุ ภาวะอวนลงพุงสูงสุดในกลุมอายุ 60 - 69 ป (รอยละ 52.2 หญิงรอยละ 70 และชายรอยละ 32.1) 2.6 ภาวะระดับนํ้าตาลในเลอื ดสูง คา เฉลีย่ ระดบั น้ําตาลในเลือดหลังอดอาหารของประชากรไทย อายุ 15 ปขน้ึ ไป เทา กบั 98.1 มิลลิกรัมตอ เดซลิ ติ ร ซ่งึ ระดบั นาํ้ ตาลในเลือดเฉลย่ี เพศชายและเพศหญิงใกลเ คียงกัน โดยระดับน้ําตาลในเลือดจะสูงข้ึนเม่ืออายุเพิ่มขึ้น และสูงสุดในกลุมอายุ 60 - 69 ป พบความชุกของภาวะ บกพรอ งของนํ้าตาลในเลือดหลังอดอาหารรอยละ 14.2 ผูชายมีความชุกสูงกวาผูหญิง และความชุกเพิ่มตาม อายุท่ีเพ่ิมข้ึนท้ังในผชู ายและผหู ญิง โดยพบสงู สุดในอายุ 80 ปข ึน้ ไป 2.7 ภาวะความดันโลหิตสูง ความดันโลหิตตัวบน (systolic) และความดันโลหิตตัวลาง (diastolic) เฉลยี่ ของประชากรไทยอายุ 15 ปข น้ึ ไปเทา กับ 121.8 และ 75.1 มิลลเิ มตรปรอท ตามลําดับ โดย ผูชายมีระดับความดันโลหิตสูงกวาผูหญงิ ระดับความดันโลหติ จะสงู ขึ้นตามอายทุ ่เี พิ่มขึ้นและสูงสุดในผูสูงอายุ 80 ปขึ้นไป สวนความดันโลหิตตัวลาง (diastolic) เพิ่มข้ึนตามอายุจนถึงชวงอายุ 45 - 59 ป หลังจากน้ัน ความดนั โลหติ ตัวลา ง (diastolic) จะลดลงเม่อื อายุเพิม่ ข้ึน ซึง่ เมื่อพิจารณาความชุกของโรคความดันโลหิตสูง ในประชากรไทยอายุ 15 ปข้ึนไป พบวา ความชุกเทากับรอยละ 24.7 ความชุกของโรคตํ่าสุดในกลุมอายุ 15 - 29 ป จากน้ันจะเพ่มิ ข้นึ ตามอายุ และสูงสดุ ในกลมุ อายุ 80 ปขึ้นไป 2.8 ภาวะไขมันในเลือดสูง พบระดับเฉล่ียของคอเลสเตอรอลรวม (Total Cholesterol: TC) ของประชากรไทยอายุ 15 ปข้ึนไป เทา กับ 196.2 มิลลิกรัมตอ เดซิลติ ร ระดบั ไขมนั โดยเฉล่ียจะเพ่มิ ข้ึนตามอายุ คาเฉล่ียในเพศหญิงสูงกวาเพศชาย ซ่ึงเม่ือพิจารณาความชุกของภาวะคอเลสเตอรอลสูง (คอเลสเตอรอลรวม ≥ 200 มลิ ลกิ รมั ตอเดซลิ ติ ร) ความชกุ ในผหู ญงิ จะสูงกวาในผชู ายเลก็ นอ ย สาํ หรบั ระดบั ไขมันเอชดีแอล (High Density Lipopotien - Cholesterol: HDL-C) พบคาเฉล่ียเทากับ 49 มิลลิกรัมตอเดซิลิตร เม่ือพิจารณา ความชกุ ของ HDL-C ตํา่ (ระดบั HDL-C ในผูชาย <40 มิลลิกรัมตอเดซิลิตร และในผูหญิง <50 มิลลิกรัมตอ เดซลิ ิตร) เทากบั รอ ยละ 40.3 พบวา ผูหญงิ ในแตล ะกลุมอายุเกือบคร่ึงหรือมากกวาคร่ึง มีคา HDL-C ตํ่ากวา 50 มลิ ลิกรมั ตอเดซลิ ิตร ในสว นของระดบั ไขมันไตรกลเี ซอไรด (Triglyceride: TG) ในเลือดของประชากรไทยอายุ 15 ปข้นึ ไป มีคา เฉลี่ยเทากับ 137.8 มิลลิกรัมตอเดซิลิตร ระดับเฉลี่ยในผูชาย (150.9 มิลลิกรัมตอเดซิลิตร) สูงกวา ในผูห ญงิ (125.7 มลิ ลกิ รัมตอ เดซลิ ิตร) ความชกุ ของภาวะไตรกลีเซอไรดสูง (≥ 150 มิลลิกรัมตอเดซิลิตร) เทากบั รอ ยละ 31.0 เรื่องท่ี 3 ธรรมชาติวิทยาของการเกดิ โรคไมตดิ ตอเรอ้ื รงั (NCDs) 1. ความหมายธรรมชาตวิ ทิ ยาของการเกิดโรคไมตดิ ตอ เรอ้ื รงั (NCDs) NCDs (Non - Communicable Diseases) หมายถึง โรคไมต ดิ ตอ เรือ้ รงั หรือโรควิถีชีวิต ท่ีไมส ามารถแพรก ระจายโรคจากคนสูคนได เปนโรคทเ่ี กิดข้ึนตอ เนอ่ื งยาวนาน และมกี ารดาํ เนินของโรคอยา งชา ๆ

199 กลุมโรค NCDs ทีเ่ ปนปญหาสาํ คัญทางสาธารณสขุ ของประเทศไทย มี 4 กลมุ โรค ไดแ ก 1) โรคเบาหวาน 2) โรคมะเรง็ 3) โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด 4) โรคทางเดินหายใจเรอ้ื รัง ปจ จัยเส่ียงทางพฤตกิ รรมรว มที่สาํ คัญ 4 ปจ จยั ดว ยกัน ไดแก 1) การบรโิ ภคยาสูบ 2) การดม่ื เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล 3) การบริโภคอาหารที่ไมเหมาะสม 4) การมกี จิ กรรมทางกายไมเ พยี งพอ ปจ จัยดานสรีรวทิ ยา 4 ปจ จัย ไดแ ก 1) ภาวะไขมันในเลือดสูง 2) ภาวะความดนั โลหติ สงู 3) ระดบั นาํ้ ตาลในเลอื ดสงู 4) ภาวะนาํ้ หนักเกนิ และอวน 2. ปจจยั เสี่ยงของโรคไมติดตอเรอื้ รงั 2.1 ปจจยั เสี่ยงท่ไี มสามารถปรับเปล่ยี นได ไดแก อายทุ ีเ่ พิ่มข้ึน เพศ และประวตั ิทางพนั ธุกรรม 2.2 ปจจัยเส่ยี งซงึ่ สามารถปรับเปลีย่ นได ปจจยั นี้เปนปจ จัยทท่ี าํ ใหค นไทยเปนโรคน้ีกันมากข้ึน เนื่องจากรูปแบบการดําเนินชีวิตในสังคมปจจุบันเปล่ียนแปลงไปจากอดีต มีความไมสมดุลระหวางการทาน อาหารและการออกแรง ซงึ่ ปจ จัยดานพฤตกิ รรมดังกลา วจะทําใหเ กดิ ภาวะน้ําหนักเกิน อวน ไขมันในเลือดสูง ความดันโลหติ สงู เบาหวาน และสง ผลใหเ กิดโรคหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง (อมั พฤกษ อัมพาต) ตามมา 2.2.1 ภาวะน้ําหนักเกิน การคาํ นวณคา ดัชนมี วลกาย (BMI) : สูตรคํานวณ = น้าํ หนกั (กิลโลกรมั ) สวนสงู (เมตร) BMI แปรผล นอยกวา 18.5 น้าํ หนักนอยกวาปกติ ระหวา ง 18.5 - 22.9 ปกติ ระหวาง 23 - 24.9 ทว ม / โรคอวนระดบั 1 ระหวาง 25 - 29.9 อว น / โรคอวนระดับ 2 มากกวา 30 อวนมาก / โรคอว นระดับ 3

200 2.2.2 รอบเอวเกิน การคํานวณคา รอบเอว : สูตรคาํ นวณ = สว นสงู (เซนติเมตร) หากคารอบเอวเกินคา ทีไ่ ดจากสว นสูง(เซนตเิ มตร) หาร 2 แสดงวา เรม่ิ มีภาวะอว นลงพุง วิธกี ารวัดรอบเอวที่ถูกตอง 1) อยูในทายืน เทา ทั้ง 2 หางกนั ประมาณ 10 เซนตเิ มตร 2) ใชสายวดั วัดรอบเอวโดยผา นสะดือ 3) วัดในชวงหายใจออก (ทอ งแฟบ) โดยใหส ายวดั แนบลาํ ตัว ไมร ัดแนนและใหร ะดบั ของ สายวัดทรี่ อบเอว วางอยใู นแนวขนานกับพืน้ ผลเสียท่ีเกิดจากภาวะนา้ํ หนักเกินหรอื อวนลงพงุ ไดแก 1) ทาํ ใหห ลอดเลอื ดแดงทไ่ี ปเล้ยี งหัวใจตบี จงึ เกิดโรคหวั ใจไดง า ย 2) ไตขับเกลอื ออกไดนอ ยลง ทําใหเ กดิ ความดนั โลหติ สงู 3) ไขมนั ไตรกลเี ซอไรดส ูง ทําใหเ กิดหลอดเลอื ดตบี หรืออดุ ตนั ทําใหเ ลือดไปเลี้ยงลดลง 2.2.3 คอเลสเตอรอลในเลอื ดสงู หรอื ไขมนั ในเลอื ดผิดปกติ ไขมนั ทสี่ งู กวาปกติจะสง ผลตอ การเกดิ โรคหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลอื ดสมอง (อัมพฤกษ อัมพาต) ไขมันในเลอื ดมาจากอาหารทเี่ รากินและรา งกายสรางขึ้น ระดับไขมันในเลอื ดท่ตี รวจวัด คอื 1) “ไขมันรวม” หรอื คอเลสเตอรอลรวม (TC) 2) “ไขมนั เลว” หรอื แอล ดี แอล คอเลสเตอรอล (LDL–C) หากมจี ํานวนมาก ทําให เกดิ โรคหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลอื ดสมอง (อมั พฤกษ อัมพาต) 3) “ไตรกลเี ซอไรด” (TG) หากมปี รมิ าณมากยง่ิ เพม่ิ ความเสย่ี งตอ การเกิดโรคหลอด เลอื ดหวั ใจ 4) “ไขมันด”ี หรือ เอช ดี แอล คอเลสเตอรอล (HDL-C) เปน คอเลสเตอรอลท่ถี กู ลาํ เลียงออกจากอวยั วะตาง ๆ และผนงั หลอดเลือด ทําใหลดการอดุ ตนั ของหลอดเลอื ด ตารางระดบั ไขมนั ในเลอื ดปกตใิ นคนทว่ั ไป คา ปกติ ชนดิ ไขมนั ไมควรเกนิ 200 มลิ ลิกรมั ตอ เดซลิ ิตร ไมค วรเกิน 130 มิลลิกรัมตอเดซลิ ิตร TC คอเลสเตอรอล (ไขมันรวม) ควรสงู กวา 50 มิลลกิ รมั ตอ เดซลิ ติ ร LDL คอเลสเตอรอล (ไขมันไมด ี) ควรสงู กวา 40 มลิ ลกิ รมั ตอเดซลิ ิตร HDL คอเลสเตอรอล ในผหู ญิง (ไขมนั ด)ี HDL คอเลสเตอรอล ในผูชาย (ไขมันดี) ไมควรเกิน 150 มิลลิกรมั ตอ เดซลิ ติ ร TG ไตรกลเี ซอไรด 2.3 ปจ จัยเส่ียงและโรคไมต ิดตอ เรือ้ รังตามแนวคดิ 4X4X4 Model กลุมโรค NCDs ทอ่ี งคก ารอนามยั โลก และประเทศสมาชิกใหค วามสําคญั ในการปอ งกันและ ควบคมุ อยา งเรงดว น ตาม “4 x 4 x 4 model” คือ 4 โรคหลัก ไดแก 1) โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด 2) โรคเบาหวาน 3) โรคมะเรง็ 4) โรคทางเดินหายใจเรอื้ รัง ซึ่งเกิดจากการเปลย่ี นแปลงทางสรีรวิทยาสําคญั

201 4 ปจจัย คือ 1) ภาวะไขมันในเลอื ดสงู 2) ภาวะความดนั โลหิตสงู 3) ภาวะน้าํ ตาลในเลอื ดสงู 4) ภาวะนํ้าหนัก เกินและอวน ซง่ึ การเปลี่ยนแปลงตา ง ๆ น้ันเกิดจากการมพี ฤตกิ รรมทางสขุ ภาพท่ไี มเ หมาะสม โดยปจ จัยเส่ียง ทางพฤติกรรมรวมทส่ี าํ คญั ประกอบดว ย 1) การบรโิ ภคยาสบู 2) การดืม่ เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล 3) การบรโิ ภค อาหารทไ่ี มเ หมาะสม 4) การมกี ิจกรรมทางกายไมเ พียงพอ (การมกี จิ กรรมทางกาย คอื ทกุ ขยับอยา ง กระฉับกระเฉงในชวี ติ ประจาํ วัน) ดงั แสดงในตาราง ตารางแสดงพฤติกรรมเสย่ี ง 4 การเปล่ียนแปลง และ 4 กลุม โรค ตามแนวคิด 4 x 4 x 4 โมเดล 4 พฤติกรรมเส่ยี ง 4 การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวทิ ยา 4 กลมุ โรค 1. การบริโภคยาสูบ 1. ไขมนั ในเลอื ดสงู 1. โรคเบาหวาน 2. การดืม่ เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล 2. ความดนั โลหติ สงู 2. โรคมะเรง็ 3. การบริโภคอาหารท่ไี มเ หมาะสม 3. นํ้าตาลในเลือดสงู 3. โรคหัวใจและหลอดเลอื ด 4. กจิ กรรมทางกายไมเ พยี งพอ 4. น้ําหนกั เกนิ และโรคอวน 4. โรคทางเดินหายใจเรอื้ รัง ซึ่งหากเปรยี บปจ จัยตา ง ๆ เหลาน้ีกับตนไมแลว ปจ จัยเส่ียงดา นพฤตกิ รรม เปรียบไดก บั รากของตนไม หรอื สาเหตเุ รมิ่ ตน ของการเกดิ โรค การเปลยี่ นแปลงทางสรีรวทิ ยาเปนชว งพฒั นาของโรค กอ ใหเ กิดการเปลี่ยนแปลง ภายในรางกาย ซงึ่ ยงั ไมม อี าการแสดงของโรคชัดเจนหรอื ชวงภัยเงยี บเปรยี บไดก บั ลาํ ตน และกลมุ โรค NCDs เปรียบไดกับใบไม ซงึ่ เปน ผลผลติ ท่ีเกิดขึน้ จากรากเหงาและตนตอ ดงั แสดงในรปู รปู กลุม โรคหลัก NCDs , 4 การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา และ 4 ปจจัยเส่ยี งทางพฤติกรรม ที่มา รายงานสถานการณโ รค NCDs มุง หนา สเู ปา หมายระดับโลก (kick off to the goals)

202 องคก ารอนามยั โลก (World Health Organization: WHO, 2010) ไดก าํ หนดนิยามของกิจกรรมทางกาย (Physical Activity: PA) หมายถงึ การเคล่อื นไหวรางกายใด ๆ ที่ตองใชก ลา มเนื้อลายและพลงั งาน ในปจจบุ ัน สว นใหญยังใชค าํ วา \"ออกกําลังกาย\" ซ่ึงก็เปนการสงเสริมกิจกรรมทางกายท่ีดี หากแต 2 คําน้ีมีความหมาย แตกตา งกันอยบู าง การออกกาํ ลังกาย เปนองคประกอบหนงึ่ ของกจิ กรรมทางกาย โดยการออกกาํ ลังกายมักเกิดจากการ วางแผนหรอื มกี ารกาํ หนดเงอ่ื นไขบางอยา งและที่ตองทาํ ซ้าํ ๆ ตัวอยางเชน หากเราจะออกกําลังกายหลังเลิกงาน กต็ องมีการวางแผนการออกกําลังกาย มักมีวตั ถปุ ระสงคเพ่ือเสริมสรา งความแขง็ แรง สรางสรีระทางกายภาพ ในขณะท่ีกิจกรรมทางกายซงึ่ รวมการออกกาํ ลงั กายอยดู ว ย แตเพม่ิ เติมความสําคญั กบั กจิ กรรมในชีวติ ประจําวนั อื่น ๆ ทเ่ี กยี่ วของกบั การเคล่อื นไหวรา งกาย อาจเปนสว นหน่ึงของการเลน การทาํ งาน การทาํ งานบา น หรือกิจกรรม นันทนาการ กลาวงาย ๆ ก็คือ กิจกรรมทางกายครอบคลุมทุกการเคลื่อนไหวรางกาย ทุกกิจกรรมใน ชีวิตประจําวันนั่นเอง แตละกิจกรรมทางกายมีคาการเผาผลาญพลังงานตางกัน ตามความหนักเบาของ การเคลอื่ นไหวรา งกาย ในทางตรงขา มมกี ิจกรรมอกี ประเภทหนึง่ ทเ่ี รียกวา กิจกรรมที่เคล่ือนไหวรางกายนอย หรือ พฤติกรรมเนือยน่ิง (พฤติกรรมเนือยน่ิง (Sedentary Behavior) โดยมีรากศัพทมาจากคําภาษาละติน Sedere ซึง่ แปลวา นัง่ “พฤตกิ รรมเนอื ยนง่ิ ” จึงหมายถึง การน่ังหรือนอนในกิจกรรมตาง ๆ โดยใชพลังงาน 1.5 MET (หนว ยท่ีใชในการประมาณคา ของจํานวนออกซิเจนทถ่ี ูกรา งกายใช) ไมร วมการนอนหลับ ดวยความ กาวลํ้าของเทคโนโลยี ทําใหวิถีชีวิตของคนในปจจุบันจึงถูกปรับเปล่ียนโดยไมตองใชพลังงานมากเหมือน สมัยกอ น) ซ่งึ สงผลตอ การเกดิ โรค NCDs เชน กัน 3. โรคไมตดิ ตอเร้ือรัง 3.1 โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน เกิดจากความไมสมดุลระหวางการบริโภค แปง นํ้าตาล กับการสรางหรือการใช อินซูลินจากตับออน ทําใหระดับน้ําตาลในเลือดสูง กอใหเกิดโรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง (อัมพฤกษ อัมพาต) โรคไต และการไหลเวียนโลหิตของหลอดเลือดสวนปลายท่ีไปเล้ียงแขนขานอยลง โรคเบาหวานจะตรวจพบคาระดับน้ําตาลมากกวาหรือเทากับ 126 มิลลิกรัมตอเดซิลิตร (ขณะอดอาหาร 8 ช่ัวโมงหรือมากกวา) ในกรณีท่ีระดับนํ้าตาลในเลือดขณะอดอาหารอยูในชวง 100 - 125 มิลลิกรัมตอ เดซิลิตร ถือวาเปนกลุมเสีย่ งตอโรคเบาหวาน ตารางการแปลผลคา ระดับน้าํ ตาลในเลือดขณะอดอาหาร ระดับน้าํ ตาลในเลือด (ความรุนแรง) ระดบั นํา้ ตาลในเลอื ดขณะอดอาหาร (มลิ ลกิ รมั ตอ เดซลิ ิตร) คาปกติ นอ ยกวา 100 100 – 125 มีความเสย่ี ง ตัง้ แต 126 ขน้ึ ไป สงสยั ปว ยรายใหม ปจ จยั เสี่ยงของโรคเบาหวาน คือ 1) การมีภาวะอวน หรือนํา้ หนักทมี่ ากกวา ปกติ 2) กรรมพนั ธุ 3) อายุมากขน้ึ ทําใหม ีโอกาสเปนโรคเบาหวานได

203 4) ความดันโลหิตสูง 5) ไขมนั ในเลือดสูง 6) การรบั ประทานอาหารทไ่ี มม ปี ระโยชน จําพวกนํ้าตาล แปง ไขมันมากเกินไป และอาหาร หวาน มัน เคม็ จัด 7) ขาดการออกกําลังกาย 8) การสบู บหุ ร่ีและด่ืมเครื่องดม่ื ทมี่ ีแอลกอฮอล สัญญาณเตือนโรคเบาหวาน 1) ปสสาวะบอ ยและมากในตอนกลางคนื 2) คอแหง กระหายนา้ํ 3) หวิ บอ ย กินจุ นํ้าหนกั ลด 4) เปนแผลงา ยแตห ายยาก 5) คนั ตามผิวหนัง 6) น้ําหนกั ลด ออ นเพลีย 7) ชาปลายมอื ปลายเทา แนวทางปองกันโรคเบาหวาน 1) รับประทานอาหารใหค รบทั้ง 5 หมู 2) เนนผักและผลไมท ่ีไมมนี ้าํ ตาลสงู เปนหลัก 3) ควบคุมนํ้าหนักตัวใหเหมาะสม โดยคาดัชนีมวลกายใหอยูระหวาง 18.5 - 22.9 กิโลกรัม/ ตารางเมตร รอบเอวเพศชายไมเกิน 90 เซนติเมตร และเพศหญงิ ไมเ กิน 80 เซนตเิ มตร 4) ออกกาํ ลังกายอยางนอ ยท่ีสดุ 30 นาที/วัน (5 วนั /สัปดาห) หรอื สะสมไมน อยกวา 150 นาที/ สัปดาห 5) ไมด่มื เครอ่ื งดื่มทมี่ แี อลกอฮอล ไมสบู บหุ รแี่ ละหลกี เล่ยี งการสดู ดมควันบหุ ร่ี 6) การทาํ จติ ใจใหส งบ และผอนคลายความเครยี ด 7) ถามีสมาชิกในครอบครัวเปน โรคเบาหวานควรดูแล ใสใจ เรอื่ งการควบคุมอาหาร, การรับประทานยา, การเขารับการตรวจตามนดั และสังเกตอาการผดิ ปกติเบื้องตน 3.2 โรคความดันโลหติ สูง โรคความดันโลหิตสูง เกิดจากสภาวะผิดปกติท่ีมรี ะดับความดันโลหิตสงู กวา ระดับปกตขิ องคนท่ัวไป คาความดันโลหติ ปกติไมเ กิน 120/80 มลิ ลเิ มตรปรอท ถอื วาเปนคา ความดนั โลหติ ท่มี คี วามเสยี่ งของโรค หลอดเลอื ดนอยทส่ี ดุ แตก ารวนิ จิ ฉัยวา มีภาวะความดันโลหติ สูง คือ มคี า ความดนั โลหิตตงั้ แต 140/90 มิลลเิ มตรปรอทขึน้ ไป โดยภาวะความดนั โลหิตสงู เปนปจ จยั เสีย่ งสําคญั ตอ การเกิดโรคหัวใจขาดเลอื ด และ โรคหลอดเลือดสมอง (อัมพฤกษ อัมพาต) การแปลผลคา ความดนั โลหิต คาความดันตัวบน (systolic) คอื คา ความดนั ขณะที่หวั ใจบีบตัว ความดนั ตวั ลาง (diastolic) คือ คาความดนั ขณะหวั ใจคลายตัว

ตารางการแปลผลคา ระดบั ความดันโลหิต 204 ระดบั คา ความดันโลหติ คาความดันโลหิตตวั บน คา ความดันโลหิตตวั ลาง (มลิ ิเมตรปรอท) (ความรุนแรง) (มิลลเิ มตรปรอท) <80 80 - 89 ปกติ <120 และ ≥90 และ/หรอื ≥110 กลุม เสยี่ ง 120 - 139 และ/หรือ และ/หรือ กลมุ สงสยั ปวย ≥140 คา ความดนั โลหติ สงู รุนแรง ≥180 ขอ ควรรูตอนวัดความดันโลหิต 1) ควรอยใู นหอ งท่อี ุณหภูมิไมร อ นหรอื หนาวเกินไป 2) ไมค วรใสเ สื้อแขนยาวขณะวดั ความดันโลหติ 3) ขณะวัดความดนั โลหิตไมค วรมีความเครยี ด หรือปวดปส สาวะ 4) ควรงดบหุ รแี่ ละกาแฟกอ นวดั ความดันโลหติ อยา งนอ ย 30 นาที 5) ควรน่ังพกั 5 นาที กอ นวดั ความดนั โลหติ 6) หา มนงั่ ไขวหาง ควรนงั่ หลงั พิงพนัก เทา 2 ขา งควรอยูบ นพนื้ 7) ควรมกี ารนําเครอื่ งวดั ความดนั โลหติ สอบเทยี บความถูกตองกบั เครื่องวดั วามดนั โลหิตมาตรฐาน ตามวันเวลาทีเ่ จา หนา ท่สี าธารณสุขกําหนด ปจจัยเส่ียงตอ การเกดิ โรคความดนั โลหิตสงู 1. ปจ จยั เส่ยี งท่ปี รับเปลี่ยนไมไ ด เกิดจากพนั ธกุ รรม หรือผทู มี่ ีอายุตัง้ แต 35 ปขึน้ ไป 2. ปจ จยั เสีย่ งที่สามารถปรับเปลย่ี นได ไดแก บริโภคอาหารที่มีรสเค็ม หวาน มัน รับประทาน ผกั และผลไมน อย สบู บหุ ร่แี ละดื่มเครอ่ื งด่มื ที่มแี อลกอฮอล ความอว น ขาดการออกกาํ ลงั กาย และความเครียด เร้ือรงั ซง่ึ ถาหากลดปจจัยเสี่ยงเหลา น้ลี งไดมีผลในการปอ งกันการเกิดโรคความดนั โลหิตสงู ไดถงึ รอยละ 80 อาการเตอื นโรคความดันโลหติ สงู ภาวะความดนั โลหิตสูง สวนมากจะไมแสดงอาการเตือน แตมักตรวจพบโดยบังเอิญ ขณะไปพบ แพทยเพ่ือตรวจรกั ษาจากปญ หาอ่นื มบี างรายทอ่ี าจมอี าการเตือน เชน ปวดมนึ ทา ยทอย วิงเวยี น ปวดศีรษะตุบ ๆ หากเปนมานานหรือความดันโลหิตสูงมาก ๆ อาจมีอาการเลือดกําเดาไหล ตามัว ใจส่ัน มือเทาชา เม่ือเกิด อาการผดิ ปกติ ควรรีบไปพบแพทยเ พ่ือจะไดรับการรักษาไดถกู ตองและทันทวงที การปฏิบัตติ ัวเพ่ือปอ งกันโรคความดันโลหติ สูง 1. ตดิ ตาม ควบคมุ นาํ้ หนกั รอบเอว และความดนั โลหิตใหอยูใ นเกณฑม าตรฐาน โดยการเรยี นรู คา ตัวเลขของนาํ้ หนกั รอบเอว และความดันโลหิตของตนและจัดการควบคมุ ใหอยูใ นเกณฑทเี่ หมาะสม ดังนี้ 1.1 น้าํ หนักทเ่ี หมาะสมตามวัยผใู หญของชาวเอเชีย คาดชั นีมวลกายใหอยรู ะหวา ง 18.5 – 22.9 กโิ ลกรมั /ตารางเมตร

205 1.2 รอบเอวทเี่ หมาะสมตามวยั ผใู หญ เพศชายควรนอ ยกวา 90 เซนตเิ มตร (36 น้วิ ) เพศหญงิ นอ ยกวา 80 เซนตเิ มตร (32 นิ้ว) 1.3 ระดบั ความดนั โลหิตทีป่ กติ ควรมคี าความดนั ตัวบนนอยกวา 120 และคาความดนั โลหติ ตวั ลา งนอยกวา 80 มลิ ลเิ มตรปรอท 2. หยุดสบู บหุ รี่ และหลีกเล่ียงควนั บหุ ร่ี 3. สรา งสขุ ภาพทด่ี จี ากการบรโิ ภคอาหารท่เี หมาะสม ดงั นี้ 3.1 เพม่ิ การทานผกั โดยทานผกั หลากสแี ละชนดิ ควรทานผกั สด 5 ทัพพ/ี วัน กรณเี ปน ผกั สกุ 9 ชอ นโตะ /วนั 3.2 เพม่ิ การทานผลไมสดรสหวานนอ ย และถั่วจากธรรมชาติแทนขนมกรบุ กรอบ 3.3 ลดการบริโภคอาหารจานดว นและอาหารไขมนั สงู ไดแ ก อาหารทอด ขาวขาหมู แกงกะทิ เปน ตน 3.4 รับประทานอาหารครบ 3 ม้ือ ในปริมาณพอเหมาะกับการใชพลังงานของรางกาย ในแตละวนั 3.5 รับประทานมงั สวริ ัตอิ ยา งนอ ยสปั ดาหละ 1 ครัง้ 3.6 ลดขนาดของอาหารในแตล ะม้ือ หลกี เลย่ี งการบรโิ ภคคารโ บไฮเดรตเกิน 3.7 ลดการบริโภคอาหารทม่ี พี ลงั งาน (แคลอรี่) ไขมัน และคอเลสเตอรอลสงู ไมค วร บริโภคเกินกวา 3 ม้ือ/สัปดาห และบริโภคผัก ผลไม ใหเ พยี งพอทกุ มอ้ื 3.8 ลดการบรโิ ภคเครอ่ื งดื่มแอลกอฮอล ในเพศชาย ดืม่ นอ ยกวา 2 แกวมาตรฐานตอ วนั เพศหญงิ ดมื่ นอยกวา 1 แกว มาตรฐานตอวัน และไมควรด่ืมทกุ วัน 3.9 ชิมกอนเติมเครอ่ื งปรงุ รบั ประทานอาหารทมี่ ีรสชาติพอเหมาะ หวานนอ ย เคม็ นอย และมันนอย 3.10 ใสใ จฉลากโภชนาการใหม ากข้นึ โดยเลือกผลิตภัณฑท มี่ ีเกลอื หรือโซเดียมทต่ี า่ํ ทส่ี ุด 3.11 ลดการบรโิ ภคเกลอื หรอื ผลติ ภณั ฑทมี่ โี ซเดียมเปนสว นประกอบโดยลดการบรโิ ภค เกลอื โดยตรง และจากเครอื่ งปรุงรสอ่นื ทม่ี เี กลอื ผสมอยู โดยรวมทั้งวนั บริโภคเกลือหรือผลติ ภณั ฑท ีม่ เี กลอื ผสม ใหนอยกวา 1 ขอ นชา 4. ใชชีวิตอยางกระฉับกระเฉง โดยการเพมิ่ กิจกรรมทางกายใหมคี วามกระฉับกระเฉง ถากรณีทําไดใหหลกี เลยี่ งสงิ่ อํานวยความสะดวก ไดแก รีโมตคอนโทรล, ลฟิ ต และควรหาเวลาออกกําลงั กาย อยางนอ ยวันละ 30 นาที อยา งนอย 5 วนั ตอ สัปดาห กรณที ไี่ มส ะดวกทจ่ี ะทาํ อยางตอ เน่ือง สามารถแบงทาํ ครั้งละ 15 นาที 2 คร้ังตอวนั และควรทาํ อยา งมีความสุข 3.3 โรคหัวใจขาดเลอื ด โรคหวั ใจขาดเลือด เกดิ จากการอุดตนั ของหลอดเลือดหัวใจ ซ่ึงสาเหตุสวนใหญเกิดจากการมี ไขมันสะสมพอกตวั หนาข้นึ ในหลอดเลือด หลอดเลอื ดจะตีบและแขง็ ตวั จนการไหลเวียนเลือดไปยังกลามเน้ือ หวั ใจลดลง ทําใหกลา มเนอ้ื หวั ใจขาดเลือด หรือกลา มเนอ้ื หวั ใจตาย

206 ปจ จยั เสี่ยงดา นพฤติกรรมท่ีสามารถปรับเปลี่ยนได ปจ จยั นีเ้ ปนปจ จยั ทีส่ งเสรมิ ใหคนไทยเปนโรคนี้กันมากข้ึนและเกิดในอายุที่นอยลง เน่ืองจาก รูปแบบการดําเนินชีวิตในสังคมปจจุบันเปลี่ยนแปลงไป จากอดีตมีความไมสมดุลระหวางการทานอาหารกับ การออกแรง ซึง่ ปจ จัยดา นพฤตกิ รรมดงั กลา วสงเสริมใหเกิดภาวะน้ําหนกั เกิน อวน ความดันโลหิตสูง ไขมันใน เลอื ดสูง เบาหวาน และสงผลใหเ กิดโรคหัวใจและหลอดเลอื ดตามมา ปจจัยดานพฤติกรรมที่สามารถปรับเปลี่ยนได เชน การรับประทานมากเกินพอดี ไมถูกสัดสวน รับประทานอาหารรสเค็ม หวาน และมันสูง รับประทานผักผลไมนอย ดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล สูบบุหรี่ เคล่ือนไหวรางกายนอ ยลง ใชเคร่ืองอํานวยความสะดวกมากขนึ้ ปจจัยเส่ียงทไ่ี มสามารถปรบั เปลี่ยนได กรณที มี่ ีปจจยั เสย่ี งดา นพฤตกิ รรมท่ไี มส ามารถปรับเปลีย่ นไดรว มดว ยย่งิ ตองพงึ ระวัง และใสใจการ ดําเนนิ ชวี ิตเพ่ือลดความเสีย่ ง ปจจยั เสยี่ งดา นพฤติกรรมทไี่ มส ามารถปรบั เปล่ยี นได เชน พนั ธุกรรม อายทุ ่เี พ่ิมขนึ้ ผูหญิงท่อี ายเุ กนิ 55 ป ผูชายทอ่ี ายเุ กนิ 45 ป เพศชายเสย่ี งกวา เพศหญิง เปน ตน อาการของโรคหัวใจขาดเลือด 1) เจบ็ แนน หนา อก คลายมีอะไรมากดทบั ระยะเวลาประมาณ 30 วินาทีถงึ 15 นาที 2) เจ็บราวไปทีแ่ ขนซา ยหรอื หลงั 3) มีอาการหายใจเหนอ่ื ยหอบ หายใจไมออก นอนราบไมได 4) เวยี นศีรษะ มีเหงื่อแตก ตัวเยน็ หนา มดื จะเปนลม หรอื หมดสตเิ นือ่ งจากเลือดไปเลี้ยงสมอง ไมพ อ สัญญาณเตอื นของโรคหวั ใจขาดเลอื ด 1) อาการเจบ็ เฉพาะที่ เจ็บบรเิ วณใตก ระดูกหนา อก หรือพนื้ ท่ีสว นใหญบรเิ วณกลางอก หรือ หนา อกสวนบน 2) เจบ็ บริเวณกลางอกและแขนดานใน ต้งั แตรักแรจ นถึงใตข อ ศอก บรเิ วณแขนซายดานในจนถงึ เอว เจ็บบรเิ วณแขนและไหลดานซา ยจะพบไดบอ ยกวา ดานขวา 3) เจ็บบริเวณกลางลาํ คอสว นลา งไปจนถึงลาํ คอสวนบน และกรามท้งั สองดานระหวา งหูทงั้ สองขา ง 4) เจ็บบรเิ วณชองทอ งสว นบนซ่ึงมักเขา ใจผดิ วาเกิดจากอาหารไมย อ ย 5) เจ็บระหวางสะบกั การปฏบิ ตั ิตวั เพอื่ ปอ งกนั และลดความเส่ยี งตอการเกดิ โรคหวั ใจขาดเลอื ดทําไดโ ดยการ ปรับเปลย่ี นพฤติกรรมใหถกู ตอ งเหมาะสม ไดแก 1) การเลอื กรบั ประทานอาหารท่ดี ีมปี ระโยชนตอ สุขภาพ ถกู สัดสว น หลีกเลี่ยงอาหารเคม็ หวาน มัน เพม่ิ ผกั ผลไมทหี่ วานนอ ย และธัญพืช 2) เพ่มิ กจิ กรรมการเคลอ่ื นไหวรา งกาย และออกกําลังกายสมา่ํ เสมอ อยางนอ ย 5 วันตอ สปั ดาห นาน ครง้ั ละ 30 นาที

207 3) ทําจิตใจใหแ จม ใส อารมณดแี ละสามารถจดั การความเครียดไดอยางเหมาะสม เชน ทําสมาธิ รจู กั ปลอ ยวาง 4) งดสูบบหุ ร่ี รวมถงึ หลกี เลีย่ งการสูดดมควนั บหุ ร่ี 5) ลดการบรโิ ภคเครอื่ งด่ืมทมี่ แี อลกอฮอล 6) ควบคมุ นํา้ หนกั ตวั ไมใ หอว น รวมถงึ ควบคุมคา รอบเอว คาความดันโลหิต คา นาํ้ ตาลในเลอื ดให อยใู นเกณฑทเี่ หมาะสม 7. ควรมกี ารตรวจสขุ ภาพประจาํ ปส ม่าํ เสมอ สงั เกตอาการผิดปกตขิ องรางกาย หากพบสง่ิ ผดิ ปกติ หรือความเสยี่ ง จะไดไ ปรบั การตรวจวินจิ ฉัย วางแผนการรกั ษา และการดูแลที่ถกู ตองทนั เวลา ความจรงิ ท่นี า สนใจเกยี่ วกับโรคหัวใจและหลอดเลือด 1) เกอื บครงึ่ หนงึ่ ของการเสียชวี ิตจากโรคหวั ใจและหลอดเลอื ดเปนผทู ม่ี ีอายรุ ะหวา ง 15 - 69 ป 2) น้ําหนกั เกินและความอว น น้าํ หนกั ทเ่ี กนิ จะเพม่ิ การทาํ งานของหวั ใจ มผี ลตอ ระดบั ความดนั โลหิต คอเลสเตอรอล และไตรกลีเซอไรดเ พิ่มขน้ึ และสง ผลใหเ ปน เบาหวาน หวั ใจและหลอดเลือดตามมา 3) ความดันโลหิตสงู ทาํ ใหหวั ใจตอ งทาํ งานหนกั ขึ้น กลามเนอื้ หวั ใจจะหนาขน้ึ คนทีม่ ี ความดันโลหิตสงู ย่ิงสงู มากเทาไร ก็จะมีความเส่ยี งตอการเปน โรคหัวใจมากขึน้ 4) ผูเปนเบาหวาน จะเพม่ิ ความเสย่ี งตอการเปนโรคหัวใจและหลอดเลอื ด 2 - 4 เทา 5) ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ ผูท่ีมีระดับคอเลสเตอรอลรวม คอเลสเตอรอลชนิดแอลดีแอล (LDL-C) และไตรกลีเซอไรดสูง และระดบั คอเลสเตอรอลชนดิ เอชดีแอล (HDL-C) ตาํ่ จะเพ่ิมความเสย่ี งตอ การ เกดิ โรคหลอดเลอื ดหวั ใจ 6) ประมาณหนงึ่ ในส่ขี องการเสยี ชวี ติ ดวยโรคหวั ใจและหลอดเลอื ดหัวใจจะเกิดขน้ึ โดยไมม ี อาการเตอื นใด ๆ 3.4 โรคหลอดเลอื ดสมอง โรคหลอดเลอื ดสมอง หรือ โรคอัมพฤกษ อัมพาต คือ ภาวะที่สมองขาดเลือดไปเล้ียง ซึ่งเกิด จากหลอดเลอื ดทไ่ี ปเล้ียงสมองตีบตนั หรือแตก จนเกดิ การทําลาย หรือตายของเนื้อสมอง ประเภทของหลอดเลือดสมอง แบงเปน 2 ชนดิ คอื 1) โรคหลอดเลอื ดสมองตบี หรอื ตนั โรคน้มี กี ารอดุ ตันของหลอดเลือดในสมอง หรืออาจเกดิ จากโรคของหลอดเลอื ดสมองเองเกิดการอดุ ตัน หรือภาวะทมี่ คี วามผิดปกตขิ องการแขง็ ตวั ของเลอื ด 2) โรคหลอดเลอื ดสมองแตก โดยสวนใหญม กั เกิดในผทู มี่ ภี าวะความดนั โลหิตสงู ทาํ ใหห ลอด เลือดในสมองโปง พองมานาน สงผลใหเกดิ ความผดิ ปกติท่หี ลอดเลือดขนาดเลก็ ในสมองและเกดิ การแตกได ปจ จยั เส่ียงตอการเกดิ โรค 1) ภาวะความดนั โลหติ สงู ภาวะความดันโลหติ สงู คือ มีคา ความดนั โลหิตต้งั แต 140/90 มลิ ลิเมตรปรอทขนึ้ ไป

208 2) คอเลสเตอรอลสงู ระดบั คอเลสเตอรอลในเลอื ดสูง คือ มคี าระดบั ไขมนั ในเลอื ดมากกวา 200 มิลลิกรัมเปอรเ ซ็นต 3) น้าํ ตาลในเลือดสูง มคี า ระดบั นํา้ ตาลในเลือดมากกวา 126 มิลลิกรมั เปอรเ ซ็นต 4) น้าํ หนักเกนิ ภาวะนํา้ หนักเกิน มีคาดชั นีมวลกายมากกวา 23 กโิ ลกรมั ตอตารางเมตร 5) การสูบบหุ ร่ี 6) เครอื ญาติเคยเปน โรค มีประวัตญิ าตสิ ายตรงเคยเจบ็ ปว ยดวยโรคหลอดเลือดสมอง 7) ขาดการออกกําลงั กายทเี่ หมาะสม มีพฤติกรรมเนอื ยน่งิ พบบอ ย คอื อาการของโรคหลอดเลือดสมอง อาการขนึ้ อยูกบั ตาํ แหนงท่ีสมองขาดเลือดไปเล้ียง อาการท่ี 1) ปากเบ้ียว มมุ ปากตก ดานใดดานหนง่ึ 2) แขน ขา ออนแรง หรอื ชา ขางใดขา งหนึ่ง 3) พดู ไมอ อก พูดไมชดั พูดไมเขาใจทนั ทที ันใด 4) ปวดศีรษะรุนแรง รว มกบั มรี ะดับความรสู ึกเปลี่ยน 5) ตามองไมชัดหรอื มดื ทนั ทที นั ใด โดยเฉพาะเปน ขา งเดียว สญั ญาณเตือนของโรคหลอดเลอื ดสมอง การทดสอบอาการของโรคหลอดเลือดสมองใหนึกถึง F.A.S.T คอื F = Face ปากเบี้ยว ใหยงิ ฟนหรือย้ิม สงั เกตวามมุ ปากตกหรอื ไม A = Arm แขนขาออนแรงซีกเดยี ว แขน ทา น่ัง ยกแขนตรง 90 องศา นับ 10 วนิ าที ทานอน ยกแขนตรง 45 องศา นบั 10 วนิ าที ถา แขนตกแสดงวา แขนออนแรง ขา ทาน่ัง ยกขาตรง 30 องศา นับ 5 วินาที ทา นอน ยกขาตรง 45 องศา นบั 10 วินาที ถาขาตกแสดงวาขาออ นแรง S = Speech พูดไมชัด พดู ไมอ อก มีปญหาดา นการพูดแมประโยคงา ย ๆ พูดแลวคนฟง ฟงไมรเู ร่ือง T = time หากมอี าการเหลา ตอไปนีท้ ันที บอกหมอดวนจ๋ี หรอื โทร 1669 ถามอี าการเหลาน้ี ใหรบี ไปโรงพยาบาลท่ใี กลท ส่ี ดุ โดยเร็ว ไมเกิน 3 ชั่วโมง 30 นาที จะไดช ว ยรกั ษาชวี ติ และสามารถฟนฟูกลบั มาไดเปนปกตหิ รอื ใกลเ คียงคนปกติมากทีส่ ดุ

209 ภาพอาการและสัญญาณเตือนโรคหลอดเลือดสมอง ทีม่ า รทู ันมหันตภัยโรคไมติดตอเรอื้ รัง…ภัยเงียบใกลต วั แนวทางการรักษาผูปวยโรคหลอดเลือดสมอง ตองพจิ ารณาจากคาํ วินจิ ฉัยของแพทยก อนวา โรคอัมพฤกษ อัมพาตทเี่ กิดขึน้ กบั ผูปว ยนัน้ เปน ประเภทใด และมสี าเหตจุ ากอะไร 1) หากมสี าเหตจุ ากการอดุ ตนั ของหลอดเลอื ด แพทยจ ะใหก ารรักษาโดยการใหย า ซง่ึ จะพจิ ารณา ความเหมาะสมแลวแตกรณี ยาท่นี ํามาใชในการรักษา ไดแก ยาตานเกล็ดเลอื ด ยาตา นการแขง็ ตวั ของเลอื ด ยาระบายล่ิมเลือด นอกจากการใชย าแลวยงั ตองแกไ ขปญ หาสมองบวมนา้ํ และการรกั ษาแบบประคับประคอง ตามอาการ 2) หากมีสาเหตจุ ากหลอดเลอื ดสมองแตก จะเนน รกั ษาแบบประคบั ประคอง แกไ ขปญ หาความ ดันในกะโหลกศรี ษะสงู ปอ งกันภาวะแทรกซอนของโรค เชน ปอดอกั เสบ ทางเดินปส สาวะอักเสบ แผลกดทบั บางรายอาจรักษาโดยการผา ตดั เอากอ นเลอื ดในสมองออก 3.5 โรคมะเรง็ โรคมะเร็ง (Cancer) พบไดใ นทุกเพศทกุ วัย ตั้งแตแรกเกิดไปจนถึงผูสงู อายุ สวนใหญจะพบใน อายตุ ั้งแต 50 ปขนึ้ ไป สวนในวัยเด็กพบนอยกวาในผูใหญป ระมาณ 10 เทา

210 โรคมะเร็งทีพ่ บบอยของชายไทย เรยี งจากลาํ ดบั แรก 10 ลาํ ดับ ไดแ ก โรคมะเร็ง ตับ ปอด ลาํ ไสใ หญ ตอ มลกู หมาก ตอมน้าํ เหลอื ง เมด็ เลอื ดขาว กระเพาะปสสาวะ ชอ งปาก กระเพาะอาหาร และ หลอดอาหาร โรคมะเร็งพบบอยของหญงิ ไทย เรยี งจากลาํ ดบั แรก 10 ลําดบั ไดแ ก โรคมะเรง็ เตา นม ปากมดลกู ตับ ปอด ลาํ ไสใหญ รังไข เม็ดเลือดขาว ชอ งปาก ตอมไทรอยด และมะเรง็ ตอ มนา้ํ เหลือง โรคมะเร็งพบบอยในเด็กไทย เรยี งจากลาํ ดับแรก 4 ลาํ ดับ ไดแก โรคมะเรง็ เมด็ เลอื ดขาว โรคมะเรง็ ตอ มนาํ้ เหลอื ง โรคเนอ้ื งอก/มะเรง็ สมอง และโรคมะเรง็ นวิ โรบลาสโตมา/Neuroblastoma (มะเรง็ ของประสาทซมิ พาทีตกิ ) โรคมะเรง็ คอื โรคซึง่ เกิดมเี ซลลผ ิดปกตใิ นรางกาย และเซลลเ หลา นม้ี กี ารเจริญเตบิ โตรวดเร็ว เกนิ ปกติ รา งกายควบคุมไมได ดงั นั้นเซลลเ หลานจ้ี งึ เจรญิ ลุกลามและแพรก ระจายไดท ่วั รา งกายสง ผลใหเ ซลล ปกตขิ องเนื้อเยือ่ /อวยั วะตาง ๆ เหลา นั้นลม เหลวไมส ามารถทํางานไดต ามปกติ เปน สาเหตุใหเสียชวี ิตในทีส่ ุด ไดแก ปอด ตบั สมอง ไต กระดกู และไขกระดกู สญั ลักษณข องโรคมะเร็ง “ป”ู เปน สญั ลกั ษณของโรคมะเร็ง คาํ วา มะเรง็ หรือ Cancer มาจากภาษากรกี คือ Carcinos ซ่งึ แปลวา ปู (Crab) เน่อื งจากกอ นเนอื้ มะเร็งมลี ักษณะลุกลามออกไปจากตวั กอ นเนอ้ื เหมอื นกบั ขาปทู ่อี อกไป จากตวั ปู ซง่ึ คนแรกทใี่ ชศ ัพทน ้ี คอื ฮิปโปเครตสี (Hippocrates) บิดาแหง การแพทยต ะวนั ตก เนื้องอก คือ กอ น ตุม ทโ่ี ตข้ึนผดิ ปกติ เกดิ จากเซลลห รอื เนอื้ เย่อื ในรา งกายเจรญิ เติบโตอยา ง รวดเร็ว แบง เปน 2 ชนิด คอื เนือ้ งอกชนดิ ธรรมดา และเนื้องอกชนิดรายหรอื มะเร็ง โรคมะเรง็ ตางจากเนอ้ื งอกทก่ี อ นเนอ้ื หรือแผลมะเรง็ โตเร็วลุกลามเขา อวัยวะขา งเคียง เขาตอ ม นาํ้ เหลือง และแพรก ระจายเขา หลอดเลอื ด/กระแสโลหติ /กระแสเลือด และหลอดนํ้าเหลือง/กระแสนํ้าเหลือง ไปยงั เน้อื เย่ือ/อวัยวะตา ง ๆ ไดท ัว่ รา งกาย โดยมกั แพรส ปู อด ตบั สมอง กระดูก และไขกระดกู ดังน้นั โรคมะเรง็ จึงเปน โรคเรอ้ื รงั รนุ แรง มกี ารรักษาท่ซี ับซอนและตอเนอื่ ง โรคเนอ้ื งอก ไดแ ก มกี อนเนือ้ ผดิ ปกติ แตโ ตชา ไมล ุกลามเขา เนอื้ เย่อื /อวัยวะขางเคยี ง เพยี งกด หรือเบียดเมอ่ื กอ นโตขึ้น ไมลุกลามเขา ตอมนา้ํ เหลือง ไมแพรก ระจายทางกระแสโลหิต และทางกระแส น้ําเหลอื ง จงึ เปนโรคทีร่ กั ษาหายไดโ ดยเพยี งการผา ตัด การเกดิ โรคมะเร็ง เมอื่ รา งกายไดรบั สารกอมะเรง็ เชน สารเคมี ไวรสั รงั สี สิ่งเหลานจ้ี ะทาํ ใหเ ซลลเ กิดการ เปลีย่ นแปลงและในท่ีสดุ เซลลป กติกจ็ ะกลายเปนเซลลม ะเรง็ ถาระบบภูมิตา นทานของรา งกายไมส ามารถ ทําลายเซลลน้ันได เซลลม ะเร็งกจ็ ะแบง ตัวอยางรวดเร็วกลายเปนกอนมะเรง็ ตอ ไป สาเหตขุ องโรคมะเร็ง ปจ จุบนั ยังไมท ราบสาเหตทุ ่ีแนน อน แตเ ชอื่ วามีปจจยั ทเ่ี กีย่ วของกบั การเกดิ โรคมะเรง็ อยหู ลาย ประการ ดงั น้ี

211 1. สาเหตุจากส่ิงแวดลอ มภายนอกรางกาย 1.1 สารเคมบี างชนดิ เชน สารเคมีในควันบหุ รี่ และเขมารถยนต สารพิษจากเชอื้ รา สารพิษ ทเ่ี กดิ จากเนื้อสตั วร มควัน ปง ยาง ทอด จนไหมเ กรยี ม สียอมผา สารเคมบี างชนดิ ที่เกดิ จากขบวนการทาง อตุ สาหกรรม 1.2 รงั สีตา ง ๆ รวมทงั้ รังสีอลุ ตรา ไวโอเลตในแสงแดด 1.3 การติดเช้อื เรือ้ รงั เชน ไวรัสตบั อกั เสบ ชนิดบี มคี วามสมั พนั ธกับการเกิดโรคมะเรง็ ตบั ฮิวแมน แพพพิโลมา ไวรัส (Human Papilloma Virus หรอื HPV) อาจมีความสมั พนั ธกับการเกิดโรคมะเรง็ ของเซลลเ ย่อื บุตา ง ๆ เชน มะเร็งปากมดลูก เอบสไตน บาร ไวรสั (Epstein Barr Virus) มีความสมั พันธก บั การเกดิ โรคมะเร็งตอ มนํ้าเหลืองหรือมะเรง็ โพรงหลงั จมูก เฮลิโคแบคเตอร ไพโลรยั (Helicobacter Pylori) มี ความสมั พนั ธก ับมะเรง็ กระเพาะอาหาร 1.4 พยาธิ เชน พยาธิใบไมตบั มีความสมั พนั ธกบั มะเรง็ ทอนาํ้ ดใี นตบั 2. สาเหตุภายในรา งกาย เชน 2.1 กรรมพันธุท ผี่ ิดปกติ 2.2 ความไมส มดุลทางฮอรโ มน 2.3 ภมู คิ มุ กนั ที่บกพรอง 2.4 การระคายเคอื งที่เกิดซํา้ ๆ เปน เวลานาน 2.5 ภาวะทพุ โภชนาการ เปน ตน เบือ้ งตน สัญญาณเตอื นอาการของโรคมะเรง็ สญั ญาณเตือนของโรคมะเรง็ ไดแก 1) มีกอนเนือ้ โตเร็ว หรอื มแี ผลเรอ้ื รัง ไมหายภายใน 1 – 2 สปั ดาห หลงั จากการดแู ลตนเองใน 2) มตี อมน้าํ เหลอื งโต คลําได มกั จะแขง็ ไมเจบ็ และโตข้นึ เรอ่ื ย ๆ 3) ไฝ ปาน หดู ทโี่ ตเรว็ ผดิ ปกติ หรือ เปนแผลแตก 4) หายใจ หรอื มีกลนิ่ ปากรนุ แรงจากทไี่ มเ คยเปน มากอ น 5) เลือดกําเดาออกเรอ้ื รงั มกั ออกเพยี งขา งเดยี ว (อาจออกทงั้ สองขา งได) 6) ไอเร้อื รงั หรอื ไอเปน เลอื ด 7) มเี สมหะ นาํ้ ลาย หรือ เสลดปนเลือดบอ ย อาการของโรคมะเรง็ ไดแ ก 1) อาเจียนเปน เลอื ด 2) ปส สาวะเปนเลอื ด 3) ปสสาวะบอย ขดั ลํา ปส สาวะเลด็ โดยไมเ คยเปน มากอน 4) อุจจาระเปนเลอื ด มูก หรือเปน มกู เลือด 5) ทองผกู สลบั ทองเสยี โดยไมเ คยเปน มากอ น

212 6) มีเลือดออกทางชอ งคลอดผิดปกติ หรอื มปี ระจาํ เดอื นผิดปกติ หรอื มเี ลอื ดออกทางชอ ง คลอดในวัยหมดประจําเดือน หรอื หลงั มเี พศสัมพันธท ้งั ที่ไมเ คยมมี ากอ น 7) ทองอดื ทองเฟอ แนน อึดอดั ทอง โดยไมเ คยเปนมากอ น 8) มไี ขต า่ํ ๆ หาสาเหตไุ มได 9) มีไขสูงบอ ย หาสาเหตไุ มไ ด 10) ผอมลงมากใน 6 เดือน นา้ํ หนกั ลดลงจากเดิม 10% 11) มีจาํ้ หอ เลอื ดงา ย หรอื มจี ดุ แดงคลา ยไขเ ลือดออกตามผวิ หนงั บอ ย 12) ปวดศรี ษะรนุ แรงเรอื้ รงั หรอื แขน/ขาออนแรง หรอื ชกั โดยไมเ คยชกั มากอ น 13) ปวดหลงั เรอื้ รงั และปวดมากขน้ึ เรื่อย ๆ อาจรว มกับ แขน/ขาออ นแรง การวินจิ ฉัย การวินิจฉัยมหี ลายวิธี เชน 1) การตรวจรา งกายดวยตนเองและโดยแพทย 2) การตรวจทางหอ งปฏบิ ัติการ เชน การตรวจเลอื ด ปส สาวะ อุจจาระ และเสมหะ 3) การตัดช้นิ เน้อื ทสี่ งสัยสง ตรวจทางพยาธวิ ทิ ยา 4) การตรวจทางรงั สี เชน การเอก็ ซเรยค อมพวิ เตอร การเอก็ ซเรยเฉพาะอวยั วะ และการตรวจ ทางเวชศาสตรน วิ เคลยี ร 5) การตรวจโดยใชเ คร่อื งมือพเิ ศษสองกลองโดยตรง เชน การตรวจลําไสใ หญ ทวารหนกั กระเพาะอาหารและลําคอ เปนตน 6) การตรวจพเิ ศษอนื่ ๆ ระยะของมะเร็ง ระยะโรคมะเร็ง คือ ตัวบอกความรนุ แรงของโรค (การลุกลามและแพรกระจาย) บอกแนวทาง การรกั ษา และแพทยใชในการศกึ ษาวจิ ัยที่เก่ยี วขอ งกบั โรคมะเรง็ โดยทั่วไปโรคมะเร็งมี 4 ระยะ ไดแ ก ระยะท่ี 1 – 4 ซ่งึ ท้ัง 4 ระยะ อาจแบง ยอ ยไดอ กี เปน เอ (A) บี (B) หรือ ซี (C) หรอื เปน หนง่ึ หรอื สอง เพอ่ื แพทยโรคมะเรง็ ใชชว ยประเมินการรกั ษา สวนโรคมะเรง็ ระยะ ศนู ย (0) ยังไมจดั เปน โรคมะเร็งอยา งแทจรงิ เพราะเซลลเ พยี งมลี กั ษณะเปน มะเรง็ แตย ังไมม ีการรุกราน (Invasive) เขา เนอื้ เยือ่ ขา งเคียง ระยะท่ี 1 : กอ นเนอื้ /แผลมะเรง็ มขี นาดเลก็ ยงั ไมล กุ ลาม ระยะท่ี 2 : กอ น/แผลมะเรง็ ขนาดใหญข นึ้ เร่ิมลุกลามภายในเนอ้ื เย่ือ/อวัยวะ ระยะท่ี 3 : กอน/แผลมะเรง็ ขนาดใหญข ้ึน เรมิ่ ลกุ ลามเขาเนอ้ื เย่ือ/อวัยวะขางเคียง และลกุ ลาม เขา ตอ มนํ้าเหลืองท่อี ยใู กลเ นอื้ เยอื่ /อวัยวะท่เี ปนมะเรง็ ระยะท่ี 4 : กอน/แผลมะเรง็ ขนาดโตมาก และ/หรือ ลกุ ลามเขา เนื้อเยอ่ื /อวยั วะขา งเคยี ง จนทะลุ และ/หรอื เขา ตอ มนา้ํ เหลอื งท่อี ยใู กลกอ นมะเรง็ โดยพบตอ มน้าํ เหลืองโตคลําได และ/หรือ มหี ลากหลายตอ ม และ/หรอื แพรก ระจายเขา กระแสโลหิต และ/หรือ หลอดนาํ้ เหลือง/กระแสน้าํ เหลือง ไปยังเนอ้ื เย่อื /อวยั วะที่

213 อยไู กลออกไป เชน ปอด ตับ สมอง กระดกู ไขกระดกู ตอมหมวกไต ตอมน้ําเหลอื งในชอ งทอง ในชอ งอก และ/หรอื ตอมนํา้ เหลอื งเหนือกระดกู ไหปลารา การรักษา การตรวจพบโรคมะเรง็ ไดตงั้ แตร ะยะเรม่ิ แรกยอ มเปนผลดีตอ การรกั ษา ซึง่ วิธกี ารรักษามี ดงั ตอไปนี้ 1) การผาตัด เปน การเอากอนท่ีเปน มะเรง็ ออกไป 2) รังสรี กั ษา เปน การใหร งั สีกําลังสงู เพื่อฆา เซลลม ะเรง็ 3) เคมบี ําบดั เปน การใหยา (สารเคมี) เพ่อื ฆาเซลลม ะเรง็ 4) ฮอรโ มนบําบัด เปน การใชฮ อรโ มน เพือ่ ยุติการเจรญิ เตบิ โตของเซลลม ะเร็ง 5) การรกั ษาแบบผสมผสาน เปนการรกั ษารว มกันหลายวิธดี งั กลาวขา งตน แตจะใชวิธีใดนน้ั ข้นึ อยูกับระยะและความรุนแรงของโรค 6) การรักษาโรคมะเรง็ อาจเปน วิธใี ดวิธเี ดียว หรือ หลายวธิ รี ว มกนั ทงั้ นี้ขึ้นกับระยะโรค ชนดิ ของเซลลมะเร็ง ไดแก 6.1) เปน มะเรง็ ของเน้อื เยอ่ื /อวยั วะใด 6.2) ผา ตัดไดห รือไม หลงั ผา ตดั ยงั คงหลงเหลือกอ นมะเรง็ หรือไม 6.3) ผลพยาธวิ ิทยาชิน้ เนือ้ หลงั ผาตดั เปนอยางไร 6.4) อายุ 6.5) สขุ ภาพผปู ว ย 6.6) โรคมะเรง็ เปน โรคทร่ี ักษาใหห ายได แตทง้ั น้ี โอกาสรักษาหายข้นึ กบั ระยะโรค ชนิด เซลลมะเรง็ 6.7) ผาตดั ไดหรือไม ถา ผาตัดได สามารถผาตดั กอ นมะเรง็ ออกไดทง้ั หมดหรอื ไม 6.8) มะเรง็ เปน ชนดิ ดอื้ ตอ รังสรี กั ษา และ/หรือ ยาเคมบี าํ บดั และ/หรอื ยารักษาตรงเปา หรือไม อายุสุขภาพผูปว ย อนึง่ ในภาพรวมโดยประมาณ อัตราอยรู อดที่ 5 ป (โอกาสรกั ษามะเร็งไดห าย) ภายหลังการ รักษาโรคมะเรง็ คอื โรคระยะ 0 90 – 95 % โรคระยะที่ 1 70 – 90 % โรคระยะที่ 2 70 – 80 % โรคระยะที่ 3 20 – 60 % โรคระยะที่ 4 0 – 15 %

214 ทางเลอื กอื่น (Alternatives) เนอ่ื งจากโรคมะเรง็ สวนใหญ ยงั ไมทราบถงึ สาเหตทุ ่ีแทจ รงิ แตมีมะเร็งบางตาํ แหนง ก็สามารถ ทราบสาเหตุนําหรอื สาเหตุรว ม ซ่งึ อาจหลกี เล่ียงได ดังน้นั ทกุ คนควรจะตองตรวจ สํารวจรา งกายของตนเอง อยา งสมํา่ เสมอ หรอื ถาพบอาการผิดปกตกิ ค็ วรรบี ปรกึ ษาแพทยท นั ที การตรวจคัดกรองโรคมะเร็ง คอื การตรวจใหพบโรคมะเรง็ ตง้ั แตร ะยะยงั ไมมีอาการ (มกั เปน มะเร็งในระยะ 0 หรอื ระยะ 1) ทั้งน้ี เพราะโรคมะเรง็ ในระยะนี้ มโี อกาสรกั ษาไดห ายสูงกวาโรคมะเร็งในระยะ อ่นื ๆ การตรวจคดั กรองโรคมะเรง็ ทมี่ ีประสทิ ธิภาพ คือการตรวจท่เี มื่อพบโรคแลว ภายหลังการรกั ษาผปู วยจะ มีอตั รารอดจากมะเรง็ สูงข้นึ หรือมอี ัตราเสียชวี ติ จากโรคมะเรง็ ลดลงนัน่ เอง ปจจบุ นั การตรวจคดั กรองโรคมะเรง็ ที่มปี ระสทิ ธภิ าพ คอื ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเตานม และมะเรง็ ลาํ ไสใ หญ วธิ ีปองกนั โรคมะเรง็ ทีด่ ีทส่ี ุด คอื หลีกเล่ียงปจจัยเส่ียงท่ีหลีกเล่ยี งไดดงั กลาวแลว ซงึ่ ทสี่ าํ คัญคือ กนิ อาหารมีประโยชนค รบท้งั 5 หมูทุกวนั ในปริมาณทเี่ หมาะสม คือ ไมใ หอว นหรอื ผอมเกินไป โดยจํากดั เน้ือแดง แปง นาํ้ ตาล ไขมัน เกลอื แตเ พมิ่ ผกั ผลไมใหมาก ๆ ออกกําลังกายใหเหมาะสมกบั สขุ ภาพสมํา่ เสมอ เขา รับ การตรวจคดั กรองโรคมะเร็ง/การตรวจสขุ ภาพประจําป หลกี เลีย่ งสารกอมะเร็ง สญั ญาณอันตราย 7 ประการ ที่ควรรีบมาพบแพทย 1) มีเลือดหรอื สงิ่ ผิดปกติออกจากรางกาย เชน มีตกขาวมากเกินไป 2) มกี อ นหรือตมุ เกิดขนึ้ ทใี่ ดท่หี นง่ึ ของรางกายและกอนน้นั โตเรว็ ผดิ ปกติ 3) มีแผลเร้อื รงั 4) มีการถายอจุ จาระ ปส สาวะ ผิดปกติหรือเปลยี่ นไปจากเดมิ 5) เสียงแหบ ไอเร้ือรงั 6) กลนื อาหารลาํ บาก เบ่อื อาหาร นํ้าหนกั ลด 7) มกี ารเปลยี่ นแปลงของหดู ไฝ ปาน เชน โตผดิ ปกติ ควรรบี มาพบแพทย 3.6 โรคปอดอดุ กั้นเร้อื รัง (ถุงลมโปงพอง) ความหมายโรคปอดอดุ ก้ันเรือ้ รัง โรคปอดอุดกน้ั เร้ือรงั (COPD : Chronic Obstructive Pulmonary Disease) เกดิ จาก ปอดไดรบั ความเสียหายอยา งเรอ้ื รัง จนกอใหเ กดิ ปญ หาเกีย่ วกบั การหายใจ ผปู ว ยจะมอี าการของโรคถงุ ลม โปงพองและหลอดลมอกั เสบเรอื้ รงั เกดิ ขึน้ รวมกนั เชน ไอแบบมเี สมหะ รูส ึกเหนอ่ื ยหอบ หายใจมเี สียงหวีดใน ลําคอ แนน หนา อก เปนตน อาการของโรคปอดอดุ ก้ันเรื้อรัง อาการของโรคปอดอดุ ก้นั เรอื้ รงั พฒั นาอยางคอยเปนคอยไปในเวลาหลายป ในชว งแรกอาจไมม ี อาการใด ๆ มอี าการเพียงเลก็ นอย หรอื มีอาการแยล งเมอ่ื โรคทวีความรนุ แรงข้ึน และอาการอาจกําเรบิ เปน ระยะ

215 เฉลย่ี ปละ 1 - 2 คร้งั และอาจทาํ ใหทรดุ ปว ยทันทที ันใด ท้ังน้ี ความรนุ แรงของอาการในผปู วยแตละรายขนึ้ อยกู บั ความเสียหายของปอดดวย โดยอาการของโรคปอดอุดกนั้ เรอื้ รงั ทพี่ บไดบ อย ไดแ ก 1) หอบ โดยเฉพาะเวลาตองออกแรงหรอื ทํากิจวัตรประจําวัน 2) ไอหรอื ไอเรอื้ รงั มีเสมหะเหนียวขนปริมาณมาก 3) หายใจลาํ บาก มีเสียงหวีดในลาํ คอตลอดเวลา 4) เกิดการติดเช้อื ท่ีปอดบอ ย ๆ อาการอ่ืน ๆ ท่บี ง บอกวาโรคเริ่มรุนแรง แตอาจพบไดนอย ไดแก เหน่ือยงาย น้ําหนักลด แขน ขา หรือขอเทาบวม กลามเนือ้ ออ นแรง เจ็บแนนหนาอก ไอเปนเลือด เปนตน หากพบอาการรุนแรงดังกลาว หรอื อาการทีเ่ ปนอยูรุนแรงข้นึ จนกระทบตอการใชชีวิตประจําวัน รวมถึงพูดหรือหายใจลําบาก ปากและเล็บ เปลย่ี นเปนสีมว ง หัวใจเตนเรว็ ไมม อี าการต่ืนตัว ควรรบี ไปพบแพทยโดยดว น อยางไรก็ตาม อาการในขา งตน อาจมีความคลายคลึงกับบางโรค เชน โรคหอบหดื โรคหลอดลม อักเสบ ภาวะโลหิตจาง หรือภาวะหัวใจลมเหลว ผูปวยที่พบอาการตองสงสัยควรปรึกษาแพทยถึงอาการท่ี เกิดขึ้นเพ่อื รบั การวินิจฉยั อยางถูกตอ ง โดยเฉพาะผทู ่ีมีอายุมากกวา 35 ปขึ้นไป และผูที่สูบบุหรี่หรือมีประวัติ เคยสบู บุหรี่ สาเหตขุ องโรคปอดอดุ กั้นเรื้อรัง โรคปอดอุดกัน้ เรอ้ื รงั เกดิ จากปอดและระบบทางเดินหายใจไดรับความเสียหายจนเกิดการอักเสบ สาเหตสุ ว นใหญม ักเกยี่ วขอ งกับการไดร ับสารอนั ตรายเขา สูรางกายเปน เวลานาน หรืออาจเกิดจากหลายปจจัย รวมกนั ไดแ ก 1) การสูบบุหร่ี เปนสาเหตุหลักท่ีพบไดบอยของ โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง เน่ืองจากสารเคมี อนั ตรายในบหุ ร่ีสามารถทําลายผนังดา นในของปอดและระบบทางเดินหายใจได รวมไปถึงการสูดเอาควันบุหรี่ จากผอู ืน่ หรือการใชผลิตภัณฑย าสบู ทกุ ประเภทกอ็ าจเพ่ิมความเสี่ยงได แตผูปว ยบางรายทไี่ มสบู บุหร่ีก็อาจเกิด โรคนีไ้ ดเ ชน กัน 2) การสูดดมควนั ฝนุ หรอื สารเคมี การทาํ งานในสภาพแวดลอ มหรือสถานท่ีท่ีตองหายใจเอา ฝนุ ผง ละอองสารเคมี หรือควันบางชนดิ ในปรมิ าณมากและติดตอ กนั เปนเวลานานสามารถสรางความระคายเคือง กับระบบทางเดนิ หายใจ ทาํ ลายเนอื้ เยอ่ื ปอด สงผลใหการทํางานของปอดแยลงได เชน ไอหรอื ฝุน แคดเมียมใน อุตสาหกรรมโลหะหนัก ฝุน ผงจากแปงหรือธญั พชื ควันจากการเชอ่ื มเหล็กหรอื โลหะ ฝุนหินทราย สารไอโซไซยาเนต ในงานพนสี เปน ตน 3) มลพษิ ทางอากาศ การสูดเอาอากาศทมี่ ีการปนเปอนเปนเวลานานจะสงกระทบตอการทํางาน ของปอดและอาจทําใหเ กิดโรคปอดอดุ กัน้ เรือ้ รงั ได 4) พนั ธุกรรม ผูปวยโรคปอดอดุ ก้ันเรอ้ื รัง บางรายอาจปวยดวยโรคทางพันธุกรรมหายากจาก การขาดอัลฟา 1 ซึ่งเปน เอนไซมท่ีสรางจากตับและจะไหลเขาสูกระแสเลือดเพื่อชวยปกปองปอดไมใหไดรับ ความเสยี หาย โดยการขาดอลั ฟา 1 จะสง ผลใหตับและปอดถูกทําลาย ผูท่ีมีประวัติบุคคลในครอบครัวเปนโรคนี้

216 จงึ มีแนวโนม เกิดโรคปอดอดุ ก้ันเร้อื รัง ไดก อ นอายุ 35 ป โดยเฉพาะผูท ่ีมีประวัติการสูบบุหร่ีเปนเวลานาน แต บางกรณอี าจเกดิ ข้ึนกบั เด็กหรือผทู ี่ไมสบู บุหร่ีไดเ ชน กัน สว นปจจัยเส่ยี งอ่ืน ๆ ทอ่ี าจทําใหเกดิ โรคนี้ ไดแ ก 1) โรคประจาํ ตัว เชน ผทู ่เี ปน โรคหอบหืดแลวสูบบหุ ร่ี 2) อายุ โรคปอดอุดกน้ั เรอื้ รงั จะคอ ย ๆ เกิดอาการอยา งชา ๆ ซ่ึงผูปว ยสวนใหญม กั ตรวจพบ โรคเมอ่ื อายมุ ากขึ้น โดยเฉล่ยี อายุ 40 ปขึ้นไป 3) เด็กทค่ี ลอดกอนกําหนด อาจสง ผลใหเ กดิ การเจรญิ เตบิ โตผดิ ปกติของหลอดลมและเนอื้ ปอด ซึง่ อาจกลายเปน โรคปอดอุดก้นั เรอ้ื รงั ไดใ นภายหลัง การวินิจฉยั โรคปอดอดุ กั้นเรอ้ื รงั แพทยจ ะวินจิ ฉยั โรคโดยเริม่ จากการซักประวตั ทิ ั่วไป เชน อาการผดิ ปกติ ประวตั ิทางการแพทย ของผูปว ยและครอบครวั ตรวจดูความเหมาะสมของน้ําหนักตวั พฤติกรรมการสูบบหุ รี่หรือไดรับควันบุหร่ีจาก ผอู นื่ เปนตน จากน้ันอาจตรวจรางกายเบ้ืองตน และตรวจดานอืน่ ๆ ดงั น้ี 1) การตรวจสมรรถภาพปอดโดยใชส ไปโรเมตรยี  (Spirometry) เปนการตรวจดูการทาํ งาน ของปอดจากการวดั ปรมิ าตรอากาศหายใจภายในปอดและความเร็วท่หี ายใจออกแตละครั้ง โดยกอ นตรวจแพทย อาจใหย าพนขยายหลอดลมกอ น แลว จึงคอ ยใหผปู ว ยเปา ลมหายใจผา นเครอ่ื งมือทเ่ี รยี กวา สไปโรเมตรีย วธิ นี ี้ ยังชว ยวนิ จิ ฉัยความรนุ แรงของโรค ผลการรักษา และประสทิ ธภิ าพของการใชย าไดดวย 2) การตรวจเอกซเรยทรวงอก เปนการเอกซเรยดูความผิดปกติของปอดและอวัยวะบริเวณ ชว งอก ซึง่ บางรายอาจตรวจพบถุงลมโปงพอง และวิธีน้ีชวยใหแพทยแยกอาการผิดปกติท่ีคลายคลึงกันออก จากโรคอื่น ๆ ดว ย เชน การติดเช้ือทที่ รวงอก มะเรง็ ปอด เปนตน 3) การตรวจเลือด แพทยอาจตรวจเลือดเพ่ือแยกโรคบางชนิด เชน โรคโลหิตจาง ภาวะ เมด็ เลือดแดงขน หรอื โรคถงุ ลมโปงพองจากการขาดอลั ฟา 1 4) การตรวจซีที สแกน เปนการตรวจวนิ ิจฉัยโรคดว ยเครือ่ งเอกซเรยค อมพิวเตอรทที่ าํ ใหแพทย ทราบรายละเอยี ดของความผดิ ปกตทิ ่ีปอดมากข้ึน และวางแผนการรักษาขั้นตอไปไดอยางเหมาะสม แตอาจ จาํ เปน ในผูป วยบางรายเทา นน้ั เชน ใชป ระเมินวาผูป ว ยไดรบั ประโยชนจากการผา ตดั มากนอยแคไ หน ตรวจหา ถุงลมโปงพอง และคดั กรองมะเรง็ ปอด เปน ตน 5) การตรวจอน่ื ๆ เชน การวดั ความเขมขน ของออกซเิ จนในเลอื ด การตรวจคลนื่ ไฟฟา หวั ใจ การตรวจหัวใจดว ยคล่ืนเสยี งความถ่สี ูง การตรวจเสมหะดกู ารตดิ เชอื้ การรกั ษาโรคปอดอุดก้ันเรอื้ รัง แพทยจะรักษาผปู วยตามอาการและแนะนําใหหลีกเล่ียงปจจยั ทีก่ ระตุนใหเกิดโรค เพ่ือปองกัน ภาวะแทรกซอนและชะลอความรุนแรงของโรค เพราะโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ไมสามารถรักษาใหหายขาดได แตควบคมุ อาการไมใ หแ ยล ง โดยการรกั ษาขึ้นอยูกับความรนุ แรงของโรคดว ย ดังนี้

217 การเลกิ สูบบหุ ร่ี การเกดิ โรคแตล ะรายจะมีสาเหตแุ ตกตางกนั ออกไป แพทยจะแนะนําใหผูปวย หยุดปจจัยที่กอใหเกิดโรค โดยเฉพาะการสูบบุหร่ี เพราะการสูบบุหรี่จะเรงการดําเนินโรคใหเร็วขึ้น เกิดภาวะ แทรกซอนไดงาย และมีอาการแยล งอยางรวดเรว็ การหลกี เล่ยี งมลพิษและสารเคมี มลพษิ และสารเคมีเปนอีกปจจัยที่กระตุนใหอาการของโรค แยล ง ผูปวยควรหลกี เลย่ี งการอยใู นพ้ืนที่ทีม่ มี ลพิษทางอากาศสงู หากมีความจําเปนควรสวมเครื่องปองกันเสมอ เพ่ือลดการสูดเอาสารอนั ตรายเขาสรู า งกาย และชะลอการกําเรบิ อยา งรุนแรงของโรค การใชย า แพทยจ ะใชยาหลายชนิดรักษารวมกันตามอาการและภาวะแทรกซอนของโรค โดย ยาที่ใชม ีอยหู ลายกลุม ดังนี้ ยาขยายหลอดลม เปนยาชว ยคลายกลามเนือ้ ทางเดินหายใจ เพื่อชวยใหหายใจงายข้ึน สวนใหญ เปนยาในรูปแบบสูดพนผานเคร่ืองมือสูดพนยา ทําใหผูปวยไดรับยาเขาสูปอดโดยตรงขณะหายใจ กลุมยาท่ี นิยมใชแบงออกเปน 2 กลมุ ไดแ ก ยาชนดิ ออกฤทธ์ิส้ัน สาํ หรบั รกั ษาผปู ว ยทมี่ ีอาการกําเรบิ เปน ระยะ เชน ยาไอปราโทรเปย ม ยาซัลบทู ามอล หรือยาซลั บูทามอลใชร วมกับยาไอปราโทรเปยม ยาชนดิ ออกฤทธิย์ าว ใชปองกันอาการเก่ยี วกับการหายใจทเ่ี กิดเปนประจํา เชน ยาไทโอโทรเปยม ยาฟอรโ มเทอรอล ยาซาลเมเทอรอล หรอื เปนยาผสมกัน 2 ชนดิ ขนึ้ ไป เชน ใชยากระตนุ ตัวรบั ชนดิ เบตา 2 รักษารวมกบั ยาคอรติโคสเตยี รอยด ยาคอรติโคสเตียรอยด มที งั้ ชนิดรบั ประทานและสดู พน โดยยาพน สเตยี รอยดมกั ใชร ักษา รวมกับยาขยายหลอดลมชนดิ ออกฤทธยิ์ าว ยาปฏิชวี นะ ใชในกรณที ีผ่ ปู ว ยติดเช้อื บรเิ วณทรวงอก เชน โรคหลอดลมอักเสบเฉียบพลนั โรคปอดบวม โรคไขห วัดใหญ เปน ตน อกี ทง้ั ยาชนดิ น้ียงั ปอ งกนั ภาวะแทรกซอ นและอาการของโรคไมใ หร ุนแรง มากกวา เดมิ ดว ย ยาชนดิ อ่ืน ๆ เชน ยาทโี อฟล ลีน อาจชว ยใหหายใจไดส ะดวกข้นึ และปองกนั การกาํ เริบของโรค การรักษาอ่นื ๆ เปน การรักษาผปู วยท่มี อี าการระดับปานกลางถึงรนุ แรง เชน 1) การฟน ฟูสมรรถภาพปอด เปน การรักษาที่มงุ เนนใหผปู ว ยมคี ุณภาพชวี ติ ดีขน้ึ ควบคมุ อาการไมใ หแยลง และใหผปู วยสามารถทาํ กิจวตั รประจาํ วันไดตามปกติ ผูปว ยจะไดเรยี นรูก ารปรบั ตัวอยางถกู วธิ ี เชน การออกกําลงั กายอยา งเหมาะสม การรบั ประทานอาหาร การรบั มอื กบั ความเปลี่ยนแปลงทางอารมณและ จิตใจ การดแู ลตนเองและอยูรว มกบั ครอบครวั เปน ตน 2) การบาํ บัดดว ยออกซเิ จน การบาํ บัดดว ยออกซิเจนจะชวยปรับปรุงคุณภาพชีวิตผูปวยใหดีข้ึน เพราะผปู วยทีม่ อี าการคอนขางรุนแรงมกั ไดรบั ออกซเิ จนไมเพียงพอจากเลือด ทาํ ใหต อ งไดรับออกซิเจนเขาสูปอด ผานเครื่องมือตาง ๆ ซึ่งอาจใชในชวงเวลาส้ัน ๆ เม่ือตองทํากิจกรรมใด ๆ หรืออาจใหออกซิเจนแบบระยะยาว โดยแพทยจ ะพจิ ารณาจากความรุนแรงของอาการ 3) การผาตัด หากรักษาดว ยยาหรอื วิธีอืน่ ไมไดผล ผูปว ยอาจตองเขารับการผาตดั โดยแพทยจ ะ พิจารณาความเหมาะสมและใชวิธนี ้ีเฉพาะบางกรณีเทานน้ั เพราะอาจเกิดผลขา งเคยี งมากกวาวธิ ีอื่น ซงึ่ การผา ตัด

218 มอี ยหู ลายประเภท เชน การผาตัดถงุ ลมขนาดใหญอ อก การผา ตดั เพ่ือลดขนาดปอด เพื่อชว ยใหกลามเนอื้ หายใจ กลบั มาทํางานไดอยา งมีประสทิ ธภิ าพ และการปลูกถา ยปอดสาํ หรบั ผูปว ยวกิ ฤต เพ่ือชว ยเพม่ิ ความสามารถใน การหายใจ การประเมินการรกั ษาจากความรุนแรงของโรค แพทยจ ะตรวจประเมินความรนุ แรงของโรค โดยแบงออกเปน 4 ระดับ ดังนี้ ระดับ 1 ไมรุนแรง ไมสามารถสังเกตอาการไดอยางชัดเจน เปนอาการท่ัวไปท่ีอาจเกิดไดจาก โรคอ่ืน ๆ แตจ ะคอ ย ๆ มอี าการรุนแรงขึ้น เชน ผูปว ยอาจเริม่ ไอเรื้อรังและมีเสมหะมาก การรักษาขั้นน้ีจะเริ่มใช ยาขยายหลอดลม ระดับ 2 ปานกลาง อาการของโรคเร่ิมสงั เกตเหน็ ได เชน ไอ มเี สมหะมาก หายใจลาํ บาก การรักษา อาจตองใชยาขยายหลอดลมชนิดออกฤทธยิ์ าว เพราะอาการคงอยนู านและไมหายไป ระดับ 3 รนุ แรง อาการของโรคเกดิ ข้ึนถม่ี ากข้นึ บางคร้ังอาจกําเริบฉับพลันและรุนแรงเปนระยะ ทาํ ใหผูปว ยทาํ กิจกรรมปกตไิ ดล าํ บาก แพทยม ักจะรักษาดวยการใชยาควบคูกับวธิ อี ืน่ ๆ ระดบั 4 รนุ แรงมาก อาการทเ่ี ปน อยูรุนแรงจนไมสามารถทาํ กจิ กรรมในชีวิตประจําวันได อาจ เกิดภาวะแทรกซอนตาง ๆ เชน การติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ หรือหัวใจเกิดความผิดปกติ และอาจมี อาการกําเรบิ จนเปน อนั ตรายถึงชวี ติ ซ่งึ แพทยจะพจิ ารณาวิธีการรกั ษาทเ่ี หมาะสมตามอาการตอไป ภาวะแทรกซอ นของ โรคปอดอุดกั้นเร้อื รงั อาการของโรคปอดอุดกัน้ เรือ้ รัง มักสง ผลใหการทาํ กจิ วตั รประจาํ วนั ยากลาํ บากขนึ้ เชน เดินไม สะดวก ข้นึ บนั ไดไมไ ด บางรายตองใชเ ครอื่ งชว ยหายใจซึง่ กระทบตอ การนอนหลบั หากอาการของโรครุนแรงมาก อาจทําใหผปู ว ยไมส ามารถชว ยเหลือตนเองได และอาจนาํ ไปสภู าวะแทรกซอนท่ีเกี่ยวของกับอวัยวะอ่ืน ๆ ได อกี หลายประการ เชน 1) ภาวะความดนั หลอดเลอื ดปอดสงู โรคปอดอดุ กนั้ เร้ือรัง อาจทาํ ใหค วามดนั หลอดเลือดทน่ี าํ เลอื ดไปสปู อดเพ่มิ สงู ขนึ้ 2) การติดเชือ้ ในระบบทางเดนิ หายใจ ผูปวยมแี นวโนม ทจ่ี ะเปน หวดั ไขหวัดใหญ โรคปอดบวม และโรคอ่นื ๆ ท่ีเกิดจากการตดิ เชือ้ ในระบบทางเดินหายใจ ทําใหผูปวยหายใจลําบากมากกวาเดิมและอาจมี เนอ้ื เย่อื ปอดทถี่ ูกทาํ ลายจนเสยี หายได 3) โรคหัวใจ ผูปวยมีโอกาสเกิดโรคหัวใจ กลามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน หรือหัวใจขางขวา ลมเหลว 4) โรคกระดูกพรุน ผูปวยอาจมภี าวะกระดูกพรุนไดง าย โดยเฉพาะผทู ่ีรบั ประทานยา คอรต โิ คสเตียรอยด 5) ภาวะโพรงเยื่อหุมปอดมีอากาศ หรือโรคปอดแตก เปนภาวะที่มีลมในชองเย่ือหุมปอด เน่ืองจากโครงสรา งของปอดถูกทําลายจนเสียหาย ทาํ ใหอากาศไหลเขาสชู อ งอก

219 6) มะเร็งปอด ผูปวย โรคปอดอุดก้ันเรื้อรัง มีโอกาสเกิดโรคมะเร็งปอดไดงายกวาคนทั่วไป เน่ืองจากมีปจจยั เส่ียงรวมกันหลายสาเหตุ โดยเฉพาะการสบู บุหร่ี 7) โรคซึมเศรา อาการของโรคอาจทําใหผปู ว ยไมสามารถทํากิจกรรมตา ง ๆ ไดตามปกติ จนทําให เกดิ ความรูสกึ เศรา หดหู และเกิดอารมณด า นลบอืน่ ๆ ที่กอใหเ กิดโรคซมึ เศราได การปองกัน โรคปอดอุดก้ันเรือ้ รัง การปอ งกนั โรคปอดอดุ ก้นั เรื้อรัง อาจทําไดเฉพาะบางสาเหตุ เพราะปจ จัยบางอยา งไมสามารถ เปลีย่ นแปลงได การทราบประวัตดิ า นสขุ ภาพของตนเองและครอบครัวจะชวยหลกี เลีย่ งปจ จยั กระตนุ และลด ความเส่ียงในการเกดิ โรคได รวมทงั้ การปรบั พฤตกิ รรมการใชช วี ติ ดงั น้ี 1) ไมส ูบบุหร่ี เลิกบหุ รี่ และหลกี เลย่ี งการรับควันบหุ รมี่ อื สอง บุหรห่ี รอื ยาสูบทุกชนดิ ลว น ประกอบดวยสารเคมที ี่เปน อนั ตรายตอ ระบบทางเดนิ หายใจ และเปน สาเหตุหลักของโรคนี้ การใชส ารเหลาน้ี เปนเวลานานจะเรง ใหเ กิดโรคขนึ้ มาได โดยเฉพาะผูทม่ี คี วามเสย่ี งเกดิ โรคนี้สงู เชน ผสู งู อายุ ผทู เ่ี ปนโรค พนั ธุกรรมจากการขาดโปรตนี อลั ฟา 1 หรือผทู เ่ี ปน โรคหืด 2) หลกี เลย่ี งมลพิษทางอากาศ การสดู ดมอากาศท่ปี นเปอ นสารเคมี ฝนุ ละออง หรอื สารใด ๆ ในปริมาณมากสามารถสรางความระคายเคืองแกร ะบบทางเดินหายใจและอาจกอ ปญ หาสขุ ภาพตามมาได จึงควรสวมอปุ กรณป อ งกนั หรือหลีกเล่ียงการอยูในสถานท่ีทมี่ มี ลพษิ ทางอากาศสูงเปนเวลานาน เรือ่ งท่ี 4 การปองกนั และควบคุมโรคไมต ดิ ตอ เรอื้ รงั ระดบั บคุ คล 1. การปองกนั โรคไมตดิ ตอ เร้ือรัง ระดบั บุคคล ตามหลัก 3 อ. (อาหาร ออกกาํ ลงั กาย อารมณ) 2 ส. (ไมสูบบหุ ร่ี และลดการดม่ื สรุ า) และ 1 ฟ. (สุขภาพชอ งปากและฟน) ดังรายละเอยี ดตอ ไปนี้ หลกั การปอ งกนั โรคไมต ดิ ตอเรื้อรงั ระดบั บุคลตามหลัก 3 อ. (อาหาร ออกกาํ ลังกาย อารมณ) ประกอบดวย อ 1 : อาหาร มีพฤตกิ รรมการรับประทานอาหารที่ถกู ตอ งตามหลกั โภชนาการ โดยใหไดร บั สารอาหาร 6 ชนดิ ท้ังคารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมนั วติ ามิน แรธาตุ และนาํ้ ในปริมาณทีเ่ พียงพอกับความตองการ ของรางกาย ทานอาหารครบ 5 หมู และทานใหหลากหลายชนิด ไมซ้ํา จําเจ และลดหวาน (น้ําตาลไมเกิน 6 ชอนชา/วนั ) มนั (ไขมนั นอยกวา 6 ชอ นชา) เคม็ (ทานโซเดียมนอยกวา 1 ชอนชา) เพ่ิมผัก ผลไม (ไมหวานจัด) สามารถปฏบิ ัติตนเพ่ือลดปจจยั เสยี่ งเกิดโรคไมติดตอเร้อื รงั ดงั น้ี 1) ฝก นิสัย “ชิมกอนเติม กนิ อาหารรสชาตพิ อดี” โดยไมว างเครอ่ื งปรงุ ตาง ๆ ไวบ นโตะ อาหาร 2) ปรุงอาหารดวยวธิ ีตม ตุน นึ่ง อบ ยํา และผัดท่ไี มมันมากกวาอาหารทอด หลีกเลย่ี งอาหารที่มี คอเลสเตอรอลสงู เชน เคร่ืองในสัตว สมองสัตว ปลาหมึก หอยตาง ๆ เปนตน ลดการใชน้ําปลา เกลือ และ เคร่อื งปรงุ รส โดยหนั มาใชเ คร่ืองเทศและสมุนไพรแทน 3) เลือกซือ้ ผกั ผลไมท ร่ี สไมห วาน และเนอ้ื สัตวไมตดิ มนั ที่สดใหมม าปรุงอาหารเอง

220 4) ควรอา นฉลากอาหารท่ีมกี ารแสดงขอมลู โภชนาการ ซ่ึงระบุชนิดและปริมาณสารอาหารของ อาหารนน้ั ในกรอบส่ีเหลี่ยมเรียกวา “กรอบขอมลู โภชนาการ” ซึง่ มีอยู 2 รปู แบบ ไดแก แบบเต็มและแบบยอ โดยมีวิธีการอา นฉลากโภชนาการ ดงั นี้ 4.1) ดูปรมิ าณหน่งึ หนว ยบรโิ ภค เปน ปริมาณการรบั ประทานตอคร้ังทีแ่ นะนาํ ใหผ บู ริโภค รับประทาน 4.2) ดจู ํานวนหนว ยบริโภคตอภาชนะบรรจุ เปน จาํ นวนที่บอกวาถา กนิ ครัง้ ละหนงึ่ หนว ย บรโิ ภคจะแบงกนิ ไดก่คี รง้ั 5) เพ่ิมปริมาณการรับประทานผักและผลไมท่ีรสไมหวาน ผักสด 3 - 5 ทัพพี/วัน หรือผักสุก 9 ชอ นโตะ /วัน ผลไมท่รี สไมหวาน ประมาณ 2 - 4 สวนตอ วัน เชน สม ฝรง่ั แอปเปล วันละ 2 - 4 ผล เปน ตน สิ่งทค่ี วรรู : อาหารท่มี เี กลอื โซเดยี ม ไดแ ก ขนมกรบุ กรอบ บะหมกี่ งึ่ สาํ เรจ็ รปู ผงชรู ส/เครือ่ งปรงุ รส ผงฟู ของหมกั ดอง ไขมันในอาหารประกอบดว ยกรดไขมนั 3 ชนิด ไดแ ก 1. กรดไขมนั อิม่ ตวั พบมากในไขมนั สตั ว หรือผลิตภัณฑส ัตว นํา้ มนั มะพราว กะทิ นา้ํ มันปาลมเคอเนล กรดไขมันชนดิ นม้ี ีผลในการเพ่ิมคอเลสเตอรอลรวม และ HDL ซง่ึ เรงการเกดิ โรคหัวใจ 2. กรดไขมันอม่ิ ตวั ตาํ แหนงเดยี ว ถอื เปน ไขมันดี มมี ากในถวั่ เหลอื งเมลด็ แหง น้ํามันมะกอก นํ้ามนั คาโนลา น้ํามนั ราํ ขาว น้ํามันปาลมโอเลอนิ ถั่วลิสง กรดไขมนั ชนิดนี้มีผลในการลดระดับคอเลสเตอรอล โดยไมลดระดับ HDL ซึ่งปองกันการเกิดโรคหัวใจได 3. กรดไขมนั ไมอ ิม่ ตวั หลายตาํ แหนง พบในน้าํ มนั ถ่วั เหลอื ง ขาวโพด ดอกคําฝอย เมล็ดดอกทานตะวัน เมล็ดฝาย เปนตน มผี ลในการลดระดบั คอเลสเตอรอล ในขณะเดียวกันก็ลดระดับ HDL ดวยนอกจากน้ียังพบ มากในอาหารทะเล เปนกรดไขมนั จําเปนทรี่ างกายสรา งเองไมไ ด ตองรับประทานจากอาหาร สําหรบั ไขมนั ทรานซ พบมากในเนยเทียม เนยขาว มารเจอรีน นํ้ามันที่ใชทอดมันฝร่ัง และขนมอบท่ีทํา จากมารเจอรีน ซ่ึงไขมันชนิดน้ีในธรรมชาติพบในผลิตภัณฑนม ขอมูลวิจัยพบวาไขมันชนิดน้ีทําใหเพิ่ม คอเลสเตอรอล และลด HDL ไดเชน เดียวกับไขมันอมิ่ ตวั การควบคมุ นา้ํ หนักของตนเอง ดวยการใชแบบจําลองอาหารหรือท่ีรูจักกัน คือ เมนู 2 : 1 : 1 โดยแบง จานอาหารออกเปน 4 สวนเทา ๆ กัน 2 สว นแรกเปนผักสดชนิดตาง ๆ หรือผักสุกมากกวา 2 ชนิดข้ึนไป อกี 1 สว น เปน ขา ว แปง ควรเลือกทไี่ มข ดั สี และสว นสดุ ทา ยเปน ประเภทโปรตีน เนนปลา เนือ้ สตั วไ มติดมัน อ 2 : ออกกําลงั กาย หรอื มีกจิ กรรมทางกาย มพี ฤตกิ รรมการออกกําลงั กายท่ีเหมาะสมกบั วัย โดยมีการออกกําลงั กาย 150 นาทตี อ สปั ดาห ลดมะเร็งได 80% ลดอวนลงพงุ 50 - 90% ดว ยวิธีงาย ๆ เชน แกวง แขน หรือเดินเรว็ วนั ละ 30 นาที ซึ่งเราสามารถปฏบิ ัตติ นไดดังน้ี 1) เพมิ่ การเคลื่อนไหวรางกายในชวี ิตประจาํ วัน เชน การข้นึ - ลงบนั ไดแทนการใชล ิฟต เปน ตน

221 2) การออกกําลงั กายเพ่อื ใหไ ดค วามแข็งแรงของหวั ใจและหลอดเลอื ด คือ การออกกาํ ลงั กายแบบ แอโรบกิ ระดบั ปานกลาง 150 นาทีตอสัปดาห หรอื อยา งนอย 30 นาทตี อวัน 5 วันตอสัปดาห เชน การเดิน การ วง่ิ การวง่ิ บนสายพาน การวา ยน้าํ การปนจักรยาน เปนตน 3) การออกกําลงั กายสาํ หรับลดความดนั โลหิตและคอเลสเตอรอล กิจกรรมการออกกําลงั กาย แบบแอโรบกิ ในระดับปานกลางถงึ หนกั อยางนอย 40 นาทีตอ ครัง้ ควรออกกาํ ลงั กาย 3 - 4 ครงั้ ตอ สัปดาห หมายเหตุ องคการอนามัยโลก (WHO) แนะนําวา ถาตองการมีสุขภาพที่ดี ปอ งกันโรคไมติดตอ ทง้ั หลายไดควร มี “กิจกรรมทางกาย” เปนเวลาอยา งนอ ย 150 นาทีตอสัปดาห หรือการใชกาํ ลงั กายอยา งหนกั เปนเวลาไมต่ํา กวา 75 นาทตี อ สัปดาห ซึ่งการใชก าํ ลงั กายน้ีสามารถนบั รวมจากการทาํ งาน การเดนิ ทาง และการใชก ําลงั กาย ในเวลาพักผอนเขาดวยกนั ตัวอยา งของความหนักของการออกกาํ ลังกายชนดิ ตาง ๆ กลมุ ที่ 1 การออกกาํ ลังกายระดบั เบา (ไมเ กิน 3.0 METs) 1) เดินไปเดินมาทบี่ าน หรือท่ที าํ งาน (2 METs) 2) ทาํ งานนงั่ โตะ ทาํ คอม (1.5 METs) 3) ยืนทาํ งาน เชน ปูเตียง ลางจาน รีดผา ปรุงอาหาร (2.0 - 2.5 METs) 4) เลนเครือ่ งดนตรี เลนบิลเลียด ปาเปา ขบั เรอื หางยาว นง่ั ตกปลา (2.0 - 2.5) กลุม ท่ี 2 การออกกําลงั กายระดบั หนกั ปานกลาง (3.0 – 6.0 METs) 1) เดินดว ยความเรว็ 4.8 กม. ตอชัว่ โมง (3.3 METs) 2) เดินเร็วมาก 6.4 กม. ตอ ชัว่ โมง (5.0 METs) 3) ขดั หนาตา ง ลา งรถ ถพู ้นื (3.0 - 3.5 METs) 4) ตดั หญาดว ยเครอื่ ง ขนฟน (5.5 METs) 5) เตนราํ บอลรูมจงั หวะชา (3 METs) จงั หวะเรว็ (4 METs) 6) ตีปง ปอง วอลเลยบ อล (4 METs) 7) ตกี อลฟ ลากถงุ เอง (4.3 METs) 8) เลน แบดมนิ ตัน เลนบาสเกต็ บอล (4.5 METs) 9) เลน เทนนสิ เขา คู (5.0 METs) 10) ปน จกั รยานบนถนนราบ 16 กม.ตอชวั่ โมง (6.0 METs) 11) วา ยนํ้าตามสบาย (6 METs) กลุมท่ี 3 การออกกําลงั กายระดบั หนกั มาก (> 6.0 METs) 1) เดนิ เรว็ ทส่ี ุด 7.2 กม.ตอชัว่ โมง (6.3 METs) 2) เดินปา ปนเขา ไมชนั มาก แบกเปห นกั 4.5 กก. (7.0 METs) 3) จอกก้งิ 8 กม.ตอชั่วโมง (8.0 METs)

222 กลุม ที่ 3 การออกกําลังกายระดบั หนกั มาก (> 6.0 METs) (ตอ ) 4) จอกกิ้ง 9.6 กม.ตอชว่ั โมง (10.0 METs) 5) วงิ่ มาราธอน 11.2 กม. ตอชัว่ โมง (11.5 METs) 6) ขนอฐิ (7.5 METs) 7) ทาํ งานในไร โยนหญา ขุดดนิ (8.0-8.5 METs) 8) แขงบาสเกต็ บอล (8.0 METs) 9) ปนจักรยานเร็วบนพนื้ ราบ 19.2 กม.ตอชว่ั โมง (8 METs) 10) เลน เทนนสิ เดยี่ ว แขง วอลเลยบอล (8.0 METs) 11) เตะฟุตบอล (10.0 METs) 12) วา ยนํา้ แบบเร็วปานกลางถงึ เรว็ มาก (8 - 11 METs) หมายเหตุ MET เปนหนว ยนับความหนกั ของการออกกาํ ลงั กาย เมือ่ เอาคา METs ตามความหนักของการออก กําลงั กาย คูณดว ยความยาวนานเปน นาทีท่ใี ชในการออกกําลังกายแตละครั้ง แลวคูณดวยความถ่ีของจํานวนครั้ง ในสปั ดาห คา ทไ่ี ดเ รยี กวา MET-min/week ซึ่งเปนตวั บอกจาํ นวนพลงั งานทัง้ หมดท่ีใชไ ปในการออกกําลังกาย ตอสปั ดาห ซง่ึ ถอื เปน ขนาด หรอื dose ของการออกกําลังกาย ซง่ึ ตามมาตรฐานการออกกําลังกายซึ่งแนะนําโดย วิทยาลัยแพทยเวชศาสตรการกีฬาอเมริกัน (American College of Sport Medicine หรือ ACSM) และ สมาคมแพทยโรคหัวใจอเมริกัน (American Heart Association หรือ AHA) ทุกคนควรออกกําลังกายใหได 450 – 750 MET-min/week เปนอยา งตํา่ อ 3 : อารมณ มีพัฒนาการดานอารมณที่เหมาะสม ปรับตัวอยูในสังคมไดอยางปกติสุข โดยตอง พักผอ นใหเพียงพอ และรูจ ักผอนคลายอารมณเครียด สญั ญาณเตอื นวามีความเครยี ด ไดแ ก 1) ความผดิ ปกติทางรา งกาย ไดแ ก ปวดศีรษะ ทองเสยี หรอื ทอ งผกู นอนไมหลับ เบื่ออาหาร ปวดเม่ือยกลามเน้ือ ประจาํ เดอื นมาไมปกติ ถอนหายใจบอย ๆ ผวิ หนงั เปน ผน่ื คนั เปนหวัดบอ ย ๆ เปนตน 2) ความผดิ ปกตทิ างจิตใจ ไดแก วติ กกังวล คดิ มาก ฟงุ ซา น หลงลืมงาย ใจนอ ย ซมึ เศรา สิ้นหวงั 3) ความผดิ ปกติทางพฤติกรรม ไดแก จูจี้ขี้บน ทะเลาะวิวาทกับคนใกลชิด ไมพูดจากับใคร สูบบุหรี่ ดมื่ สรุ า ใชส ารเสพตดิ ใชยานอนหลบั วิธจี ัดการความเครยี ด 1) หยดุ พกั การทาํ งาน หรือกจิ กรรมท่ีกาํ ลงั ทําอยูช่วั คราว เชน ลุกเดนิ สะบดั แขน ขา 2) ทํางานอดิเรกทส่ี นใจหรอื ถนัดและช่ืนชอบ 3) เลนกฬี า หรอื ออกกําลงั กาย 4) พบปะสังสรรคก บั เพอ่ื นท่ไี วว างใจ 5) พักผอนใหเ พยี งพอ 6) เปลีย่ นบรรยากาศชว่ั คราว

223 7) หาเพอ่ื นสนิท และไวใ จไดเพื่อพูดคุย ระบายความไมส บายใจหรอื ความเครียด 8) หายใจเขา ออกลกึ ๆ ชา ๆ หลายคร้ัง 9) ทาํ สมาธิ และประกอบพธิ ที างศาสนา 10) ตอ งไดรบั คาํ ปรกึ ษาจากบคุ ลากรทางสาธารณสขุ เพอ่ื หาสาเหตุทแ่ี ทจ รงิ และหาแนวทาง การแกปญ หาท่ีเหมาะสม หลกั การปองกันโรคไมตดิ ตอ เรื้อรังระดับบุคคลตามหลกั 2 ส. (สูบบหุ รี่ สรุ า) ประกอบดว ย ส 1 : สูบบุหรแี่ ละผลิตภณั ฑยาสูบ ไมสูบบหุ รแ่ี ละหลกี เลี่ยงจากผูท ส่ี ูบบุหร่ี ถาลดบหุ รีไ่ ด จะทํา ใหล ดปจ จยั เส่ียง โรคหลอดลมอุดกนั้ เร้ือรงั 70 - 80% เคลด็ ลบั การลด ละ เลกิ บหุ รี่ มีดังนี้ 1) ตง้ั ใจจรงิ ทจ่ี ะเลกิ บุหรี่ 2) ตง้ั เปา วาจะเลกิ เพอ่ื ใคร เพราะอะไร 3) เลอื กวันทจ่ี ะเลกิ สบู บหุ ร่ี 4) ท้งิ อุปกรณทเ่ี ก่ียวขอ งกบั การสบู บหุ ร่ใี หหมด เชน บหุ รี่ และไฟแช็ค 5) ตงั้ สตใิ หมั่น เขมแขง็ เม่ือมอี าการหงดุ หงิด 6) ตดั ความเคยชนิ หรอื กิจกรรมวา งทมี่ กั จะทํารวมกับการสบู บุหรี่ 7) คุมอาหารดว ยการเลอื กรบั ประทานอาหารจาํ พวกผลไมใ หมากกวาเดมิ 8) หาที่พึ่งทางใจ กาํ ลังใจจากคนรอบขาง หรือใหรางวลั ตนเองเมอ่ื สามารถทาํ ได 9) เตอื นตนเองอยูเสมอวา “คุณไมส บู บหุ ร่ีแลว” 10) โทรขอคําปรกึ ษา สายดวนเลกิ บหุ รี่ โทร 1600 ส 2 : สุรา ถา ไมด่ืมแอลกอฮอล จะลดความเสี่ยงการเกิดโรคมะเร็ง โรคหลอดเลือดสมองและ หวั ใจ เราสามารถหลกี เล่ียงการดมื่ แอลกอฮอล หรอื จาํ กดั ปริมาณแอลกอฮอลท ดี่ ม่ื โดยมเี คลด็ ลับการลด ละ เลิก สรุ า ดังน้ี 1) ตง้ั ใจจริงทีจ่ ะเลกิ สรุ า 2) ตั้งใจวา จะเลิกเพื่อใคร เพราะอะไร 3) ลดปริมาณการดม่ื ทลี ะนอ ย โดยต้งั เปา ลดการดม่ื ลงใหน อยลง 4) เลือกวันท่จี ะลดหรือเลิกสรุ า 5) หลีกเลีย่ งจากสถานทท่ี เี่ คยดืม่ และเพ่อื น ๆ ทร่ี วมดม่ื 6) ทํากิจกรรมเพอ่ื สขุ ภาพ เชน ออกกําลงั กาย เลนกฬี า หรือดนตรี 7) โทรขอคาํ ปรกึ ษาสายดวนเลิกเหลา โทร 1413

224 หลักการปอ งกันโรคไมต ิดตอเรอ้ื รงั ระดบั บุคคลตามหลัก 1 ฟ. (สุขภาพชอ งปากและฟน ) มรี ายละเอยี ดดงั นี้ แปรงฟน ตามสูตร 2 – 2 - 2 คือ แปรงฟน วันละ 2 คร้งั ดว ยยาสีฟน ผสมฟลูออไรด โดยเนน ชวงกอนนอน แปรงฟนนานอยา งนอย 2 นาที ใหสะอาดทว่ั ทั้งปาก ทุกซ่ี ทุกดาน และไมกินขนม หรืออาหาร หวานหลังแปรงฟน 2 ชั่วโมง เพอื่ ชว ยเพม่ิ ประสิทธิภาพการทําความสะอาดไดมากกวา ท่ีมา: http://203.157.123.7/dental/wp-content/uploads/2018/04/แปรงฟน-222.jpg 2. การปองกันควบคมุ โรคไมต ิดตอเร้อื รงั ระดบั ชุมชน การดําเนนิ งานลดปญ หาโรคไมติดตอภายในชุมชน ประกอบดวย การรวมกลยุทธยอยตาง ๆ ใน ชุมชนท่ีไปลดปจจัยเส่ียง/ปจจัยกําหนด และมีการจัดบริการท่ีจะเขาถึงกลุมเสี่ยงสูง ไดแก นโยบายภายใน ชุมชน การคัดกรองในการขับเคลื่อนการลดปจจัยเส่ียงหลัก ๆ ในชุมชน มุงเนนการลดปจจัยเสี่ยง หรือ พฤตกิ รรมเสยี่ งทปี่ รบั เปลี่ยนไดเ ปน กุญแจสาํ คัญ และเกิดพฤตกิ รรมเชิงบวกในชุมชน พฤติกรรมที่สัมพันธกับ ความเส่ยี งนนั้ ฝง รากอยูในชมุ ชน มีมตขิ องสงั คม วัฒนธรรม ส่ิงแวดลอมทางกายภาพของชมุ ชนเอง ฉะนัน้ การท่ี จะขบั เคลอื่ นการลดปจจัยเสี่ยงหลกั ๆ ในชมุ ชนใหประสบผลสําเร็จจึงจําเปนที่จะตองมีการคนหา เพ่ือแสดงถึง ผลที่เกดิ ขน้ึ จากมิติของการมองชุมชนเปน เปาหมาย มีการบรู ณาการการปอ งกันควบคุมโรคในการทํางานรวมกัน ของชุมชน เพอื่ การเปล่ยี นแปลงชุมชนใหม ีพฤติกรรมสุขภาพทางบวกในการลดเส่ียงลดโรค

225 2.1 แนวคิดการสรา งเสรมิ สขุ ภาพ การควบคุมปจจัยและวิถีชีวิตท่ีสงผลตอสุขภาพ เปนกลยุทธหน่ึงในการปองกัน รักษา และ ฟน ฟูโรค ซ่งึ ตองทําครอบคลมุ สุขภาพทั้ง 4 คอื รางกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ดว ยวธิ กี ารที่ถกู ตอ งและ เหมาะสมตอ สภาพรางกายของแตล ะคน อาทิ การออกกําลังกาย โภชนาการ และพฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพ การไมสูบบุหร่ี การไมด่ืมสุรา/เคร่ืองดื่มท่ีมีแอลกอฮอล การเฝาระวังสุขภาพ โดยใชกลยุทธการสรางเสริม สุขภาพ ซง่ึ เปนกระบวนการเคลอ่ื นไหวทางสงั คมโดยความรว มมอื ของทุกภาคสวนและความเขมแข็งของชมุ ชน เพ่อื ใหประชาชนมสี ขุ ภาวะทดี่ ขี ึ้น ทง้ั กลุมคนปกติ กลุมเสี่ยง กลุมท่ีเจ็บปวย และกลุมที่พิการ โดยมุงพัฒนา ปจจัยกําหนดสุขภาพทุกดานใหเอ้ือตอการพัฒนาสุขภาพของประชาชนตามกฎบัตรออตตาวา (Ottawa Charter) ป พ.ศ. 2529 ซึ่งไดใหคํานิยาม การสรางเสริมสุขภาพ คือ “กระบวนการที่ชวยใหผูคนสามารถ ควบคมุ และเพ่มิ พนู สุขภาพใหกบั ตนได” โดยใช 5 กลยทุ ธ ไดแ ก 1) การสรางนโยบายสาธารณะเพอ่ื สุขภาพ 2) การสรางสรรคส งิ่ แวดลอมทเี่ ออ้ื ตอ สุขภาพ 3) การเสรมิ สรางการดาํ เนินการในชมุ ชนทีเ่ ขม แขง็ 4) การพัฒนาทักษะสว นบคุ คล 5) การปรับเปลยี่ นระบบบรกิ ารสขุ ภาพ การดาํ เนนิ เพอ่ื ลดปญหาโรคไมติดตอเร้ือรังในชุมชนตามกลยุทธตาง ๆ เพ่ือลดปจจัยเส่ียงและ ปจ จัยกาํ หนดในชุมชน การจดั บริการท่ีจะเขา ถึงกลุมท่มี คี วามเสีย่ ง การขบั เคล่อื นนโยบายของชมุ ชน การคัดกรอง การขับเคลือ่ นเพือ่ ลดปจจยั เสย่ี งหลกั ๆ ในชุมชน มุง เนน ลดปจจัยเส่ยี งท่ปี รับเปลย่ี นไดเ ปนกุญแจสําคญั ในการ ลดปญ หาโรคไมตดิ ตอเรอื้ รัง และเนื่องจากพฤติกรรมมกี ารเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา (เปนพลวัตร) จึงจําเปนที่ ตอ งสงเสรมิ พฤตกิ รรมเชิงบวกในชมุ ชน ในขณะทีพ่ ฤตกิ รรมทส่ี ัมพันธกับความเสี่ยงนั้นฝงรากอยใู นชุมชนในมติ ิ ของสังคม วัฒนธรรม ส่งิ แวดลอมทางกายภาพของชุมชนเอง เพ่ือใหการดําเนินงานประสบผลสําเร็จ จึงจําเปน ตองมกี ารคน หาขอเท็จจริงเพอ่ื แสดงถงึ ผลทเ่ี กิดข้ึนจากมิติของการมองชุมชนเปนเปาหมาย มีการบูรณาการ สง เสริมสขุ ภาพ ปอ งกนั ควบคุมโรค การบําบัดและการฟน ฟูโรค ทาํ งานรว มกนั เพือ่ การเปล่ยี นแปลงชมุ ชนให มีพฤติกรรมสุขภาพทางบวกในการลดเส่ยี ง ลดโรคโดยแปลงจากสิง่ ที่ยากเปน สิ่งท่ีงา ย เปนภาษาของชมุ ชนเอง สามารถเขาใจและปฏิบัติไดอยางสอดคลองกับชุมชน ซ่ึงสอดคลองกับพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช รชั กาลที่ 9 ทีว่ า “เขาใจ เขา ถึง และพฒั นา” 2.2 ชุมชนและการมสี วนรวมของชมุ ชน ชุมชน หมายถึง หมบู าน กลมุ คนทอ่ี ยรู วมกันเปน สงั คมขนาดเล็กหรือขนาดใหญก็ได ที่อาศัยอยู ในอาณาบริเวณเดียวกันและมีผลประโยชนรว มกนั เชน หมูบ าน ตําบล อําเภอ จังหวัด เทศบาล สถานศึกษา สถานท่ีทาํ งาน สถานประกอบการ โรงเรยี น วัด ตลาด เปน ตน การดําเนินงานในการแกปญหาสาธารณสุขรวมกับชุมชน จําเปนตองมีการดําเนินงานอยาง เปนระบบ ดงั น้ี

226 1) การเตรยี มการ บุคลากรดานสาธารณสุขตองประสานความรวมมือกับบุคคล ครอบครัว ชุมชนและอนามัย สง่ิ แวดลอ ม ในการปอ งกันควบคุมโรค การเตรียมการทส่ี ําคญั เบ้ืองตน คอื 1.1 การปรับทัศนคติ วิธีคิด และแบบแผนการปฏิบัติการใหบริการจากรักษาสูการปองกัน ควบคมุ โรค และรูเทา ทันกับการเปลยี่ นแปลงของสถานการณสง่ิ แวดลอม 1.2 ตอ งเรียนรู เขาใจและยอมรับวา มคี วามคดิ ความเชือ่ คานยิ มของแตละสังคม/ชุมชน ซ่ึง มผี ลตอ การกาํ หนดแบบแผนพฤตกิ รรมการดาํ รงชวี ิตของประชากรในชมุ ชนน้นั ๆ และมีผลตอบสนองตอ ความ ตอ งการดา นจติ ใจ อารมณ และสังคม แมวาจะไมสามารถอธิบายเหตุผลในเชิงวิทยาศาสตรได การแกปญหา ตามแนวทางที่เจาหนาที่กําหนดและคิดวาเหมาะสมท่ีสุดแบบบนลงลาง อาจไมสอดคลองกับความจริงของ สังคม จงึ ควรเรยี นรเู พ่ือเขาใจกระแสสงั คมและแปลงใหเกดิ เปนพลังสังคมอนั จะนําไปสูเปาหมายที่เราวาดฝน ไวรว มกนั การศึกษาภมู ปิ ญ ญาประชาชนและภูมปิ ญ ญาทองถน่ิ (ทุนทางสังคม) จงึ เปนจุดเรม่ิ ตน ทสี่ ําคญั ในการ พัฒนาเพอื่ ยกระดบั ศกั ยภาพของชุมชนใหสามารถพง่ึ พาตนเองไดส ูการพัฒนาทย่ี ัง่ ยนื 1.3 เขาใจและรับรปู ญ หาชุมชน ปญหาชุมชนในมุมมองของเจาหนาที่สาธารณสุขกับชุมชน อาจจะไมเปนประเดน็ เดยี วกัน เจาหนาท่ีตองใหความสําคัญประเด็นดานความสํานึกดานสุขภาพในการรับรู เก่ียวกับสขุ ภาพและความเจ็บปว ย ความคิด ความเชื่อของชมุ ชน การรับรูตอผลกระทบที่เกดิ ขึน้ ในระดบั บคุ คล ครอบครัวและชมุ ชน ปฏิกิริยาของชมุ ชนทส่ี นองตอบตอการเกิดสภาวการณดานส่ิงแวดลอมท้ังทางกายภาพ และสังคมทจี่ ะมีผลตอสขุ ภาพ และความเจบ็ ปวยของสมาชกิ ในชมุ ชน 1.4 การพัฒนาความเปนผนู ําและการสรา งเครือขาย เพื่อการพัฒนาสาธารณสุขในระดับชุมชน โดยปรับกระแสแนวคิดใหตรงกนั นาํ ไปสกู ารกาํ หนดเปาประสงครวมกนั และเกิดการระดมพลงั ชุมชน ท้ังดาน ทรัพยากรมนุษยและทรพั ยากรอนื่ ๆ ในชมุ ชน เพื่อการพฒั นารว มกนั อยางตอเน่ือง เกิดเครอื ขา ยชมุ ชนสาธารณสขุ ซ่งึ ระบบบรกิ ารสนบั สนนุ สาธารณสุขจะตองสอดประสานกบั กระบวนการแกไขปญหาชุมชน มุงสูทิศทางท่ีจะ เอ้ือใหชุมชนพึ่งพาตนเองได โดยอาศัยพลังชุมชนอันเกิดจากกระบวนการเรียนรูรวมกันระหวางเจาหนาที่ สาธารณสขุ องคกรชมุ ชน ประชาชนและสาขาอืน่ ๆ ทเี่ กย่ี วของ 1.5 การศกึ ษาชมุ ชน การรวบรวมขอมลู ของชุมชนภาพรวมแบบมสี วนรว มเพื่อสืบคนขอมูลท่ี สําคัญ เพ่อื ใหรแู ละเขาใจชมุ ชน ทั้งในตัวของเนื้อหาและบริบท นาํ ไปสูก ารพัฒนาตอ ไป เคร่ืองมือศึกษาชุมชน เชน เคร่อื งมือ 7 อยา ง ประกอบดว ย แผนท่เี ดนิ ดิน ผงั เครือญาติ โครงสรางองคกรชุมชน/เครือขายองคกรใน ชุมชน ระบบสุขภาพชมุ ชน ปฏทิ นิ ชมุ ชน ประวัติศาสตรช ุมชน และประวตั ิชีวิตบุคคลทีน่ าสนใจ และอืน่ ๆ 1.6 การส่อื สารความเสย่ี ง เปน กลวธิ ใี นการเผยแพรแ ละกระจายขอมูลทถี่ กู ตอ งและเหมาะสม กับเหตุการณทําใหผูเก่ียวของท้ังผูประเมินความเส่ียงและผูจัดการความเสี่ยง รวมถึงผูมีสวนรวมอื่น ๆ ทั้ง ทางตรงและทางออ ม มีความเขาใจในทางเดียวกนั กับสง่ิ คุกคาม การเกิดผลกระทบในเชิงลบ ความเส่ียงและ โอกาสของการเกดิ เปนหนาท่ีของนกั วชิ าการหรอื ผเู ชยี่ วชาญในการสรา งขอมูลทจี่ ะใชในการสอ่ื สารเรอื่ งตา ง ๆ กบั ประชาชนท่ัวไปไดอยา งมปี ระสิทธิภาพ

227 2) การวางแผนและดําเนนิ งานรว มกบั ชมุ ชนในการแกป ญหาสาธารณสขุ การวางแผนการดําเนินการ จําเปนตองเขาใจกระบวนการวางแผนงาน มีความรูพ้ืนฐานท่ี เกย่ี วขอ งกับปญหา สาเหตหุ ลักของปญ หาและปจจยั ทเ่ี กย่ี วขอ ง ระบบบริการสาธารณสุขและระบบบริการอ่ืน ที่เก่ียวขอ ง เชน ระบบการศกึ ษา การเกษตร การปกครองทอ งถ่ิน ระบบโครงสรางและสังคม วัฒนธรรมของ ชุมชน และองคประกอบการวางแผนและการดําเนินงาน ดังน้ี 2.1 ชุมชนแตงต้ังคณะทาํ งาน โดยการมีสวนรว มของทกุ ภาคสว นประกอบดว ย เจา หนาที่จาก หนวยงานภาครัฐในพ้ืนที่รับผิดชอบ ภาคเอกชนและภาคประชาชน โดยมีขอตกลงรวมกัน และทําหนาท่ี รบั ผดิ ชอบตอ การจัดทําแผนการดาํ เนนิ งาน 2.2 การประเมนิ และวเิ คราะหช มุ ชนที่เกย่ี วของกับปญ หาสุขภาพ การรวบรวมและวิเคราะหตาง ๆ ไดแก นโยบายดานสาธารณสุข ขอมูลแผนงานสาธารณสุข ขอมูลเก่ยี วกับปญ หาสาธารณสุขและสถานการณของการดําเนนิ งานปจจุบัน เชน ขอมูลประชากร/ระบาดวิทยา ดา นสถานะสุขภาพ ขอมูลเก่ียวกับปญหาพฤติกรรมสุขภาพท่ีเปนสาเหตุสําคัญของปญหาการดําเนินงานใน พ้นื ที่ ขอ มลู ทางสังคม เศรษฐกจิ วัฒนธรรม ประเพณี และทรัพยากรในทองถน่ิ เจาหนาที่สาธารณสุขและตัวแทนประชาชนรวมกันสํารวจชุมชน ขอมูลอาจไดจาก เครื่องมือศึกษาชุมชน รายงานของสถานบริการสาธารณสุข (การคัดกรองโรค ปจจัยเส่ียง พฤติกรรมเสี่ยง สิง่ แวดลอ มเสยี่ ง ภาวะแทรกซอน) ทําใหเห็นภาพรวมของชุมชน เขาใจปญหาและสถานการณที่เปนอยูจริง หรอื ปจจัยท่เี กี่ยวของกนั ท้งั หมด แลว จึงนํามาประเมินและวิเคราะหชุมชนท่ีเก่ยี วขอ งกับโรคไมติดตอเร้ือรัง 2.3 การจดั ทาํ แผนชมุ ชนรว มกันในเวทีชมุ ชน การจัดทําแผนชุมชนรวมกันในเวทีชุมชน โดยนําผลการประเมินและวิเคราะหชุมชนที่ เกยี่ วขอ งกบั ปญหาสขุ ภาพ เชน การปว ย ตาย โรคภาวะแทรกซอ น ปจ จยั เส่ียง พฤติกรรมเส่ียง ส่ิงแวดลอมเสี่ยง ใหป ระชาชนรบั ทราบ และนาํ มาจัดลําดับความสําคัญของปญหา ซ่ึงพิจารณาจากขนาดปญหา ความรุนแรง ความยากงายในการแกปญหา ความตระหนักในปญหาของชุมชนที่ไมจํากัดเฉพาะดา นเศรษฐกิจเรื่องปากทอง ยังเกี่ยวเนอ่ื งทง้ั ดา นสังคม สิง่ แวดลอ ม และวฒั นธรรม 2.4 การกําหนดกลวิธี/แนวทางการดาํ เนินงาน เปน การกําหนดรายละเอยี ดกิจกรรมการดําเนินงานตามแผนและลงมือทําตามบทบาท หนา ท่ขี องแตละกลมุ องคกรรว มกับหนว ยงานภาครัฐท้ังทีมสนับสนุนและทีมองคการบริหารสวนทองถ่ินวามี บทบาทอยางไรโดยชุมชนตองมีการแบงกลุมรับผิดชอบงาน ตามความถนัดในแตละประเภทของกิจกรรม มีหลากหลายวิธีการท่ีนําไปสูการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ เชน การรณรงค การสอน การฝกทักษะ การสาธติ การอบรม การอภิปราย การแลกเปล่ียนความคดิ เห็นเปน กลมุ การใชบุคคลตน แบบ การฝก ปฏิบตั ิ 2.5 กํากบั ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการดาํ เนนิ งาน เปนการกาํ กบั ติดตามประเมินผลหรือการถอดบทเรยี นระหวางการดําเนินงานและเมื่อ ส้นิ สดุ การดาํ เนินงาน การประเมินผลหรือการถอดบทเรยี นระหวางการดําเนนิ งานและเม่อื สิ้นสุดการดาํ เนนิ งาน การประเมนิ ผลหรอื การถอดบทเรียนระหวางการดําเนินงานซ่ึงเปนการประเมินในระดับข้ันตอนกระบวนการ

228 เพ่ือใหทราบความกาวหนาและสามารถปรับทิศทางการดําเนินงานไดทันเวลา ไมตองรอจนเสร็จส้ิน และ การประเมินผลหรือถอดบทเรียนเม่ือส้ินสุดการดําเนินงาน เปนการประเมินเม่ือส้ินสุดแผนดําเนินงานหรือ ระยะสน้ิ สุดโครงการเปนการประเมินผลผลิตและผลลัพธ สงิ่ สําคัญจากการประเมนิ คือ พยายามช้ีใหเห็นส่ิงที่ ชุมชนไดร บั มสี วนรวมในการรับผลประโยชน หรือรับผลกระทบ เพ่ือเปนการสรางความภาคภูมิใจและการมี สวนรวมอยางครบวงจร 3) การสรางกระบวนการมสี วนรว มของชมุ ชน กระบวนการแกปญหาสาธารณสขุ ในชุมชน ตอ งตอบสนองตอปญหาและความจําเปนที่แปรผัน ไปตามลกั ษณะบริบทของชุมชน ส่ิงแวดลอม และทรัพยากรในแตละพ้ืนที่ โดยตองอาศัยการมีสวนรวมของ ประชาชนในการพฒั นา เปน กระบวนการทเ่ี ชื่อมโยงระหวา งภาครฐั และภาคเี ครอื ขายอื่น ๆ นอกภาครัฐ เชน ธุรกิจเอกชน ประชาชน ชุมชน และองคกรตา ง ๆ ใหไ ดม โี อกาสเขามามสี ว นรวมในการคิด ตัดสินใจ และรวมแรง รว มใจในการพัฒนา เพราะ “การพฒั นาท่ที รงพลงั และยง่ั ยืนในสังคมประชาธปิ ไตย เกิดจากการพฒั นาที่ผเู ก่ยี วของ ทุกภาคสว น ไดร ว มคิด รวมตดั สนิ ใจ รวมแรงรวมใจในการดาํ เนนิ การและรว มรบั ประโยชนจ ากการพฒั นา” ดงั น้นั กระบวนการมีสว นรวมของชมุ ชน สรปุ ได 5 ขน้ั ตอน ดังนี้ ขัน้ ตอนที่ 1 การมสี วนรว มในกระบวนการวเิ คราะหชมุ ชน เพ่อื ทําการคนหาปญ หา หาสาเหตุ ของชุมชน ใหป ระชาชนไดสบื คน สํารวจจุดบกพรอง วิเคราะหสภาพท่แี ทจรงิ ของชุมชน พรอมทั้งรวมตัดสินใจวา จะเร่ิมทาํ อะไร จะแกไ ขปญหาอะไร ขั้นตอนที่ 2 การมีสว นรวมในกระบวนการวางแผนดาํ เนนิ การใหภ าคเี ครอื ขายและประชาชน มีสว นรว มในการคดิ คนหาวธิ กี ารหรอื แนวทางเพ่ือการแกไขปญหาที่ไดมาซ่ึงกระบวนการทางประชาธิปไตย สามารถปฏบิ ตั ไิ ดจริงและเหมาะสมกับชุมชนนนั้ ๆ ขน้ั ตอนท่ี 3 การมสี ว นรว มในกระบวนการดาํ เนินงาน ชุมชน และประชาชนใชศักยภาพของ ตนเองในการบริหารจัดการชมุ ชน จดั การทรพั ยากรและเกดิ การประสานกนั ระหวา งชมุ ชนกบั องคกรตาง ๆ ที่ เขามาชว ยเหลือ ขัน้ ตอนที่ 4 การมสี วนรว มในกระบวนการประเมินผลการดําเนินงาน ชุมชนและประชาชน มสี ว นรว มในการตรวจสอบผลงานทไ่ี ดทาํ ไปวาบรรลวุ ตั ถุประสงคท ่กี ําหนดไวหรือไม หากกิจกรรมที่ทําไปเกิด ประโยชนตอ ชมุ ชน ชุมชนเกดิ การพฒั นา และเปนข้นั ตอนท่ีจะตดั สินใจวาจะเดินไปขางหนาหรือหยุด เพื่อการ ทบทวนและปรบั ปรงุ วธิ กี ารดําเนินงานใหม ขน้ั ตอนท่ี 5 การมีสวนรวมในการรับผลประโยชน ประชาชนจะไดรับผลตอบแทนจากการ เขารว มในกจิ กรรมทางดานจิตใจ เกดิ ความภาคภูมิใจทเี่ ห็นชมุ ชนเกดิ การพฒั นา ถึงแมวา กระบวนการมีสวนรว มจะเปน ตวั กําหนดกิจกรรมการดําเนนิ งานของชุมชน แตใ นทาง ปฏิบัติแลวทุกคนในชมุ ชนไมส ามารถเขามามีสวนรว มได การเขามามีสวนรวมในการพัฒนาจึงเปนไปไดหลาย ลักษณะ ซึง่ ก็แลว แตจ ังหวะหรอื โอกาสทีส่ ามารถจะเขา รว มได เชน รวมใชแรงงาน รวมใหขอคิด รวมออกเงิน ทรัพยากร การชักชวนเพ่อื นบา น รวมสมั ภาษณ รวมรับผดิ ชอบและดําเนนิ กจิ กรรม ฯลฯ

229 2.3 มาตรการและแนวทางปฏิบตั ิทางสังคมของชมุ ชน โรคไมตดิ ตอ เรือ้ รงั มีสาเหตุหลายปจ จยั การปองกนั ควบคุมโรคจงึ เนน การบรู ณาการนโยบาย/ มาตรการ/แนวทางการปองกันควบคมุ โรคไมต ดิ ตอ เร้ือรัง ในการดําเนินงาน ทุกกลุมเปาหมายของประชากร และการจัดการตนเอง โดยจัดต้ังเปน ชมรมตา ง ๆ เพอื่ ดําเนินการในการสงเสรมิ สุขภาพ เชน ชมรมออกกําลังกาย ชมรมผสู ูงอายุ ชมรมรานคา เปน ตน ตัวอยางมาตรการชุมชน ลดเสีย่ ง ลดโรคไมต ดิ ตอเรอ้ื รงั จากชมุ ชนตา ง ๆ ดังน้ี 1. เทศบาลเมอื งอางทอง จงั หวดั อา งทอง มนี โยบายชุมชนลดเสี่ยงลดโรค ชุมชนทรพั ยส ิน เพอื่ สงเสรมิ ใหป ระชาชนในชมุ ชนปฏบิ ตั ิตามหลกั 3 อ 2 ส ประกอบดวย 1) ออกกาํ ลงั กายครงั้ ละอยางนอย 30 นาที สปั ดาหละ 3 วนั 2) ลดการบริโภคอาหารหวานมันเคม็ เพมิ่ ผกั 3) อารมณแจมใส สะกดใจไมใ หบ รโิ ภคเกนิ 4) ลดละ เลิกสุรา ลดเหลาทกุ วันพระ 5) ลดละ เลกิ ยาสบู บหุ รี่ 2. เทศบาลตาํ บลทาแค จงั หวัดพัทลุง ไดร วมกนั จัดทํามาตรการหมบู าน เพอื่ สง เสริมให ประชาชนในชุมชนปฏบิ ัติตาม ประกอบดวย 1) ปลกู ผกั ปลอดสารพิษ ผักสวนครัว ทกุ ครัวเรอื น 2) กนิ ผักและผลไมส ด อยา งนอยวนั ละคร่งึ กโิ ลกรัมตอคนตอ วัน ทกุ วนั 3) มแี ปลงผกั รวมของหมบู าน 4) ออกกําลงั กายอยา งนอ ย 3 – 5 วัน/สปั ดาห และอยา งนอ ยวนั ละ 30 นาที 3. เทศบาลเมืองนาน จังหวัดนาน ไดรวมกันจัดทํามาตรการชุมชนลดเค็มชุมชนบานน้ําลอม มดี งั น้ี 1) การปรุงอาหารในงานตาง ๆ ในชุมชน เชน งานขน้ึ บานใหม งานบวช งานแตงงาน และ งานบําเพ็ญกศุ ลศพ ขอใหป ฏบิ ัตดิ งั น้ี 1.1 ขอใหเลือกใชเครื่องปรุงรสที่มีโซเดียมเปนสวนประกอบ เชน ซีอ้วิ ขาว ซุปกอ น ผงปรุงรส เกลอื น้ําปลา ผงชรู ส โดยขอใหใ ชเ พียงอยา งใดอยา งหนงึ่ ในการปรงุ อาหาร 1.2 ไมนําอาหารท่มี ีเกลือโซเดยี มสงู ปรงุ อาหารเลี้ยงแขก เชน ปลาเคม็ ไขเ ค็ม ผัดกาดดอง ปลากระปอ ง ผลไมด อง เปนตน 1.3 ไมว างเครอื่ งปรุงรสเค็ม เชน เกลอื นํ้าปลา ซอส ซอี ว้ิ บนโตะ อาหารในงานเลี้ยงตา ง ๆ 2) ขอใหป ระชาชนในชุมชนชว ยกันดแู ลการบริโภคขนมกรบุ กรอบปรงุ รส เชน มันฝรั่งทอดกรอบ ปลาเสน สาหรา ยปรงุ รส ของเดก็ ในชุมชน โดยขอใหห ลีกเลย่ี งการบรโิ ภค หรอื ควรบริโภคแตน อ ย 3) ขอความรว มมอื ใหป ระชาชนแตละหลังคาเรือน ลดการใชเครื่องปรุงรสที่มีโซเดียมเปน สว นประกอบ เชน ซีอิ้วขาว ซุปกอน ผงปรงุ รส เกลอื นํ้าปลา ผงชูรส

230 นอกจากน้ียงั มีขอตกลงการปฏบิ ัติในงานบําเพ็ญกุศลของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองนาน ดงั น้ี 1) งดนาํ อาหารประเภทเน้ือสัตวส กุ ๆ ดบิ ๆ ขนึ้ โตะเลย้ี งแขก 2) งดเลี้ยงอาหารวางท่ีมีแปง และนํ้าตาลสูง เชน นม โอวัลติน กาแฟ ขาวตม นํ้าหวาน นํา้ อดั ลมและขนมตาง ๆ หลงั เสร็จส้นิ การสวดพระอภิธรรม โดยใหจัดเล้ียงเฉพาะน้ําเปลา หรือน้ําสมุนไพรท่ี ไมห วาน เทา นนั้ 3) งดสูบบุหร่แี ละดมื่ สุรา 4) งดการใชกลองโฟมเปนภาชนะบรรจอุ าหาร 4. องคการบรหิ ารสว นตําบลโคกยาง จงั หวัดกระบี่ มนี โยบายสาธารณะเพื่อสขุ ภาพแบบมสี วนรว ม “ชมุ ชนลดเสีย่ ง ลดโรคไมตดิ ตอ เรอื้ รงั ” ดังนี้ 1) นโยบายเขตปลอดควันบหุ รี่ภายในอาคาร ดงั นี้ 1.1 จัดใหม ีเขตปลอดควนั บหุ รภ่ี ายในอาคาร 1.2 จดั ใหมีสง่ิ แวดลอมโรงเรยี น สถานท่รี าชการ และสถานท่ีสาธารณะที่ปราศจากควันบหุ รี่ และควันพษิ สารเสพตดิ 2) นโยบายใหม ีอาหารปลอดภัยและเครอื่ งดมื่ ทมี่ ปี ระโยชนต อ รา งกายในโรงเรียน/ศูนยพัฒนา เดก็ เลก็ /สถานท่ีทํางาน/ชมุ ชน ดงั นี้ 2.1 จัดใหมอี าหารกลางวันเมนูชูสขุ ภาพ/อาหารปลอดภัยปลอดผงชรู ส 2.2 มเี ขตปลอดกลองโฟม 2.3 งดถวายอาหารหวาน มนั เคม็ และเพม่ิ ผกั ผลไมส ด แดพ ระสงค 2.4 จัดใหม เี ขตปลอดนา้ํ อัดลม ขนมกรุบกรอบในโรงเรียนและศนู ยพ ัฒนาเดก็ เล็ก 2.5 จัดใหมนี า้ํ ด่ืมทสี่ ะอาดและเพียงพอตอ การบรโิ ภคในโรงเรียนและศนู ยพ ฒั นาเดก็ เลก็ 2.6 สงเสรมิ การปลกู และรบั ประทานผกั ปลอดสารพษิ ในครวั เรือน 2.7 สงเสริมการใชน้ําสมุนไพรแทนกาแฟในอาหารวางสําหรับการประชุม/อบรมและ จัดเลย้ี ง งานประเพณี 2.8 สง เสรมิ การรบั ประทานอาหาร “เพ่ิมผกั ลดเกลอื เนอ้ื นอ ย ดอ ยมนั นํา้ ตาลตาํ่ ” 3) นโยบายเพิม่ การมีกิจกรรมทางกาย 3.1 จัดใหมีสถานที่และสิ่งอํานวยความสะดวกทเี่ ออื้ ตอการออกกาํ ลงั กาย 3.2 สงเสรมิ ใหมกี ารจดั กจิ กรรมชมุ ชนรักษส ขุ ภาพ 3.3 สง เสรมิ ใหโ รงเรยี นและศูนยพัฒนาเด็กเลก็ จัดทาํ นวตั กรรมการออกกําลงั กาย 3.4 จัดใหมกี จิ กรรมยืดเหยยี ดผอนคลายการทาํ งานระหวา งวนั เวลา 14.00 น. 3.5 รณรงคใ หม กี ารออกกําลังกายในสถานที่ทํางานทุกวนั พธุ เวลา 15.00 น. 3.6 สง เสรมิ การออกกําลงั กายอยางสมา่ํ เสมอ อยางนอ ยสปั ดาหละ 5 วัน วนั ละ 30 นาที

231 4) ขอตกลงในการจําหนายบหุ ร/่ี สุราของรา นคา ในชุมชน 4.1 หา มแสดงผลิตภณั ฑยาสูบ ณ จดุ ขาย 4.2 หา มจําหนา ยบหุ ร่ีใหแกเ ดก็ ทอี่ ายตุ ่าํ กวา 20 ปบริบรู ณ 4.3 หา มจาํ หนา ยเคร่ืองด่มื แอลกอฮอลใหแ กเ ด็กทีอ่ ายุต่าํ กวา 20 ปบรบิ รู ณ 4.4 หามสูบบหุ ร่ีในทสี่ าธารณะ เชน โรงเรยี น โรงพยาบาลสง เสรมิ สุขภาพตําบล องคการบรหิ ารสว นตาํ บล ศาลาเอนกประสงค 4.5 งานบวช งานสวด งานแตง ปลอดเหลา 4.6 งดถวายบุหร่ีแดพ ระสงฆ 2.4 แนวทางปฏิบตั ิการจัดการส่ิงแวดลอ ม ตวั อยา งนโยบาย/มาตรการและแนวทางปฏิบัติการจัดการส่ิงแวดลอมใหเอ้ือตอการลดเส่ียง ในชมุ ชนและปลอดภัย : ชมุ ชนลดเส่ียงตอโรคไมต ิดตอ เร้อื รงั นโยบาย/มาตรการ/ขอตกลง แนวทางปฏิบตั กิ ารจดั การสง่ิ แวดลอ มใหเ อ้อื ตอ การลดเสยี่ ง ในชุมชน และปลอดภยั นโยบายเขตปลอดควนั บหุ รีภ่ ายในอาคาร 1. จดั ใหมรี ะบบที่ชวยสนับสนุนใหพ นกั งานสามารถเขา ถงึ ทรัพยากรและการบรกิ ารหยุดสบู บหุ ร่ี 2. จัดส่งิ แวดลอ มโรงเรยี นและสถานทสี่ าธารณะทป่ี ราศจาก ควันพษิ และบุหรี่ สารเสพติด ขอ ตกลงในการจาํ หนายบหุ ร่ี/เหลาของ 1. หา มแสดงผลิตภัณฑย าสบู ณ จดุ ขาย รา นคา ในชมุ ชน 2. หา มจาํ หนา ยบหุ ร่ีเดก็ อายุตํ่ากวา 20 ปบ รบิ รู ณ 3. หามจําหนายแอลกอฮอลใ หเดก็ อายตุ ํ่ากวา 20 ปบรบิ รู ณ 4. หามขายเหลา นอกเหนือเวลา 11.00 - 14.00 น. และ 17.00 - 24.00 น. 5. หามสบู บหุ รใ่ี นทสี่ าธารณะ เชน โรงเรียน โรงพยาบาล 6. งานบวช งานศพ ปลอดเหลา 7. งดถวายบุหรแ่ี กพระสงฆ นโยบายใหมอี าหารและเคร่อื งดื่มทมี่ ี 1. จดั ใหม ีอาหารกลางวันเมนูชูสขุ ภาพเปนทางเลอื ก เชน ประโยชนต อรางกายในโรงเรยี น/สถานท่ี รา นคาเมนูชสู ุขภาพ ลดการบรโิ ภคเกลอื แกง/ผงชรู ส/ ทํางาน/ชุมชน เครอ่ื งปรงุ รส (เกลือนอ ยกวา 5 กรัม หรอื 1 ชอนชาตอ วนั ) 2. อาหารกลางวนั ในโรงเรียนควรมเี มนสู ุขภาพ 3. ถวายอาหารลดหวาน/มนั /เค็ม แกพ ระสงฆ 4. กจิ กรรมรณรงค สรางความตระหนกั 5. ไมขายเครื่องดืม่ น้าํ อัดลม/นา้ํ หวาน/ขนมกรบุ กรอบ ในโรงเรียน 6. สงเสรมิ การปลกู /ขายผักปลอดสารพษิ ในชุมชน

232 นโยบาย/มาตรการ/ขอ ตกลง แนวทางปฏิบัติการจดั การสงิ่ แวดลอ มใหเ ออ้ื ตอ การลดเสยี่ ง นโยบายเพมิ่ การมีกจิ กรรมทางกาย ในชมุ ชน และปลอดภยั 1. จดั ใหม สี ถานทแ่ี ละสง่ิ อาํ นวยความสะดวก เชน ลานกีฬา สถานทอ่ี อกกํากลงั กาย สวนสาธารณะ สรา งทางเดนิ / วิง่ / ขจ่ี กั รยาน เลนฟุตบอล หรอื กีฬาตามความชอบและสนใจ และ ปรบั ปรงุ สภาพแวดลอ มใหป ลอดภัยเพียงพอ 2. ชมรมผสู งู อายุ ชมรมออกกําลงั กาย เชน รําไมพลอง เตนแอโรบกิ 3. โรงเรียนควรมีวิชาพลศึกษาอยา งนอย 2 ชัว่ โมง/สปั ดาห 2.5 แนวทางปฏิบัตกิ ารจดั การตนเอง ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมของชุมชน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนจากสิง่ ท่ีเคยทาํ เคยชนิ มาสู พฤตกิ รรมใหม ผูใ หคําปรึกษา/ ทีมสหวชิ าชีพ ตองมีความเขาใจในธรรมชาติของคนท่ีซอ นเรน ปลกู ฝง แนวคิด ความเชื่อ แรงจูงใจ ทีจ่ ะนาํ ไปสู การมพี ฤตกิ รรมสุขภาพท่ีดี ตลอดจนกระบวนการ เทคนิค เคล็ดลับตาง ๆ ที่จะนําไปสูการใหความชวยเหลือ ใหผูรับบริการกาวขามผานอุปสรรคตาง ๆ ท่ีเปนขอจํากัด ตลอดจนเสริมสมรรถนะและทักษะที่จําเปนแก ผูรบั บรกิ าร ตวั อยา ง แนวทางปฏิบัตกิ ารจัดการตนเอง เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชากร (ระดบั ชมุ ชน) บหุ ร/ี่ เหลา 1. การรณรงคใหความรอู ยา งตอ เนอ่ื งเพอ่ื สรา งความตระหนกั เพอ่ื การจดั การตนเองเกี่ยวกับ พษิ ภัยของบุหรี่ สรุ า การปองกันและรกั ษาสทิ ธขิ องตนในการคุมครองผไู มส ูบบุหร่ี ตามทสี่ าธารณะ เชน สถานอี นามยั วัด โรงเรียน 2. ใชส ือ่ บคุ คลในการสรา งการเรยี นรู เร่ือง ปจ จยั เส่ยี ง/โรค พษิ ภัยบหุ ร/่ี สุรา พูดคยุ ปรึกษา โดยผเู กีย่ วของเขา รว มในกจิ กรรมตามภารกจิ ของตน เชน พระ ผเู ฒา ผูแก เจา ของรา นคา นกั เรยี น ผใู หญบ าน ครู กลุมแมบ า น อบต. อสม. 3. ลดปรมิ าณด่ืมสรุ าตอ วัน ชายไมเกิน 2 แกวมาตรฐาน หญงิ ไมเ กิน 1 แกวมาตรฐาน (1 แกวมาตรฐาน เทากบั เบียร 1 กระปอ ง (360 ซซี ี)) สุรา 1 แกว (360 ซซี )ี ไวน 1 แกว (150 ซซี )ี อาหาร เริม่ ในครอบครวั โดยพอ แม และผูปกครองเปน ตน แบบ และสง เสริมเร่ืองการรบั ประทาน อาหารและการออกกําลงั กายที่เหมาะสมตามวยั ไดแ ก 1. ฝกนิสัย “ชมิ กอ นเตมิ กนิ อาหารรสชาติพอด”ี ลดการบรโิ ภคอาหารที่ไมเ หมาะสม ไดแ ก ลด / หวาน / มัน / เค็ม (ลดการบริโภคเกลือแกงและผงชรู สใหนอ ยลง : เกลอื นอ ยกวา 5 กรัม หรอื 1 ชอ นชา ตอ วัน) เชน ในอาหารหมกั ดอง อาหารสาํ เรจ็ รปู ซอส ซอี ว๊ิ นํา้ จมิ้ ผงชรู ส (นาํ้ ตาลไมเ กนิ 5 ชอนชาตอวนั )

233 2. สงเสรมิ การทานผักปลอดสารพษิ (ผักครึง่ หนง่ึ ของอาหารในแตล ะมอ้ื ) เพิ่มการทานผกั หลากหลายสี อยา งนอ ยวนั ละ 4 - 6 ทพั พตี อวนั และผลไมร สไมหวานจดั 3. เพิ่มการทานอาหารกากใย เชน ประเภทถว่ั ขาวซอมมอื ธัญพชื ออกกาํ ลังกาย การเคลอ่ื นไหวรา งกายในการทาํ กิจกรรมตาง ๆ เชน เดนิ วง่ิ ขีจ่ กั รยาน วายน้ํา โยคะ รําไมพ ลอง เตนแอโรบิก เชน มีการออกกําลังกาย 5 วัน/สัปดาห อยางนอย 30 นาที/คร้ัง ลดกิจกรรมการดูโทรทัศน/ เลน เกมคอมพวิ เตอร ไมเ กิน 2 ช่ัวโมง/วนั อารมณ การผอ นคลายความเครยี ดโดยหยดุ กจิ กรรมนั้นช่ัวคราว ทาํ งานอดิเรกท่ชี อบ (ดหู นงั ฟง เพลง ปลกู ตน ไม พักผอ น) การปฏบิ ตั ิศาสนกจิ

234 ภาคผนวก การดแู ลและปอ งกันโรคไมติดตอเร้อื รัง 1. เกมส Healthy Run เปน เกมสท ่ใี หส าระความรเู ก่ียวกบั การปอ งกนั โรคไมตดิ ตอ (โรคเบาหวาน และ ความดันโลหิตสงู ) พรอมท้งั ยงั เปนเกมสท ท่ี ําใหเ กดิ ความสนกุ สนานอีกดวย สามารถดาวนโหลดไดท ่ี App Store หรือ Play Store 2. สื่อความรเู กยี่ วกับโรคไมตดิ ตอเรอื้ รัง เปน สือ่ แอนเิ มชันทใี่ หความรเู กย่ี วกบั การปองกันโรคความดนั โลหิตสูง การปอ งกนั โรคหลอดเลอื ดสมอง และโรคเบาหวาน 2.1 การปอ งกันโรคความดันโลหติ สงู http://gg.gg/d8pbw 2.2 การปอ งกนั โรคหลอดเลอื ดสมอง http://gg.gg/d8pyb 2.3 โรคเบาหวาน http://gg.gg/d8pyv ท่ีมา สาํ นักโรคไมตดิ ตอ กระทรวงสาธารณสุข

235 บรรณานกุ รม กรมควบคุมโรค สํานักโรคไมต ิดตอ. (2559). รูทนั มหันตภยั โรคไมติดตอ เรอื้ รงั …ภยั เงียบใกลตัว. สืบคนเมื่อ 13 กุมภาพนั ธ 2562, จาก http://www.thaincd.com/. _______. (2560). คูมือการดาํ เนินงานปองกันควบคมุ โรคไมต ิดตอ เรือ้ รงั โดยยดึ ชมุ ชนเปนฐาน : ชุมชนลดเสย่ี ง ลดโรคไมตดิ ตอ เรอ้ื รัง (CBI NCDs). กรงุ เทพมหานคร. บรษิ ัท อิโมชัน่ อารต จาํ กัด. _______. (2560). คูมอื การประเมินโอกาสเสย่ี งตอการเกดิ โรคหัวใจขาดเลอื ด และโรคหลอดเลือดสมอง (อัมพฤกษ อัมพาต) สาํ หรบั อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมบู าน (อสม.). (พมิ พค รงั้ ท่ี 2). กรงุ เทพมหานคร. สํานกั งานกจิ การโรงพิมพ องคก ารสงเคราะหทหารผานศึก. _______. แผน พับ 3 อ 2 ส ลดเสย่ี ง เล่ยี งภยั NCDs. สืบคนเม่อื 30 มกราคม 2562, จากhttp://thaincd.com/images/media/leaflet_แผน พับ_ลดเสยี่ ง_เลย่ี งภัย__NCDs.pdf. _______. รายงานประจาํ ป 2561 สาํ นักโรคไมติดตอ กรมควบคมุ โรค. _______. โรคไมตดิ ตอเร้อื รงั . สบื คน เมอื่ 20 กมุ ภาพนั ธ 2562, จาก http://www.thaincd.com/. กรมสงเสรมิ การเกษตร ศูนยบรกิ ารองคค วามรู. (2562). Line. สบื คนเมื่อ2 1 กมุ ภาพนั ธ 2562, จาก http://www.k-center.doae.go.th/getKnowledge.jsp?id=2993. กรมสุขภาพจติ สถาบนั ราชานกุ ลู . (2552). คมู ือการจดั กิจกรรม สําหรับพอ แมเ ดก็ อายุ 0 – 5 ป. กรุงเทพมหานคร: บรษิ ัท บยี อนด พับลสิ ซงิ่ จํากัด. กรมอนามัย สาํ นกั ทนั ตสาธารณสุข. (2562). คมู อื การดูแลสุขภาพชองปากแมแ ละเด็กปฐมวยั สาํ หรบั Cluster แมและเดก็ ปฐมวัย. สบื คนเมอ่ื 22 กุมภาพนั ธ 2562, จาก http://dental2.anamai.moph.go.th/ewtadmin/ewt/dental/ewt_dl_link.php?nid=1599. กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย สาํ นกั งานสง เสรมิ สวสั ดิภาพและพทิ ักษเ ด็ก เยาวชน ผดู อ ยโอกาส และผูสงู อายุ สํานกั สงเสรมิ และพทิ ักษผสู ูงอาย.ุ (2562). คูมือสทิ ธผิ สู งู อายุตาม พระราชบัญญตั ผิ สู งู อายุ พ.ศ. 2546. สืบคน เมอ่ื 20 กุมภาพนั ธ 2562, จาก http://www.dop.go.th/download/knowledge/knowledge_th_20160906104443_1.pdf.

236 กระทรวงสาธารณสขุ . (2552). พระราชบญั ญัตสิ ุขภาพแหง ชาติ พ.ศ. 2550. นนทบรุ ี: บริษทั วิกิ จาํ กัด. _______. (2547). คมู อื การสง เสรมิ สุขภาพผสู ูงอายสุ ําหรบั บคุ ลากรสาธารณสุข. กรงุ เทพมหานคร: องคก าร สงเคราะหท หารผานศกึ . กระทรวงสาธารณสขุ กรมสขุ ภาพจติ . คูม ือสง เสรมิ พฒั นาการเดก็ แรกเกดิ – 5 ป สาํ หรบั ผปู กครอง. สืบคนเมือ่ 22 กุมภาพันธ 2562, จาก http://www.thaichilddevelopment.com/images/doc/Ebook1.pdf. กระทรวงสาธารณสขุ กรมอนามยั โรงพยาบาลสงเสริมสขุ ภาพ ศนู ยอ นามัยท่ี 8 นครสวรรค. (2554). คมู อื โรงเรยี นพอ แม สําหรับบุคลากร. สบื คน เม่อื 14 กุมภาพนั ธ 2562,จาก http://resource.compassionth.com/?p=594. กระทรวงสาธารณสขุ กรมอนามัย สํานกั สง เสริมสุขภาพ. (2552). คมู อื ปฏิบตั งิ านสําหรบั อสม. เพอื่ ผสู งู วยั สายใยรักครอบครัว ชุมชน. กระทรวงสาธารณสุข กรมอนามยั สาํ นกั สง เสรมิ สขุ ภาพ สวนอนามยั ผสู งู อายุ. (2562). ปญหาสุขภาพกาย. สืบคนเมอ่ื ,2562 กุมภาพันธ 21 จาก http:// hp.anamai.moph.go.th/soongwai/statics/deseas/phyprob/topic.006php. กระทรวงสาธารณสุข กรมอนามยั สํานกั อนามัยการเจริญพนั ธ.ุ (2559). คูมือการมีสวนรวมของสามีหรือญาติ ในการเฝาคลอด. กรงุ เทพมหานคร: ชมุ นุมสหกรณก ารเกษตรแหง ประเทศไทย. กระทรวงสาธารณสขุ กรมอนามยั สาํ นกั อนามยั ส่ิงแวดลอ ม. (2558). คมู อื การจัดสภาพแวดลอมทเี่ หมาะสม และปลอดภัยสาํ หรบั ผสู งู อาย.ุ กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พอ งคการสงเคราะหท หารผา นศึก. กระทรวงสาธารณสขุ สํานกั งานปลดั สํานกั งานสารนเิ ทศ. สง เสรมิ ใหม ีลูกเม่อื พรอม กอนทองตอ งเสริมธาตุเหล็ก โฟลกิ . สืบคน เมื่อ 21 กุมภาพันธ 2562, จาก https://www.voicetv.co.th/read/461076/. _______. (2559). คมู อื มารดาหลงั คลอดและการดูแลทารก. กรุงเทพมหานคร: ชมุ นุมสหกรณก ารเกษตรแหง ประเทศไทย.

237 กระทรวงสาธารณสขุ สาํ นกั งานปลัด สํานักงานสารนิเทศ. (2559). สุขใจไดเปนแม. กรุงเทพมหานคร: ชุมนุม สหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย. การตั้งครรภกับการดูแลสุขภาพคุณแมอยางเขาใจ. สืบคน เมอ่ื 13 กมุ ภาพนั ธ 2562, จาก https://www.honestdocs.co/pregnancy-and-mother-health. กติ ิธชั ตนั มา. (2562). ความรพู ืน้ ฐานการใชสมารทโฟน. สบื คน เมอ่ื 2 0 กุมภาพนั ธ 2562, จาก https://sites.google.com/a/msts.ac.th/kittithat/contact/social-network/kar-chi- thekhnoloyi-dicithal-thi-plxdphay-laea-kd-ktika-maryath-ni-kar-chi-thekhnoloyi- dicithal/khwam-ru-phun-than-kar-chi-sma-rth- fon?tmpl=%2Fsystem%2Fapp%2Ftemplates%2Fprint%2F&showPrintDialog=1. คณะทนั ตแพทยศาสตร. (2562). วธิ กี ารดูแลสุขภาพชองปากผสู งู อายุ. สบื คน เมื่อ2 1 กุมภาพันธ 2562, จาก http://www.info.dent.nu.ac.th/dentalHospital/index.php/2012-09-18-18-57-27/2-2012- 09-27-23-42-04/78-2015-07-14-03-42-09. คณะทันตแพทยศาสตร มหาวทิ ยาลัยนเรศวร. มาแปรงฟนใหล ูกนอ ยอยางถกู วิธีกันเถอะ. สืบคนเม่อื 21 กมุ ภาพนั ธ 2562, จาก http://www.info.dent.nu.ac.th/dentalHospital/index.php/2012- 09-18-18-57-27/5-pedo/70-2015-01-20-03-19-57. คา พลังงานและสารอาหารในอาหารบางชนิดตอ มวล 100 กรมั . สืบคนเมอ่ื 14 กุมภาพันธ 2562, จาก https://sites.google.com/site/chanida571610058/kha-phlangngan-laea-sar-xahar-ni- xahar-bang-chnid-tx-mwl-100-kram. ฆโนทยั พรมหงส ชนัฏตา สระภู ลกั ษณาวดี เรืองรมั ย และสลาวรี ศรจี ันทะ. (2557). การดแู ลสขุ อนามยั ทางเพศ. สืบคนเม่ือ 21 กมุ ภาพันธ 2562, จาก http://cms.574bps.in.th/group44-50-03-10-07-2014/3. จนั จริ า วิชยั และอมรา สนุ ทรธาดา. (2553). สขุ ภาวะผูสงู อายุในมติ ขิ องการกระทาํ ความรุนแรง. สบื คน เมื่อ 21 กมุ ภาพนั ธ 2562, จาก http://www.ipsr.mahidol.ac.th/ipsr/Contents/Books/FullText/-408/2010ValueElderly- Chapter.09pdf.

238 ณฐั ฐนิ นั ท แสนจนั ทร. (2562). สขุ ภาพเพ่ือชีวติ . สบื คนเมอ่ื 22 กมุ ภาพันธ 2562, จาก http://importancegood.blogspot.com/2013/09/blog-post.html. ทกั ษพล ธรรมรังสี. (บรรณาธกิ าร). (2557). รายงานสถานการณโรค NCDs วิกฤตสุขภาพ วกิ ฤตสังคม. สบื คนเมื่อ 13 กุมภาพันธ 2562, จาก http://www.thaincdnet.ihppthaigov.net/files/download/(Edited)%20NCDs-Report- Allpages-AUG2014.compressed.pdf. ทพิ วรรณ เลียบสื่อตระกลู (บรรณาธิการ). (2550). หนงั สอื ชดุ ความรู ม.อ. เลม 1/2550 อนามัยและเดก็ : สงขลา. สาํ นกั วิจัยและพฒั นา มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร. สถาบนั วจิ ยั และพฒั นาสขุ ภาพภาคใต เครือขา ยวิจัยชมุ ชน. สบื คน เม่อื 21 กุมภาพนั ธ 2562, จาก https://rdo.psu.ac.th/th/images/D3/Dissemination/Knowledge/KNL-No-1-2550.pdf. เทคนิคเลกิ คบ 5 สหายรสจดั . สบื คนเมอ่ื 22 กุมภาพนั ธ 2562, จาก https://goodlifeupdate.com/healthy-body/83822.html/2. เทคนิคเลยี้ งลูกใหส ุขภาพแขง็ แรง ภมู ิคุมกันดี ไมปวยบอย. สืบคน เม่ือ 22 กมุ ภาพันธ 2562, จาก https://www.amarinbabyandkids.com/goat-milk/immunity-strong-child/. โทษของอาหารรสจดั และวธิ ีกนิ อาหารใหห างไกลโรค. สืบคน เมื่อ 22 กมุ ภาพันธ 2562, จาก https://www.sanook.com/women//100659. ธนพันธ สุขสะอาด วรรณสุดา งามอรุณ และวิชชกุ ร สรุ ยิ ะวงศไพศาล. (บรรณาธกิ าร). (2559). รายงาน สถานการณโรค NCDs มุงหนา สเู ปาหมายระดบั โลก (kick off to the goals). สืบคนเมื่อ 13 กมุ ภาพันธ 2562, จาก http://www.thaincdnet.ihppthaigov.net/files/NCD%2023%20Sep%2016%20.pdf . ธีรวุฒิ คหู ะเปรมะ. โรคมะเรง็ [เว็บบล็อก.] สืบคนเมือ่ 14 กุมภาพนั ธ 2562, จาก https://www.bangkokhospital.com/wattanosoth/web/th/site/all_about_cancer/view/58. นวดสัมผสั เสริมสรา งพฒั นาการทารก. สบื คนเม่ือ 14 กุมภาพันธ 2562, จาก http://allmomsclub.blogspot.com/2016/05/blog-post_3.html.

239 บรษิ ัท อสี าน ลอวเยอร. (2562). พินยั กรรมชวี ิตในประเทศไทย. สืบคนเม่อื 2 1 กุมภาพนั ธ 2562, จาก http://www.isaanlawyers.com/th/พินัยกรรมชีวติ ในประเทศ/. พบแพทย .(2562) .COPD (โรคปอดอุดกั้นเรื้อรงั ,2562 กุมภาพนั ธ 25 สบื คน เมื่อ .(จาก https://www.pobpad.com/copd. ภริ มยลักษณ มสี ัตยานันท. (2562). การจดั การสภาพแวดลอ มผสู งู อาย.ุ สืบคน เมอื่ 21 กมุ ภาพนั ธ 2562, จาก http://www.gnec.itgo.com/vichakan/environment. มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุร.ี (2562). คมู อื การใชง าน Youtube. สบื คนเม่อื 21 กมุ ภาพนั ธ 2562, จาก http://modps62.lib.kmutt.ac.th/files/Manual_Youtube.pdf. มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช. (2562). ผูส งู อายกุ บั การทาํ พนิ ัยกรรม. สบื คน เมอ่ื 21 กมุ ภาพนั ธ 2562, จาก https://www.stou.ac.th/stoukc/elder/main2_.16html. รายวิชา HE 495 การอนามยั แมแ ละเดก็ (Maternal and Child Health). e-book.ram.edu. สบื คนเม่อื 21 กุมภาพันธ 2562. โรงพยาบาลบาํ รงุ ราษฎร. (2562). การใชยาในผูสงู อายุ. สบื คนเม่อื 2 1 กมุ ภาพนั ธ 2562, จาก https://www.bumrungrad.com/th/medical-clinics-bangkok- hailand/geriatric/services/elderly-medicine-usage. วราคณา สิทธิกัน. (2562). สขุ ภาพจติ ของผูสงู อายุ. สบื คน เมอ่ื 2 1 กุมภาพนั ธ 2562, จาก http://w.3med.cmu.ac.th/hospital/nd/home/wp- content/uploads/2016/01/2019_.2compressed.pdf. วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จงั หวัดแพร. (2562). อาหารกบั การเจรญิ เตบิ โตของเด็กตามวยั . สบื คน เมอื่ 21 กุมภาพนั ธ 2562, จาก https://sites.google.com/a/bcn.ac.th/sutthida/hnwy-kar-reiyn-ru1. ศนู ยวิจยั สขุ ภาพกรุงเทพ. (2562). อาหารการกินในวัยผูส งู อาย.ุ สืบคนเมอื่ 2 1 กมุ ภาพันธ 2562, จาก http://www.bangkokhealth.com/health/article/อาหารการกินในวัยผูสงู อาย1ุ 794-.

240 สถาบนั ราชานุกลู . เด็กทม่ี ีความบกพรอ งทางพฒั นาการ. สบื คน เมื่อ 22 กมุ ภาพนั ธ 2562, จาก http://rajanukul.go.th/new/index.php?mode=academic&group=269&id=3232&date_sta rt=&date_end=. สมศกั ด์ิ ศรสี ันตสิ ุข. (2550). สงั คมวิทยาชนบท แนวคดิ ทางทฤษฎแี ละแนวโนม ในสงั คม. กรุงเทพมหานคร: เอ็กซเปอรเ นท็ . สมาคมจันทรเ ส้ยี วการแพทยและสาธารณสุข. (2552). การบรู ณาการองคค วามรบู ทบญั ญตั ิศาสนาอิสลามกบั การสรา งเสรมิ สขุ ภาพ. สงขลา: สถาบนั วจิ ัยระบบสุขภาพภาคใต (สวรส.ภาคใต) มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร. สมาคมโรคติดเชื้อในเด็กแหงประเทศไทย. (2562) ตารางฉีดวัคซีน. สืบคนเม่ือ 22 กุมภาพันธ 2562, จาก http://pidst.or.th/A694.html#PhotoSwipe1552620866035. สันต ใจยอดศิลป. Mets กบั การออกกําลงั กาย. สืบคน เมอ่ื 21 กมุ ภาพันธ 2562, จาก http://203.157.7.40/exercise/tiki-index.php?page=KM+ออกกาํ ลังกายเพอื่ สขุ ภาพ. 17 ทา นวดทารก ชวยทําใหส ุขภาพและพัฒนาการด.ี สืบคน เมื่อ 14 กมุ ภาพันธ 2562, จาก https://www.amarinbabyandkids.com/parenting/baby/17-baby-massage/2/. 4 เคล็ดลับพัฒนาสติปญญาลูกใหโตสมวัย. สืบคนเมื่อ 22 กมุ ภาพนั ธ 2562, จาก https://www.honestdocs.co/4-tips-intellectual-development-in-children. 4 วิธีปลูกฝง ลกู รกั ใหเ ปน เดก็ จติ ใจดแี ละมเี มตตา. สบื คน เม่อื 22 กมุ ภาพันธ 2562, จาก https://www.nestlebaby.in.th/raising-raising-caring-children#. สาํ นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรางเสริมสุขภาพ (สสส.). แคเลอื ก 'กนิ ' ก็ดดู ี แคผ กั ผลไม 400 กรัม/วนั . สืบคนเมือ่ 25 กุมภาพนั ธ 2562, จาก https://www.thaihealth.or.th/Content/35076-แคเ ลือก% 20'กนิ '%20ก็ดูดี%20แคผ กั ผลไม% 20400%20กรัม/วนั %20.html. _______. ลา ง NCDs ไดด ว ย 5 อ. สบื คนเม่ือ 25 กมุ ภาพนั ธ 2562, จาก https://www.thaihealth.or.th/microsite/categories/5/ncds/1/173/179-ปองกนั กลมุ โรค+NCDs.html.

241 สาํ นักงานกองทนุ สนบั สนนุ การสรางเสริมสขุ ภาพ.(.สสส) (2553). หนังสอื 100 เรอ่ื งเดน ความรเู พ่อื สงเสรมิ สขุ ภาพสําหรับประชาชน. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. _______. (2561). อาหารท่เี หมาะสมกบั ผสู ูงอาย.ุ สืบคนเม่อื 21 กมุ ภาพันธ 2562, จาก https://www.thaihealth.or.th/Content/-41573อาหารที่เหมาะสมกบั ผสู งู อายุ.html. สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา ศนู ยขอ มูลกฎหมายกลาง. (2562). สัญญาคาํ้ ประกนั . สืบคน เมือ่ 21 กมุ ภาพนั ธ 2562, จาก http://web.krisdika.go.th/data/legalform/form_/178form_.178pdf. สํานักเทคโนโลยเี พ่ือการเรยี นการสอน กลุมเผยแพรแ ละพฒั นาบุคลากรดา นเทคโนโลยี. (2554). คมู ือการใชง าน Facebook. สบื คนเมอื่ 20 กมุ ภาพนั ธ 2562, จาก https://smedukrusaipin.files.wordpress.com/2011/05/facebook.pdf. สํานักสง เสรมิ สถาบนั ครอบครัว สํานักงานกจิ การสตรแี ละสถาบันครอบครวั กระทรวงการพัฒนาสงั คมและ ความมัน่ คงของมนษุ ย. (2552). คูม ือการเลยี้ งดลู ูก วยั แรกเกดิ – 6 ป. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ สกสค. ลาดพราว. สุชวี า วิชัยกลุ . (2562). การสงเสรมิ การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการ. สบื คนเมือ่ 21 กุมภาพันธ 2562, จาก https://administer.pi.ac.th/uploads/eresearcher/upload_doc/2015/academic/1432867 351904378004446.pdf. ศศิวดี นาคสกลุ .http://healthguruguru.blogspot.com/p/dha-aa.html อภิชาติ อัศวมงคลกุล. (2553) .หลักการและวธิ ีการออกกําลงั กาย. สบื คนเมอื่ 22 กมุ ภาพันธ 2562, จาก https://www.baanjomyut.com/library_/3principles_and_methods_of_ exercise/index.html. อรณา จันทรศิริ. (บรรณาธกิ าร). (2558). สวนสาธารณะกบั การสง เสรมิ กจิ กรรมทางกาย. นนทบรุ .ี บริษัท เดอะ กราฟก ซสิ เตม็ จาํ กัด. อาหาร. สืบคนเมื่อ 21 กมุ ภาพนั ธ 2562, จาก http://haamor.com/th/อาหาร/.

242 อาหาร. สืบคน เมอ่ื 21 กุมภาพันธ 2562, จากวกิ พิ ีเดีย https://th.wikipedia.org/wiki/อาหาร. Dental Bliss Bangkok. http://2013.dentalblissbangkok.com/DentalArticles/2013/07/ Mama Expert Team. (2562). การนวดทารก. สบื คน เมอ่ื 14 กมุ ภาพันธ 2562,จาก http://www.mamaexpert.com/posts/content-848. Nunzmoko. https://www.parentsone.com/pregnancy-with-gadgets/. The Asianparent Editorial Team. (2562). เตรียมตัวเปนแม. สบื คนเมอื่ 15 กุมภาพนั ธ 2562, จาก http://th.theasianparent.com/เตรยี มตัวเปน แม. Thicha P. (2562). โยคะคนทอง ทา งาย ๆ ทําไดเองทบ่ี าน. สืบคน เมอื่ 24 เมษายน 2562, จาก https://www.sanook.com/women/40557/. TITLE - S-MomClub. https://www.s-momclub.com/th/knowledge/4 ทา ฮิตเอาลกู เขาเตา . TRACK & TRACE. http://www.bigmom2xl.com/category/9/. Webmaster. (2562). แมและเดก็ . สบื คนเมื่อ 13 กมุ ภาพันธ 2562, จาก www.pikool.com/แมแ ละเด็ก.

243

244

245


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook