Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อการเรียนรู้การส่งเสริมการดูแลสุขภาว

สื่อการเรียนรู้การส่งเสริมการดูแลสุขภาว

Published by library.huaikrajao, 2020-05-26 02:44:03

Description: สื่อการเรียนรู้การส่งเสริมการดูแลสุขภาว

Keywords: สื่อการเรียนรู้

Search

Read the Text Version

สารบัญ หนา คํานาํ 1 สารบญั 1 การดูแลสุขภาวะและสุขอนามยั สาํ หรบั เดก็ แรกเกดิ – 5 ป 7 18 เรอ่ื งที่ 1 อาหารกบั การเจรญิ เตบิ โตของเด็กตามวัย 21 เรอ่ื งท่ี 2 การดูแลสุขภาพปากและฟน 39 เรื่องที่ 3 การไดรับวคั ซนี 44 เรอื่ งท่ี 4 การสง เสรมิ การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการเดก็ แรกเกดิ – 5 ป 46 เรอ่ื งที่ 5 ความรูเก่ียวกับพฒั นาการปกติ เด็กทม่ี ีความบกพรอ งทางพฒั นาการ 49 เรื่องท่ี 6 บทบาทพอ แม 62 เรอ่ื งท่ี 7 การดูแลสขุ อนามยั 63 เรอ่ื งท่ี 8 การเตรียมความพรอมสูโลกกวา ง 64 การดแู ลสุขภาวะและสขุ อนามัยสาํ หรบั แม 87 เรอ่ื งท่ี 1 การเตรยี มความพรอมกอ นการตงั้ ครรภ 106 เรอ่ื งที่ 2 การดูแลระยะตง้ั ครรภ 106 เรื่องท่ี 3 การดแู ลมารดาหลังคลอด 109 การดแู ลสุขภาวะและสุขอนามยั สาํ หรับผสู ูงอายุ 137 เรื่องที่ 1 การเปล่ียนแปลงในวยั ผูส งู อายุ 143 เร่อื งที่ 2 สขุ ภาพอนามัย และการสง เสรมิ สุขภาพอนามยั สาํ หรบั ผสู งู อายุ 169 เรอื่ งท่ี 3 ทอี่ ยอู าศยั ท่เี หมาะสมสําหรบั ผสู งู อายุ 193 เรอื่ งที่ 4 กฎหมายที่ควรรแู ละสิทธสิ าํ หรับผูสงู อายุ 193 เรื่องท่ี 5 การใชส มารท โฟน (Smartphone) เพ่อื การสอ่ื สารสาํ หรบั ผสู ูงอายุ 194 การดแู ลและปอ งกนั โรคไมต ดิ ตอเรือ้ รงั (NCDs : Non – Communicable Diseases) 198 เรอ่ื งท่ี 1 ความหมายของโรคไมต ิดตอเรอื้ รงั 219 เรอ่ื งที่ 2 สถานการณโรคไมต ิดตอ เรอื้ รงั 235 เรอ่ื งท่ี 3 ธรรมชาติวทิ ยาของการเกดิ โรคไมต ดิ ตอเรอื้ รงั 243 เรอ่ื งที่ 4 การปองกนั และควบคมุ โรคไมติดตอเรอื้ รงั ระดบั บคุ คล 246 บรรณานุกรม คําสัง่ แตง ตง้ั คณะทํางาน คณะผูจดั ทํา

1 การดแู ลสุขภาวะและสุขอนามยั เด็กแรกเกดิ – 5 ป เรื่องที่ 1 อาหารกับการเจรญิ เตบิ โตของเดก็ ตามวัย 1. ความหมายของอาหารและการเจรญิ เติบโต อาหาร (Food) หมายถึง สสารใด ๆ ซ่งึ บริโภคเพื่อเสริมโภชนาการใหแกรางกาย อาหารมักมา จากพชื หรือสัตว และมสี ารอาหารสาํ คัญ เชน คารโ บไฮเดรต ไขมนั โปรตีน วิตามิน แรธาตุ ส่ิงมีชีวิตยอยและ ดดู ซมึ สสารท่ีเปนอาหารเขา สูเ ซลลเ พอ่ื นําไปสรา งพลังงาน ดาํ รงชวี ติ หรือกระตุนการเจรญิ เติบโต อาหาร หมายถึง ส่ิงที่รับประทานเขาไปในรางกายที่ไดมาจากพืชและสัตว เมื่อรับประทานเขาไป แลวตองใหป ระโยชนแกร างกาย เพอ่ื การคงชวี ติ การเจรญิ เติบโตของเซลล การซอมแซมเซลลทเี่ สยี หายสกึ หรอ และเพอ่ื ใหเซลลตา ง ๆ ทาํ งานไดอ ยางมปี ระสิทธิภาพ ตวั อยา งอาหาร เชน เนือ้ สตั วต า ง ๆ ผลิตภัณฑจากสัตว เชน (นม เนย ไข) ผัก ผลไม และผลิตภัณฑจากพืช (เชน แปง นํ้าตาล น้ํามันพืช) เปนตน โดยสารสําคัญ ในอาหารท่รี างกายนํามาเลี้ยงเซลลตาง ๆ เรียกวา สารอาหาร ซ่ึงประกอบดวยสารอาหารหลัก 6 ชนิด คือ โปรตีน คารโบไฮเดรต ไขมัน วติ ามิน แรธาตุ (เกลอื แร) และน้าํ การเจริญเติบโต (growth) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ (Physical growth) เชน การเพ่มิ จํานวนและขนาดของเซลลในทุก ๆ สวนของรา งกาย ทงั้ ในดา นขนาดและรูปราง สัดสวน ซึ่งสามารถ ประเมินไดจ ากนํา้ หนกั สวนสงู ความกวางและความหนา สามารถวดั ไดง าย (McKinney et al., 2013) ดังน้ัน เดก็ ในชวงวัยแรกเกิด - 5 ป ในระยะนี้การเจริญเติบโตของรางกายและสมองจะรวดเร็ว กวา วัยอ่นื ๆ พอแม หรอื ผูปกครองควรเนนการรับประทานอาหารที่มีคุณคาและมีปริมาณเพียงพอตอความ ตองการของเดก็ โดยเฉพาะนมแมควรใหนมตัง้ แตแรกเกิดเนือ่ งจากเปน อาหารทดี่ ที ีส่ ุดของทารก มีไขมนั ที่ชวย ในการพัฒนาเซลลสมองเปนวัคซีนสําเร็จรูปท่ีไดจากนมแมทําใหเด็กไมปวยบอย มีระดับสติปญญามากกวา เด็กที่ไมไดกินนมแม และการพูดคุยกับเด็กในขณะใหนมจะชวยกระตุนประสาทสัมผัสท้ังหา ชวยสงเสริม พัฒนาการและความมัน่ คงทางอารมณข องเดก็ ไดเ ปนอยา งดี การดแู ลเด็กใหก นิ นมแม ควรปฏบิ ตั ิดังนี้ 1) กนิ นมแมอยางเดียวอยางนอ ย 6 เดอื น 2) เม่ือเด็กอายุ 6 เดอื นขึน้ ไป กินนมแมค วบคูอาหารตามวยั 3) พูดคุย เลน เลา อานนทิ าน รองเพลงใหเด็กฟง 4) สรางความผกู พนั และเปน แบบอยางทีด่ ีแกเด็ก

2 5) ประเมินและเฝาระวงั พัฒนาการเด็กและบันทกึ พฒั นาการ เดก็ ชว งอายุ 1 - 5 ป สวนใหญจะไมสนใจอาหารและไมเจริญอาหารเหมือนวยั ทารก เพราะจะมี ความสนใจดานอนื่ มาเก่ียวของ เชน การสํารวจส่ิงแวดลอมและสนใจการเลนมากกวา นอกจากนี้เด็กยังเริ่ม เลอื กรับประทานอาหารในสงิ่ ที่ตนเองชอบ ดงั น้นั พอ แม หรือผปู กครองควรสรางสขุ นสิ ัยท่ีดใี นการรบั ประทาน อาหารอยางจริงจังในระยะนี้ ซึ่งเปนชวงเวลาท่ีอาหารมีความสําคัญตอการเจริญเติบโตและพัฒนาสมอง การใหอาหารเด็กอยา งไมเ หมาะสมหรือไมครบทงั้ 5 หมู จะทําใหการเจริญเติบโตหยุดชะงัก ระดับสติปญญา ไมดเี ทาท่ีควร และเจ็บปวยบอย เด็กควรไดรับประทานอาหารหลักครบท้ัง 5 หมู ในแตละหมูควรรับประทาน ใหห ลากหลายชนิด และรับประทานวนั ละ 3 ม้อื การใหอ าหารเดก็ ควรปฏิบัติดังนี้ 1) ใหอ าหารทม่ี ีปรมิ าณและคุณคาพอเพยี งกับความตองการของเด็ก 2) ฝก ใหเ ด็กรับประทานอาหารแปลกใหมจ ากท่ีเดก็ เคยรบั ประทานมากอน เชน ผกั มะเขือเทศ ไมควรใชก ารบงั คบั เดก็ ถาเด็กไมยอมรับประทาน เพราะจะทาํ ใหเดก็ ไมชอบอาหารชนิดนั้น แตใชวิธีดัดแปลง วธิ ีการปรุงและรสชาติใหเ ด็กยอมรับในอาหารนนั้ ๆ 3) ควรทําอาหารที่มสี ีสนั นา รบั ประทาน 4) อาหารตองรสชาติไมจ ดั ไมเ คม็ ไมหวาน ไมเปรยี้ วจนเกินไป 5) อาหารควรมีขนาดเล็ก ออนนมุ เคย้ี วงาย 6) ควรแบงอาหารเปนม้ือ ใหเด็กไดรบั ประทานอยางเพียงพอตอ ความตองการ 7) สรางบรรยากาศในการรับประทานอาหารท่ีดี พอแม หรือผูปกครองตองไมเครียด ไมดุ และบนวา ไมทะเลาะเบาะแวงระหวางรับประทานอาหาร 8) ไมนําอาหารทปี่ รุงสกุ ๆ ดิบ ๆ หรอื อาหารเหลอื คางมาใหเ ด็กรบั ประทาน ดังน้ัน อาหารจงึ มีสวนสาํ คญั อยา งมากในวัยเด็ก เพราะอาหารจะสงผลในดานการเจริญเติบโต ของรางกาย และการพัฒนาการในดา นความสมั พันธของระบบ การเคล่ือนไหวของรางกาย ตลอดจนในดาน จิตใจและพฤติกรรมในการแสดงออกของเด็ก ปจจัยท่ีมีสวนสําคัญท่ีทําใหเด็กไดรับอาหารที่ถูกหลักทาง โภชนาการ คือ 1) ครอบครวั ทีค่ อยดูแลและเปนตัวอยางท่ดี ี 2) ตวั เดก็ เองที่จะตองถกู ฝกฝน 3) สิง่ แวดลอ มทาํ ใหการเอาอยางคนขางเคียง

3 2. ความสาํ คญั และประโยชนข องการใหอาหารตามวัยสําหรับทารก 2.1 เปน การใหสารอาหารแกท ารกเพิม่ เติมจากนมแมหรือนมผสมในกรณีที่แมไมสามารถให ลกู กินนมแมไ ด ทารกในชวงอายุ 6 เดือนแรก จะไดรับสารอาหารพอเพียงจากนมแมท่ีมีสุขภาพดีหรือ นมดัดแปลง ถาแมมีสุขภาพดีและสามารถใหนมแมแกลูกไดอยางเต็มที่ จะทําใหทารกเติบโตไดตามเกณฑ นมแมอยางเดียวจะพอเพียงตอการเติบโตของลูกจนถึงอายุประมาณ 6 เดือน หลังจากน้ันทารกจําเปนตอง ไดรบั พลงั งานและสารอาหารบางชนิดเพิ่มเติมจากอาหารตามวัยสําหรับทารก เชน โปรตีน เหล็ก แคลเซียม สงั กะสี ไอโอดีน วติ ามนิ เอ เปนตน ในกรณีท่ีการเจริญเติบโตของทารกมีนํ้าหนักตัวเพ่ิมนอยหรือไมเพิ่ม หรือถาแมไมสามารถ ใหน มไดอ ยา งเตม็ ท่ี อาจใหอาหารตามวัยแกทารกกอนอายุ 6 เดือนได แตไมควรใหอาหารกอนอายุ 4 เดือน สรปุ คอื การใหอ าหารตามวัยท่นี อกเหนอื จากนมแม ควรเริ่มใหเ มอ่ื ลูกอายเุ ขา เดือนที่ 5 2.2 ชวยพัฒนาหนาที่เกย่ี วกับการเคย้ี วและกลืนอาหารซ่ึงมิใชของเหลว การใหอาหารตามวัยสําหรับทารก ชวยใหทารกปรับตัวเขากับการรับประทานอาหารกึ่งแข็ง กง่ึ เหลว (semisolid food) ใหคุน เคยกับรสชาติและลักษณะอาหารทหี่ ลากหลาย เพื่อพัฒนาไปสูการรับประทาน อาหารแบบผูใหญ (solid food) การเร่ิมใหอาหารก่ึงแข็งกึ่งเหลวชาเกินไป อาจทําใหทารกปฏิเสธอาหาร แบบผูใหญได 2.3 เสริมสรา งนสิ ยั และพฤตกิ รรมการกนิ ทีด่ ีของเด็ก การใหอ าหารตามวัยสําหรบั ทารกทีม่ ีคุณภาพและปรมิ าณเหมาะสมกบั วัยเปนส่ิงจําเปนตอ สุขภาพทารก ซึ่งจะมีผลตอรางกายและสตปิ ญญาในระยะยาวได ปญ หาของการใหอาหารตามวัยท่ไี มเหมาะสม นอกจากสาเหตทุ างเศรษฐกจิ แลว ยงั เกดิ จากความเชื่อทไ่ี มถ ูกตอง ความเขา ใจผดิ และความไมร ขู องครอบครัว และผูท่ีเกี่ยวของกับเด็ก ซึ่งควรไดรับการแกไขเพื่อลดความเสี่ยงของโรคขาดสารอาหาร โรคอวนและ ภาวะแทรกซอ นตาง ๆ ในอนาคต 3. ชนดิ ของอาหารตามวัยสาํ หรบั ทารก โดยทั่วไปแลวแมควรปรุงอาหารเองที่บานโดยใชอาหารที่มีในทองถ่ินนั้น ๆ เพื่อใหไดอาหาร ทีส่ ดใหม มคี ณุ คา ทางโภชนาการ ประหยัดและเปน การฝก ใหท ารกกนิ อาหารท่ีมีในทองถ่นิ แตด ว ยสถานการณ โลกสังคมปจจบุ ันทพ่ี อ แม หรือผูปกครองตองออกไปทํางานนอกบาน ดังน้ัน อาหารที่จําหนายในทองตลาด จึงเปนอีกทางเลือกหน่ึงที่จะนํามาเปนอาหารตามวัยสําหรับทารก ชนิดของอาหารตามวัย แบงออกเปน 2 ประเภท คอื

4 3.1 อาหารทเี่ ตรียมเองในครอบครัว อาหารมีหลากหลายใหเลือก แตควรจะเนนอาหารที่มีในทองถิ่นหรืออาหารที่ปรุงสําหรับ ครอบครวั ไดแก 3.1.1 ไข เปนอาหารที่มีประโยชน เพราะเปน แหลง อาหารทดี่ ขี องโปรตนี วิตามินเอ และแรธ าตุ เชน ฟอสฟอรัส เปน ตน ไขไ กหรือไขเ ปด ทีน่ ํามาปรงุ อาหาร ควรทาํ ใหสกุ จงึ จะยอ ยงาย ไมควรทําใหเ ปน ยางมะตูม หรอื ทาํ เปน ไขลวก เพราะถา ทําไมส ะอาดอาจมเี ชอ้ื โรคได 3.1.2 ตับ เปนแหลงสารอาหารท่ีดี ไดแก โปรตีน วิตามินเอ วิตามินบี 1 วิตามินบี 2 และ ธาตตุ า ง ๆ โดยเฉพาะเหล็ก ชนดิ ของตบั ท่ใี หท ารกกินอาจเปนตับไก หรอื ตับหมู และตอ งทําใหส กุ กอ น 3.1.3 เน้ือสัตวตาง ๆ ไดแก เนื้อหมู ไกและปลา เนื้อสัตวเปนแหลงอาหารสําคัญของโปรตีน เหล็ก สังกะสี และวิตามนิ นอกจากน้ีปลาทะเลยังเปนแหลงของกรดไขมัน ดีเอชเอ (Docosahexaenoic Acid , DHA) จะตองทําใหส ุกกอนใหทารกกินเสมอ 3.1.4 ถั่วเมล็ดแหงและผลิตภัณฑถ ว่ั เหลอื ง เปน อาหารท่ีมีโปรตีน แรธาตุตาง ๆ ชวยในเรื่อง ของการเจริญเติบโตของทารก ตอ งตม ใหสกุ และบดใหละเอียดจะไดยอยงายและทองไมอืด หรือใหในรูปของ ผลติ ภัณฑจ ากถัว่ เชน เตา หู เปนตน 3.1.5 ผักตา ง ๆ ผกั มวี ติ ามินและแรธ าตุ นอกจากนย้ี ังมกี ากใยอาหาร เพือ่ ชวยในการขับถาย ควรเลือกผักใหหลากหลาย โดยเฉพาะผักใบเขียวและผักสีสม เชน ตําลึง ผักบุง ฟกทอง แครอท เปนตน ควรทําใหสุกกอน 3.1.6 ผลไม ควรใหทารกกินผลไมท่ีสะอาดเปน อาหารวา งวันละครงั้ เชน กลวยน้ําวา มะละกอสุก มะมว งสุก และสม เขยี วหวาน เปน ตน ขอ แนะนําในการเตรียมอาหารทเ่ี ตรยี มเองในครอบครวั การเลือกอาหารที่เหมาะสม ควรใชอาหารสดหรืออาหารแชแข็งในชองแชแข็ง อยาใชอาหารกระปอง หรืออาหารทีถ่ นอมอาหาร โดยใชเกลอื เพราะจะทาํ ใหท ารกไดร บั เกลอื มากเกนิ ไป การเตรียมผกั และผลไม 1) ลา งผัก ผลไมใหสะอาด 2) หากใชผกั ผลไมแ ชแข็ง ควรรอใหน ํา้ แข็งละลายกอ น 3) แกะเปลอื ก เมล็ด แกน หรอื กา นแขง็ ออกใหหมด 4) ทาํ ใหส กุ โดยวิธตี มหรือน่งึ 5) ควรใชนา้ํ จากการตม หรอื นง่ึ เปนตวั ผสมในการบด เพ่อื ชว ยรกั ษาสารอาหารไว

5 การเตรยี มเนื้อสตั ว 1) เนอ้ื ปลาใหเ อาหนัง หรอื เกลด็ หรอื กา งออกใหห มด 2) สบั เนอ้ื สัตวใหละเอยี ด หรือบดจนไดล ักษณะตามตองการ 3) ทาํ ใหสกุ โดยวธิ ตี ม ตุน นึ่ง อบ หรือทอด วธิ จี ดั เก็บอาหารทเ่ี ตรยี มเสร็จแลว 1) เกบ็ อาหารใสภ าชนะปด สนิท แลวเกบ็ ในตูเยน็ รบั ประทานใหหมดภายใน 24 ช่ัวโมง 2) ถา จะเก็บอาหารไวน านกวา 24 ช่ัวโมง อาจแบงในปริมาณท่ีเพียงพอสําหรับ 1 มื้อ ใสในกลอง พลาสติกถนอมอาหาร เก็บในชองแชแข็งในตูเย็น ไมควรเก็บนานเกิน 1 สัปดาห นํามาใชทีละกลอง โดยอุน กอ นรับประทาน 3.2 อาหารทีจ่ าํ หนายในทอ งตลาด อาหารตามวัย (อาหารเสริม) สําหรับทารกท่ีจําหนายในทองตลาดมีท้ังประเภทก่ึงสําเร็จรูป หมายถึง กอ นนํามารบั ประทานจะตอ งผสมนา้ํ หรอื ตมใหสุกกอน การเลือกอาหารท่ีผลิตเพ่ือจําหนายเหลาน้ี ตองอานฉลากโภชนาการกอน เพราะแตละยี่หอ มีคุณคาทางโภชนาการแตกตางกัน ข้นึ อยกู ับวตั ถดุ บิ บางชนิดมีสารอาหารครบถวนตามที่ทารกตองการ แตบางชนิด มีสารอาหารไมครบถวน เชน มีขาวและแปง เปน สว นใหญ ชนิดหลงั นี้ถาจะใชจ ะตองเพิม่ สารอาหารที่ขาดไปให ครบถว น เชน ถา เปนอาหารประเภทธัญพชื จาํ พวกขา วตา ง ๆ ควรเสรมิ ดว ยไขห รือเนอ้ื สัตวห รอื ผัก เปนตน โดยทัว่ ไปแลวแมค วรปรุงอาหารเองท่ีบานโดยใชอาหารท่ีมีในทองถิ่นนั้น ๆ เพ่ือใหไดอาหาร ทส่ี ดใหม มคี ณุ คาทางโภชนาการและประหยัด แตถามีความจําเปนตองใชอาหารตามวัยที่จําหนายในทองตลาด ควรปฏิบตั ิ ดังนี้ 3.2.1 ควรอา นฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ สารอาหารท่ีกฎหมายบังคับใหตองแสดง บนฉลากโภชนาการ ไดแก ปริมาณพลังงานและสารอาหารท่ีใหพลังงาน วิตามินเอ วิตามินบี 1 วิตามินบี 2 แคลเซียม เหลก็ รวมถึงใยอาหาร และสารอาหารทีอ่ าจเปน โทษตอสุขภาพ เชน คอเลสเตอรอล เกลือโซเดียม กรดไขมันอิม่ ตัว และนา้ํ ตาล เปนตน นอกจากน้ัน หากมีการเติมสารอาหารลงไปในอาหาร หรือกลาวอางวามี สารอาหารใด ก็ตองแสดงขอมูลสารอาหารน้ันในกรอบขอมูลโภชนาการดวย การอานฉลากอาหารและ ฉลากโภชนาการจะชวยใหสามารถเลือกซื้อและบริโภคอาหารไดเหมาะสมกับความตองการหรือภาวะ ทางโภชนาการ โดยเฉพาะถาเปนอาหารเสริมกึ่งสําเร็จรูป มักมีสารอาหารไมครบถวน คือ มักมีแปงหรือขาว เปนสวนใหญ จาํ เปนตอ งเติมอาหารชนดิ อื่นลงไปดว ย เชน ไขแดง ตบั และผัก เปนตน เพื่อใหส ารอาหารครบถวน และเพยี งพอ

6 3.2.2 เลอื กอาหารสําเรจ็ รูปที่มีเลขทะเบยี น อย. และเลอื กซอื้ ใหเ หมาะสมกบั อายุของทารก ผลิตภณั ฑสวนมากจะระบุอายุของทารกไวท ฉ่ี ลากอาหาร 3.2.3 เลือกผลิตภัณฑท่บี รรจภุ ัณฑเรียบรอยและยังไมหมดอายุ 3.2.4 เลือกผลติ ภณั ฑท ี่ไมเ ตมิ น้ําตาล นาํ้ ผึ้ง เกลือ และผงชูรส 3.2.5 เลือกอาหารทีไ่ มม สี ารปรงุ แตง สี กล่นิ และไมใ สสารกันบูด 3.2.6 อาหารกง่ึ สาํ เรจ็ รูปจะตองทําใหสุกกอ นใหท ารกกนิ ทุกคร้ัง 4. วธิ ีการใหอ าหารตามวัย การใหอ าหารท่ีเหมาะสมกับชว งวัย ควรเร่ิมเม่ือลูกอายุครบ 6 เดือน สําหรับวิธีการใหอาหารเด็ก 6 เดือน – 5 ป ควรปฏิบัติดังน้ี 4.1 วธิ ีใหอาหารสําหรบั เด็กอายุ 6 เดอื น – 1 ป เร่มิ ทีละนอย เพื่อหัดเดก็ ใหเคยชิน โดยปฏิบัติ ดงั นี้ 4.1.1 เริม่ แรกบดละเอยี ด ตอ มาบดหยาบเมือ่ อายุ 7 - 8 เดอื น เพื่อฝก ใชฟ น บดเค้ยี ว 4.1.2 อาหารรสไมจ ัด เปลย่ี นชนดิ อาหารบอย ๆ เพอ่ื ไมใหเ ดก็ เบอื่ 4.1.3 ฝก ใหล กู ตกั อาหารกินเอง เม่อื ลกู จบั ชอนไดเอง 4.1.4 ลา งมอื กอ นเตรียมอาหารใหลกู 4.1.5 ทาํ ความสะอาดเครอ่ื งใช ผัก ผลไม กอ นปรุงอาหาร 4.2 วิธใี หอ าหารสําหรบั เด็กอายุ 1 – 5 ป 4.2.1 ควรใหเด็กไดด ม่ื นมทกุ วัน เพ่อื การเจริญเตบิ โตของรา งกาย 4.2.2 ควรใหรับประทานอาหารเหมือนผูใหญ แตรสจะตองไมจดั 4.2.3 เด็กในวัยน้ีไมชอบกินอาหาร แตชอบกินขนมจุกจิก ไดแก ขนมขบเค้ียว ทอฟฟ ช็อกโกแลต ฯลฯ พอ แม หรอื ผปู กครองควรเลอื กขนมท่ีมีประโยชนใหกับลูก เชน ถั่วเขียว ถั่วแดง หรือผลไม เปน ตน 4.2.4 พอแม หรอื ผปู กครองตองชง่ั นํา้ หนัก วดั สวนสงู ของลกู อยา งสมํ่าเสมอ เพอื่ เปรียบเทยี บ วาลกู มนี ้ําหนกั และสวนสงู ไดตามเกณฑห รือไม ควรทําการช่ังนา้ํ หนกั วัดสว นสูงใหล ูกทกุ 3 เดือน 4.2.5 ควรใหเ ดก็ กนิ ผกั ผลไม ไข นม และเนอ้ื สตั วทกุ วัน 4.2.6 พอแม หรือผูปกครองไมควรบังคับใหเด็กกินอาหาร เพราะจะทําใหเด็กเบ่ือและ กนิ อาหารไดน อยลง 4.2.7 พอแม หรือผูปกครองตองฝกลูกใหกินอาหารดวยตนเอง โดยพอแมทําตัวเปน แบบอยา ง

7 เรื่องท่ี 2 การดแู ลสขุ ภาพปากและฟน การดแู ลสขุ ภาพปากและฟนของเดก็ น้นั พอ แม หรอื ผปู กครองไมจ ําเปนตองรอจนกระท่ังฟนน้ํานม ซี่แรกขน้ึ จึงเรม่ิ ทําการดูแลสุขภาพปากและฟนของเด็ก พอแม หรือผูปกครองมีหนาท่ีในการเอาใจใส ดูแล สขุ ภาพปากและฟน ทง้ั ในดานการรักษาความสะอาดและการสอนใหเดก็ เลือกรับประทานอาหารท่ไี มก อ ใหเ กดิ สาเหตุของฟนผุไดงาย ดังน้ัน พอแม หรือผูปกครองควรพาเด็กไปพบทันตแพทยคร้ังแรกเม่ือฟนซ่ีแรกเร่ิมข้ึน เด็กจะมีอายุประมาณ 6 เดือน พอแม หรือผูปกครองจะไดรับคําแนะนําในการดูแลสุขภาพชองปากของเด็ก ต้ังแตแรกเร่ิม ทั้งทางดานการทําความสะอาดชองปากหลังรับประทานอาหารหรือนม การพบทันตแพทย อยา งสมํ่าเสมอ ชวยใหเดก็ มสี ขุ ภาพชองปากทด่ี ีมีรอยยม้ิ ทส่ี ดใส การเจรญิ เติบโตของฟน (Dental growth) ฟนของคนเราจะมี 2 ชุด คือ ฟน นาํ้ นมและฟนแท 1. ฟนน้าํ นม มี 20 ซี่ เริ่มโผลพ นเหงอื กเมือ่ อายุ 6 - 8 เดอื น หลังจากน้นั จะเฉลย่ี เดือนละ 1 ซี่ 2. ฟนแท มี 32 ซ่ี ซ่แี รกที่เริ่มขึ้น คือ ฟนกรามซ่ีแรก (first molar) เร่ิมข้ึนเม่ืออายุประมาณ 6 ป ตอไปจะขึ้นเฉลย่ี ปล ะ 4 ซี่ ตามลาํ ดบั สรุปดังตาราง ฟน เริม่ ขึน้ (อายุ ป) กรามซแ่ี รก 6-7 ฟน กัดซกี่ ลาง 5-8 ฟนกัดซขี่ าง 7-9 9 - 12 เข้ียว 10 - 12 กรามนอยซ่แี รก 10 - 13 กรามนอ ยซีท่ สี่ อง 12 - 13 กรามซที่ ่ีสอง 17 - 22 กรามซท่ี ่ีสาม

8 แนวทางปฏบิ ัติ ในการดูแลสุขภาพปากและฟน พอ แม หรือผปู กครองควรเอาใจใสการดแู ลสุขภาพปากและฟนลูก โดยปฏบิ ัตดิ ังนี้ 1. ใชผา ชบุ นาํ้ สะอาดเชด็ ฟน และกระพงุ แกม ใหเ ดก็ อยางนอยวนั ละ 2 ครง้ั ตอนเชา และกอ นนอน 2. แปรงฟนใหเด็กดวยแปรงสฟี นขนออ นนมุ เมอ่ื ฟนขน้ึ หลายซี่ 3. สอนเด็กแปรงดวยตนเอง และพอแม หรือผูปกครองแปรงซํ้า จนกวาเด็กอายุประมาณ 6 - 7 ขวบ เนือ่ งจากเด็กเล็ก ยังไมส ามารถใชกลา มเน้ือมอื ไดอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ 4. ควรใหเดก็ ด่มื นมแม แตถา เด็กดื่มนมผง นมผงไมควรมีรสหวาน ถาจะใหเด็กรับประทานอาหาร เสริมทมี่ ีลกั ษณะเหนียวขน ควรแปรงฟน ใหเ ด็กหลังรบั ประทานอาหารเสริม 5. งดการดูดนมขวดและหลับไปพรอมกับการดดู ขวดนม 6. เลอื กอาหารวา งทีม่ ปี ระโยชน เชน ผลไม ถวั่ ตม หรอื เนื้อสัตวอบแหงแทนขนมหวาน 7. หม่ันตรวจและสงั เกตฟนเด็ก โดยเปดริมฝปากเด็ก ดูฟน ถาพบคราบสกปรกใหเช็ดหรือแปรงออก และหากฟน สีขุนขาวหรือเปลย่ี นเปน สดี ําหรือมรี ผู ุ ควรพาเดก็ ไปพบทันตแพทย 8. ควรพบทนั ตแพทยทกุ 6 เดือน เพ่อื ตรวจสขุ ภาพชอ งปาก และรบั คาํ แนะนาํ ทีม่ า : http://www.dt.mahidol.ac.th/th/ภาควชิ าทนั ตกรรมเดก็ / 1. สขุ ภาพชอ งปากเด็กแรกเกดิ – 5 ป 1.1 สถานการณส ขุ ภาพชองปากเดก็ ปฐมวัย โรคฟนผุในฟนน้ํานมของเด็กไทย มีความชุก (prevalence) อยูในระดับคอนขางสูง เม่อื เปรียบเทียบกับประเทศตา ง ๆ และมคี วามรนุ แรงเนื่องจากมีคาเฉลี่ยฟนผุ ถอน อุด คอนขางสูง จากการ สาํ รวจทันตสขุ ภาพทง้ั ระดบั จงั หวัดทกุ ป ต้งั แต พ.ศ. 2546 เปนตนมา และระดับชาติลาสุด คร้ังท่ี 6 พ.ศ. 2550

9 พบกลุมเดก็ อายุ 3 ป และ 5 – 6 ป มีคาเฉลี่ยฟนผุ ถอน อุด (dmft) เปน 3.6 และ 6 ตามลําดับ และฟนท่ีผุ สวนใหญย ังไมไ ดรับการดแู ลรกั ษา 1.2 ปจ จยั และสาเหตุท่ีมผี ลตอการเกดิ โรคฟนผุในเดก็ อายแุ รกเกิด – 5 ป สาเหตทุ ีเ่ ดก็ กอนวัยเรียนมีสภาวะฟน น้ํานมผุสงู เกีย่ วของกบั ปจจัยตาง ๆ ไดแก พฤติกรรม การเล้ียงดูเด็กทไ่ี มถูกตอง เชน การดูดนมขวดคาปาก การปลอยใหเ ดก็ หลบั คาขวดนมเปน ประจาํ การไมดูดนาํ้ ตามหลังดูดนม การทําความสะอาดชองปากไมสม่ําเสมอ เปนตน เด็กกลุมนี้มีอัตราการเกิดฟนผุ ถอน อุด เปนดา น (dmfs) โดยเฉล่ียสูงกวา เดก็ ที่ถกู เลยี้ งดใู นทางตรงขาม เดก็ ทถ่ี กู เล้ยี งโดยพี่เลี้ยง ญาติ หรือฝากคนอื่นเลยี้ ง มอี ัตราเฉล่ยี ฟนผุ ถอน อุด สงู กวาเดก็ ท่แี มเล้ียง การชอบรับประทานของหวาน การแปรงฟนนอยกวาวันละ 2 ครงั้ หรือไมแปรงฟนเลย และการท่ีเด็กไมเคยพบทันตแพทยเลยมีผลตอการเกิดฟนผุของเด็กวัยน้ีเชนกัน จากรายงานของกองทันตสาธารณสขุ ถึงพฤตกิ รรมของพอแม หรือผูปกครองเกี่ยวกับการเล้ียงดูและการดูแล สุขภาพชองปากของเด็กอายแุ รกเกิด – 3 ป ในครอบครัวชนบท พบวาโดยสวนนอยที่พอแม หรือผูปกครอง จะแปรงฟนใหลูกทุกวัน นอกจากน้ีชนิดของนมมผี ลตอการเกดิ ฟนผขุ องเดก็ วัยนี้เชน กนั ปจจยั อน่ื ๆ ที่พบวา มีความสมั พันธของโรคฟน ผใุ นเดก็ กอ นวยั เรยี น คอื อาชพี การศกึ ษาของ พอ แม หรอื ผปู กครอง รายไดข องครอบครวั ทัศนคติเกี่ยวกับการดูแลทันตสุขภาพเด็กกอนวัยเรียนของพอแม หรอื ผปู กครองพบวาอยใู นระดับนอ ย นอกจากน้ีสาเหตุหลักที่ทําใหเด็กมีฟนน้ํานมผุเร็ว และผุมาก เน่ืองจาก การกนิ นมทไ่ี มเหมาะสม การกนิ อาหารแปง และน้าํ ตาลบอย ๆ การไมทําความสะอาดชองปาก และการไมได รับบริการดานการปองกันฟนผุ อีกท้ัง ปจจัยดานสังคมและสิ่งแวดลอมจะมีอิทธิพลอยางมากตอการดูแล สุขภาพชอ งปากเด็ก และสงผลตอ การเกิดฟนผุในเดก็ เลก็ ภาวะทุพโภชนาการ (malnutrition) มีผลตอการเกดิ ฟนผขุ องเดก็ ดวยเชนกัน สาเหตุที่เปนภาวะฟน ผใุ นฟนนา้ํ นมของเดก็ กอ นวัยเรยี นยงั คงมปี ริมาณมาก ตลอดจนยังเปน สาเหตุความรุนแรงของโรคสงู คือ 1) ผูเลีย้ งดเู ด็ก (เชน พอ แม ปู ยา ตา ยาย พ่เี ลย้ี ง เปน ตน ) (1) ขาดความรู ความเขา ใจที่ถูกตอ งในการดูแลสุขภาพชองปากของเด็กในการเลย้ี งดูเดก็ (2) มีความรแู ตไมป ฏิบตั ติ ามคาํ แนะนําของทันตแพทย ไมพยายามสรา งนิสัยการบริโภค ที่ถกู ตองใหกบั เด็ก (3) มคี วามไมพ รอมทางเศรษฐกจิ ไมม ีเวลาเอาใจใสเดก็ เทา ท่คี วร (4) มที ัศนคติตอ โรคฟนผใุ นฟน นา้ํ นมยังไมถูกตอง

10 2) ทนั ตบุคลากร (1) ทนั ตแพทยสว นใหญเนน ไปทีก่ ารรกั ษา ไมไ ดใ หค วามสนใจในดา นการปอ งกนั (2) ทนั ตบคุ ลากรมคี วามรู แตไมสามารถถายทอดความรไู ปใหประชาชนไดอยา งชดั เจน (3) การแกป ญ หาของทนั ตบคุ ลากรยังไมส อดคลอ งกับวิถีชวี ิตของชาวบาน (4) งานทันตกรรมปอ งกนั สวนใหญฝ ากไวก ับเจาหนา ท่ีสาธารณสุขอ่ืน ๆ เปนผูรับผิดชอบ ดาํ เนินการ ทําใหงานดา นนไี้ มไ ดรบั ผลดีเทาท่คี วร 3) สงิ่ แวดลอม (1) ส่ือโฆษณาดา นการบริโภคอาหารประเภทขนมและของกินเลนประเภทแปงและนํ้าตาล มีอทิ ธิพลตอ พฤตกิ รรมการรับประทานของเด็กเปน อยางมาก (2) อาหารท่ีทําใหเกิดฟนผุประเภทแปง น้ําตาล สะดวกในการหาซื้อมากกวาอาหาร ประเภทผลไม 4) รฐั บาล (1) รฐั บาลไมใหก ารสนบั สนนุ การปองกนั ฟนผุอยา งจรงิ จงั (2) รัฐบาลไมมีนโยบายการควบคุมการโฆษณาอาหารประเภทขนม ของกินเลนที่ไมมี ประโยชนแตม ผี ลตอ โรคฟน ผโุ ดยตรง การปองกันฟนผใุ นเดก็ กอ นวัยเรยี น การเกิดฟนผุในฟน น้ํานมมปี จจยั ทต่ี างจากฟน ผุโดยทว่ั ไป คอื 1) ฟน เดก็ ทีข่ ึน้ ใหมอ ยูในระยะสดุ ทา ยของการเจรญิ เติบโตท่ีเต็มท่ี (maturation) ซึ่งเปนระยะ ทีม่ คี วามไวตอการเกิดฟน ผสุ ูงสดุ 2) อาหารสาํ หรับเด็กทีม่ ีความเก่ยี วขอ งกับโรคฟน ผใุ นเด็กเลก็ คอื นมและอาหารวาง 3) มีการสง ผา นเชอ้ื แบคทีเรียทเี ปน สาเหตขุ องโรคฟน ผใุ นเด็กจากแมไ ปสูลูก การปองกนั ฟนผุในเด็กกอ นวัยเรียน แบง ไดเ ปน 1) การใหค วามรทู ันตสขุ ภาพ 2) การตรวจสขุ ภาพชองปากเพอื่ ประเมินฟน ผใุ นระยะเร่ิมแรก 3) การใชฟลอู อไรด ไดแก การเตมิ ฟลูออไรดในนา้ํ ดืม่ 4) การลดการสงผานเช้ือ

11 5) การใชยาตานจุลชพี เฉพาะที่ 6) การใชนํ้าตาลทดแทน 7) การเคลอื บหลุมรองฟน มาตรการในการแกไ ขปญ หาฟน ผุในกอ นวัยเรียน 1) ใหค วามรแู ละสรางทศั นคตขิ องผูเลี้ยงดูเด็กถึงความสําคัญของฟนนํ้านมและการปองกัน ฟนผทุ ีส่ ามารถปฏิบตั ไิ ดงายและไดผ ลดี 2) เนนการสรางและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของพอแม หรือผูเลี้ยงดูเด็ก ใหเปนการสงเสริม สขุ ภาพ 3) ผสมผสานองคความรูและเทคโนโลยีสมัยใหมกับวัฒนธรรมที่มีอยูเดิมในทองถิ่นเปน ทางเลอื กทีป่ ฏบิ ัตไิ ดง า ย เหมาะสมกับตนเองและวิถีความเปน อยูในชวี ิตประจําวัน 4) สนับสนุนใหชุมชนมสี วนรวมรบั ผดิ ชอบในการแกปญหาฟนผขุ องเดก็ ในชุมชน 5) สงเสริมใหมีการใชฟลูออไรดอยางกวางขวาง ดวยรูปแบบที่เหมาะสม ทั้งในระดับบุคคล และระดับชุมชน 6) การเตรียมความพรอมของทนั ตบุคลากร โดยการปรบั ปรุงหลักสูตรทใ่ี ชในการเรียนการสอน ใหมีความสอดคลอง โดยเพ่ิมความสําคัญเรื่องทันตกรรมปองกันในเด็กกอนวัยเรียน (ชัชรี สุชาติลํ้าพงศ และคณะ, 2545) 2. การดแู ลสุขภาพชอ งปากเด็กแรกเกิด – 5 ป ตามปฏิทินทันตสขุ ภาพ การดูแลสขุ ภาพและสุขอนามัยในเด็กแรกเกิด - 5 ป เปนชวงระยะเวลาที่เด็กเจริญเติบโตอยาง รวดเร็ว การดแู ลสขุ ภาพชอ งปากใหแกเดก็ แรกเกิด – 5 ป จึงเปน ส่งิ สําคญั ทพี่ อ แม หรือผูปกครองตอ งเอาใจใส และเพื่อใหเดก็ แรกเกดิ – 5 ป มสี ขุ ภาพชอ งปากท่ีดี สํานกั ทนั ตสาธารณสขุ กรมอนามัย จึงไดกําหนดขอแนะนํา ในการดูแลสขุ ภาพปากเดก็ แรกเกิด – 5 ป ตามปฏทิ ินทันตสุขภาพ ดังนี้

12 ปฏิทนิ ทนั ตสุขภาพสาํ หรบั เดก็ แรกเกิด – 5 ป อายุ พฒั นาการดา นตา ง ๆ ขอแนะนํา (เดอื น) 0 - 6 วัยนเี้ ดก็ ยงั ไมมีฟน ข้นึ 1. เด็กควรกนิ นมแมอยางเดยี ว เพราะนมแม มสี ารอาหารและนาํ้ พอเพยี งตอการเจริญเตบิ โต ของเด็ก 2. ใชผ าสะอาดชบุ นํา้ ตม สกุ ท่ีเยน็ แลว เชด็ เหงอื กกระพงุ แกม ลนิ้ ใหลูกวันละ 2 คร้งั 5 - 6 เด็กในวัยน้ีจะเอ้ือมมือหยิบและถือวัตถุไว 1. เริ่มเตรยี มความพรอ มในการแปรงฟน ในขณะอยูในทา นอนหงาย สรางความคนุ เคยต้ังแตฟ น ยงั ไมข ึ้น โดยให ลูกจบั ถือแปรงสฟี นบอย ๆ 2. เลอื กแปรงสีฟนแบบนารกั ขนนุม ลา งให สะอาดทุกครั้ง 6 เดก็ ในวยั น้ี สามารถคอตงั้ ไดม ่ันคง พฤตกิ รรม ฝก ดมื่ นมจากถว ย อาจเรม่ิ จากการใชช อ นปอน ที่เคยชอบดันลิ้นออก จะคอย ๆ หายไป 6 - 8 1. เด็กเร่ิมมีฟนซ่ีแรกขึ้น ฟนหนาซี่กลาง 1. พาลกู ไปพบทันตแพทยไ ดต้งั แตฟนซ่ีแรกขึ้น (ฟนลา งมักขึ้นกอนฟนบนเสมอ) เพือ่ รบั คําแนะนาํ ในการดแู ลสขุ ภาพชอ งปาก และเพื่อใหเด็กคนุ เคยกบั บรรยากาศในหอง ทาํ ฟนและการมาทาํ ฟน 2. แปรงฟน ใหลูกตั้งแตฟน ซีแ่ รกดว ยยาสฟี น ผสมฟลูออไรด แตะขนแปรงพอเปยก ถแู ปรงไปมาสนั้ ๆ ในแนวขวาง แลว ใชผา สะอาดเชด็ ฟองออก ทาทกุ วนั จนเปนนิสยั อยางนอ ย วันละ 2 คร้งั เชา และกอ นนอน 2. สามารถบังคับกลามเน้ือที่ปาก ควบคุม 1. ฝก เลิกนมมือ้ ดึก การปด ปากได (เวลาประมาณ 24.00 – 04.00 น.) 3. สามารถบงั คับกลามเน้ือมอื ไดมากขน้ึ 2. ฝกดื่มนมจากถว ยพลาสตกิ ใบเล็ก 2 หู ใชน ้ิวมือไดด ขี ้นึ จบั ถือของและเปล่ียนมอื ไดดี 3. เร่ิมหดั ใหเ ด็กกินอาหารเสรมิ ที่เตรยี มข้ึนเอง

13 อายุ พฒั นาการดา นตาง ๆ ขอ แนะนาํ (เดือน) ไม ปรุ งรสเพ่ิม หรื อให ฝกใชฟ นกัดผั ก ผลไมน ิ่ม ๆ เชน แครอทตม มะละกอสกุ กลว ย เพอื่ ใหตอไปเดก็ จะกินผกั และผลไมไดง าย 4. หากเดก็ กนิ อาหารเสริมไดดี อาจใหกนิ อาหาร แทนนมแมไ ด 1 มอื้ ในตอนเย็น เพื่อใหอยทู อ ง และเลิกนมมื้อดึกไดงา ยขน้ึ 9 - 10 เด็กในวัยน้ี สามารถใชน้ิวหยิบอาหารกินได เลอื กผกั ผลไมเน้อื นมิ่ เชน แครอทตม เรม่ิ สนใจอาหารอื่น ๆ มะละกอสกุ กลวย มะมวงสกุ ตดั เปน ช้ินยาวเล็ก ๆ ใหลกู ถอื จับกิน 10 - 12 1. เด็กจะเลนสงิ่ ของตามประโยชนข อง 1. ฝก ใหลูกจับถอื แปรงสีฟน บอย ๆ สง่ิ ของได เชน แปรงสฟี น แกว นํา้ เปน ตน 2. ควรใหค าํ ชม หากเด็กดืม่ น้ําจากถว ยได 2. เดก็ จะชอบเลียนแบบพอแม 1. ช้ชี วนใหล กู หยิบผลไมเนือ้ นมิ่ กินเอง 2. พอ แม หรอื ผปู กครองด่ืมนา้ํ จากถว ยใหล ูก ดบู อ ย ๆ 3. พอ แม หรอื ผปู กครองชวนลกู แปรงฟน (โดยพอ แม หรอื ผปู กครองแปรงซํ้าให) 3. เดก็ จะมีฟน หนาซ่ีขา งเรม่ิ ขึน้ 1. เปนชวงวยั ทีเ่ หมาะกับการฝก เลิกนมขวด เพราะการดูดนมหลับคาขวด ดูดนมม้ือดึก ดูดนมหวาน เสี่ยงตอการเกิดฟนผุและ หากเดก็ ตดิ ใจการดูดขวดจนถงึ อายุ 3 ป จะทําใหฟ นหนาย่นื 2. พอ แม หรือผปู กครองควรตรวจความสะอาด หลังแปรงฟน โดยการใชหลอดพลาสติก เลก็ ๆ เขี่ยดคู ราบจุลนิ ทรียบ นผิวฟน หากพบวายังไมส ะอาดตองแปรงซาํ้

14 อายุ พัฒนาการดา นตา ง ๆ ขอแนะนาํ (เดอื น) 12 - 18 1. เดก็ สามารถใชมือจับถือถว ยได ควรใหเด็กด่ืมนมจากถวยหรือกลองทุกครั้ง แตย งั ปลอ ยถวยไดไมดี โดยพอ แม หรือผูป กครองชวยจับถวยในระยะ การฝกแรก ๆ ทําควบคูก บั การชมเชย 2. เด็กจะเรม่ิ ทาํ ความเขาใจคําสงั่ งา ย ๆ หรอื สามารถเร่ิมการฝกวินัยเพื่อสรางพฤติกรรม กติกาส้ัน ๆ ทีช่ ดั เจนไดทาํ ตาม ไดช อบ ที่เหมาะสมได เชน การแปรงฟน การกินผัก การชมเชย ผลไม การด่มื นมจดื เปน ตน 3. เด็กสามารถเลน การใชส ่ิงของตามหนาท่ี พอแม หรือผูปกครองเลนสมมติกับเด็ก หรือ ไดมากขึ้น ดว ยบทบาทสมมติกับสงิ่ ของ เลนเกม เชน เลนแปรงฟนตุกตา เลนตรวจฟน เลนเกมนับฟน เปนตน ถาเด็กยังทําไมได พอแม หรือผูปกครองจับมือใหเด็กทําตาม จนเดก็ เลนไดเอง 4. เดก็ จะมีฟน กรามนาํ้ นมซท่ี ่ี 1 และฟน เขี้ยว 1. แปรงฟนใหล กู ดวยยาสีฟนผสมฟลอู อไรด อยางนอยวันละ 2 ครัง้ เชา และกอ นนอน 2. อยาลมื แปรงฟนกรามดานใน 3. ตรวจความสะอาดหลังแปรงฟนทุกคร้ัง โดยการใชหลอดพลาสติกเล็ก ๆ เข่ียดู คราบจลุ ินทรียบนผวิ ฟน หากพบวายังไม สะอาด ตองแปรงซา้ํ 18 เดก็ สามารถด่ืมน้าํ จากแกว ไดโดยไมห ก เด็กควรเลกิ นมขวดไดอ ยา งถาวร 18 - 24 1. เดก็ ชอบลองอาหารท่มี ีเนอ้ื มากขึน้ 1. หลีกเล่ียงอาหารหวาน เพ่อื จะไดไ มเปนเด็ก เด็กจะชอบใชมอื หยิบอาหารเขาปาก ตดิ รสหวาน ซ่ึงจะทาํ ใหเ ด็กอวนและฟนผุ 2. เด็กสามารถฝกใหมมี ารยาทและวนิ ัยได 2. ทานอาหารวางไมเกิน 2 คร้ังตอวัน และ ฝกกินผลไมเ ปน อาหารวา ง 3. เลือกอาหารวางท่ีดี ไดแก นมจืด ขนมทที่ ํา จากผลไม ถว่ั ตาง ๆ หรือเลือกผลไมเน้ือน่ิม เชน มะละกอ มะมวงสุก ตดั เปนชิน้ ยาวเล็ก ๆ

15 อายุ พฒั นาการดา นตาง ๆ ขอแนะนาํ (เดอื น) ใหลูกถอื จับกินได เปน ตน 4. ใชวธิ กี ารกระตนุ เชงิ บวกใหลกู รูสึกอยากกิน 24 - 30 เด็กจะมีฟนกรามน้ํานมซ่ีที่ 2 ฟนนํ้านมขึ้น 1. แปรงฟนใหลูกดวยยาสีฟนผสมฟลูออไรด ครบสมบูรณ 20 ซ่ี และใชไหมขัดฟน อยางนอยวันละ 2 คร้ัง เชา และกอนนอน 2. อยา ลมื แปรงฟนกรามดา นใน 3. ตรวจความสะอาดหลังแปรงฟนทุกครั้ง โดยการใชหลอดพลาสติกเล็ก ๆ เขี่ยดู คราบจลุ ินทรยี บ นผวิ ฟน หากพบวายงั ยงั ไม สะอาด ตอ งแปรงซ้าํ 30 - 36 เด็กวัยนีจ้ ะชอบทําอะไรดวยตนเอง 1. สอนสุขนิสัยตาง ๆ เชน การแปรงฟน และสามารถใชมือเดยี วไดอยางตอเนอื่ ง ก า ร ล า ง มื อ เ ร่ิ ม ฝ ก ใ ห เ ด็ ก แ ป ร ง ฟ น เ อ ง โดยพอแม หรือผูปรกครองควรชวยจับมอื ลกู แปรง หรอื แปรงใหดเู ปนแบบอยา ง 2. หากมีกระจกจะทําใหล กู สนใจมากยิ่งขนึ้ 3. เดก็ วยั นยี้ งั ไมส ามารถหมุนขอ มอื ได ทั่วทง้ั ปาก พอ แม หรอื ผูปกครองควรแปรง ซ้ําใหเด็กทุกคร้ัง จนถึงอายุ 6 - 8 ป หรือ เมื่อเด็กสามารถ ผูกเชอื กรองเทา เปนโบวไ ด 36 - 60 เดก็ วัยนี้ เร่มิ มคี วามสนใจในสง่ิ รอบตัว 1. ใหเดก็ รบั ประทานอาหารวา งท่ีมคี ณุ คา เชน จงึ ทําใหสง่ิ แวดลอ มเร่มิ มีอิทธพิ ลตอ เด็ก นมจดื ผลไม ขนมทีท่ าํ จากผลไม ถว่ั ตาง ๆ มากข้นึ โดยเฉพาะการกิน เปน ตน 2. ไมค วรใหเ ด็กดโู ทรทศั นม ากนกั เพราะจะ ถูกช้ีนําจากส่ือโฆษณาไดงาย ชอบอาหาร ทม่ี ีสีสัน

16 3. เทคนคิ การแปรงฟน ในเดก็ การแปรงฟนดวยแปรงสีฟนในเด็ก พอแม หรือผูปกครอง ควรเร่ิมเมื่อลูกมีฟนกรามนํ้านมขึ้น เพราะบริเวณดานบดเค้ยี วของฟนกรามจะมีหลมุ รอ งฟน ลกึ ถาหากใชผ า เชด็ จะไมเพยี งพอในการทาํ ความสะอาดได พอแม หรือผูป กครองตอ งเลอื กแปรงสีฟนขนาดพอเหมาะกับชอ งปากของเด็ก คอื แนวขนแปรงครอบคลมุ ฟน ได ประมาณ 2 ซ่ี แปรงไมก วางหรือสงู เกนิ ไปจนเชาชอ งปากเด็กลาํ บาก ขนแปรงออ นนมุ ดา มจับเปนแบบตรง ๆ จับงาย วิธีการแปรงฟนท่ีงายและมีประสิทธิภาพดีในเด็ก คือ วิธีถูไปมา (Horizontal scrub) คือ การวางแปรงในแนวนอน และขยับสนั้ ๆ ในแนวนอนประมาณ 10 ครัง้ ตอ ตําแหนง แลวขยับเล่ือนแปรงไปยัง บริเวณถดั ไป โดยทาํ เปน ลําดับจากซา ยไปขวา และตองแปรงท้ังดานนอกและดา นใน ดงั นนั้ เพ่อื ใหล ูกมสี ขุ ภาพฟน ที่ดี พอแม หรอื ผูปกครองควรตองมีเทคนคิ วธิ กี ารแปรงฟน ในเด็ก คือ 3.1 การแปรงฟนใหล ูกอยา งมีคุณภาพ จะทาํ อยางไรใหล ูกมีสุขภาพฟนท่ดี ี ส่งิ สาํ คญั ทพ่ี อแม หรอื ผปู กครองตอ งรูก อ นการแปรงฟน ใหเด็ก คอื เราแปรงฟนเพ่ือกาํ จัดเช้ือโรคทเี่ ปนสาเหตุของโรคฟนผุ แปรงฟนเพ่ือเอาคราบจุลินทรียออกจาก ผิวฟน ไมใชแปรงฟนเพียงแคกําจัดเศษอาหารที่ติดฟน การแปรงฟนในเด็กเล็ก พอแม หรือผูปกครองตอง ไมกังวลเมื่อเด็กรองเวลาแปรงฟนเพราะเปนธรรมชาติของเด็กวัยนี้ การแปรงฟนท่ีไดผลดีและทําใหลูกมี คุณภาพฟน ทด่ี ีพอแม หรือผูปกครองควรปฏบิ ัติ ดังนี้ 3.1.1 แปรงฟน ใหเดก็ วนั ละ 2 ครง้ั ดว ยยาสีฟนผสมฟลอู อไรด แตะขนแปรงพอชนื้ 3.1.2 พอแม หรอื ผปู กครองน่ังพื้นใหเด็กนอนหนุนตักหรือนั่งบนเกาอใ้ี หเ ด็กยืนหันหลังให ถา เด็กดน้ิ พอ แม หรือผปู กครองควรใชข าควบคุมแขนและขาของเด็กไวใหน งิ่ 3.1.3 ใชน้ิวแหวกกระพุงแกม หรือริมผปี ากเพือ่ ใหเ ห็นฟนทจ่ี ะแปรงไดชดั เจน วางขนแปรง ตงั้ ฉากกบั ตวั ฟน ใหขนแปรงครอบคลมุ ถึงบรเิ วณคอฟน ขยับแปรงไปมาสนั้ ๆ บรเิ วณละ 10 ครั้ง จึงเปล่ียนท่ีใหม ใหซ อนทับกับบรเิ วณเดิมเล็กนอ ยขยับไปเรอ่ื ย ๆ จนครบทง้ั ดา นนอก ดานใน แลว นาํ ผา สะอาดเช็ดยาสฟี น ออก 3.2 ทําอยางไรใหลูกยอมแปรงฟน วิธที จี่ ะทาํ ใหเดก็ ยอมแปรงฟน พอแม หรือผูปกครองควรปฏบิ ัติ ดังน้ี 3.2.1 คอย ๆ สรา งความคนุ เคยต้ังแตฟนยังไมข น้ึ โดยใหลกู จับถอื แปรงสฟี น บอย ๆ อาจเลือก แปรงสฟี น ท่ีมแี บบนา รกั ขนนมุ และลางใหส ะอาดทุกครง้ั 3.2.2 ใหล ูกมสี ว นรวมในการเลอื กอุปกรณ 3.2.3 สรางบรรยากาศท่ดี ีในการแปรงฟน โดยพูดหยอกลอ หรือรอ งเพลง 3.2.4 ฝก ใหเ ปน กิจวตั ร เพอ่ื ใหล กู เห็นความสําคัญ

17 3.3 การเลือกแปรงสฟี นท่ีเหมาะสมกบั เดก็ แปรงสีฟนควรมีลกั ษณะ ดังน้ี 3.3.1 หัวแปรงเลก็ กวา งไมเ กิน 1 ซม. ยาวไมเ กิน 2 ซม. หรอื คลุมฟนไมเกิน 3 ซี่ 3.3.2 ขอบมน เรยี บ ไมเ ปน มุม ไมคม 3.3.3 ขนแปรงออ นนุม มีกระจกุ ขนแปรงไมเ กนิ 3 - 4 แถว 3.3.4 ดามแปรงยาวพอสาํ หรับผูใ หญจ บั ไดถ นัดเวลาแปรงฟนใหเด็ก 3.3.5 อายกุ ารใชงานของแปรงสีฟน คือ ประมาณ 3 เดอื น หรือควรเปล่ียนเม่ือแปรงสีฟน เส่ือมสภาพขนแปรงบานมาก หรอื ซอกขนแปรงมีคราบสกปรก 3.4 ปริมาณยาสีฟนท่เี หมาะสมกับเดก็ ทมี่ า : http://dental2.anamai.moph.go.th/ewtadmin/ewt/dental/ewt_dl_link.php?nid=1599 3.4.1 เด็กอายุ 3 ป ซ่ึงเปน วยั ทฟี่ น เรม่ิ ขึน้ พอ แม หรือผูปกครองเร่มิ ใชยาสีฟนสําหรับเด็ก ท่ีมปี ริมาณฟลอู อไรดแ ตะเปนจดุ ที่บนแปรง ประมาณ 1,000 ppm 3.4.2 เม่อื เด็กอายเุ ขา สปู ท ี่ 3 – 5 ปริมาณยาสีฟนผสมฟลูออไรดท่ีใช 1,000 ppm โดยมี ขนาดเทาเมลด็ ถ่ัวเขยี ว 3.4.3 เด็กอายุ 6 ปข้ึนไป ใชปริมาณยาสีฟนผสมฟลูออไรดท่ีเหมาะสมในแตละครั้ง คือ 1,000 ppm หมายเหตุ : ppm หมายถึง 1,000 สวนใน 1,000,000 สว น

18 เรอ่ื งที่ 3 การไดรับวคั ซีน 1. ความหมายของการฉดี วคั ซนี การฉดี วคั ซนี คอื การสรางภูมคิ ุมกนั เพือ่ ปองกันการติดตอของโรคตดิ ตอรา ยแรง เชื้อของวัคซีน ไดมาจากเชื้อไวรัส หรือเชื้อแบคทีเรียที่ออนตัวแลว หรือสวนประกอบอื่นของ เช้อื เหลานั้น จุดประสงคในการฉีดวัคซีน เพื่อปองกันโรคติดตอรายแรง โดยเฉพาะกับเด็ก การไดรับวัคซีน เปนการปอ งกนั การแพรร ะบาด และลดผลกระทบทีร่ ายแรงของโรคติดตอ ในบางรายอาจจะกําจัดโรคไดหมด โรคในเด็กหลายโรค เชน หัด คอตีบ ไอกรน และโปลิโอ เปนตน ในปจ จบุ นั น้ไี มคอยมีแลว 2. คาํ แนะนําเกี่ยวกบั การไดร บั วัคซีน การฉดี วคั ซีน เปนการชวยสรางภูมิคุมกันใหเด็กมีสุขภาพดี พอแม หรือผูปกครอง ควรพาบุตร หลานไปรับวคั ซีนตามกาํ หนดทุกคร้งั ตามสมดุ บนั ทึกสุขภาพ วคั ซีนบางชนิดจําเปนตองใหจนครบชุด จึงจะมี ผลตอ การสรางภูมิคมุ กนั โรค พอ แม หรือผูปกครองควรใหค วามสาํ คัญ และพาบุตรหลานไปตามนดั ทุกคร้ัง ขอ ควรรสู ําหรับพอ แม หรอื ผปู กครองเกย่ี วกบั การไดรบั วัคซนี ของบุตรหลาน คอื 2.1 วัคซีนบางชนิดจําเปน ตอ งไดรับมากกวา 1 ครง้ั เพือ่ กระตนุ ใหรา งกายสรางภูมติ า นทานไดส งู เพียงพอในระดับที่สามารถปองกันโรคได ดังนั้น พอแม หรือผูปกครองจึงควรพาบุตรหลานไปรับวัคซีนตาม กําหนดนดั ทกุ ครง้ั 2.2 เด็กท่เี จ็บปว ยเล็กนอย เชน หวัด ไอ หรือไขตํ่า เปนตน สามารถรบั วคั ซีนได 2.3 หลงั ไดร บั วคั ซนี บางชนดิ เดก็ อาจตวั รอ น เปนไข ซง่ึ จะหายได ในเวลาอนั สัน้ ใหเชด็ ตัว ด่ืมนํา้ มาก ๆ และใหย าลดไข ตามคําแนะนําของแพทยห รอื เจาหนาท่ีสาธารณสขุ 2.4 ถาเด็กเคยมีประวัติแพยา หรือเคยมีอาการรนุ แรงหลงั ไดรับวคั ซีน เชน ชกั ไขสงู มาก โปรดแจง แพทย หรอื เจา หนาทีส่ าธารณสุขกอนรบั วัคซนี 2.5 แผลที่เกิดจากการรับวัคซีนปองกันวัณโรค อาจเปนฝขนาดเล็ก อยูไดนาน 3 - 4 สัปดาห ไมจ าํ เปน ตอ งใสย าหรอื ปด แผล เพียงใชส ําลสี ะอาดชบุ นาํ้ ตมสุกท่ีเยน็ แลวเช็ดรอบ ๆ แผล

3. ตารางการใหฉ ีดวคั ซนี ในเดก็ ไทย สมาคมโรคตดิ เชอื้ ในเดก็ แหง ประเทศไทยแนะนาํ การใหวัคซนี ที่จาํ เปน ต อายุ ตารางการให วัคซนี แนะนาํ โดย สมาคมโรคตดิ เช บีซจี ¹ี (BCG) วัคซนี จําเปน ทตี่ ตับอกั เสบบี² (HBV) แรกเกิด 1 เดอื น 2 เดือน 4 เดอื น 6 เดือน คอตบี -บาดทะยกั -ไอกรน BCG ชนิดทั้งเซลล ³ (DtwP) HBV1 (HBV2) ฮบิ 4 (Hib) โปลิโอชนิดกนิ 5 (OPV) DtwP- DtwP- DtwP- HB-Hib-1 HB-Hib-2 HB-Hib-3 OPV1 OPV2+IPV OPV3 หดั -คางทมู -หัดเยอรมัน6 (MMR) Influen ไขสมองอักเสบเจอ7ี (live JE) ไขหวัดใหญ8 (Influenza) เอชพีว9ี (HPV)

ตองใหกับเด็กทุกคน ในแตละชวงวัย ดังน้ี 19 หว คั ซนี ในเดก็ ไทย 4–6 ป 11–12 ป ช้ือในเดก็ แหงประเทศไทย 2562 ตอ งใหก บั เดก็ ทกุ คน น 9–12 เดอื น 18 เดือน 2 ป 2½ ป 3 DTwP กระตุน 1 DTwP Td และทกุ 10 ป กระตุน 2 OPV กระตนุ 1 เดก็ หญิง ป.5 2 เข็ม MMR1 MMR2 OPV หางกัน 6 - 12 เดอื น JE1 JE2 กระตุน 2 nza ใหเ รมิ่ 2 เข็ม หา งกนั 1 เดือน ในครั้งแรก

อายุ 2 เดือน ตารางการให แนะนําโดย สมาคมโรคตดิ เช วัคซนี DTaP1 วคั ซีนอนื่ ๆ ทอี่ าจ คอตีบ-บาดทะยกั -ไอกรน IPV1 Hib1 4 เดอื น 6 เดอื น 12-15 เดอื น ชนดิ ท้ังเซลล ³ PCV1 Rota1 DTaP2 DTaP3 (DTap , Tdap หรอื TdaP) โปลโิ อชนิดฉีด5 (IPV) IPV2 IPV3 ฮิบ4 (Hib) นวิ โมคอคคสั ชนิดคอนจเู กต10 (PCV) Hib2 Hib3 (H โรตา 11 (Rota) ไขสมองอักเสบเจอ7ี (inactivated JE) PCV2 (PCV3) PCV4 ตับอกั เสบเอ12 (HAV) อีสุกอีใส13 (VZV) หรอื วคั ซนี รวม Rota2 (Rota3) หดั -คางทมู -หัดเยอรมัน-อีสกุ อใี ส JE1 , JE2 หา งกัน 4 (MMRV) HAV ชนดิ เช้อื ไ ไขห วัดใหญ8 (Influenza) เอชพีว9ี (HPV) VZV1 (หร ไขเลือดออก14 (DEN) พิษสุนัขบา15 (Rabies) กอ นการสัมผสั โรค Influe ทม่ี า : http://www.biogenetech.co.th

หวัคซนี ในเด็กไทย 6 ป 20 ชื้อในเดก็ แหง ประเทศไทย 2562 9 ป 11-12 ป 15 ป จใหเ สริม หรือทดแทน Tdap หรอื TdaP 18 เดือน 2-2½ ป 4 ป ตอไป ทกุ 10 ป DTaP กระตนุ 1 Tdap หรือ DTaP กระตุน 2 (IPV4) Hib4) IPV5 สัปดาห และ JE3 อกี 1 ป ไมมชี ีวิต ให 2 เขม็ หา งกัน 6-12 เดือน ชนิดเช้ือมชี ีวติ ฉีดเขม็ เดียวเม่ืออายุ 18 เดือนข้ึนไป รอื MMRV 1) VZV2 (หรอื MMRV 2) enza ใหปละครั้ง (ในเดก็ อายุตาํ่ กวา 9 ป ให 2 เข็ม หางกนั 1 เดือน ในครัง้ แรก) HPV 2 เข็มหางกัน 6 - 12 เดือน DEN 3 เขม็ 0,6 และ 12 เดือน 2 ครั้ง หา งกันอยางนอย 7 วนั h/healtheducation/ตารางวคั ซีน-2562/

21 เรื่องที่ 4 การสง เสริมการเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการเดก็ แรกเกดิ – 5 ป เดก็ แตล ะชว งวยั จะมีพัฒนาการในดา นตา ง ๆ ทีแ่ ตกตา งกัน พอแม หรือผูปกครอง ตองใหความสําคัญ และใหการสงเสริมพัฒนาการของเด็กในทุก ๆ ดา น ไดแ ก ดา นการเคลื่อนไหว ดานการใชกลา มเนือ้ มดั เล็กและ ดานสติปญ ญา ดา นการเขาใจภาษา ดานการใชภาษา และดานการชวยเหลือตัวเองและสังคม ดังน้ัน วิธีการ สง เสรมิ พัฒนาการของเดก็ แตล ะชว งวัย จึงมคี วามแตกตางกัน ดงั นี้ 1. เดก็ อายุ 1 เดือน 1.1 ดานการเคลอ่ื นไหวของเดก็ วยั น้ี คือ จะนอนควาํ่ เด็กสามารถยกศีรษะและหันศีรษะไปขางใด ขางหน่ึงได วิธกี ารสงเสรมิ พัฒนาการ 1) จัดใหเ ด็กอยูในทา นอนควํ่า พอ แม หรือผปู กครองเขยา ของเลนที่มเี สียงตรงหนาเด็กระยะหาง ประมาณ 30 ซม. (1 ไมบ รรทัด) เมื่อเด็กมองทีข่ องเลนแลว คอย ๆ เคล่ือนของเลนมาทางดานซาย เพื่อใหเด็กหัน ศีรษะมองตาม 2) คอ ย ๆ เคลอ่ื นของเลน กลับมาอยทู ีเ่ ดิม 3) ทําซํ้าอีกครั้ง โดยเปลีย่ นใหเคล่อื นของเลน มาทางดา นขวา 1.2 ดานการเขาใจภาษาของเด็ก คือ เด็กมีการสะดุงหรือเคลื่อนไหวรางกาย เมื่อไดยินเสียงพูด ระดับปกติ วิธีการสงเสรมิ พัฒนาการ 1) จัดเด็กอยูในทานอนหงาย พอแม หรือผูปกครองเรียกช่ือหรือพูดคุยกับเด็กจากดานขาง ทง้ั ขางซา ยและขวาโดยพดู เสยี งดังปกติ 2) หากเด็กสะดงุ หรอื ขยบั ตวั เม่อื ผูปกครองพดู คยุ เสียงดงั ปกติ ใหผ ปู กครองย้ิมและสัมผสั ตัวเด็ก 3) ถา เดก็ ไมม ีปฏิกริ ิยาใด ๆ ใหพดู เสยี งดังเพ่ิมขน้ึ โดยจดั ทาเด็กเชนเดียวกับขอ 1 หากเด็กสะดุง หรือขยบั ตวั ใหลดเสียงลงอยูใ นระดบั ดังปกตพิ รอมกบั สัมผัสตัวเดก็ 1.3 ดา นการชว ยเหลอื ตวั เองและสังคม เดก็ สามารถมองจองหนาไดน าน 1 - 2 วินาที วธิ ีการสง เสริมพฒั นาการ 1) จดั เด็กอยูในทา นอนหงาย หรืออุมเด็กใหหนาพอแม หรือผูปกครองหางจากเด็กประมาณ 30 ซม. (1 ไมบ รรทดั ) 2) สบตาและทําตาลักษณะตา ง ๆ เชน ตาโต กระพริบตา เพอื่ ใหเ ด็กสนใจ

22 3) พูดคุยยม้ิ เพื่อใหเดก็ มองท่ีปากแทนสลับกนั ไป 2. เดก็ อายุ 2 เดือน 2.1 ดา นการเคลื่อนไหว เด็กในวยั นีส้ ามารถยกศรี ษะตั้งขึน้ ได 45 องศา นาน 3 วินาที วิธกี ารสงเสริมพัฒนาการ 1) จดั เด็กอยูในทานอนควํา่ ขอศอกงอ 2) หยบิ ของเลนมาเขยาตรงหนา เดก็ เม่อื เดก็ มองทข่ี องเลนแลวก็คอย ๆ เคลื่อนของเลน ขน้ึ ดา นบน เพอ่ื ใหเ ดก็ เงยหนาจนศรี ษะยกขึ้นนบั 1, 2 3) คอ ย ๆ เคลอ่ื นของเลน ลงมาอยตู รงหนาเดก็ เหมือนเดิม 4) ทําซ้ําอีกคร้ังโดยเขยาของเลน ตรงหนาเด็ก เมอ่ื เด็กมองท่ีของเลนแลวก็คอย ๆ เคล่ือนของเลน ขนึ้ ดา นบนหา งจากจดุ เดิม เพ่อื ใหเดก็ เงยหนา จนยกศีรษะขน้ึ นับ 1, 2, 3 5) คอย ๆ เคลอ่ื นของเลนลงมาอยตู รงหนา เดก็ เหมือนเดมิ 2.2 ดานการใชกลามเน้ือมัดเล็กและสติปญญา เด็กสามารถมองตามสิ่งของจากดานหน่ึงไปอีก ดา นหน่ึง วธิ ีการสง เสรมิ พัฒนาการ 1) จดั ใหเ ดก็ อยใู นทา นอนหงาย 2) ถือของเลนสีสดใส ไมมีเสยี ง หางจากหนา เดก็ 30 ซม. (1 ไมบ รรทัด) และอยใู นตาํ แหนง เลย จุดกึง่ กลางของใบหนาเด็กเล็กนอยไปทางซา ย 3) กระตนุ ใหเ ดก็ สนใจโดยแกวงของเลน ใหเด็กจอ งมองแลวคอย ๆ เคล่ือนของเลนน้ันใหผาน จดุ กึ่งกลางใบหนา เด็กไปทางดานขวาและสลับมาทางดา นซาย 2.3 ดา นการเขาใจภาษา เดก็ สามารถมองหนา ผูปกครองพดู คยุ ไดนาน 5 วินาที วิธีการสง เสริมพัฒนาการ 1) จัดเดก็ ในทานอนหงายหรอื อุม เด็กใหห นาพอ แม หรอื ผูปกครองหางจากเด็กประมาณ 60 ซม. (2 ไมบ รรทัด) 2) สบตาและพูดคุยใหเดก็ สนใจ เชน ทําตาโต ขยบั รมิ ฝป าก ย้ิม หัวเราะ 2.4 ดานการใชภ าษา เด็กทาํ เสยี งในลําคอ (เสียง “อ”ู หรอื “อือ”) ไดอยางชัดเจน วิธกี ารสงเสรมิ พัฒนาการ 1) จัดเด็กอยูในทานอนหงาย พอแม หรือผูปกครองน่ังขางเด็ก และย่ืนหนาเขาไปหาเด็กใน ระยะหางประมาณ 60 ซม. (2 ไมบรรทดั )

23 2) พอแม หรือผปู กครองสบตาและพูดคุยใหเดก็ สนใจแลว ทําเสียง อู หรอื ออื ในลําคอ ใหเด็ก ไดยนิ หยดุ ฟง เพื่อรอจังหวะใหเด็กสง เสียงตาม 3) เมอื่ เด็กออกเสียง “อ”ู ได ใหพ อ แม หรอื ผูปกครองเปลย่ี นไปฝกเสยี ง “อือ” และรอใหเด็ก ออกเสียงตาม 2.5 ดานการชวยเหลือตัวเองและสังคม เด็กสามารถย้ิมหรือสงเสียงตอบไดเม่ือพอแม หรือ ผูปกครองแตะตอ งตัวและพดู คุยดว ย วธิ ีการสง เสรมิ พัฒนาการ 1) จัดเดก็ อยใู นทา นอนหงาย พอ แม หรือผปู กครองนั่งขา งเดก็ และยืน่ หนาเขาไปหาเด็ก 2) สบตาเดก็ และสมั ผัสเบา ๆ พรอ มกบั พดู คุยกบั เด็ก เปนคําพดู ส้นั ๆ ซา้ํ ๆ ชา ๆ เชน “วา ไงจะ… (ชอ่ื ลูก)…คนเกง” “ยม้ิ ซ”ิ “เด็กดี” “…(ช่อื ลูก)…ลกู รัก” “แมรักลูกนะ” 3) หยดุ ฟงเพ่ือรอจังหวะใหเ ดก็ ยิ้มหรอื สงเสียงตอบ 3. เด็กอายุ 3 – 4 เดอื น 3.1 ดานการเคล่อื นไหว เดก็ สามารถยกแขนทง้ั สองขา งขึน้ มาเลน โดยเหยยี ดแขนออกหา งจากลาํ ตัว วธิ ีการสงเสรมิ พฒั นาการ 1) จัดเด็กอยูในทา นอนหงาย พอ แม หรอื ผปู กครองน่งั ขางเด็ก 2) พอแม หรอื ผูปกครองยืน่ หนาเขา ไปพดู คุยกับเดก็ หรือยนื่ ของเลนในระยะทเี่ ดก็ จะเออ้ื มมอื ไปถงึ หรอื แขวนโมบายใหเ ดก็ เลน ในระยะทเี่ ดก็ เอ้ือมมอื ถึง 3.2 ดา นการใชกลา มเนื้อมัดเล็กและสติปญ ญา เด็กสามารถมองตามสิ่งของที่เคลื่อนที่ไดเปนมุม 180 องศา วิธีการสง เสริมพฒั นาการ 1) จัดเด็กอยใู นทานอนหงายโดยศรี ษะเด็กอยใู นแนวก่งึ กลางลาํ ตัว 2) พอ แม หรอื ผปู กครองถือของเลน หา งจากหนา เดก็ ประมาณ 30 ซม. (1 ไมบรรทดั ) 3) พอ แม หรอื ผปู กครองเขยาหรือแกวง ของเลนเพอ่ื กระตนุ เดก็ ใหส นใจจอ งมอง จากน้นั เคลือ่ นของเลนอยางชา ๆ เปนแนวโคงไปทางดา นซา ย 4) ทําซ้ําโดยเปลีย่ นเปนเคล่อื นของเลน จากทางดา นซายไปดา นขวา 5) ถา เดก็ ยงั ไมม องตาม ใหพอ แม หรอื ผปู กครองชว ยประคองหนา เด็กเพื่อใหหันหนามามองตาม

24 3.3 ดานการเขา ใจภาษา เด็กสามารถหนั ตามเสยี งได วิธกี ารสงเสริมพัฒนาการ 1) จัดเดก็ อยูในทา นอนหงาย หรอื อุม เดก็ นงั่ บนตกั โดยหนั หนา ออกจากพอ แม หรือผปู กครอง 2) เขยาของเลน ดานขา งเดก็ หางจากเด็กประมาณ 30 - 45 ซม. (1 ไมบ รรทัดครงึ่ ) 3) รอใหเ ดก็ หนั มาทางของเลน ทม่ี เี สียงใหพ อแม หรือผปู กครองพดู คุยและย้มิ ใหเ ด็ก 4) ถาเด็กไมห นั มามองของเลนใหป ระคองหนา เด็กเพื่อใหห นั ตามเสยี ง 5) คอย ๆ เพมิ่ ระยะหา งจนถงึ 60 ซม. (2 ไมบ รรทดั ) 3.4 ดานการใชภ าษา เดก็ สามารถเปลงเสยี งเพื่อแสดงความรสู กึ วิธกี ารสง เสรมิ พฒั นาการ 1) จัดเด็กอยูในทานอนหงาย พอแม หรือผูปกครองน่ังขางเด็กและยื่นหนาเขาไปหาเด็กใน ระยะหา งประมาณ 60 ซม. (2 ไมบรรทัด) 2) พอแม หรือผปู กครองพูดคยุ เลน หัวเราะกับเด็ก หรือสัมผัสจุดตาง ๆ ของรางกายเด็ก เชน ใชนวิ้ มือสมั ผัสเบา ๆ ทฝ่ี า เทา ทอง เอว หรอื ใชจ มกู สัมผัสหนา ผาก แกม จมกู ปาก และทอ งเดก็ เปนตน โดยการ สมั ผสั แตละครัง้ ควรมีจงั หวะหนกั เบาแตกตา งกนั ไป 3.5 ดา นการชว ยเหลอื ตัวเองและสังคม เด็กย้มิ ทกั คนท่คี ุน เคย วธิ ีการสง เสรมิ พัฒนาการ 1) พอ แม หรอื ผปู กครองยิ้มและพดู คยุ กบั เด็ก เมอ่ื ทํากจิ กรรมตา ง ๆ ใหเ ดก็ ทกุ ครั้ง 2) อมุ เด็กไปหาคนทค่ี ุน เคย เชน พอ ปู ยา ตา ยาย เปน ตน พอแม หรอื ผูปกครองย้มิ ทกั คน ทีค่ นุ เคยใหเดก็ ดู 3) พูดกระตุน ใหเด็กทําตาม เชน “ย้มิ ใหค ุณพอซิลูก” “ยมิ้ ให…ซลิ กู ” 4. เดก็ อายุ 5 - 6 เดือน 4.1 ดา นการเคล่อื นไหว เด็กสามารถยนั ตวั ขนึ้ จากทา นอนควํา่ โดยเหยยี ดแขนตรงทงั้ สองขางได วธิ ีการสง เสริมพฒั นาการ 1) จดั เดก็ อยูใ นทา นอนควาํ่ 2) พอ แม หรอื ผปู กครองถอื ของเลน ไวด านหนา เหนือศีรษะเดก็ 3) เรยี กชอ่ื เด็กใหม องดูของเลนแลวคอย ๆ เคลื่อนของเลน ข้นึ เพ่ือใหเด็กสนใจ ยกศีรษะและ ลาํ ตวั ตามจนพน พ้นื และแขนเหยยี ดตรงมอื ยนั พืน้ ไว

25 4.2 ดานการใชกลามเน้ือมัดเล็กและสติปญญา เด็กสามารถเอื้อมมือหยิบและถือวัตถุไวขณะ อยูในทา นอนหงาย วธิ กี ารสง เสรมิ พัฒนาการ 1) จัดเดก็ อยใู นทานอนหงาย 2) พอแม หรือผูปกครองเขยาของเลนใหหางจากตัวเด็ก ประมาณ 20 - 30 ซม. (1 ไมบรรทัด) ทีจ่ ดุ กึง่ กลางลาํ ตัว 3) ถา เดก็ ไมเอ้ือมมือออกมาควาของเลน ใหใ ชของเลน แตะเบา ๆ ทีห่ ลงั มอื เดก็ และขยบั ของเลน ถอยหางในระยะทเี่ ดก็ เออ้ื มถงึ 4) ถาเด็กยังคงไมเอื้อมมือมาควา ใหผูปกครองชวยเหลือดวยการจับมือเด็กใหเอ้ือมมาหยิบ ของเลน 5) อาจแขวนโมบายในระยะทีเ่ ด็กเออื้ มถึง เพื่อใหเดก็ สนใจควาหยิบ 4.3 ดา นการเขาใจภาษา เด็กสนใจฟง คนพูดและสามารถมองไปทขี่ องเลน ท่พี อแม หรือผปู กครอง เลน กับเด็กนาน 1 นาที วิธกี ารสงเสรมิ พฒั นาการ 1) เดก็ นั่งบนตกั พอแม หรือผูปกครอง 2) พอแม หรือผูปกครองอีกคนน่ังตรงขามเด็กแลวสบตาและพูดคุยกับเด็ก เม่ือเด็กมองสบตา แลวนําของเลนมาอยใู นระดบั สายตาเดก็ พดู คุยกบั เด็กเกยี่ วกบั ลกั ษณะของเลน ที่นาํ มาเลนดวย เชน “วันนี้แมมี พ่ตี ุก ตามาเลน กับหนู พ่ีตกุ ตามผี มสนี ํา้ ตาลใสชดุ สีเขียว” 3) เม่ือเด็กมองทข่ี องเลน ใหเ ด็กแตะหรอื จบั ของเลน เปนรางวลั 4.4 ดา นการใชภาษา เดก็ เลียนแบบการเลน ทําเสียงได วธิ ีการสง เสริมพฒั นาการ 1) พอแม หรือผูปกครองอยูตรงหนาเด็ก สบตาและพูดคุยกับเด็ก ทําเสียง “จุบจุบ” หรือ “วา…วา…” ใหเ ด็กดูหลาย ๆ ครงั้ แลว รอใหเ ดก็ ทําตาม 2) ถาเด็กยังทําไมได พอแม หรือผูปกครองทําปากออกเสียงจุบใหเด็กทําตาม หรือพอแม ผูปกครองจบั มอื เด็กมาไวท ีป่ ากแลว ขยับตปี ากเบา ๆ กระตุนใหออกเสยี ง “วา…วา…”

26 5. เด็กอายุ 7 - 9 เดือน 5.1 ดานการเคลอ่ื นไหว เด็กสามารถเอี้ยวตัวใชม อื เลน ไดอ ยา งอสิ ระในทาน่งั วธิ ีการสง เสรมิ พฒั นาการ 1) จดั เด็กอยูในทา นัง่ วางของเลน ไวทพี่ ้นื ทางดานขางเย้ืองไปดา นหลังของเด็กในระยะท่ีเดก็ เอือ้ มถงึ 2) พอแม หรือผปู กครองเรยี กชื่อเด็กใหสนใจของเลน เพอ่ื จะไดเอย้ี วตัวไปหยบิ ของเลนทาํ อกี ขาง สลับกันไป 3) ถาเด็กทําไมได เล่อื นของเลนใหใกลต ัวเด็กอีกเล็กนอย แลวพอแม หรือผปู กครองชวยจับแขน เด็กใหเอ้ียวตวั ไปหยบิ ของเลน นนั้ 5.2 ดา นการใชก ลา มเน้ือมดั เลก็ และสตปิ ญญา เดก็ จะจองมองไปทหี่ นงั สอื พรอมกบั ผใู หญน าน 2 - 3 วินาที วธิ ีการสงเสรมิ พัฒนาการ 1) พอ แม หรอื ผปู กครองอมุ เดก็ นง่ั บนตัก เปดหนังสืออานกบั เด็ก พรอมกบั พูดคุยชี้ชวนใหเด็ก ดรู ปู ภาพในหนังสือ 2) หากเด็กยงั ไมม องรปู ภาพในหนงั สือใหพ อ แม หรอื ผปู กครองประคองหนาเด็กใหมองที่รูปภาพ ในหนังสอื 5.3 ดา นการเขา ใจภาษา เดก็ สามารถหันตามเสยี งเรียกชอื่ วธิ กี ารสง เสรมิ พัฒนาการ 1) พอแม หรือผปู กครองเรียกชอ่ื เด็กดวยนา้ํ เสียงปกตบิ อย ๆ ในระยะหา ง 120 ซม. (4 ไมบรรทัด) (ควรเปนชอ่ื ท่ีใชเรียกเดก็ เปนประจาํ ) 2) ถา เดก็ ไมหนั เม่ือเรียกชอื่ แลว ใหพอแม หรือผูปกครองประคองหนาเด็กใหหันมามองพอแม หรือผูปกครองจนเดก็ สามารถทาํ ไดเ อง 5.4 ดา นการใชภ าษา เดก็ สามารถออกเสยี งสระผสมกบั พยญั ชนะตา ง ๆ กนั ได วิธีการสงเสรมิ พัฒนาการ พอแม หรือผูปกครองเลนกับเด็กและออกเสียงใหม ๆ ใหเด็กเลียนเสียงตาม เชน มามา ปาปา หมํ่าหมา่ํ เปนตน 5.5 ดา นการชวยเหลอื ตวั เองและสงั คม เด็กเลน จะ เอไ ด วธิ ีการสง เสรมิ พฒั นาการ 1) ขณะเลน กบั เด็ก พอแมหรือผปู กครองใชผ า เชด็ หนาหรอื ผา ผนื เล็ก ๆ บงั หนา ไว 2) พอ แม หรือผปู กครองโผลห นา ออกมาจากผาเช็ดหนา ดา นใดดานหน่ึงพรอมกบั พดู วา “จะเอ”

27 3) หยดุ รอจงั หวะเพอื่ ใหเดก็ หันมามองหรอื ยมิ้ เลนโตต อบ 4) ใหพอ แม หรอื ผปู กครองทําซา้ํ โดยโผลห นา ออกมาจากผา เช็ดหนา ดานเดมิ หรอื สลบั เปน อีกดาน พรอ มกบั พดู วา “จะ เอ” 5) พอแม หรอื ผปู กครองเอาผาคลมุ ศรี ษะเดก็ และกระตุน ใหเดก็ ดึงผา ออก แลว ผปู กครองพดู “จะเอ” 6) ใหพ อแม หรือผปู กครองฝก บอ ย ๆ จนกระทง่ั เด็กสามารถรว มเลนจะเอได 6. เดก็ อายุ 10 - 12 เดือน 6.1 ดา นการเคลอื่ นไหว เด็กสามารถหยอนตัวลงน่ังจากทา ยนื โดยใชมือเกาะเครอ่ื งเรอื นชวยพยงุ วธิ กี ารสงเสรมิ พัฒนาการ 1) จดั ใหเ ดก็ อยใู นทายนื เกาะเคร่อื งเรอื น พอแม หรอื ผปู กครองอยดู านหลังเด็กระยะหางพอดี ที่จะชว ยประคองเมอ่ื เดก็ จะลม 2) หยบิ ของเลน ข้นึ มาเลนในระดบั สายตาของเด็กเม่ือเดก็ สนใจของเลน วางของเลนไวท ่พี ื้น 3) พดู คยุ ชกั ชวนใหเดก็ หยอ นตวั ลงมาน่งั เลน ของเลน ที่พืน้ ดวยกนั กบั พอแม หรอื ผปู กครอง 4) ถา เด็กยงั ทรงตัวไมด ี พอ แม หรือผปู กครองชวยพยุงตัวเด็กใหลงน่ังที่พื้น ลดการชวยเหลือ เดก็ ลงจนกระท่งั เด็กสามารถหยอ นตัวลงน่งั ทพี่ นื้ ไดดว ยตวั เอง 6.2 ดานการใชกลามเน้อื มัดเล็กและสติปญญา เด็กสามารถจีบน้ิวมือเพื่อหยิบขนมหรืออาหาร ท่ีเปน ช้นิ เล็ก ๆ วิธกี ารสงเสรมิ พฒั นาการ 1) พอแม หรือผูปกครองแบงขนมหรืออาหารเปนชิ้นเล็ก ๆ ประมาณ 1 ซม. ไวในจาน พอแม หรือผูปกครองหยิบอาหารหรอื ขนม โดยใชน ิ้วหัวแมมอื และนวิ้ ชีห้ ยิบใหเ ด็กดู แลว บอกใหเด็กทําตาม 2) ถา เด็กทาํ ไมได ชวยเหลอื เดก็ โดยจับรวบน้ิวกลาง น้ิวนาง และนิว้ กอยเขาหาฝามือ เพื่อใหเด็ก ใชน ว้ิ หวั แมมอื และนว้ิ ชีห้ ยิบวตั ถุ 3) เลนเกมท่ีเด็กตองใชน้ิวหัวแมมือและน้ิวชี้แตะกันเปนจังหวะ หรือเลนรองเพลง “แมงมุม ขยุมหลงั คา” ประกอบทา ทางจบี น้ิว 6.3 ดา นการเขา ใจภาษา เดก็ สามารถโบกมอื หรือตบมือตามคาํ สั่ง วิธีการสงเสริมพัฒนาการ 1) พอ แม หรอื ผูปกครองเลน กบั เด็กโดยใชคาํ ส่งั งา ย ๆ เชน โบกมอื ตบมือ พรอ มกบั ทาํ ทาทาง ประกอบ

28 2) ถาเดก็ ไมท าํ ใหจับมือทาํ และคอย ๆ ลดความชวยเหลอื ลง โดยเปล่ยี นเปนจบั ขอ มอื จากนน้ั เปล่ียนเปนแตะขอ ศอก เมอ่ื เรมิ่ ตบมือเองไดแลว ลดการชว ยเหลอื ลงเปน ออกคําส่ังอยางเดยี ว 6.4 ดานการใชภาษา เด็กสามารถแสดงความตอ งการโดยทําทา ทางหรอื เปลง เสยี งได วธิ ีการสง เสริมพัฒนาการ พอ แม หรอื ผปู กครองนําของเลนหรอื อาหารที่เด็กชอบ 2 - 3 อยาง วางไวด านหนา เดก็ ถามเด็กวา “หนูเลอื กอันไหน” หรือถามวา “หนเู อาไหม” รอใหเ ด็กแสดงความตองการกอน จึงจะใหของ ทําทุกครั้งเม่ือ พอแม หรือผูปกครองตองการใหของเลนหรอื อาหารเด็ก 6.5 ดานการชว ยเหลือตัวเองและสังคม เดก็ สามารถเลนสิ่งของตามประโยชนข องสงิ่ ของ เชน หวี ชอ น แกวน้าํ ได เปน ตน วธิ ีการสงเสริมพัฒนาการ พอแม หรือผูปกครองฝกรวมกับการดําเนินชีวิตประจําวัน เชน การหวีผม ผูปกครองหวีผม ตนเองใหเดก็ ดู แลว ผูปกครองจับมือเดก็ หวผี มใหเดก็ เปนตน 7. อายุ 13 - 18 เดอื น 7.1 ดานการเคลอ่ื นไหว เด็กสามารถเดินลากของเลน หรอื ส่งิ ของได วธิ กี ารสง เสริมพฒั นาการ 1) พอ แม หรือผูปกครองจบั มอื เดก็ ใหล ากของเลนเดนิ ไปขา งหนา ดวยกัน 2) พอแม หรือผูปกครองกระตุนใหเด็กเดินตอไปโดยทําหลาย ๆ ครั้ง จนเด็กสามารถเดินลาก ของเลน ไปไดเอง 7.2 ดา นการใชก ลามเนื้อมดั เล็กและสตปิ ญญา เดก็ สามารถขีดเขยี น (เปน เสน) บนกระดาษได วธิ ีการสงเสรมิ พฒั นาการ 1) พอแม หรอื ผปู กครองใชสเี ทยี นแทง ใหญข ดี เขียนเปน เสน ๆ บนกระดาษใหเด็กดู (อาจใชดนิ สอ หรือปากกาหรอื สีเมจกิ ได) 2) ใหเดก็ ลองทําเอง ถา เดก็ ทาํ ไมไดช วยจับมอื เด็กเบา ๆ ใหจับสีเทียนขีดเขยี นเปน เสน ๆ ไปมา บนกระดาษจนเดก็ สามารถทาํ ไดเ อง 7.3 ดานการเขา ใจภาษา เด็กสามารถทําตามคําสงั่ 2 - 3 คาํ วธิ กี ารสง เสริมพฒั นาการ 1) พอ แม หรือผูปกครองฝกเด็ก ขณะทเ่ี ดก็ กําลงั ถอื หรอื เลนของเลน อยู 2) ส่งั เดก็ วา “สงของใหแม” และมองหนาเด็ก

29 3) ถาเด็กทําไมได ใหพอแม หรือผปู กครองจับมือเด็กหยิบของใสมือ พอแม หรือผูปกครองแลว พดู วา “สง ของใหแม” ถา เดก็ เริ่มทําไดใ หใ ชค ําส่ังเพยี งอยางเดยี ว และเปล่ียนเปนคาํ สั่งอ่นื ๆ เพิม่ 7.4 ดา นการใชภ าษา เดก็ สามารถตอบชอ่ื สง่ิ ของไดถกู ตอ ง วิธีการสงเสริมพัฒนาการ 1) ใหพอแม หรอื ผปู กครองใชส่งิ ของหรือของเลนที่เดก็ คนุ เคยและรูจักชื่อ เชน ตุก ตา นม เปนตน 2) หยบิ ของใหเ ด็กดู ถามวา “นอี่ ะไร” รอใหเ ด็กตอบ 3) ถาไมต อบ ใหบอกเดก็ และใหเดก็ พูดตาม แลวถามซ้าํ ใหเดก็ ตอบเอง 7.5 ดา นการชวยเหลือตวั เองและสังคม เด็กสามารถเลนการใชสิ่งของตามหนาท่ีไดมากขึ้นดวย บทบาทสมมติกบั สิง่ ของ 2 อยา งขึ้นไป เชน เลนแปรงฟน ตกุ ตา หวีผมตกุ ตา เปนตน วธิ กี ารสง เสริมพัฒนาการ 1) พอแม หรอื ผปู กครองเลน สมมติกบั เด็ก เชน แปรงฟนใหต ุกตา เลนปอ นอาหารใหตุกตา หวีผม ใหต กุ ตา เปน ตน 2) ถาเด็กยงั ทําไมได พอแม หรือผปู กครองจับมอื ใหเดก็ ทําตามจนเดก็ เลน ไดเ อง 8. เดก็ อายุ 19 - 24 เดอื น 8.1 ดา นการเคลือ่ นไหว เด็กสามารถกระโดดไดโดยชว ยพยงุ วธิ กี ารสง เสริมพัฒนาการ 1) พอ แม หรือผปู กครองกระโดดจากบนั ไดขั้นท่ี 1 ใหเ ด็กดู 2) จดั ใหเดก็ ยนื บนบนั ไดข้ันท่ี 1 3) จับมอื ทงั้ สองขางของเด็กดึงขน้ึ โนม ตวั เดก็ มาขางหนาเลก็ นอ ย พรอ มกบั บอกใหเ ด็กกระโดด ลงมา 8.2 ดานการใชกลามเนื้อมัดเล็กและสติปญญา เด็กสามารถวางรูปทรงวงกลมใสในชองกระดาน รปู แบบเรขาคณิตที่มี 3 แบบได วธิ ีการสง เสรมิ พัฒนาการ 1) พอแม หรือผูปกครองนํารูปทรงวงกลม ส่ีเหล่ียม และสามเหลี่ยม ออกจากชองกระดาน รูปแบบเรขาคณติ 2) ใหเด็กเลือกใสรูปทรงวงกลมลงในชองวงกลม ถาทําไมได ใหพอแม หรือผูปกครองช้ีชอง วงกลมและพูดวา “ใสวงกลมในชองวงกลม” 3) หมุนกระดานเพ่ือใหชอ งวงกลมอยใู นตําแหนงตางกนั และสอนเชน เดยี วกับขอ 1 และ 2

30 8.3 ดานการเขาใจภาษา เด็กสามารถเลอื กวัตถตุ ามคาํ สง่ั (ตัวเลอื ก 4 ชนิด) วิธีการสงเสริมพฒั นาการ 1) เตรียมของเลน ท่ีเด็กคุนเคย 2 ช้ิน พอแม หรือผูป กครองน่ังตรงหนาเดก็ เรียกชอื่ เด็กใหม องหนา แลวจึงใหดูของเลน พรอมกับบอกชื่อของทลี ะช้นิ 2) บอกใหเด็กหยบิ ของทีละช้ิน ถาเดก็ หยบิ ไมถ กู ใหจับมอื เดก็ หยิบ พรอ มกับพูดช่อื ของนั้น 3) ทาํ ซ้ําจนเด็กสามารถทําตามคําสง่ั ไดถ ูกตอ ง และเพิ่มของเลนทลี ะชนิ้ จนครบทง้ั 4 ชิ้น 8.4 ดา นการใชภ าษา เดก็ สามารถเลียนคาํ พูดทเ่ี ปนวลีประกอบดว ยคาํ 2 คาํ วธิ กี ารสงเสรมิ พฒั นาการ ฝกสอนเดก็ ในชวี ิตประจําวนั เชน 1) ถาเดก็ พดู ไดทลี ะคํา พอ แม หรือผูปกครองควรขยายคําพูดของเด็กใหเปน 2 คํา เชน เด็กพูด “ไป” ผปู กครองพูดวา “ไปนอน” “ไปเท่ียว” เปน ตน 2) อานหนงั สือนิทานประกอบภาพใหเดก็ ฟง และใชคาํ ถามเกีย่ วกับเรอ่ื งราวในนทิ านใหเดก็ ตอบ 3) พยายามพูดคํา 2 คาํ ใหเด็กฟง เชน แมไป แมวเหมียว ไมเอา เปน ตน 4) รองเพลงเด็กที่ใชคําพูดงาย ๆ ใหเด็กฟงบอย ๆ พรอมทําทาทางตามเพลง เวนวรรคใหเด็ก รองตอ เชน “จับ…(ปดู ํา ) ขยาํ …(ปูนา) ” 8.5 ดา นการชว ยเหลือตัวเองและสงั คม เด็กสามารถใชชอ นตักอาหารกินเองได วิธีการสง เสริมพฒั นาการ 1) พอ แม หรอื ผูปกครองจับมอื เด็กใชช อ นตกั อาหารแตพอคําและรับประทาน 2) เม่อื เด็กเริม่ ทําได พอแม หรอื ผูป กครองปลอยใหเด็กตักอาหารใสปากดว ยตวั เอง 3) ถาเดก็ ทาํ หกบางโดยไมตัง้ ใจ พอแม หรอื ผปู กครองควรทาํ สีหนา เฉย ไมแสดงความสนใจ 9. อายุ 25 - 30 เดอื น 9.1 ดา นการเคลือ่ นไหว เด็กสามารถกระโดดเทา พน พน้ื ทั้ง 2 ขา ง วิธกี ารสง เสรมิ พัฒนาการ 1) พอ แม หรอื ผปู กครองกระโดดอยูกับทีใ่ หเด็กดู 2) จบั มอื ทงั้ สองขางของเด็กไว ยอ ตัวลงพรอ มกับเดก็ แลว บอกใหเ ดก็ กระโดด ฝกหลาย ๆ ครั้ง จนเดก็ มน่ั ใจและสนุก จึงปลอ ยใหก ระโดดเลน เอง

31 9.2 ดา นการใชก ลามเนือ้ มดั เลก็ และสติปญญา เด็กสามารถแกป ญหางาย ๆ โดยการใชเ คร่ืองมอื วธิ กี ารสงเสรมิ พฒั นาการ การเลน เกม “ชว ยลกู ไกออกจากทอ ” 1) วางทอ ท่ีมีไหมพรมอยูกลางทอ แทง ไมตรงหนาเดก็ 2) พูดคยุ กบั เดก็ “...(ชอ่ื ลูก)...จะเอาไหมพรมออกมาไดย งั ไงนะ” 3) หยดุ รอจังหวะใหเ ดก็ คดิ 4) พอ แม หรือผปู กครองยืน่ ทอ ท่ีมไี หมพรมอยูกลางทอและแทงไมใ หเ ด็ก พรอมพดู ..(ชื่อเด็ก)... เอาไหมพรมออกมาหนอยนะ 5) ถา เดก็ ทําไมได ใหพ อแม หรอื ผูป กครองจบั มอื เด็กทาํ ซา้ํ จนเด็กสามารถทาํ ไดเ อง 9.3 ดานการเขาใจภาษา เดก็ สามารถช้ีอวยั วะของรางกายได 7 สวน วิธีการสง เสริมพฒั นาการ 1) พอแม หรอื ผปู กครองชีแ้ ละบอกชอื่ อวยั วะสวนตา ง ๆ ของตนเองทีละสวน โดยเริ่มจากอวัยวะ ทีเ่ ด็กเรียนรไู ดง าย เชน ตา จมกู ปาก หู หัว มอื นว้ิ มือ แขน ขา เทา เปน ตน 2) เลน เกมอะไรเอย? ทายชื่ออวยั วะ โดยช้ไี ปที่อวัยวะตาง ๆ ทลี ะสวน แลวใหเด็กตอบ 3) ทําซ้ําจนเด็กสามารถช้อี วัยวะของรางกายไดอยางนอ ย 7 สว น 9.4 ดานการใชภ าษา เด็กสามารถพดู ตอบรับและปฏิเสธได วธิ กี ารสงเสริมพฒั นาการ 1) ถามคาํ ถามเพ่ือใหเด็กตอบรับหรือปฏิเสธ เชน เอานมไหม เลนรถไหม เลนเคร่ืองบินไหม ไปเทย่ี วไหม กนิ ขาวไหม กนิ ขนมไหม เปน ตน 2) กระตุนใหเด็กตอบรับหรือปฏิเสธคําชวนตาง ๆ ขางตน รอจนแนใจวาเด็กตอบรับหรือ ปฏิเสธคําชวนตา ง ๆ จงึ ตอบสนองสง่ิ ที่เดก็ ตองการ 3) ถา เด็กตอบไมไ ด ใหผูปกครองพดู ใหเด็กฟง แลวถามเด็กซ้าํ 9.5 ดานการชว ยเหลอื ตัวเองและสังคม เดก็ สามารถลา งมือและเชด็ มอื ไดเ อง วธิ กี ารสง เสริมพฒั นาการ เม่ือเด็กมือเปอนนําเด็กมาลางมือ โดยทําใหดูเปนตัวอยาง แลวบอกใหเด็กทําเองตามข้ันตอน ตอ ไปน้ี 1) เปดกอ กน้ําหรอื ตกั นา้ํ ใสขัน หยบิ สบู 2) เอานํา้ ราดใหเ ปยกทัง้ มอื และสบู ฟอกสบจู นทั่วมือแลววางสบูไวท่ีเดมิ 3) ถูมือทฟ่ี อกสบูใหท ่ัว

32 4) ลางมือดวยน้ําเปลาจนสะอาด 5) ปด กอกนา้ํ หรอื วางขันไวทเ่ี ดมิ 6) นาํ ผาเชด็ มือมาเช็ดมือใหแหง แลววางผา เชด็ มอื ไวท ี่เดมิ 7) หากเดก็ ทาํ เองไมได ใหพอ แม หรือผปู กครองจับมือเดก็ ทํากอนตามขั้นตอนจนเด็กสามารถ ทาํ เองได 10. อายุ 31 - 36 เดอื น 10.1 ดานการเคลอื่ นไหว เด็กสามารถเดนิ ขนึ้ บันไดสลบั เทาไดเอง วธิ ีการสง เสรมิ พัฒนาการ 1) พอแม หรอื ผูปกครองจับมือขา งหนึ่งของเด็กไว ขณะทม่ี อื เด็กอีกขางเกาะราวบันได 2) พอ แม หรือผูปกครองจงู เดก็ ข้ึนบันไดหลาย ๆ คร้งั ขณะที่จงู ข้ึนใหพ ูดคุยเพ่ือใหกําลังใจเด็ก ไปดวย 3) เม่ือเด็กกาวขึ้นบันไดไดดีข้ึน ใหพอแม หรือผูปกครองลดการชวยเหลือ โดยเปลี่ยนไป ประคองเด็กจากดานหลงั และเดินตามหลังเด็กข้ึนไป จนเดก็ สามารถเดินข้ึนไดเ อง 10.2 ดานการใชกลามเน้ือมัดเล็กและสติปญญา เด็กสามารถเลียนแบบลากเสนเปนวง ตอเนอ่ื งกัน วิธีการสง เสริมพฒั นาการ 1) พอ แม หรอื ผูปกครองนาํ สีเทียน มาลากเสน เปนวงตอเน่อื งกันใหเ ด็กดูเปนตัวอยา ง 2) ใหเด็กหยบิ สีเทยี นและพดู วา “(ช่อื เดก็ )...หยบิ สี และลากเสนแบบนีด้ ูซิ” 3) ถาเดก็ ทําไมได ใหพ อแม หรือผูปกครองชวยจบั มือ เด็กลากเสนเปนวงตอ เน่อื ง 4) เม่อื เด็กเร่มิ ทําเองไดปลอ ยใหเดก็ ทาํ เอง โดยใชสีท่แี ตกตางกันเพอื่ กระตนุ ความสนใจของเดก็ 10.3 ดานการเขา ใจภาษา เด็กสามารถนาํ วัตถุ 2 ชนิด ในหองมาใหไดตามคําส่ัง วธิ กี ารสงเสริมพฒั นาการ พอแม หรอื ผปู กครองเลน เกมซอ นหากบั เดก็ 1) พอ แม หรือผูปกครองวางของเลน 6 ชนิ้ ตรงหนา เด็ก 2) ชขี้ องเลน บอกชือ่ ของเลน ใหเ ดก็ รูจักทีละช้ิน 3) บอกเด็กวาวนั นเี้ ราจะมาเลนเกมซอนหากัน แลว ใหเ ด็กหลับตาหรอื ใชม ือบงั ตาไว 4) พอแม หรอื ผูปกครองเอาของเลนไปวางไวทจ่ี ดุ ตา ง ๆ ภายในหอง

33 5) ใหเด็กไปหาและหยิบของเลนมาใหทีละ 2 ชิ้น โดยใชคําส่ัง “...(ช่ือเด็ก)...หยิบ...และ... มาใหแ ม” 6) ถาเดก็ หยิบไมถ กู ใหช ี้บอกหรอื จงู มอื เดก็ พาไปหยบิ ของ 7) ทาํ ซา้ํ จนเด็กสามารถหยิบของไดถ ูกตอง 10.4 ดานการใชภ าษา เดก็ สามารถพดู 3 คํา ตดิ ตอกนั ไดอ ยางนอย 4 ความหมาย วธิ กี ารสง เสริมพฒั นาการ ฝก สอนเด็กในชีวติ ประจําวนั เชน 1) ถาเด็กพูดไดทีละคําหรือสองคํา พอแม หรือผูปกครองควรขยายคําพูดของเด็กใหเปน 3 คํา เชน เดก็ พูด “ไป” ผปู กครองพดู วา “ไปหาแม” “ไปกินขาว” เปนตน 2) อา นหนงั สือนิทานประกอบภาพใหเ ด็กฟงและใชค าํ ถามเกี่ยวกับเร่อื งราวในนทิ านใหเดก็ ตอบ 3) พยายามพดู คาํ 3 คําใหเดก็ ฟง เชน แมไ ปเทีย่ ว ไมเอานม เปน ตน 4) รองเพลงเด็กท่ีใชคําพูดงาย ๆ ใหเด็กฟงบอย ๆ พรอมทําทาทางตามเพลง เวนวรรคใหเด็ก รองตอ เชน “ชาง ชาง ชา ง นอ งเคยเห็น...(ชา งหรอื เปลา )” 10.5 ดานการชว ยเหลอื ตวั เองและสังคม เดก็ สามารถใสกางเกงไดเอง วิธีการสงเสรมิ พฒั นาการ เร่ิมฝกเด็กโดยใชก างเกงขาส้ันเอวยืดมขี ั้นตอน ดงั นี้ 1) ผปู กครองสอนใหเ ด็กรจู กั ดา นนอกหรือดานใน ดา นหนาหรือดา นหลังของกางเกง 2) จัดใหเด็กนง่ั ผูปกครองจับมอื เด็กท้งั 2 ขา งจบั ท่ขี อบกางเกง และดงึ ขอบกางเกงออกใหกวา ง สอดขาเขาไปในกางเกงทลี ะขา งจนชายกางเกงพน ขอเทา 3) ใหเ ด็กยืนข้นึ ผูป กครองจับมอื เด็กดงึ ขอบกางเกงใหถ งึ ระดับเอว 4) ถา เดก็ เริ่มทําไดใหลดการชวยเหลอื ลงทีละขน้ั ตอนและปลอ ยใหเดก็ ทาํ เอง 11. อายุ 37 - 42 เดอื น 11.1 ดานการเคล่ือนไหว เด็กสามารถยืนดวยขาขางเดยี วโดยไมเ กาะ ไดนาน 3 วนิ าที วธิ ีการสงเสรมิ พัฒนาการ 1) ผูป กครองและเด็กยนื หนั หนา เขา หากันและจับมือเดก็ ไวท ง้ั สองขาง 2) ผปู กครองยกขาขางหนงึ่ ขึ้นแลว บอกใหเ ด็กทําตาม จากนั้นคอ ย ๆ ปลอ ยมือเดก็ ทีละขา ง 3) เปล่ียนเปน ยกขาอกี ขางหน่ึงโดยทําเชน เดียวกัน 4) ฝกจนเด็กสามารถยนื ขา งเดยี วไดดวยตนเอง

34 11.2 ดานการใชกลามเน้อื มัดเล็กและสติปญญา เดก็ สามารถเขยี นรูปวงกลมตามแบบได วธิ กี ารสงเสริมพัฒนาการ 1) ผปู กครองวาดรปู วงกลมใหเดก็ ดู 2) ผูป กครองบอกใหเดก็ วาดรูปวงกลมตาม 3) ถา เดก็ วาดไมไดผ ปู กครองชว ยจบั มือเดก็ วาด 4) เมื่อเด็กเรม่ิ วาดรูปวงกลมไดแ ลว ผปู กครองวาดรปู วงกลมลงในกระดาษโดยไมใหเ ดก็ เห็น แลว สงกระดาษทผ่ี ูปกครองวาดใหเดก็ และบอกวา “หนลู องวาดรูปวงกลมแบบนซี้ ”ิ 11.3 ดานการเขาใจภาษา เดก็ สามารถทาํ ตามคําสงั่ ตอเนื่องได 2 กรยิ ากบั วตั ถุ 2 ชนิด วิธีการสงเสรมิ พฒั นาการ 1) ผูปกครองฝกออกคาํ สงั่ ขณะเลน กับเดก็ เชน “หวีผมตุกตาแลว เอาตุกตาใหแม” “เอาโทรศัพท ไปเกบ็ แลวหยิบหนังสอื นิทานมาอานกนั ” 2) ผปู กครองฝก เดก็ ในชวี ิตประจาํ วัน โดยออกคําสงั่ เนนคําทเี่ ปน ช่ือ ส่ิงของ และการกระทํา เชน ขณะอาบน้ํา “เอาเสื้อใสต ะกราและหยิบผา เชด็ ตวั มา” ขณะแตง ตัว “หวีผมแลว ไปหยิบกางเกงมา” ขณะรบั ประทานอาหาร “เก็บจานแลวเอาผาไปเชด็ โตะ” 3) ถาเด็กทําไดเพียงคําส่ังเดียว ใหผูปกครองชี้ไปท่ีสิ่งของที่ไมไดหยิบ แลวสั่งซํ้า หรือให ผูปกครองพดู กระตุนเตือนความจําเด็ก เชน “ตอไปทําอะไรอีกนะ” หรือ “ตะก้ีแมสั่งอะไรอีกนะ” ฝกซํ้า ๆ จนเด็กสามารถทําตามคําส่ังไดถูกตอ ง 11.4 ดา นการใชภาษา เดก็ สามารถรองเพลงไดถกู ตอ งหรอื เกอื บจบเพลง วธิ กี ารสงเสริมพฒั นาการ 1) ผูปกครองรองเพลงหรือ เปดเพลงงาย ๆ สัน้ ๆ ใหเ ด็กฟง บอ ย ๆ 2) ผูปกครองรอ งเพลงใหเดก็ ฟง ทลี ะทอนแลวใหเด็กรองตาม 3) ผปู กครองและเด็กฝก รองเพลงดว ยกนั 4) ผปู กครองชว ยรองในบางทอนท่ีเด็กไมสามารถรองได ฝกจนกระท่ังเด็กสามารถรองเพลง ไดเองจนจบเพลง 11.5 ดา นการใชภาษา เด็กสามารถถามคาํ ถามได 4 แบบ ไดแ ก ใคร อะไร ท่ไี หน ทาํ ไม วิธกี ารสงเสรมิ พฒั นาการ 1) ผูป กครองฝก ตง้ั คาํ ถามโตตอบกบั เดก็ ในชีวิตประจําวัน เชน ชี้ไปที่คุณตาแลว ถามวา “นี่ใครนะ” ชีไ้ ปท่ีคณุ พอ แลว ถามวา “พอทาํ อะไรอยูนะ”ขณะท่ีพอไมอยู ถามวา “พออยูท่ีไหนนะ”เมื่อตองการเหตุผล ถามวา “ทาํ ไมหนูไมดื่มนม”

35 2) ผปู กครองฝก ถามคําถาม “ใคร อะไร ท่ีไหน ทําไม” บอ ย ๆ ในสถานการณทแ่ี ตกตางกนั 11.6 ดา นการชว ยเหลือตัวเองและสงั คม เดก็ สามารถทําตามกฎในการเลนเปนกลุม ได วธิ ีการสงเสรมิ พฒั นาการ 1) ผูปกครองรวมเลนเกมงาย ๆ กับเด็กเริ่มจากกลุมเล็ก ๆ เชน เลนซอนหา มอญซอนผา รรี ีขาวสาร งกู ินหาง เปน ตน โดยตัง้ กฎกตกิ ารว มกัน 2) ถาเด็กยังไมสามารถเลนตามกฎกติกาได ผูปกครองคอยกํากับเด็กใหเลนตามกฎกติกาได ผปู กครองสง เสริมใหเด็กเลน กบั เพอื่ นโดยคอยดูแลขณะกําลังเลน 11.7 ดานการชวยเหลือตัวเองและสังคม เด็กสามารถชว ยทาํ งานขัน้ ตอนเดยี วได วธิ กี ารสง เสรมิ พัฒนาการ ขณะทํางานบาน ผปู กครองชวนใหเ ด็กทํางานบานดวยกัน เชน เก็บของเลน ลางจาน กวาดบาน ชว ยเกบ็ เส้อื ผา หยิบของ 12. อายุ 43 - 48 เดือน 12.1 ดานการเคลื่อนไหว เด็กสามารถว่ิงไปขางหนาโดยลงน้ําหนักท่ีปลายเทาและแกวงแขน สลบั กัน วธิ ีการสง เสรมิ พัฒนาการ 1) ผูป กครองยนื เขยงปลายเทา แลววิ่งดวยปลายเทา ใหเ ดก็ ดู 2) ผูปกครองจงู มือเด็กขางหน่งึ แลวว่งิ ดว ยปลายเทาไปดวยกนั 3) เม่ือเด็กเร่มิ ทรงตัวไดเองดีข้ึน ใหผ ูปกครองปลอ ยใหเดก็ วิง่ เอง 12.2 ดา นการใชกลามเนื้อมัดเล็กและสติปญญา เด็กสามารถตัดกระดาษรูปส่ีเหล่ียมจัตุรัสขนาด 10 ซม. ออกเปน 2 ชิ้น วิธีการสงเสริมพฒั นาการ 1) ผูปกครองใชกรรไกรตดั กระดาษใหเดก็ ดูแลว บอกใหเ ดก็ ทาํ ตาม 2) ถา เด็กไมส ามารถทําได ใหจบั มอื เด็กทาํ จนเด็กทาํ ไดเอง 12.3 ดา นการเขา ใจภาษา เด็กสามารถเลือกวตั ถุทีม่ ีขนาดใหญกวาและเลก็ กวา วิธกี ารสง เสรมิ พฒั นาการ ผูปกครองฝกเดก็ ในชีวติ ประจําวัน เชน ขณะรับประทานอาหาร สอนเด็กใหรูจักชอนคันใหญ ชอนคนั เล็ก และทดสอบความเขาใจ โดยถามคําถามกบั เดก็ วา “อนั ไหนใหญกวา อนั ไหนเล็กกวา” ฝกเด็กบอย ๆ โดยเปลีย่ นอุปกรณต า ง ๆ ไปตามสถานการณในชวี ติ ประจาํ วัน เชน กอ นหนิ รถยนต รองเทา เส้ือผา เปนตน

36 12.4 ดา นการใชภ าษา เด็กสามารถพดู ตดิ ตอ กนั 3 คาํ โดยมีความหมายและเหมาะสมกับโอกาสได วธิ กี ารสงเสรมิ พัฒนาการ 1) ผปู กครองสอนใหเ ด็กพูดในโอกาสตา ง ๆ โดยผปู กครองพูดใหเด็กฟงเปนตัวอยาง แลวบอก ใหเ ด็กพดู ตาม เชน (1) สอนใหเดก็ ยกมือไหวและกลาวขอบคุณทุกคร้ังทร่ี บั ของจากผใู หญ “ขอบคณุ ครับนา ” (2) สอนใหเด็กยกมือไหวและกลาวสวัสดี เม่ือพบผูใหญหรือแขกของผูปกครองมาเย่ียม ที่บา น “สวสั ดคี รบั ลงุ ” (3) สอนใหเดก็ กลาวคําขอโทษทกุ ครงั้ ทที่ ําผิด“ขอโทษครบั พี”่ (4) กระตุนใหเดก็ พูดแสดงความคิดเห็นดว ยคําถาม เชน “หนวู าอันนเ้ี ปน อยางไร” (5) สอนใหเด็กบอกลา เชน “หนไู ปละนะคะ” 2) เตอื นเมือ่ เดก็ ลืมกลาวคําขอบคณุ สวัสดี ขอโทษ และบอกลาทกุ ครั้ง 12.5 ดานการใชภาษา สามารถพูดติดตอกัน 3 คํา เพ่ืออธิบายคุณสมบัติของสิ่งของเก่ียวกับ ลักษณะสี และขนาด วิธกี ารสง เสรมิ พฒั นาการ ผปู กครองฝก เดก็ ในชีวิตประจําวัน เก่ยี วกบั ลกั ษณะสี และขนาด เชน ขณะรับประทานอาหาร บอกเด็กวา “ชอ นมีสีขาว มีดามจับยาว ๆ นะลูก” ขณะแตงตัว บอกเด็กวา “เสื้อหนูตัวเล็ก เสื้อแมตัวใหญ” ฝกเด็กเก่ยี วกับลักษณะสี และขนาดบอย ๆ ในสถานการณท่แี ตกตางกนั 12.6 ดา นการชว ยเหลอื ตัวเองและสังคม เด็กสามารถหลกี เลยี่ งสง่ิ ทเี่ ปน อนั ตรายไดเ อง วธิ กี ารสง เสรมิ พัฒนาการ 1) ผูปกครองสอนใหเด็กรูจักหลีกเลี่ยงส่ิงท่ีเปนอันตราย เชน “เตากําลังรอน อยาจับเตา เด๋ียวมอื เจ็บ” “อยาเดนิ ไปทางท่มี เี ศษแกว เด๋ียวแกวบาด เลอื ดออก” 2) เมอ่ื เด็กหกลม หรอื มีดบาด ขณะทําแผลสอนเดก็ ใหรวู า ของเหลาน้เี ปน อันตราย ควรหลกี เลยี่ ง อยา งไร หรอื ชี้ใหเด็กดู ตวั อยา งจากหนงั สือนิทาน ภาพยนตร และชวี ิตประจําวัน 3) ถาเด็กยังเลนในส่ิงที่เปนอันตราย ตองมีบทลงโทษที่ชัดเจน เชน “หนูจะไมไดดูการตูน หนจู ะไมไ ดกินขนม” และทาํ เหมือนกนั ทกุ คร้ัง เพอื่ ใหเดก็ แยกแยะไดวาอะไรอนั ตราย อะไรไมเ ปน อันตราย

37 13. อายุ 49 - 54 เดือน 13.1 ดานการเคล่อื นไหว เด็กสามารถกระโดดไปดานขา งและถอยหลังได วิธกี ารสง เสรมิ พฒั นาการ 1) ผปู กครองกระโดดไปทางดานซาย ดา นขวาถอยหลงั ใหเ ด็กดู 2) ผูปกครองยืนตรงขามเด็กจับมือเด็กไวพรอมกับบอกวา “กระโดดไปทางซาย กระโดดไป ทางขวา กระโดดถอยหลงั ” พรอมกับประคองมือเด็กใหกระโดดไปในทศิ ทางตามทผี่ ปู กครองบอก 13.2 ดานการใชกลามเน้ือมัดเล็กและสติปญญา เด็กสามารถประกอบช้ินสวนของรูปภาพที่ตัด ออกเปน สว น ๆ 8 ชน้ิ ได วิธีการสง เสริมพฒั นาการ 1) ผปู กครองวางรปู ทต่ี ดั ออกเปน 6 ชิ้นตรงหนา เดก็ ใหเ ดก็ สังเกตรูปภาพนั้น 2) แยกรูปภาพท้งั 6 ชิน้ ออกจากกัน โดยการขยายรอยตอใหกวางข้ึน ชวยกันกับเด็กตอเปนภาพ เหมอื นเดิม 3) แยกภาพที่ตอออกจากกัน โดยการสลับตําแหนงภาพ บน - ลาง ชวยกันกับเด็กตอเปนภาพ เหมือนเดิม 4) แยกภาพท่ีตอออกจากกัน โดยการสลับตําแหนงภาพ ซาย - ขวา ชวยกันกับเด็กตอเปนภาพ เหมอื นเดิม 5) เพ่ิมความยาก โดยผูปกครองคละชิ้นสวนของภาพทั้งหมด ชวยกันกับเด็กตอเปนภาพ เหมือนเดิม ถาเดก็ เริม่ ทาํ ไดแลวปลอ ยใหเ ดก็ ตอ ภาพดวยตนเอง 6) หากเด็กตอ ภาพไดค ลอ งแลว ใหเ ปล่ียนเปนภาพที่ตัดแบง เปน 8 ชนิ้ 13.3 ดานการเขาใจภาษา เด็กสามารถเลือกอันดบั แรกและอันดบั สดุ ทา ยได วิธกี ารสงเสรมิ พฒั นาการ 1) ผปู กครองสอนใหเ ดก็ รูจักจุดเร่มิ ตน โดยพูดกับเด็กวา “เราจะเร่ิมใหรถว่งิ จากตรงนพ้ี รอ มกนั นะ” 2) สอนใหเด็กรจู กั เสนชัย พรอมพดู กับเด็กวา “นี่คอื เสนชยั ” 3) ผปู กครองคอ ย ๆ เคลือ่ นรถไปขางหนา ทลี ะคนั จนครบ 3 คัน โดยเรยี งรถใหตอทายกันตามลาํ ดบั 4) ผูปกครองกระตุนถามและใหเด็กตอบ“คันไหนถึงเสนชัยอันดับแรก”“คันไหนถึงเสนชัย อันดบั สดุ ทาย” 5) ถาเด็กตอบไมได ผูปกครองบอกเด็กใหรูจักอันดับแรก อันดับสุดทาย ฝกจนกระท่ังเด็ก สามารถตอบไดด ว ยตนเอง

38 13.4 ดานการใชภาษา เด็กสามารถตอบคําถามไดถูกตองเม่ือถามวา “ถารูสึกรอน ไมสบาย หิว” จะทําอยา งไร วิธกี ารสงเสริมพฒั นาการ 1) ผูปกครองฝกเด็กในชีวิตประจําวัน เมื่อเด็กมาบอกความตองการ เชน หิว รอน ปวดหัว ใหผ ปู กครองถามเด็กวา “แลวหนจู ะทําอยา งไร” เพอื่ กระตนุ ใหเดก็ คดิ กอน 2) ถาเดก็ ตอบไมไ ดใ หผ ูปกครองพดู อธิบาย เชน ถา หนหู วิ น้าํ ตอ งไปดม่ื น้ํา ถาหนูรอนหนตู อ งไป อาบนํ้า ถาหนูปวดหัวหนูก็ตองทานยา 13.5 ดา นการชว ยเหลอื ตวั เองและสังคม เดก็ สามารถทําความสะอาดตนเองหลังจากอจุ จาระได วธิ กี ารสงเสริมพัฒนาการ 1) ผปู กครองฝกเด็กลางกน โดยจับมือขา งที่ถนัดของเด็กใหถือสายชําระหรือขันน้ําฉีดน้ําหรือ ราดนา้ํ ทีก่ นของตนเอง พรอมกับจับมืออีกขางของเด็กใหถูกน จนสะอาด 2) หลังเดก็ ลางกน ตนเองเรียบรอ ยแลว ใหตกั น้าํ ราดโถสว มหรือกดชกั โครกทําความสะอาดสว ม ดว ยตนเอง 3) หลังจากน้ัน ใหผ ปู กครองพาเด็กไปเช็ดกนใหแหง และลางมือใหสะอาด โดยจับมือเด็กทํา ทุกขัน้ ตอน จนเดก็ สามารถทาํ ไดเ อง 14. อายุ 55 - 60 เดอื น 14.1 ดานการเคลอ่ื นไหว เดก็ สามารถว่งิ มาเตะลูกบอลได วิธีการสงเสริมพฒั นาการ 1) ผูปกครองวิ่งเตะลูกบอลในระยะหางประมาณ 4 - 5 กาว โดยไมหยุดเล็ง ใหเด็กดูและ บอกใหเด็กทาํ ตาม 2) เมอื่ เดก็ เรมิ่ ทาํ ได หาโอกาสใหเ ดก็ ไดว ิง่ เตะบอลบอย ๆ โดยวางลูกบอลหางออกไปเร่ือย ๆ จนถึงระยะ 3 เมตร 14.2 ดา นการใชก ลามเนื้อมดั เล็กและสติปญญา เด็กสามารถจับดนิ สอไดถูกตอ ง วธิ กี ารสง เสรมิ พฒั นาการ 1) ผูปกครองแสดงวธิ ีการจับดนิ สอใหเดก็ ดูเปน ตวั อยาง แลวชวนใหเ ด็กจับดนิ สอขีดเขยี น 2) ถาเด็กทําไมไดชวยจับมือเด็ก โดยใหดินสออยูระหวางสวนปลายของนิ้วหัวแมมือ นิ้วช้ี นว้ิ กลาง และสงู กวา ปลายดนิ สอประมาณ 1 ซม. จนเด็กทําไดเ อง

39 14.3 ดานการเขา ใจภาษา เดก็ สามารถแยก/จําแนกสไี ด 8 สี วธิ กี ารสง เสริมพฒั นาการ 1) ผูปกครองสอนใหเด็กรูจักสี จากส่ิงของที่มีอยูในบาน เชน ผัก ผลไม เส้ือผา ของใช โดยผปู กครองพดู บอกเด็กในแตล ะสแี ลว ใหเดก็ พดู ตาม 2) ผูปกครองนําของท่ีมีอยูใกลตัวสีละ 1 ช้ิน โดยเริ่มตนจาก 4 สี ไดแก สีแดง สีฟา สีเขียว สีเหลอื ง มาคละรวมกัน แลวถามเด็กวา “อันไหนสี...” 3) หากเด็กรูจ กั สีทั้ง 4 สีแลว ใหเ พ่ิมจาํ นวนสขี ้นึ เรอ่ื ย ๆ จนครบทัง้ 8 สี (สฟี า สีเขียว สชี มพู สดี าํ สขี าว สีแดง สีเหลอื ง สสี ม) 14.4 ดานการใชภ าษา เด็กสามารถผลดั กนั พดู คยุ กบั เพื่อนในกลุม วิธกี ารสงเสรมิ พฒั นาการ 1) ผูป กครองใหล กู มีสวนรว มในการเสนอความคิดเห็น เชน ผูปกครองถาม “วันน้ีเราจะกินอะไร กนั ดี” “วนั นเี้ ราจะไปเทยี่ วไหน” 2) ถา เดก็ พูดแทรก ใหผปู กครองบอกเดก็ วา “หนรู อกอ นนะ เด๋ียวแมขอพูดใหจบกอนแลวหนู คอ ยพดู ตอ” ทาํ ทกุ ครัง้ ท่เี ด็กพดู แทรก 3) ผูปกครองคอยกระตุน ใหเด็กพูดคุยหรือโตตอบกันขณะเลนดวยกัน เชน เลนขายของ เลน เปนหมอกับคนไข ครูกบั นักเรียน เปน ตน 14.5 ดา นการชว ยเหลอื ตวั เองและสงั คม เดก็ สามารถเลนเลยี นแบบบทบาทของผใู หญได วิธีการสงเสริมพัฒนาการ 1) ผูปกครองรวมเลนบทบาทสมมติกับเด็ก เชน เลนขายของ เลนเปนพอ แม เลนเปนครู เลน เปนหมอ เลนเปนตาํ รวจจบั ผรู า ย โดยใหเด็กเลอื กเองวา อยากเลน เปนใคร 2) ผูปกครองสนับสนุนอุปกรณเพ่ือใหเด็กนําไปประกอบการเลน เชน ของเหลือใชในบาน เสอ้ื ผา เปน ตน โดยเลือกของใหเ หมาะกบั บทบาทและปลอดภัย เรือ่ งท่ี 5 ความรูเก่ยี วกบั พัฒนาการปกติ เดก็ ท่มี ีความบกพรอ งทางพัฒนาการ 1. ความหมายของ “พฒั นาการ” พฒั นาการ (development) หมายถงึ การเปลี่ยนแปลงในดานการทําหนาที่และวุฒิภาวะของ อวัยวะตา ง ๆ รวมทั้งตวั บุคคล ทําใหส ามารถทําหนา ท่ไี ดอ ยางมีประสทิ ธภิ าพ ทําส่งิ ทย่ี ากสลับซับซอนมากขึ้น โดยทวั่ ไปพฒั นาการปกติ แบง ออกเปน 5 ดาน ไดแก

40 1.1 พัฒนาการดานรางกาย (physical development) เปนความสามารถของรางกาย ในการทรงตวั และการเคล่ือนไหว โดยการใชกลามเน้ือมัดใหญ (gross motor) การใชมือและตาประสานกัน ในการทํากจิ กรรมตาง ๆ (fine motor - adaptive) 1.2 พฒั นาการดา นสติปญญา (cognitive development) เปนความสามารถในการเรียนรู ความสัมพันธระหวางสิ่งตาง ๆ กับตนเองการรูคิด รูเหตุผลและความสามารถในการแกปญหา พัฒนาการ ดา นภาษา (language) และการใชม อื กบั ตา (fine motor) เกีย่ วขอ งกบั พัฒนาการดา นสตปิ ญ ญา 1.3 พัฒนาการดานจิตใจ - อารมณ (emotional development) เปนความสามารถของ รางกายในการแสดงความรูสึกและควบคุมการแสดงออกของอารมณอยางเหมาะสม รวมถึงการสราง ความรูสึกทีด่ ี นบั ถอื ตนเอง (self esteem) 1.4 พัฒนาการดานสังคม (social development) เปนความสามารถในการสรางสัมพันธภาพ กบั ผูอ น่ื สามารถชว ยเหลอื ตนเองในชวี ิตประจาํ วัน (personal - social, self help, self care) 1.5 พัฒนาการดานจิตวิญญาณ (spiritual development) เปนความสามารถในการรูจัก คุณคาของชีวิตของตนเอง สามารถในการเลือกดํารงชีวิตในทางสรางสรรคเปนประโยชนตอสังคมสวนรวม มีความรสู ึกผดิ ชอบชวั่ ดี และมีคุณธรรม 2. เดก็ ที่มีความบกพรอ งทางพฒั นาการ เด็กท่มี ีความบกพรอ งทางพัฒนาการ หมายถงึ เดก็ ทีม่ พี ฒั นาการลา ชา กวาเด็กปกติในวัยเดียวกัน ท่ีสามารถทําส่ิงหนึ่งสิ่งใดได เชน เด็กอายุ 20 เดือน แตยังเดินไมได ในขณะท่ีเด็กปกติเร่ิมเรียนรูท่ีจะเดิน และเดินไดใ นชวงอายุ 9 - 15 เดือน เปน ตน โดยความลาชานน้ั ปรากฏใหเ ห็นตงั้ แตวยั ทารกและวยั เดก็ ตอนตน พัฒนาการลาชาอาจพบเพียงดานใดดานหน่ึง หลายดาน หรือทุกดาน (global developmental delay) และพัฒนาการลาชาในดานหน่ึงอาจสงผลใหพฒั นาการในดานอ่นื ลาชา ดว ยก็ได ฉะน้ัน พอแม หรือผูปกครอง ตอ งหมนั่ ทาํ การสงั เกตพฒั นาการและพฤติกรรมเด็ก พรอมท้งั ทําการประเมนิ พฒั นาการของเด็ก เปนระยะ ๆ เพื่อใหก ารรกั ษาและกระตนุ พฒั นาการที่เหมาะสมกบั เดก็ ตอ ไป 3. ปจจัยท่มี ีผลตอการพัฒนาการเดก็ พัฒนาการมีการเปลี่ยนแปลงในดานการทํางานของอวัยวะตาง ๆ ของรางกายเด็ก ปจจัยที่สงผล ใหเ ด็กมีพัฒนาการลาชา เรว็ ปกติ หรอื ไมปกติ มีดังน้ี 3.1 ปจ จยั ทางดานชีวภาพ เกี่ยวขอ งกับลักษณะทางพันธุกรรมหรอื ชดุ หนว ยของยีนที่เด็กไดรับ สบื ทอดมาจากพอ แม

41 3.2 ปจ จยั ดานสภาพแวดลอ มกอนคลอด การตดิ เชอ้ื สารพษิ สภาวะทางโภชนาการและการเจ็บปวย ของแมส ง ผลตอพฒั นาการของตัวออ นในครรภ 3.3 ปจจัยดา นกระบวนการคลอด การเกดิ ภาวะแทรกซอ นในระยะคลอด เชน ภาวะขาดออกซเิ จน ในขณะคลอด เปน ตน 3.4 ปจจัยดานสภาพแวดลอมหลังคลอด สภาวะหลังคลอด ปจจัยดานระบบประสาท และ สภาพแวดลอมสงผลรวมกันตอพัฒนาการของเด็ก เด็กที่ไมมีพอแม หรือเด็กที่ไมไดรับการดูแลเอาใจใส อยูในสิ่งแวดลอมที่แออัด ยากจน เด็กถูกทอดท้ิง - ลวงละเมิด ปจจัยดานการศึกษา เชาวนปญญา และ ความสามารถของแม ในการจัดสภาพการเรียนรขู องเดก็ 4. สาเหตุท่ที ําใหเ กดิ ความบกพรอ งทางพัฒนาการ ความบกพรอ งทางพัฒนาการของเด็กมีสาเหตุมาจาก 4.1 โรคพนั ธกุ รรม เด็กจะมีพัฒนาการลาชามาต้งั แตเกิดหรอื สังเกตไดช ั่วระยะไมนานหลังเกิด มกั มี ลักษณะผิดปกติแตกําเนิดรวมดว ย กลมุ อาการดาวนเ ปน ความผดิ ปกติของโครโมโซม ซึ่งเปนสาเหตุของความ บกพรองทางพัฒนาการหรอื ภาวะบกพรอ งทางสตปิ ญญาทพ่ี บบอ ยท่สี ดุ 4.2 โรคของระบบประสาท เด็กท่ีมีความบกพรองทางพัฒนาการสวนใหญมักมีอาการหรือ อาการแสดงทางระบบประสาทรวมดว ย ท่พี บบอ ยคอื อาการชกั และความตงึ ตัวของกลามเนอ้ื ผิดปกติ เด็กที่มี ประวตั พิ ฒั นาการถดถอย (regression) ควรไดร บั การพจิ ารณาสง ตอ แพทยท างระบบประสาทตอ ไป 4.3 การติดเชื้อ โรคในกลุมน้ีที่สําคัญคือ การติดเชื้อต้ังแตอยูในครรภ เด็กมักมีน้ําหนักตัวแรก เกิดนอ ย ศีรษะเล็กกวาปกติ อาจมตี ับโต มามโต การไดย ินบกพรอง และตอกระจกรวมดวย นอกจากน้ีการติดเช้ือ รนุ แรงภายหลงั เกิด เชน สมองอักเสบ เยือ้ หุมสมองอกั เสบ เปน สาเหตทุ ่ีพบไดบา ง 4.4 ความผิดปกตเิ ก่ียวกบั เมตาบอลิซึม โรคทีย่ ังเปน ปญ หาสาธารณสุขไทย คือ ไทรอยดฮอรโมน ในเลอื ดตา่ํ ในกรณที ่ีเปน มาแตก าํ เนิดและไมไ ดรบั การรักษากอ นอายุ 2 - 3 เดอื น เดก็ จะมรี ะดับสติปญญาต่ํากวา ปกติอยางถาวร ซึ่งแกไขไมไดแมจะใหไทรอยดฮอรโมนในภายหลัง นอกจากไทรอยดฮอรโมนในเลือดต่ํา โรคอ่ืน ๆ ในกลุมนี้ เชน ความผิดปกติของกรดอะมิโน มีอัตราการเกิดโรคคอนขางตํ่าและยังมีขอจํากัด ในการตรวจวินจิ ฉยั ทางหอ งปฏบิ ัตกิ าร จงึ ทําใหเดก็ ซ่ึงมคี วามบกพรองทางพัฒนาการจํานวนหนึ่งไมไดรับการ วินิจฉัยโรคที่แนนอน แมจะมลี ักษณะทางคลนิ ิกบงชก้ี ็ตาม 4.5 ภาวะแทรกซอ นระยะแรกเกดิ ภาวะทีเ่ ก่ียวของกับความบกพรองทางพัฒนาการท่ีพบบอย คือ การเกิดกอนกําหนด น้ําหนักตัวแรกเกิดนอย และภาวะขาดออกซิเจน ปจจัยดังกลาวอาจไมใชสาเหตุ โดยตรงของโรค เชน น้ําหนักตัวแรกเกิดนอยเปน อาการแสดงของการติดเช้ือในครรภ เปน ตน

42 4.6 สารเคมี ตะก่ัวเปนสารที่มีผลกระทบตอเด็กและไดมีการศึกษาสารเคมีเก่ียวกับตะกั่ว มากที่สุด สวนหนึ่งอาจเกิดจากประชาชนทั่วไปมีโอกาสไดรับสารนี้ในชีวิตประจําวันมากกวาชนิดอื่น ๆ ผลกระทบท่ีมีการศึกษากันมาก คือ เมื่อเด็กมีระดับตะกั่วในเลือดสูงสะสมเปนเวลานาน จะทําใหมีระดับ สตปิ ญญาตา่ํ กวาคนทั่วไป 4.7 การเล้ียงดูที่ไมเหมาะสมรวมทั้งการขาดสารอาหาร ปจจัยขอนี้แมจะมีผลกระทบตอ พฒั นาการตามวัยของเด็กแตมกั ไมรนุ แรง ดังน้ัน หากเด็กมีพัฒนาการลาชาคอนขางมาก ควรตรวจคนหาสาเหตุ อน่ื รวมดว ยเสมอ 5. อาการของเด็กที่มคี วามบกพรองทางพฒั นาการ เดก็ ทีม่ ีความบกพรองทางพัฒนาการจะมลี ักษณะอาการบง บอก คือ มีพัฒนาการลา ชา ซงึ่ อาจจะ พบมากกวา 1 ดาน ไดแก กลามเน้ือมัดใหญ กลามเนื้อมัดเล็กและสติปญญา การใชภาษา ความเขาใจภาษา การชวยเหลือตัวเองและสังคม นอกจากน้ีอาจพบความผิดปกติของระบบประสาทและกลามเน้ือรวมดวย เชน ปฏกิ ิรยิ าสะทอ น (primitive reflex) ยังคงอยไู มหายไปแมจะถึงชวงอายุท่ีควรจะหายไป กลามเน้ือออน นม่ิ หรือเกร็ง อาจพบความผิดปกติอ่นื ๆ รว มดว ย เชน ปญ หาการไดย ิน ปญหาการมองเหน็ เปน ตน 6. แนวทางการวินิจฉัยเดก็ ทมี่ คี วามบกพรองทางพัฒนาการ การทาํ การวินจิ ฉัย วิเคราะหเ ดก็ ท่ีมีความบกพรอ งทางพฒั นาการทาํ ไดโ ดยการ 6.1 การซักประวัติ โรคประจําตัวตาง ๆ ที่จะเปนสาเหตุของความบกพรองทางพัฒนาการได เชน โรคลมชัก การเจ็บปวยในครอบครัว โรคทางพันธุกรรม การต้ังครรภของแมตั้งแตประวัติฝากครรภ การเจบ็ ปว ยระหวางตง้ั ครรภ ประวัตกิ ารไดร ับสารพษิ ตาง ๆ เชน สรุ า บหุ รี่ และสารเสพตดิ อ่นื ๆ ประวตั กิ ารใชย า ที่มผี ลตอเดก็ ประวัตเิ กีย่ วกบั การคลอด ชวงเวลาที่พอแม หรือผูปกครองสังเกตวาลูกมีพัฒนาการลาชาและ พัฒนาการท่ีลาชานั้นเปนแบบถดถอยหรือไม เชน เคยน่ังได ตอมานั่งไมได พัฒนาการที่ผานมาพัฒนาการ ทางภาษา ปญหาพฤติกรรมที่มักพบรวมกับเด็กที่มีพัฒนาการลาชาไดบอยปญหาการกิน การนอน การขับถาย ซ่ึงมคี วามสาํ คัญเนื่องจากมผี ลโดยตรงตอ เด็กและผูเล้ียงดู และประวัติเกี่ยวกับความพิการตาง ๆ ที่พบรวมได เชน การไดยินการมองเห็นท่ีผิดปกติ และประวัติอื่น ๆ ที่นาจะมีประโยชนในการประเมินสภาวะแวดลอม ทเี่ อื้อตอการดูแลเดก็ เชน สถานภาพการสมรสของพอแม ระดับการศึกษาของพอแม ผูปกครอง หรือผูเล้ียงดู เปน ตน

43 6.2 การตรวจรางกาย การตรวจรางกายที่สําคัญและอาจสัมพันธกับความบกพรองทาง พัฒนาการ ไดแก ตรวจรางกายท่ัว ๆ ไปทุกระบบ และการเจริญเติบโตที่อาจบงช้ีสาเหตุท่ีทําใหเด็กมี ความบกพรอ งทางพัฒนาการได เชน ตรวจดลู กั ษณะผดิ รปู ของรปู รางหนาตา ตรวจภาวะตับโต มามโต ตรวจผิวหนัง ตรวจระบบประสาทตาง ๆ โดยละเอียดและวัดรอบศีรษะดวยเสมอ เพ่ือที่จะสามารถตรวจพบเด็กท่ีมีความ บกพรอ งทางพฒั นาการทมี่ ีความรนุ แรงไมม ากนัก ดูลักษณะของเด็กท่ีถูกทารุณกรรม (child abuse) เพราะ เด็กพิเศษถือวาเปน กลุม เส่ียงอยา งหนงึ่ ตรวจระบบการมองเห็นและการไดย นิ เพราะเปนความพิการซํ้าซอนที่ พบรวมไดบ อ ย 6.3 การสืบคนทางหองปฏิบัติการ เปนการตรวจทางหองปฏิบัติการพันธุกรรม (genetic laboratory test) โดยการตรวจโครโมโซมมาตรฐาน (standard chromosomal analysis) การตรวจความ ผิดปกติที่เกิดจากการท่ีช้ินสวนเล็ก ๆ ของโครโมโซมขาดหายไปดวยเทคนิค Fluorescent In - Situ Hybridization (FISH) การตรวจดีเอ็นเอ เปนการตรวจเพื่อวินิจฉัยโรคที่เกิดจากความผิดปกติในระดับอณู พันธุศาสตร เชน กลุมอาการโครโมโซมเอกซเปราะ การตรวจรังสีทางระบบประสาท (neuroimaging studies) การตรวจทางเมตาบอลิก (metabolic testing) เปนตน 6.4 การประเมินพัฒนาการ การประเมินพัฒนาการนั้นมีความสําคัญมาก เนื่องจากการที่เรา สามารถบอกไดว าเด็กคนไหนมคี วามบกพรองทางพัฒนาการไดเร็วเทาไร รีบใหการวินิจฉัย ใหการรักษาและ กระตุนพัฒนาการท่ีเหมาะสม ยอมจะสงผลดีตอเด็กและครอบครัวในระยะยาว โดยท่ัวไปการประเมิน พัฒนาการแบงไดเปน การประเมินแบบไมเปนทางการ การประเมินท่ีใชในเวชปฏิบัติ โดยใชแบบประเมิน พัฒนาการที่มใี ชใ นปจจุบนั 7. แนวทางในการดูแลเดก็ ทม่ี ีความบกพรอ งทางพัฒนาการ เม่ือพอ แม หรือผปู กครองสังเกตพบวา บุตรหลานของตนมีพัฒนาการที่ลาชากวาเด็กปกติในวัย เดยี วกนั ควรตองใหการดูแลชว ยเหลือ ดงั น้ี 7.1 หาสาเหตทุ ท่ี ําใหเ กดิ ความบกพรอ งทางพัฒนาการ โดยมาพบกุมารแพทยและแพทยดาน พฒั นาการเดก็ เพอ่ื ทําการประเมินพัฒนาการเบ้อื งตนและหาสาเหตุดวยเสมอ 7.2 การตรวจคนหาความผิดปกติรวม เด็กที่มีความบกพรองทางพัฒนาการจํานวนหน่ึง มีความผิดปกตขิ องการรับรูทางโสตประสาทดา นตา ง ๆ รว มดวย เชน การมองเหน็ การไดย ินหรอื ความผดิ ปกติ อื่น ๆ ที่พบบอย ไดแก ปญหาการกิน บางคนเปนโรคขาดสารอาหาร การขาดสารอาหารบางอยาง เชน ธาตเุ หลก็ จะมผี ลโดยตรงตอ การเรยี นรูใ นดานสมาธิและความตั้งใจ 7.3 การรักษาสาเหตโุ ดยตรง เชน การใหไทรอยดฮอรโ มน เปน ตน

44 7.4 การสง เสรมิ พฒั นาการ หลักการ คือ พยายามทําใหมีวิธีการเดียวกับการเลี้ยงดูเด็กทั่วไป ในชวี ิตประจําวนั แตอ าจตองยอ ยการฝก ในบางขั้นตอน อยางไรกต็ าม ถา ประเมนิ แลวพบวาผูเลีย้ งดูไมม ีทักษะ ในการฝก ควรแนะนําใหมารบั บรกิ ารในสถานพยาบาล เชน คลนิ ิกสงเสริมพัฒนาการหรือรับบริการในชุมชน เปนตน 7.5 ใหค ําปรกึ ษากับครอบครวั ในการหาแหลงความรูเพ่ิมเตมิ ตาง ๆ เชน หนังสอื หรอื เว็บไซต เก่ยี วกับเด็กพิเศษ สมาคมและชมรมผูป กครองตา ง ๆ เปนตน เรื่องที่ 6 บทบาทพอ แม พอแม หรอื ผปู กครอง มีบทบาทสําคัญในการดแู ลสขุ ภาวะและสขุ อนามัยสาํ หรับเด็กแรกเกิด - 5 ป ซง่ึ จําเปนอยา งย่ิงที่ตอ งใหค วามสาํ คัญในเรื่อง ดังตอไปนี้ 1. การดแู ลสุขภาพ เดก็ วัย 0 – 2 ป เปน วัยที่มกี ารเจริญเติบโตและการเปล่ียนแปลงทางรางกาย อยางรวดเรว็ การเจรญิ เติบโตของเด็กข้นึ อยูกบั ปจ จัยหลายดาน ไดแก พันธุกรรม ฮอรโมน ภาวะโภชนาการ โรคทางกาย และสภาพแวดลอม การเลี้ยงดูเด็กมีการเจริญเติบโตและเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอยางตอเน่ือง ตลอดเวลา การเจรญิ เตบิ โตในแตล ะชว งอายุแตกตางกนั โดยในชว งแรกเกิด วยั ทารก เด็กจะมกี ารเจรญิ เตบิ โต อยางรวดเร็ว การติดตามการเจริญเติบโตในเด็กเล็ก ใชการวัดความยาว ชั่งนํ้าหนัก และวัดเสนรอบศีรษะ เปนตน อาหารเปน ปจจยั ท่มี บี ทบาทอยางมากตอการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0 - 2 ป การใหอาหารนอกจาก ชวยใหมีชีวิตรอด เจริญเติบโตและพัฒนาตามศักยภาพ ยังชวยใหเด็กแข็งแรงและมีสุขภาพดีในวัยเด็ก การเลือกอาหารที่เหมาะสมตองคํานึงถึงการสรางเสริมภูมิคุมกันโรค และขอจํากัดทางสรีรวิทยาของทารก เชน การยอยอาหาร และการทํางานของไต นมแมเปนอาหารที่ดีที่สุดของทารกในชวงหกเดือนแรกของชีวิต และควรใหนมแมรวมกับอาหารที่เหมาะสมตามวัยจนลูกอายุครบ 2 ป หรือนานกวานั้น เพื่อใหเกิดผลดี ตอสุขภาพลกู และแมอยางเต็มท่ี นอกเหนือจากน้ันแลวการที่พอแม หรือผูปกครองมีความรูเร่ืองการสังเกต ความผิดปกติและปญหาท่ีพบบอยในเด็กอายุ 0 - 2 ป ยังชวยปองกันและแกไขสิ่งท่ีมาบ่ันทอนพัฒนาการ การเจริญเติบโต และสุขภาพของเด็กวัย 0 – 2 ป ไดในเบ้ืองตน เด็กวัย 3 – 5 ป เปนวัยที่มีการเจริญเติบโต อาหารเปนปจ จยั ทมี่ ีบทบาทอยางมากตอการเจริญเตบิ โตของเด็กอายุ 3 - 5 ป การไดร ับสารอาหารครบทง้ั 5 หมู และมีปริมาณท่ีเหมาะสม มีความจําเปนตอการเจริญเติบโตและพัฒนาการทุกสวนของรางกายและสมอง แนวคิดทฤษฎีท่ีเกี่ยวของ นอกเหนือจากน้ันแลว การที่พอแม หรือผูปกครอง มีความรูเรื่องการสังเกต ความผิดปกติและปญหาท่ีพบบอยในเด็กอายุ 3 - 5 ป ยังชวยปองกันและแกไขสิ่งที่มาบั่นทอนพัฒนาการ การเจรญิ เติบโตและสุขภาพของเด็กวยั 3 – 5 ป ไดในเบื้องตน

45 2. การเลนเพื่อสง เสริมพฒั นาการ การเรียนรูท ่ีเปนธรรมชาติท่ีดีทส่ี ดุ สําหรบั เดก็ คือ การเลน โดยจะ ชวยกระตุนการคิดและจินตนาการของเด็ก การเลนเปนสัญลักษณของการถายทอดประสบการณของเด็ก ซงึ่ เปนการตอบสนองความตองการของเด็ก ในปจ จบุ ันและถายโยงประสบการณนี้ไปสูอนาคต ประสบการณ ท่เี ดก็ ไดจากการเลนจะนําไปสูก ารรับผิดชอบตอ ตนเอง และปรับตัวใหเขากับสังคม อีกท้ังสงเสริมพัฒนาการ ดานตา ง ๆ ไดส มวยั 3. การสรางนิสยั รักการอา น นทิ านเปนจุดเริ่มตนของการสื่อสารดวยภาษา เด็กเรียนรูท่ีจะออก เสียงพดู เพือ่ สอ่ื ความหมายใหค นอื่นเขาใจดวยการฟงคนอื่นพูด การเลานิทานเปนการกระตุนใหเด็กมีทักษะ ในการเปนผูฟงที่ดีรวมทั้งจินตนาการท่ีเหมาะสมและทัศนคติท่ีดีตอการดําเนินชีวิต เชน ทําใหเด็กเล็ก มพี ัฒนาการการพูดไดเร็วขึ้น นอกจากน้ันการสรางนิสัยรักการอานใหลูกเปนการลงทุนท่ีคุมคามากในเรื่อง ของเวลา และที่สําคัญการอานเปนการเปดโลกกวางท่ีมีคุณคามากใหแกลูก ซึ่งจะมีบทบาทมากในการ เปล่ยี นแปลงชีวติ ของลูกในอนาคตตอ ไป นทิ านเปนเรือ่ งราวทผี่ กู ขน้ึ และถา ยทอดออกไปสูผูฟง การเลานิทาน เปนศลิ ปะทีก่ อใหเ กิดความบันเทิง จินตนาการ ความรูผานประสบการณของผูเลา และพัฒนาความคิดไปสู การมีเหตผุ ล นทิ านนอกจากจะใหค วามสุขแกผูฟงและผูเลาแลว ยังสรางความผูกพันทางจิตใจระหวางผูเลา และผูฟงดวย นิทานจึงเหมือนอาหารสมองและอาหารใจที่สามารถหลอหลอมความคิดและพฤติกรรมที่ สรา งสรรค การฟง นทิ านบอย ๆ เด็กจะซึมซับวัฒนธรรมการอานจากผูใหญ ทําใหเด็กเกิดทักษะในการอาน เมอ่ื เดก็ เริม่ อา นหนงั สอื ออกจะพัฒนามากขึ้นจนทาํ ใหเด็กเกดิ ความรักในการอา นจนเปน นสิ ยั 4. การสรางความผูกพัน ลูกอายุ 0 - 5 ป จะรับรูถึงความรักความผูกพันจากพอแม หรือผูดูแล ไดโ ดยการสัมผสั การโอบกอด การพูดคยุ กับลูก การเลน การใหอาหาร จะทําใหล ูกอบอุน อารมณด ี 5. การเล้ียงลูกดวยวิธีบวก (Positive parenting) “ลูก” เปนรางวัลชีวิตท่ีมีคาสําหรับพอแม หรือผูปกครอง แตการเปนพอแมไมใชเร่ืองงาย พอแม หรือผูปกครองหลายคนรูสึกถึงความเหน็ดเหนื่อย ออ นลา จากความกดดันท่ีเกิดขึ้นจากการดูแลลูก พอแม หรือผูปกครองสวนมากไมไดเตรียมตัวตอสิ่งเหลานี้ มากอน ในขณะที่พอแม หรือผูปกครองปรารถนาท่ีจะเล้ียงดูลูกใหมีความสุข เติบโตเปนผูใหญที่มีสุขภาพ สมบูรณ มีความสามารถในการดําเนินชีวิต ทําใหบอยคร้ัง พอแม หรือผูปกครองรูสึกวาตนเองหมดหนทาง ในการดแู ลลูกและเกิดความกดดนั จนตอ งใชว ธิ ีทรี่ นุ แรงในการจัดการลูก ในกระบวนการเรียนรูเหลานี้พอแม หรอื ผปู กครองตองการการสนบั สนนุ ขอมลู การฝก ฝนตนเองและกําลังใจจากคนรอบขางในครอบครัว ชุมชน และสงั คม วิธกี ารและทกั ษะการเล้ยี งดูลกู ทีเ่ หมาะสมและเปนไปไดไ มยากเกินไปสาํ หรับพอแม หรือผูป กครอง ท่ีจะพัฒนาทักษะใหก ับลูก กระตุน พฤติกรรมท่เี หมาะสมใหเกดิ ขนึ้ และมที กั ษะในการจดั การพฤติกรรมท่ีเปน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook